รายงานผลการสมั มนาทางวชิ าการ
เรื่อง การจัดการความรู้แบบองค์รวม
นางสาวปวรศิ า อนิ ทร์เก้อื
รหัสประจาตวั 6211120012
รายงานฉบบั นี้เป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษารายวิชา
สัมมนาการพฒั นาองคค์ วามร้แู ละนวตั กรรมทางดา้ นนาฏศิลป์ 2053904
หลักสตู รนาฏศลิ ป์ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช
ภาคเรียนท่ี 1/2564
ก
คานา
รายงานลการจัดสัมมนาทางวิชาการนาฏศิลป์เร่ืองการจัดการความรู้แบบองค์รวม เป็นส่วนหน่ึงของ
การศึกษารายวชิ าสัมมนาการพัฒนาองค์ความร้แู ละนวตั กรรมทางด้านนาฏศิลป์ มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ จดั กิจกรรม
การสัมมนาการจัดการความรู้แบบองค์รวมกับนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ และเพื่อรายงานผลการจัดสัมมนา
การจดั การความรแู้ บบองคร์ วมของนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์
สาระสาคญั ของเอกสารประกอบดว้ ย บทท่ี1 บทนา ประกอบไปด้วย หลกั การและเหตุผลวัตถุประสงค์
ขอบเขตการศึกษา คาสาคัญ และประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ บทท่ี2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
ความรเู้ ร่อื งการจดั การความรู้ และการถอดเทปการสัมมนาวชิ าการเรื่อง การจดั การความรู้แบบองค์รวม บทท่ี
3 วธิ ดี าเนนิ การ ประกอบดว้ ย ขนั้ เตรยี มการ ข้ันดาเนนิ การ และขั้นสรปุ บทที่4 รายงานผล ประกอบด้วย ผล
ความพึงพอใจ และบทท5่ี สรปุ และข้อเสนอแนะ ประกอบดว้ ย สรุป และขอ้ เสนอแนะ
ขอขอบคณุ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรวฒั น์ ชา่ งสาน อาจารยป์ ระจาสมั มนาการพัฒนาองค์ความรู้และ
นวตั กรรมทางดา้ นนาฏศิลป์ ทชี่ ้ีแนะการพัฒนาเอกสารจนสมบูรณ์เปน็ สื่อท่ีดีมปี ระโยชน์ ขอบคุณอาจารย์พัทธ
นันท์ อธิตัง ที่เสียสละเวลามาเป็นวิทยากiในโครงการสัมมนา เพ่ืออธิบายในเรื่อง การจัดการความรู้แบบองค์
รวม ให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจมากย่ิงขึ้น ขอบคุณเพื่อน ๆ น้อง ๆ สาขาวิชานาฏศิลป์ทุกคนท่ีเป็น
กาลังใจในการพัฒนาสร้างผลสัมฤทธ์ทิ ่ดี ีของงานเอกสารครั้งน้ี จงึ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี
ปวริศา อนิ ทร์เก้ือ
19/ ตลุ าคม / 2564
ข หนา้
สารบัญ ก
ข
คานา......................................................................................................................... .................... ค
สารบญั ................................................................................................................................. ......... 1
สารบัญภาพ............................................................................................................. ...................... 1
บทที่1 บทนา………………………………………………………………………………………………………………….. 1
2
หลักการและเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………. 2
วตั ถุประสงค์………………………………………………………………………………………………………. 3
ขอบเขตการศกึ ษา………………………………………………………………………………………………. 4
คาสาคญั ……………………………………………………………………………………………………………. 4
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ…………………………………………………………………………………… 9
บทท่ี2 วรรณกรรมที่เก่ียวข้อง…………………………………………………………………………………………... 29
ความรเู้ รอ่ื งการจัดการความรู้………………………………………………………………………………. 29
การถอดเทปการสัมมนาวชิ าการเร่อื ง การจดั การความรูแ้ บบองค์รวม……………………… 30
บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การ………………………………………………………………………………………………………. 33
ขั้นเตรียมการ…………………………………………………………………………………………………….. 37
ขั้นดาเนินการ…………………………………………………………………………………………………….. 37
ขน้ั สรปุ ……………………………………………………………………………………………………………… 40
บทที่ 4 รายงานผล…………………………………………………………………………………………………………… 40
ผลความพงึ พอใจ…………………………………………………………………………………………………. 41
บทท่ี5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ…………………………………………………………………………………………….. 42
สรปุ …………………………………………………………………………………………………………………… 44
ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………….
บรรณานกุ รม………………………………………………………………………………………………………..………..
ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………….
ค หน้า
สารบญั ภาพ 5
7
ภาพท่ี 10
12
ภาพที่ 1 โมเดลเซกิ.......................................................................................................... 14
ภาพที่ 2 โมเดลปลาทู......................................................................................................
ภาพที่ 3 ผเู้ ขา้ ร่วมสัมมนา…………………………………………………………………………………… 15
ภาพท่ี 4 แนะนาวิทยากร…………………………………………………………………………………….
ภาพที่ 5 PowerPoint ผู้ชายนงั่ รถเขน็ และเดก็ …………………………………………………….. 15
ภาพท่ี 6 PowerPoint ภาพสนุ ขั ………………………………………………………………………… 16
ภาพท่ี 7 PowerPoint ธรรมชาตสิ รา้ งภาพ………………………………………………………….. 17
ภาพที่ 8 PowerPoint คนวาดกระดาน……………………………………………………………….. 18
ภาพท่ี 9 PowerPoint การศึกษาแบบองคร์ วม…………………………………………………….. 19
ภาพท่ี 10 PowerPoint ความรู้ ความคิด ลงมือทา………………………………………………. 20
ภาพที่ 11 PowerPoint ภาพนกั ร้อง……….………………………………………………………….. 21
ภาพท่ี 12 PowerPoint แนะนาหนังสอื ……………………………………………………………… 22
ภาพที่ 13 PowerPoint ความรู้ km…………………………………………………………………… 23
ภาพที่ 14 PowerPoint เปา้ หมาย…………………………………………………………………….. 25
ภาพท่ี 15 PowerPoint โมเดลปลาท…ู …………………………………………………………….. 25
ภาพที่ 16 PowerPoint บุคคลสาคัญในโมเดลปลาทู……………………………………………
ภาพท่ี 17 PowerPoint องค์กรที่ใชก้ ระบวนจัดการเรยี นรู้……………………………………
1
บทที่ 1
บทนา
หลกั การและเหตผุ ล
ในโลกแห่งการเรียนรู้ การสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง จึงมีความสาคัญมากสาหรับผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21 การจัดการความรู้แบบองค์รวม เป็นเครื่องช่วยที่จะทาให้ผู้เรียนปรับตัวเข้ากับโลกปัจจุบัน ซึ่ง
เป็นแนวคิดที่เน้นการเรียนรู้เพื่อการเปล่ียนแปลงตนเอง เปลี่ยนผู้อ่ืน เปล่ียนแปลงสังคม และพัฒนาศักยภาพ
ในตวั ของผู้เรียน โดยใหเ้ กิดการฝกึ ฝนปฏบิ ตั ิอยา่ งเป็นระบบ รวมท้ังการรจู้ กั ปฏิสัมพันธก์ ารเรยี นรู้กบั ผู้อน่ื อย่าง
เป็นกลั ยาณมติ ร
ด้วยเหตุน้ผี ู้จดั สมั มนาในครั้งนีเ้ หน็ ว่า การจัดการความรู้แบบองคร์ วมมีความสาคญั อยา่ งยิ่ง เหมาะสม
กับยุคซึ่งมีเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้า และมีบทบาทในการเรียนการสอน ส่งผลให้เราต้องเกิดการเรยี นรู้เพ่ิมมากขึน้
การจัดการความรู้แบบองค์รวมไม่ใช่เพียงแต่การสร้างปฏิสมั พันธเ์ ท่าน้ัน แตเ่ ป็นการรว่ มมือและระดมความคิด
หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ทาให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ท่ีมีกระบวนความคิดอย่างเป็นระบบ
มากกวา่ เดมิ
การจัดการสัมมนาครั้งน้ีคาดการณ์ว่า จะได้เปิดโลกแห่งการเรียนรู้ใหม่ เพื่อกระจายความคิด รับฟัง
ความคิด และเหตุผลที่แตกต่าง ร่วมท้ังการปรับเปลี่ยนความคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจกับ
การจัดการเรยี นร้มู ากข้นึ และนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาตนเองทง้ั นยี้ งั เป็นประโยชน์ให้การทางานเปน็ ได้
เข้าใจหน้าที่และเป้าหมายของการทางานเป็นกลุ่มรวมทั้งจะช่วยให้นักศึกษารู้จักวิธีการวางการทางานกลุ่ม
อย่างเปน็ ระบบเพอ่ื ใหง้ านออกมาไดส้ มบูรณ์มากท่สี ุด จึงได้มกี ารจัดโครงการสัมมนาในครง้ั น้ี
ด้ังนั้น การจัดการความรู้แบบองค์รวม จึงเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เก้ือกูลซึ่งกันและกัน
เพื่อใหเ้ กดิ การเรียนรู้ท่เี ป็นทีม เกดิ กระบวนการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย และไดม้ องเห็นถึงกระบวนการทางานกลุ่ม
ทมี่ ีความหลาหลายใหก้ ารแสดงความคิดเห็น ก็ให้เกิดการปรบั ปรงุ และพฒั นางานให้เป็นระบบและเปน็ ขั้นตอน
มากขึน้ ในการทางานครงั้ ต่อไป
วัตถปุ ระสงค์
การสมั มนา ในครง้ั น้ีมวี ัตถุประสงคท์ ี่สาคัญ คือ
1. เพ่อื จดั กจิ กรรมการสมั มนาการจัดการความรแู้ บบองค์รวมกบั นกั ศึกษาสาขาวิชานาฏศลิ ป์
2. เพ่อื รายงานผลการจดั สัมมนาการจดั การความรแู้ บบองคร์ วมของนักศึกษาสาขาวชิ านาฏศิลป์
2
ขอบเขตการศกึ ษา
การสัมมนาในครง้ั นี้ มีขอบเขตท่ีนา่ สนใจคือ
1. ขอบเขตด้านเนือ้ หา
มงุ่ จัดกิจกรรมการสัมมนาการจัดการความร้แู บบองคร์ วมกบั นกั ศึกษาสาขาวชิ านาฏศิลป์ และมุง่
รายงานผลการจดั สัมมนาการจดั การความรู้แบบองค์รวมของนักศึกษาสาขาวิชานาฏศลิ ป์
2. ขอบเขตด้านสถานท่ี
2.1 วิทยากร
อาจารย์พัทธนันท์ อธิตัง อาจารย์ประจาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช สาเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ
มหาบณั ฑิต จากมหาวทิ ยาลยั รามคาแหง ปัจจบุ ันท่านรบั ตาแหน่งอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจดั การ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
2.2 นกั ศกึ ษา
นักศึกษาสาขานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จานวน 37
คน
3. ขอบเขตด้านระยะเวลา
การจัดโครงการสัมมนา เร่ือง การจัดการความรู้แบบองค์รวม ในครง้ั น้ี จะใชเ้ วลาในการปฏิบตั ิงาน
วนั ที่ 16 - 24 กันยายน ในภาคเรยี นท่ี 1/2564
คาสาคัญ
การสัมมนา หมายถึง การประชุมเพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้ และความคิดเห็นเพ่ือหาข้อสรุปในเร่ืองใด
เรื่องหน่ึง ผลของการสัมมนาถือว่า เป็นเพียงข้อเสนอแนะผู้ท่ีเกี่ยวข้องจะนาไปปฏิบัติตามหรือไม่ก็ได้ โดยมี
จดุ มงุ่ หมายเพ่ืออบรม ฝกึ ฝน ชี้แจง แนะนา ส่งั สอน ปลูกฝังทศั นะคติและให้คาปรึกษา ในเรอ่ื งท่ีเกย่ี วข้องหรือ
แสวงหาขอ้ ตกลงดว้ ยวิธีการอภิปราย แลกเปลีย่ นความคิดเห็นอย่างเสรี ซักถาม ถกเถียง ปรึกษาหารอื ภายใน
หัวข้อท่ีกาหนด ซ่งึ ผลจากการสัมมนา จะช่วยใหร้ ะบบและวิธีการท างานมีประสทิ ธภิ าพสูงขึน้ (ไพโรจน์ เนยี ม
นาค, 2554) กิจกรรมครั้งนี้คือการจัดสัมมนาการจัดการความรู้แบบองค์รวม โดยมีอาจารย์พัทธนันท์ อธิตัง
เปน็ วทิ ยากร จดั ในวันท่ี 24 กนั ยายน 2564 ณ หอ้ ง classroom
การจัดการความรู้แบบองค์รวม หมายถึง การพัฒนามนุษย์และการจัดการเรียนรู้ที่คานึงถึงมิติอัน
หลากหลายของบุคคล ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา การรู้คิด สุนทรียภาพ และมิติอ่ืน ๆ แล้วแต่จะ
กาหนดความหมาย การจัดการศึกษาแบบองค์รวมคิดถึงภาวะทั้งหมดในชีวิตของบุคคล แม้ชีวิตจะมี
องค์ประกอบย่อยมากมาย หากแต่ละองค์ประกอบมีบริบทภายในตนและเช่ือมโยงกับองค์ประกอบอื่นอย่าง
เป็นพลวัต การจัดการศึกษาจึงต้องมีลักษณะบูรณาการสอดคล้องและเก้ือหนุนต่อการพัฒนาชีวิต แนวคิด
การศึกษาแบบองค์รวมมีพื้นฐานมาจากจิตวิทยากลุ่มเกสตอลต์ (Gestalt Psychology) ซ่ึงเป็นกลุ่มที่เน้น
3
ความเป็น “ส่วนรวมท้ังหมด (whole)” การศึกษาพฤติกรรมของบุคคลต้องพิจารณาเป็นองค์รวม จะแยกทีละ
สว่ น (part) ไมไ่ ด้ เพราะคณุ ค่าขององคร์ วมมีมากกวา่ การนาส่วนยอ่ ย ๆ มาบวกกัน (ราชบัณฑติ ยสภา, 2557)
ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
ภายหลังจากการสัมมนาคาดการณว์ า่ จะไดร้ บั ประโยชน์คือ
1. ได้จดั กิจกรรมการสมั มนาการจดั การความรู้แบบองค์รวมกบั นกั ศึกษาสาขาวชิ านาฏศิลปอ์ ย่างน้อย
1 ครัง้
2. ได้เอกสารรายงานผลการจัดสัมมนาการจดั การความรู้แบบองค์รวมของนักศึกษาสาขาวิชา
นาฏศิลป์อยา่ งน้อย 1 ฉบับ
3. นักศกึ ษาสาขาวชิ านาฏศิลปม์ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกับการจัดการความรู้แบบองคร์ วมสามารถ
นาไปปรับใชไ้ ด้ในสถานการณ์จรงิ อยา่ งมีความสุข
4
บทที่ 2
ทบทวนวรรณกรรม
ทบทวนวรรณกรรมท่ีจะนาเสนอน้ี จะใหร้ ายละเอียดของเร่ือง ต่อไปนี้
1. ความรูเ้ รือ่ งการจัดการความรู้
1.1 ความหมายของการจัดการความรู้ (KM)
1.2 กระบวนการจัดการความรู้
1.3 เคร่อื งมอื ในการจดั การเรยี นรู้
1.4 คนสาคัญทีด่ าเนินการจดั การความรู้
2. การถอดเทปการสัมมนาวิชาการเร่ือง การจัดการความรู้แบบองคร์ วม
ความรู้เรื่องการจัดการความรู้
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องจะให้รายละเอียด เรื่อง การจัดการความรู้แบบองค์รวม ประกอบด้วย
ความหมายของการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ เคร่ืองในการการเรียนรู้ คนสาคัญที่ดาเนินการ
จดั การความรู้ ดงั นี้
ความหมายของการจัดการความรู้ (KM)
การจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) หมายถึง การรวบรวมองคค์ วามรู้ทม่ี ีอยู่ใน
องค์กรซ่ึงกระจดั กระจายอยใู่ นตัวบุคคล หรอื เอกสาร มาพัฒนาให้เปน็ ระบบ เพือ่ ให้ทุกคนในองค์กรสามารถ
เขา้ ถงึ ความรู้ และพัฒนาตนเองให้เปน็ ผรู้ ู้ รวมท้งั ปฏิบตั ิงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ (ชนาธปิ ลนี นิ , 2563)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) หมายถงึ เครื่องมือเพ่ือใชใ้ นการบรรลุ
เป้าหมายอยา่ งน้อย 3 ประการไปพร้อมๆกัน ไดแ้ ก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเปา้ หมายการพัฒนาคน
และบรรลเุ ป้าหมายการพัฒนาองค์กร ไปสู่การเปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ โดยการจดั การใหม้ ีการค้นพบความรู้
ความชานาญทแ่ี ฝงเรน้ ในตัวคน หาทางนาออกมาแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ตกแต่งให้งา่ ยต่อการใชส้ อยและมี
ประโยชนเ์ พ่มิ ขน้ึ (สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาศลิ ปากร, 2556)
การจัดการความรู้ Knowledge Management คือ การรวบรวม จดั เรยี ง หรือสร้างองคค์ วามรู้ท่ีมีอยู่
ในองค์กร ทั้งในตัวบุคคลและเอกสาร เพื่อให้คนภายในองค์กรสามารถท่ีจะเข้าถึงความรู้ หรือข้อมูลต่างๆ
เหล่านี้ได้ แล้วนามาพัฒนาตัวเองและนาไปใช้เพื่อพัฒนาองค์กรอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด (องค์การถ่ายทอด
ความรแู้ ละเป็นสว่ นรว่ มกับงานวจิ ยั โปรตอนจากทวปี ยโุ รป, 2560)
ดังน้ัน การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) จึงหมายถึง การรวบรวม แล้วนาองค์
ความรูท้ ีม่ ีอยใู่ นตวั บุคคล มาแลกเปลี่ยนกระจายความรูซ้ ง่ึ กันและกัน เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมายของการพฒั นางาน
5
การพัฒนาคน และพัฒนาองค์ ให้ทุกคนในองค์กรได้เข้าถึงความรู้ของตนเองและทาการรวบรวมความรู้จาก
หลายแหล่ง เพ่ือนามาพัฒนาความรู้ของตนเองและพัฒนาองค์กรในการนาไปต่อยอดความรู้หรือนาความรู้ที่ได้
ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ ใหเ้ หน็ ถงึ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลต่อตนเองและองค์กรมากที่สดุ
กระบวนการจัดการความรู้
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิด
พัฒนาการของความรู้ หรือการจดั การความร้ทู ่จี ะเกิดขนึ้ ภายในองคก์ ร มีทงั้ หมด 7 ขัน้ ตอน
1.การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) เป็นการพิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ
ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ต้องใช้อะไร ปัจจุบันมีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด
และอยูท่ ใี่ คร
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) เป็นการสร้าง แสวงหา
รวบรวมความร้ทู ง้ั ภายใน/ภายนอก รกั ษาความรู้เดิม แยกความรทู้ ี่ใช้ไม่ไดแ้ ล้วออกไป
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) เป็นการกาหนดโครงสร้างความรู้ แบ่ง
ชนดิ ประเภท เพอื่ ให้สืบค้น เรยี กคืน และใช้งานไดง้ ่าย
4.การประมวลและกล่ันกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) เป็นการ
ปรับปรงุ รูปแบบเอกสารใหเ้ ปน็ มาตรฐาน ใชภ้ าษาเดียวกนั ปรบั ปรุงเนอื้ หาใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ์
5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) เป็นการทาให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่าย
และสะดวก เชน่ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT) Web board บอรด์ ประชาสมั พนั ธ์ เปน็ ตน้
6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) เป็นการแบ่งปัน สามารถทาได้หลายวิธีการ
โดยกรณีทเ่ี ปน็ ความรู้ชดั แจง้ (Explicit Knowledge) อาจจัดทาเปน็ เอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
หรือกรณีที่เป็นความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) จัดทาเป็นระบบทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและ
นวัตกรรม ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ ระบบพเี่ ล้ียง การสับเปลี่ยนงาน การยมื ตัว เวทแี ลกเปลยี่ นความรู้ เปน็ ต้น
7.การเรียนรู้ (Learning) เป็นการนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา และทาให้เป็น
ส่วนหน่ึงของงาน เช่น เกิดระบบการเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การนาความรู้ในไปใช้ เกิดการเรียนรู้ และ
ประสบการณใ์ หม่ และหมุนเวียนตอ่ ไปอย่างต่อเนอื่ ง
เครือ่ งมอื ในการจัดการเรยี นรู้
1. โมเดลเซกิ (SECI Model) คือ แผนภาพแสดงความสมั พันธ์การหลอมรวมความรู้ในองค์กรระหวา่ ง
ความรูฝ้ งั ลกึ (Tacit Knowledge) กบั ความรชู้ ัดแจง้ (Explicit Knowledge) ใน 4 กระบวนการ เพือ่ ยกระดับ
ความรู้ให้สูงข้ึนอย่างต่อเน่ืองเป็นวัฎจักร เริ่มจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Socialization) การสกัดความรู้ออก
จากตวั คน (Externalization) การควบรวมความรู้ (Combination) และการผนกึ ฝังความรู้ (Internalization)
และวนกลบั มาเรม่ิ ตน้ ทาซา้ ท่กี ระบวนการแรก เพ่ือพฒั นาการจัดการความร้ใู หเ้ ปน็ งานประจาทยี่ ่ังยืน
1.1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Socialization) S : Tacit to Tacit กระบวนการที่ 1 อธิบาย
ความสัมพันธ์ทางสังคมในการส่งต่อระหว่างความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) ด้วยกัน เป็นการแบ่งปัน
6
ประสบการณ์แบบเผชิญหน้าระหว่างผู้รู้ เช่น การประชุม การระดมสมอง ที่มาจากความรู้ การเรียนรู้ และ
ประสบการณข์ องแตล่ ะบุคคล เฉพาะเร่ือง เฉพาะพ้ืนท่ี แลว้ นามาแบง่ ปนั แลกเปลย่ี นเรยี นรูใ้ นสภาพแวดล้อม
เดยี วกนั ท่ีมใิ ช่เป็นเพียงการอ่านหนังสือ ค่มู อื หรือตารา
1.2 การสกัดความรู้ออกจากตัวคน (Externalization) E : Tacit to Explicit กระบวนการท่ี 2
อธิบายความสัมพันธ์กับภายนอกในการส่งต่อระหว่างความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) กับความรู้ชัดแจ้ง
(Explicit knowledge) อาจเป็นการนาเสนอในเวทีวิชาการ หรือบทความตีพิมพ์ เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ท่ี
ถูกฝังอยู่ในความรู้ฝังลึกให้สื่อสารออกไปภายนอก อาจเป็นแนวคิด แผนภาพ แผนภูมิ เอกสารท่ีสนับสนุนให้
เกิดการสื่อสารระหว่างผู้เรียนรู้ด้วยกันท่ีเข้าใจได้ง่าย ซ่ึงความรู้ฝังลึกจะถูกพัฒนาให้ตกผลึกและถูกกล่ันกรอง
แล้วนาไปสู่การแบ่งปัน เปลีย่ นเป็นฐานความร้ใู หมท่ ่ถี กู นาไปใชส้ รา้ งผลิตภณั ฑใ์ หมใ่ นกระบวนการใหม่
1.3 การควบรวมความรู้ (Combination) C : Explicit to Explicit กระบวนการท่ี 3 อธิบาย
ความสัมพันธ์การรวมกันของความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) ที่ผ่านการจัดระบบ และบูรณาการความรู้
ที่ต่างรูปแบบเข้าด้วยกัน เช่น นาความรู้ไปสร้างต้นแบบใหม่ ไปสร้างสรรค์งานใหม่ ได้ความรู้ใหม่ โดยความรู้
ชัดแจ้งได้จากการรวบรวมความรู้ภายในหรือภายนอกองค์กร แล้วนามารวมกัน ปรับปรุง หรือผ่านกระบวน
การที่ทาใหเ้ กดิ ความร้ใู หม่ แลว้ ความรใู้ หมจ่ ะถกู เผยแพร่แกส่ มาชกิ ในองค์กร
1.4 การผนึกฝังความรู้ (Internalization) I : Explicit to Tacit กระบวนการที่ 4 อธิบาย
ความสัมพันธ์ภายในที่มีการส่งต่อความรู้ชัดแจ้ง (Explicit knowledge) สู่ความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge)
แล้วมีการนาไปใช้ในระดับบุคคล ครอบคลุมการเรียนรู้และลงมือทา ซ่ึงความรู้ชัดแจ้งถูกเปล่ียนเป็นความรู้ฝัง
ลึกในระดบั บคุ คลแลว้ กลายเป็นทรพั ย์สินขององค์กร
ภาพท่ี 1 โมเดลเซกิ (SECI Model)
ทีม่ า : ชนาธิป ลีนนิ , 2563
2. โมเดลปลาทู (Tuna Model) เปรียบการจัดการความรู้ เหมือนกับปลาทูหน่งึ ตัวท่ีมี 3 ส่วนสัมพันธ์
กัน ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการ
จดั การความรู้ โดยก่อนท่จี ะทาจดั การความรู้ ตอ้ งตอบให้ไดว้ า่ “เราจะทา KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “หัวปลา”
น้ีจะต้องเป็นของ “คุณกิจ” หรือ ผู้ดาเนินกิจกรรม KM ทั้งหมด โดยมี “คุณเอ้ือ” และ “คุณอานวย” คอย
7
ช่วยเหลือ ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) หมายถึง ส่วนของการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ซ่ึงถือว่าเป็น
ส่วนสาคัญ ซึ่ง “คุณอานวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ “คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้
โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นท่ีมีอยู่ในตัว “คุณกิจ” พร้อมอานวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้
เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม ส่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA)
หมายถึง ส่วนของ “คลังความรู้” หรือ “ขุมความรู้” ท่ีได้จากการเก็บสะสม “เกร็ดความรู้” ที่ได้จาก
กระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ “ตัวปลา” ซง่ึ เราอาจเก็บส่วนของ “หางปลา” นดี้ ้วยวิธตี า่ ง ๆ เชน่ ICT ซ่งึ เป็น
การสกัดความรู้ท่ีซ่อนเร้นให้เป็นความรู้ที่เด่นชัด นาไปเผยแพร่และแลกเปล่ียนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับ
ตอ่ ไป
ภาพท่ี 2 โมเดลปลาทู (Tuna Model)
ทม่ี า : ชนาธิป ลีนนิ , 2563
คนสาคัญทด่ี าเนนิ การจดั การความรู้
1.ผู้บริหารสงู สุด (CEO) สาหรับวงการจัดการความรู้ ถา้ ผู้บรหิ ารสงู สุดเปน็ แชมเป้ียน (เหน็ คณุ ค่า และ
ดาเนินการผลักดัน KM) เรื่องท่ีว่ายากท้ังหลายก็ง่ายข้ึน ผู้บริหารสูงสุดควรเป็นผู้ริเร่ิมกิจกรรมจัดการความรู้
โดยกาหนดตัวบุคคลที่จะทาหน้าที่ “คุณเอ้ือ (ระบบ)” ของ KM ซ่ึงควรเป็นผู้บริหารระดับสูง เช่น รองอธิบดี,
รองผ้อู านวยการใหญ่
2.คุณเอื้อ (Chief Knowledge Officer : CKO) ถา้ การรเิ รมิ่ มาจากผบู้ รหิ ารสูงสุด “คุณเอื้อ” กส็ บาย
ไปเปลาะหน่ึง แต่ถ้าการริเริ่มที่แท้จริงไม่ได้มาจากผู้บริหารสูงสุด บทบาทแรกของ “คุณเอ้ือ” ก็คือ นา
เป้าหมาย/หัวปลา ไปขายผู้บริหารสูงสุด ให้ผู้บริหารสูงสุดกลายเป็นเจ้าของ “หัวปลา” ให้ได้ บทบาทต่อไป
ของ “คณุ เออ้ื ” คือ การหา “คณุ อานวย” และร่วมกบั “คุณอานวย” จดั ใหม้ ีการกาหนด “เป้าหมาย/หวั ปลา”
ในระดับยอ่ ยๆ ของ “คุณกิจ/ผู้ปฏิบตั งิ าน”, คอยเชอ่ื มโยง “หัวปลา” เขา้ กบั วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย และ
ยุทธศาสตร์ขององค์กร, จัดบรรยากาศแนวราบ และการบริหารงานแบบเอื้ออานาจ (Empowerment), ร่วม
Share ทักษะในการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการจัดการความรู้โดยตรง และ
เพื่อแสดงให้ “คุณกิจ” เห็นคุณค่าของทักษะดังกล่าว, จัดสรรทรัพยากรสาหรับใช้ในกิจกรรมจัดการความรู้
8
พร้อมคอยเชื่อมโยงการจัดการความรู้เข้ากับกิจกรรมสรา้ งสรรค์อื่นๆ ทั้งภายในและนอกองค์กร, ติดตามความ
เคล่ือนไหวของการดาเนินการให้คาแนะนาบางเร่ือง และแสดงท่าทีชื่นชมในความสาเร็จ อาจจัดให้มีการยก
ยอ่ งในผลสาเรจ็ และให้รางวลั ท่อี าจไม่เนน้ สิ่งของแต่เน้นการสรา้ งความภาคภมู ใิ จในความสาเรจ็
3.คุณอานวย (Knowledge Facilitator : KF) เป็นผู้คอยอานวยความสะดวกในการจัดการความรู้
ความสาคัญของ “คุณอานวย” อยทู่ กี่ ารเป็นนักจุดประกายความคดิ และการเปน็ นักเช่ือมโยง โดยตอ้ งเชอื่ มโยง
ระหว่างผู้ปฏิบัติ (“คุณกิจ”) กับผู้บริหาร (“คุณเอ้ือ”), เชื่อมโยงระหว่าง “คุณกิจ” ต่างกลุ่มภายในองค์กร,
และเชื่อมโยงการจัดการความรู้ภายในองค์กร กับภายนอกองค์กร โดยหน้าท่ีท่ี “คุณอานวย” ควรทา คือ -
ร่วมกับ “คุณเอ้ือ” จัดให้มีการกาหนด “หัวปลา” ของ “คุณกิจ” อาจจัด “มหกรรมหัวปลา” เพ่ือสร้างความ
เป็นเจ้าของ “หัวปลา” - จัดตลาดนัดความรู้ เพ่ือให้ คุณกิจ นาความสาเร็จมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดความรู้
ออกมาจากวิธีทางานท่ีนาไปสู่ความสาเร็จนั้น เพื่อการบรรลุ “หัวปลา” - จัดการดูงาน หรือกิจกรรม “เชิญ
เพื่อนมาช่วย” (Peer Assist) เพ่ือให้บรรลุ “หัวปลา” ได้ง่าย หรือเร็วข้ึน โดยท่ีผู้นั้นจะอยู่ภายในหรือนอก
องค์กรก็ได้ เรียนรู้วิธีทางานจากเขา เชิญเขามาเล่าหรือสาธิต - จัดพื้นท่ีเสมือนสาหรับการแลกเปล่ียนเรียนรู้
และสาหรับเก็บรวบรวมขุมความรู้ท่ีได้ เช่น ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศซ่ึงรวมทั้งเว็บไซต์ เว็บ
บอร์ด เว็บบล็อก อินทราเน็ต จดหมายข่าว เป็นต้น - ส่งเสริมให้เกิดชุมชนแนวปฏิบัติ (CoP-Community of
Practice) ในเรือ่ งทเี่ ปน็ ความรู้ หรือเป็นหวั ใจในการบรรลุเป้าหมายหลักขององค์กร - เชื่อมโยงการดาเนินการ
จัดการความรู้ขององค์กร กับกิจกรรมจัดการความรู้ภายนอก เพื่อสร้างความคึกคักและเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กับภายนอก
4.คณุ กิจ (Knowledge Pracititoner : KP) “คณุ กิจ” หรอื ผปู้ ฏิบตั งิ าน เปน็ พระเอกหรือนางเอกตัว
จริง ของการจัดการความรู้ เพราะเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมจัดการความรู้ประมาณร้อยละ 90-95 ของท้ังหมด
“คุณกิจ” เปน็ เจา้ ของ “หวั ปลา” โดยแท้จรงิ และเป็นผทู้ ่มี ีความรู้ (Explicit Knowledge) และเป็นผทู้ ีต่ ้องมา
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ใช้ หา สร้าง แปลง ความรเู้ พ่อื การปฏิบัติให้บรรลุถงึ “เปา้ หมาย/หวั ปลา” ท่ตี ้ังไว้
5.คุณประสาน (Network Manager) เป็นผู้ท่ีคอยประสานเช่ือมโยงเครือข่ายการจัดการความรู้
ระหว่างหนว่ ยงาน ให้เกดิ การแลกเปล่ียนเรยี นร้ใู นวงท่ีกวา้ งขึ้น เกิดพลังร่วมมือทางเครือข่ายในการเรียนรู้และ
ยกระดับความรู้แบบทวีคูณ
จากท่ีกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าการจัดการความรู้แบบองค์รวม ส่ิงท่ีองค์กรหรือบุคคลจาเป็นต้อง
นามาใช้สาหรับการบริหารงานอย่างเป็นระบบ ซ่ึงทาให้เราเกิดการกระจายความรู้ท่ีหลากหลายเป็นสิ่งหน่ึงท่ี
จะเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ในคร้ังต่อไป มีกระบวนการคิด กระบวนการทางานที่หลายหลาน รู้จักการวางแผน
และการนาไปใช้ รู้จักการระดมความคิดและการนาไปต่อยอด ซึ่งกระบวนจัดการเรียนรู้เป็นการพัฒนาความรู้
ในรูปแบบหน่ึง ท่ีจะทาให้องค์กรรู้จักสร้างและแสวงหาความรู้ภายในองค์กรมาแยกแยะ กล่ันกรอง และนาไป
ปรับปรุงให้สมบูรณ์เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ใหม่และการหมุนเวียนความรู้ เกิดกระบวนการเรียนรู้จาก
องค์กรและการนาความรู้ไปใช้คร้งั ต่อไป ซึ่งเครื่องมือในการจัดการองค์ความรู้ ได้นามาสองตัวอย่าง เคร่ืองมือ
แรกคือ โมเดลเซกิ เป็นการแลกเปล่ียนประสบการณ์การเรียนรู้ ระดมสมอง ความคิด เพื่อพัฒนาความรู้มาใช้
9
ในองค์กร เคร่ืองท่ีสองคือ โมเดลปลาทู การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยมีคนสาคัญในการดาเนินจัดการ
เรียนรู้ เพอื่ หาผเู้ ร่มิ โครงการในการเริ่มดาเนินกิจกรรม จากนน้ั จึงจะหาผู้กาหนดเป้าหมาย และหาผู้คอยในการ
จัดการเรียนรู้เป็นคนจุดประกายความคิดในเรื่องที่สนใจ ซึ่งผู้จัดการเรียนรู้จะเป็นคนวางหน้าท่ีการทางานให้
แต่ละคน และเชิญบุคคลท่ีเป็นผู้รู้มาแลกเปล่ียนความรู้ซึ่งกันและกัน โดยจะมีผู้ประสานงานคอยอานวยความ
สะดวกในการจัดการเรยี นรู้ใน จะเหน็ ไดว้ า่ โมเดลปลาทูจะนามาใช้มากทส่ี ุดในยคุ ปัจจุบัน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
และการถ่ายทอดความรูอย่างเปน็ ขั้นตอนและเป็นระบบในการทางานแบบองค์กรต่อไป
การถอดเทปการสัมมนาวิชาการเรือ่ ง การจดั การความรู้แบบองค์รวม
การถอดเทปการสมั มนาวชิ าการเร่ืองการจดั การความร้แู บบองค์รวม เป็นสาระการสัมมนาทจ่ี ดั โดย
นางสาวปวริศา อินทรเ์ กื้อ และมี อาจารย์พทั ธนนั ท์ อธติ งั อาจารยป์ ระจาหลักสูตรบริหารธรุ กิจบณั ฑิต
สาขาวิชาการจัดการ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช เป็นวทิ ยากร มผี ู้เขา้ รบั การ
อบรมจานวน 37 คน ในวนั ที่ 24 เดอื นกนั ยายน 2564 ณ ห้อง Classroom ตง้ั แตเ่ วลา 9.20 – 11.30 น.
สาระสาคญั ที่ถอดได้มดี ังน้ี
พิธีกร ………..มีประสบการณ์ด้านการศึกษา เครื่องการันตีมีประสบการณ์ด้านการทางานเป็นเคร่ือง
ประจักษ์ ว่ามีคุณภาพท่านสังกัดอยู่คณะวิทยาการการจัดการนะคะ ของมหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช
อาจารย์ พัทธนนั ท์ อธติ งั
พิธีกร ค่ะดิฉัน ตรวจสอบเวลานะคะก็ล่วงเลย มาเป็นเวลาพอสมควรแล้ว กิจกรรมการลงทะเบียน
กิจกรรมส่วนรับเอกสาร ประกอบการสัมมนาก็น่าจะสมบูรณ์ครบถ้วนแล้วนะคะขณะน้ี ท่านประธานก็มาถึง
สถานท่ี วิทยากรก็พร้อมจะบรรยายแล้ว ดิฉันขอนาผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่าน เข้าร่วมการสัมมนาในคร้ังนี้
อย่างเป็นทางการนะคะโอกาสนี้ กราบเรียนเชญิ อาจารย์ ญาดา จุลเสวก ประธานหลกั สูตรนาฏศิลป์กลา่ วเปิด
กจิ กรรม เพ่ือความเปน็ สิริมงคล ขอกราบเรยี นเชญิ คะ่
ประธาน กราบเรยี นวิทยากรนะคะ สวัสดผี ู้เข้าร่วมสมั มนาทุกทา่ นนะคะ วนั น้ีเปน็ เกยี รตอิ ย่างย่ิงเลย
คะ่ ท่านอาจารยไ์ ดใ้ ห้เกยี รติมาเปน็ วิทยากร ใหใ้ นหัวขอ้ การจดั การ ความรแู้ บบองคร์ วมซงึ่ ค่อนข้างสาคัญกับ
นกั ศกึ ษา ในวิชาชพี ครูมากๆในเรื่องของการจดั ความรู้แบบองคร์ วม วนั นี้ขอฝากลูกๆสาขาวิชานาฏศลิ ป์ไว้กับ
ท่านวิทยากร ขอให้มีสัญญาณก่อนช่วยเอ็นดูและให้ความรู้แก่ลูกๆในสาขาวชิ านาฏศิลป์ดว้ ยนะคะ ขอให้เด็ก
ในสาขาวชิ านาฏศลิ ป์ตั้งใจเพราะว่าวิทยากรมีความรู้ความสามารถ นกั ศกึ ษาไดเ้ จอผู้ท่มี ีความรู้ความสามารถ
ขอให้นักศึกษาเก็บเกี่ยวความรู้ของท่านวิทยากรเอาไว้ให้ได้มากที่สุด มีอะไรสงสัยมีอะไรรู้สึกว่าจะเป็น
ประโยชน์กับการเอาไปใช้ชีวิตประจาวันหรือว่าเอาไปใช้ในวิชาชีพ ขอให้นักศึกษาเก็บแล้วก็ทักถามเพื่อที่จะ
เปน็ ประโยชนก์ ับตวั เองในอนาคตให้ได้มากทสี่ ดุ คะ่ ยงั ไงวนั นีข้ ออนุญาตเปิด กิจกรรมสัมมนาในเวลานี้เลยนะ
คะ
10
พธิ ีกร ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ ญาดา จุลเสวก นะคะกลา่ วเปิดงานสัมมนาในครั้งนี้เห็นถึงความ
ต้ังใจของท่านประธานตลอดจนอาจารยป์ ระจาวชิ าการสมั มนาในครัง้ นี้มากเลยค่ะ พวกเราตอ้ งรบี ผนึกกาลังกัน
จับมือแล้วเดินไปข้างหน้าในเรื่องของการเรียนกันอย่างม่ันคงแล้วล่ะค่ะ ท่านวิทยากรรอนานมากแล้ว โอกาส
ต่อจากน้ีนะคะดิฉันขออนุญาตนาทุกท่านเข้าสู่การสัมมนาวิชาการการจัดความรู้แบบองค์รวม ขอเชิญทุกท่าน
พบกับอาจารย์ ผมู้ ากความสามารถหน้าบตั รนขี้ อกราบเรยี นเชิญคะ่
ภาพท่ี 3 ผูเ้ ข้ารว่ มสัมมนา
วิทยากร สวัสดีพวกเราทุกคนนะคะพวกเราลืมธรรมเนียมไป 1 อย่างนะคะรู้ไหมว่าเราลืมธรรมเนียม
อะไรเวลาทากิจกรรมต้องถา่ ยรูปค่ะการถา่ ยรูป เข้าสู่บรรยากาศการสัมมนาในคร้งั นีน้ ะคะ
วทิ ยากร วันน้ีนะคะก่อนท่ีเรา จะเข้าสู่บรรยากาศการสัมมนาอยากทราบผู้จดั ทาโครงการในครัง้ นี้ใคร
เป็นผู้จดั การทาโครงการในคร้ังน้คี ะ
หัวหน้าโครงการ ปวริศา อินทร์เกอื้ ค่ะ
วิทยากร ชือ่ เลน่ ชอ่ื อะไรคะคุณปวรศิ า
หัวหนา้ โครงการ คุณแป้งค่ะ
วทิ ยากร คณุ แป้งคาดหวงั อะไรจากวนั นีบ้ า้ งไหมคะอยากได้อะไรจากวันน้ี
หวั หนา้ โครงการ อยากนาความรู้ทีไ่ ดใ้ นวันนส้ี ามารถนาไปใช้ในการเรยี นการสอน
วทิ ยากร ทาไมถึงเลอื กหัวหนา้ เผ่าเปน็ ปวริศาคะ
ผู้ร่วมสมั มนา เพราะเพ่ือนเกง่ และมคี วามสามารถ
วิทยากร วันนี้ขอให้ทุกคนเป็นลักษณะบรรยากาศของการดูละคร1เร่ือง วันน้ีวิทยากรขออนุญาตเปน็
นางเอก 1 วันไม่แน่ใจว่าครูขุ้ยจะยอมหรือเปล่าคะ วันนี้ขออนุญาตเป็นตัวเอกวันหนึ่งนะคะสิ่งท่ีพวกเรา
คาดหวงั และหัวหน้าเผ่าคาดหวงั อาจารย์อาจจะใช้คาศัพท์ที่เรียกว่าอาจจะดูไม่ค่อยเป็นทางการเทา่ ใด พวกเรา
นักศึกษาคณะครุศาสตร์ พวกเราต้องยอมรับในวิทยากรเพราะว่า วิทยากรเป็นคนข้ีเล่นและเป็นกันเอง
11
เพราะฉะน้ันพยายามให้พวกเราทุกคนยอมรับว่าอาจารย์เป็นกันเองนะคะเพราะฉะนั้นวันน้ีสิ่งที่พวกเรา
คาดหวังอาจารย์ได้มีโอกาสได้คุยกับเพ่ือนๆท่ีประสานงานมากับอาจารย์บ้างแล้วส่วนมากแล้วพวกเราทุกคน
อยากได้สิ่งทีเ่ ปน็ ความรู้ในการสัมมนาในครัง้ น้ี
วันนี้นะคะสัญญาณอาจจะล่าช้าท่านประธานอาจารย์ ญาดา เองก็มีปัญหาในเรื่องของสัญญาณไฟดับ
ทางบ้านนักศึกษาเองก็อาจจะมีปัญหาเร่ืองสัญญาณอินเทอร์เน็ตแต่คุณรู้ไหมคะว่าสิ่งท่ีเกิดขึ้นล้วนดีเสมอ
อาจารย์เป็นหน่ึงคนที่คิดว่าทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการอุปสรรคที่ทาให้เรารู้สึกแย่ท้ังหมดนี้จะดีเสมอ
ทุกส่ิงที่เกิดขึ้นล้วนดีเสมอเพียงแต่ว่าวันนี้เรามองว่ามันเป็นส่ิงท่ีดีแล้วกระทบกับเราในเชงิ บวกนะคะ วันน้ีสิ่งท่ี
เกิดข้ึนกับเรามันกระทบกับเราแล้วเรารู้สกึ ว่ามันเป็นเชิงลบการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ อาจารย์เช่ือ
วา่ มนั มีอปุ สรรคมากท่ีทาให้พวกเรารสู้ ึกว่าวันนีเ้ บ่ือแล้วนะคะแต่เวลาเรามองกลบั กันเราลองยืนตรงกันข้ามกับ
ความรู้สึกของเรา เราได้เรียนรู้อะไรจากการท่ีวันน้ี แต่ส่ิงหน่ึงท่ีอาจารย์ค้นพบมันคือความสุขส่ิงที่เกิดข้ึนใน
อุปสรรคท่ีเกิดข้ึน ในช่วงน้ีเราได้มีส่ิงท่ีเราชอบได้จากตัวเองมากขึ้นเชื่อว่าหลายคนตอนน้ีกลายเป็นพ่อครัว
กลายเปน็ แมค่ รวั มากกว่าการเรยี นแคว่ ิชานาฏศิลป์บางคนได้กนิ ขา้ วกับครอบครวั มากขนึ้
เช้าน้ีก่อนที่เราจะเข้าสู่เนื้อหาความรู้อาจารย์อยากกลับมายเซตของเราก่อน My Set คืออะไร my
set คือความรู้ความคิดของพวกเรา วันนี้นะคะเราท้ังสองคนอาจารย์และพวกเราไม่มีใครมีความรู้มากกว่ากัน
เพียงแต่ว่าเรามีโอกาสจะนาความรู้ไปใช้แตกต่างกัน โลกนี้จะมีคาจากัดความเวลาอาจารย์สอนเสมอไม่ว่าจะ
ทางานที่เก่าหรือที่ทางานปัจจุบนั อาจารย์ชอบคิดว่าโลกน้ีไม่มีคาว่าโง่ ถ้าพวกเรายังมี My Set กับคาว่าโง่และ
คาว่าฉลาด เราจะรู้สึกอยู่แบบท้อแท้ถ้าเราลองปรับ My Set ของเราใหม่โลกน้ีจะมีแค่คนท่ีรู้กับคนที่ไม่รู้แค่
น้ันเอง คนท่ีรู้กับคนที่ไม่รู้คนที่ทาข้อสอบได้คะแนนไม่ดีไม่ได้แปลว่าเขาโง่เพียงแต่เขาไม่รู้ในส่ิงที่ข้อสอบถาม
บางทขี อ้ สอบถามผูเ้ ขยี นยังไม่รเู้ ลยว่าตอ้ งการจะสอ่ื อะไรภายในข้อสอบบางทีถามคาถามเหมือนจะรู้คาตอบเเล้
วจะมาถามทาไม เป็นต้น เพราะฉะน้ันเราอย่าเพิ่งตัดสินทุกสิ่งทุกอย่างที่เจอว่าคือส่ิงท่ีโง่กับสิ่งที่ฉลาด
เพราะฉะนั้นวันนี้ทุกคนรู้เท่ากันกับอาจารย์ วันน้ีจะเป็นลักษณะของการแชร์ประสบการณ์ที่อาจารย์ไปเจอ
มาแล้วก็เคยได้มีโอกาสอยู่ในองค์กรต่างๆที่ใช้ในเร่ืองของ Notice เมเนจเม้นท์ วันน้ีอาจารย์จะมาเล่าให้ฟังวา่
ถ้าวันนึงนักศกึ ษาต้องนาความรู้ทอี่ ุตสา่ ห์ไดร้ ่าเรยี นกนั มาบางคนเรียนมาทง้ั ชวี ติ เรียนจนหวั โตก็เอาไปใช้ไม่ได้ ก็
จะบวมอยู่ในหัวเพราะตัวเองไม่เคยได้ลงมือปฏิบัติเลย อันน้ีคือเกร่ินคร่าวๆ วันน้ีขอเป็นการสื่อสารสองทางก็
คือ ถ้าสมมุติว่าท้ิงคาถามไว้เช่นทุกคนคิดว่าเป็นยังไงทุกคนมีคาตอบว่ายังไงขอความร่วมมือ ขออนุญาตเปิด
ไมค์ได้เลยนะคะ ถ้าอาจารย์พูดเร็วเกินไปฟังไม่ทันไม่รู้เร่ืองสามารถพิมพ์ผ่านช่อง comment นี้ได้ว่าอาจารย์
ขาช้าๆหน่อย
12
ภาพท่ี 4 แนะนาวิทยากร
อาจารย์จบการศึกษาปริญญาตรีบัญชี ทางานทางด้านบัญชีมาบางคร้ังเราก็มักจะทากิจกรรมต่างๆ
ตามความฝันของคนอ่ืน อาจารย์ไม่ได้มีโอกาสที่เลือกสาขาท่ีตนอยากจะเรียนเอง ก็คือทางบ้านคุณก็คุณแม่มี
โอกาสได้ที่น้ีอยากให้อาจารย์จบแล้ว เป็นอะไรเรียนอะไรตั้งแต่เล็กจนโตพ่อคุณแม่จะบอกว่าให้เรียนที่ไหน
สถาบันไหน จบแล้วไปเป็นอะไร ถ้าเรามองว่าวันน้ีคุณพ่อคุณแม่บังคับเราเราก็จะรู้สึกแย่ แต่สาหรับอาจารย์
อาจารยค์ ดิ วา่ พ่อกับแม่คงมีเหตุผลที่เขา อยากใหเ้ ราเรียนเรากเ็ ลยตัดสนิ ใจเรียนบัญชีต้ังแต่ ปวช. ปวส. จนจบ
ปริญญาตรี เมื่อทาตามความฝันของคุณพ่อคุณแม่คุณพ่อคุณแม่ฝันว่าอยากให้เราทางานราชการ สอบบรรจุ
เป็นข้าราชการจบบัญชีหางานได้ง่ายมากหาจริงๆค่ะอาจารย์ก็หางานบริษัททามาตลอดและก็เป็นหน่ึงคนท่ี
ชอบทางานไปด้วยแล้วก็เรียนไปด้วย ไม่ค่อยชอบทากิจกรรมส่ิงหนึ่งสิ่งใดในเวลาเดียว เพราะมีความรู้สึกว่า
คนเรามีหลอดไฟหลายดวงดีกว่ามีดวงเดียวแน่นอน ถา้ เรามหี ลอดไฟติดแค่ดวงเดียว วันหนึ่งถ้าหลอดไฟหลอด
นั้นดับเราจะไม่มีโอกาสได้เห็นแสงสว่างอีกเลย น่ีคือความคิดของอาจารย์ต้ังแต่อายุ 15-16 จนเริ่มอาชีพแรก
จริงๆแล้วอาจารย์เร่ิมทางานตั้งแต่อายุ 18 แล้วจนจบปริญญาตรีก็ได้มีโอกาสไปทางานเร่ิมทางาน อาจารย์ก็
ทางานท่ีเก่ียวข้องกับอาหารการผลิตเคร่ืองดื่มอยู่กับวงการอาหารอยู่ในวงการของกินมาตั้งแต่เร่ิมต้นของการ
ทางานพอเรยี นหนังสือจบ งานทท่ี ากลับกลายเปน็ งานทไ่ี มใ่ ชส่ ง่ิ ทเี่ ราอยากทา อาจารยม์ ีโอกาสไดเ้ ปน็ เจ้าหน้าท่ี
บัญชีของบริษัทขนส่งซึ่งเป็นบริษัทท่ีดังทางด้านการส่งออกช่ือดังแห่งหน่ึง ก็ได้มีโอกาสพบปะผู้คนแต่ว่าด้วย
ความที่เราต้องทาในส่ิงที่เราไม่ชอบเพราะว่างานบัญชีเรียนตามความฝันของคนอื่น ไม่เคยได้รู้เลยว่าจริงๆ
ตัวเองอยากทาอะไรแล้วก็ไม่เคยรู้เลยว่าตัวเองจะถนัดเร่ืองอะไรแต่จริงๆแล้วอาจารย์เรียนปริญญาตรีสาขา
มนุษยศาสตร์ส่ือสารมวลชน ของมหาวิทยาลัยรามคาแหง เรียนคู่กันตอนที่เรียนบัญชี ก็ยังไม่เคยได้ใช้ความรู้
ด้านการศึกษามวลชน เราต้องทาตามความฝันของท่ีบ้านท่ีมันแปลกอยู่ในความรู้สึกของเรา ชอบกลับ
กลายเป็นส่ิงที่เราไม่ได้นามาใช้ก็ทางานในด้านเจ้าหน้าท่ีบัญชี ก็ทาได้ไม่นานมีปัญหาหลายเร่ืองเพราะว่าเรา
เดนิ ทางไกลแต่ละวนั เดินทางอาจารย์ทางานอยู่ที่กรุงเทพฯ ตลอดเสร็จแล้วก็กลายเปน็ ว่าเราเปน็ หน่ึงคนที่ต้อง
13
ตื่นเช้าเพื่อที่จะไปทางานไม่ทันเลยรู้สึกว่ามันไม่ใช่เพราะงานท่ีเราทาไม่ใช่งานท่ีเราอยากทาสุดท้ายปี 2007
ย้อนกลับไปทาธุรกิจเกี่ยวกับอาหารก็ได้มีโอกาสเป็น General คือเป็นผู้บริหารระดับสูงระดับหนึ่งขององค์กร
ธรุ กิจองคก์ รหน่งึ กท็ ามาท้ังหมดรวมแลว้ ก็เกือบจะ 12 ปใี นตอนนน้ั พูดง่ายๆก็คือทามาเกือบคร่ึงท่อนของชีวิต
ช่วงวัยรนุ่ ของอาจารย์หมดไปกับการทางานในองค์กรน้ี เพราะฉะน้นั ธุรกจิ อาหารและเครื่องด่ืมทอ่ี ยู่ในประเทศ
ไทยและก็ที่อยู่ท่ีต่างประเทศก็เคยมีโอกาสได้ศึกษา แล้วก็มีโอกาสได้เปรียบเทียบองค์ความรู้ของแต่ละธุรกจิ ท่ี
เก่ียวข้องกับอาหารเเละเครื่องดื่มว่าเขามีความสาเร็จอะไรในธุรกิจของเขาเพราะฉะน้ันใครอยากรู้เกี่ยวกับ
ข้อมูลเชิงลึก สามารถที่จะสอบถามอาจารย์ได้ในช่องเเชท หลังจากน้ันอาจารย์ทางานมา 12 ปีเร่ิมแรกเป็น
พนักงาน Part Time เเละสอบเลื่อนขั้นขึ้นไปจนวันหนึ่งได้มีโอกาสข้ึนไปเป็นระดับผู้บริหารจากน้ันก็ตัดสินใจ
ลาออก เพ่ือหางานอื่นทาและกลับมาอยู่บ้านกลับมาอยู่นครศรีธรรมราชปีน้ีก็เป็นปีท่ี 7 ก่อนหน้าน้ีไม่มีโอกาส
ได้อยู่นครทาให้เราไมม่ ีเพื่อนตดั สินใจมาสอนท่ีราชภฏั ตอนน้ันก็สอบเข้ามาก็ไม่ได้มีเพ่ือน เพราะเพื่อนก็ได้แยก
ย้ายทางานมีเพ่ือนอยู่ 1 คนทางานท่ีธนาคารธนชาตแล้วก็หลังจากนั้นเพื่อนก็เป็นนักศึกษาและก็อาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งน้ี ก็ทามาจนถึงปัจจุบัน อาจารย์ก็ได้ทางานอยู่ที่หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการ ทีน้ีความเชี่ยววชาญใช้คาว่าเช่ียวชาญและคาว่าถนัดส่วนใหญ่แล้วจะได้รับเชิญเป็น
วิทยากรทางด้านการเก่ยี วกับการบริหารธรุ กิจเก่ียวข้องกับในเรื่องของแผนธรุ กิจวา่ ธรุ กิจ startup หรอื ธุรกิจใน
ยุคปัจจุบันน้ีวา่ เรามีวิธีคนกลยทุ ธใหธ้ รุ กิจของเราอยู่รอด มี 1 เรอ่ื งทอี่ าจารย์ไดม้ ีโอกาสบรรยายหลายครั้งแล้ว
น่ันก็คือเร่อื งของการทาธรุ กจิ ออนไลนเ์ เละการทาธรุ กิจในยุคที่ต้องใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามาเก่ียวข้อง นีก่ ็เป็นอีกหน่ึง
ส่ิงท่ีอาจารย์ได้มีโอกาสเป็นวิทยากร และอาจารย์ก็ได้มีโอกาสเป็นวิทยากรด้านบุคลิกภาพการพรีเซ็น การ
นาเสนอและการพูดการบรรยายใหค้ นรสู้ ึกอยากทีจ่ ะฟังเรา อาจารยเ์ องกเ็ ปน็ เจ้าของธุรกิจเหมือนทอี่ าจารย์ตื่น
ตอนแรกว่าบางคร้ังว่าเราจาเป็นที่จะต้องมีหลอดไฟหลายดวง ไม่ใช่ว่าเราเป็นคนไม่มีเงิน เงินเป็นจุดหมาย
ปลายทางแต่ระหว่างทางท่ีเราจะได้จากการท่ีเราทาหลายๆอย่างมันบ่งบอกถึงศักยภาพท่ี อยู่ในตัวของมนุษย์
เราว่าเราทาได้หลายอย่างแต่จรงิ ๆแล้ว วันนี้เรามักจะจัดการสิ่งที่ทาอะไรหลายๆอย่างแบบยุ่งไปหมดเราก็เลย
รู้สึกว่าเราไม่มีเวลาทาอะไรสักอยา่ งนึงเลยนีเ่ ปน็ ประวัติการทางานคร่าวๆด้านอ่ืนๆท่ีมีความเช่ียวชาญก็จะเปน็
เก่ียวกับในเร่ืองของกลุ่มบริหารธุรกิจทั้งหมด ในคร้ังน้ีใครที่ทาธุรกิจเกี่ยวกับทางด้านออนไลน์หรือใครที่ทา
ธรุ กิจอย่รู ้สู ึกวา่ อยากรู้เคล็ดลบั ในการทาแบบออนไลน์ทน่ี อกเหนือจากข้อมลู ในอินเตอรเ์ นต็ กส็ ามารถพูดคุยกับ
อาจารย์ได้ บางทีความรู้กับประสบการณ์ต้องมาคู่กันอย่าใช้แค่ความรู้อย่างเดียว ถ้าคุณไม่ลงมือทาจะไม่รู้เลย
ว่าวันนคี้ วามรูข้ องคุณมมี ากมีนอ้ ย
ได้รู้จักประวัติของอาจารย์ไปแล้ว อาจารย์ก็อยากจะรู้จักประวัติของพวกคุณเหมือนกันวันนไี้ ด้ข่าวมา
ว่ามีทั้งนักศึกษาปี 2 แล้วก็ปี 3 สาขาวิชานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ ซ่ึงจะเป็นว่าท่ีคุณครูในอนาคตจะเป็นว่าท่ี
14
แม่พิมพ์ในอนาคต เพราะฉะน้ันวันน้ีอาจารย์เองก็อยากรู้จักพวกเราทุกคน ดูในช่อง แชทมีคนตอบโต้กลับ
มาแล้วมีคนพิมพ์มาเยอะมากทีนี้ถ้าวันนี้มีกิจกรรมอาจารย์จะเช็คชื่อพวกเราแต่ไม่ให้พวกเราขานว่ามาคามา
ครับหรือว่าอยู่ค่ะ/ครับ แต่ให้พวกเราแนะนาตัวพร้อมด้วยคาคมหรือว่าประโยคที่เรารู้สึกว่าประโยคน้ีเป็น
ประโยคที่สาคัญกับชีวิตเราเรามีความรู้สึกว่าเราใช้ประโยคนี้แล้วเราชอบมากมีสาระก็ได้ไม่มีสาระก็ได้ ให้ทุก
คนลองพูดดูแนะนาตวั ชื่อ-นามสกุล แล้วกต็ ามด้วยคาคมหรอื ข้นึ ตน้ ดว้ ยคาคมแลว้ ก็ชื่อก็ได้ค่ะ
ผู้สัมมานา สวัสดีค่ะช่ือนางสาวพัณณิตา กิจคาม นักศึกษาชั้นปีท่ี 3 ช่ือเล่นชื่อแอ๋ม ทาในสิ่งที่รักมักมี
ความสุขเสมอ
สวัสดีค่ะ นางสาว สุชาดา เพชรศิริ ชื่อเล่นช่ือปาล์ม เป็นคนอื่นเป็นได้ไม่นานแต่เป็นตัวของตัวเอง
เป็นไดต้ ลอดไปคะ่
สวัสดีค่ะอรพรรณ เพชรคงทอง ความลาบากทเ่ี กินทนจะหลอมคนให้ทนทาน
สวัสดีค่ะช่ือนางสาวศรัญย์พร บุญเมือง ส่ิงที่น่ากลัวท่ีสุดบนโลกใบนี้คือเวลาเพราะเราไม่สามารถรู้ว่า
มันจะพรากเราไปตอนไหน
วิทยากร ฝากข้อคิดเก่ียวกับเวลาไว้ 1 เรื่องนะคะส่ิงท่ีเกิดข้ึนในอดีต ไม่ใช่ส่ิงท่ีตัดสินส่ิงที่เรากาลังทา
ในปัจจบุ นั สิง่ ทเี่ ราตดั สินเกิดขึ้นณปัจจุบันเสมอเพราะฉะนัน้ อยา่ โทษเวลาอยา่ โทษตวั เอง
สาหรับใครท่ียังไม่มีโอกาสได้เปิดไมค์พูดเด๋ียวเราจะเปิดโอกาสให้เปิดใหม่พูดเป็นช่วงๆในการบรรยายในวันน้ี
ขอบคณุ มากสาหรบั 4-5 คนท่ีแนะนาตัวใหอ้ าจารย์ฟงั ในวนั นี้
เราดูภาพน้คี ะ่ เราเห็นอะไรจากภาพน้บี ้างใครอยากเปดิ ไมคเ์ ชิญเลยค่ะ คุณขวัญหทยั เชญิ เลยค่ะ
ผู้ร่วมสัมมนา ค่ะภาพน้ีก็เป็นผู้ชายคนนึงท่ีนั่งอยู่บนรถเข็นและสภาพห้องว่างเปล่ามีแสงมีเงาถ้าเป็น
ความรู้สกึ เหมือนรูส้ กึ ท้อแท้
เขาพรอ้ มทีจ่ ะลุกขึ้นยืนมอื จับเพือ่ ทีจ่ ะลกุ ข้ึนตอ่ ส้กู ับอะไรสกั อย่าง
ภาพท่ี 5 PowerPoint ผู้ชายนั่งรถเข็น และภาพเดก็
15
วิทยากร รปู นี้อรพรรณเห็นอะไรคะ
ผู้รว่ มสมั มนา เหน็ รอยยม้ิ ความสขุ ของเด็กๆ
วิทยากร คณุ สันตฤ์ ทัยดูคุณสนั ต์ฤทัยดตู ง้ั ใจมากนะคะคุณสัณห์ฤทยั เหน็ อะไรจากรปุ บ้างไหมคะ
ผรู้ ่วมสมั มนา เห็นสายตาของเดก็ ๆ
บรรยากาศของการรวมกล่มุ ของเดก็ ๆในการกนิ ข้าวบางคนใช้ซ้อนบางคนใช้มือเปิดเขา้ ปากแต่ทุกคน
มีรอยยิม้ มคี วามสุขเหน็ หม้อขา้ วเปิดอยู่และมหี ม้อข้าวอยใู่ นหม้อ
ภาพท่ี 6 PowerPoint ภาพสนขุ
วิทยากร รูปท่ี 3 นะคะ นอกจากเหน็ อะไรแลว้ ทกุ คนรสู้ กึ อะไรกบั รูปน้ีด้วยนะคะใหท้ ุกคนใส่ความรู้สึก
ลงไปดว้ ย
ผูร้ ว่ มสมั มนา หมากาลงั โกรธ น่าหมน่ั ไส้
วิทยากร อนาวิน จนั ทรเ์ กิด เห็นอะไรไหมครบั เหน็ อะไรไหม
ผรู้ ว่ มสมั มนา หมากาลงั จะกดั หรือเปล่าครบั
ภาพท่ี 7 PowerPoint ธรรมชาตสิ รา้ งภาพ
วทิ ยากร รปู ที่ 3 ตอนนี้ยงั ไม่มใี ครถูกยังไม่มีใครผิดนะคะ ความคิดตัวเองนะคะว่าตวั เองเห็นอะไร เรา
เหน็ อะไรจากรปู นีค้ ะ
ผ้รู ว่ มสัมมนา เห็นหนา้ คนค่ะ
16
วทิ ยากร เห็นอะไรไดอ้ กี คะ
ผู้ร่วมสัมมนา เห็นเป็นทางศิลปะเห็นคนนั่งอยู่ใต้ต้นไม้ ธรรมชาติท่ีรังสรรค์อย่างลงตัว เห็นท้องฟ้า มี
ลมพดั กรรโชกสบายๆในเวลาทีด่ ที ีส่ ุด
วิทยากร ขอบคุณมากๆค่ะขอบคุณสาหรบั คาตอบค่ะ ทุกคาตอบดมี ากค่ะ มีอกี คะ่ เราเห็นอะไรจากรูป
นบ้ี า้ งคะ
ผู้ร่วมสัมมนา เห็นนางฟ้า เห็นกระดานมีผู้หญิง 2 คน เห็นโต๊ะเห็นความพยายามของคนอีกคนนึง
โดยทอ่ี กี คนหนึง่ กาลังนง่ั เพ้อฟนั คนหนง่ึ ยนื ทางานอย่างขะมกั เขม้น
ภาพท่ี 8 PowerPoint คนวาดกระดาษดาน
วทิ ยากร รปู สดุ ทา้ ยแลว้ ค่ะ
ผู้ร่วมสัมมนา อีกฝ่ังหนึ่งโอเค อีกฝั่งหน่ึงไม่โอเคครับอาจารย์ บ่งบอกถึงอารมณ์ของคนในเวลา
เดียวกันบางเรอื่ งโอเคบางเร่อื งไม่โอเคทาให้โลกสับสนวุ่นวายในขณะน้ี
วทิ ยากร รูปน้ี เราเหน็ เรารูส้ กึ อย่างไรไดบ้ า้ ง
ผู้ร่วมสมั มนา เค้ากาลงั ระบายกับฝาผนังค่ะ
วิทยากร รูปทั้งหมดและคาตอบท้ังหมดที่พวกเราตอบมาเมื่อสกั ครูน่ ี้ ไม่มขี องใครถูกไม่มีใครผิดเพราะ
ทุกคนจะถกู ก็ตอ่ เม่อื มนั ตรงกับแปลวา่ อะไร วันนีน้ ะคะทุกคนเหน็ ในสิง่ ทเี่ รามองหาเสมอค่ะ พวกเราวา่ จรงิ ไหม
คะ เช่นกันคะ่ เชน่ ๆเราเคยชอบรถสักรุ่นมัย้ คะ วันน้ันเราขับรถบนทอ่ งถนนเหน็ เเต่รถแบบนเ้ี ราก็จะร้สู ึกว่าคนขี่
กันเยอะจริงๆแล้วรถเหล่าน้ันไม่ได้งอกมาจากท้ังสองฝ่ังถนนแตม่ ันก็งอกมาจากความคิดของเราความรู้สึกของ
เราต่างหาก มันงอกขึ้นมาเพราะมันเป็นส่ิงท่ีเรากาลังมองหา รูปทุกรูปเราทุกคนสามารถคิดตามท่ีเราเห็นอยู่
เสมอเราเห็นรูปอะไรก็แล้วแต่เราเห็นคนใครก็แล้วแต่ค่ะ เรามักจะตีความ เพราะสิ่งเหล่าน้ีมันคือการศึกษา
แบบองค์รวมค่ะ
17
ภาพที่ 9 PowerPoint การศึกษาแบบองค์รวม
วันนี้เรากาลังจะเป็นคุณครูว่าท่ีคุณครูในอนาคต วันน้ีเราตัดสินการเรียนการพัฒนามนุษย์หรือจัดการ
การเรียนรู้ของเรา เราเคยคานึงถึงมิติอันหลากหลายเหล่าน้ีบ้างไหมเราเคยรู้สึก จิตใจสติปัญญาของเค้า รู้
สุนทรียภาพของเขา แต่ด้านร่างกายของเขาทุกสิ่งล้วนเป็นสิ่งท่ีเราควรเรียนรู้นอกจาก วิเคราะห์ สังเคราะห์
เเยกเยอะ อนั น้นั ก็คอื ถงึ เป็นขน้ั ลกึ ซึง้ ตอ้ งใช้องค์ความร้ใู นเรื่องของการวิเคราะห์ สงั เคราะห์ เเยกเยอะ
แต่ว่าวันนี้เราสามารถเรียนรู้ เราสามารถที่จะจัดการกับระบบความคิดของเรา เรามีพื้นฐานของ
ความรู้สึกเช่นเราเห็นรูปเม่ือสักครู่นี้อาจารย์ยกตัวอย่างรูปท้ังหมด รูปท่ีเป็นรูปสุนัขนะคะท่ีเพื่อนบอกว่าสุนัข
ตัวน้ีมันกาลังจะกัดครับอาจารย์ เเต่จริงๆแล้วสุนัขตัวนั้นนะคะ เขาแค่ฟันล่างครอบฟันบนเป็นสุนัขท่ีมีความ
ผิดปกติในเรื่องของกราม ซ่ึงในปกติเวลาเราต้องเจอกับผู้คนเจอไหมคะ คนท่ีหน้าดุแต่จริงๆแล้วใจดี ทุกคนว่า
เราเคยเจอไหมคะคนแบบน้ัน ทาไมคะส่ิงเหล่านี้จะเชื่อมโยงกับการท่ีวันน้ีเราจะเป็นหน่ึงคนท่ีถ่ายทอดความรู้
ให้กับกลุ่มคนเหล่านั้นวันน้ีค่ะ ถ้าวันน้ีต้องออกไปเป็นคนครูคนนึงที่ต้องโดนเด็กนักเรียนเราเคยทา วิเคราะห์
สงั เคราะห์ แยกแยะ เราเคยคิดเร่ืองพวกนีบ้ า้ งไหม เช่น วันนเ้ี ราเจอเดก็ คนนึงเข้าเรยี นสาย สมมตุ ิวันนี้นกั เรียน
คนหน่ึงเข้าเรียนสายอันน้ีเป็นพฤติกรรมของเขาในเร่ืองของการเข้าเรียนสาย ปรากฏว่าเด็กคนน้ีเป็นคนท่ีไม่
เรียบร้อย แต่เขาอาจจะเป็นหนึง่ คนทเ่ี ป็นไงคะ ทางานดึก นอนดึกหรือต้องช่วยคุณพ่อคุณแม่ทางานหรือเปลา่
ตอนเช้าก็ไปเก็บข้ียางหรือเปล่าท่ีทาให้เค้ามาสาย ซึ่งคือเรียกว่าเป็นลักษณะของการพัฒนามนุษย์โดยการ
คานึงถึงในชีวิตของเขา ถ้าเราเป็นหน่ึงคนท่ีเข้าใจสามารถที่อยากจะถ่ายทอดความรู้สึกของเราให้กับคนๆนั้นๆ
อย่างเต็มกาลังเพราะอะไร เเม้เเต่คนพิการรูปผู้ชายรูปเเรก เค้าเป็นผู้ชาย1คนที่น่ังรูปในห้องนั้นบางทีเค้า
อาจจะไม่ได้รู้สึกหอเหี่ยวก็ได้ค่ะ เค้าอาจจะกาลังน่ังฟังเพลงเบาๆ หรือรูปคนที่พวกเราบอกว่ากาลังน่ังอยู่ใต้
ต้นไมจ้ ริงๆเคา้ อาจจะตายเเลว้ ก็ได้ค่ะ เเตน่ นั้ คอื ส่งิ ท่ีเรามองไมเ่ ห็นจิตใจ สติปัญญานกึ ซึ่งของเค้านึกศักยภาพท่ี
เกิดขึน้ ของเคา้ เพราะฉะนน้ั วันนถี้ า้ เราเข้าใจการจัดการหรอื การศึกษาในลกั ษณะขององค์
18
เราอย่าลืมนะคะ อย่าลืมคิดถึงบริบทมิติพวกน้ีด้วย ทุกๆครั้งท่ีเราออกมาพูดให้ใครฟัง ทุกคร้ังท่ีเรา
ออกมาถ่ายทอดความรู้นะคะ เราต้องคิดอยู่เสมอว่าเรากาลังคุยกับคนเเบบไหน อาจารย์กดดดันที่จะว่ามา
ถ่ายทอดความรู้ในกับนักศึกษาครุศาสตร์ เพราะอาจารย์ความรู้ทางด้านคุณครูท่ีสอนได้เพราะประสบการณ์
ล้วนๆเพราะก่อนหน้าน้ีที่เคยทางานส่วนมากจะพัฒนาเเค่บุคลากรเกี่ยวกับเรื่องของการพูดเพราะฉะนั้นไม่เเป
ลกคะที่อาจารย์พูดเเล้วน่าฟังน่าสนใจ เเละมีวิธีการประยุกต์ใช้ในเข้ากับเด็กยุคน้ีได้เพราะอาจารย์เคยอยู่
องค์กรท่ีเป็นเเบบนี้มาก่อน เพราะฉะน้ันวันนี้คุณมักจะละเลย ส่ิงพวกนี้ในการถ่ายทอดความรู้ เราชอบต้ัง
กาแพง แต่วันนี้เราลืมมิติพวกนี้ไปบ้างหรือเปล่าเลยทาให้บางคร้ังการถ่ายทอดความรู้ของเราไม่สมบูรณ์แบบ
เพราะฉะนั้นวันนีเ้ รากาลังจะเปน็ วา่ ที่ของคนท่ีจะสร้างคนเพราะฉะน้ันในการท่เี ราจะเป็นคนสร้างคุณเหมือนท่ี
เพอ่ื นบอกว่ารบรอ้ ยคร้ังชนะร้อยครัง้ รบ 10 คร้ังชนะ 10 คร้งั
ภาพท่ี 10 PowerPoint ความรู้ ความคิด ลงมอื ทา
วันน้ีถ้าพวกเราทุกคนต้ังใจฟังอาจารย์ต้ังต้นเรื่องเลยนะคะตอนท้ายเราจะมาเฉลยกันว่าท่ีเราเรียน
ท้ังหมดคืออะไร อาจารย์เองก็มีข้อสงสัยเช่นเดียวกันวันน้ีเราเป็นหน่ึงคนท่ีอยากจะถ่ายทอดความรู้เราจะเป็น
หนึง่ คนท่ใี ช้ 3 อย่างนี้ ถ้าเราทาอะไรสัก 1 อยา่ ง เราจะใช้ความรู้ ความคิดหรือลงมือทา
ผรู้ ว่ มสมั มนา ความคดิ คะ่ /ครบั
วทิ ยากร เพราะอะไรเราถึงตอบความคิดรูม้ ัย้ คะ เพราะว่าวันน้ีความคดิ ของพวกเรามีตัวตน วันนี้แสดง
ว่าความคิดของเรามีตัวตนถ้าวนั นี้เราต้ังเป้าวา่ เราจะต่ืนเช้าเราจะเร่ิมหาวธิ คี ิดเพราะเราอยากจะตื่นเชา้ โดยจะ
เป็นหน่ึงคนท่ีคิดเสร็จเราก็จะหาความรู้ทันที เพ่ือท่ีจะไปใช้ในการลงมือทา ถ้าวันน้ีมีแนวคิดของพวกเราไม่บิด
เบ้ียวเชื่อเลยว่าโอกาสท่ีเราจะผิดพลาดน้อยมาก ทุกวันน้ีเรามักจะลงมือทาก่อนแล้วค่อยคิด แล้วบางทีก็คิด
เสร็จแล้วลงมือทา แล้วค่อยคิดหรือบางทีก็มีแต่ความรู้กับความคิดเเต่ไม่ลงการลงมือทา เพราะฉะน้ันตามจริง
มันคือส่ิงท่ีต้องทาให้เป็นนิสัย คิด หาความรู้ ลงมือทา ความมรู้ไม่ได้มีเเค่ในห้องเรียนจริงๆเราสามารถหา
ความรู้ไดท้ ุกทเี เม้เเตก่ ระทงั่ การเรยี นรู้จากตัวเอง เรยี นรทู้ ีจ่ ะเจบ็ ปวดจากตวั เอง รกั ตวั เอง อาจารย์เคยไดย้ ินคา
19
คมมากมายว่า “ก่อนที่จะไปรักคนอ่ืนรักตัวเองก่อน” แต่ว่าวันน้ีเรารักตัวเองมากพอแล้วหรือยัง อันนี้มีตัวตน
เห็นไหมคะ วันนี้ทุกคนได้มีโอกาสพูดคาคมของตัวเองแล้วอาจารย์ขออนุญาตพูดคาคมของอาจารย์บ้าง “ชีวิต
จะไม่ไปไหนนะคะถ้าเราเป็นคนฝันใหญ่แต่ทาอะไรเท่าเดิม” น่ีคือคนที่อยากจะฝากพวกเราทุกๆคนในวันนเ้ี รา
อยากจัดโครงการนี้ให้ออกมาดีท่ีสุดเราอยากจะโครงการนี้ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เราอยากได้ a จากวิชานี้
แตเ่ ราจะไม่มีโอกาสได้สิง่ เหล่าน้ันถา้ วธิ ีการของเรายังเปน็ เหมือนเดิมเราเรยี นรู้มาแล้วว่าการจัดโครงการมีส่วน
ตรงไหนท่ีเป็นข้อบกพร่อง เราได้เอาความรู้ที่พัฒนาจากสัปดาห์ท่ีแล้วมาแก้ไขในสัปดาห์น้ีไหมถ้าวันนี้เราเป็น
หนึ่งคนที่สัปดาห์ที่เเล้ว ครูตามจิก ตลอดเวลา 24 ชม. ถ้าสัปดาห์ท่ีเรายังเป็นคนเเบบน้ันเเสดงว่าการจัดการ
เรียนรู้หรือความคิดของพวกเรากาลังมีปัญหา เราต้องเรียนรู้จากข้อผิดพลาดจากสัปดาห์ที่เเล้ว แต่ทุกๆความ
ผิดพลาดไม่ใช่สิ่งท่ีแย่ท่ีสดุ เสมอไปทุกอย่างท่ีเกิดข้ึนล้วนดีเสมอ รู้เพียงแต่ว่าเราเกิดการเรียนรจู้ ากข้อผิดพลาด
ตรงนัน้ มา ความคิดมตี วั ตนเมอื่ เราเกดิ ความคิดเราจะแสวงหาความรูเ้ เละกอ่ ใหเ้ กดิ การลงมือทา
ภาพที่ 11 PowerPoint นักรอ้ ง
มีใครรูจ้ ักผู้หญิงคนน้แี ละอยากเลา่ ใหฟ้ ังบ้าง
ผู้ร่วมสัมมนา ลิซ่าค่ะ เป็นนักร้องวงเเบล็คพ้ิง เป็นคนไทย เกิดท่ีบุรีรัมย์ เป็นสาวฮอตคนไทยที่พา
ตวั เองไปในระดบั อนิ เตอร์ ถูกโจมตีในโลกโซเชยี ล
วทิ ยากร ในทุกสง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ คนเรามักจะมองเป็น 2 ดา้ นเสมอ ในดา้ นที่สละสลวยก็จะมองว่าเก่งจังรู้จัก
ประยกุ ต์ ยงั มบี างอย่างทีเ่ ปน็ ข้อกังขาในหลายๆเรื่องท่ีเป็นทั้งเชิงบวกและเชงิ ลบ คุณลซิ ่าหรอื ลลิษา กวา่ ทเ่ี ขา
ได้มีโอกาสมาเป็นคนท่ีมีชื่อเสียง เธอเป็นหน่ึงคนที่มีความชอบสนใจในเร่ืองที่เกี่ยวข้องที่จะเป็นศิลปินนักร้อง
เร่ิมต้นตั้งแต่เธอยังเป็นเด็ก เธอคนนี้พยายามอย่างฝึกฝนอย่างต่อเน่ืองมีวินัยในส่ิงที่ตัวเองรักเชย่ี วชาญในเรอ่ื ง
ของการร้องเพลงเเละเต้น และเธอก็เป็นคนที่มีความฝันว่าอยากเป็นนักร้องท่ีมีชื่อเสียงจากเด็กสาวบุรีรัมย์แต่
เสน้ ทางการโกอินเตอร์ของเธอน้ันธรรมดา แต่วันน้เี ธอเปล่ียนความชอบและความสนใจของเธอให้กลายมาเป็น
20
อาชีพหลักที่ต้องบอกว่าท้ังทาเงินและทาช่ือเสียงให้กับเธอ เธอใช้ศิลปะวัฒนาธรรมไทยถ่ายถ่ายให้คนได้รู้ว่า
เเบบนี้คนไทยกม็
รูปตอ่ ไป รูปอะไร
ผรู้ ่วมสัมมนา ลูกปัดโนรา
วทิ ยากร รู้ไดไ้ งวา่ เป็นลกู ปดั โนรา
ผู้ร่วมสัมมนา ลวดลาย
วทิ ยากร ส่วนนไ้ี ว้ใส่ตรงไหนของโนราคะ
ผู้ร่วมสัมมนา รองก้น ด้านบนพานโครง ด้านล่างไหล่ก็ได้ รองก้นก็ได้ ถ้าสามเหล่ียมเรียกปิ้ง
เครอื่ งประดับของคนไทยในโบราณเค้ากเ็ ลยมาเรียกเปน็ ของโนรา
วทิ ยากร วันนีอ้ าจารย์จะเฉลยให้ฟังว่าทาไมอาจารยถ์ ึงเอารูปสองรปู น้ีมา
และเกย่ี วโยงกบั การจัดการเรียนรู้เเบบองคร์ วม ทฤษฎมี เี ยอะแยกมามาย แต่ทฤษฎีจะไม่มปี ระโยชน์เลยถ้าเรา
ไม่ได้เอามันมาใช่เพราะฉะน้ันวันน้ีอาจารย์จะพูดโยงในลักษณะถ้าความรู้ท้ังหมดของพวกเราอยู่ในเอกสาร
แล้วเราจะเอามนั มาใช้ไดย้ ังไง น่ีเปน็ วตั ถปุ ระสงคจ์ ดุ หมายปลายทางท่สี ิ้นสุดการบรรยายในคร้งั นี้
หนังสือท่ีอาจารย์ชอบคือ รู้แค่น้ีขายดีทุกอย่าง หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่อาจารย์ชอบอ่าน ทุกวันน้ีก็เอามา
ถา่ ยทอดให้นกั ศกึ ษาฟงั และเอาออกมาเล่าใหเ้ พ่ือนฟงั วา่ เราได้อะไรจากหนังสือเลม่ นี้บา้ ง
ภาพท่ี 12 PowerPoint แนะนาหนงั สอื
วันน้ีอาจารย์ได้เอารูปลิซ่า ลูกปัดโนราและหนังสือ เน้ือหาท่ีอาจารย์บอกไปอยู่ใน เอกสารหมดแล้ว
นักศึกษาสามารถเข้าไปเปิดดไู ด้ในฟอร์มทีใ่ ห้ไป แต่ถา้ เอกสารเยอะเกนิ ไปวนั น้อี าจารยจ์ ะสรุปให้ฟัง
เขาบอกว่าความรู้นะคะ มันคือการรวบรวมความรู้ ว่ามาจากแหล่งเดียวไหมตอบเลยค่ะว่าไม่ ใช่แต่มาจาก
หลายๆแหล่งกระจัดกระจายกันอยู่ ไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของตัวบุคคล หรือความรู้เหล่าน้ีอยู่ในตัวเอกสาร
21
อย่ใู นหนังสือเหมอื นไอ้สกั ครนู่ ้ที ี่อาจารยย์ กตัวอย่างไป ทัง้ หมดนี้คะ่ คือการจัดการความรู้ แบบภาพรวมทท่ี กุ คน
ในองค์กร สามารถเข้ามาหาความรู้พวกนี้ได้ โดยนาความรู้เหล่าน้ีมาใช้พัฒนาตัวเอง และพัฒนาองค์กรได้เลย
ค่ะ
ความรู้ที่ 1 เขาเรียกว่า Translate เป็นความรู้ท่ีมันฝังอยู่ในตัวเราเอง วันนี้เราสามารถทางาน
หลายๆอยา่ ง มาจากการฝึกฝนมาจากการเคยทา มาจากการสอนมาจากการเลา่
ความรู้ท่ี 2 คือความรู้ที่ชัดแจ้ง หรือ Accident เป็นการรวบรวมความรู้ที่ถ่ายทอดได้ ผ่านกรรมวิธี
ต่างๆไม่ว่าจะเป็นในเร่ือง โครงการทาส่ือหรือทฤษฎีมีการรวบรวมมีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบและเป็น
ระเบียบวันน้ถี ้าเราเป็นคนที่อยากจะรู้เรื่องอะไรสกั อย่างแสดงวา่ เราสามารถหาความรู้ได้จาก 2 สิ่งน้ีที่แรกก็คือ
จากคน คนที่เล่าให้เราฟัง คนท่ีมีความรู้มีทักษะเหมือนวันน้ีอาจารย์กาลังใช้วิธีทาง Translate กับพวกเราอยู่
คือมันเป็นทักษะและความรู้ความความเชี่ยวชาญของอาจารย์เองที่สามารถถ่ายทอดให้กับพวกเราเป็น
วิทยาทานหรือเป็นสิ่งที่พวกเราสามารถปรับเอาไปใช้ได้ ส่วนใหญ่ความรู้ในแบบที่2เราจะนิยมใช้ในแบบ
นาเสนอ หรือแบบของผลงาน การวจิ ัยหรอื เปน็ ตาราแลว้ แต่ว่า
ภาพที่ 13 PowerPoint ความรู้ km
วันนีว้ ่าเราจะจดั การกบั องคค์ วามรขู้ องเราแบบไหน การบอกตอ่ การเล่าต่อหรอื การทาแบบสอบถามก็
คือการระดมสมองกเ็ ป็นการ นาความรูห้ รืออยากร้เู รือ่ งใดเร่ืองหนึ่ง
เป้าหมายที่เราจะได้จากการทา KM หรือการท่ีอยากจะทาโดเรสมีเดส เขาบอกว่าในส่วนใหญ่แล้ว
เวลาท่ีเราทา KM หรอื เราตอ้ งการท่จี ะจดั การองคค์ วามรูท้ ีเ่ รามีในองค์กร
เรากม็ ักจะมงุ่ ไปทเี่ ปา้ หมายโครงงานเป็นอนั ดบั แรกคือการมงุ่ ไปทผี่ ลของงาน นัง่ เอง
อนั ท่ี2เปน็ เปา้ ของลักษณะท่ีพฒั นาคน
อันท่ี 3 พัฒนาองคก์ รเป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้
22
และอันสุดท้ายบรรลุการเป็นชุมชนซื้อเป็นหมู่คณะให้มีความเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่กันระหว่างคนในองค์กรแสดงว่า
วันน้ีถ้าองค์กรของเราอยู่ที่ท่ีเราอยู่ หรือสาขาท่ีเราอยู่ทุกๆคนเต็มไปด้วยคนท่ีอยากจัดการกับองค์ความรู้เราน้ี
อาจารยเ์ ช่อื เลยวา่ เราสามารถเป็นหนงึ่ คนทสี่ รา้ งคนหรือถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีเรามีออกไปสู่
ภาพท่ี 14 PowerPoint เป้าหมาย
คนท่ีกาลังจะไปสร้างคนในอนาคตวันหน่ึงท่ีพวกเราจะออกไปฝึกสอนเราจะรู้เลยค่ะว่าการได้ฟังความรู้มาจาก
แหล่งต่างๆหรือการทม่ี โี อกาสศึกษาจากหนงั สือ อาจารยเ์ คยอ่านหนังสอื เล่มหน่งึ เขาบอกวา่ การท่ีเราจะเป็นคน
ยงั ไงมปี จั จัยอยู่ 3 อย่าง คือ
1 เพอ่ื นท่ีเราคบ คือเพอ่ื นที่เราคบจะเปลี่ยนแปลงเราเชน่ วันนี้ถ้าเราเจอแต่เพื่อนข้ีเกียจเราเจอแต่คน
ท่ีไมม่ อี งค์ความรู้อะไรเลยเรากจ็ ะกลายเป็นคนแบบน้นั
2 สังคมท่ีเราอยู่ เราเลือกสงั คมแบบไหนเราอยใู่ นสังคมแบบไหน เราก็จะอย่ใู นองค์กรท่ไี มร่ ้จู ักกนั เลย
3 หนังสือที่เราอ่าน เราอ่านหนังสือแบบไหน เลือกหนังสือแบบไหนมาอ่านเราก็จะเป็นคนแบบน้ัน
ความรู้สึกฝังลึก ประสบการณ์เรื่องของทักษะความรู้ชัดเจน เช่นตาราเอกสารท้ังหมดน้ียกระดับเป็น
กระบวนการกระบวนการแรกเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้หรือท่ีเราเรียกว่า extruded หรือที่เรียกว่าการ
แบง่ ปันประสบการณ์ แบบเผชญิ หน้าระวงั ผรู้ อู้ ยากรู้
วันน้ีท่ีเราน่ังฟังอยู่ตอนน้ีมีการแอบแฝงในการแบ่งปันเรียบร้อยแล้ว อาจารย์ได้นาความรู้
ประสบการณ์ ของอาจารย์มาเล่าให้พวกเราฟังชอบบ้างไม่ชอบบ้าง เช่นการระดมสมองการประชุมวันน้ีท่ีเรา
จัดกิจกรรมในคร้ังนี้ก็ถือว่าเป็นอีกหน่ึงกิจกรรมท่ีเราแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเราได้มีโอกาสรู้ขั้นตอนของการ
สมั มนาวา่ วนั น้ถี า้ เรารับหนา้ ทีเ่ ปน็ พธิ กี รแล้วเราต้องทาอะไรเรารับหนา้ ทเ่ี ปน็ คนที่ตดิ ต่อประสานงานเราต้องทา
อะไรบา้ งอนั นี้คือการทีเ่ ราแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน
อาจารย์มีเคล็ดลับท่ีเอามาแชร์ให้นักศึกษาฟังเป็นลักษณะท่ีเรียกว่าแลกเปล่ียนเรียนรู้กันอาจารย์ทา
บ่อยมากอันท่ี 2 เป็นลักษณะของการขจัดความรู้ของเราออกมาจากตัวคน ในลักษณะของการจดบันทึกไว้มี
23
การกลั่นกรองหรือทาเป็นลกั ษณะของงานวจิ ัยหรือนาเสนองานต่างๆหรอื ทาเป็นบทความมีเอกสารท่ีสนับสนุน
ของการตกผลึก
ขบวนการต่อไปคือกระบวนการรวบรวมความรู้ท่ีมาจากความสาคัญของความรู้ชัดแจ้งที่ผ่านการ
จัดระบบคือที่ผ่านการทาเป็นระบบระเบียบเรียบร้อยแล้วมาบูรณาการในรูปแบบให้มันเข้าด้วยกันนาความรทู้ ี่
ไดม้ าจากการสรา้ งรูปแบบใหมม่ าสร้างเป็นชิ้นงานใหม่
อนั สุดทา้ ยในเรื่องของการบนั ทึกความรู้ของเราเกดิ จากความสมั พนั ธภ์ ายในที่สง่ ผลต่อความรชู้ ัดแจง้ สู่
ความรู้ฝังลึกคือการนาไปใช้ในระดบั ของตัวบุคคลเช่ยี วชาญหรือผ่านการเล่าเขียนออกมาเปน็ ตาราเรยี บรอ้ ย
แล้วแลว้ ก็เปดิ เป็นทรพั ยส์ ินขององค์กรในลักษณะในการรู้ชัดร้ลู กึ รจู้ รงิ เปลีย่ นความรกู้ ็คือทาให้บุคคลน้นั
กลายเป็นผเู้ ชีย่ วชาญ เชน่ การท่เี ราสอบใบประกอบวิชาชพี มาได้นี่กค็ ือการเป็น
ภาพที่ 15 PowerPoint โมเดลปลาทู
ผูเ้ ชีย่ วชาญมีองค์ความรู้และไดป้ ระยุกต์ใช้องค์ความรใู้ หเ้ กิดประโยชน์หรอื สามารถถ่ายทอดเป็น
ทรัพย์สนิ หรอื ทรัพยส์ นิ ทางปัญญาใหก้ ับองค์กร แผนผังก้างปลาหรือทนู า่ โมเดลหรือทั้งปลาทนู น่ั เอง
เขาบอกว่าแผนผังก้างปลาหรือทูน่า Model นี้เป็นลักษณะของการหาสาเหตุและผลของการทางาน
และนี่ก็เป็นอีกหน่ึงความรู้ช่อื เราเรยี กวา่ Google เบส มาจากการเรียนร้ทู ่ีเราเจอปัญหาพอเราเจอปัญหาเราก็
จะมาหาสาเหตุที่แท้จริงหรือที่เราเรียกว่าการหารูทคอสนั่นเองอาจารย์ขอยกตัวอย่างว่าเช่นเพ่ือนของเราเข้า
เรยี นสายทกุ วันเลยเป็นปัญหาขององค์กรถ้าวันน้เี ราเป็นหนง่ึ คนที่จัดการปัญหาดว้ ยการใช้โมเดลตัวน้ีเราจะหา
สาเหตุท่ีแท้จริงค่ะว่าเพื่อนท่ีมาสายเกิดจากอะไรสาเหตุหลักของเพ่ือนคืออะไรของเพ่ือนคืออะไรซึ่งวันนี้ในตัว
ของผังกา้ งปลาตัวน้ีคือนอกจากจะเปน็ การหาปัญหาแลว้ ยงั เป็นการมอบหมายบทบาทให้กับคุณท่ีอยู่ในองค์กร
ของเราหรือเพ่อื นของเรา
คนสาคัญท่ีเราจะทาทูน่าโมเดลวันนี้คนสาคัญเลยก็คือผู้บริหารระดับสูงผู้บริหารระดั บสูงเขาบอกเราเป็นคนท่ี
กาหนดตัวบคุ คลทท่ี าหน้าทค่ี อื คุณเอ้ือ คุณเอือ้ นจี้ ะมีตวั ละคร 3 ตัวผู้บริหารจะเป็นผทู้ ี่กาหนดขึ้นมาพูดง่ายๆก็
24
คือผู้บริหารระดับสูงจะเป็นคนที่จัดการก่อให้เกิดการจัดการเรียนรู้มีทฤษฎีหลายทฤษฎีเขาบอกว่าถ้าวันนผี้ ู้นา
ในองคก์ รเขาบอกว่าหากผู้นาเราเปน็ คนแบบไหนลูกน้องเราก็จะกลายเปน็ คนแบบน้นั คนท่ีจะทาใหง้ านมันเดิน
ก็คือคนที่เป็นหวั หนา้
คุณอานวย คือ คนท่ีต้องถูกเลือกกระตุ้นเพ่ือให้งานเกิดขึ้นต่อไปคือคุณกฤษณ์ก็เป็นตัวสาคัญท่ีจะทา
ใหท้ นู ่าโมเดลดูดีขึ้นและคนต่อไปกค็ อื คณุ ภาษามหี น้าทที่ าใหเ้ กิดการเชอ่ื มโยงท้งั หมด
ทูนา่ โมเดลสว่ นหัวจะเป็นลักษณะของเป้าหมายทีเ่ ราอยากได้
พธิ ีกร ถามคาถาม เพราะอะไรการจดั การเรียนรจู้ ึงสาคัญ
วทิ ยาการ ตอบ อาชีพทกุ อาชพี ไม่ใชแ่ ค่อาชีพครูอยา่ งเดยี วท่สี าคญั
เพราะการไม่รู้สาคัญกว่าการรู้เสมอแพงกว่าความรู้เสมอไม่ใช่แง่ของเงินทองแต่เป็ นในเร่ืองของการประกอบ
วิชาชีพในเร่ืองของการถ่ายทอดแล้วก็การศึกษาเพราะฉะนั้นวันน้ีการจัดการเรียนรู้สาคัญการไม่รู้สาคัญกว่า
การรูแ้ น่นอนมีข้อสดุ ท้ายค่ะ
พิธีกร คาถามต่อไปเป็นคาถามจากนางสาวสุดารัตน์ ถามว่า หัวใจสาคัญของการจัดการความรู้ท่ี
นา่ สนใจและทม่ี ีผลต่อการเรียนการสอนคืออะไร
วทิ ยาการ หวั ใจสาคัญของการจัดการความรู้ที่นา่ สนใจและท่ีมีผลต่อการเรียนการสอน คอื การเข้าใจ
ในบริบทและการเข้าใจถึงมิตขิ องสิง่ ที่เราจะสอน อาจารย์ขอยกตวั อย่างว่า ถา้ วันนเ้ี ราเปน็ หน่งึ คนที่ไมเ่ ข้าใจใน
มิติ เราจะคนท่ีสอนไปเร่ือยๆถ่ายทอดไปเร่ือยๆโดยท่ีเราไม่มีเป้าหมาย เราไม่รู้ว่านักเรียนแต่ละคนรับปริมาณ
ความรทู้ เ่ี ราสอนได้แคไ่ หน
เราไมจ่ าเป็นว่าวนั นเ้ี ราเตรียมมาร้อย แลว้ เราต้องใส่ท้ังร้อย ถ้าเขามคี วามรู้อยู่แล้วเราอย่าพึ่งรีบเติมความรู้เข้า
ไปเพราะเขาจะไมไ่ ดอ้ ะไรเลย เพราะเขาน้ันมีความรอู้ ย่แู ลว้
เหมือนวันนี้ก็เหมือนกันเราต้องถามผู้ฟังก่อนว่าผู้กองอยากได้ความรู้เร่ืองอะไรแล้วเราจะได้เติมเข้าไป
เพราะฉะนนั้ การท่เี ราจะเขา้ ใจบรบิ ทว่าคนท่ีรบั รนู้ ้ันอยากรเู้ ร่ืองอะไรเปน็ สง่ิ ท่ีสาคัญและเป็นหัวใจของเรื่องที่จะ
ถา่ ยทอด
ผู้ร่วมสัมมนา นักศึกษาชั้นปีท่ี 2 นายอนาวิล ถาม ระดับโมเดลปลาทูเราจะนาความรู้น้ีมาใช้ในด้าน
นาฏศลิ ปด์ ้านใดได้บ้าง
วทิ ยากร โมเดลปลาทเู ปน็ การหาสาเหตุใหเ้ ราได้ โมเดลปลาทูเปรยี บเสมือนการหาเดอะสตาร์ใหเ้ รา
25
ภาพที่ 16 PowerPoint บคุ คลสาคัญในโมเดลปลาทู
เดอะสตาร์คนน้ีต้องได้รับการสนับสนุนจากองค์กรเช่นวันนี้ครูขุ้ยส่ังให้พวกเราทาชุดลูกปัดโนราเมื่อเราเจอ
ปัญหา covid เราไมส่ ามารถไปซ้ือลกู ปัดได้แสดงวา่ ในตอนน้ีในหวั ปลาทูของครูขุ้ยอยากได้ชุดนาฏศลิ ป์ครูขุ้ยก็
จะใช้วธิ ีในการถา่ ยทอดวธิ ีท่ีอยากได้ ปรากฏวา่ อนาวินบอกว่าองค์กรอนาวินหรือในกลุ่มของอนาวินน้ีมหี น่ึงคน
ที่เปน็ เดอะสตาร์ทีเ่ ขาจะสามารถแกป้ ัญหานใี้ หเ้ ราได้
อนาวิน ก็จะใช้วิธีการโน้มน้าวจิตใจให้การสนับสนุนคนคนน้ัน ทีนี้เพื่อนคนนั้นเขาจะรู้สึกได้ถึง
ความสาคัญของตัวเองท่ีจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไรหาลูกปัดนม้ี าได้อย่างไรเขาก็จะทรงแสวงหาทุกวิถีทางเพื่อให้
ได้ลุกปัดน้ีมาโดยใช้วิธกี ารจัดหางปลาทูหาง ปลาทูจะเป็นแหล่งท่ีรวบรวมความรู้ทั้งหมดเช่นเขาจะรวบรวมหา
สิ่งของทั้งหมดว่าสามารถหาลูกปัดได้จากท่ีไหนเช่นท่ีเฟซ Line แล้วไปบอกอนาวินว่าไม่จาเป็นต้องออกไปซ้ือ
แต่เราสัง่ เอากไ็ ด้ แค่สง่ั ทาง App มนั กจ็ ะมาสง่ ถึงหนา้ บ้าน
น่ีคือความสาคัญของโมเดลปลาทูจะมี 1 คนที่จะกระตุ้น และจะเป็นคนท่ีมองเห็นปัญหาส่วนคนที่เป็นเดอะ
สตาร์จะหาสาเหตทุ ีแ่ ทจ้ รงิ บรษิ ทั ที่เข้าร่วมกับ KM
ภาพท่ี 17 องคก์ รทใี่ ชก้ ระบวนการจดั การความรู้
26
พิธีกร นอกเหนือจากคาถามน้ีแล้ว ใครมีคาถามอะไรอีกม้ัยคะ วิทยากร ก่อนท่ีทุกคนจะกล่าวปิด
อาจารย์ขอสักหนึง่ นาทีที่จะพดู กับนักศึกษา อาจารยเ์ องนะคะชอบนะคะที่มโี อกาสดีๆแบบนี้มารว่ มพูดคุยแรก
เปลี่ยนกับนักศึกษา เพราะเชื่อเหลือเกินว่า ความรู้ท่ีเรามีเราคงไม่อยากให้มันตายจากเราไป อาจารย์เอง
เปรยี บเสมอื นจกิ ซอตัวสุดทา้ ยท่ีมาคอยเติมเต็มให้กิจกรรมครั้งน้มี ันเสรจ็ ส้ิน อาจารย์ไมไ่ ด้มาแค่บรรยายค่ะ แต่
อาจารย์มาสัมมนาเพื่อให้ทุกคนรู้ว่าขั้นตอนการสัมมนามันเป็นไปยงั ไง สุดท้ายแล้วเราจะเข้าใจค่ะว่า อ๋อ ตอน
จบมนั เปน็ แบบน้ีนีเ่ อง
จากการถอดเทปข้างต้น มสี าระสาคญั โดยสรุป คือ
1. ความหมายของความรู้
Knowledge Management คอื การรวบรวมองคค์ วามรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซ่ึงกระจัดกระจายอยู่ใน
ตัวบุคคลหรอื เอกสาร มาพัฒนาใหเ้ ป็นระบบ เพอ่ื ใหท้ กุ คนในองคก์ รสามารถเข้าถึงความรู้ และพฒั นาตนเองให้
เปน็ ผรู้ ู้ รวมท้งั ปฏบิ ัติงานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในการแข่งขันสูงสุด
โดยท่คี วามรู้มี 2 ประเภท คือ
1) ความรทู้ ฝ่ี งั อย่ใู นคน บางครัง้ เรียกวา่ เปน็ ความรแู้ บบนามธรรม
2) ความรู้ทชี่ ดั แจง้ เปน็ ความรูท้ ี่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผา่ นวิธตี ่าง ๆ
2. เปา้ หมาย
2.1 บรรลุเป้าหมายของงาน
2.2 บรรลุเปา้ หมายการพัฒนาคน
2.3 บรรลุเป้าหมายการพฒั นาองคก์ รไปเป็นองคก์ รเรยี นรู้
2.4 บรรลคุ วามเป็นชุมชน เป็นหมคู่ ณะ ความเอือ้ อาทรระหวา่ งกนั ในทีท่ างาน
3. กระบวนการจดั การความรู้
3.1. การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคือ
อะไร เพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมาย ตอ้ งใช้อะไร ปัจจุบันมีความรูอ้ ะไรบ้าง อยใู่ นรูปแบบใด และอยทู่ ่ี
3.2. การสร้างและแสวงหาความรู้ เป็นการสร้าง แสวงหา รวบรวมความรู้ทั้งภายใน/ภายนอก
รกั ษาความร้เู ดมิ แยกความรทู้ ใี่ ช้ไม่ไดแ้ ล้วออกไป
3.3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการกาหนดโครงสร้างความรู้ แบ่งชนิด ประเภท เพ่ือให้
สืบค้น เรยี กคืน และใช้งานไดง้ ่าย
3.4. การประมวลและกล่ันกรองความรู้ เป็นการปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้
ภาษาเดยี วกัน ปรับปรุงเนื้อหาใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ์
3.5. การเข้าถึงความรู้ เป็นการทาให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ท่ีต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น
ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT)
27
3.6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นการแบ่งปัน สามารถทาได้หลายวิธีการ โดยกรณีท่ีเป็น
ความรชู้ ดั แจ้ง อาจจดั ทาเป็นเอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.7. การเรียนรู้ เป็นการนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา และทาให้เป็นส่วน
หนึ่งของงาน เช่น เกิดระบบการเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การนาความรู้ในไปใช้ เกิดการเรียนรู้ และ
ประสบการณ์ใหม่
4. คนสาคัญท่ดี าเนินการจัดการความรู้
4.1. ผู้บริหารสูงสุด (CEO) สาหรับวงการจัดการความรู้ ถ้าผู้บริหารสูงสุดเป็นแชมเปี้ยน (เห็น
คุณค่า และดาเนินการผลักดัน KM) เร่ืองท่ีว่ายากท้ังหลายก็ง่ายขึ้น ผู้บริหารสูงสุดควรเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรม
จัดการความรู้ โดยกาหนดตัวบุคคลท่ีจะทาหน้าท่ี “คุณเอื้อ (ระบบ)” ของ KM ซึ่งควรเป็นผู้บริหารระดับสูง
เช่น รองอธิบดี, รองผอู้ านวยการใหญ่
4.2. คุณเอื้อ ถ้าการริเร่ิมมาจากผู้บริหารสูงสุด “คุณเอื้อ” ก็สบายไปเปลาะหนึ่ง แต่ถ้าการริเร่ิมที่
แท้จริงไม่ได้มาจากผู้บริหารสูงสุด บทบาทแรกของ “คุณเอื้อ” ก็คือ นา เป้าหมาย/หัวปลา ไปขายผู้บริหาร
สูงสุด ให้ผบู้ รหิ ารสงู สดุ กลายเป็นเจา้ ของ “หวั ปลา” ให้ได้ บทบาทตอ่ ไป
4.3. คณุ อานวย เป็นผู้คอยอานวยความสะดวกในการจดั การความรู้ ความสาคญั ของ “คณุ อานวย”
อยู่ที่การเป็นนักจุดประกายความคิดและการเป็นนักเช่ือมโยง โดยต้องเชื่อมโยงระหว่างผู้ปฏิบัติ (“คุณกิจ”)
กับผู้บริหาร (“คุณเอื้อ”), เชื่อมโยงระหว่าง “คุณกิจ” ต่างกลุ่มภายในองค์กร, และเชื่อมโยงการจดั การความรู้
ภายในองคก์ ร กบั ภายนอกองค์กร
4.4. คุณกิจ “คุณกิจ” หรือผู้ปฏิบัติงาน เป็นพระเอกหรือนางเอกตัวจริง ของการจัดการความรู้
เพราะเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมจัดการความรู้ประมาณร้อยละ 90-95 ของท้ังหมด “คุณกิจ” เป็นเจ้าของ “หัว
ปลา” โดยแท้จริง และเป็นผู้ท่ีมีความรู้ และเป็นผู้ท่ีต้องมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ ใช้ หา สร้าง แปลง ความรู้เพ่ือ
การปฏบิ ตั ิให้บรรลถุ งึ “เป้าหมาย/หัวปลา” ทีต่ งั้ ไว้
4.5. คุณประสาน เป็นผู้ที่คอยประสานเช่ือมโยงเครือข่ายการจัดการความรู้ระหว่างหน่วยงาน ให้
เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวงที่กว้างขึ้น เกิดพลังร่วมมือทางเครือข่ายในการเรียนรู้และยกระดับความรู้แบบ
ทวคี ณู
5. เครื่องมือการจดั องคค์ วามรู้
3.1 ทูนา่ โมเดล หรือแผนผังกางปลา
แผนผังก้างปลา เรียกเป็นทางการว่า แผนผังสาเหตุและผล แผนผังสาเหตุและผลเป็นแผนผังที่แสดง
ถงึ ความสมั พันธร์ ะหว่างปัญหา กับสาเหตทุ ้ังหมดที่เป็นไปได้ท่ีอาจก่อใหเ้ กิดปัญหาน้นั โดยแผนผงั นี้มีลักษณะ
เหมือนก้างปลาท่ีเหลือแต่ก้าง จึงเรียกว่าผังก้างปลาหรือเรียกว่าแผนผังอิชิกาว่า ตามชื่อผู้พัฒนาแผนผัง
ก้างปลา โดยแผนผงั กางปลา แบ่งเป็น 3 สว่ น
ส่วนหัว กาหนดทิศทางและเป้าหมาย
ส่วนลาตัว การแลกเปล่ยี นเรียนรู้
28
ส่วนหางปลา การจัดเกบ็ ความรู้
6. ประโยชน์
6.1 เพ่มิ ประสิทธิภาพขององคก์ ร
6.2 ปอ้ งกนั การสญู หายของภูมิปญั ญา ในกรณีทบ่ี ุคลากรเกษยี ณอายุ ลาออก หรอื เสียชวี ติ
6.3 เพิ่มศกั ยภาพในการแขง่ ขันและความอยู่รอด
6.4 เป็นการลงทุนในต้นทุนมนุษย์ ในการพัฒนาความสามารถท่ีจะแบ่งปันความรู้ที่ได้เรียนรู้มา
ใหก้ บั คนอ่ืนๆ ในองค์กร และนาความรู้ไปปรับใช้
จากข้อความที่กล่าวมาข้างต้น การจัดการความรู้ คือการรวบรวมความรู้ จากหลายๆแหล่งกระจัด
กระจายกันอยู่ ไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของตัวบุคคล หรือความรู้เหล่าน้ีอยู่ในตัวเอกสาร คือการจัดการความรู้
แบบภาพรวมที่ทุกคน ในองค์กร สามารถเข้ามาหาความรู้พวกนี้ได้ โดยนาความรู้เหล่าน้ีมาใช้พัฒนาตัวเอง
และพัฒนาองค์กรได้ ความรู้ท่ี 1 เขาเรียกว่า Translate ความรู้ที่ 2 คือความรู้ท่ีชัดแจ้ง หรือ Accident จาก
การสัมมนาได้ความรู้เพ่ิมเติมคือการปรับ My Set คือ ความรู้ความคิด ไม่มีใครมีความรู้มากกว่ากัน เพียงแต่
ว่าเรามีโอกาสจะนาความรู้ไปใช้แตกต่างกัน อย่างเช่น ภาพผู้ชายคนนึงที่น่ังอยู่บนรถเข็นและสภาพห้องว่าง
เปล่ามีแสงมีเงาถ้าเป็นความรู้สึกเหมือนรู้สึกท้อแท้ เขาพร้อมที่จะลุกข้ึนยืนมือจับเพ่ือท่ีจะลุกขึ้นต่อสู้กับอะไร
สักอย่าง รูปทุกรูปเราทุกคนสามารถคิดตามท่ีเราเห็นอยู่เสมอ เพราะสิ่งเหล่าน้ีมันคือการศึกษาแบบองค์รวม
ซึ่งสามารถเรียนรู้ เราสามารถที่จะจัดการกับระบบความคิดของเรา เรามีพ้ืนฐานของความรู้สึก คนพิการรูป
ผชู้ าย เขาเปน็ ผชู้ าย 1 คนที่นั่งอย่ใู นหอ้ งนั้นเขาอาจจะไม่ได้รูส้ กึ หอเห่ยี ว เขาอาจจะกาลังนัง่ ฟังเพลงเบาๆ การ
จัดการเรียนรู้หรือความคิดกาลังมีปัญหา ต้องเรียนรู้จากข้อผิดพลาด แต่ทุกๆความผิดพลาดไม่ใช่สิ่งท่ีแย่ท่ีสุด
เสมอไปทกุ อยา่ งท่ีเกิดขนึ้ ล้วนดีเสมอ รเู้ พียงแต่วา่ เราเกิดการเรียนรู้จากข้อผิดพลาดตรงน้นั มา ความคดิ มีตวั ตน
เม่ือเกิดความคดิ เราจะแสวงหาความรู้ เเละกอ่ ใหเ้ กิดการลงมือทา การจัดการกับองค์ความรู้คอื การระดมสมอง
ก็เป็นการ นาความรหู้ รอื อยากรู้เร่ืองใดเร่ืองหนึ่งเป้าหมายทเี่ ราจะได้จากการทา KM คือการมุ่งไปทผี่ ลของงาน
ซึ่งแผนผังก้างปลาหรือทูน่า Model นี้เป็นลักษณะของการหาสาเหตุและผลของการทางาน ความสาคัญของ
โมเดลปลาทูจะมี 1 คนทจ่ี ะกระตุน้ และจะเปน็ คนท่มี องเห็นปญั หาส่วนคนทเี่ ป็นผูน้ าจะหาสาเหตุท่แี ทจ้ ริง ซึง่
คนนี้ต้องได้รับการสนบั สนนุ จากองคก์ ร
29
บทท่ี 3
วิธีดาเนนิ การ
วธิ ีดาเนนิ การจดั กิจกรรมสัมมนาทางวชิ าการเรื่อง การจัดการความรู้แบบองค์รวม ผูศ้ ึกษามี
วธิ ดี าเนินการ ดังนี้
1. ขัน้ การเตรยี มการ
2. ขน้ั การดาเนนิ งาน
3. ข้นั สรุป
ขนั้ เตรยี มการ
การเตรยี มการเพื่อการดาเนนิ โครงการสัมมนาเชงิ ปฏิบตั ิการ เร่อื ง การจดั การความรูแ้ บบองคร์ วม
ดงั น้ี
1. ประชุมเสนอหัวข้อโครงการสมั มนา
2. ร่างโครงการสัมมนาและเสนอขออนุมตั โิ ครงการ
3. ประชมุ คณะกรรมการแต่ละฝ่ายเพื่อรบั ผิดชอบงานโครงการ
4. ประชมุ คณะกรรมการเพือ่ วางแผนการดาเนินงาน
4.1 การประชาสมั พนั ธ์โครงการสมั มนา นางสาวขวัญหทยั หญตี อมั ฤทธ์ิ
4.2 การเชิญประธาน และวทิ ยากร นางสาวรงุ่ ทิวา เบญจาธกิ ุล
4.3 การจัดทาเอกสารประกอบการสมั มนา นางสาวกิตติยา ชมุ ทอง
4.4 การวางแผนกาหนดการดาเนนิ งานโครงการสมั มนา นายธนายุทธ แซต่ ั้น
4.5 การจดั ทาแบบประเมินโครงการสมั มนา นางสาวพัณณิตา กิจคาม
4.6 การลงทะเบียนเข้าสัมมนา นางสาวศริ ิกมล จิตรา
4.7 การเตรยี มตัวพิธกี ร นางสาวพณั ณติ า กจิ คาม
4.8 การจัดทาสคริปพธิ กี ร นางสาวสุดารตั น์ ฝ่ังขวา
4.9 การเชญิ ผูเ้ ขา้ รว่ มสัมมนา นางสาวศรญั ย์พร บญุ เมือง
4.10 การถอดเทป นางสาวอรพรรณ เพชรคงทอง และนางสาวณัฐธดิ า รกั ษาแกว้
4.11 การบันทึกภาพ นางสาวสนั ต์ฤทยั พรหมชยั ศรี
4.12 บทความวชิ าการ นางสาวปวรศิ า อินทรเ์ ก้ือ
30
ขน้ั ดาเนนิ การ
ขัน้ ดาเนินการการสมั มนาเรอื่ งการจัดการความร้แู บบองค์รวม มรี ายละเอียดน่าสนใจ ดงั นี้
1. ขัน้ เตรียมการ
ข้นั เตรยี มการเป็นการเตรยี มสาระประเด็นสาหรบั การจดั การสมั มนา ตามรายละเอยี ด ดงั นี้
1.1 อาจารย์ประจาวิชาจัดประชุมกลุ่มในชั้นเรียนรายวิชาการสัมมนาทางนาฏศิลป์ รหัสวิชา
2053904 โดยเปิดประเดน็ ให้นกั ศึกษานาเสนอในส่ิงทตี่ นเองมคี วามคาดหวงั จะพฒั นาเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ ใน
ประเด็นของผ้ศู ึกษาสนใจจะพฒั นาองค์ความรเู้ ร่ืองการจัดการความรูแ้ บบองคร์ วม จงึ มีการนาเสนอในประชุม
ในหลายประเด็น อาทิ ประเด็นวิทยากร การรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายเพื่อให้เกิดการสมั มนา วันและเวลาใน
การจัดสัมมนา โดยให้เวลาไปแตล่ ะคนที่สนใจสัมมนาไปตดิ ตอ่ รายละเอยี ดของแตล่ ะประเดน็
1.2 สารระสาคัญของการประชุมครง้ั ท่ี 2 ได้รายละเอยี ด ดังน้ี
1.2.1 วทิ ยากร อาจารยพ์ ัทธนนั ท์ อธิตัง อาจารย์ประจาหลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต
สาขาวชิ าการจัดการ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช
1.2.2 การรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะฝา่ ย ประกอบด้วย
1) ฝา่ ยพิธีการ รับผิดชอบติดตอ่ ประสานงาน เชญิ วิทยากร จดั ระบบการทางานที่
เกีย่ วกบั พธิ ีการ โดยมีนางสาวพณั ณติ า กิจคาม เปน็ ผูร้ ับผิดชอบ
2) การแบ่งหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบการจดั สมั มนา มีรายละเอยี ด ดงั นี้
หัวหน้าโครงการสัมมนาโดยนางสาวปวริศา อินทร์เกื้อ จัดประชุมและแบ่งหน้าที่ให้แต่ละฝ่าย
รบั ผดิ ชอบดังนี้
1. เชิญวิทยากร อาจารย์พัทธนันท์ อธิตัง โดยการติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ประสานงานเพื่อชี้แจง
รายละเอียดและข้ันตอนการดาเนินงาน เพ่ือให้วิทยากรเข้าใจกระบวนการท่ีชัดเจนในวันจัดสัมมนา จากน้ัน
การทาบันทึกข้อความเชิญวิทยากร (รายละเอียดมีในภาคผนวก) รับผิดชอบโดยนางสาวรุ่งทิวา เบญจาธิกุล
เปน็ ผเู้ ชญิ วิทยากร
2. เชญิ ผเู้ ข้าร่วมสมั มนา โดยการติดต่อผา่ นทางโทรศัพท์ประสานงานกับหวั หนา้ กลมุ่ นักศกึ ษาช้ันปีท่ี2
เพ่ือชี้แจงรายละเอยี ด คือเร่ืองท่ีจะสัมมนาและวันเวลาในการสัมมนา จากนน้ั ทาบันทกึ ข้อความเชญิ ผเู้ ขา้ รว่ ม
สัมมนา(รายละเอยี ดมีในภาคผนวก) รับผิดชอบโดยนางสาวศรัญยพ์ ร บญุ เมือง
3. กาหนดการ ช้แี จงรายละเอียดวันและเวลาในการจัดกิจกรรมเรื่องการจัดการความรู้แบบองคร์ วม
(รายละเอียดมใี นภาคผนวก) รบั ผิดชอบโดยนายธนายทุ ธ แซ่ตัน้
4. รายละเอียดของเน้ือหาประกอบการสัมมนาเรื่องการจัดการความรู้แบบองค์รวม การติดต่อ
ประสานงานเพื่อขอรายละเอียดเน้ือหาประกอบการสัมมนาจากวิทยากร รับผิดชอบโดยนางสาวกิตติยา ชุม
ทอง
31
5. การประชาสัมพันธ์ โดยการทาประชาสมั พันธแ์ บบออนไลน์ (โปสเตอร์ผ่านกลุ่ม facebook ชื่อว่า
Education Dramatic art – ครุศาสตร์นาฏศิลป์ มรภ.นศ.) รับผิดชอบโดยนางสาวขวัญหทัย หญีตอัมฤทธ์ิ
(รายละเอียดมีในภาคผนวก)
6. การลงทะเบียน ลิงค์ลงทะเบียนการเข้าร่วมการสัมมนาจัดทาในรูปแบบของ Google Form
รบั ผิดชอบโดยนางสาวศิรกิ มล จติ รา
7. พิธีกร กล่าวต้อนรับวิทยากรและผู้เข้าร่วมสัมมนา กล่าวเปิดและปิดโครงการการจัดการความรู้
แบบองคร์ วม รับผิดชอบโดย นางสาวพณั ณติ า กจิ คาม
8. การจัดทาสคริปพิธีกร สาหรับให้พิธกรไว้กลา่ วตอนรับ และให้พิธีทราบถึงชือ่ และวัตถุประสงค์ของ
โครงการให้ผ้เู ขา้ รว่ มสมั มนาไดฟ้ งั รบั ผดิ ชอบโดยนางสาวสดุ ารตั น์ ฝ่ังขวา
9. การแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ เร่อื งการจดั การความรูแ้ บบองคร์ วม จัดทาในรปู แบบของ Google
Form โดยแบ่งข้อคาถามเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี1 เป็นสถานภาพของผู้ตอบ ประกอบด้วย เพศ อายุ และ
อาชีพ ตอนที่ 2 เป็นประเดน็ การประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การจัดสัมมนาโครงการการจดั การความรู้แบบองค์
รวม และตอนที่ 3 เปน็ ขอ้ เสนอแนะ รบั ผิดชอบโดยนางสาวพัณณิตา กจิ คาม
10. การถอดเทป ดาเนินงานโดยการอัดวิดโิ อหนา้ จอในการสัมมนา และนาไปสรุปถอดเทป รบั ผดิ ชอบ
โดยนางสาวอรพรรณ เพชรคงทอง และนางสาวณัฐธิดา รกั ษาแก้ว
11. การบันทึกภาพ - ถ่ายรูป ดาเนินงานโดยการแคปหน้าจอและถ่ายรูปในการสัมมนา รับผิดชอบ
โดยนางสาวสนั ต์ฤทัย พรหมชยั ศรี
12. บทความวิชาการ สรุปและรายงานการสัมมนาวิชาการเรื่องการจัดการความรู้แบบองค์รวม
รับผดิ ชอบโดยนางสาวปวริศา อินทร์เกือ้
1.3 วนั และเวลาในการจดั สัมมนา ในวนั ท่ี 24 กนั ยายน 2564 ตงั้ แต่เวลา 09.20 – 11.30 น. เวลา
กาหนดสมั มนา ณ ห้องClassroom
2. ขนั้ ดาเนินงาน
ข้ันดาเนินงานมรี ายละเอียดสาคญั ดังน้ี
2.1 ฝา่ ยเชิญวทิ ยากร เชญิ วิทยากรโดยการตดิ ต่อผา่ นทางโทรศัพท์ประสานงานเพอื่ ชี้แจง
รายละเอียดและข้ันตอนการดาเนินงาน เพือ่ ให้วิทยากรเขา้ ใจ กระบวนการท่ีชัดเจนในวันจัดสัมมนา
จากนัน้ การทาบันทกึ ขอ้ ความเชิญวทิ ยากร (รายละเอยี ดมใี น ภาคผนวก) โดยมีนางสาวรุ่งทิวา เบญจาธิกุล
เป็นผรู้ ับผิดชอบ
2.2 ฝ่ายเชิญผ้เู ข้าร่วมสัมมนา โดยการติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ประสานงานกบั หัวหนา้ กลุม่
นักศึกษาชั้นปีที่2 เพ่ือชี้แจงรายละเอียด คือเร่ืองที่จะสัมมนาและวันเวลาในการสัมมนา จากนั้นทา
บันทึกข้อความเชิญผู้เข้าร่วมสัมมนา(รายละเอียดมีในภาคผนวก) โดยมีนางสาวศรัญย์พร บุญเมือง เป็น
ผรู้ ับผดิ ชอบ
32
2.3 กาหนดการ ชี้แจงรายละเอียดวันและเวลาในการจัดกิจกรรมเร่ืองการจัดการความรู้แบบองค์
รวม (รายละเอยี ดมีในภาคผนวก) โดยมนี ายธนายทุ ธ แซ่ต้ัน เป็นผูร้ ับผดิ ชอบ
2.4 รายละเอียดของเนื้อหาประกอบการสัมมนาเรื่องการจัดการความรู้แบบองค์รวม ติดต่อ
ประสานงานเพ่ือขอรายละเอียดเนื้อหาประกอบการสัมมนาจากวิทยากรอาจารยพ์ ัธนันท์ อธิตัง โดยมีนางสาว
กิตตยิ า ชุมทอง เป็นผ้รู ับผิดชอบ
2.5 ประชาสัมพันธ์ โดยการทาประชาสัมพันธ์แบบออนไลน์(โปสเตอร์) เร่ืองการจัดการความรู้
แบบองค์รวม โดยมี นายธนายทุ ธ แซต๋นั เปน็ ผ้รู บั ผิดชอบ (รายละเอียดมีในภาคผนวก)
2.6 ลิงค์ลงทะเบยี น ลงิ คล์ งทะเบยี นการเขา้ รว่ มการสมั มนาจดั ทาในรูปแบบของ Google
Form โดยมี นางสาวศริ ิกมล จติ รา เป็นผรู้ บั ผิดชอบ
2.7 พิธีกร กล่าวต้อนรับวิทยากรและผู้เข้าร่วมสัมมนา กล่าวเปิดและปิดโครงการจัดการความรู้
แบบองค์รวม โดยมี นางสาวพัณณติ า กิจคาม เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
2.8 ลิงค์แบบประเมินความพึงพอใจ เรื่อง การจัดการความรู้แบบองค์รวม จัดทาในรูปแบบของ
Google Form โดยแบ่งข้อคาถามเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี1 เป็นสถานภาพของผู้ตอบ ประกอบด้วย เพศ อายุ
และอาชีพ ตอนท่ี 2 เป็นประเด็นการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดสัมมนาโครงการการพัฒนาแผนการ
จดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการและตอนที่ 3 เปน็ ข้อเสนอแนะ โดยมี นางสาวพัณณิตา กิจคาม เป็นผรู้ ับผดิ ชอบ
2.9 การถอดเทป ดาเนนิ งานโดยการอัดวดิ โิ อหนา้ จอในการสัมมนา และนาไปสรปุ ถอดเทป โ ด ย
มนี างสาวณัฐธดิ า รกั ษาแก้ว และนางสาวอรพรรณ เพชรคงทอง เปน็ ผรู้ บั ผิดชอบ
2.10 แคปหน้าจอ-ถ่ายรูป ดาเนนิ งานโดยการแคปหน้าจอและถ่ายรูปในการสัมมนา โดยมี
นางสาวสันตฤ์ ทัย พรหมชยั ศรี เป็นผรู้ ับผดิ ชอบ
2.11 บทความวชิ าการ สรปุ และรายงานการสมั มนาวิชาการเรอื่ งการจัดการความรู้แบบองคร์ วม
โดยมีนางสาวปวรศิ า อินทรเ์ กื้อ เป็นผู้รับผิดชอบ
3. ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล
การแบ่งหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบการจดั สัมมนา มรี ายละเอียด ดังน้ี
หัวหน้าโครงการสัมมนาโดยนางสาวปวริศา อินทร์เกื้อ จัดประชุมและแบ่งหน้าท่ีให้แต่ละฝ่าย
รับผดิ ชอบดังนี้
3.1 เชิญวิทยากร อาจารย์พัธนันท์ อธิตัง รับผิดชอบโดยนางสาวรุ่งทิวา เบญจาธิกุล เป็นผู้เชิญ
วิทยากร
3.2 เชญิ ผู้เขา้ ร่วมสมั มนา รบั ผดิ ชอบโดยนางสาวศรัญย์พร บุญเมือง
3.3 กาหนดการ รับผิดชอบโดยนายธนายทุ ธ แซตั๋น
3.4 รายละเอยี ดของเนอ้ื หาประกอบการสมั มนา รบั ผิดชอบโดยนางสาวกิตติยา ชุมทอง
3.5 ประชาสมั พนั ธ์ รับผดิ ชอบโดยนางสาวขวัญหทัย หญตี อัมฤทธ์ิ (รายละเอยี ดมีในภาคผนวก)
3.6 ลงิ ค์ลงทะเบยี น รบั ผิดชอบโดยนางสาวศิรกิ มล จิตรา
33
3.7 พธิ กี ร รบั ผิดชอบโดย นางสาวพณั ณิตา กจิ คาม
3.8 จัดการสัมมนา จัดในวันพฤหัสบดี ที่ 24 กันยายน 2564 ต้ังแต่เวลา 09.20 – 11.30 น.
(รายละเอียดกาหนดการในภาคผนวก)
3.9 ลงิ ค์แบบประเมินความพึงพอใจ รบั ผิดชอบโดย นางสาวพณั ณิตา กจิ คาม
3.10 การถอดเทป รับผดิ ชอบโดยนางสาวอรพรรณ เพชรคงทอง และนางสาวณฐั ธดิ า รักษาแกว้
3.11 แคปหนา้ จอ-ถา่ ยรูป รบั ผดิ ชอบโดยนางสาวสันต์ฤทัย พรหมชยั ศรี
3.12 บทความวิชาการ สรุปและรายงานการสัมมนาวิชาการเรอื่ งการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการ รบั ผิดชอบโดยนางสาวปวรศิ า อนิ ทรเ์ ก้ือ
จัดการสัมมนา จัดในวันพฤหัสบดี ท่ี 24 กันยายน 2564 ตั้งแต่เวลา 09.20 – 11.30 น. โดยมี
อาจารย์พัธนันท์ อธิตัง เป็นวิทยากรในการสัมมนาคร้ังนี้ ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นนักศึกษาช้ันปีที่2 และนักศึกษา
ช้ันปีที่ 3 ซึ่งเปน็ ผู้จัดโครงการสมั มนาเขา้ รว่ มดว้ ย
ขัน้ สรปุ
ผู้ศึกษาสรุปผลโครงการการจัดการความรู้แบบองค์รวม โดยการสรุปเป็นเอกสารรายงานผลการจัด
กจิ กรรมท้งั ท่ีเป็นเอกสารในเชิงคุณภาพ และเชิงปรมิ าณ ดงั นี้
1. การสรปุ เชิงคุณภาพ ผ้ศู ึกษาสรปุ รายงานผลเอกสารเป็น 5 บท ประกอบดว้ ย
1.1 บทที่ 1 บทนา ประกอบด้วย หลักการและเหตุผลวตั ถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา คาสาคัญ
และประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ
1.2 บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม ประกอบดว้ ย วรรณกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ประกอบดว้ ย ความหมาย
ของการจัดการความรู้ (KM) กระบวนการจัดการความรู้ เคร่ืองมือในการจัดการเรียนรู้ และคนสาคัญท่ี
ดาเนินการจดั การความรู้
1.3 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการ ประกอบด้วย ขนั้ เตรียมการ ข้ันดาเนนิ การ และขนั้ สรปุ
1.4 บทที่ 4 รายงานผลการจัดโครงการสมั มนาเร่ืองการจัดการความร้แู บบองคร์ วม ประกอบด้วย
แบบประเมินความพงึ พอใจ
1.5 บทที่ 5 สรปุ และขอ้ เสนอแนะ
2. การสรปุ เชงิ ปริมาณ ผศู้ ึกษามวี ิธกี ารดาเนนิ การ ดงั นี้
ผู้ศึกษาได้ พัฒนารูปแบบของแบบสอบถามเพ่ือวัดความพึงพอใจโครงการสัมมนาการจัดการ
ความรู้แบบองค์รวม แบบสอบถามในลักษณะ googl from แบ่งข้อคาถามเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี1 เป็น
สถานภาพของผู้ตอบ ประกอบด้วย เพศ อายุ และอาชีพ ตอนท่ี 2 เป็นคาถามวัดความพึงพอใจต่อการจัด
สัมมนาโครงการการจัดการความรู้แบบองคร์ วม ประกอบด้วย ขอ้ ท่ี 1 เนื้อหาสาระในการสมั มนา ขอ้ ที่ 2 การ
ถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ข้อท่ี 3 เอกสารประกอบการบรรยาย ข้อที่ 4 บรรยากาศในการร่วมกิจกรรม
น่าสนใจ ข้อที่ 5 ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองน้ีก่อนการเข้าร่วมสัมมนา ข้อท่ี 6 ความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้หลัง
34
การเข้าร่วมสัมมนา ข้อท่ี 7 หัวข้อสัมมนากับระยะเวลาในการสัมมนามีความเหมาะสม ข้อที่ 8 แผนป้าย
ประชาสัมพันธ์ในคร้ังน้ีมีความสวยงาม และเนื้อหาในการสื่อสาร ข้อท่ี 9 โอกาสได้แลกเปล่ียนเรียนรู้กับ
วิทยากรขณะสัมมนา และข้อที่ 10 โสตทัศนูปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ระบบเสียง ตอนท่ี 3 เป็นข้อเสนอแนะ ผู้
ศกึ ษาได้นาแบบสอบถามเพื่อวดั ความพึงพอใจดังกลา่ วไปทดลองเก็บข้อมูล จากผเู้ ขา้ รบั การสมั มนาที่ไม่ใช่กลุ่ม
ตัวอย่างเพื่อตรวจสอบปัญหาความไม่เข้าใจในข้อคาถาม หากมีปัญหาจะได้ตรวจสอบและแก้ไขเพ่ือปรับแต่ง
ขอ้ มูลให้แบบสอบถามดังกล่าวสมบูรณ์ถกู ต้อง จากน้ันจงึ ได้นาแบบสอบถามไปเก็บข้อมลู จากแหล่งเก็บข้อมูล
จรงิ จากผเู้ ขา้ รับการสัมมนา ในวนั ท่ี 24 กนั ยายน 2564 โดยมผี ู้เขา้ รับการอบรม จานวน 35 คน จากน้ันนาได้
นาแบบสอบถาม แบบสอบถามที่เก็บได้ทั้งหมด 24 คน ป้อนข้อมูลแบบสอบถามลงโปรแกรม Excel โดยใช้
ตัวเลขแทนข้อความ จากน้ันไปแปลงในโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS FOR WINDOWS เพื่อหาค่าร้อยละของ
สถานภาพ คือ ค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจานวนตามเพศเป็นเพศหญิงร้อยละ 83.3 รองลงมา คือ เพศชาย
ร้อยละ 16.7 ค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจานวนตามอายุ คือ ค่าร้อยละอายุ 18-23 ปี ร้อยละ 95.8 รองลงมา
คือ อายุ 56 ปีขึ้นไปร้อยละ 4.2 ค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจานวนตามอาชีพเป็นนักศึกษาร้อยละ 95.8
รองลงมา คือ รับข้าราชการร้อยละ 4.2 ค่าร้อยละ 4.75 4.87 4.54 4.70 4.83 4.70 4.79 4.62 4.75 และ
4.75 และความพงึ พอใจการเขา้ ร่วมการสัมมาการจัดการผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในข้อท่ี 1 ถงึ ขอ้ ที่
10 อยู่ในระดับมากท่ีสุด ท้ังนี้จะต้องมีค่าความเชื่อม่ันที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ผลของการหาค่ารอ้ ยละที่กลา่ ว
จะรายงานผลทงั้ เชิงปริมาณและคณุ ภาพในลกั ษณะของการพรรณนาวิเคราะห์ ดังน้ี
1. กลุ่มเปา้ หมายหรอื ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย/ผู้เข้าร่วมโครงการ นักศึกษาสาขานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช จานวน 37 คน
2. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ
วนั ที่ 24 กนั ยายน 2564
3. สถานทีด่ าเนนิ โครงการ
ณ ห้อง classroom รายวิชาสัมมนาการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมทางด้านนาฏศิลป์ /
ระหว่างวันท่ี วนั ที่ 16 - 24 กนั ยายน 2564
4. ข้ันตอนการประเมนิ โครงการ
4.1 สรุปการผลการดาเนนิ โครงการ/แบบประเมนิ โครงการ
4.2 รปู ถ่ายโครงการ
5. เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการศกึ ษา
เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการศึกษา โครงการสมั มนาการจดั การความรแู้ บบองคร์ วม คือ
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
1.1 เพศ
1.2 อายุ
35
1.3 อาชีพ
สว่ นที่ 2 ความคดิ เหน็ ของผเู้ ข้าร่วมโครงการสมั มนา
2.1 ด้านเนอ้ื หาสาระและการนาไปใชป้ ระโยชน์
สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม
3.1 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
การแปลความหมายของระดับคะแนนในตอนท่ี 2 ได้แปลผลระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม
โครงการ โดยใช้ค่าเฉลี่ยของผลคะแนนเป็นตัวชี้วัดตามเกณฑ์ในการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ วัดเป็น 5
ระดับ ดงั นี้
ค่าเฉล่ีย ความหมาย
4.51 - 5.00 ระดับความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด
3.51 - 4.50 ระดับความพึงพอใจ มาก
2.51 - 3.50 ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง
1.51 - 2.50 ระดับความพงึ พอใจ นอ้ ย
0.00 - 1.50 ระดบั ความพงึ พอใจ นอ้ ยทีส่ ุด
6. วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1) เกบ็ ข้อมลู จากแบบประเมินโครงการสัมมนาการจัดองค์ความรูแ้ บบองคร์ วม
2) นาข้อมูลมาวเิ คราะหใ์ นโปรแกรม SPSS for Window version 16.0
7. วิธีการวิเคราะหข์ อ้ มลู
วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใชส้ ถิตพิ ้นื ฐาน
1) การแจกแจงความถีข่ องข้อมลู (Frequency Distribution)
2) การหาคา่ เฉลีย่ (Mean)
3) การหาค่าความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
4) การหาคา่ รอ้ ยละ (Percentage)
8. ข้นั ตอนการดาเนนิ การ
10.1 ขั้นเตรียมงาน
1) ประชมุ เตรียมงานภายในกลมุ่ งานการประชมุ เพอ่ื พิจารณาโครงการฯ
2) ตดิ ตอ่ ประสานงานในส่วนท่ีเกย่ี วขอ้ ง
3) รา่ งโครงการฯเพ่อื เสนอ
4) จดั เตรียมเอกสาร ขอ้ มลู ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
5) ประสานผ้ทู ่มี ีส่วนเกีย่ วข้องในโครงการ
10.2 การดาเนินงานในวนั จดั โครงการ
36
1) นางสาวปวริศา อินทร์เก้ือ หัวหน้าโครงการสัมมนา กล่าวต้อนรับวิทยากรและผู้เข้าร่วม
สมั มนา
2) อาจารย์พทั ธนันท์ อธติ ัง วทิ ยากรบรรยายหัวข้อการจัดการความรแู้ บบองคร์ วม
3) วิทยากรและผูเ้ ขา้ รวมสัมมนา ร่วมกันอภปิ ราย
10.3 การดาเนนิ การหลงั ฝกึ อบรม
1) นาแบบประเมินความพึงพอใจมาวเิ คราะห์และสรปุ รายงานผลการดาเนินโครงการ
2) รายงานผลการดาเนินงาน
37
บทท่ี 4
ผลการดาเนินการสมั มนาทางวิชาการเร่ือง การจดั การความร้แู บบองค์รวม
การดาเนนิ การโครงการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร เรอื่ ง การจดั การความรู้แบบองคร์ วมมผี ลการ
ดาเนินงานรายละเอยี ด ดังน้ี
ผลการดาเนนิ งาน
ผลการวัดความพงึ พอใจ
โครงการสมั มนา เรอื่ งการจัดการความรู้แบบองค์รวม ปีการศกึ ษา 2564 ในคร้งั นี้ ผลการประเมนิ สรปุ
ได้ดังนี้
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลสว่ นบุคคลของผทู้ าแบบสอบถาม
ตารางที่ 1 แสดงจานวนร้อยละของกลมุ่ ตวั อย่างจานวนตามเพศ
เพศ จานวน รอ้ ยละ
ชาย 4 16.7
หญงิ 20 83.3
รวม 24 100
จากตารางที่ 1 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง จานวน 24 คน คิดเป้นร้อยละ 83.3
รองลงมา คือ เพศชาย จานวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.7 ตามลาดบั
จากผลของตัวเลข ผู้ศึกษาเห็นว่ามีความสอดคล้องเป็นส่ิงที่เป็นจริงตามตารางข้างต้น เพราะในวันที่
วันที่ 24 กันยายน 2564 สมั มนาเรื่องการจัดการความรแู้ บบองคร์ วม ซึ่งเป็นนกั ศึกษาสาขานาฏศิลป์ จากที่ได้
ไปตรวจสอบพบว่าส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาเพศหญิง มากกว่าเพศชาย ผลแสดงจานวนร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง
จานวนตามเพศจึงมคี วามถกู ต้อง ดังตาราง
ตารางท่ี 2 แสดงจานวนรอ้ ยละของกล่มุ ตวั อยา่ งจานวนตามอายุ
อายุ จานวน รอ้ ยละ
95.8
18-23 ปี 23
0
24-35 ปี 0 0
36-45 ปี 0 0
46-55 ปี 0 4.2
56 ปขี ึน้ ไป 1 100
24
รวม
38
จากตารางท่ี 2 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อายุ 18-23 ปี จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 95.8
รองลงมา คอื อายุ 56 ปขี น้ึ ไป จานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4.2 ตามลาดบั
จากผลของตัวเลข ผู้ศึกษาเห็นวา่ มีความสอดคล้องกบั ผู้รับการอบรม เพราะในวันทีว่ นั ท่ี 24 กนั ยายน
2564 สัมมนาเรื่องการจัดการความรู้แบบองค์รวม ซึ่งเป็นนักศึกษาช้ันปีที่ 1 นักศึกษาชั้นปีท่ี 2 และนักศึกษา
ชั้นปีที่ 3 จากที่ได้ไปตรวจสอบพบว่าสว่ นใหญ่อายุ 18-23 ปี มากกว่าอายุ 56 ปีขึ้นไป ผลแสดงจานวนรอ้ ยละ
ของกลมุ่ ตัวอย่างจานวนตามอายุจงึ มคี วามถูกต้อง ดังตาราง
ตารางที่ 3 แสดงจานวนรอ้ ยละของกลุ่มตัวอยา่ งจานวนตามอาชีพ
อาชพี จานวน รอ้ ยละ
95.8
นักศึกษา 23 4.2
100
ขา้ ราชการ 1
รวม 24
จากตารางท่ี 3 ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ นกั ศกึ ษา จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 95.8
รองลงมา คือ รับขา้ ราชการ จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 4.2 ตามลาดับ
จากผลของตัวเลข ผู้ศึกษาเห็นว่ามีความสอดคล้องผู้รับการอบรม เพราะในวันท่ีวันท่ี 24 กันยายน
2564 สัมมนาเรื่องการจัดการความรู้แบบองค์รวม ซึ่งเป็นนักศึกษาชั้นปีท่ี 1 นักศึกษาช้ันปีท่ี 2 และนักศึกษา
ชั้นปที ี่ 3 จากที่ได้ไปตรวจสอบพบวา่ จานวนของนักศกึ ษา มากกวา่ อาชพี ข้าราชจึงมีความถกู ต้องดังตาราง
ตอนที่ 2 แสดงความพงึ พอใจของจานวนการสมั มาการจดั การความรู้แบบองคร์ วม
ตารางท่ี 4 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจการเข้าร่วมการสัมมาการจัดการ
ความรแู้ บบองค์รวม
เกณฑ์แปลความหมาย ในช่วงคะแนนต่อไปน้ี
คะแนนเฉลย่ี 4.12 – 5.00 แปลความว่า มากทีส่ ดุ
คะแนนเฉลย่ี 3.41 – 4.20 แปลความว่า มาก
คะแนนเฉลีย่ 2.61 – 3.40 แปลความวา่ ปานกลาง
คะแนนเฉล่ยี 1.81 – 2.60 แปลความว่า น้อย
คะแนนเฉลยี่ 1.00 – 1.80 แปลความวา่ นอ้ ยทีส่ ุด
39
ความพึงพอใจ S.D X ระดบั ความพึงพอใจ
1. เน้ือหาสาระในการสมั มนา .44 4.75 มากที่สุด
2. การถ่ายทอดความรขู้ องวิทยากร .33 4.87 มากที่สดุ
3. เอกสารประกอบการบรรยาย 1.02 4.54 มากที่สดุ
4. บรรยากาศในการรว่ มกิจกรรมน่าสนใจ .46 4.70 มากทส่ี ุด
5. ความร้คู วามเขา้ ใจในเรือ่ งน้ี กอ่ น การเขา้ รว่ มสัมมนา .38 4.83 มากท่ีสดุ
6. ความรคู้ วามเข้าใจในเรื่องนี้ หลงั การเข้ารว่ มสมั มนา .55 4.70 มากท่สี ดุ
7. หัวข้อสัมมนากับระยะเวลาในการสัมมนามีความ .41 4.79 มากท่สี ุด
เหมาะสม
8. แผนป้ายประชาสัมพนั ธ์ในครง้ั น้มี คี วามสวยงาม และ .64 4.62 มากทส่ี ุด
เนือ้ หาในการสื่อสาร
9. โอกาสได้แลกเปลยี่ นเรียนรกู้ ับวิทยากรขณะสมั มนา .44 4.75 มากที่สดุ
10. โสตทัศนูปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ระบบเสยี ง .44 4.75 มากทส่ี ุด
จากตารางท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ความพึงพอใจ พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในข้อ
ท่ี 1 ถงึ ข้อที่ 10 อย่ใู นระดบั มากทสี่ ดุ
จากผลของตวั เลข จะเหน็ ไดว้ า่ ทุกขอ้ มคี าตอบอยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ ผศู้ กึ ษาเห็นถึงความสอดคล้องโดย
ขอยกประเด็นเรียงลาดับ ดังนี้
ค่าเฉล่ียร้อยละ 4.87 การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร จากบรรยากาศของการสัมมนา เน่ืองจาก
วิทยากรไดใ้ หอ้ งค์ความรมู้ าก่อนโดยการสง่ รายละเอยี ดของเน้ือหาให้ผู้เข้ารบั การสมั มนาอา่ นก่อนล่วงหน้าท่ีจะ
มกี ารบรรยาย ทาใหป้ ระเดน็ ท่ีนาเสนอเป็นสิ่งทเ่ี ขา้ ใจงา่ ยของผเู้ ข้ารับการอบรม อกี ท้งั บคุ ลิกภาพของผูบ้ รรยาย
เป็นกันเอง สนุกสนาน ทักทายผู้เข้าร่วมการสัมมนาอย่างเป็นกันเอง จึงเป็นส่วนส่งเสริมให้ได้ผลการวัดความ
พึงพอใจในประเด็นนี้จึงสูง นอกจากน้ีเม่ือผู้ศึกษาตรวจสอบ ประเด็นข้อคาถาม “ความรู้ความเข้าใจในเรื่องน้ี
ก่อน การเขา้ ร่วมสัมมนา” ยงั ไดค้ า่ เฉลี่ยร้อยละ 4.83 จงึ มีความสอดคลอ้ งกบั สงิ่ ท่ผี ้ศู กึ ษาวิเคราะห์ข้างต้น
40
บทที่ 5
สรุปและขอ้ เสนอแนะ
สรปุ
การจัดโครงการการจดั การความรแู้ บบองค์รวม มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดกิจกรรมการสัมมนาการจดั การ
ความรู้แบบองค์รวมกับนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ และเพื่อรายงานผลการจัดสัมมนาการจัดการความรู้แบบ
องค์รวมของนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ ดาเนินการสัมมนาเม่ือวันที่ 24 กันยายน 2564 ต้ังแต่เวลา 09.00 –
11.30 น. โดยมีวิทยากรคือ อาจารย์พัทธนันท์ อธิตัง อาจารย์ประจาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา
การจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช สาเร็จการศึกษา ระดับปริญญ าโท
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยรามคาแหง ปัจจุบันท่านรับตาแหน่งอาจารย์ประจาหลักสูตร
บรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ สาขาวชิ าการจดั การ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช
การจัดการความรู้ คือการรวบรวมความรู้ จากหลายๆแหล่งกระจัดกระจายกันอยู่ ไม่ว่าจะเป็นใน
ลักษณะของตัวบุคคล หรือความรู้เหล่าน้ีอยู่ในตัวเอกสาร คือการจัดการความรู้ แบบภาพรวมที่ทุกคน ใน
องคก์ ร สามารถเข้ามาหาความรู้พวกน้ีได้ โดยนาความรู้เหลา่ นีม้ าใช้พัฒนาตัวเอง และพฒั นาองค์กรได้ ความรู้
ที่ 1 เขาเรียกว่า Translate ความรู้ท่ี 2 คือความรู้ที่ชัดแจ้ง หรือ Accident จากการสัมมนาได้ความรู้เพ่ิมเติม
คือการปรับ My Set คือ ความรู้ความคิด ไม่มีใครมีความรู้มากกว่ากัน เพียงแต่ว่าเรามีโอกาสจะนาความรู้ไป
ใช้แตกตา่ งกนั อย่างเชน่ ภาพผ้ชู ายคนนงึ ท่นี ่ังอยบู่ นรถเข็นและสภาพห้องว่างเปล่ามแี สงมีเงาถา้ เปน็ ความรู้สึก
เหมือนรู้สึกท้อแท้ เขาพร้อมท่ีจะลุกขึ้นยืนมือจับเพ่ือที่จะลุกขึ้นต่อสู้กับอะไรสักอย่าง รูปทุกรูปเราทุกคน
สามารถคดิ ตามทเ่ี ราเห็นอยูเ่ สมอ เพราะส่งิ เหล่านี้มันคือการศึกษาแบบองค์รวม ซง่ึ สามารถเรียนรู้ เราสามารถ
ที่จะจัดการกับระบบความคิดของเรา เรามีพ้ืนฐานของความรู้สึก คนพิการรูปผู้ชาย เขาเป็นผู้ชาย 1 คนท่ีน่ัง
อยู่ในห้องน้ันเขาอาจจะไม่ได้รู้สึกหอเห่ียว เขาอาจจะกาลังน่ังฟังเพลงเบาๆ การจัดการเรียนรู้หรือความคิด
กาลังมีปัญหา ต้องเรียนรู้จากข้อผิดพลาด แต่ทุกๆความผิดพลาดไม่ใช่สิ่งที่แย่ท่ีสุดเสมอไปทุกอย่างที่เกิดขึ้น
ล้วนดีเสมอ รู้เพียงแต่ว่าเราเกิดการเรียนรู้จากข้อผิดพลาดตรงน้ันมา ความคิดมีตัวตนเมื่อเกิดความคิดเราจะ
แสวงหาความรู้ เเละก่อให้เกิดการลงมือทา การจัดการกับองค์ความรู้คือการระดมสมองก็เป็นการ นาความรู้
หรืออยากรู้เรื่องใดเร่ืองหน่ึงเป้าหมายที่เราจะได้จากการทา KM คือการมุ่งไปท่ีผลของงาน ซ่ึงแผนผังก้างปลา
หรือทูน่า Model นี้เป็นลักษณะของการหาสาเหตุและผลของการทางาน ความสาคัญของโมเดลปลาทูจะมี 1
คนท่ีจะกระตุ้น และจะเป็นคนที่มองเห็นปัญหาส่วนคนที่เป็นผู้นาจะหาสาเหตุท่ีแท้จริง ซึ่งคนนี้ต้องได้รับการ
สนับสนุนจากองคก์ ร
41
ผลการวัดความพึงพอใจ โครงการสัมมนาการจัดการความรู้ มีผู้เข้าร่วมจานวน 37 คน ผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาท้ังหมด 23 คน ซึ่งมีความพึงพอใจในด้าน ข้อท่ี 2. การถ่ายทอดความรู้
ของวทิ ยากร (x=̄ 4.87) อยใู่ นระดับมากที่สุด รองลงมาคอื ขอ้ ที่ 5 ความร้คู วามเข้าใจในเรอื่ งน้ีกอ่ นการเข้าร่วม
สัมมนา(x̄=4.83) ข้อที่ 7 หัวข้อสัมมนากับระยะเวลาในการสัมมนามีความเหมาะสม(x=̄ 4.79) ข้อท่ี 1 เนื้อหา
สาระในการสมั มนา(x=̄ 4.75) ข้อท่ี 9 โอกาสได้แลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ับวิทยากรขณะสัมมนา (x̄=4.75) และข้อที่
10 โสตทัศนูปกรณ์ คอมพิวเตอร์(x=̄ 4.75 ) ข้อที่ 4 บรรยากาศในการร่วมกจิ กรรมน่าสนใจ(x=̄ 4.70 ) ข้อ
ที่ 6 ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองนี้หลังการเข้าร่วมสัมมนา(x̄=4.70) ข้อท่ี 8 แผนป้ายประชาสัมพันธ์ในครั้งนี้มี
ความสวยงาม และเน้ือหาในการสื่อสาร(x̄=4.62) และ ข้อท่ี 3 เอกสารประกอบการบรรยาย(x̄=4.54)
ตามลาดับ
ขอ้ เสนอแนะ
ข้อเสนอแนะผ้ศู กึ ษาจะนาเสนอเปน็ ประเด็น ดังน้ี
1. ขอ้ เสนอแนะจากแบบสอบถาม
1.2 อยากให้มกี ารจดั กจิ กรรมในลกั ษณะนเ้ี พมิ่
1.2 เปน็ กิจกรรมทด่ี ี
2. ข้อเสนอแนะจากปัญหาของผจู้ ดั
2.1 ปญั หาการทางานของฝา่ ยตา่ ง ๆ
2.1.1 ฝ่ายประชาสัมพันธ์ การใช้อักษร แก้ปัญหาโดยการส่งโปสเตอร์ให้ตรวจสอบและขอ
คาแนะนาจากอาจารยป์ ระจาวิชา จากนัน้ นามาพฒั นาเป็นตวั อักษรรปู แบบใหม่ทด่ี ูไดง้ ่าย
2.2.2 ฝ่ายกาหนดการ การเขียนรายละเอียดลาดับเวลาในการสมั มนา แก้ปญั หาโดยการส่ง
ตรวจสอบ ขอคาแนะนาจากอาจารย์ประจาวิชา และนาพัฒนา
2.2 ปญั หาของผเู้ ขา้ รว่ มการสัมมนา
มีผู้สัมมนาบางท่านสเกนคิวอาโค้ดเพ่ือเข้าทาแบบประเมินไม่ได้ แก้ปัญหาโดยการส่งลิ้งค์ใน
inbox ให้ผรู้ วมสัมมนาได้ทาแบบประเมนิ
3. การสัมมนาครง้ั ต่อไป
การสัมมนาคร้ังต่อไปควรจัดเร่ืองการอ่านค่าแบบสอบถาม เพราะสามารถนามาใช้ในการหาคา่ ผล
ของการประเมนิ ความพึงพอใจ
42
บรรณานกุ รม
43
บรรณานกุ รม
ชนาธิป ลนี นิ . (2563). การจดั การความรคู้ ืออะไร : KM?. เขา้ ถงึ เม่ือ 2564, กันยายน : 16 จาก
http://ks.rmutsv.ac.th/th/whatiskm
ประชาชาติธุรกจิ . (2561). การเรยี นรู้แบบองค์รวม ทางรอดการศึกษายคุ Disruption. เขา้ ถึงเม่ือ 2564,
กันยายน : 16 จาก https://www.prachachat.net/education/news-262208
ไพโรจน์ เนยี มนาค. (2554). การจัดสัมมนา. เขา้ ถึงเมื่อ 2564, กนั ยายน : 16 จาก
https://coggle.it/diagram/YJvaZUneslllISPC
พระมหาวชิ าญ สุวชิ าโน. (2556). การศกึ ษาแบบองคร์ วม.: เขา้ ถงึ เม่ือ 2564, กนั ยายน : 16
จาก https://www.vitheebuddha.com/main.php?url=news_view&id=491&cat=C
เดลนิ วิ ส.์ (2557). การศึกษาแบบองคร์ วม. เข้าถงึ เมื่อ 2564, กันยายน : 16
จาก https://d.dailynews.co.th/article/232375/
ราชบณั ฑติ ยสภา. (2557). การศกึ ษาแบบองคร์ วม. เข้าถงึ เมอื่ 2564, กันยายน : 16 จาก
http://legacy.orst.go.th/?knowledges
สานกั หอสมุดกลาง มหาวิทยาศลิ ปากร. (2556). คณะกรรมการการจัดการความรู้ สานักหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยศิลปากร. เขา้ ถึงเมือ่ 2564, กนั ยายน : 16 จาก
www.resource.lib.su.ac.th/km/index.php/component/content/category/79-plankm
องค์การถา่ ยทอดความรู้และเปน็ สว่ นรว่ มกับงานวิจยั โปรตอนจากทวีปยุโรป. (2560). การจดั การความรู้.
เขา้ ถึงเมอื่ 2564, กนั ยายน : 16 จาก http://www.protoneurope.org/?s
อรภวรรณ โสภณธรรมรักษ์. (2562). เรยี นรอู้ งคร์ วม สกู่ ารเปลี่ยนแปลง. เขา้ ถงึ เมอื่ 2564, กนั ยายน : 16
จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/47331
44
ภาคผนวก
45
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. ประวัตขิ องผศู้ กึ ษา
นางสาว ปวริศา อินทรเ์ กือ้
ประวตั ิส่วนตัว
ชอ่ื นางสาว ปวริศา อนิ ทร์เกื้อ ชือ่ เลน่ แป้ง เกิดเมื่อวันท่ี 25 มกราคม 2543 บา้ นเลขท่ี 27
ม.3 ต.คลองสระ อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี
ประวัติการศกึ ษา
กาลังศึกษาระดับช้นั ปริญญาตรี ปที ่ี 3 รหัสนกั ศกึ ษา 6211120012 สาขานาฏศิลป์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช