๔๙ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดีและใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๕๐ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๕๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การแสดงละครร า เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง เรื่อง ท่าร าที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๔๖.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/3 ใช้ความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ ๔๗.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด ท่าร าที่น ามาใช้ประกอบการแสดงละครร า มีทั้งลักษณะการร าหน้าพาทย์และการร าบท ๔๘.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ การประดิษฐ์ท่าร าที่เป็นคู่และหมู่ ๓.๑.๑ ความหมาย ๓.๑.๒ ประวัติความเป็นมา ๓.๑.๓ ท่าทางที่ใช้ในการประดิษฐ์ท่าร า ๔๙.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ เพลงหน้าพาทย์ที่ใช้น ามาประกอบการแสดงละครร าได้(K) ๔.๒ อธิบายเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้น ามาประกอบการแสดงละครร าได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๕๐.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการน าความรู้ไปใช้ ๕๑.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๔ รักความเป็นไทย
๕๒ ๕๒.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบัติ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 สังเกต รับรู้ ๗.๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับภาษาท่า ๗.๒ ครูแสดงภาษาท่าให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนทายว่า ท่าที่ครูแสดงให้ดูนั้นต้องการสื่อ ความหมายอะไร ๗.๓ ครูเฉลยค าตอบและอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนฟังว่า ท่าร าที่น ามาใช้ประกอบการแสดงละครร า มี 2 ลักษณะ คือ ร าหน้าพาทย์และร าบท ๗.๔ สมาชิกกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ท่าร าที่ใช้ ประกอบการแสดง จากหนังสือเรียน ห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามหัวข้อที่ก าหนด ดังนี้ 1) ร าหน้าพาทย์ 2) ร าบท แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในสมุด ๗.๕ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด (ค าถาม :ในการต่อสู้ของตัวละครผู้สูงศักดิ์กับตัวประกอบ จะใช้เพลงหน้าพาทย์ประกอบการแสดงเพลงเดียวกันหรือไม่ จงอธิบาย) ๗.๖ ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า ครูจะให้นักเรียนฝึกท่าร าบทที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า ดังนี้ 1) ภาษาท่าที่ใช้แทนค าพูด 2) ภาษาท่าที่ใช้แทนอารมณ์ ความรู้สึก 3) ภาษาท่าที่ใช้แทนกิริยาอาการ ๗.๗ ครูให้นักเรียนอาสาสมัครที่ได้รับการฝึกท่าร าบทที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า จนเกิดความ ช านาญ สาธิตท่าร าให้เพื่อนดูทีละท่า หรือให้ศึกษาท่าร าจากเอกสารประกอบการสอน ขั้นที่ 2 ท าตามแบบ ๗.๘ นักเรียนจับคู่กับเพื่อน แล้วให้นักเรียนแต่ละคู่แบ่งหน้าที่กันเป็นตัวพระและตัวนาง ๗.๙ สมาชิกแต่ละคู่ฝึกท่าร าบทในภาษาท่าต่างๆ ที่ใช้ประกอบการแสดงละครร าในแต่ละท่า ตาม แบบที่นักเรียนอาสาสมัครสาธิตให้ดู 2-3 รอบ ๗.๑๐ ครูคอยสังเกตการแสดงภาษาท่าของนักเรียนแต่ละคู่ และตรวจสอบความถูกต้อง ชั่วโมงที่ 2 ๗.๑๑ นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด (ค าถาม :การร าบทหรือตีบท ช่วยท าให้ผู้ชมเกิดความ สนุกสนาน เกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับผู้แสดงได้อย่างไร) ขั้นที่ 4 ฝึกท าให้ช านาญ ๗.๑๒ สมาชิกแต่ละคู่ฝึกแสดงภาษาท่าที่ใช้ประกอบการแสดงละครร าในแต่ละท่าให้เกิดความ ช านาญ ๗.๑๓ ครูจับสลากเลือกนักเรียนทีละ 1 คู่ ออกมาแสดงภาษาท่าที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า คู่ละ 1 ท่า ๗.๑๔ เพื่อนคนอื่นๆ ร่วมกันวิจารณ์การแสดงท่าทางของเพื่อนคู่ที่น าเสนอว่าถูกต้องหรือไม่ และ เสนอแนะเพิ่มเติมในส่วนที่บกพร่อง ครูตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๑๕ สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันท าใบงานที่ 2.2 เรื่อง ท่าร าที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า เป็น การบ้าน เสร็จแล้วน าส่งครู
๕๓ ๕๓.การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.2 ใบงานที่ 2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน กลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ มุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๕๔.สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ เอกสารประกอบการสอน ๙.๑.๓ ใบงานที่ 2.2 เรื่อง ท่าร าที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.natasinthai.com/language.html 10. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................ .............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. ............................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….
๕๔ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ เพลงหน้าพาทย์ที่ใช้น ามาประกอบการแสดงละครร าได้ อธิบายเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้น ามาประกอบการ แสดงละครร าได้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................... ....................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๕๕ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๕๖ เอกสารประกอบการ ตัว พระ ตัว นาง ตัว พระ ตัว นาง 1) ภาษาท่าที่ใช้แทนค าพูด ตัวเรา ใช้มือซ้ายจีบตะแคงมือ เข้าหาล าตัว ต าแหน่งของ มืออยู่ระดับหว่างอก ท่าน ตะแคงมือข้างใดข้างหนึ่ง ให้ปลายมือชี้ไปสู่บุคคลที่ กล่าวถึง ส่วนมืออีกข้างหนึ่ง ตัวพระท้าวสะเอว ส่วนตัว นางจีบหลัง
๕๗ ตัว พระ ตัว นาง ตัว พระ ตัว นาง ตัว พระ ตัว นาง ตัว พระ ตัว นาง 2) ภาษาท่าที่ใช้แทนอารมณ์ ความรู้สึก ดีใจหรือยิ้ม ยกมือซ้ายขึ้นจีบอยู่ที่ระดับปาก และหักข้อมือ เข้าหาใบหน้าโดยให้ปลายนิ้วชี้และ นิ้วหัวแม่มืออยู่ระดับปาก โกรธ ใช้ฝ่ามือข้างใดข้างหนึ่งถูที่ก้าน คอช่วงใต้ใบหูไปมา พร้อมทั้งกระทืบเท้าลง ร้องไห้ เสียใจ ยกมือซ้ายขึ้นแตะสันจมูกข้างซ้าย ส่วนมือขวาจีบที่ชายพกหรือหัวเข็ม ขัด พร้อมสะดุ้งตัวขึ้น-ลงแสดงว่า ก าลังสะอื้น รัก ประสานมือโดยให้ปลายนิ้วทั้งสอง มือทาบแตะ ที่ฐานไหล่
๕๘ ตัว พระ ตัว นาง ตัว พระ ตัว นาง 3) ภาษาท่าที่ใช้แทนกิริยาอาการ ท่ายืน ตัวพระ ยืนตัวตรง ตึงเอว ตึงไหล่ ใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่ง ยืนรับน้ าหนัก โดยเท้าอีกข้างหนึ่ง ทอดขา วางเหลื่อมจากเท้าที่ยืนรับน้ าหนัก เล็กน้อย มือข้างเดียวกับเท้าที่ทอดออกมา วางแนบไว้ที่ หน้าขา มืออีกข้างหนึ่งท้าวสะเอว ส่วนศีรษะ เอียงข้างไปทางขาที่ยืนรับน้ าหนัก ตัวนาง ปฏิบัติเช่นเดียวกับตัวพระ แต่ลักษณะการยืน จะเป็น การประสมเท้า ตึงเข่า แขนข้างเดียวกับ เท้าที่น ามาประสมให้เหยียดตึงวาง บนหน้าขา ส่วนมืออีกข้างหนึ่งจีบหงายระดับ ชายพก ท่านั่ง ตัวพระ นั่งพับเพียบไปทางขวา แยกเข่าซ้ายออก ให้เท้าซ้ายวางหน้าหัวเข่า แขน ซ้าย เหยียดตึง มือตั้งบนเข่าซ้าย มือ ขวางอแขน ตั้งบนขาขวา ล าตัวตั้งตรง ตัวนาง นั่งพับเพียบไปทางขวา เชิดปลายนิ้วเท้า มาทางด้านหน้า เท้าขวา ซ้อนทับเท้าซ้าย มือซ้ายแบมือวางบนขาขวาด้าน นอก ส่วนมือขวาวางถัดมาทางด้าน ใน งอแขนขวา เอียงขวา
๕๙ ใบงานที่ ๒.๒ ท่าร าที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า ตอนที่ 1 ค าชี้แจงให้นักเรียนเขียนชื่อเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า พร้อมอธิบายประกอบ 1. เพลง ส าหรับ 2. เพลง ส าหรับ 3. เพลง ส าหรับ 4. เพลง ส าหรับ 5. เพลง ส าหรับ 6. เพลง ส าหรับ 7. เพลง ส าหรับ 8. เพลง ส าหรับ 9. เพลง ส าหรับ 10.เพลง ส าหรับ (พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) ตอนที่ 2 ค าชี้แจงให้นักเรียนสืบค้นภาษาท่าที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า (ไม่ซ้ ากับบทเรียน) 1 ท่า พร้อมอธิบาย ประกอบ ท่า ลักษณะการแสดง (ติดภาพ)
๖๐ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๖๑ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๖๒ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การแสดงละครร า เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง เรื่อง เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๕๕.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/3 ใช้ความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ ๕๖.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การขับร้องและบรรเลงเพลงประกอบการแสดงละครร าแต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกัน ๕๗.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ การประดิษฐ์ท่าร าที่เป็นคู่และหมู่ ๓.๑.๑ เพลงที่ใช้ ๕๘.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ความแตกต่างของเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร าแต่ละประเภทได้(K) ๔.๒ อธิบายความแตกต่างของเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร าแต่ละประเภทได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๕๙.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการน าความรู้ไปใช้ ๖๐.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๔ รักความเป็นไทย
๖๓ ๖๑.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคเล่าเรื่องรอบวง ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๗.๑ ครูเปิดวีซีดีการแสดงละครร า เรื่องสังข์ทอง และเรื่องอิเหนา ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียน ช่วยกันสังเกตว่า ละครร าทั้งสองเรื่องนี้ ใช้เพลงประกอบการแสดงเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร ๗.๒ ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนฟังว่า เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า มีส่วนช่วยเสริมเติม แต่งให้ละครมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ซึ่งเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครแต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันออกไป ขั้นสอน ๗.๓ นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้เรื่อง องค์ประกอบของการแสดง : เพลงที่ใช้ประกอบการแสดง จากหนังสือเรียน ตามหัวข้อที่ก าหนด ดังนี้ 1) ละครโนราชาตรี 2) ละครนอก 3) ละครใน 4) ละครดึกด าบรรพ์ 5) ละครพันทาง ๗.๔ นักเรียนแต่ละคนกลับกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) แล้วผลัดกันอธิบายความรู้ เกี่ยวกับเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร าแต่ละชนิด คนละ 1 หัวข้อ แบบเล่าเรื่องรอบวง จนครบทุกหัวข้อ (อาจมีบางคนต้องเล่า 2 หัวข้อ) ๗.๕ สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความแตกต่างของเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละคร ร าแต่ละชนิด แล้วเขียนสรุปเป็นแผนผังความคิดลงในใบงานที่ 2.3 เรื่อง เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า ๗.๖ เมื่อท าเสร็จแล้วให้ทุกกลุ่มเก็บรวบรวมใบงานที่ 2.3 ส่งครูตรวจ ขั้นสรุป ๗.๗ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความแตกต่างของเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร าแต่ละชนิด ๖๒.การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.3 ใบงานที่ 2.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๖๓.สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ม.6 ๙.๑.๒ วีซีดีการแสดงละครร า เรื่องสังข์ทอง และเรื่อง ๙.๑.๓ ใบงานที่ 2.3 เรื่อง เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า
๖๔ ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com 10. กิจกรรมเสนอแนะ .......................................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…….………
๖๕ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ................................................................................................ .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 1. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................................. ............ 2. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๖๖ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๖๗ ใบงานที่ 2.3 เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด สรุปความแตกต่างของเพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงละครร า ละครโนรา ชาตรี ละคร นอก ละคร ใน ละครดึกด า บรรพ์ ละคร พันทาง
๖๘ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๖๙ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๗๐ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ (แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง เรื่อง ประวัติความเป็นมาของละครที่ไม่ใช้ท่าร า เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๖๔.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการ แสดง ๖๕.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด ละครที่ไม่ใช้ท่าร า เป็นละครที่ด าเนินเรื่องโดยไม่ใช้ท่าร า มีแต่บทร้องและบทพูดในการด าเนินเรื่อง ๖๖.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ประวัติความเป็นมาของการละคร ๖๗.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ประวัติความเป็นมาของละครที่ไม่ใช้ท่าร าได้(K) ๔.๒ อธิบายประวัติความเป็นมาของละครที่ไม่ใช้ท่าร าได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๖๘.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการน าความรู้ไปใช้ ๖๙.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๔ รักความเป็นไทย
๗๑ ๗. การบูรณาการแนวคิดตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๗.๑ ความพอประมาน นักเรียนใช้อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนอย่างระมัดระวง และใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างคุมค่า ที่สุด และไม่ฟุ่มเฟือย ๗.๒ ความมีเหตุผล นักเรียนสามารถขั้นตอนการขับร้องเพลงประสานเสียงและอธิบายขั้นตอนการขับร้องเพลงประสาน เสียงได้ ๗.๓ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว นักเรียนรู้จักการแวงแผนที่ดีในการท างานและมอบหมายให้สมาชิกภายในกลุ่มท างานตาม ความสามารถของแต่ละบุคคล นักเรียนรู้จักการระมัดระวังในการใช้อุปกรณ์ และวางแผนงานอย่างมีระบบ ๗.๔ เงื่อนไขความรู้ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกขับร้องหมู่และการฝึกขับร้องประสานเสียงที่เหมาะสมได้ ๗.๕ เงื่อนไขคุณธรรม นักเรียนมีความรักความสามัคคี มีความรับผิดชอบ มีวินัยในการท างานกลุ่ม ด าเนินกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยความซื่อสัตย์และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ พร้อมทั้งใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเกิด ประโยชน์สูงสุด ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคเล่าเรื่องรอบวง ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๗.๑ นักเรียนดูวีซีดีการแสดงละครพูด เรื่อง วิวาห์พระสมุทร จากนั้นครูถามนักเรียนว่า ละครที่ นักเรียนดูเป็นละครชนิดใด (เงื่อนไขความรู้) ๗.๒ ครูเฉลยค าตอบและให้นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด (ค าถาม : ละครร ากับละครที่ไม่ใช้ ท่าร า มีความเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย) (เงื่อนไขความรู้,มีเหตุผล) ขั้นสอน ๗.๓ ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลาง และอ่อน และเลือกหมายเลขประจ าตัว ตั้งแต่หมายเลข 1-3 (มีภูมิคุ้มกัน ,มีเหตุผล) ๗.๔ สมาชิกแต่ละหมายเลขศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่า ร า จากหนังสือเรียนห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามหัวข้อที่ก าหนด ดังนี้ - หมายเลข 1 ศึกษาความรู้เรื่อง ละครร้อง - หมายเลข 2 ศึกษาความรู้เรื่อง ละครสังคีต - หมายเลข 3 ศึกษาความรู้เรื่อง ละครพูด ๗.๕ สมาชิกแต่ละหมายเลขน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาอธิบายให้สมาชิกหมายเลขอื่นๆ ในกลุ่ม ฟัง ทีละหมายเลขแบบเล่าเรื่องรอบวง(เงื่อนไขความรู้ เหตุผล) ๗.๖ สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายประเด็นส าคัญในแต่ละหัวข้อ แล้วช่วยกันสรุปเป็นแผนผัง ความคิดลงในใบงานที่ 3.1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาของละครที่ไม่ใช้ท่าร า(เงื่อนไขความรู้ เหตุผล) ๗.๗ ครูสุ่มนักเรียน 3-4 กลุ่ม ออกมาน าเสนอใบงานที่ 3.1 หน้าชั้นเรียน (เงื่อนไขความรู้ คุณธรรม พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน)
๗๒ ๗.๘ สมาชิกกลุ่มอื่นๆ ช่วยกันวิจารณ์ผลการสรุปของสมาชิกกลุ่มที่น าเสนอและเพิ่มเติมในส่วนที่ แตกต่าง ครูตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นเก็บใบงานที่ 3.1 ส่งครู(เงื่อนไขความรู้ คุณธรรม พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน) ขั้นสรุป ๗.๙ นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของละครที่ไม่ใช้ท่าร าแต่ละประเภท (เงื่อนไขความรู้ เหตุผล) ๙. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 3.1 ใบงานที่ 3.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๑๐. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๑๐.๑ สื่อการเรียนรู้ ๑๐.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๑๐.๑.๒ วีซีดีการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า เรื่อง วิวาห์พระสมุทร ๑๐.๑.๓ ใบงานที่ 3.1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาของละครที่ไม่ใช้ท่าร า ๑0.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๓ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com (การแสดงละครร า เรื่อง วิวาห์พระสมุทร) 11. กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................... ............................... ……………………………………………………………………………………………………………………….…………………..…………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….…
๗๓ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................... ............................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................... .......................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 4. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๗๔ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๗๕ ใบงานที่ ๓.๑ ประวัติความเป็นมาของละครที่ไม่ใช้ท่าร า ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสรุปประวัติความเป็นมาของละครที่ไม่ใช้ท่าร าแต่ละประเภทด้วยส านวนของตนเอง ประวัติความเป็นมาของละครร้อง คือ ) ประวัติความเป็นมาของละครสังคีต คือ ประวัติความเป็นมาของละครพูด คือ
๗๖ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๗๗ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๗๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง เรื่อง บทร้อง-บทพูดที่ใช้ประกอบการแสดง เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๗๐.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/5 วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการ แสดง ๗๑.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด บทร้อง-บทพูด จัดเป็นส่วนประกอบส าคัญของละครที่ไม่ใช้ท่าร า ซึ่งใช้ในการด าเนินเรื่อง ท าให้ผู้ชม เข้าใจเนื้อหาของละคร ๗๒.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ประวัติความเป็นมาของการละคร ๗๓.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ บทร้องและบทพูดที่ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร าได้(K) ๔.๒ ฝึกร้องบทร้องและบทพูดที่ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร าได้(P) ๔.๓ รักความเป็นไทย(A) ๗๔.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการน าความรู้ไปใช้ ๗๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๔ รักความเป็นไทย
๗๙ ๗๖.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนโดยใช้การ สาธิต ชั่วโมงที่ 1 ขั้นที่ 1 เตรียมการสาธิต ๗.๑ ครูเปิดซีดีบทร้องของละครร้อง เรื่องสาวิตรี ให้นักเรียนฟัง 1 ท่อน แล้วให้นักเรียนช่วยกัน แสดงความคิดเห็นว่า บทร้องที่ได้ยินนั้นใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร าประเภทใด ๗.๒ ครูอธิบายเพิ่มเติมจากค าตอบของนักเรียน แล้วให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง บทร้อง-บทพูดที่ ใช้ประกอบการแสดง จากหนังสือเรียน แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในสมุด ขั้นที่ 2 สาธิต ๗.๓ ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า ครูจะให้นักเรียนฝึกบทร้องและบทพูดที่ใช้ในการแสดงละครที่ไม่ใช้ ท่าร า ๗.๔ ครูแจกบทร้องและบทพูดที่ใช้ในการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ให้นักเรียนแต่ละคน แล้วท าการ สาธิตการร้องบทร้องประกอบละคร เรื่องสาวิตรี และการพูดบทพูดประกอบละคร เรื่อง หัวใจนักรบ ให้ นักเรียนฟัง (ครูอาจเปิดวีซีดีแทนก็ได้) ๗.๕ นักเรียนแต่ละคนฝึกร้องบทร้องประกอบละคร เรื่องสาวิตรี และการพูดบทพูดประกอบละคร เรื่องหัวใจนักรบ ตามแบบที่ครูสาธิตให้ดู ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นที่ 3 สรุปการสาธิต ๗.๖ นักเรียนร่วมกันสรุปวิธีการร้องบทร้องและบทพูดที่ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ๗.๗ ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนฟังเพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความส าคัญของบทร้องและบทพูดที่ ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ๗.๘ ครูให้นักเรียนเลือกบทร้องและบทพูดที่ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า มา 1 ตอน แล้ว บันทึกบทร้องและบทพูดลงในใบงานที่ 3.2 เรื่อง บทร้องและบทพูดที่ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า แล้วฝึกร้องและพูดบทละครให้เกิดความช านาญ ขั้นที่ 4 วัดผลประเมินผล ๗.๙ นักเรียนแต่ละคนส่งใบงานที่ 3.2 พร้อมกับร้องและพูดบทละครในใบงานให้ครูฟัง เพื่อ ประเมินผล (นอกเวลาเรียน) ๑๑. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 3.๒ ใบงานที่ 3.๒ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
๘๐ ๑๒. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ เอกสารประกอบการสอน ๙.๑.๓ ซีดีบทร้องของละครร้อง เรื่องสาวิตรี ๙.๑.๔ ใบงานที่ 3.2 เรื่อง บทร้องและบทพูดที่ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๑ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.youtube.com (ละครร้อง เรื่องสาวิตรี) 10. กิจกรรมเสนอแนะ ....................................................................................................................................................................... ....... ............................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................. ................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……. ..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .
๘๑ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ .................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................... ........................... ....................................................................................................... ....................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................ ...................................... .............................................................................................................................................................................. 5. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๘๒ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๘๓ เอกสารประกอบการ ตัวอย่าง บทร้อง เรื่องสาวิตรี ฉาก ทางเดินในป่าทึบ สาวิตรี การด าเนินร่วมทางอย่างเป็นมิตร กับผู้สุจริตย่อมเป็นศรี พระองค์เป็นยอดธรรมจารี หม่อมฉันนี้จึงตามเสด็จจร เสวนาบัณฑิตเป็นกิจชอบ ประกอบด้วยกุศลสโมสร อันธรรมจารีศรีสุนทร นรากรได้พึ่งจึงเย็นใจ พระยม วาจาเธอเป็นคติทั้งหมด มธุรสแถมธรรม์อันผ่องใส ได้ฟังแล้วเพลิดเพลินเจริญใจ อ้าทรามวัยประเสริฐเลิศนารี จงขอพรอีกเป็นค ารบห้า อันตูข้าไม่ขัดมารศรี จงขอพรสุดประเสริฐเถิดครานี้ จะยินดีให้สิ้นสมจินดา สาวิตรี อ้าพระผู้ประสาทศรีสวัสดิ์ พรพิพัฒน์ประทานแก่ตูข้า ไหนจะได้สมถวิลจินตนา แม้ไร้พระภรรดาผู้ยาใจ ฉะนั้นจึงจ าต้องขอประทาน ชีวิตพระสัตยวานคืนขึ้นใหม่ ด ารงพระวาทีที่ลั่นไว้ สมที่ไท้เป็นธรรมราชา...
๘๔ ตัวอย่าง บทเจรจา เรื่องหัวใจนักรบ พระภิรมย์: นั่นเป็นความเห็นของคุณหลวง แต่ความเห็นของผมผิดกัน ผมเห็นว่าการเป็นลูกเสือ ไม่มีอะไรนอกจากเลี่ยงการเล่าเรียนและซุกซนหัวร้างข้างแตกไปเท่านั้น หลวงมนู: แต่ซุกซนหัวร้างข้างแตกผมเห็นว่าดีกว่าซุกซนอีกอย่างหนึ่ง (นายสวัสดิ์แลดูนายสวาย แล้วหัวเราะ) การซุกซนอย่างลูกเสือท าให้เป็นคนแข็งแรง การซุกซนอีกอย่างหนึ่งนั้น มีผลตรงข้าม การเป็นลูกเสือท าให้เด็กรู้จักอดทน พระภิรมย์: อ้อ ยังงั้นหรือขอรับ ผมจะได้ทดลองดู (ไปหยิบแส้ม้ามา) นี่แน่ะ ถ้าเอ็งอดทนจริง อย่างคุณหลวงว่า เอ็งต้องไม่ร้อง ข้าจะลองความอดทนของอ้ายลูกเสือให้เห็นจริง (เงื้อแส้จะตีนายสวัสดิ์) หลวงมนู: (จับมือพระภิรมย์) คุณพระ ท าอย่างนั้นจะใช้ได้ที่ไหน (แย่งแส้จากมือแล้วโยนทิ้งไป) ท าอย่างนั้นก็เสียผู้ใหญ่สิครับ พระภิรมย์: นี่ผมไม่มีอ านาจเหนือลูกผมแล้วรึ หลวงมนู: ข้อนั้นไม่มีใครเถียงเลย แต่ผู้มีอ านาจควรจะใช้อ านาจในที่ที่ถูก ยุติธรรม ถ้ามิฉะนั้น ก็จะท าให้ผู้น้อยสิ้นความนับถือ พระภิรมย์: ถ้าลูกผมสิ้นความนับถือผมในครั้งนี้ ก็เป็นเพราะมันเห็นคุณหลวงเข้ากับมันเท่านั้น ฯลฯ
๘๕ ใบงานที่ 3.2 การแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเนื้อบทร้องและบทพูดที่ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า อย่างละ 1 ท่อน(ไม่ ซ้ ากับบทเรียน) พร้อมวิเคราะห์แนวคิดที่ได้ บทร้อง เรื่อง บทร้องนี้ให้แนวคิดในเรื่องใด
๘๖ บทพูด เรื่อง บทพูดนี้ให้แนวคิดในเรื่องใด
๘๗ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๘๘ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๘๙ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง เรื่อง องค์ประกอบของการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๗๗.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/6บรรยายและวิเคราะห์อิทธิพลของเครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และ สถานที่ที่มีผลต่อการแสดง ๗๘.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด เพลง การแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์การแสดงต่างๆ จัดเป็นองค์ประกอบส าคัญของการ แสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ๗๙.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ เทคนิคการจัดการแสดง ๓.๑.๑ แสง สี เสียง ๓.๑.๒ ฉาก ๓.๑.๓ อุปกรณ์ ๓.๑.๔ สถานที่ ๓.๑.๕ เครื่องแต่งกาย ๘๐.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ บรรยายลักษณะของเครื่องแต่งกาย เพลง แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ประกอบการแสดง ละครที่ไม่ใช้ท่าร าK) ๔.๒ วิเคราะห์อิทธิพลของเครื่องแต่งกาย เพลง แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ที่มีผลต่อการแสดง ละครที่ไม่ใช้ท่าร าได้(P) ๔.๓ น าความรู้ที่ได้ไปมช้ในชีวิตประจ าวันได้(A)
๙๐ ๘๑.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการวิเคราะห์ ๕.๑.๒ ทักษะการน าความรู้ไปใช้ ๘๒.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๔ รักความเป็นไทย ๘๓.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ ๗.๑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับองค์ประกอบของการแสดงละครร า เพื่อทบทวนความรู้ ๗.๒ นักเรียนดูภาพ แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า ภาพนี้เป็นการแสดงชนิดใด และมี องค์ประกอบการแสดงอะไรบ้าง ขั้นที่ 2 ส ารวจค้นหา ๗.๓ สมาชิกกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ศึกษาความรู้เรื่อง องค์ประกอบของการแสดง จากหนังสือเรียนตามหัวข้อที่ก าหนด ดังนี้ 1) เพลงที่ใช้ประกอบการแสดง 2) การแต่งกาย 3) แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ประกอบการแสดง ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ ๗.๔ สมาชิกแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาอธิบายตามประเด็นที่ครูก าหนด ดังนี้ - เครื่องแต่งกาย เพลง แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่า ร า มีลักษณะอย่างไร - เครื่องแต่งกาย เพลง แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการแสดงมีอิทธิพลต่อการ แสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร าอย่างไร ๗.๕ ครูสุ่มนักเรียน 3 กลุ่ม ออกมาอธิบายค าตอบตามประเด็นที่ครูก าหนดหน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 1 หัวข้อ ๗.๖ สมาชิกกลุ่มอื่นช่วยกันแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในส่วนที่แตกต่าง ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ ๗.๗ นักเรียนแต่ละกลุ่มคิดและออกแบบองค์ประกอบของการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า 1 เรื่อง บันทึกลงในใบงานที่ 3.3 เรื่อง องค์ประกอบของการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล ๗.๘ สมาชิกแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนน าเสนอใบงานที่ 3.3 หน้าชั้นเรียน ๗.๙ ครูตรวจสอบความถูกต้องและเสนอแนะเพิ่มเติมในส่วนที่บกพร่อง
๙๑ ๑๓. การวัดและประเมินผลการเรียน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 3.๓ ใบงานที่ 3.๓ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๑๔. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ สื่อการเรียนรู้ ๙.๑.๑ หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.6 ๙.๑.๒ บัตรภาพ ๙.๑.๓ ใบงานที่ 3.3 เรื่อง องค์ประกอบของการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ๙.๒ แหล่งการเรียนรู้ ๙.๒.๑ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - 10. กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………….
๙๒ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 7. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................................. ............ ....................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ .................................................................. 8. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง
๙๓ ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ .................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................... .................................... ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................. ............................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๙๔ ภาพการแสดงละครเวที บัตร ภาพ
๙๕ ใบงานที่ 3.3 องค์ประกอบของการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า ค าชี้แจง ให้นักเรียนคิดและออกแบบองค์ประกอบของการแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า 1 เรื่อง การแสดงละครที่ไม่ใช้ท่าร า เรื่อง 1. เพลงที่ใช้ประกอบการแสดง 2. การแต่งกาย 3. แสง สี เสียง ฉาก และอุปกรณ์ประกอบการแสดง
๙๖ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย ความหมายของเพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการท ากิจกรรมกับสมาชิกใน โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ชื่นชมความเป็นชาติไทย 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลัก ของศาสนาอย่างสม่ าเสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมใน พระราชกรณียกิจพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระ ราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะกระท า ความผิด ท าตามสัญญาที่ตนให้ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และครู เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความซื่อสัตย์ 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนด้านความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน และรับผิดชอบในการท างาน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง ประหยัดคุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่าง เหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระท าผิดพลาด
๙๗ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) ค าชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 5.5 วางแผนการเรียน การท างานและการใช้ชีวิตประจ าวันบน พื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร 5.6 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการ ท างาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการท างานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูท างาน 8.2 อาสาท างาน ช่วยคิด ช่วยท า และแบ่งปันสิ่งของ และช่วย แก้ปัญหาให้ผู้อื่น 8.3 ดูแล รักษาทรัพย์สินของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน และชุมชน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
๙๘ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๓๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การสร้างสรรค์ละครสั้น เวลาเรียน ๗ ชั่วโมง เรื่อง หลักการสร้างสรรค์ละครสั้น เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู ๘๔.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.4-6/4 วิจารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์และการละคร ๘๕.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด รูปแบบในการน าเสนอ เนื้อเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา เวลา สถานที่ และแก่นของเรื่อง เป็นหลักการที่ ใช้ในการสร้างสรรค์ละครสั้น ๘๖.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ หลักการสร้างสรรค์และการวิจารณ์ ๘๗.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ หลักการสร้างสรรค์ละครสั้นได้K) ๔.๒ อธิบายหลักการสร้างสรรค์ละครสั้นได้(P) ๔.๓ น าความรู้ที่ได้ไปมช้ในชีวิตประจ าวันได้(A) ๘๘.สมรรถนะส าคัญ ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๑.๑ ทักษะการวิเคราะห์ ๘๙.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ รับผิดชอบ ๖.๒ ไฝ่เรียนรู้ ๖.๓ มุ่งมั่นในการท างาน