แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา นาฏศิลป์ศ๓๓10๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนบ้านดุงวิทยา อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
ก ค าน า แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชานาฏศิลป์ ศ๓๓10๑ ฉบับนี้จัดท าขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ในแผนการเรียนฉบับนี้ ประกอบด้วยความเป็นมาและความส าคัญ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะ กระบวนการ ทักษะการคิด สาระและมาตรฐาน การวิเคราะห์ตัวชี้วัด การวิเคราะห์ค าอธิบายรายวิชา ค าอธิบายรายวิชา และหน่วยการเรียนรู้ทั้ง ๑๕ แผนการเรียน เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ แผนระดับชั้นเรียน ฉบับนี้ จึงใช้สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะกระบวนการ ทักษะการคิด สาระ และมาตรฐาน การวิเคราะห์ตัวชี้วัด การวิเคราะห์ค าอธิบายรายวิชา ค าอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา และ หน่วยการเรียนรู้ ที่มีการใช้กิจกรรมการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมีการเรียนรู้บูรณาการสู่ประชาคมอาเซียน มาตรฐานสากล สะเต็มศึกษา และเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ และมีการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริง ขอขอบพระคุณนายจ านง ศิลารินทร์ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านดุงวิทยา อ าเภอบ้านดุง จังหวัด อุดรธานี และนางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม ผู้ปฏิบัติหน้าที่รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรียนบ้านดุง วิทยา อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ที่ให้ข้อเสนอแนะและให้การสนับสนุนด้วยดีมาโดยตลอด นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู
๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ (แผนการจัดการเรียนรู้โครงงานคุณธรรม) รายวิชา นาฏศิลป์ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นาฏศิลป์และการละครไทย เวลาเรียน ๕ ชั่วโมง เรื่อง การละครไทยในสมัยสุโขทัยถึงสมัยธนบุรี เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ ๓.๒ ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ๒. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การละครไทยในสมัยสุโขทัยถึงสมัยธนบุรี ได้มีการฟื้นฟูการแสดงละครไทยให้มีระเบียบแบบแผน มากยิ่งขึ้น ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ วิวัฒนาการของการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ลักษณะการละครไทยในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรี(K) ๔.๒ อธิบายลักษณะการละครไทยในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรีได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๕. สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการจัดกลุ่ม ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ รักความเป็นไทย
๒ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคเล่าเรื่องรอบวง ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๗.๑ ครูน าภาพการแสดงละครไทย มาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า การแสดงในภาพ น่าจะเกิดขึ้นในสมัยใด ๗.๒ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความเป็นมาของการแสดงละครไทย ๗.๓ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด(ค าถาม : ละครไทยมีความส าคัญต่อชาติไทยอย่างไร) ขั้นสอน ๗.๔ นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้เกี่ยวกับการละครไทยในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรี จากหนังสือเรียน ๗.๕ ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลาง และอ่อน แล้วให้สมาชิกแต่ละคนเลือกหมายเลขประจ าตัว ตั้งแต่หมายเลข 1-3 ๗.๖ สมาชิกแต่ละหมายเลขผลัดกันเล่าความรู้ที่ได้จากการศึกษาให้สมาชิกหมายเลขอื่นๆ ในกลุ่มฟัง แบบเล่าเรื่องรอบวง ดังนี้ - สมาชิกหมายเลข 1 เล่าความรู้เกี่ยวกับลักษณะการละครไทยในสมัยสุโขทัย - สมาชิกหมายเลข 2 เล่าความรู้เกี่ยวกับลักษณะการละครไทยในสมัยอยุธยา - สมาชิกหมายเลข 3 เล่าความรู้เกี่ยวกับลักษณะการละครไทยในสมัยธนบุรี ๗.๗ เมื่อสมาชิกเล่าความรู้ที่ตนได้ศึกษามาครบทุกหมายเลขแล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกัน อภิปรายสรุปว่า การละครไทยในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรีมีลักษณะอย่างไร แล้วบันทึกลงในใบ งานที่ 1.1 เรื่อง การละครไทยในสมัยสุโขทัยถึงสมัยธนบุรี ๗.๘ นักเรียน 2-3 กลุ่ม น าเสนอใบงานที่ 1.1 หน้าชั้นเรียนแล้วให้เพื่อนกลุ่มอื่นช่วยกันตรวจสอบ ความถูกต้อง จากนั้นเก็บรวบรวมใบงานส่งครูตรวจ ๗.๙ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด(ค าถาม : เพราะเหตุใด ในสมัยธนบุรีการละครไทย จึงไม่รุ่งเรืองมากนัก) ขั้นสรุป ๗.๑๐ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับลักษณะการละครไทยในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรี (ครูผู้สอนให้ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคุณธรรม ให้นักเรียนสอดแทรกหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรม เช่นสังคหวัตถุ ๔ พรหมวิหาร ๔ อิทธิบาท ๔ เป็นต้น เข้าไปด้วย โดยสอดแทรกให้ เรียนรู้เกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีกับบุคคลและสังคม ของนักเรียนมีคุณธรรมสอดแทรก มีการรู้คุณโทษ มีค าสอนเกี่ยวกับคุณธรรมในการสร้างผลงาน)
๓ ๘. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย การเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการ เรียนรู้ที่ 1 (ประเมินตามสภาพจริง) ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้และ มุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๙. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ บัตรภาพ ๙.๑.๓ ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การละครไทยในสมัยสุโขทัยถึงสมัยธนบุรี ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ - 10. กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ ...................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
๔ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถรู้และเข้าใจลักษณะการละครไทยในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรีนักเรียน สามารถอธิบายลักษณะการละครไทยในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยธนบุรีได้ 1. ปัญหาและอุปสรรค นักเรียนบางกลุ่มไม่ให้ความสนใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเท่าที่ควร 2. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ครูพักการจัดกิจกรรมในรายวิชา และเปิดสื่อ วีดีโอการแสดง ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๕ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๖ ภาพการแสดงร าสีนวล ภาพการแสดงโขน บัตร ภาพ
๗ ใบงานที่ 1.1 การละครไทยในสมัยสุโขทัยถึงสมัยธนบุรี ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายลักษณะการละครไทยในสมัยสุโขทัยถึงสมัยธนบุรี พร้อมติดภาพประกอบ ลักษณะการละครไทยในสมัยสุโขทัย ลักษณะการละครไทยในสมัยอยุธยา ลักษณะการละครไทยในสมัยธนบุรี (พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจ (ติดภาพ) (ติดภาพ) (ติดภาพ)
๘ ชื่อ-สกุล ชั้น/ห้อง เลขที่ แบบสังเกตพฤติกรรม การท างานกลุ่ม ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน ล าดับ ที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการ ประเมิน การแสดงความ คิดเห็น การยอมรับฟัง คนอื่น การท างาน ตามที่ได้รับ มอบหมาย ความมีน้ าใจ การมี ส่วนร่วมใน การปรับปรุง ผลงานกลุ่ม รวม 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ ากว่า 10 ปรับปรุง
๙ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๑๐ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๑๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นาฏศิลป์และการละครไทย เวลาเรียน ๕ ชั่วโมง เรื่อง การละครไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๑๐.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ ๓.๒ ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ๑๑.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด สมัยรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ได้ทรงฟื้นฟูสนับสนุนการละครไทยโดยสืบเนื่อง กันมาจนถึงปัจจุบัน ๑๒.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ วิวัฒนาการของการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ๑๓.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ลักษณะการละครไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ได้(K) ๔.๒ อธิบายลักษณะการละครไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๑๔.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการจัดกลุ่ม ๑๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ รักความเป็นไทย
๑๒ ๑๖.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคการต่อเรื่องราว (Jigsaw) ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๗.๑ ครูน าภาพการละครไทยในปัจจุบัน มาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันเปรียบเทียบว่า การ ละครไทยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงจากการละครไทยในอดีตอย่างไร ๗.๒ ครูอธิบายเพิ่มเติมจากค าตอบของนักเรียนว่า หลังจากที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพยายาม กอบกู้ศิลปวัฒนธรรมอันเป็นสัญลักษณ์และรากฐานของประเทศ จึงท าให้แบบแผนการแสดงละครของไทยไม่ สูญหายและสืบทอดต่อมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ขั้นสอน ๗.๓ สมาชิกกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) เลือกหมายเลขประจ าตัว ตั้งแต่หมายเลข 1- 3 (อาจใช้หมายเลขเดิมเหมือนในแผนฯ ที่ 1 ก็ได้) และเรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่มบ้าน ๗.๔ สมาชิกที่มีหมายเลขเดียวกันมารวมกันเป็นกลุ่มใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ แล้วร่วมกันศึกษา ความรู้เกี่ยวกับการละครไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ จากหนังสือเรียน ดังนี้ - กลุ่มหมายเลข 1 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการละครไทยในสมัยรัชกาลที่ 1-3 - กลุ่มหมายเลข 2 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการละครไทยในสมัยรัชกาลที่ 4-6 - กลุ่มหมายเลข 3 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการละครไทยในสมัยรัชกาลที่ 7-ปัจจุบัน ๗.๕ เมื่อสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญศึกษาความรู้ตามที่ได้รับมอบหมายจนเกิดความเข้าใจแล้ว ให้แยก ย้ายกันกลับเข้าสู่กลุ่มบ้าน ๗.๖ สมาชิกแต่ละหมายเลขผลัดกันอธิบายความรู้ที่ได้จากการศึกษาให้สมาชิกหมายเลขอื่นๆ ใน กลุ่มบ้านฟัง โดยเรียงตามล าดับหมายเลข ๗.๗ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด (ค าถาม : นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กับค ากล่าวที่ว่า “การละครไทยในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์มีความเจริญรุ่งเรืองมาก”อธิบายพร้อมบอกเหตุผล) ๗.๘ สมาชิกกลุ่มบ้านร่วมกันวิเคราะห์เกี่ยวกับลักษณะการละครไทยในแต่ละสมัยว่า มีวิวัฒนาการ มาถึงปัจจุบันอย่างไร แล้วบันทึกผลการวิเคราะห์ลงในกระดาษที่ครูแจกให้ ๗.๙ ครูให้นักเรียน 1-2 กลุ่ม น าเสนอผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับวิวัฒนาการของละครไทยในสมัย รัตนโกสินทร์หน้าชั้นเรียน ๗.๑๐ ครูและเพื่อนกลุ่มที่ไม่ได้น าเสนอช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและเสนอแนะเพิ่มเติมในส่วน ที่บกพร่อง จากนั้นให้ทุกกลุ่มน าผลการวิเคราะห์ส่งครูตรวจ ขั้นสรุป ๗.๑๑ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของละครไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
๑๓ ๑๗.การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน กลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ มุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ ๑๘.สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ บัตรภาพ ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ - กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................ .. …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….
๑๔ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ รู้ลักษณะการละครไทยในสมัยรัตนโกสินทร์และ อธิบายลักษณะการละครไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ได้ ปัญหาและอุปสรรค - ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๑๕ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๑๖ ภาพการแสดงโขนในปัจจุบัน ภาพการแสดงละครไทยในอดีต ชื่อ-สกุล ชั้น/ห้อง เลขที่ บัตร ภาพ
๑๗ แบบสังเกตพฤติกรรม การท างานกลุ่ม ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน ล าดับที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการ ประเมิน การแสดงความ คิดเห็น การยอมรับฟัง คนอื่น การท างาน ตามที่ได้รับ มอบหมาย ความมีน้ าใจ การมี ส่วนร่วมใน การปรับปรุง ผลงานกลุ่ม รวม 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ ากว่า 10 ปรับปรุง
๑๘ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๑๙ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๒๐ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ (แผนการเรียนรู้ DLIT) รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นาฏศิลป์และการละครไทย เวลาเรียน ๕ ชั่วโมง เรื่อง ประเภทของละครไทย เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๑๙.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ ๓.๒ ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ๒๐.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด ละครไทย มีหลากหลายประเภท โดยยึดหลักในการแสดงเป็นส าคัญ ๒๑.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ วิวัฒนาการของการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ๒๒.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ประเภทของละครไทยได้(K) ๔.๒ อธิบายประเภทของละครไทยได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๒๓.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการจัดกลุ่ม ๒๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๓ รักความเป็นไทย
๒๑ ๒๕.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 สังเกต ตระหนัก ๗.๑ ครูเปิดวีซีดีการแสดงละครไทย 3 ประเภท (ละครร า ละครร้องและละครพูด) ให้นักเรียนดู แล้วถามนักเรียนว่า ละครไทยทั้ง 3 ประเภทนี้มีความแตกต่างกันอย่างไร ๗.๒ ครูอธิบายเกี่ยวกับละครไทย ให้นักเรียนฟังว่า ปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ได้มีการบัญญัติค าขึ้นเพื่อใช้แบ่งประเภทของละครไทย เป็นละครร า ละครร้อง และละครพูด ขั้นสอน ๗.๓ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด (ค าถาม : ถ้าให้นักเรียนไปชมการแสดงละครไทย นักเรียนจะชมละครประเภทใด อธิบายเหตุผล) ขั้นที่ 2 วางแผนปฏิบัติ ๗.๔ นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันวางแผนเพื่อศึกษาความรู้เรื่อง ประเภทของละครไทย จากหนังสือเรียน ห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามหัวข้อที่ก าหนด ดังนี้ 1) ละครร า 2) ละครร้อง 3) ละครพูด ๗.๕ สมาชิกในกลุ่มแบ่งหน้าที่ในการศึกษาความรู้ คนละ 1 หัวข้อตามความเหมาะสม ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบัติ ๗.๖ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มลงมือศึกษาความรู้ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมายในขั้นที่ 2 แล้วบันทึก ความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในสมุด ในประเด็นต่อไปนี้ 1) ลักษณะการแสดง 2) ดนตรีประกอบการแสดง 3) การแต่งกาย ชั่วโมงที่ 2 ขั้นที่ 4 พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ๗.๗ สมาชิกแต่ละคนน าความรู้ที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะการแสดง ดนตรีประกอบการ แสดง และการแต่งกายมาอธิบายให้สมาชิกคนอื่นๆ ภายในกลุ่มฟัง ๗.๘ ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มเปรียบเทียบความแตกต่างของละครร า ละครร้อง และละครพูด แล้ว บันทึกลงในใบงานที่ 1.2 เรื่อง ประเภทของละครไทย ๗.๙ ครูจับสลากเลือกนักเรียน 2-3 กลุ่ม น าเสนอใบงานที่ 1.2หน้าชั้นเรียน แล้วให้เพื่อนกลุ่มอื่น ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นที่ 5 สรุป ๗.๑๐ สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับละครไทยประเภทละครร า ละครร้อง และละคร พูด ครูตรวจสอบความถูกต้อง
๒๒ ๒๖.การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๒๗.สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ วีซีดีการแสดงละครร า ละครร้อง และละครพูด ๙.๑.๓ ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ประเภทของละครไทย ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com - http://www.aksorn.com/LC/Pa/M6/01-02 กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………….
๒๓ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ รู้ประเภทของละครไทยได้และอธิบายประเภทของละครไทยได้ ปัญหาและอุปสรร นักเรียนในบางห้องไม่ปฏิบัติตามกิจกรรมที่ครูให้ท า และไม่ส่งงานตามที่ครูมอหมาย ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา เดิมให้นักเรียนส่งใบงานในห้องเรียน ครูปรับให้ส่งใบงานผ่านทางไลน์ โดยตั้งเป็นอัลบั้มส่งงาน ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๒๔ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๒๕ ใบงานที่ 1.2 ประเภทของละครไทย ค าชี้แจง ให้นักเรียนยกตัวอย่างละครร า ละครร้อง และละครพูด อย่างละ 1 ชนิด แล้วเปรียบเทียบ ความแตกต่างของละครแต่ละประเภท ตามประเด็นที่ก าหนด ประเภทของละคร ละครร า ละครร้อง ละครพูด ชนิดของละคร ลักษณะการแสดง ดนตรีประกอบ การแสดง การแต่งกาย
๒๖ แบบสังเกตพฤติกรรม การท างานกลุ่ม ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน ล าดับที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับ การ ประเมิน การแสดงความ คิดเห็น การยอมรับฟัง คนอื่น การท างาน ตามที่ได้รับ มอบหมาย ความมีน้ าใจ การมี ส่วนร่วมใน การปรับปรุง ผลงานกลุ่ม รวม 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ ากว่า 10 ปรับปรุง
๒๗ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๒๘ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๒๙ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นาฏศิลป์และการละครไทย เวลาเรียน ๕ ชั่วโมง เรื่อง นาฏศิลป์พื้นเมือง เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๒๘.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/1 มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ ๒๙.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด นาฏศิลป์พื้นเมือง พัฒนามาจากนาฏศิลป์พื้นบ้านที่เป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านในท้องถิ่น ที่แฝงไว้ด้วย ศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ประจ าท้องถิ่นของแต่ละภาค ๓๐.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ รูปแบบของการแสดง - การแสดงพื้นเมืองภาคต่างๆ ๓๑.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ รู้รูปแบบของการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละภาคได้(K) ๔.๒ อธิบายรูปแบบของการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละภาคได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๓๒.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ทักษะการน าความรู้ไปใช้ ๓๓.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๓ รักความเป็นไทย
๓๐ ๓๔.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า ๗.๑. นักเรียนดูภาพการแสดงนาฏศิลป์ แล้วครูให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า การแสดงในภาพเป็นการ แสดงนาฏศิลป์ของภาคใด สังเกตจากอะไร ๗.๒ นักเรียนฟังครูเฉลยค าตอบและอธิบายความหมายของนาฏศิลป์พื้นเมือง ๗.๓ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ขั้นสอน ๗.๔ นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง นาฏศิลป์พื้นเมือง จาก P0wer P0int ที่ครูน าเสนอตามหัวข้อที่ ก าหนด ดังนี้ 1) นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ 2) นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3) นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคกลาง 4) นาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้ ขั้นสรุป ๗.๕ ครูสุ่มเลือกตัวแทน 2-3 คน น าเสนอผลการวิเคราะห์ว่าการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละ ท้องถิ่นมีรูปแบบการแสดง และเอกลักษณ์เฉพาะตัวอย่างไร ๗.๖ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปอีกครั้งเกี่ยวกับ การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละท้องถิ่น ครูมอบหมายงานให้นักเรียนจัดท าโปสเตอร์เรื่องนาฏศิลป์พื้นเมือง 4 ภาค โดยให้นักเรียนเลือกท าภาคที่ นักเรียนสนใจ และสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ตามอินเทอน์เน็ต ๓๕.การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจโปสเตอร์นาฏศิลป์พื้นเมือง โปสเตอร์นาฏศิลป์พื้นเมือง ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๓๖.สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ Power Point เรื่องนาฏศิลป์พื้นเมือง ๔ ภาค ๙.๑.๓ ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๑ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - https://sites.google.com/site/dramaticarttuppschool/natsilp-phun-meuxng
๓๑ 10. กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….
๓๒ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ รู้รูปแบบของการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละภาคและอธิบายรูปแบบของการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมืองในแต่ละภาคได้ ปัญหาและอุปสรรค - ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๓๓ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๓๔ ภาพการแสดงฟ้อนสาวไหม ภาพการแสดงเต้นก าร าเคียว ภาพการแสดงฟ้อนภูไท ภาพการแสดงระบ าตารีกีปัส บัตร ภาพ
๓๕ สื่อ Power Point เรื่อง นาฏศิลป์พื้นเมือง
๓๖
๓๗
๓๘
๓๙
๔๐ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๔๑ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๔๒ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การแสดงละครร า เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง เรื่อง ประวัติความเป็นมาของละครร า เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๓๗.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการ แสดง ๓๘.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด ละครร าเกิดขึ้นในสมัยอยุธยา โดยน ามาแสดงในพระราชพิธีต่างๆ และได้รับความนิยมมาจนถึง ปัจจุบัน ซึ่งละครร าแต่ละประเภทจะมีลักษณะการแสดงที่แตกต่างกัน ๓๙.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ประวัติความเป็นมาของการละคร ๔๐.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ลักษณะการแสดงละครร าแต่ละประเภทได้(K) ๔.๒ อธิบายลักษณะการแสดงละครร าแต่ละประเภทได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๔๑.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการวิเคราะห์ ๔๒.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๔ รักความเป็นไทย
๔๓ ๔๓.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคคู่คิดสี่สหาย ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๗.๑ นักเรียนดูวีซีดีการแสดงละครร า เรื่องสังข์ทอง แล้วตอบค าถาม ดังนี้ - การแสดงละครร าเรื่องนี้คือเรื่องอะไร - นักเรียนเคยชมละครร ามาก่อนหรือไม่ - นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับละครร าเรื่องนี้ ๗.๒ ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนฟังเกี่ยวกับความหมายของละครร า ๗.๓ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด (ค าถาม : เพราะเหตุใด จึงกล่าวว่า ศิลปะการฟ้อนร า มีมาจากพิธีกรรมบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์) ขั้นสอน ๗.๔ ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้าง เก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน ๗.๕ สมาชิกแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ ให้แต่ละคู่ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ประวัติความเป็นมา จากหนังสือเรียน ๗.๖ สมาชิกคู่เดิมช่วยกันสืบค้นลักษณะการแสดงละครร าแต่ละประเภท แล้วบันทึกลงในใบงานที่ 2.1 เรื่อง การแสดงละครร า ๗.๗ สมาชิกแต่ละคู่กลับกลุ่มเดิม (4 คน) แล้วผลัดกันอธิบายความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของ ละครร า และลักษณะการแสดงละครร าแต่ละประเภทในใบงานที่ 2.1 ให้สมาชิกอีกคู่ฟัง เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ความเข้าใจกันภายในกลุ่ม ๗.๘ ครูสุ่มนักเรียน 2-3 กลุ่ม อธิบายประวัติความเป็นมาของละครร า และลักษณะการแสดงละคร ร าแต่ละประเภทในใบงานที่ 2.1 หน้าชั้นเรียน ๗.๙ ครูและเพื่อนกลุ่มอื่นที่ไม่ได้น าเสนอช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและแสดงความคิดเห็น เพิ่มเติมในส่วนที่แตกต่าง ขั้นที่ 5 สรุป ๗.๑๐ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของละครร า และลักษณะการ แสดงละครร าแต่ละประเภท ๔๔.การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
๔๔ ๔๕.สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ วีซีดีการแสดงละครร า เรื่องสังข์ทอง ๙.๑.๓ ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การแสดงละครร า ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com (การแสดงละครร า เรื่องสังข์ทอง) 10. กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… .
๔๕ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ รู้ลักษณะการแสดงละครร าแต่ละประเภทและอธิบายลักษณะการแสดงละครร าแต่ละประเภทได้ ปัญหาและอุปสรรค - ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๔๖ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๔๗ ใบงานที่ ๒.๑ การแสดงละครร า ค าชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายลักษณะการแสดงละครร าตามประเภทที่ก าหนด ประเภทของละครร า ลักษณะการแสดง ละครชาตรี ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมีผู้บ...อก บท น าผู้แดง ผู้แสดงจะร้องเอง 1 วรรค แล้วมีลคู่รั ......... . ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมีผู้บ...อก ละครนอก ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมีผู้บ...อก บท น าผู้แดง ผู้แสดงจะร้องเอง 1 วรรค แล้วมีลคู่รั ......... . ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมี ละครใน ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมีผู้บ...อก บท น าผู้แดง ผู้แสดงจะร้องเอง 1 วรรค แล้วมีลคู่รั ......... . ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมี ละครดึกด าบรรพ์ ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมีผู้บ...อก บท น าผู้แดง ผู้แสดงจะร้องเอง 1 วรรค แล้วมีลคู่รั ......... . ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมี ละครพันทาง ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมีผู้บ...อก บท น าผู้แดง ผู้แสดงจะร้องเอง 1 วรรค แล้วมีลคู่รั ......... . ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมี ละครเสภา ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมีผู้บ...อก บท น าผู้แดง ผู้แสดงจะร้องเอง 1 วรรค แล้วมีลคู่รั ......... . ก่อนเริ่มแสดงต้องโหมโรงด้วยการตีกลองตุ๊ก เป็นการเรียกคนดู การแสดงทุ.กครั้ง ต้องร าซัดไหว้ครู เรื่องที่น ามาแสดงจะเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ การด าเนินเรื่องมี
๔๘ แบบสังเกตพฤติกรรม การท างานกลุ่ม ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน ล าดับที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการ ประเมิน การแสดงความ คิดเห็น การยอมรับฟัง คนอื่น การท างาน ตามที่ได้รับ มอบหมาย ความมีน้ าใจ การมี ส่วนร่วมใน การปรับปรุง ผลงานกลุ่ม รวม 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ ากว่า 10 ปรับปรุง