The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้-ม.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 124 นงลักษณ์ หุ่นพลู, 2024-02-05 03:06:10

แผนการจัดการเรียนรู้-ม.6

แผนการจัดการเรียนรู้-ม.6

๙๙ ๙๐.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ) ขั้นที่ 1 สังเกต ๗.๑ ครูเปิดวีซีดีการแสดงละครสั้น ให้นักเรียนดู แล้วสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนคนใดเคยชม การแสดงละครสั้นเรื่องนี้บ้าง เป็นการแสดงเกี่ยวกับเรื่องใด ๗.๒ ครูถามนักเรียนว่า ถ้าให้สร้างสรรค์ละครสั้น นักเรียนจะต้องค านึงถึงอะไรบ้าง ขั้นที่ 2 อธิบาย ๗.๓ นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้เรื่อง หลักการสร้างสรรค์ละครสั้น จากหนังสือเรียน ๗.๔ นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งข้างๆ แล้วผลัดกันอธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักการสร้างสรรค์ละคร สั้น ตามหัวข้อที่ก าหนด ดังนี้ 1) รูปแบบในการน าเสนอ 2) เนื้อเรื่อง 3) ตัวละครและบทสนทนา 4) เวลาและสถานที่ 5) แก่นของเรื่อง ขั้นที่ 3 รับฟัง ๗.๕ สมาชิกแต่ละคู่รับฟังการอธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักการสร้างสรรค์ละครสั้นของสมาชิกที่เป็นคู่ และช่วยกันเพิ่มเติมในส่วนที่ยังไม่ชัดเจนให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ขั้นที่ 4 เชื่อมโยงความสัมพันธ์ ๗.๖ สมาชิกแต่ละคู่ร่วมกันสรุปผลการอธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักการสร้างสรรค์ละครสั้น แล้วเขียน เป็นแผนผังความคิดลงในกระดาษที่ครูแจกให้ ๗.๗ สมาชิกแต่ละคู่น าแผนผังความคิดของคู่ตนแลกเปลี่ยนกับสมาชิกอีกคู่หนึ่ง แล้วผลัดกัน ตรวจสอบความถูกต้อง และเสนอแนะเพิ่มเติมในส่วนที่แตกต่าง เสร็จแล้วน าส่งครู ๗.๘ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ขั้นที่ 5 วิจารณ์ ๗.๙ ครูเปิดวีซีดีการแสดงละครสั้น ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนแต่ละคนอธิบายหลักการสร้างสรรค์ ละครสั้นตามประเด็นที่ได้ศึกษามาลงในใบงานที่ 4.1 เรื่อง หลักการสร้างสรรค์ละครสั้น ๗.๑๐ ครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน ออกมาน าเสนอใบงานที่ 4.1 หน้าชั้นเรียน นักเรียนคนอื่นที่มีค าตอบ แตกต่างน าเสนอเพิ่มเติม ครูตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นที่ 6 สรุป ๗.๑๑ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหลักการสร้างสรรค์ละครสั้น ๑๕. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 4.1 ใบงานที่ 4.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์


๑๐๐ ๑๖. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ วีซีดีการแสดงละครสั้น ๙.๑.๓ ใบงานที่ 4.1 เรื่อง หลักการสร้างสรรค์ละครสั้น ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๑ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com (การแสดงละครสั้น) 10. กิจกรรมเสนอแนะ ..................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................................... ........................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…….


๑๐๑ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................ .................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 9. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................................................. 10. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................. ............................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง


๑๐๒ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................. ................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. ............................................................................ ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ


๑๐๓ ใบงานที่ 4.1 หลักการสร้างสรรค์ละครสั้น ค าชี้แจง ให้นักเรียนดูละครสั้น 1 เรื่อง แล้วอธิบายหลักการสร้างสรรค์ละครสั้น ตามประเด็นที่ก าหนด ละครสั้น เรื่อง 1. รูปแบบในการน าเสนอ 2. เนื้อเรื่อง 3. ตัวละครและบทสนทนา 4. เวลาและสถานที่ 5. แก่นของเรื่อง


๑๐๔ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด


๑๐๕ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน


๑๐๖ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๒ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การสร้างสรรค์ละครสั้น เวลาเรียน ๗ ชั่วโมง เรื่อง องค์ประกอบของละครสั้น เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๙๑.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/2 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ ม.4-6/6 บรรยายและวิเคราะห์อิทธิพลของเครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และ สถานที่ที่มีผลต่อการแสดง ๙๒.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด โครงเรื่อง เนื้อเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ จัดเป็นองค์ประกอบส าคัญ ในการสร้างสรรค์ละครสั้น ๙๓.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ละครสร้างสรรค์ - องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ ๓.๒ เทคนิคการจัดการแสดง - แสง สี เสียง - ฉาก - อุปกรณ์ - สถานที่ ๙๔.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ความส าคัญของโครงเรื่อง เนื้อเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ที่มีผล ต่อการแสดงละครสั้นK) ๔.๒ วิเคราะห์ความส าคัญของโครงเรื่อง เนื้อเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ ที่มีผลต่อการแสดงละครสั้น(P) ๔.๓ น าความรู้ที่ได้ไปมช้ในชีวิตประจ าวันได้(A)


๑๐๗ ๙๕.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการเชื่อมโยง ๕.๑.๒ ทักษะการน าความรู้ไปใช้ ๙๖.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ รับผิดชอบ ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๙๗.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสร้างความตระหนัก ขั้นที่ 1 สังเกต ๗.๑ ครูเปิดวีซีดีการแสดงละครสั้น ให้นักเรียนดู แล้วสนทนากับนักเรียนตามประเด็น ดังนี้ - ละครสั้นเรื่องนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร - ตัวละครที่ส าคัญมีกี่ตัว - บรรยากาศของการแสดงเป็นอย่างไร ขั้นที่ 2 วิเคราะห์วิจารณ์ ๗.๒ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับองค์ประกอบของละครสั้นแล้วให้นักเรียนตอบค าถามกระตุ้น ความคิด ๗.๓ นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้เรื่อง องค์ประกอบของละครสั้น จากหนังสือเรียน ตามหัวข้อที่ ก าหนด ดังนี้ 1) โครงเรื่องและเนื้อเรื่อง 2) ตัวละครและบทสนทนา 3) แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ประกอบการแสดง ๗.๔ นักเรียนแต่ละคนน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาวิเคราะห์ว่าองค์ประกอบของละครสั้นแต่ละ องค์ประกอบมีความส าคัญและส่งผลต่อการแสดงละครสั้นอย่างไร แล้วบันทึกลงในสมุด ๗.๕ ครูขออาสาสมัครนักเรียน 1-2 คน ออกมาน าเสนอผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับความส าคัญของ โครงเรื่อง เนื้อเรื่อง ตัวละครบทสนทนา แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ประกอบการแสดงที่ส่งผลต่อการแสดง ละครสั้น ๗.๖ นักเรียนคนอื่นๆ ช่วยกันวิจารณ์ผลการวิเคราะห์ของเพื่อนที่ออกมาน าเสนอ และแสดงความ คิดเห็นเพิ่มเติมในส่วนที่แตกต่าง เสร็จแล้วเก็บรวบรวมสมุดส่งครูตรวจ ขั้นที่ 3 สรุป ๗.๗ นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับความส าคัญขององค์ประกอบต่างๆ ที่มีผลต่อการแสดง ละครสั้น ครูตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๘ ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ถ้าองค์ประกอบใดมีความบกพร่องก็จะส่งผลให้การแสดง ละครขาดคุณภาพได้ ดังนั้นในการจัดการแสดงละครสั้นผู้จัดควรให้ความส าคัญและค านึงถึงองค์ประกอบต่างๆ ด้วย


๑๐๘ ๑๗. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๑๘. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ วีซีดีการแสดงละครสั้น ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๑ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com (การแสดงละครสั้น) 10. กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…….


๑๐๙ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................................. ............ ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 11. ปัญหาและอุปสรรค ....................................................................................................................................... ....................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 12. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง ......................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................... ............................... ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง


๑๑๐ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ


๑๑๑ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด


๑๑๒ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน


๑๑๓ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓ (แผนการจัดการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑) รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การสร้างสรรค์ละครสั้น เวลาเรียน ๗ ชั่วโมง เรื่อง การฝึกหัดการแสดง เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๙๘.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/1 มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ สถานที่ที่มีผลต่อการแสดง ๙๙.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การแสดงละครสั้น ผู้แสดงจะต้องผ่านการฝึกฝนทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อที่จะสามารถถ่ายทอด อารมณ์ได้อย่างสมบทบาท ๑๐๐. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ละครสร้างสรรค์ - องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ ๓.๒ เทคนิคการจัดการแสดง - แสง สี เสียง - ฉาก - อุปกรณ์ - สถานที่ ๑๐๑. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ อธิบายขั้นตอนการฝึกหัดการแสดงละครสั้นได้K) ๔.๒ ฝึกหัดการแสดงละครสั้นได้(P) ๔.๓ น าความรู้ที่ได้ไปมช้ในชีวิตประจ าวันได้(A) ๑๐๒. สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการน าความรู้ไปใช้


๑๑๔ ๑๐๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ รับผิดชอบ ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๑๐๔. กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยใช้การ สาธิต ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 เตรียมการสาธิต ๗.๑ ครูเปิดวีซีดีการแสดงละครสั้น ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า การที่ ผู้แสดงสามารถแสดงละครได้ดี สมบทบาทเป็นผลจากการฝึกหัดใช่หรือไม่ จงอธิบาย ๗.๒ ครูถามนักเรียนว่า ถ้าต้องการฝึกหัดการแสดงจะต้องฝึกหัดในเรื่องใดบ้าง แล้วให้นักเรียน ช่วยกันยกตัวอย่างตามความเข้าใจ ๗.๓ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด(ค าถาม :การฝึกหัดการแสดงมีความส าคัญต่อการแสดง ละครสั้นอย่างไร จงอธิบาย ) ๗.๔ ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นความส าคัญของการฝึกหัดการแสดงละครสั้น ๗.๕ นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้เรื่อง การฝึกหัดการแสดง จากหนังสือเรียน ห้องสมุด หรือ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ๗.๖ ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกหัดการแสดงละครสั้น เช่น บทละคร เพื่อใช้ประกอบการ สาธิต ชั่วโมงที่ 2 ๗.๗ นักเรียนอาสาสมัครที่ได้รับการฝึกหัดการแสดงละครสั้นอย่างช านาญแล้ว ออกมาสาธิตการ ฝึกหัดการแสดงตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ฝึกอ่านบท 2) ฝึกการเคลื่อนไหวบนเวที 3) ฝึกการพูด 4) ฝึกการฟัง 5) ฝึกการวางท่าทางตามบท ๗.๘ นักเรียนทั้งห้องร่วมกันฝึกหัดการแสดงละครสั้นตามที่อาสาสมัครนักเรียนสาธิตให้ดู ขั้นที่ 3 สรุปการสาธิต ๗.๙ นักเรียนทั้งห้องร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับขั้นตอนการฝึกหัดการแสดงละครสั้นตามที่ได้ฝึก แล้ว สรุปเป็นความรู้ประจ าห้อง ๗.๑๐ นักเรียนแต่ละคนท าใบงานที่ 4.2 เรื่อง การฝึกหัดการแสดงละครสั้น เสร็จแล้วน าส่งครูตรวจ ขั้นที่ 4 วัดผลประเมินผล ๗.๑๑ ครูวัดและประเมินผลนักเรียนจากการฝึกหัดการแสดงละครสั้นตามแบบที่นักเรียนอาสาสมัคร สาธิตให้ดู และจากการอธิบาย ขั้นตอนการฝึกหัดการแสดงละครสั้นในใบงานที่ 4.2 ๗.๑๓ ครูแนะน าให้นักเรียนฝึกหัดการแสดงให้เกิดความช านาญ เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะด้านการ แสดงและสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ต่อไป


๑๑๕ ๑๙. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 4.2 ใบงานที่ 4.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๒๐. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ วีซีดีการแสดงละครสั้น ๙.๑.๓ ใบงานที่ 4.2 เรื่อง การฝึกหัดการแสดงละครสั้น ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๑.๑ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com (การแสดงละครสั้น) 10. กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….


๑๑๖ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 13. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... .......................................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 14. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................... ........... ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง


๑๑๗ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ


๑๑๘ ใบงานที่ 4.2 การฝึกหัดการแสดงละครสั้น ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้ 1. การฝึกสมาธิมีความส าคัญอย่างไรต่อการแสดงละครสั้น การฝึกสมาธิจะช่วยให้ผู้แสดงมีจิตใจพร้อมต่อการแสดง สามารถจ าบทละครการแสดงแต่ละตอน แต่ล ได้อย่างแม่นย าและท าให้เกิดความเชื่อมั่น ไม่ประหม่าต่อการแสดง 2. การใส่อารมณ์ลงในบทละครสามารถท าได้อย่างไรบ้าง 1) ใช้เสียงให้พอเหมาะกับอารมณ์นั้นๆ 2) ใส่อารมณ์อย่างเป็นธรรมชาติ 3) แสดงท่าทางการเคลื่อนไหวให้สอดคล้องกับค าพูด 3. การฝึกหัดการเคลื่อนไหวบนเวที ผู้แสดงจะมีวิธีฝึกได้อย่างไร ผู้แสดงต้องฝึกหัดสังเกตการเคลื่อนไหวที่เป็นธรรมชาติของคนอื่นๆ เพื่อที่จะเลียนแบบ ในการฝึกเลียน เป็นการท าให้นักแสดงเข้าถึงความรู้สึกและอารมณ์ได้ 4. ผู้แสดงจะมีวิธีการฝึกพูดได้อย่างไร ผู้แสดงต้องอ่านบทที่พูดให้เข้าใจจนรู้ความหมาย มองเห็นภาพและมีจินตนาการในการพูด รู้ความต้อง ใน สิทวละครพูด อีกทั้งต้องฝึกออกเสียงให้ชัดเจน เสียงมีพลังและก้ องกังวาน 5. ผู้แสดงต้องฝึกวางท่าทางตามบท เพื่ออะไร เพื่อเป็นการควบคุมการเคลื่อนไหวให้น่าดู


๑๑๙ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด


๑๒๐ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน


๑๒๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๔ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การสร้างสรรค์ละครสั้น เวลาเรียน ๗ ชั่วโมง เรื่อง ความงามและคุณค่า เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๑๐๕. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการ แสดง ๑๐๖. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การจัดการแสดงละครสั้นจะต้องมีองค์ประกอบของละครสั้นครบทุกองค์ประกอบและผู้แสดงต้องมี การฝึกฝนการแสดงเป็นอย่างดี การแสดงละครสั้นจึงจะเกิดความงามและคุณค่า ๑๐๗. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ประวัติความเป็นมาของการละคร - ความงามและคุณค่า ๑๐๘. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้นได้K) ๔.๒ วิเคราะห์ความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้นได้(P) ๔.๓ น าความรู้ที่ได้ไปมช้ในชีวิตประจ าวันได้(A) ๑๐๙. สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการวิเคราะห์ ๑๑๐. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ รับผิดชอบ ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน


๑๒๒ ๑๑๑. กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนแบบ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 น าเข้าสู่บทเรียน ๗.๑ ครูน าภาพการแสดงละครสั้น มาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความงามของการแสดงละครสั้นเรื่องนี้ ขั้นที่ 2 จัดการเรียนรู้ ๗.๒ ครูอธิบายเกี่ยวกับความหมายของความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้น ให้นักเรียนฟัง ๗.๓ นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความงามและ คุณค่า จากหนังสือเรียนแล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในสมุด ๗.๔ ครูเปิดวีซีดีการแสดงละครสั้น ให้นักเรียนดู แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์ความงาม และคุณค่าของการแสดงละครสั้น ตามประเด็นที่ก าหนดลงในกระดาษที่ครูแจกให้ ดังนี้ 1) ด้านสติปัญญา อารมณ์และจิตใจ 2) ด้านสุนทรียะ 3) ด้านตัวละคร 4) ด้านทัศนองค์ประกอบอื่นๆ ๗.๕ ครูสุ่มนักเรียน 2-3 กลุ่ม น าเสนอผลการวิเคราะห์ความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้นที่ ได้ดู ๗.๖ สมาชิกกลุ่มอื่นช่วยกันเสนอแนะเพิ่มเติมในส่วนที่แตกต่างครูตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นที่ 3 สรุปและน าหลักการไปประยุกต์ใช้ ๗.๗ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้นที่มีผลต่อ ผู้ชมการแสดง ๗.๘ นักเรียนทั้งห้องร่วมกันฝึกหัดการแสดงละครสั้นตามที่อาสาสมัครนักเรียนสาธิตให้ดู ๗.๙ สมาชิกแต่ละกลุ่มเลือกชมการแสดงละครสั้น 1 เรื่อง แล้วช่วยกันวิเคราะห์ความงามและคุณค่า ของการแสดงนั้นลงในใบงานที่ 4.3 เรื่อง ความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้น เป็นการบ้าน เสร็จแล้ว น าส่งครูตรวจ ขั้นที่ 4 วัดและประเมินผล ๗.๑๐ ครูวัดและประเมินผลนักเรียนจากการวิเคราะห์ความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้นใน ใบงานที่ 4.3 ๗.๑๑ ครูมอบหมายให้นักเรียนสร้างสรรค์ละครสั้น ห้องละ ๑ เรื่อง


๑๒๓ ๒๑. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 4.3 ใบงานที่ 4.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ และ มุ่งมั่น ในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจ การแสดงละครสั้น แบบประเมิน การแสดงละครสั้น ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๒๒. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ วีซีดีการแสดงละครสั้น ๙.๑.๓ บัตรภาพ ๙.๑.๔ ใบงานที่ 4.3 เรื่อง ความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้น ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๑.๑ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com (การแสดงละครสั้น) 10.กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………….


๑๒๔ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ .......................................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................... ................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. 15. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................ .. 16. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ................................................................................................ .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง


๑๒๕ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................ .................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ


๑๒๖ ภาพการแสดงละครเวทีเรื่อง เธอเท่านั้น สุนทราภรณ์ เดอะมิวสิคัล บัตร ภาพ


๑๒๗ ใบงานที่ 4.3 ความงามและคุณค่าของการแสดงละครสั้น ค าชี้แจง ให้นักเรียนชมการแสดงละครสั้น 1 เรื่อง แล้ววิเคราะห์ความงามและคุณค่าของการแสดง ตามประเด็นที่ก าหนด ละครสั้น เรื่อง 1. ด้านสติปัญญา อารมณ์และจิตใจ การฝึกสมาธิจะช่วยให้ผู้แสดงมีจิตใจพร้อมต่อการแสดง สามารถจ าบทละครการแสดงแต่ละตอน แต่ละฉาก ได้อย่างแม่นย าและท าให้เกิดความเชื่อมั่น ไม่ประหม่าต่อการแสดง 2. ด้านสุนทรียะ 1) ใช้เสียงให้พอเหมาะกับอารมณ์นั้นๆ 2) ใส่อารมณ์อย่างเป็นธรรมชาติ 3) แสดงท่าทางการเคลื่อนไหวให้สอดคล้องกับค าพูด 17.ด้านตัวละคร ผู้แสดงต้องฝึกหัดสังเกตการเคลื่อนไหวที่เป็นธรรมชาติของคนอื่นๆ เพื่อที่จะเลียนแบบ ในการฝึกเลีบนกาท าให้นักแสดง เข้าถึงความรู้สึกและอารมณ์ได้ 4. ด้านทัศนองค์ประกอบอื่นๆ ผู้แสดงต้องอ่านบทที่พูดให้เข้าใจจนรู้ความหมาย มองเห็นภาพและมีจินตนาการในการพูด รู้ความต้องการ ในสิ่งที่ตัวละครพูด อีกทั้งต้องฝึกออกเสียงให้ชัดเจน เสียงมีพลังและก้องกังวาน


๑๒๘ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด


๑๒๙ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน


๑๓๐ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๕ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การสร้างสรรค์ละครสั้น เวลาเรียน ๗ ชั่วโมง เรื่อง การแสดงละครสั้น เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๑๑๒. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/1 มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ ม.4-6/2 สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ ม.4-6/8 วิเคราะห์ท่าทาง และการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจ าวันและน ามา ประยุกต์ใช้ในการแสดง ๑๑๓. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การแสดงละครสั้น จะต้องค านึงถึงรูปแบบในการน าเสนอ เนื้อเรื่อง โครงเรื่อง แก่นของเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา ส่วนเทคนิคต่างๆ ในการจัดการแสดงต้องเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง และควรมีการวิจารณ์และประเมิน คุณภาพการแสดงเพื่อน าไปปรับปรุงการแสดงในครั้งต่อไป ๑๑๔. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ รูปแบบของการแสดง ๓.๑.๑ การละครสากล ๓.๒ ละครสร้างสรรค์ ๓.๑.๒ องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ ๓.๓ การสร้างสรรค์ผลงาน ๓.๓.๑ การจัดการแสดงในวันส าคัญของโรงเรียน ๓.๓.๒ ชุดการแสดงประจ าโรงเรียน ๑๑๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ หลักการแสดงละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบได้K) ๔.๒ แสดงละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบได้(P) ๔.๓ น าความรู้ที่ได้ไปมช้ในชีวิตประจ าวันได้(A)


๑๓๑ ๑๑๖. สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการวิเคราะห์ ๕.๑.๒ ทักษะการน าความรู้ไปใช้ ๑๑๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ รับผิดชอบ ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๑๑๘. กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยใช้การ แสดงบทบาทสมมุติ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 เตรียมการ ๗.๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ละครสั้น แล้วถามนักเรียนว่า นักเรียนสามารถน า ท่าทางการเคลื่อนไหวที่พบในชีวิตประจ าวันมาประยุกต์ใช้ในการแสดงละครสั้นได้หรือไม่ จงอธิบาย ๗.๒ ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 1 เรื่อง แล้ว น าเสนอหน้าชั้นเรียนพร้อมรายงานผลการแสดง โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามที่ก าหนด ดังนี้ 1) การแสดงละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2) การประยุกต์ใช้ท่าทาง และการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจ าวัน 3) การวิจารณ์และประเมินคุณภาพการแสดงตามหลักการแสดงละครสั้น ชั่วโมงที่ 2 ขั้นที่ 2 แสดง ๗.๓ ครูให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มจับสลากเลือกล าดับที่ในการแสดงละครสั้น ๗.๔ สมาชิกแต่ละกลุ่มออกมาแสดงละครสั้นหน้าชั้นเรียน ตามล าดับที่จับสลากได้ ขั้นที่ 3 วิเคราะห์และอภิปราย ๗.๕ เมื่อแสดงจบ ให้สมาชิกกลุ่มผู้แสดงกับสมาชิกกลุ่มผู้สังเกตการณ์ร่วมกันอภิปรายถึงผลการ แสดง เช่น - ในเรื่องนี้มีเหตุการณ์ส าคัญอะไรบ้าง - ตัวละครมีความรู้สึกอย่างไร - ข้อบกพร่องของการแสดงมีหรือไม่ และควรแก้ปัญหานั้น อย่างไร ขั้นที่ 4 แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุป ๗.๖ นักเรียนทั้งห้องร่วมกันแลกเปลี่ยนประสบการณ์หรือแนวคิดเกี่ยวกับความเกี่ยวข้องของการ แสดงละครสั้นกับชีวิตจริง เช่น การเคลื่อนไหวในชีวิตประจ าวันของผู้คน สามารถน ามา ป ร ะยุ กต์ใ ช้ใน ก า ร แสดงละครสั้นได้ เป็นต้น ๗.๗ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการสร้างสรรค์ละครสั้นของนักเรียนแต่ละกลุ่ม


๑๓๒ ๒๓. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตการแสดงละครสั้น แบบประเมินการแสดงละครสั้น ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๒๔. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ - ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๑ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - 10. กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….


๑๓๓ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................. ................. ................................................................................................................. ............................................................. 18. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................. ............................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 19. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ........................................................... ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง ......................................................................................................................................................... ..................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................. ................................ ................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง


๑๓๔ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................................... ..... ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ การประเมินชิ้นงาน/


๑๓๕ ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินการแสดงละครสั้น (ชิ้นงานที่ 2) ล าดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1 การแสดงละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ 2 การประยุกต์ใช้ท่าทาง และการเคลื่อนไหวของ ผู้คนในชีวิตประจ าวัน 3 การวิจารณ์และประเมินคุณภาพการแสดงตาม หลักการแสดงละครสั้น รวม ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = 4 คะแนน ดี = 3 คะแนน พอใช้ = 2 คะแนน ปรับปรุง = 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 11 - 12 ดีมาก 9 - 10 ดี 6 - 8 พอใช้ ต่ ากว่า 6 ปรับปรุง


๑๓๖ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด


๑๓๗ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน


Click to View FlipBook Version