The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่2-ม.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Birdnissorn, 2019-09-15 04:12:17

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่2-ม.2

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่2-ม.2

827

8. บันทกึ ผลหลงั สอน
ผลกำรเรียนรู้

............................................................................................................................. ................................................
ปัญหำและอปุ สรรค

.................................................................................................................................................................... ......
ขอ้ เสนอแนะและแนวทำงแกไ้ ข

............................................................................................................................. ..............................................

ลงชอ่ื ......................................ผ้สู อน
(.......................................................)
วนั ท่ี......เดอื น...............................พ.ศ.............

9. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
............................................................................................................................. ..............................................

ลงช่ือ ......................................ผ้ตู รวจ
(.......................................................)
วันท.ี่ .....เดอื น...............................พ.ศ.............

828

การเตรยี มการของครูตน้ ทาง
“กิจกรรมสาธิตการใชอ้ อกแบบและทดลองการวดั ความชื้นในดนิ โดยประยกุ ต์ใช้ อุปกรณ์ micro: bit”
อปุ กรณท์ ่ตี ้องเตรยี ม

1. บอรด์ micro : bit พร้อมแบตเตอร่ี
2. ตะปูขนำด 5 – 6 นิ้ว จำนวน 2 ตวั
3. สำยไฟพร้อมหัวหนบี แบบปำกจระเข้ 2 เสน้
4. กระถำงตน้ ไม้ขนำดเลก็ พร้อมดนิ 2 กระถำง
ขัน้ เตรียมการ
1. ครตู น้ ทำงเตรียมดนิ ใสก่ ระถำงท้ัง 2 กระถำง โดยใสต่ ้นไม้เล็กๆ ไวใ้ นกระถำงท่ี 1 ส่วนกระถำงที่ 2

ใส่ดินเพยี งอยำ่ งเดยี ว

2. ครูต้นทำงเตรียมโค้ด micro : bit ดังน้ี JavaScript
Blocks radio.setTransmitSerialNumber(true)
radio.setGroup(4)
led.setBrightness(64)
let reading = 0
basic.forever(() => {

pins.analogWritePin(AnalogPin.P1, 1023)
reading =
pins.analogReadPin(AnalogPin.P0)

radio.sendNumber(reading / 4);
pins.analogWritePin(AnalogPin.P1, 0)
led.plotBarGraph(

reading,
1023
)
if (input.buttonIsPressed(Button.A)) {
basic.showNumber(reading)
}
basic.pause(5000);
})

829

3. ต่อตะปตู ัวท่ี 1 เขำ้ กบั Pin 3V ดว้ ยสำยไฟพร้อมหัวหนีบแบบปำกจระเข้ แล้วนำไปเสียบลงดินใน
กระถำง

4. ตอ่ ตะปูตวั ท่ี 2 เขำ้ กับ Pin 0 ด้วยสำยไฟพร้อมหัวหนบี แบบปำกจระเข้ แล้วนำไปเสียบลงดินใน
กระถำงเดียวกัน

นาเขา้ ขอ้ มลู (Input) รปู แบบการเชือ่ มตอ่ แสดงผลหรอื การส่ังงาน
กระบวนการ (Process) (Output)

830

ใบความรู้ท่ี 10.1 แนวคิดเชงิ คานวณ

แนวคิดเชงิ คานวณ (Computational Thinking) ไม่ใช่กำรคิดเหมือนหุ่นยนตห์ รือกำรเขยี น
โปรแกรมโดยผ้เู ชีย่ วชำญ แต่เปน็ ทักษะที่มุง่ เนน้ กำรคิดเชงิ ตรรกะ คือสำมำรถอธิบำยกำรคิดเชงิ คำนวณอยำ่ ง
เป็นระบบ หรอื เป็นกำรแกไ้ ขปัญหำอยำ่ งเป็นลำดับขั้นตอน โดยกำรเข้ำใจปัญหำและวิธกี ำรในกำรแกไ้ ขปัญหำ
อยำ่ งเปน็ ระบบ เพื่อให้ไดม้ ำซ่ึงวธิ กี ำรแกไ้ ขปัญหำท่ีท้ังมนุษยแ์ ละคอมพิวเตอรส์ ำมำรถเข้ำใจรว่ มกันได้

กำรคดิ เชงิ คำนวณอย่ำงเป็นระบบน้นั ไมไ่ ดเ้ ปน็ กระบวนกำรทำงควำมคดิ สำหรบั นักวิทยำศำสตร์หรือ
นักพัฒนำโปรแกรมเท่ำนั้น แต่สำมำรถประยุกต์ใช้กับกำรทำงำนของบคุ คลทัว่ ไป โดยนำแนวคิดเชงิ คำนวณไป
ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ไดท้ งั้ สิ้น ทำให้สำมำรถแก้ไขปัญหำต่ำง ๆ ได้อย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ ย่ิงไปกว่ำนนั้ ยัง
สำมำรถแก้ไขปัญหำได้อยำ่ งไร้ขดี จำกดั อกี ด้วย จึงจำเป็นต้องเรยี นรู้ว่ำเรำจะสงั่ ใหซ้ เู ปอร์คอมพิวเตอร์ทำงำน
ดว้ ยแนวคิดเชิงคำนวณอย่ำงเป็นระบบได้อยำ่ งไร เพ่ือสำมำรถสรำ้ งวธิ ีกำรแก้ไขปัญหำและใช้งำนคอมพิวเตอร์
ให้แกไ้ ขปัญหำได้เตม็ ศกั ยภำพ

“ตะวนั ” เป็นชำยวยั ทำงำนท่ีขยนั ขันแข็งและพยำยำมทำทุกอยำ่ งเพ่ือเปน็ พลเมืองดตี อ่ สังคม
แตว่ นั นีต้ ะวันประสบปัญหำ โดยรถยนต์ของตะวันไม่สำมำรถเคลือ่ นท่ีได้ เนื่องจำกเกดิ ปัญหำ
2 ประกำร ได้แก่

• รถยนต์ยำงแบน
• รถยนต์วง่ิ ไม่ได้เพรำะน้ำมนั หมด
เมื่อตะวันตอ้ งกำรใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณแก้ไขปญั หำทีเ่ กิดขึ้น ตะวันจะสำมำรถแก้ไขปญั หำได้อย่ำงไร กำรแยก
ย่อยปัญหำ กำรแยกแยะปัญหำ โดยตะวัน สำมำรถแยกแยะปัญหำได้เปน็
2 ประเดน็ ได้แก่
• ยำงรถแบน
• นำ้ มนั รถหมด

831

การจดจารปู แบบ
กำรเข้ำใจรปู แบบ ตะวนั ควรต้องจัดกำรกบั ยำงรถก่อนเตมิ น้ำมนั เนอื่ งจำกน้ำมันทเ่ี หลอื อยู่ไม่

มำกพอท่ีตะวันจะขับรถยนต์ไปถงึ สถำนบี รกิ ำรนำ้ มัน ดังนน้ั ตะวันควรมงุ่ แก้ไขปัญหำยำงรถแบนก่อน

สรา้ งแนวคิดเชงิ นามธรรม
หำแนวคิดรวบยอดของแตล่ ะปัญหำยอ่ ย เป็นกำรมุ่งเนน้ ควำมสำคัญของปัญหำโดยไม่สนใจ

รำยละเอียดทีไ่ ม่จำเป็นกำรคิดรวบยอดของปญั หำดังกล่ำวจะไดว้ ่ำ ตะวันต้องทำกำรเปล่ียนยำงรถยนต์

ออกแบบขัน้ ตอนการแกป้ ญั หา
เม่อื ตะวนั ตอ้ งกำรเปลย่ี นยำงรถยนตต์ ะวันจะตอ้ งออกแบบลำดบั ข้นั ตอนในกำรเปลี่ยนยำงดังนี้
• หมนุ บล็อกเพื่อคลำยนอต
• ใช้แม่แรงยกรถขน้ึ และถอดนอตออก
• ถอดลอ้ ออก เปล่ียนลอ้ อะไหล่แทนที่
• ใสน่ อตแลว้ ปล่อยแม่แรง
• ขนั นอตใหแ้ น่น

ใบงานท
เร่อื ง สำนตอ่ งำนที่พอ่ ทำ ระบบ
กิจกรรม :: ใหน้ กั เรียนรว่ มกันอภิปรำยขยำยควำมคดิ ผ่ำนแผนภำพควำมคิดเ
(Smart Farm)

ระ
ฟำ

832
ท่ี 10.1
บสมำร์ทฟำร์ม (Smart Farm)
เกี่ยวกบั องคป์ ระกอบและเทคโนโลยีกำรเกษตรยุคใหม่ หรือ ระบบสมำรท์ ฟำร์ม

ะบบสมำร์ท
ำร์ม (Smart

Farm)

เฉลยใบงา
เร่ือง สำนต่องำนที่พ่อทำ ระบบ
กจิ กรรม :: ให้นกั เรียนร่วมกันอภิปรำยขยำยควำมคดิ ผ่ำนแผนภำพควำมคิดเ
(Smart Farm)
*** พิจำรณำควำมคิดเห็นของนกั เรยี น

ระ
ฟำ

833
านท่ี 10.1
บสมำรท์ ฟำร์ม (Smart Farm)
เกีย่ วกบั องค์ประกอบและเทคโนโลยีกำรเกษตรยุคใหม่ หรอื ระบบสมำรท์ ฟำร์ม

ะบบสมำร์ท
ำรม์ (Smart

Farm)

834

ใบงานท่ี 10.2 เรือ่ งระบบการรดน้าอัตโนมัติ

อธิบำยลำดับขัน้ กำรทำงำนเชิงระบบ

นำเขำ้ ข้อมลู (Input) กระบวนกำร (Process) แสดงผลหรือกำรสงั่ งำน (Output)

835

เฉลยใบงานที่ 10.2 เรอ่ื งระบบการรดน้าอตั โนมตั ิ

วดั ความช้ืน ป้ัมน้า

MCU

อธบิ ำยลำดบั ขั้นกำรทำงำนเชิงระบบ

นำเขำ้ ข้อมูล (Input) กระบวนกำร (Process) แสดงผลหรือกำรสัง่ งำน (Output)

ระดับควำมช้นื ในดนิ พิจำรณำควำมชื้นในดนิ ว่ำน้อยกว่ำ ถ้ำควำมช้นื นอ้ ยกว่ำที่กำหนด สัง่ ใหป้ ัม้

ทก่ี ำหนดหรือไม่ นำ้ ทำงำน

836
ความเรยี งอธบิ ายลาดบั ขนั้ การทางานของระบบรดนา้ อตั โนมตั ิ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
แผนผังควำมคิด ระบบกำรรดน้ำอตั โนมัติ

เรมิ่ ต้น

สิ้นสุด

837

แบบบันทกึ การประเมนิ ผ้เู รียน ดา้ นความรู้
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 10 เรือ่ ง การคดิ เชิงคานวณ

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การคิดเชิงคานวณ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

รายการประเมนิ

อธิบำยกำรแนวคิดเชิงคำนวณ เชน่ สำมำรถใชแ้ นวคดิ เชงิ

เลขที่ ชอ่ื -สกลุ กำรแยกย่อยปัญหำ กำรสร้ำง คำนวณ ในกำรแก้ไข

รปู แบบ กำรคดิ เชงิ นำมธรรม กำร ปญั หำได้อยำ่ งถูกต้องและ

ลำดบั ขนั้ ตอนในกำรแกป้ ัญหำได้ เหมำะสม

1

2

3

4

5

เกณฑ์กำรให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผู้ประเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดมี ำก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผู้สอน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรุง

*เกณฑ์กำรผ่ำน ระดบั 2 ขึ้นไป

838

แบบบันทึกการประเมินผู้เรยี น ดา้ นทักษะและกระบวนการ
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 เร่อื ง การคิดเชิงคานวณ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เร่อื ง การคิดเชิงคานวณ

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

เลขท่ี ชื่อ-สกลุ รายการประเมนิ ทักษะกำร
กระบวนกำร กระบวนกำร ทักษะกำร แก้ปัญหำ
1 วทิ ยำศำสตร์ สืบค้นขอ้ มูล คดิ กำร
2 ICT
3 ส่ือสำร
4
5 ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมิน
(………….…………………………………….)
เกณฑ์กำรให้คะแนน ครูผู้สอน
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมำก
3 คะแนน ระดับ 3 ดี
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรุง

*เกณฑ์กำรผ่ำน ระดับ 2 ขน้ึ ไป

839

แบบบนั ทึกการประเมินผเู้ รยี น ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 10 เร่อื ง การคิดเชงิ คานวณ

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เร่ือง การคิดเชิงคานวณ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

รายการประเมนิ
เลขท่ี ชื่อ-สกลุ ซือ่ สตั ย์สจุ รติ มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มั่นในกำร

ทำงำน
1
2
3
4
5

เกณฑ์กำรให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผู้ประเมนิ
4 คะแนน ระดับ 4 ดมี ำก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผสู้ อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง

*เกณฑ์กำรผำ่ น ระดบั 2 ข้ึนไป

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เร่อื ง นกั ออก
ขอบเขตเนอื้ หา รายวชิ า เท

1. ไมโครบิท กจิ กรรมการเรียนรู้
2. การเขียนคาส่งั ควบคุมไมโครบิท ขั้นนา

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็
ดา้ นความรู้ เคยได้ยินหรือรจู้ กั และคณุ สมบัตสิ าคญั

1. บอกหลกั การทางานของไมโครบิทได้ 2. ครูยกตวั อย่าง Microbit และการน
2. เข้าใจกระบวนการทางานของไมโครบิท ขัน้ สอน
ด้านทกั ษะและกระบวนการ
1. เขยี นโปรแกรมควบคมุ ไมโครบทิ ได้ 1. ครใู หน้ กั เรยี นเขา้ เว็บไซต์ https:/
อยา่ งถูกต้อง ทดลองใช้งานด้วยตนเอง เป็นเวลา 10

ดา้ นคณุ ลักษณะ 2. นกั เรียนรว่ มกันสรปุ และนาเสนออ
1. การแกไ้ ขปัญหาอยา่ งเป็นระบบ งาน
2. มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และมุง่ มั่นใน
3. ครสู าธติ การเขียนคาส่งั บน micro
การทางานเปน็ ทมี ควบคมุ อุปกรณ์

4. นกั เรียนศึกษาใบความรู้ที่ 11.1 เร
5. นักเรยี นทดลองเขียนคาสัง่ บน mi
6. นกั เรยี นแบง่ กมุ่ และทาใบงานที่ 1
7. แตล่ ะกล่มุ นาเสนอผลงานของตนเ

840

1 เร่อื ง รจู้ กั ไมโครบทิ ด เวลา 2 ชั่วโมง
กแบบระบบ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
ทคโนโลยี
สอื่ /แหล่งเรียนรู้
นเกย่ี วกับไมโครคอนโทรลเลอรท์ ี่ - เวบ็ ไซต์เขยี นโปรแกรมบอร์ด micro:bit
ญของไมโครคอนโทรลเลอรน์ ้นั https://makecode.microbit.org/
นา Microbit ไปประยุกตใ์ ชง้ าน -เว็บไซตต์ วั อย่างโครงงานโดยใช้บอรด์ micro:bit
https://makecode.microbit.org/projects/soil-
//makecode.microbit.org และ moisture
นาที - คมู่ ือการใช้ micro:bit จากล้ิงค์
องคค์ วามรู้ทีไ่ ด้จากการทดลองใช้ https://inex.co.th/store/manual/microbit-
EdKitBeta-s.pdf
o:bit เพอ่ื แสดงผลข้อมลู และการ - ใบความรู้ท่ี 11.1 เรื่อง การใช้งานไมโครบิท
เบ้อื งต้น
รือ่ ง การใชง้ านไมโครบิทเบ้อื งต้น - คลิปวดี โี อ
icro:bit ดว้ ยตนเอง ตวั อยา่ งโครงงานวัดความชน้ื ในดิน จาก ล้ิงค์
11.1 โปรแกรมลูกเต๋า https://www.youtube.com/watch?v=S8Npp
เอง VT_paw
https://www.youtube.com/watch?v=HpX1m
DEw1gk
- การเช่อื มต่ออุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ micro bit

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 11
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง นกั ออก
รายวิชา เท

ขน้ั สรปุ
1. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปเนื้อหาร
2. นักเรยี นสรปุ และบนั ทึกเนื้อหาการเ

841

1 เร่ือง รูจ้ ักไมโครบทิ ด เวลา 2 ชั่วโมง
กแบบระบบ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
ทคโนโลยี
https://makecode.microbit.org/projects/plan
ร่วมกนั t-watering
เรยี นรู้ทสี่ าคัญลงในสมุดเรยี น - https://makecode.microbit.org/projects/servo-
calibrator
- https://makecode.microbit.org/projects/soil-
moisture
ภาระงาน/ช้นิ งาน
- ใบงานที่ 11.1 โปรแกรมลูกเตา๋
- ใบงานที่ 11.2 โปรแกรมควบคมุ ผ่านสวิตซแ์ ละ
การใช้ Extension

842

การวัดและประเมนิ ผล

สงิ่ ท่ีต้องการวัด วธิ ีการ เครื่องมือท่ีใช้ เกณฑ์
- นกั เรยี นทกุ คน
1. ดา้ นความรู้ (K) - แบบประเมนิ การคิด ผา่ นเกณฑ์ไม่ตา่
วิจารณญาณ กวา่ รอ้ ยละ 80
1. บอกหลักการทางานของ - สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบสงั เกตพฤติกรรม
- แบบประเมนิ การคดิ วเิ คราะห์ - นักเรียนทุกคน
ไมโครบทิ ได้ เรยี นรขู้ องนักเรียน - แบบประเมนิ ผงั มโนทัศน์ ผา่ นเกณฑ์ไมต่ ่า
- แบบประเมนิ การทางานกลุ่ม กวา่ ร้อยละ 80
2. เขา้ ใจกระบวนการ
- แบบประเมินผลดา้ น - นกั เรียนทุกคน
ทางานของไมโครบิท กระบวนการเรยี นรู้เทียบกับ ผ่านเกณฑ์ไมต่ า่
เกณฑ์ กวา่ รอ้ ยละ 80
2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ 1. ใบงานท่ี 11.1
(P) โปรแกรมลกู เต๋า - แบบประเมนิ ผล
2. ใบงานที่ 11.2 ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. เขยี นโปรแกรมควบคมุ โปรแกรมควบคุมผ่าน เทยี บกับเกณฑ์
ไมโครบิทได้อย่างถูกต้อง สวติ ซ์และการใช้
Extension
3. ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
1. การแกไ้ ขปัญหาอยา่ ง - สงั เกตพฤติกรรมของ
นักเรยี น
เป็นระบบ
2. มีความรับผิดชอบ

ซ่อื สตั ยแ์ ละมุง่ มน่ั ในการ
ทางานเป็นทีม

843

8. บันทึกผลหลงั สอน
ผลการเรยี นรู้

............................................................................................................................. ................................................
ปญั หาและอปุ สรรค

.................................................................................................................................................... ......................
ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข

...........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ......................................ผู้สอน
(.......................................................)
วนั ท.่ี .....เดอื น...............................พ.ศ.............

9. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย
...........................................................................................................................................................................

ลงช่อื ......................................ผตู้ รวจ
(.......................................................)
วันท.่ี .....เดือน...............................พ.ศ.............

844

ใบความรทู้ ่ี 11.1 เรือ่ ง การใช้งานไมโครบิทเบือ้ งตน้

บอร์ด micro:bit เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์สาหรับการศึกษาจากโครงการของ BBC (British
Broadcasting Company) หรือบริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงของอังกฤษ ที่ร่วมมือกับ Partner หลายบริษัท
(ดูเพิ่มเติมได้จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Micro_Bit) ผลิตบอร์ดคอมพิวเตอร์เพ่ือสนับสนุน
การศึกษาเรียนรู้ในยุคดิจิตอลแจกจ่ายให้แก่เด็กในประเทศอังกฤษ ต่อจากในอดีตท่ีทาง BBC เคยทาบอร์ด
BBC Micro ออกมาแล้วเม่ือปี 1980 เพื่อให้เกิดการเริ่มต้นเรียนรู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ของเด็กๆ

บอร์ด micro:bit ถูกออกแบบให้เขียนโค้ตและคอมไพล์ผ่านทางเว็บบราวน์เซอร์ สามารถใช้งาน
ร่วมกับระบบอ่ืนๆได้หลายระบบ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ท (ใช้ได้ทั้ง android, iOS) อีกทั้ง
ยังมีเซ็นเซอร์พื้นฐานสาหรับการเรียนรู้ อาทิเช่น เซ็นเซอร์วัดแสง เซ็นเซอร์วัดความเร่ง เซ็นเซอร์เข็มทิศ
รวมทง้ั ป่มุ กด และ LED แสดงผล ติดตั้งมาใหเ้ รียบร้อยแล้ว ทาให้ตัวบอร์ดเรียกใชเ้ ซน็ เซอร์แต่ละอย่างโดยง่าย
ไม่จาเป็นต้องหาเซ็นเซอร์มาต่อเพ่มิ เติม จึงเหมาะแก่การเรียนรูส้ าหรบั เด็กหรอื ผทู้ ่สี นใจ

ส่วนประกอบของบอร์ด

• Nordic NRF51822 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์หลัก ARM ซีรีย์ Cortex-M0 แบบ 32-bit ความถ่ีสัญญาณ
นาฬิกา 16 MHz หน่วยความจา Flash Memory ขนาด 256 KB หน่วยความจา RAM ขนาด 16 KB พร้อม
Bluetooth Low Energy (BLE) 2.4 GHz สามารถสลบั ความถ่ีสัญญาณนาฬิการะหว่าง 16 MHz กับ 32.768
KHz
• NXP/Freescale KL26Z ARM Cortex-M0+ ความถี่สัญญาณนาฬิกา 48 MHz ทาหน้าที่เป็น USB 2.0
OTG ติดต่อส่ือสารกับชิพหลักและแปลงแรงดันไฟเล้ียงบอร์ดเป็น 3.3 โวลต์เม่ือต่อไฟหรือโปรแกรมผ่าน USB
• NXP/Freescale MMA8652 เป็นเซ็นเซอร์วัดความเร่งแบบ 3 แกน 3-axis accelerometer เช่ือมต่อผ่าน
I2C

845

• NXP/Freescale MAG3110 เป็นเซ็นเซอร์ทิศทางแบบ 3 แกน 3-axis magnetometer เช่ือมต่อผ่าน I2C
• คอนเนคเตอร์ Micro USB สาหรับจา่ ยไฟและต่อคอมพิวเตอรเ์ พ่ืออพั โหลดโปรแกรม
• คอนเนคเตอร์ Battery แบบ JST รองรับแรงดันกระแสตรง 3 โวลต์
• หลอด LED 25 ดวง (5x5) เรยี งเป็นอาเรย์ 5 แถว แถวละ 5 ดวง
• คอนเนคเตอร์ 25-pin บนขอบ PCB สองด้าน เป็นขาสญั ญาณตา่ งๆ ดงั น้ี

- 3V
- GND
- PWM จานวน 2 หรอื 3 ขา แลว้ แตก่ ารกาหนดค่า
- GPIO จานวน 6 ถงึ 17 ขา แล้วแต่การกาหนดค่า
- Analog Input จานวน 6 ขา
- Serial I/O
- SPI
- I2C
- ป่มุ กดสาหรบั ผู้ใช้งานโปรแกรมไดจ้ านวน 2 ปุ่ม
- ป่มุ รีเซต็ 1 ปุ่ม

ฟเี จอร์และเซน็ เซอร์ต่างๆ ในบอร์ด LED

L คอื Light (แสง)
E คือ Emitting (เปลง่ ประกาย)
D คือ Diode (ไดโอด)
เมื่อนาทั้ง 3 คามามารวมกันจะมคี วามหมายว่า “ไดโอดที่สามารถเปลง่ แสงได้”

846

ในตวั บอร์ด micro:bit จะมี LED 25 ดวง ติดตั้งมาใหเ้ รียบรอ้ ยแล้ว สามารถเขยี นโปรแกรมเพื่อแสดงเปน็ รูป
หรอื ตวั อกั ษรได้
Button

ในบอรด์ micro:bit มปี ่มุ กดติดต้งั มาให้ 2 ปมุ่ คอื
- ปุ่ม A อยู่ทางด้านซา้ ยของบอรด์
- ปุม่ B อยู่ทางด้านขวาของบอร์ด
สามารถเขียนโปรแกรมเพ่ือใช้เป็น Input ใหก้ ับบอรด์
Pin

คอนเนคเตอร์ 25 pin บนขอบ PCB สองดา้ น ประกอบดว้ ย
Large pins
- 0: GPIO (general purpose digital input and output) with analogue to digital convertor (ADC)
- 1: GPIO with ADC
- 2: GPIO with ADC
- 3V and GND

847

Light Sensor

เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสง ใช้ LED ท่อี ยู่บนบอรด์ เปน็ Input เพ่ือใช้วัดปริมาณแสงโดยรอบตัวบอร์ด
Temperature Sensor

เซน็ เซอรว์ ัดอุณหภูมขิ องสภาพแวดลอ้ มโดยรอบ (℃ องศาเซลเซยี ส)

848

Compass

เซน็ เซอร์เขม็ ทิศอาศัยหลักการทางานของแรงดึงดูดระหว่างสนามแม่เหลก็ โลกกบั แม่เหล็กของเข็มทิศในการ
บอกทิศทาง ใชช้ ิพ NXP/Freescale MAG3110 สื่อสารผ่านทาง I2C Interface

Accelerometer

เซน็ เซอร์ วดั ความเร่งแบบ 3 แกน สามารถใช้ตรวจจบั การเคล่ือนไหว เช่น การเขย่า, การเอยี ง และการตก
แบบอิสระ ใชช้ ิพ NXP/Freescale MMA8652 สอ่ื สารผ่านทาง I2C Interface

849

Radio

เป็นฟีเจอร์ทใี่ ชค้ ลืน่ วิทยุเพ่ือใช้สอ่ื สารระหว่างบอรด์ micro:bit ตัวอยา่ งการใชง้ าน เช่น ส่งขอ้ ความ สง่ ขอ้ มลู
เซน็ เซอร์ สร้างเกมหลายผูเ้ ล่น เป็นต้น
Bluetooth

บลทู ูธ พลงั งานตา่ (Bluetooth Low Energy) ความถ่ี 2.4GHz ใช้ชิพ Nordic NRF51822 สามารถเช่อื มต่อ
กับ PC, Smart Phone หรือ Tablet ใชใ้ นสอื่ สารหรอื อพั โหลดโปรแกรมลงบนบอรด์ ได้

850

การเขยี นโปรแกรมบนบอรด์ micro:bit
บอร์ด micro:bit เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ชนิดหน่ึงที่ถือว่า “มีความยืดหยุ่นในการพัฒนา

โปรแกรมสูง” เพราะว่าบอร์ด micro:bit รองรับการพัฒนาโปรแกรมได้หลายภาษา ไม่ว่าจะเป็น JavaScript
Block Editor, ภาษา Python และ ภาษา C/C++ ผใู้ ช้งานสามารถเลือกพฒั นาโปรแกรมไดต้ ามรูปแบบภาษา
ท่ี ต น เอ งถ นั ด โ ด ย ใน แ ต่ ล ะ ภ า ษ า ท่ี ใช้ ใน ก า ร พั ฒ น า โป ร แ ก ร ม นั้ น จ ะ มี ค ว า ม ย า ก ง่า ย แ ต ก ต่ า งกั น ไป

สาหรับโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมลงบนบอร์ด micro:bit ส่วนใหญ่จะเป็น Online Editor
สามารถเรียกใช้งานผ่าน Internet Browser (Google Chrome, Chromium, Microsoft Edge, Mozilla
Firefox, Safari) ที่ติดต้ังอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ทันที ข้อดีของโปรแกรมแบบน้ีคือไม่จาเป็นต้องติดต้ัง
โปรแกรมเพิ่มเตมิ ใน Editor บางตวั สามารถแชร์ตัวอย่างโค้ตท่ีเขยี นได้เป็น link ได้ สามารถใชง้ านได้ในหลาย
แพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นทั้ง Windows OS, Mac OS, Linux OS และยังรองรับการใช้งานบน
สมารท์ โฟนและแท็บเล็ท(Android, iOS) ไดอ้ ีกดว้ ย

851

ใบงานที่ 11.1 โปรแกรมลกู เตา๋

1. ให้นกั เรยี นเขียนโปรแกรมลูกเตา๋ โดยใชก้ ารเขย่า micro:bit เปน็ การนาเข้า (input) แสดงผลออกมาแบบ

ส่มุ จากเลข 1 - 6

Blocks JavaScript

2. อธบิ ายลาดบั ขัน้ การทางานเชิงระบบ

นาเขา้ ข้อมูล (Input) กระบวนการ (Process) แสดงผลหรอื การส่ังงาน (Output)

852

เฉลยใบงานท่ี 11.1 โปรแกรมลูกเตา๋

1. ให้นกั เรียนเขยี นโปรแกรมลกู เต๋า โดยใช้การเขยา่ micro:bit เป็นการนาเข้า (input) แสดงผลออกมาแบบ

สมุ่ จากเลข 1 - 6

Blocks JavaScript

input.onGesture(Gesture.Shake, function () {
basic.showNumber(Math.randomRange(1, 6))

})

2. อธิบายลาดบั ข้ันการทางานเชิงระบบ

นาเข้าข้อมลู (Input) กระบวนการ (Process) แสดงผลหรอื การสัง่ งาน (Output)

การเขยา่ micro:bit กระบวนการสุ่มตัวเลขจาก 1 ถึง 6 แสดงผลตัวเลขทไ่ี ด้จากการสุ่ม
ผา่ นหน้าจอแสดงผล

853

ใบงานท่ี 11.2 โปรแกรมควบคมุ ผ่านสวิตซ์และการใช้ Extension

1. จงเขยี นโปรแกรมโดยใช้สวติ ซค์ วบคมุ การแสดงผลดงั น้ี

กดสวติ ซ์ A แสดงอุณหภมู ิห้อง ณ ปจั จบุ นั

กดสวติ ซ์ B แสดงระดบั แสงของหอ้ ง ณ ปจั จุบัน

กด A และ B พรอ้ มกนั ให้แสดงขอ้ ความ Hello

Blocks JavaScript

2. ดาวนโ์ หลด Extension : Neopixel แล้วเขยี นคาส่งั ให้แสดงผลดงั นี้

แสดงผลไฟว่ิงจากดา้ นซ้ายไปขวา โดยกาหนดสีของไฟแสดงผลตามต้องการ

Blocks JavaScript

854

เฉลยใบงานท่ี 11.2 โปรแกรมควบคุมผ่านสวิตซ์และการใช้ Extension

1. จงเขียนโปรแกรมโดยใช้สวติ ซค์ วบคมุ การแสดงผลดงั นี้

กดสวติ ซ์ A แสดงอุณหภูมิห้อง ณ ปัจจุบนั

กดสวิตซ์ B แสดงระดบั แสงของห้อง ณ ปจั จบุ นั

กด A และ B พรอ้ มกัน ให้แสดงขอ้ ความ Hello

Blocks JavaScript

basic.forever(function () {

if (input.buttonIsPressed(Button.A)) {

basic.showString("" +

input.temperature())

} else if (input.buttonIsPressed(Button.B)) {

basic.showString("" + input.lightLevel())

} else if (input.buttonIsPressed(Button.AB))

{

basic.showString("Hello!")

}

})

2. ดาวนโ์ หลด Extension : Neopixel แลว้ เขียนคาสงั่ ให้แสดงผลดังน้ี

แสดงผลไฟว่ิงจากดา้ นซา้ ยไปขวา โดยกาหนดสขี องไฟแสดงผลตามต้องการ

Blocks JavaScript

let item: neopixel.Strip = null

item = neopixel.create(DigitalPin.P0, 8,

NeoPixelMode.RGBW)

item.setBrightness(200)

item.showRainbow(1, 360)

item.show()

basic.pause(500)

basic.forever(function () {

item.rotate(1)

item.show()

})

หมายเหตุ มไี ฟล์ video ตัวอยา่ ง ช่ือ 11_1_Extension_Neopixel.mp4

855

แบบบนั ทึกการประเมนิ ผูเ้ รยี น ด้านความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11 เร่อื ง รจู้ กั ไมโครบิท
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่ือง นกั ออกแบบระบบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

รายการประเมิน

เลขท่ี ชือ่ -สกลุ บอกหลกั การทางาน เขา้ ใจกระบวนการ
ของไมโครบิทได้ ทางานของไมโครบิท

1
2
3
4
5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผู้สอน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรุง

*เกณฑ์การผ่าน ระดบั 2 ขนึ้ ไป

856

แบบบนั ทกึ การประเมินผู้เรยี น ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 11 เร่ือง รจู้ กั ไมโครบทิ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรอื่ ง นกั ออกแบบระบบ

กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี 2 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2

เลขที่ ช่ือ-สกลุ รายการประเมนิ
เขยี นโปรแกรมควบคุมไมโครบิท
1
2 ได้อย่างถกู ต้อง
3
4 ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน
5 (………….…………………………………….)
ครูผสู้ อน
เกณฑ์การให้คะแนน
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก
3 คะแนน ระดับ 3 ดี
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรงุ

*เกณฑ์การผา่ น ระดับ 2 ขึ้นไป


Click to View FlipBook Version