การพัฒนาทกั ษะการฟงั และการพดู ภาษาองั กฤษโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลองรว่ มด้วยส่ือ
ภาพยนตรส์ ำหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4/2 โรงเรยี นมธั ยมพัชรกติ ิยาภา 3
สรุ าษฎร์ธานี จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
The Development English Listening-Speaking Skills Using Simulations
With Films for Matthayomsuksa 4/2 Students at Matthayom
Bhajarkitiyabha 3 Suratthani, Suratthani
ผ้จู ัดทำงานวิจัย
นายนนั ทวฒั น์ ขนำคอก และคณะ
สาขาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
ปีการศึกษา 2565
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี
การพัฒนาทกั ษะการฟังและการพดู ภาษาอังกฤษโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลองร่วมดว้ ยสื่อ
ภาพยนตรส์ ำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4/2 โรงเรียนมัธยมพชั รกติ ยิ าภา 3
สุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
The Development English Listening-Speaking Skills Using Simulations
With Films for Matthayomsuksa 4/2 Students at Matthayom
Bhajarkitiyabha 3 Suratthani, Suratthani
คณะผวู้ ิจัย
นายนันทวัฒน์ ขนำคอก รหัสนักศกึ ษา 6401103001006
นางสาวนรู ์ดคยั รีญา มีบุญลาภ รหัสนกั ศึกษา 6401103001007
นางสาววีรสตรี สายบณั ฑติ รหัสนักศกึ ษา 6401103001014
นางสาวจนิ ดารตั น์ คงจนิ ดา รหสั นักศกึ ษา 6401103001203
นางสาวธารารตั น์ อำพันธพ์ งศ์ รหสั นักศึกษา 6401103001206
สาขาภาษาอังกฤษ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
ปีการศึกษา 2565
ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
ก
คำนำ
รายงานวจิ ัยฉบบั น้เี ป็นการวิจยั ในช้ันเรียน รายวิชา EMR0102 การวจิ ยั เพอื่ พัฒนาการเรียนรู้
สำหรับการพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์จำลอง ร่วมกับส่ือ
ภาพยนตร์สำหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/2 โรงเรียนมธั ยมพชั รกิตยิ าภา 3 สรุ าษฎรธ์ านี จงั หวดั
สุราษฎร์ธานี
ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้ ได้ใช้สื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอน
และพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาองั กฤษของนักเรยี น และทางคณะผ้วู ิจัยหวงั เป็นอย่างยิ่งว่า
แนวทาง เทคนิค และวิธกี ารทำวิจยั ในช้นั เรยี นนี้จะมปี ระโยชนแ์ ก่ผู้อา่ นหรอื ผู้ทส่ี นใจวจิ ัยช้ินนี้ทุกท่าน
หากมีขอ้ ผิดพลาด ประการใดก็ขออภัยมา ณ ทน่ี ี้
คณะผูว้ จิ ยั
ข
กติ ตกิ รรมประกาศ
รายงานวิจัยฉบับนี้ สำเร็จลงได้ด้วยความอนุเคราะห์จากผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เกี่ยวข้องหลาย
ท่าน ผูว้ ิจัยขอขอบพระคณุ ทกุ ท่านด้วยความเคารพอยา่ งสงู
ขอขอบคุณ ดร. จิณัฐตา สอนสังข์ ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งในความ
เมตตาของท่านที่ได้แนะนำพร้อมทั้งกำลังใจในการศึกษาค้นคว้า ขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี
4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี ที่ได้ให้ความร่วมมือในการทดลองและเก็บข้อมูล
สำหรบั การศึกษาคน้ ควา้ คร้ังนี้
และสุดท้ายขอขอบพระคุณบิดา มารดาที่ได้เลี้ยงดู ให้กำลังใจด้วยความรักความห่วงใยแก่
ผวู้ ิจัยตลอดเวลา
ประโยชน์ของวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องบูชาพระคุณบิดา มารดา และขอแสดง
ความระลึกถึงพระคุณครู อาจารย์ทุกท่านที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ วางรากฐานการศึกษาแก่
ผวู้ จิ ัยจนประสบความสำเรจ็ ในการศึกษาดังปรารถนา
คณะผูว้ จิ ยั
ชื่อเร่ือง ค
ผวู้ จิ ยั
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา การพฒั นาทักษะการฟงั และการพูดภาษาองั กฤษโดยใชส้ ถานการณ์จำลอง
ปีการศึกษา ร่วมดว้ ยส่อื ภาพยนตร์สำหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/2
โรงเรยี นมัธยมพชั รกิติยาภา 3 สรุ าษฎร์ธานี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
นันทวัฒน์ ขนำคอก, นูรด์ คัยรญี า มีบุญลาภ, วรี สตรี สายบัณฑิต,
จินดารตั น์ คงจนิ ดา, ธารารตั น์ อำพันธพ์ งศ์
ครุศาสตรบ์ ัณฑติ (ค.บ.) สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ
ดร.จิณฐั ตา สอนสังข์ กล่มุ วิชาวิจัย วัดผลและประเมนิ ผล คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
2565
บทคดั ยอ่
การวิจยั ครัง้ นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการจดั การเรียนรู้โดยใชส้ ถานการณจ์ ำลองร่วมกับ
สื่อภาพยนตร์ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (75/75) 2) เพื่อเปรียบเทยี บทักษะการฟังของ
นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 หลังใชส้ ถานการณ์จำลองร่วมกบั ส่อื ภาพยนตร์ กบั เกณฑท์ ่กี ำหนด (ร้อย
ละ 70) 3) เพื่อศึกษาคะแนนพัฒนาการทักษะการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังใช้
สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ 4)เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษา
ปที ี่ 4 ทมี่ ตี ่อการจดั การเรียนการสอนโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลองรว่ มกบั สื่อภาพยนตร์ กลุ่มเป้าหมายที่
ใช้ในการวิจยั คือ นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพัชรกิตยิ าภา 3 จังหวดั สุราษฎร์ธานี
จำนวน 35 คน ซึ่งได้โดยการเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือในการวิจัย
ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ จำนวน 3 แผน 2)
แบบประเมินความสามารถทางการฟังภาษาอังกฤษ 3)แบบประเมินความสามารถทางการพูด
ภาษาอังกฤษ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4/2 ที่มีต่อการเรียนการ
สอนแบบการใช้สถานการณ์จำลองรว่ มกับสื่อภาพยนตร์ สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ไดแ้ ก่ รอ้ ยละ
สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน คะแนนพัฒนาการ และค่าเฉลยี่
ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ มีค่า
ประสิทธิภาพเท่ากับ 80.71/77.14 ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้คือ 75/75 2) ทักษะการฟัง
ภาษาเพื่อความเข้าใจหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 78.57 ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 70) อย่างมี
นัยสำคัญที่ 0.5 3) ระดับพัฒนาการความสามารถในทักษะการพูดหลังเรียน มีพัฒนาการเฉลี่ยโดย
รวมอยู่ในระดับกลาง โดยเมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคลระดับพัฒนาการปานกลางร้อยละ 37.14
ระดับสูงร้อยละ 34.29 ระดับต้นร้อยละ 22.86 ระดับสูงมาก 5.71 4) ความพึงพอใจของผู้เรียนท่ี
เรยี นโดยใชส้ ถานการณ์จำลองรว่ มกบั สอื่ ภาพยนตร์อยู่ในระดับมาก
คำสำคัญ : การพัฒนา, สื่อภาพยนตร์, สถานการณจ์ ำลอง
Title ง
Author
Advisor A development English Listening-Speaking Skills Using
Academic Year Simulations With Films for Matthayomsuksa 4/2 Students at
Matthayom Bhajarkitiyabha 3 Suratthani, Suratthani
Nantawat Khanamkok, Nurkaireeya Meebunlap, Weerasatri
Saibandit, Thararat Ampanpong
Bechelors of Education (B.Ed.) English Program
Dr. Jinatta Sonsang
Department of Research, Measurement and Evaluation, Faculty
of Education, Suratthani Rajabhat University
2022
Abstract
The purposes of the research were to: 1) develop the learning using simulations
with films for Matthayomsuksa 4/2 Students 2) compare students’ English listening
skills after using the learning using simulations with films according to the specified
criterion 75% 3 ) study the developing score of students’ English speaking skills after
using the learning using simulations with films 4) study students’ satisfaction toward
the learning using simulations with films. The target group used in this research was
students in Matthayomsuksa 4/2 in first semester of school year 2022 at Matthayom
Bhajarkitiyabha 3 Suratthani. The 35 students were selected by using a purposive
sampling. The research instruments were: lesson plans, English for speaking skills test,
English for listening skills test, and the questionnaire of student’s satisfaction on
learning activities using the learning using simulations with films for Matthayomsuksa
4/2 students. The statistics used in data analysis were: percentage, standard deviation,
growth score and mean.
The result revealed that: 1 ) the learning using simulations with films had the
efficiency of 80.71/77.14 which reached the 75/75 committed standard, 2) the score
of English listening skills for understanding after studying was 78.57 percent which
reached the 70 percent at 0.5 level of significance, 3) the developing score of students’
English speaking skills after using the learning using simulations with films average was
in the middle level when considered individually, 37.14 percent for middle level, 34.29
percent for high level, 22.86 percent for beginning level, 5.71 for very high level 4) the
level of satisfaction students toward the learning using simulations with films was the
high level as well.
Keywords: Development, Films, Simulations
จ
สารบญั
เรอื่ ง หน้า
คำนำ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ ค
สารบญั จ
สารบญั ตาราง ช
บทท่ี 1 บทนำ
1
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 4
คำถามการวิจยั 4
วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 4
สมมตฐิ านการวิจยั 4
ขอบเขตของการวิจยั 5
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 6
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 7
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้อง 9
1. เอกสารเกี่ยวกบั หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 9
9
1.1 การจัดการเรยี นการสอนภาษาต่างประเทศ ชว่ งชนั้ ท่ี 4 10
1.2 มาตรฐานการเรียนสาระภาษาตา่ งประเทศ ชว่ งชนั้ ที่ 4 11
1.3 คณุ ภาพผู้เรยี นจบชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 17
1.4 มาตรฐานการเรยี นและตัวช้วี ดั ช้นั ปี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 17
2. เอกสารเก่ยี วกับทักษะการฟงั ภาษาอังกฤษ 20
2.1 ความหมาย ความสำคญั และจุดม่งุ หมายของการฟงั ภาษาอังกฤษ 21
2.2 ระดบั ของการฟงั ภาษาองั กฤษ 24
2.3 การสอนทักษะการฟังภาษาอังกฤษ 27
2.4 การวัดและประเมินผลทกั ษะการฟงั ภาษาอังกฤษ
2.5 แนวทางและหลกั เกณฑก์ ารคัดเลือกเนอ้ื หาทน่ี ำมาใช้ในการฟงั 30
ภาษาอังกฤษ 30
3. เอกสารเก่ียวกับการพูดเพื่อการส่ือสารภาษาอังกฤษ 32
3.1 ความหมายและความสามารถในการพูดเพื่อการสื่อสารภาษาองั กฤษ 35
3.2 การวดั และประเมินความสามารถในการพูดเพ่ือการสื่อสาร 35
4. เอกสารเกย่ี วกับภาพยนตร์มาใชใ้ นการเรียนการสอน 38
4.1 ความหมาย ความสำคญั ทฤษฎีที่เกีย่ วขอ้ งและประเภทของภาพยนตร์ 42
4.2 การคดั เลอื กและนำภาพยนตรม์ าใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4.3 ประโยชน์และคุณค่าของภาพยนตร์การศึกษา
สารบญั (ต่อ) ฉ
เร่อื ง หน้า
5. เอกสารเกย่ี วกบั สถานการณ์จำลอง 44
5.1 ความหมายและวตั ถุประสงคข์ องสถานการณ์จำลอง 44
5.2 องคป์ ระกอบที่สำคัญของวิธีการสอนโดยใชส้ ถานการณ์จำลอง 45
5.3 ข้ันตอนและวธิ กี ารเสนอการสรา้ งสถานการณ์จำลอง 46
5.4 ข้อดแี ละข้อจำกดั ของวธิ ีการสอนโดยใชส้ ถานการณจ์ ำลอง 48
5.5 ประโยชน์ของการใช้สถานการณจ์ ำลอง 49
6. งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง 49
6.1 งานวจิ ยั ในประเทศ 49
6.2 งานวิจยั ต่างประเทศ 50
7. กรอบแนวคิดทใี่ ช้ในการวจิ ัย 51
52
บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินการวจิ ัย 52
1. กลุ่มเป้าหมายที่ใชใ้ นการวิจัย 52
2. เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 53
3. การสร้างและพัฒนานวัตกรรม 55
4. การสรา้ งและหาคุณภาพเครอ่ื งมือวิจัย 63
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 64
6. การวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู 65
7. การหาคุณภาพเคร่ืองมือ 66
66
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 67
ส่วนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์หาประสิทธิภาพของนวัตกรรม 73
ส่วนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์แผนการจัดการเรยี นรู้
สว่ นท่ี 3 ผลการวิเคราะห์แบบประเมนิ ความสามารถทางการฟังภาษาองั กฤษ 73
เพื่อความเขา้ ใจ 75
ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์แบบประเมนิ ความสามารถทางการพูดภาษาองั กฤษ 76
76
เพ่ือความเข้าใจ 76
สว่ นท่ี 5 ผลการวเิ คราะหแ์ บบประเมินความพึงพอใจ 77
78
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 78
1. วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 79
2. กลุ่มประชากรและกล่มุ เป้าหมาย 81
3. การพฒั นาเครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัย
4. ข้นั ตอนการดำเนนิ การวิจยั
5. สรปุ ผลการวจิ ยั
6. อภิปรายผลการวจิ ยั
7. ขอ้ เสนอแนะ
สารบญั (ตอ่ ) ช
เรื่อง หน้า
บรรณานุกรม 83
ภาคผนวก 87
88
ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชย่ี วชาญ 90
ภาคผนวก ข เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั 115
ภาคผนวก ค แบบประเมินคุณภาพของเครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจยั 118
ภาคผนวก ง ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 122
ภาคผนวก จ ผลการประเมินเครื่องมือของผเู้ ชี่ยวชาญ 156
ภาคผนวก ฉ ภาพถ่าย 162
ประวัดิผู้วจิ ัย
ซ
สารบญั ตาราง
ตารางท่ี หน้า
ตารางท่ี 1 มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตคี วามเรื่องท่ีฟังและอา่ นจากส่อื ประเภทตา่ ง ๆ และ 11
แสดงความคดิ เห็นอย่างมเี หตุผล
ตารางที่ 2 มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมลู สื่อสาร 13
แสดงความรู้สกึ และความคดิ เหน็ อย่างมปี ระสิทธิภาพ
ตารางท่ี 3 มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมลู ขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเหน็ เรอื่ ง 14
ต่างๆ โดยการพดู และการเขยี น
ตารางที่ 4 มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งภาษากับวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา 15
และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ตารางที่ 5 มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและ 15
วัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยและนำมาใช้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
ตารางท่ี 6 มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กับกล่มุ สาระเรียนรู้ 16
อ่นื และเปน็ พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั นข์ องตน
ตารางที่ 7 มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณต์ า่ งๆ ท้งั ในสถานศกึ ษา 16
ชุมชน และสงั คม
ตารางท่ี 8 มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเปน็ เครื่องมือพื้นฐานในการศกึ ษาต่อ การ 16
ประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ับสงั คมโลก
ตารางท่ี 9 แบบประเมินความเหมาะสมแผนการจัดการเรียนรู้ 56
ตารางท่ี 10 แบบประเมินความสามารถในการฟังภาษาองั กฤษ 58
ตารางที่ 11 เกณฑก์ ารให้คะแนนคะแนนการพดู 60
ตารางที่ 12 แบบประเมินความพงึ พอใจ 62
ตารางที่ 13 เกณฑ์คะแนนพัฒนาการเทียบระดบั พัฒนาการ 64
ตารางท่ี 14 แสดงค่าเฉล่ยี ( ̅) และรอ้ ยละของประสิทธภิ าพการพัฒนาทกั ษะการฟงั และการ 66
พูดภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์
ตารางที่ 15 แสดงค่าเฉล่ีย ( ̅) ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 67
ตารางท่ี 16 แสดงค่าเฉลี่ย ( ̅) ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 69
ตารางที่ 17 แสดงคา่ เฉลยี่ ( ̅) สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 71
ตารางท่ี 18 เปรียบเทยี บทักษะการฟังของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4/2 หลังใช้สถานการณ์ 73
จำลองรว่ มกบั สื่อภาพยนตร์ กบั เกณฑร์ อ้ ยละ 70
ตารางที่ 19 พัฒนาการความสามารถในทักษะการพดู ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4/2 73
หลงั ใช้สถานการณ์จำลองรว่ มกบั สอ่ื ภาพยนตร์ กับเกณฑ์ร้อยละ 70
ตารางท่ี 20 แสดงค่าเฉลี่ย ( ̅ ) ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของผ้ตู อบแบบประเมนิ ความพึง 75
พอใจ
บทท่ี 1
บทนำ
ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ
ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาสากลที่ใช้สื่อสารท่ัวโลกมีบทบาทและความสาคัญในการ
ติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศในด้านต่างๆ เช่น การค้าและเศรษฐกิจ การศึกษา การแลกเปลี่ยน
เรียนรู้วัฒนธรรม การแพทย์ การเมืองการปกครอง รวมถึงการท่องเที่ยว ในสังคมปัจจุบันเป็นยุคที่มี
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทาให้ง่ายดายในการติดต่อสื่อสาร โลกมีการเจริญเติบโตและ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกันการแข่งขันในการประกอบอาชีพก็สูงข้ึน เป็นเหตุให้
ภาษาอังกฤษมีความสาคัญมากย่ิงข้ึน และได้เข้ามามีบทบาทในการใช้ชีวิตประจาวันและเป็นตัวชี้วัด
ในการรับเข้าทางานและการศึกษาท่ีดีในอนาคต จะเห็นได้ว่ามีการคัดเลือกบุคคลเข้าทางานโดยจะมี
การทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษในรูปแบบต่างๆ เช่น การสอบข้อเขียน หรือ การสอบ
สัมภาษณเ์ ปน็ ภาษาอังกฤษ
ประเทศไทยได้ให้ความสาคัญกับภาษาอังกฤษเป็นอย่างมาก ได้มีการส่งเสริมให้นักเรียนไทย
ได้เรียนวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีสอง เพ่ือให้เยาวชนได้มีความสามารถในภาษาอังกฤษ มีความรู้
ความเข้าใจ สามารถส่อื สารภาษากบั ชาวต่างชาตใิ นชีวติ ประจาวันได้ และเพอื่ ใหส้ ามารถรับมอื กับการ
แข่งขันในอนาคตได้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้กาหนดให้มีการเรียนตั้งแต่ระดับชั้น
ประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา (อรพรรณ, 2554) แต่จากสภาพความเป็นจริงและการวัดผลสัมฤทธ์ิ
การเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษกลบั พบว่ามรี ะดับท่ีต่ากว่าเกณฑ์ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษก็มีปัญหา
มาโดยตลอด สง่ ผลให้นักเรยี นไม่สามารถใช้ภาษาองั กฤษไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (บุบผา, 2555) จนกระท่งั เข้า
สู่การเรียนภาษาอังกฤษในระดับอุดมศึกษาก็เกิดปัญหา เน่ืองจากความสามารถในระดับอุดมศึกษา ก็
เกิดปัญหา เน่ืองจากความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาอยู่ในเกณฑ์ต่ากว่ามาตรฐาน
(Prapphal, 2001)
ถึงแม้ว่าจะมีครูผู้สอนที่เรียนจบตรงวิชาเอก มีอาจารย์ต่างชาติมาสอนภาษาอังกฤษใน
ประเทศไทย นักเรียนไทยมีโอกาสได้เรียนกับเจ้าของภาษามากข้ึน มีการบูรณาการภาษาอังกฤษกับ
วิชาหรือกิจกรรมต่างๆ แต่ยังไม่ได้ผลเท่าท่ีควรจะได้ หากพิจารณาปัญหาการเรียนภาษาอังกฤษของ
นักเรียนไทยพบว่า ยังขาดทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษทุกด้าน ทั้งทักษะการอ่าน การเขียน แต่ที่
เป็นปัญหาเชิงประจักษ์ที่เห็นได้อย่างเด่นชัดคือ ปัญหาในการสนทนาภาษาอังกฤษ นักเรียนไม่
สามารถนาความรภู้ าษาองั กฤษในห้องเรยี นมาประยกุ ต์ใชไ้ ดใ้ นสถานการณ์จริงในการดารงชวี ติ จรงิ
2
นักเรียนขาดความมนั่ ใจ มีความตื่นตระหนกเกือบทกุ คร้ังเมื่อต้องนาภาษาอังกฤษไปใช้ในสถานการณ์
จรงิ (กาญจนา ณ ศรีสุข, 2562, น.1)
ปัญหาในการสนทนาภาษาอังกฤษที่สาคัญคือ คือ ทักษะการฟังและทักษะการพูดนับว่าเป็น
ทักษะรับสารที่สาคัญทักษะหนึ่งท่ีใช้กันมาก ในเร่ืองของการฟังในการเรียนการสอนนักเรียนจึงควร
ได้รับการฝึกฝนทักษะการฟังอย่างเพียงพอและจริงจัง การฟังมีผลต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เพราะเป็นกุญแจสาคัญของความสาเร็จที่จะนาไปสู่ความสามารถทางภาษา ความสามารถในการฟัง
ทาให้ผ้ฟู ังสามารถเรียนรู้ท้งั ทักษะทางดา้ นภาษาและทักษะในดา้ นอ่นื ๆ ได้ (Peterson, 2001 : 106)
ทกั ษะการฟงั เปน็ ทกั ษะทม่ี คี วามสาคัญ เนอื่ งจากเป็นทกั ษะการรบั รู้ (Receptive skill) เป็น
พื้นฐานเร่ิมแรกในการเรียนรู้ภาษา โดยเริ่มจากการรับรู้ภาษา น้าเสียง นาไปสู่การแปลความและเกดิ
ความเข้าใจ จนสามารถตอบโต้กลับได้ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ซึ่งการฟังเป็นทักษะรับสารที่สาคัญและเป็น
ทกั ษะแรกทต่ี อ้ งทาการสอน ผู้พดู จะตอ้ งฟงั ให้เข้าใจเสยี ก่อนจึงจะสามารถพูดโตต้ อบ รวมท้ังอ่านหรือ
เขียนได้ จึงเป็นทกั ษะพ้ืนฐานท่สี าคัญในการเรียนรู้ทักษะอนื่ ๆ (สมุ ติ รา องิ วัฒนกลุ , 2540 : 159) การ
ฟังเป็นกระบวนการท่ีผฟู้ ังต้องใชค้ วามสามารถในการเรียบเรียง ตีความ เพื่อท่ีจะได้เข้าใจว่าส่ิงที่ผูพ้ ดู
พูดมานั้นมีความหมายอย่างไร การฟังต้องสัมพันธ์กับความเข้าใจในสาเนียงหรือการออกเสียงของผู้
พูด รวมถึงไวยากรณ์ คาศัพท์และความเข้าใจด้านความหมาย (Howatt and Dakin, 1974) ดังน้ัน
การฟังจึงมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ภาษา เพื่อนาไปสู่การเรียนรู้ทักษะอื่นๆ ต่อไปตามลาดับ อีกท้ัง
มนุษย์เราใช้การฟังในการส่ือสารในชวี ติ ประจาวันมากถึงร้อยละ 50 และใช้ทักษะการฟังอย่างมากใน
การเรียนในช้นั เรยี น (Goh, 2002 : 46-48) การฟงั จงึ เป็นทักษะที่จาเปน็ ในการทางานและการดาเนิน
ชีวติ ดว้ ยเหตุนน้ี ักเรยี นจงึ จาเป็นต้องได้รับการพฒั นาการฟังเพ่ือความเขา้ ใจอย่างมปี ระสิทธิภาพ
นอกจากน้ีทกั ษะการพูดนบั ได้ว่าเป็นทักษะทสี่ าคัญและจาเป็นมาก ภทั รวาดี ยวนชน่ื (2553)
กล่าวไว้ว่า ทักษะการพูดเป็นทักษะเบ้ืองต้นที่ใช้ในการส่ือสาร การพูดเป็นวิธีการสือ่ สารชนิดหน่ึงของ
ทักษะการสื่อสาร (expressive skill) ซึ่งสามารถฝึกหัดให้มีประสิทธิภาพได้ โดยผู้พูดสามารถส่งรหัส
ของสาร (encode) โดยใช้ภาษาถ้อยคาและภาษาท่าทางเป็นส่ือส่งสารไปให้ผู้ฟังสามารถถอดรหัส
(decode) จนเข้าใจในความหมายของสาร (message) ได้ การพูดถือเป็นเคร่ืองมือท่ีสาคัญในการ
สื่อสารยง่ิ กว่าอ่านและการเขียนในการเรยี นภาษาอังกฤษ ทักษะการพดู จงึ มีความสาคัญอย่างยิง่ ควบคู่
ไปกับความเข้าใจในการฟังการเรียนการสอนในสมัยก่อน จะเห็นได้ว่านักเรียนไทยล้มเหลวในทักษะ
การพูดมากท่ีสุด นักเรียนสามารถฟังภาษาอังกฤษเข้าใจ อ่านออกและเขียนได้ แต่ตลอดระยะเวลาท่ี
เรียนอยู่ นักเรียนอาจไม่เคยได้พูดภาษาอังกฤษแม้แต่ประโยคเดียว เมื่อถึงเวลาจาเป็นก็จะรู้สึกอึดอัด
พดู ไม่ออกบางคนเมือ่ พบชาวตา่ งชาตกิ ็พยายามหลบ ไมก่ ล้าพดู ด้วย เพราะไม่ม่ันใจในตวั เอง
การแก้ปัญหานี้ต้องเร่ิมท่ีการเรียนการสอนภายในห้องเรียนก่อน จะต้องมีการปรับเปล่ียน
วิธีการเรียนการสอนใหม่ มีกิจกรรมที่หลากหลาย สร้างประสบการณ์ทางภาษาโดยตรงให้แก่นักเรียน
เน้นการฝึกฝนภาษา มีการใช้สถานการณ์จริงมาใช้ฝึกสนทนาในห้องเรียนมีส่ือและนวัตกรรมที่
น่าสนใจ จนกระทง่ั จติ วิทยาในการเสริมแรงให้นักเรียนมีแรงผลักดนั ในการเรยี นรแู้ ละมีความม่ันใจใน
การส่ือสารมากย่งิ ขึน้ โดยการสรา้ งเสริมประสบการณ์และให้นักเรยี นไดฝ้ ึกใช้ภาษา เร่ิมทนี่ าภาษาท่ีจะ
ใช้ในสถานการณ์จริงมาสร้างสถานการณ์จาลองภายในห้องเรียน อีแวนส์ (Evans, 1979, p. 23) ได้
กล่าวไว้ว่า การนาสถานการณ์จาลองมาใช้ในการเรียนการสอนถือเป็นรูปแบบการสอนหนึ่งที่ทาให้
ผู้เรียนเข้าใจในการใช้ภาษาและทาให้สามารถใช้ภาษาได้ดีข้ึนเม่ือต้องเผชิญกับสถานการณ์จริง และ
การนาสถานการณ์มาใช้เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนในการใช้ภาษา ร่วมด้วยกับการนาส่ือ
3
การสอนท่ีมีความทันสมัยมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน และสื่อประเภทหนึ่งท่ีนามาใช้
อยา่ งแพรห่ ลาย คือ ภาพยนตร์ ด้วยความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ผ้คู นสามารถเข้าถึงสื่อภาพยนตร์ได้
เรว็ และสะดวกขนึ้ ซงึ่ ภาพยนตร์เป็นส่ือที่มีประสิทธิภาพและสามารถดึงดูดให้ผูช้ มได้นาบนสนทนามา
ใช้ในชีวิตประจาวัน เนื่องจากภาพยนตร์นาเสนอภาษาท่ีใช้จริงและมีความหลากหลายของภาษา ซ่ึง
กิจกรรมและสื่อที่นามาใช้จาเป็นต้องสอดคลอ้ งกับสาระสาคัญและความสนใจของนกั เรียน เหมาะสม
กับระดับความสามารถทางภาษาและวัยของผู้เรียนซ่ึงเป็นอีกวิธีในการสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน
รวมท้ังการมีทัศนคติท่ีดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ (Print, 1993) ครูควรจูงใจและสร้างความท้าทาย
ให้นักเรียนได้ฟังภาษาท่ีหลากหลายและมีความหมาย เพื่อการส่ือสารให้ข้อมูลย้อนกลับที่เป็น
ประโยชน์ต่อนักเรียนช่วยสอนให้นักเรียนเข้าใจทักษะและกลวิธีท่ีเกี่ยกับการฟังท่ีผู้เรียนจะต้องใช้
เพื่อให้การเรียนประสบความสาเร็จ (Goh, 2002: 1) ซ่ึงจะนาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ในการสื่อสารด้วย
ภาษาองั กฤษในชวี ิตจริง ซ่งึ กจิ กรรมท่ีนามาใช้พัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ ไดแ้ ก่ การฟงั แลว้ คาด
เดา การฟังและตอบคาถาม การแสดงบทบาทสมมติ การฟังแล้วเรียงลาดับ และสถานการณ์จาลอง
เป็นตน้ (Hadfield et al., 1999)
ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จา ลองร่วมกับส่ือ
ภาพยนตร์เพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยใช้สถานการณ์จาลอง
และภาพยนตร์มาเป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการสอนทักษะการฟังและการพูดและต้องการสร้าง
แรงจูงใจ โดยการลดอุปสรรคและสร้างบรรยากาศผ่อนคลายให้นักเรียนมีความพร้อมและตื่นตัวต่อ
การทากิจกรรมร่วมกันในช้ันเรียน การฟังและรับชมจากสื่อภาพยนตร์ที่ประกอบด้วยตัวละคร
ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ผู้ฟังจะได้เห็นการแสดงออกทางใบหน้า ท่าทางของผู้พูด คู่สนทนา ฉาก
หรือสถานการณ์ ซ่ึงสิ่งเหล่านี้สามารถช่วยให้ผู้ฟังสามารถคาดเดาสถานการณ์ที่เกิดข้ึนและทาความ
เข้าใจไดง้ า่ ยข้นึ อกี ท้งั เป็นการเสรมิ สรา้ งทศั นคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ
จากที่ได้ศึกษาความสาคัญของภาษาอังกฤษในปัจจุบัน สภาพปัญหา สาเหตุและแนวทางใน
การแกป้ ัญหาทนี่ ักเรยี นไม่สามารถนาภาษาอังกฤษไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้จรงิ ผู้วิจยั มีความต้องการ
ทางานวิจยั ชิ้นนเี้ พื่อแก้ไขปญั หาดงั กลา่ วและสร้างเสรมิ แนวทางในการพฒั นาทักษะการฟงั และการพูด
ภาษาอังกฤษ โดยได้เลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จาลองร่วมด้วยกับการนาส่ือ
ภาพยนตรท์ ีม่ ีคาบรรยายมาช่วยพฒั นาให้กับนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนมัธยมพชั รกติ ิยา
ภา 3 สุราษฎร์ธานี
คำถำมกำรวิจัย
1.การจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์มีประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์
หรือไม่ อย่างไร
2.ทักษะการฟังของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือ
ภาพยนตรจ์ ะสงู กว่าเกณฑห์ รือไม่ อย่างไร
3. ทักษะการพูดของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือ
ภาพยนตร์มคี ะแนนพฒั นาการอยู่ในระดบั มากหรือไม่
4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สถานการณ์จาลองรว่ มกบั สอื่ ภาพยนตร์อยูใ่ นระดบั ใด
4
วัตถุประสงคข์ องกำรวจิ ัย
1.เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับส่ือภาพยนตร์ให้มี
ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ (75/75)
2. เพื่อเปรยี บเทียบทักษะการฟังของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 หลงั ใชส้ ถานการณ์จาลอง
รว่ มกบั สื่อภาพยนตร์ กับเกณฑท์ กี่ าหนด (ร้อยละ 70)
3. เพื่อศึกษาคะแนนพัฒนาการทักษะการพูดของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 หลังใช้
สถานการณจ์ าลองรว่ มกับสอ่ื ภาพยนตร์
4.เพื่อศึกษาระดบั ความพึงพอใจของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ท่มี ตี ่อการจัดการเรียนการ
สอนโดยใชส้ ถานการณจ์ าลองร่วมกบั สอื่ ภาพยนตร์
สมมติฐำนกำรวิจยั
ในการวิจยั ครั้งนีม้ ีสมมตฐิ านการวจิ ยั ดังนี้
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จะมีทักษะการฟังจากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สถานการณ์จาลองร่วมกับสือ่ ภาพยนตร์สงู กวา่ เกณฑ์ที่กาหนด (ร้อยละ 70)
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 จะมีพัฒนาการของทักษะการพูดหลังจากการจัดการเรียน
การสอนโดยใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับสอ่ื ภาพยนตร์อยใู่ นระดับมาก
ขอบเขตของกำรวิจยั
ขอบเขตดำ้ นกลุ่มเปำ้ หมำย
กลมุ่ เป้าหมายในการวจิ ยั ครั้งนค้ี ือ นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/2 ทก่ี าลังศึกษาอยภู่ าคเรียน
ท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จานวน 35
คน ได้มาโดยเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เนื่องด้วยเป็นห้องเรียนท่ีมีผลการ
เรียนภาษาอังกฤษในภาคเรยี นที่ผา่ นมาอยู่ในระดบั ที่ต่ากว่าเกณฑ์
ขอบเขตด้ำนตวั แปรที่ใช้ในกำรวิจัย
1. ตัวแปรต้น คอื การจัดการเรียนรูโ้ ดยใชส้ ถานการณจ์ าลองรว่ มกบั ส่อื ภาพยนตร์
2. ตัวแปรตาม คอื
1. ทักษะการฟังภาษาอังกฤษ
2. ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
3. ความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีตอ่ การใช้สถานการณ์จาลองรว่ มกับสื่อ
ภาพยนตร์
ขอบเขตดำ้ นเน้ือหำ
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเน้ือหาของการฝึกสนทนาภาษาอังกฤษ โดยพัฒนาเนื้อหา
จากวิชาการเรียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ซึ่งยึดมาตรฐานการเรียนรู้ของ
รายวิชากลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ) ของโรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3 สุราษฎร์ธานี โดย
จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนในสถานการณ์
จาลองต่างๆ ร่วมกับสื่อภาพยนตร์ เพื่อให้มีความใกล้เคียงกับสถานการณ์จริงมากที่สุด โดยใช้เนื้อหา
เปน็ สถานการณค์ อื Giving a direction ประกอบด้วย 3 แผนการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้
5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง Direction 1 มีเนื้อหาเก่ียวกับคาศัพท์การบอกทิศทาง
ตาแหน่งของสถานท่ี และบทสนทนาที่ใช้สนทนาในชีวิตประจาวัน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง Direction 2 มีเนื้อหาเก่ียวกับการใช้ประโยคหรือวลีบอก
ทิศทาง (Phrase) และการแนะนาการเดินทางโดยใช้รถบัส (Bus) หรือรถแท็กซ่ี (Taxi) และบท
สนทนาทีใ่ ช้สนทนาในชวี ติ ประจาวัน
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 3 เรอ่ื ง Direction 3 มีเนอ้ื หาเกย่ี วกับการใช้ประโยคคาถามและการ
ขอร้อง กับการตอบปฏิเสธเมื่อไม่ทราบ และการแนะนาให้ถามผู้ท่ีรู้เส้นทาง และบทสนทนาที่ใช้
สนทนาในชวี ิตประจาวนั
ขอบเขตดำ้ นระยะเวลำท่ใี ช้ในกำรวิจัย
ในการวิจยั ครง้ั น้ี ผู้วิจยั เริม่ ดาเนินการวจิ ยั ตัง้ แต่ กรกฎาคมถงึ ตลุ าคม 2565 โดยทาการเกบ็
รวบรวมขอ้ มลู ในสถานศกึ ษา ในเดอื นกันยายน 2565 เป็นระยะเวลา 3 สปั ดาห์
นยิ ำมศพั ท์เฉพำะ
1. วิธีการสอนโดยสถานการณ์จาลอง หมายถึง กระบวนการสอนที่กาหนดสถานการณ์และ
บทสนทนาให้กับผู้เรียนโดยจาลองตามสถานการณ์ให้ใกล้เคียงกับสถานการณ์จริง ในการจาลองจะ
ช่วยลดความกังวลและเป็นการเพิ่มความม่ันใจให้กับนักเรียนในการสนทนาภาษาอังกฤษ มีเนื้อหา
เกี่ยวกับการบอกทิศทาง (Direction) ในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 Making plan โดยใช้แผนที่จาลองเปน็
ตน้ แบบในการสร้างสถานการณ์
2. ส่ือภาพยนตร์ คือ ฉากภาพยนตร์ภาษาอังกฤษท่ีคัดเลือกมาใช้ในการประกอบการเรียนรู้
เพื่อสื่อให้เห็นถึงสถานการณ์จริงและวิธีการพูดที่ถูกต้อง มีเนื้อหาเก่ียวกับการทักทายพูดคุยกันใน
ชีวิตประจาวัน การสนทนาเกี่ยวกับการบอกทิศทาง ซ่ึงฉากในภาพยนตร์คัดเลือกมาจากแอพลิเคช่ัน
Netflix เช่น เร่ือง รวมพลังเด็กพันธ์ุแกร่ง (We can be heroes), สพันจ์บ็อบ ผจญภัยช่วยเพื่อนแท้
(The Spongebob movie : Sponge on the rain), สไปเดอร์แมน โน เวย์ โฮม (Spider Man: No
way home), โรงแรมผีหนีไปพักร้อน 2, ชีวิตมหัศจรรย์วันเดอร์ (Auggie), The Boss Baby นาย
ใหญ่คืนวงการ, Twilight, และเกมดูดโลก บกุ ปา่ มหศั จรรย์ (Jumanji) โดยมีเน้ือหาที่เหมาะสมกบั ช่วง
วัยและฉากที่คัดเลือกมามีเนื้อหาที่นักเรียนสามารถนาไปใช้ได้จริง เป็นตัวอย่างในการพูดท่ีดี เสียงใน
สื่อภาพยนตร์และคาบรรยายใต้ภาพจะเป็นภาษาอังกฤษเพ่ือทาให้นักเรียนได้เห็นถึงสถานการณ์จริง
และไดเ้ รยี นรธู้ รรมชาติของการสนทนาในชวี ติ จรงิ
3. ทกั ษะการฟังภาษาองั กฤษ หมายถงึ คะแนนความสามารถในการฟงั โดยพิจารณาจากแบบ
ประเมินทักษะการฟังจากการดูภาพยนตร์และการฟังจากสถานการณ์จาลองซึ่งในงานวิจัยนี้แบ่ง
ทักษะการฟงั ออกเป็น 5 ดา้ น ได้แก่
1) การฟังเพื่อจับใจความสาคัญ หมายถึง การฟังเพื่อจับใจความโดยรวมถึงเร่ืองราว
ทไ่ี ด้ฟังว่าเก่ยี วกบั สิ่งใดแบบครา่ วๆ
2) การฟังเพ่ือระบุรายละเอียด หมายถึง การฟังเพื่อระบุรายละเอียดของข้อมูลท่ีมี
ความเฉพาะเจาะจง
3) การฟังเพ่ือระบุความหมายของคาศัพท์ หมายถึง การเข้าใจความหมายของ
คาศพั ทจ์ ากการฟังและคาดเดาจากบรบิ ททีเ่ กิดขน้ึ
6
4) การฟังเพื่อระบุเหตุผล หมายถึง การฟังเพื่อเข้าใจและสามารถระบุเหตุผลของ
เร่ืองราวท่เี กดิ ขนึ้ ได้
5) การฟังเพื่ออนุมานหรือตีความจากเรื่องที่ฟัง หมายถึง การเข้าใจเร่ืองราวอย่าง
ลึกซ้ึงมากกวา่ การฟงั จากคาพูดที่ไดย้ ินเพยี งเทา่ นั้น
4. ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หมายถึง คะแนนความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 พิจารณาได้จากแบบประเมินทักษะการพูด ซ่ึงประเมินจากสนทนาใน
สถานการณ์จาลองเร่ืองการบอกทิศทาง มีความถูกต้องพูดออกเสียงคาศัพท์และประโยคได้ถูกต้อง มี
ความคล่องแคล่ว พูดต่อเน่ืองชัดเจนและสื่อสารได้ การแสดงท่าทางน้าเสียงประกอบการพูดมีความ
เหมาะสมกับบทสนทนาเป็นธรรมชาติ และนามาวิเคราะห์คะแนนโดยใช้สูตรคะแนนพัฒนาการ
สัมพันธ์
5. ประสิทธิภาพ หมายถึง ผลการเรียนรู้ระหว่างเรียนและหลังจากเรียนจากการทากิจกรรม
ในการจัดการเรียนการสอนโดยใชส้ ถานการณ์จาลองรว่ มกับสื่อภาพยนตร์ คอื 75/75
6. ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติหรือระดับ ความพึงพอใจของบุคคลต่อกิจการรมต่าง ๆ
ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมน้ัน ๆ โดยเกิดจากพื้นฐานของการรับรู้ นิยมและ
ประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลจะได้รับ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการใช้สถานการณ์
จาลองร่วมกบั สือ่ ภาพยนตรซ์ งึ่ ได้จากการแบบสอบถามความพึงพอใจ
ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จำกกำรวจิ ัย
1. การจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้สถานการณ์จาลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์ท่ีมีจาลองสามารถ
เสรมิ สรา้ งความสามารถในการฟงั และการพูดภาษาองั กฤษมากขึ้น
2. สื่อท่ีใช้สามารถนาไปต่อยอดได้ในระดับช้ันอื่น โดยการคัดเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมกับช่วง
วยั และบทเรยี นทจ่ี ะใชส้ อน
3. ได้แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพผ่านการหาประสิทธิภาพแล้ว เพื่อพัฒนาในการฟัง
ภาษาอังกฤษให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ซ่ึงผู้สอนสามารถนากิจกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนการ
สอนได้
บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการฟังและการพูด
ภาษาอังกฤษเพ่ือพัฒนาผู้เรียน โดยใช้วิธีการสอนแบบใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับสื่อภาพยนตร์
ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาแนวคิด เอกสาร และงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง ดงั น้ี
1.เอกสารเกย่ี วกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551
1.1 การจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ ชว่ งช้นั ท่ี 4
1.2 มาตรฐานการเรยี นสาระภาษาต่างประเทศ ช่วงช้นั ท่ี 4
1.3 คุณภาพผู้เรียนจบชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4
1.4 มาตรฐานการเรียนและตัวช้วี ดั ช้ันปี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4
2.เอกสารเกี่ยวกับทักษะการฟงั ภาษาองั กฤษ
2.1 ความหมาย ความสำคัญ และจุดมงุ่ หมายของการฟงั ภาษาองั กฤษ
2.2 ระดับของการฟังภาษาอังกฤษ
2.3 การสอนทักษะการฟงั ภาษาอังกฤษ
2.4 การวัดและประเมนิ ผลทักษะการฟงั ภาษาอังกฤษ
2.5 แนวทางและหลักเกณฑ์การคัดเลือกเนื้อหาทนี่ ำมาใช้ในการฟงั ภาษาองั กฤษ
3.เอกสารเกย่ี วกับการพูดเพือ่ การสื่อสารภาษาองั กฤษ
3.1 ความหมายและความสามารถในการพูดเพื่อการสื่อสารภาษาองั กฤษ
3.2 การวดั และประเมนิ ความสามารถในการพูดเพื่อการส่ือสาร
4. เอกสารเกี่ยวกบั ภาพยนตร์มาใชใ้ นการเรียนการสอน
4.1 ความหมาย ความสำคญั ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วข้องและประเภทของภาพยนตร์
4.2 การคัดเลอื กและนำภาพยนตรม์ าใช้ในการจดั การเรียนการสอน
4.3 ประโยชน์และคณุ คา่ ของภาพยนตร์การศึกษา
5. เอกสารเกี่ยวกับสถานการณจ์ ำลอง
5.1 ความหมายและวตั ถปุ ระสงค์ของสถานการณ์จำลอง
5.2 องค์ประกอบทีส่ ำคญั ของวธิ กี ารสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
5.3 ขัน้ ตอนและวิธีการเสนอการสร้างสถานการณ์จำลอง
5.4 ข้อดแี ละข้อจำกัดของวิธกี ารสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง
8
5.5 ประโยชนข์ องการใช้สถานการณจ์ ำลอง
6. งานวิจัยที่เกย่ี วข้อง
6.1 งานวิจัยในประเทศ
6.2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ
7. กรอบแนวคิดท่ีใชใ้ นการวิจัย
9
1. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดในการจัดทำ กลุ่ม
สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ มสี าระสำคัญ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551 : 221) ดังนี้
1.1 การจดั การเรยี นการสอนภาษาต่างประเทศ ช่วงชน้ั ท่ี 4
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนดให้ผู้เรียนได้เรยี น โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรยี นมโี อกาสฝกึ ภาษาให้
มากท่ีสุด ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศและใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร
รวมทั้งมคี วามเขา้ ใจในเร่อื งราวและวฒั นธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก แสะสามารถถา่ ยทอด
ความคดิ และวัฒนธรรมไทยไปยังสงั คมโลกได้อย่างสรา้ งสรรค์ โดยครผู ู้สอนต้องคำนึงถึงความแตกตา่ ง
ระหว่างบุคคลและจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหห้ ลากหลายเพื่อพัฒนาเดก็ และ เยาวชนไทยทุกคน
ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะท่ีจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตใน
สงั คมท่มี ีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวิต
1.2 มาตรฐานการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศชว่ งช้นั ท่ี 4
มาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีทั้งหมด 4 สาระ ได้แก่
สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น สาระท่ี 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลกโดยแต่ละสาระมี
รายละเอียด ดังต่อไปน้ี
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสอ่ื สาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเร่ืองที่ฟังและอ่านจากส่ือประเภทต่าง ๆ และ
แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร
แสดงความรูส้ กึ และความคิดเห็นอยา่ งมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็น ใน
เรอื่ งตา่ ง ๆ โดยการพดู และการเขียน
สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
และนำไปใชไ้ ด้อย่างเหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เขา้ ใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษา วัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษากบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม
สาระท่ี 3 ภาษากับความสัมพนั ธ์กับกล่มุ สาระการเรียนรู้อ่ืน กบั กลุ่มสาระ
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเชื่อมโยงความรู้ การเรียนรูอ้ ืน่ และ
เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทัศนข์ องตน 4 ภาษากบั ความสัมพันธก์ ับชมุ ชน
และโลก
สาระที่ 4 ภาษากับความสมั พนั ธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทงั้ ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน
และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชพี และการเเลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับสังคมโลก
10
1.3 คุณภาพผ้เู รยี นเมื่อจบชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
ㆍ ปฏิบัติตามตำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่าง ๆ คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายท่ีฟัง
และอ่าน อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครส้ันถูกต้องตาม
หลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความสัมพันธ์กับ สื่อที่ไม่ใช่ความเร่ือยงรูปแบบต่าง ๆ
ที่อำน รวมทั้งระบุและเขียนส่ือที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความท่ีฟัง
หรอื อา่ น จบั ใจความสำคัญ วิเคราะหค์ วาม สรปุ ความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟงั และ
อา่ นเรอ่ื งท่ีเปน็ สารคดีและบันเทิงคดี พรอ้ มทัง้ ให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนได้
ตอบข้อมูลเก่ียวกับตนแอง เร่ืองต่าง ๆ ใกลัตัวประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าวเหตุการณ์ ประเดน็ ท่ีอยู่
ในความสนใจของสังคม และส่ือสารอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้องคำช้ีแจง
คำอธิบาย และให้คำแนะนำ พูดและเขียน แสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับ
และปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม พูดและ
เขยี นเพ่ือขอและให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทยี บ และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรอื่ งประเด็น
ข่าวเหตุการณ์ ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็ น
ของ ตนเองเกยี่ วกบั เรอ่ื งตา่ ง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และขา่ ว/เหตกุ ารณอ์ ยา่ งมีเหตุผล
ㆍ พูดและเขียนนำเสนอข้อมูลเก่ียวกับตนเองประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่อง และ
ประเด็นต่าง ๆ ตามความสนใจ พดู และเขียนสรุปใจความสำคัญ แก่นสาระท่ีได้จากการวเิ คราะหเ์ ร่ือง
กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดง ความคิดเห็นเก่ียวกับ
กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถ่ิน สังคม และโลก พร้อมท้ังให้เหตุผลและ
ยกตัวอยา่ งประกอบ
ㆍเลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาสและ
สถานท่ีตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายอภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่วม แนะนำ และจัดกิจกรรม
ทางภาษาและวฒั นธรรมอยา่ งเหมาะสม
ㆍอธบิ ายเปรยี บเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำพงั เพย
สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย วิเคราะห์/อภิปราย ความเหมือนและ
ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเช่ือ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับของไทย และนำไปใช้
อยา่ งมีเหตุผล
ㆍค้นคว้าสืบคัน บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง กับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ และนำเสนอด้วยการพดู และการเขียน ใชภ้ าษาสื่อสาร
ในสถานการณ์จริงสถานการณจ์ ำลองท่ีเกดิ ขึ้นในห้องเรยี น สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ㆍใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบหาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้ ข้อมูลต่าง
ๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่นประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ มีทักษะการใช้
ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสาร ตามหัวเร่ืองเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
โรงเรียน สิง่ แวดลอ้ ม อาหาร เครอื่ งด่ืม ดวามสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคล เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพ
11
และสวัสดิการ การซ้ือ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเท่ียว การบริการ
สถานท่ี ภาษา และ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ประมาณ 1,600 – 1,750 คำ
(คำศพั ทท์ ีม่ ีระดับการใช้แตกตา่ งกัน)
ㆍใชป้ ระโยคผสมและประโยคซับซ้อนส่ือความหมายตามบรบิ ทตา่ ง ๆ ในการสนทนา ทงั้ ท่ี
เปน็ ทางการ และไม่เป็นทางการ
1.4 มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ดั ชัน้ ปีชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสอื่ สาร
ตารางที่ 1 มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเร่ืองที่ฟังและอา่ นจากสื่อประเภท
ตา่ ง ๆ และแสดงความคิดเหน็ อยา่ งมีเหตผุ ล
ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.4-6 1. ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำ คำแนะนำ คำชแ้ี จง คำอธบิ าย คำบรรยาย เช่น
ในคู่มือ การใช้งานต่าง ๆ คำ ประกาศเตือนภัยตา่ ง ๆ ยาและ การใช้ยา การใช้อุปกรณ์
ช้ีแจง ค ำอธิบ าย และค ำ และสิง่ ของ การสบื ค้นข้อมูลทางอนิ เทอร์เน็ต Modal
บรรยายที่ฟงั และอา่ น verb : should/ought to/ need/have to/must +
verb ทเี่ ป็น infinitive without to เชน่ You should
have it after meal. (Active Voice)/ 'The doses
must be divided. (Passive Voice) Direct/Indirect
Speech คำสันธาน (conjunction) and/but
or/so/not only...but also/both...and as well
as/aller/because elc.
ตัวเช่ือม (connective words) เช่น First....
Second.... Third.... Fourth.... Next.... Then....
Finally.... etc.
2 . อ่ า น อ อ ก เสี ย ง ㆍข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อย
ข้ อ ค ว า ม ข่ า ว ป ร ะ ก า ศ กรอง และบทละครส้นั
โฆษณา บทรอ้ ยกรอง และบท
ㆍ การใช้พจนานุกรม
ละครสั้น (skit) ถูกต้องตาม
หลักการอา่ น ㆍหลกั การอา่ นออกเสียง เช่น
- การออกเสียงพยัญชนะต้นคำและ พยัญชนะ
ท้ายคำ สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม การออก
เสียงเน้นหนัก-เบาในคำ และกลุ่มคำ การออกเสียงตาม
ระดบั เสยี งสงู -ตำ่ ในประโยค
- การออกเสียงเช่ือมโยงในข้อความ - การแบ่ง
วรรคตอนในการอ่าน
- การอ่านบทรอ้ ยกรองตามจงั หวะเขยี น
12
ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
3. อธิบายและเขียน ㆍประโยคและข้อความ
ประโยคและข้อความ ให้ ㆍ การตคี วาม/ถ่ายโอนขอ้ มูลใหส้ ัมพันธ์กบั
สั ม พั น ธ์ กั บ สื่ อ ท่ี ไม่ ใ ช่ ค ว า ม
เรียง รูปแบบต่าง ๆ ที่อ่าน ส่ือทไ่ี ม่ใชค่ วามเรยี ง เช่น ภาพ แผนผัง กราฟ แผนภมู ิ
รวมทั้งระบุและ เขียนส่ือท่ี ตาราง อักษรย่อ จาก กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ดว้ ยการ
ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ พดู และ การเขียนอธบิ าย โดยใช้ Comparison of
ให้สัมพันธ์กับประโยคและ adjectives/adverbs/contrast: but. although.
ขอ้ ความ ที่ฟังหรืออ่าน
however, in spite of.../ Logical connectives เชน่
caused by followed by/consist of etc
4. จับใจความสำคัญ เร่ืองทีเ่ ปน็ สารคดแี ละบันเทงิ คดี
วิเคราะห์ความ สรุปความ ㆍ การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การ
ตี ค ว าม แ ล ะ แ ส ด งค ว าม
คิดเห็นจากการฟังและอ่าน วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม ก า ร ตี ค ว า ม ก า ร ใ ช้
เร่ืองที่เป็น สารคดีและบันเทิง skimming/scanning/ guessing/context clue
คดี พร้อมท้ัง ให้เหตุผลและ ㆍ ประโยคท่ีใช้ในการแสดงความคิดเห็น การ
ยกตวั อย่างประกอบ ใหเ้ หตุผลและการยกตัวอย่าง เช่น
I believe..../I agree with... but..../ Well, I
must say.../What do you think of/ about...?/I
think/don't think...?/What's your opinion
about....?/In my opinion... if clauses
so...that/such...that too to.../enough to... on the
other hand.... other (s)/another/the other (s)
- คำสนั ธาน (conjunctions)
because/and/so/but/however/because of/ due
to/owing to etc. Infinitive pronouns: some, any,
someone, anyone, everyone, one, ones etc.
Tenses: present simple/present
continuous/present perfect/past
impel/future tense etc.
- Simple sentence/Compound
sentence/Complex sentence
13
สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร
ตารางที่ 2 มาตรฐาน ต 1.2 มที ักษะการสอื่ สารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นข้อมลู
สื่อสาร แสดงความรสู้ ึกและความคิดเห็นอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ม.4-6 1 .ส น ท น า แ ล ะ เขี ย น ㆍภาษาท่ีใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น
โต้ตอบข้อมูล เก่ียวกับตนเอง
เ ร่ื อ ง ต่ า ง ๆ ใ ก ล้ ตั ว การทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การ
ประสบการณ์ สถานการณ์ พูดแท่รกอย่างสุภาพ การชักชวน การแลกเปลี่ยน
ข่าว) เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ ข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง เร่ืองใกล้ตัวสถานการณ์ต่าง ๆ
ในความสนใจ ของสังคม และ ในชีวิตประจำวัน การสนทนา/เขียนข้อมูลเก่ียวกับ
สื่อสารอย่างต่อเนื่ อง และ ตนเองและบุคคลใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์
เหมาะสม ต่าง ๆ ข่าว/เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจ
ของสงั คม
2.เลือกและใช้คำขอร้อง ㆍคำขอร้อง คำแนะนำ คำช้ีแจง คำอธิบายที่
ใ ห้ ค ำ แ น ะ น ำ ค ำ ชี้ แ จ ง มีข้ันตอนชบั ซ้อน
คำอธิบายอยา่ งคล่องแคล่ว
3. พูดและเขียนแสดง ㆍภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอ
ความต้องการ เสนอ ตอบรับ
แ ล ะ ป ฏิ เส ธ ก า ร ให้ ค ว า ม และให้ความชว่ ยเหลอื ตอบรับ และปฏิเสธการให้
ช่ ว ย เห ลื อ ใน ส ถ าน ก ารณ์ ความชว่ ยเหลอื ในสถานการณต์ า่ ง ๆ เชน่ Please....
จ ำ ล อ ง ห รื อ ส ถ า น ก า ร ณ์ จ ริ ง .... please./I'd like.
อยา่ งเหมาะสม I need.../May/Can/Could...?/Would you
please...?Yes..../Please do./ Certainly./Yes, of
course./Sure./ Need some help?/ What can I
do to help?/Would you like any help?/ If
you like I could.... What can I do to
help?/Would you like me to help
4. พูดและเขียนเพื่อขอ ㆍคำศัพท์ สำนวนภ าษา ประโยค และ
และให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย
เปรียบเทียบ และแสดงความ ขอ้ ความท่ีใช้ในการขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ ประเด็น/ เปรียบเทียบ และ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและ อ่าน ประเด็น/ ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ที่ฟังและอ่าน
อยา่ งเหมาะสม
5. พูดและเขียนบรรยาย ㆍภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก ความ
ความรู้สึกและ แสดงความ
คิดเห็นของตนเอง เก่ียวกับ คิดเห็น และให้เหตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดี
เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ กิ จ ก ร ร ม ใจ เสียใจ มีความสขุ เศรา้ หวิ รสชาติ สวย น่าเกลียด
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ ข่ า ว / เสียงดัง ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ใน
ชวี ิตประจำวนั เชน่
14
ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เหตกุ ารณ์ อย่างมีเหตุผล
Nice./Very nice./Well done!/ Congratulations
on... I like... because.../I love... because... I
feel... because.../I think...! I believe.../I
agree/disagree.../ I'm afraid I don't like...! I
don't believe.../I have no idea.
Oh no! etc
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสือ่ สาร
ตารางท่ี 3 มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมลู ข่าวสาร ความคดิ รวบยอด และความ
คดิ เหน็ เรอ่ื งต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน
ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.4-6 1.พูดและเขียนนำเสนอ ㆍก า ร น ำ เส น อ ข้ อ มู ล เก่ี ย ว กั บ ต น เอ ง
ข้ อ มู ล เก่ี ย ว กั บ ต น เ อ ง
ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรอื่ ง และประเด็นท่ีอยู่
เรื่องและประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ ในความสนใจของสังคม เช่น การเดินทาง การ
ใน ความสนใจของสังคม รับประทานอาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี การดู
ภาพยนตร์ การฟังเพลง การเลี้ยงสัตว์ การอ่าน
หนังสือการท่องเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม
เศรษฐกจิ
2. พู ด แ ล ะเขี ยน ส รุป ㆍการจับใจความสำคัญ แก่นสาระ การ
ใจความสำคัญ แก่นสาระท่ีได้
จากการวเิ คราะห์เรื่อง กิจกรรม่ วิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และ
ข่ า ว เ ห ตุ ก า ร ณ์ แ ล ะ สถานการณ์ ตามความสนใจ
สถานการณต์ ามความสนใจ
3. พูดและเขียนแสดง ㆍการแสดงความคิดเห็น การให้เหตุผ ล
ความคิดเห็น เกี่ยวกับกิจกรรม
ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ป ระก อ บ แ ล ะย ก ตั ว อ ย่ างเกี่ ย วกั บ กิ จ ก รรม
ท้ังในท้องถ่ิน สังคม และโลก ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ในท้องถิ่น สังคม และ
พ ร้ อ ม ทั้ ง ให้ เห ตุ ผ ล แ ล ะ โลก
ยกตวั อย่างประกอบ
15
สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการสอ่ื สาร
ตารางท่ี 4 มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษากบั วฒั นธรรมของ
เจา้ ของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ชนั้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ม.4-6 1.เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และ ㆍการเลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยา ท่าทาง
กิริยา ท่าทางเหมาะกับระดับ
ของบคุ คล โอกาส และสถานท่ี เหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และสถานท่ีตาม
ต าม ม า รย าท สั งค ม แ ล ะ มารยาท สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เช่น
วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา การขอบคุณ ขอโทษ การชมเชย การใช้สีหน้าท่าทาง
ประกอบ การพูดขณะแนะนำตนเอง การสัมผัสมือ
การโบกมือ การแสดงความรู้สึกชอบ/ ไม่ชอบ การ
กลา่ วอวยพร การแสดง อาการตอบรบั หรอื ปฏเิ สธ
2 .อ ธิ บ า ย / อ ภิ ป ร า ย วิ ถี ชี วิ ต ㆍวิถีชีวิต ความคิด ความเช่ือ และที่มา ของ
ความคิด ความเชื่อ และที่มา ขนบธรรมเนยี มและประเพณี ของเจา้ ของภาษา
ของขนบ ธรรมเนี ยม แล ะ
ประเพณีของเจา้ ของภาษา
3.เข้าร่วม แนะนำ และจัด ㆍกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เช่น การเล่น
กิ จ ก รร ม ท า งภ า ษ าแ ล ะ
วัฒนธรรมอยา่ งเหมาะสม เกม การรอ้ งเพลง การเล่านิทาน/ เร่ืองจากภาพยนตร์
บทบาทสมมุติ ละครส้ัน วันขอบคุณพระเจ้า วัน
คริสต์มาส วันขนึ้ ปีใหม่ วันวาเลนไทน์
สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม
ตารางท่ี 5 มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษา
และวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยและนำมาใช้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ ละแกนกลาง
ม.4-6 1 .อ ธิ บ า ย / เป รี ย บ เที ย บ ㆍการอธิบาย/การเปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง
ความแตกต่างระหว่างโครงสร้าง
ประโยค ข้อความ สำนวน คำ ระหว่างโครงสร้างของประโยค ข้อความ สำนวน คำ
พังเพย สุภาษิต และบทกลอน พั ง เ พ ย สุ ภ า ษิ ต แ ล ะ บ ท ก ล อ น ข อ ง
ข อ งภ าษ าต่ างป ระ เท ศ แ ล ะ ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
ภาษาไทย
2.วิเค ราะห์ /อ ภิ ป ราย ㆍการวิเคราะห์/การอภิปรายความเหมือน
ความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างวิถีชีวิต ความเช่ือ และ ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและ วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง เจ้ า ข อ ง ภ า ษ า แ ล ะ ข อ ง ไท ย แ ล ะ
ของไท ยและนำไป ใช้อย่างมี นำไปใชอ้ ย่างมีเหตผุ ล
เหตุผล
16
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ืน่
ตารางท่ี 6 มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กบั กล่มุ
สาระเรยี นรู้อน่ื และเปน็ พื้นฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน
ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ม.4-6 1.ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป ㆍการคน้ ควา้ /การสบื ค้น การบันทึก
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูล
ที่เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน การสรุป การแสดงความคิดเห็นและนำเสนอ
จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ และ ข้อมูลที่เก่ยี วขอ้ งกับกลุม่ สาระการเรียนรอู้ ื่นจาก
นำเสนอดว้ ยการพูดการเรยี น แหลง่ การเรียนรตู้ า่ ง ๆ
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพนั ธก์ ับชุมชนและโลก
ตารางท่ี 7 มาตรฐาน ต 4.1 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทงั้ ใน
สถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม
ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ม.4-6 1.ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์ ㆍการใชภ้ าษาสอ่ื สารในสถานการณจ์ ริง/
จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชนและ สถานการณ์ จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
สังคม สถานศึกษา ชุมชนและสงั คม
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชมุ ชนและโลก
ตารางท่ี 8 มาตรฐาน ต 4.2 ใชภ้ าษาต่างประเทศเป็นเครอื่ งมือพนื้ ฐานใน
การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการแลกเปลี่ยนเรียนร้กู ับสังคมโลก
ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ม.4-6 1.ใช้ภาษาต่างประเทศในการ ㆍการใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า
สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์
และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จากส่ือ รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ
และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆในการศึกษา จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อ
ตอ่ และประกอบอาชีพ และประกอบอาชีพ
2.เผยแพร่/ประชมสัมพันธ์ ㆍก า ร ใช้ ภ า ษ า อั งก ฤ ษ ใน ก าร เผ ย แ พ ร่ /
ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน
แ ล ะ ท้ อ งถ่ิ น /ป ระ เท ศ ช า ติ เป็ น ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน
ภาษาต่างประเทศ และท้องถ่ิน/ประเทศชาติ เช่น การทำหนังสือเล่ม
เล็กแนะนำโรงเรียน ชุมชน ท้องถ่ิน/ประเทศชาติ
การทำแผ่นปลิว ป้ายคำขวัญ คำเชิญชวนแนะนำ
โรงเรียน สถานท่ีสำคัญในชุมชนและท้องถิ่น/
ประเทศชาติ การนำเสนอข้อมูลข่าวสารใน
โรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น/ประเทศชาติเป็ น
ภาษาองั กฤษ
17
2. ทักษะการฟงั ภาษาอังกฤษ
การฟัง เป็นทักษะการรับรู้ (Receptive Skill) ซ่ึงเป็นทักษะแรกของการเรียนรู้ภาษา ตาม
กระบวนการทางภาษา ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เช่นเดียวกับการเรียนรู้ ภาษา
แรก การที่ผู้เรียนจะสามารถผลิตภาษาได้ดี จะต้องเกิดจากการรับรภู้ าษาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน
การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับทักษะการฟัง จึงเป็นส่ิงสำคัญต่อการพัฒนาทักษะการฟังของผู้เรียน ซ่ึงมี
รายละเอยี ด ดังนี้
2.1 ความหมาย ความสำคัญและจุดมุ่งหมายของการฟัง
การฟัง เป็นการรับสารผ่านเสียงท่ไี ด้ยิน จากนั้นผา่ นกระบวนการตีความหรือแปลความ จาก
ส่งิ ที่ได้ยิน โดยอาศัยความรูด้ ้านภาษา นำ้ เสียงที่ใช้ส่ือความหมายโดยนัยของผู้พูดจนเกิด ความเข้าใจ
ดงั ที่ (Howatt and Dakin, 1974 อ้างถึงใน Yagang, 1993: 16) กล่าวว่า การฟังเป็นกระบวนการที่
ผู้ฟังต้องใช้ความสามารถในการเรียบเรียง ตีความเพื่อที่จะได้เข้าใจว่าส่ิงท่ีผู้พูด พูดมาน้ัน มี
ความหมายว่าอย่างไร การฟังต้องสัมพันธ์กับความเข้าใจสำเนียงหรือการออกเสียงของ ผู้พูด รวมถึง
ไวยากรณ์ คำศัพท์และความเข้าใจด้านความหมายนอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาได้ให้ คำจำกัดความ
เกี่ยวกบั ความหมายของการฟัง ไวด้ งั น้ี
Widdowson (1978: 59-60) กลา่ ววา่ การฟัง หมายถงึ ความสามารถที่จะเขา้ ใจว่าประโยค
หนึ่งน้ันสัมพันธ์กับประโยคอื่น ๆ ท่ีพูดไปแล้วอย่างไร และเข้าใจว่าประโยคดังกล่าวมีหน้าท่ีอย่างไร
ในการสือ่ สาร
Finocchiaro (1989: 95) กล่าวว่า การฟัง หมายถึง การเข้าใจในสิ่งที่ได้ยิน คือ ความเข้าใจ
ภาษาและตีความโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ผู้ฟังต้องมีความต้ังใจและมีความจำ
เก่ยี วกบั ส่งิ ท่ีฟงั ได้จงึ จะเกิดความเข้าใจในการฟงั
Rost (1991: 7) ได้ให้ความหมายของการฟังไว้ว่า การฟัง หมายถึง กระบวนการที่ผู้ฟังต้อง
อาศัยกระบวนการคิด ทั้งทัศนคติและกลวิธีในการทำความเข้าใจในสิ่งท่ีได้ฟัง ซ่ึงเป็นกระบวนการที่
สามารถพัฒนาได้ และเปน็ ทักษะพน้ื ฐานในการพฒั นาทักษะทางภาษาอน่ื ๆ
Rivers (2018: 60) กล่าวว่า การฟังเป็นทักษะสรา้ งสรรค์ในการทำความเข้าใจจากเสียงท่ีเรา
ได้ยนิ ผู้ฟงั จะรับเอาคำพูดทไี่ ด้ยิน การจัดเรียงลำดบั คำนั้น ๆ ตลอดจนการข้ึน-ลงของเสียง มาสร้างให้
เกิดความหมาย
จากความหมายของ การฟังข้างต้นสรุปได้ว่า การฟัง คือ การรับรู้เสียงท่ีได้ยินอย่างตั้งใจ
จากนั้นผ่านกระบวนการตีความหรือแปลความจากภาษา น้ำเสียง ร่วมกับประสบการณ์เดิมของผู้ฟัง
เพ่อื ทำความเข้าใจในสง่ิ ท่ไี ด้ฟัง
ความสำคัญของการฟัง
การฟัง เป็นทักษะการรับสารหรือข้อมูล ผ่านกระบวนการคิดตีความ เพื่อส่งต่อไปยัง
กระบวนการต่าง ๆ ซึ่งการฟัง เป็นทักษะแรกในการเรียนรู้ทางภาษาของมนุษยห์ ากผู้ฟังไมส่ ามารถใช้
ทักษะการฟังได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจจะส่งผลต่อกระบวนการเรียนรู้การทำความเข้าใจ หรือ
ทักษะต่าง ๆ ท่ีตามมา ดังนั้นการฟังจึงมีความสำคัญ เน่ืองจากเป็นขั้นแรกในกระบวนการรับรู้ ทาง
ภาษา เพื่อนำไปสู่การส่ือสารกบั บุคคลอื่น ๆ ในสังคม มีผเู้ ชี่ยวชาญได้กลา่ วถึงความสำคัญของ ทักษะ
การฟัง ซึง่ สามารถสรปุ ไดด้ ังน้ี
Bowen et al. (1985) ได้กล่าวว่า การฟัง เป็นการทำความเข้าใจในภาษาพูด ดังเช่นท่ี
นักเรียนได้ยินคำพูด เสียง หน่วยคำหรือหน่วยประโยค และการทำความเข้าใจ ทักษะการฟัง มี
18
ความสำคัญ เนื่องจากเป็นกระบวนการรับสารจากส่ิงที่ผู้พูดพูดออกมา ท้ังการแสดงออกทางท่าทาง
การเจรจา การโต้ตอบ รวมทั้งความหมายเชิงสร้างสรรค์ ทักษะการฟังต้องได้รบั การพัฒนาเป็นลำดับ
แรก ทั้งในการเรียนภาษาแม่ และภาษาท่ีสอง โดยเฉพาะนักเรียนเพราะนักเรียนจะประสบ
ความสำเรจ็ ในการเรียนขึ้นอยู่กับความเขา้ ใจขณะท่ฟี ังครบู รรยายและรว่ มทำกจิ กรรมในห้องเรยี น
Doff (1991: 198) กล่าวถึง ความสำคัญของการฟังท่ีมีผลต่อความสำเร็จในการสนทนาว่า
ในการสื่อสารนั้น ผู้ฟังจะต้องเข้าใจก่อนว่าสิ่งที่ผู้พูดพูดนั้น หมายความว่าอย่างไร เมื่อเข้าใจก็จะ
ตระหนักวา่ ควรจะพูดตอบไปอยา่ งไร ทำให้เป็นการพัฒนาการพูดของตนเองดว้ ย ดังนั้นผู้เรยี นจึงต้อง
ฝกึ ทักษะการฟังให้มาก โดยเฉพาะในการส่ือสารด้วยภาษาต่างประเทศจะต้องฟังจนสามารถเข้าใจได้
ดีและสามารถพูดได้ ซึ่งสอดคล้องกับ Mc Donell (1992: 58–59) ที่กล่าวถึงความสำคัญของการฟัง
วา่ เป็นเครื่องมือของการเรียนรู้ และมีความสำคัญมากต่อประสทิ ธภิ าพในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ผทู้ ่ีมคี วามสามารถในการฟงั จะสามารถใช้ภาษาเพื่อการส่อื สารได้อยา่ งมีประสิทธิภาพดว้ ย
สุมิตรา อังวัฒนกุล (2540: 159) กล่าวว่า การฟังเป็นทักษะรับสารท่ีสำคัญและเป็นทักษะ
แรกที่ต้องทำการสอน ผู้พูดจะต้องฟังให้เข้าใจเสียก่อน จึงจะสามารถพูดโต้ตอบอ่านหรือเขียนได้
ทักษะการฟัง จึงเป็นทักษะพ้ืนฐานที่สำคัญในการเรียนรู้ทักษะอื่น ๆ กล่าวโดยสรุป ทักษะการฟังมี
ความสำคัญ เน่ืองจากเป็นทักษะการรับรู้ซึ่งเป็นพื้นฐานใน การเรียนรู้ภาษาและเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ใน
ลำดับต่อไป หากผู้ฟังมีทักษะการฟังท่ีดีจะทำให้มีทักษะการรับ ข้อมูลท่ีดี แปลความได้อย่างถูกต้อง
และเกิดการส่ือสารโต้ตอบได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพในทสี่ ดุ
จุดมงุ่ หมายของการฟัง
จุดมุ่งหมายของการฟัง ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์หรือเจตนาของผู้ฟังว่าต้องการฟังข้อมูลนั้น
เพ่ือวตั ถุประสงค์ใด เชน่ ฟังเพอ่ื ความเข้าใจ ฟังเพื่อความบันเทิง ฟังเพ่ือแลกเปลี่ยนขอ้ มูล เป็นต้น ซึ่ง
จดุ มุ่งหมายในการฟังแบ่งได้หลายประเภท ดงั นี้
Willis (1981: 134) กลา่ วถึง จดุ ม่งุ หมายของการฟัง ผู้ฟังจะฟงั เพ่ือสง่ิ ใดสิ่งหนึง่ ดงั น้ี
1. ฟงั เพื่อใหไ้ ด้ข้อมลู กว้างๆหรอื สาระสำคัญ
2. ฟังเพ่ือข้อมลู บางประการ
3. ฟังเพื่อศึกษาทัศนคติและความคดิ เห็นของบุคคล
4. ฟงั เพื่อลำดับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึน้
5. ฟังเพ่ือเรียนรู้คำศัพท์ท่ใี ช้ในการแสดงเสียงและการเคลื่อนไหว
6. ฟงั เพ่ือศึกษาโครงสรา้ งภาษาและการใชค้ วามหมาย
7. ฟงั เพื่อใชภ้ าษาในการเรียนร้วู ัฒนธรรม
Harmer (1991) กล่าวถึง จดุ ประสงค์ในการฟัง มดี งั น้ี
1. เพ่ือเปน็ การยืนยนั ความคาดหมายทีผ่ ู้ฟังตั้งไว้ก่อนการฟัง
2. เพ่ือคัดเลือกรายละเอียดเฉพาะท่ีตนสนใจและต้องการฟัง เพราะการฟังนั้น ผู้ฟัง
ไม่จำเป็นตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู ท่ีฟังท้ังหมด หากแตส่ ามารถเลอื กเฉพาะข้อความทีส่ ำคัญเทา่ น้ันได้
3. เพื่อมีส่วนร่วมในการส่ือสาร เพราะทักษะการฟังเป้นทักษะท่ีจำเป็นใน
ชวี ิตประจำวนั เพื่อทจ่ี ะไดน้ ำขอ้ มลู ท่ีฟังมาประกอบการโตต้ อบหรอื ส่ือสารกนั ระหวา่ งผพู้ ูดและผู้ฟัง
4. เพื่อเก็บข้อมลู ทั่ว ๆ ไป เช่น การฟังข่าว โฆษณา เพ่อื นำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในโอกาส
อื่น ๆ ตอ่ ไป
19
5. เพ่ือเก็บรายละเอียดของข้อมูลที่ฟัง หลังจากที่ผู้ฟังสามารถท่ีจะเข้าใจข้อมูลที่ฟัง
และส่ือสารกับผู้พูดได้แล้ว ผู้ฟังเข้าใจรายละเอียดอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากข้อมูลที่ฟัง คือ โครงสร้าง
ประโยคและรายละเอียดเก่ยี วกบั การใชภ้ าษาดา้ นตา่ ง ๆ ได้
Harmer (2007) ไดก้ ล่าวถงึ จุดมุ่งหมายในการฟงั หรือทักษะยอ่ ยในการฟังเพม่ิ เตมิ ไว้ดังน้ี
1. ฟังเพ่ือจับใจความสำคัญ เป็นการจับใจความโดยทั่วไปว่าเรื่องราวท่ีฟังเก่ียวกับ
อะไร ซง่ึ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเข้าใจในทุกคำท่ไี ดย้ ิน
2. ฟังเพ่ือระบุข้อมูลเฉพาะเจาะจง เป็นการฟังเพื่อท่ีจะค้นหาข้อมูลเฉพาะ ซึ่งผู้ฟัง
คาดหวงั ไวล้ ว่ งหน้าและสามารถเลอื กฟังเฉพาะขอ้ มลู ทีต่ ้องการได้
3. ฟังเพ่ือระบุรายละเอียด เป็นการฟังที่ต้องอาศัยความตั้งใจอย่างมากในการทำ
ความเขา้ ใจเรือ่ งราวใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ
Solak (2016) ได้กลา่ วเกยี่ วกับทักษะยอ่ ยของการฟัง ดงั นี้
1. ฟงั เพ่ือจบั ใจความสำคญั เปน็ การฟงั เพื่อจบั ใจความโดยรวมทว่ั ไปจากเรื่องที่ฟัง
2. ฟังเพ่ือข้อมลู เฉพาะเจาะจง เปน็ การฟงั เพื่อหาข้อมูลตามท่ีผู้ฟังต้องการเท่านั้น
3. ฟังเพ่ืออนุมาน เปน็ การฟังเพ่ือเข้าใจถึงอารมณ์ของเร่ืองราวนัน้ ๆ
4. ฟังเพื่อการถาม-ตอบ เป็นการฟงั เพื่อนำข้อมลู มาตอบคำถามต่าง ๆ
5. ฟงั เพื่อการบรรยาย เปน็ การฟงั การบรรยายลักษณะของสงิ่ ต่าง ๆ
สรุปได้ว่า จุดมุ่งหมายของการฟังของแต่ละบุคคลแตกต่างกันไป จุดมุ่งหมายใน การ
ฟังจะทำให้ผู้ฟังได้ฟังอย่างมีทิศทาง และสามารถตอบสนองความต้องการในการฟังของตนเองได้ ไม่
ว่าจะเป็นการฟังเพื่อใจความสำคัญ หรือการฟังเพ่ือศึกษาโครงสร้างภาษาหรือการศึกษาวัฒนธรรม
เปน็ ต้น
2.2 ระดับของการฟังภาษาอังกฤษ
การฟัง เป็นทักษะการรับสารท่ีผู้ฟังจำเป็นต้องทำความเข้าใจก่อนท่ีจะสามารถโต้ตอบได้ใน
รูปแบบใดรูปแบบหน่ึง ซ่ึงพฤติกรรมการฟังสามารถจำแนกได้หลายระดับ นักการศึกษาหลายท่านได้
แบ่งระดับการฟงั ไว้หลายรูปแบบดว้ ยกันตามพฤติกรรมการฟัง ดังนี้ Rivers (1968: 142-143) ได้แบ่ง
ระดับการฟัง ไวด้ งั น้ี
1. ระดับการจำได้ (Recognition level) ระดับคุ้นเคยหรือระดับ การรับ รู้
(Reception level) เป็นระดับท่ีผู้ฟังสามารถแยกแยะหรือจำแนกเสียงได้เสียงเน้นหนัก และระดับ
เสยี งสูงต่ำในประโยค รวมทั้งการแยกแยะคำ วลี โครงสร้างทางภาษา ลำดับเวลา
2. ระดับความเข้าใจ (Comprehension level) ระดับการเลือกคัดสรร (Selection
level) เปน็ ระดับทผี่ ู้ฟังสามารถจับใจความของสิ่งทฟ่ี ังได้เข้าใจความหมายโดยทั่วไปของข้อความทฟี่ ัง
และจดุ ประสงคข์ องการสื่อความหมายนนั้
Tutolo (1977: 262-265) ได้แบง่ ระดับของการฟงั ออกเปน็ 3 ระดับ ได้แก่
1. ระดับไดย้ ิน (Hearing) คือ ระดับทผี่ ้ฟู ังไดย้ ินเสยี งและรู้ว่าเป็นเสยี งอะไร
2. ระดบั จำแนกคำ (Discrimination) คือ ระดับทีผ่ ูฟ้ ังจำแนกเสียงทไ่ี ด้ยินวา่ เหมือน
หรือแตกต่างกนั อยา่ งไร
20
3. ระดับความเข้าใจ (Comprehension) แบ่งเปน็ 3 ขน้ั คือ
3.1 ข้ันฟังคำ (Literal Comprehension) เปน็ ระดบั ท่ผี ู้ฟังสามารถท่ีจะจำ
หรือกลา่ วทบทวน ส่ิงที่เป็นใจความสำคญั ของเร่ืองได้
3.2 ขั้นตีความหมาย (Interpretation) เป็นระดับทผี่ ้ฟู งั มีความเข้าใจเรื่อง
ท่ีได้ฟัง และสามารถสรุปความ ตีความเรอื่ งท่ีฟงั ได้
3.3 ข้ันมวี จิ ารณญาณ (Critical Listening) เป็นระดับท่ผี ้ฟู ังเกดิ ความ
เขา้ ใจ เร่ืองท่ีฟังอย่างถ่องแท้ และสามารถประเมนิ คา่ หรือตดั สินใจเรอื่ งท่ีฟงั ได้อยา่ งมเี หตผุ ลสามารถ
แยก ข้อเท็จจริงจากข้อคดิ เห็น และบอกจดุ มุ่งหมายของเร่ืองท่ีฟังได้
Valette and Desick (1972: 141-142) ได้แบ่งระดับ ความสามารถใน การฟั ง
ภาษาตา่ งประเทศ ออกเป็น 5 ระดบั ไดแ้ ก่
1. ระดับทักษะกลไก (Mechanical skill) คือ ผู้ฟังสามารถแยกความแตกต่าง
ระหวา่ ง ภาษาแมก่ บั ภาษาตา่ งประเทศจากเสยี งได้ โดยทีไ่ มต่ ้องเข้าใจความหมาย
2. ระดับความรู้ (Knowledge) คือ ผู้ฟังสามารถเข้าใจความหมายของคําหรือ
ประโยค ที่ได้ยิน แล้วสามารถตอบสนองได้โดยการปฏิบัติตามคำสั่งนั้น หรือเทียบประโยคภาษาที่มี
ความหมาย เหมอื นกับภาษาต่างประเทศได้
3. ระดับถ่ายโอน (Transfer) คือ ผู้ฟังสามารถเรียบเรียงประโยคใหม่โดยใช้ศัพท์
และ ไวยากรณ์ที่เรยี นมาแล้วได้ และสามารถเลอื กใช้คําหรือข้อความทเี่ หมาะสมได้
4. ระดับส่ือสาร (Communication) คือ ผู้ฟังเข้าใจคำอธิบายภาษาต่างประเทศ
และ เข้าใจความหมายของคำศัพท์ใหม่ โดยการใช้การคาดเดาจากพื้นฐานความรู้เดิม นอกจากน้ี
สามารถ ส่ือความกับเจ้าของภาษาได้ด้วยพฤติกรรมข้ันสูงสุด คือ สามารถแก้ไขคําพูดจากบทละคร
หรือ ภาพยนตร์ได้ เปน็ ต้น
5. ระดับวิพากษ์วิจารณ์ (Criticism) คือ ผู้ฟังสามารถวิเคราะห์ภาษาได้และเข้าใจ
ความหมายท้ังทางตรงและความหมายแฝง เข้าใจความแตกต่างของอวจนภาษาทางอารมณ์ และ
นำ้ เสยี งของผ้พู ูดได้
สรุปได้ว่า การฟังแบ่งออกได้เป็นหลายระดับ โดยเริ่มจากการจำแนกเสียง ข้ัน
ตีความ ทำเขา้ ใจกับข้อมูลท่ีได้ฟัง ข้ันการส่ือสาร สามารถสื่อสารโต้ตอบกับผู้พูดได้ และลำดับท้ายสุด
คือ ฟังแล้วสามารถวิเคราะห์ถึงลักษณะของภาษา เข้าใจความหมายทั้งทางตรงและโดยนัยที่ผู้พูด
ต้องการ จะสอื่ ความหมายได้
2.3 การสอนทกั ษะการฟังภาษาอังกฤษ
การสอนทักษะการฟัง เป็นส่ิงท่ีผู้สอนจะต้องตระหนักถึงการจัดสถานการณ์เพื่อให้ผู้เรียน
เกิดเรียนรู้ โดยการกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ Underwood (1989: 30) ได้
เสนอแนะไว้ว่า ผู้สอนจำเป็นที่จะต้องแจ้งให้ผู้เรียนได้ทราบเบ้ืองต้นเก่ียวกับส่ิงท่ีจะได้รับฟังว่าจะได้
ฟังอะไรและต้องเตรียมขอ้ มูลใดบ้างในการฟัง เพ่ือนำไปสู่กระบวนการฟัง ในขั้นต่อไปตามลำดับ การ
สอนทักษะการฟังตามแนวคิดของ Rixon (1986: 63-73) ได้เสนอข้ันตอนการสอนทักษะการฟัง
ประกอบดว้ ย 3 ขัน้ ตอน ดังนี้
1. ขั้นก่อนการฟัง (Pre-listening) เป็นข้ันเตรยี มความพร้อมให้กับผ้เู รียน ให้ความรู้
พื้นฐาน เกี่ยวกับเร่ืองท่ีกำหนดให้นักเรียนฟัง ท้ังด้านคำศัพท์และโครงสร้างทางภาษาท่ีเกี่ยวข้องกับ
21
แบบฝึก โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและเกิดความกระตือรือรน้ ที่จะฟังผา่ นกิจกรรมที่มีความ
ท้าทาย ตัวอย่างกิจกรรมที่ควรนำมาใช้ เช่น การระดมสมอง การคาดการณ์ล่วงหน้า จากหัวข้อเรื่อง
ภาพประกอบ เป็นต้น เพ่ือให้แนวคิดกว้างๆในการวางเป้าหมายการฟังให้กับผู้เรียน นอกจากนี้ครู
อาจเตรียมให้ผู้เรียนได้รู้ความหมายของคำศัพท์บางคำท่ีสำคัญและโครงสร้างทางภาษาท่ีจำเป็นต่อ
การทำความเขา้ ใจเนอ้ื เรือ่ ง
2. ขั้นระหว่างการฟัง (While-listening) เป็นข้ันที่ให้นักเรียนฟังในสิ่งหรือเรื่องท่ี
กำหนดให้หลังจากท่ีได้รับข้อมูลพ้ืนฐานมาบ้างแล้ว โดยในช้ันเรียนจะให้นักเรียนฝึกฟังส่ิงหรือเร่ืองที่
กำหนดให้ อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยกิจกรรมจะแตกต่างกันไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้ และลักษณะ
เนื้อหาท่ี กำหนดให้ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมท่ีมีส่ือประกอบและง่ายต่อการทำกิจกรรม ตัวอย่าง
กิจกรรม เช่น ฟังเพื่อเลือกภาพตามโครงเร่ือง ฟังเพ่ือเติมคำลงในช่องว่าง ฟังเพ่ือตรวจสอบข้อ
ความถูกหรือผิดตามบทท่ีฟัง หรอื ฟังเพอื่ ปฏิบตั ิตามคำแนะนำหรือขั้นตอนต่าง ๆ เป็นตน้ ซ่ึงครคู วรให้
ข้อมูลย้อนกลับ เพ่ือให้นักเรียนได้ประเมินตนเองว่ามีความเข้าใจต่อเนื้อหาท่ีฟังมากน้อยเพียงใด โดย
ใช้วิธอี ภปิ ราย ขอ้ ผดิ พลาดที่เกดิ ขน้ึ
3. ข้ันหลังการฟัง (Post-listening) เป็นข้ันการฟังคร้ังสุดท้ายซ่ึงกิจกรรมอาจเป็น
การทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนว่ามีความถูกต้องมากน้อยเพียงใดหรืออาจเป็น
กิจกรรมต่อเน่ืองท่ีนักเรียนนำข้อมูลที่ได้จากการฟังมาผสานกบั ความรขู้ องตนเพ่ือประยุกต์ความรทู้ ี่ได้
จากการฟังไปใช้ในกิจกรรมทักษะอ่ืน ๆ หรือนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ Field (2010) ได้เสนอแนว
ทางการจัดกิจกรรมการสอนฟงั ดังน้ี
(1) ข้ันก่อนฟัง (Pre-listening) เป็นการสอนคำศัพท์และส่ือทางภาษามี
การกระตุ้น ความต้ังใจในการฟัง เพ่ือช่วยลดปัญหาการออกเสียงคำบางประเภท เช่น ช่ือเฉพาะของ
สถานท่ี เปน็ ต้น และใหน้ กั เรยี นทำความเข้าใจรปู แบบของใบกิจกรรมหรือคำสง่ั ของแบบทดสอบ
(2) ข้ันฟัง (Listening) ครูควรเปิดให้นักเรียนฟัง 2 ครั้ง เว้นระยะคร้ัง 15
วินาที ระหว่างฟัง ครูควรแนะนำให้นักเรียนจดบันทึก (taking note) หรือจดแบบย่อจากส่ิงท่ีได้ฟัง
เม่ือพัก หยุด 15 วินาที นักเรียนสามารถเติมคำตอบในใบกิจกรรมได้ และการฟังรอบสอง นักเรียน
ตรวจ คำตอบอีกครงั้ ใหส้ มบูรณ์
(3) ขั้นตรวจคำตอบ (Checking) การตรวจคำตอบเป็นคู่ หลังจากทำ
กิจกรรม เสร็จแล้ว จากนั้นอภิปรายเกี่ยวกับความเข้าใจในเน้ือเรื่อง เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรยี นให้ เข้าใจตรงกนั หากมขี ้อสงสยั ให้เปิดเสยี งอกี ครง้ั แล้วช้แี จงใหช้ ัดเจน
(4) ข้ันกิจกรรมติดตามผล (Follow-up exercise) เป็นการให้กิจกรรม
เพ่ิมเติมเพ่ือ พัฒนาทักษะการฟัง เช่น การฟังเพ่ือที่จับใจความ การฟังเพื่อจำแนกเสียงที่คล้ายกัน คำ
หรือวลี ทค่ี ล้ายคลึงกนั และสร้างใหน้ กั เรียนเกดิ ความตงั้ ใจและมีจุดมุ่งหมายในการฟงั
(5) ขน้ั สอนคำศัพท์ (Vocabulary) เป็นการนำคำศัพท์ท่ีได้ยินจากเน้ือเรื่อง
ที่ฟังมา ขยายเพ่ิมเติมคำศัพท์ท่ีอยู่ในขอบเขตเดียวกัน หรือมีความหมายเชื่อมโยงกัน โดยครูช่วย
นกั เรยี นใน การเพิ่มเติมข้อมูล
Hadfield et al. (1999) ได้เสนอแนวทางในการจดั กจิ กรรมสอนการฟงั ดังนี้
1. ข้ันเตรียมความพร้อม (warm-up) เป็นการเตรียมและกระตุ้นความน่าสนใจ
ด้วยการให้แนวคิดกับเรื่องที่จะฟัง หรือให้คาดเดาสิ่งที่จะได้ฟัง ก่อนเริ่มกิจกรรมควรมีการสอน
22
คำศัพท์ยาก เพราะจำเป็นต่อการคาดเดาความหมาย ใช้เวลาเพียงส้ันๆ ประมาณ 5 นาที เป้าหมาย
คอื ให้นกั เรยี นสนใจในหัวข้อท่จี ะฟงั และคุ้นเคยกบั คำศัพทใ์ นเร่ืองที่จะฟัง
2. ข้ันฟงั และการตอบสนอง (Listen and respond) จัดประสบการณใ์ หน้ กั เรยี นได้
ฟังภาษาอังกฤษในสำเนียงที่หลากหลายและสถานการณ์ที่แตกต่างกันในชีวิตประจำวัน เพื่อส่งเสริม
ให้นักเรียนค้นุ เคยกับการใช้ภาษาในชีวิตจริงนอกห้องเรียน ซึ่งมีเทคนิคท่ีหลากหลายในการออกแบบ
กิจกรรม เช่น การฟังแล้วตอบคำถาม การฟังแล้ว แก้ข้อมูลให้ถูกต้อง การฟังแล้วทำตาม การฟังแล้ว
วาดรปู การฟังแลว้ คาดเดา การฟังแล้วจบั คแู่ ละการฟังแล้วเรยี งลำดบั เปน็ ตน้
3. ข้ันติดตามผล (follow-up) หลังการตรวจสอบคำตอบของกิจกรรมเสร็จ ครู
สามารถให้นักเรียนทำกิจกรรมในทักษะอื่น ๆ ได้ เช่น การพูดและการเขียน เพ่ือเพิ่มโอกาสให้
นักเรียนได้เรียนรู้การเชื่อมโยงทักษะต่าง ๆ ทางภาษาเข้าด้วยกัน สุภัทรา อักษรานุเคราะห์ (2534)
ไดเ้ สนอแนวทางการสอนทกั ษะฟังไว้ดงั นี้
1) การฟังคําเด่ียว ฟังวลีและฟังประโยค ซ่ึงอาจทำได้โดยแสดงออกใน
ลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น ปฏิบัติตามคําสั่ง วาดรูป เล่นเกม บอกทิศทางตามแผนท่ี ทั้งน้ีอาจให้สังเกต
การเน้นเสียงหนัก เบาในคาํ และระดับเสียงสงู ตำ่ ในประโยค
2) การฟังโดยพยายามเช่ือมโยงคําต่าง ๆ ที่ได้ยินเป็นกลุ่มท่ีมีความหมาย
เพ่ือให้ จำง่าย เช่น พยายามสร้างจินตนาการจากคําเป็นภาพ ซึ่งจะเป็นภาพที่สวยงามหรือเป็นภาพ
ตลกกไ็ ด้ เพอื่ ให้จำสงิ่ ท่ีฟังได้นานขน้ึ และเกิดความสนใจที่จะฟังต่อไป
3) การฟังเน้ือเรื่องส้ันๆ ซ่ึงอาจมีคำศัพท์และโครงสร้างที่รจู้ ัก โดยผู้สอนให้
สรุป เหตุการณ์ว่าใครทำอะไร ทำแล้วหรือยังไม่ได้ทำ หรือกําลังทำอยู่ หรือสรุปได้ว่าบุคคล ในเรื่องมี
อาชีพ อะไร เปน็ ต้น
4) การฟังบทสนทนาหรอื ขอ้ ความต่ำ ควรเป็นบทสนทนาหรือข้อความที่อยู่
ใน ชีวิตประจำวันและเป็นธรรมชาติ คือมีความเร็วปกติ ผู้พูดมีทั้งหญิงและชายที่ต่างวัย ต่างอาชีพ
สถานภาพทางสงั คมและสําเนียงต่างกันเพื่อใหผ้ ้เู รียนคุน้ เคยกับภาษาทใ่ี ช้อยู่จริง
พรสวรรค์ สปี อ้ (2550) ไดแ้ บ่งขัน้ ตอนการจดั การเรียนรกู้ ารฟังไว้ 3 ข้นั ตอน ดังน้ี
1. ข้ันก่อนฟัง กิจกรรมก่อนการฟังควรจัดเพ่ือกระตุ้นความสนใจในการฟังของ
ผูเ้ รียน ใหง้ ่ายข้ึน ซงึ่ แบง่ เป็น 3 กล่มุ คอื
1) การเตรียมคำศัพท์ ได้แก่ การสอนศัพท์หรือสำนวนภาษาที่จำเป็นใน
การฟัง โดยจุดประสงค์ในการสอนคำศพั ท์ คือ ต้องการให้ผู้เรียนรคู้ วามหมายของคำศัพท์ เพ่อื ที่จะฟัง
ไดเ้ ขา้ ใจมากข้ึน
2) ทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะฟัง ผู้สอนควรจัดกิจกรรมทบทวน
ความรู้เดมิ เชน่ ใหท้ ำแบบทดสอบหรอื การตอบคำถามส้นั ๆ
3) ให้ผู้เรียนทายว่าเนื้อหาที่ผู้เรียนจะได้ฟังเก่ียวกับอะไร กิจกรรมท่ีจัด ใน
ขั้นน้เี หมือนกับในข้นั ทบทวนความรู้ คือให้ทำแบบทดสอบสัน้ ๆ
2. ข้ันระหว่างฟัง กิจกรรมระหว่างการฟังเป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียนทำระหว่างฟังหรือ
ทนั ที ทฟ่ี งั จบการจดั กจิ กรรมระหว่างฟงั ผสู้ อนต้องระลึกถงึ ส่งิ ต่อไปนี้
1) ควรจัดให้ผู้เรียนได้ฟัง 3 ครั้ง โดยครั้งแรกให้ผู้เรียนได้มีการปรับตัว ให้
ค้นุ เคยกับสำเนียงและความเร็วของผู้พูด โดยผู้สอนสามารถตั้งคำถามเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจ แบบ
23
กว้างๆ การฟังครั้งที่สอง ควรให้ผู้เรียนฟังเพ่ือระบุรายละเอียด และการฟังครั้งท่ีสาม ควรให้ ผู้เรียน
ได้ฟงั เพอื่ ตรวจคำตอบของตนเอง
2) การฟัง สามารถแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับแรก คือ การฟังแบบ
คร่าวๆ เพ่ือจับใจความสำคัญ (Extensive listening) และระดับสอง คือ การฟังเพ่ือหาหรือระบุ
รายละเอยี ด (Intensive listening)
3) ควรแบ่งออกเป็นตอนสั้นๆ หากต้องการให้นักเรียนฟังข้อความที่ยาว
และควรตรวจสอบความเข้าใจทลี ะตอน
4) ควรให้นักเรียนอ่านและทำความเข้าใจกับคำส่ังก่อน ถ้านักเรียนต้อง
เขียนตอบในระหว่างทฟี่ งั หรือเม่อื ฟงั จบ
5) แบบฝกึ หัดสำหรับการฟงั ควรมงี านเขยี นนอ้ ยทีส่ ดุ
6) ใหผ้ ลปอ้ นกลบั ทนั ที
3. ขั้นหลังฟัง กิจกรรมหลังการฟังมี 2 แบบ คือกิจกรรมเกย่ี วกับปฏิกิริยาตอบสนอง
ต่อข้อความที่ฟังและการคิดวิเคราะห์ลักษณะทางภาษาท่ีปรากฏในข้อความ สำหรับกิจกรรมที่
เกี่ยวกับปฏิกิรยิ าการตอบสนองต่อข้อความท่ีได้ฟังน้ัน อาจจะให้ผู้เรยี นได้อภิปรายเกี่ยวกับเรื่อง ที่ได้
ฟงั ทำผังความรู้ เขียนสรปุ ตอบคำถามเก่ียวกบั เรอ่ื งท่ีฟัง แสดงบทบาทสมมติ แสดงละคร เป็นตน้ ใน
ด้านภาษา ผู้สอนอาจจะให้ทำแบบฝึกหัดเก่ียวกับคำศัพท์ท่ีได้ฟัง เช่น นำคำมาแต่งประโยค แต่งเรื่อง
เปน็ ต้น
จากแนวคิดข้อเสนอแนะในการสอนทักษะการฟังภาษาอังกฤษ สรุปได้ว่า การสอนทักษะ
การฟังควรมีการเลอื กใช้กิจกรรมท่ีหลากหลายเหมาะสมกับจุดประสงคใ์ นแต่ละข้ันตอนการสอนฟังซึ่ง
ประกอบด้วย 3 ขน้ั ตอนหลกั ดังน้ี
1. ขั้นก่อนฟัง (Pre-listening) ครูกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเเร่ืองที่จะฟัง
โดยใช้ รูปภาพหรือภาพนิ่ง เพ่ือให้นักเรียนคาดเดาเร่ืองราวท่ีเกิดขึ้นและใช้คำถามนำ (guided
questions) เพื่อระดมสมองดึงความรู้หรือประสบการณ์เดิมของนักเรียนที่เก่ียวกับเร่ืองราวออกมา
รวมถึงการ แนะนำคำศัพท์สำคัญ (key vocabulary) ท่ีจะเป็นประโยชน์ในการฟัง เพื่อเป็นแนวทาง
ให้นกั เรยี น รับรู้ถึงจดุ มุง่ หมายของการฟังเรื่องราวทน่ี ักเรียนจะได้ฟงั ในข้นั ต่อไป
2. ขัน้ ฟงั (While-listening) เป็นข้ันรบั ฟังขอ้ มูล ตีความและทำความเข้าใจเรื่องราว
ซงึ่ การฟังแบ่งออกเป็น 3 รอบ โดยมีกิจกรรมระหวา่ งการฟังเพื่อใหน้ ักเรียนฟงั อยา่ งมจี ุดมุ่งหมาย ดังนี้
รอบที่ 1 นักเรียนฟังเนื้อเรื่องโดยรวมและทำแบบฝึกบางสว่ น รอบที่ 2 นกั เรยี นฟังและทำแบบฝึก จน
เสร็จ และรอบท่ี 3 นักเรียนฟังเนื้อเรื่องอีกครั้งพร้อมดูคำบรรยาย ครูและนักเรียนร่วมกัน ตรวจสอบ
ความถูกต้องของแบบฝึก ตัวอย่างกิจกรรมในแบบฝึก เช่น การตอบคำถามแบบถูกผิด (True/False)
คำตอบแบบตวั เลอื ก (Multiple choices) หรอื การเตมิ คำ (Gap Filling) เปน็ ตน้
3. ขั้นหลังการฟัง (Post-listening) เป็นขั้นนำภาษาท่ีได้จากการฟังไปใช้ใน
สถานการณ์จริง โดยให้นักเรียนได้มีโอกาสในการผลิตภาษาของตนเอง ผ่านกิจกรรมท่ีครูมอบหมาย
ทั้งกิจกรรมเดี่ยว กิจกรรมคู่ หรือกิจกรรมกลุ่มตามความเหมาะสม เช่น การอภิปรายกลุ่ม
(Discussion) การสรปุ ความ (Summarize) หรอื การทำผังความคดิ (Mind Mapping) เป็นตน้
24
2.4 การวัดและประเมนิ ผลทักษะการฟัง
การประเมินการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียน ควรมีองค์ประกอบ ดังน้ี เนื้อหา รูปแบบ และ
เกณฑ์การประเมิน ซึ่งต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนทั้งเชงิ เนื้อหาและเชงิ โครงสร้าง
จากการศึกษาเรอ่ื งการวดั และการประเมนิ การฟังภาษาอังกฤษ ดังน้ี
Cohen (1994) กล่าวถึง การประเมินทักษะการฟงั ภาษาอังกฤษไว้ ดงั น้ี
1. ฟังเพื่อแยกเสียง (Discrimination of sounds) เป็นการทดสอบการฟังเพ่ือ
แยกแยะเสียงท่ีแตกต่างกัน เช่น แยกความหมายท่ีต่างจากพวก อาจเป็นคำศัพท์หรือประโยค แยก
ความเหมอื นหรือความต่างของประโยคท่ีไดฟ้ งั และฟังเพ่ือบง่ บอกความรู้สกึ ของนำ้ เสยี งผ้พู ดู
2. ฟังเพื่อแยกไวยากรณ์ (listening for grammatical distinctions) เป็นการฟัง
ประโยคเพือ่ แยกแยะไวยากรณ์ เช่น แยกวา่ เป็นเอกพจน์หรอื พหพู จน์
3. ฟังคำศัพท์ (Listening for vocabulary) เป็นการฟังคำศัพท์แล้วแสดงท่าทาง
ตามคำส่งั ต่าง ๆ
4. ฟังเพ่ือความเข้าใจ (Auditory comprehension) เป็นการฟังเพ่ือทดสอบ ความ
เขา้ ใจ เชน่ ฟังแล้วตอบคำถาม เลอื กคำตอบทเ่ี หมาะสมกับบทสนทนา
Anderson (1995: 137) แบ่งกระบวนการในการทดสอบสำหรับทกั ษะการฟงั ภาษาองั กฤษ
ออกเป็น 3 ขั้นตอน ดงั น้ี
1. การวัดระดับข้ันการรับรู้ (Perceptual process) เป็นการแปลงเสียงท่ีได้ยินและ
รบั รู้เสียง แล้วเกบ็ ในความจำระยะหน่งึ จากนน้ั จะถกู แทนที่ด้วยเสยี งอ่ืน
2. การวัดระดับข้ันวิเคราะห์คำในประโยค (Parsing process) เป็นการวิเคราะห์
โดยพิจารณาความสัมพันธ์ของหน่วยต่าง ๆ ที่ประกอบในประโยค การวิเคราะห์ขึ้นอยู่กับ
ความสามารถทางภาษา และใช้ความรู้ทั่วไปในเรือ่ งที่ฟังและรปู แบบการนำเสนอมาวเิ คราะหภ์ าษา
3. การวัดระดับข้ันการนำไปใช้ (Utilization) เกิดข้ึนเมื่อผู้ฟังใช้ความร้เู ดิมเชื่อมโยง
กับส่งิ ทีฟ่ งั จากน้นั ตคี วามและโต้ตอบกับผูพ้ ูด
Madsen (1983: 127-143) ไดเ้ สนอแนวคิดเก่ยี วกับรูปแบบของการทดสอบการฟังไว้ อยา่ ง
น่าสนใจ ดงั นี้
1. แบบทดสอบที่มีการตอบสนองท่จี าํ กัด (Limited response) แบบทดสอบ
ประเภทนเ้ี หมาะสมกบั ผู้เรียนระดบั เร่มิ ต้น ซ่ึงประกอบด้วย
1.1) การจำแนกเสียง (Native-language response) การให้นักเรียนฟัง
แถบบันทึกเสียงของเจ้าของภาษาและภาษาอ่ืน ๆ แล้วให้นักเรียนบอกความแตกต่าง ลักษณะ ข้อ
ทดสอบเป็นแบบการเลือกคาํ ตอบแบบถูก-ผดิ (True/False) ใช่หรือไม่ใช่ (Yes/No)
1.2) การใช้รูปภาพ (Picture cues) การให้ผู้เรียนฟังข้อความ บทสนทนา
หรือเนอ้ื เรื่องแล้วให้นักเรยี นเลือกรูปภาพท่ีเหมาะสม นอกจากนี้ให้นักเรยี นดรู ูปภาพขณะฟังแล้ว บอก
วาสิง่ ทป่ี รากฏอยูใ่ นภาพนน้ั ถูกหรือผดิ
1.3) การใช้กิจกรรมเพอื่ ตอบสนอง (Task response) การปฏิบัตติ ามคำส่ัง
การวาดภาพระบายสีจากข้อความท่ไี ดฟ้ ังการเขียนเสน้ ทางในแผนที่ การเดินทาง การจับคู่ภาพ
2. การใช้คําถามแบบเลือกตอบ (Multiple-Choice appropriate response) เป็น
ขอ้ สอบเพื่อวดั ความเข้าใจ เชน่ ใหน้ กั เรียนสรปุ ประเด็นสำคญั
25
Flowerdew and Miller (2005: 202-203) ได้กล่าวถึง การทดสอบการฟังว่ามี
รูปแบบท่ี แตกต่างกันออกไป เช่น แบบทดสอบวัดความสามารถและจัดระดับความรู้ (Proficiency
and Placement Test) เป็นการทดสอบเพือ่ วัดและประเมินความสามารถทาง ด้านภาษาของผู้เรียน
ใน วิชาเฉพาะเจาะจง ผู้สอนจึงต้องออกแบบแบบทดสอบที่เหมาะสมกับการฟังแต่ละรูปแบบ มี
คำถามท่ี หลากหลายเพื่อให้ผเู้ รียนได้ฝึกทักษะการฟังหลากหลายรูปแบบ ยกตวั อย่างดังตอ่ ไปนี้
1.การเขียนตามคำบอก (Dictation) คือ วิธีการทดสอบท่ีผู้สอนอ่านเรื่องที่
มี ความยาวประมาณ 150 คำให้ผเู้ รยี นฟังทีละประโยคหรือวลี ผูเ้ รียนเขยี นประโยคหรอื วลีที่ได้ยิน ซ่ึง
การทดสอบประเภทน้นี ยิ มใชเ้ ป็นการทดสอบความสามารถทางภาษาของผเู้ รยี น
2. การเขียนตามคำบอกแบบเติมคำ (Partial Dictation) คือ วิธีการ
ทดสอบท่ีผู้เรียนได้รับแบบทดสอบที่ละเว้นข้อความส่วนใหญ่ไว้ แล้วฟังเร่ืองหรือเน้ือหาฉบับเต็ม
เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนเติมคำหรือวลี ลงในชอ่ งว่างให้ไดเ้ นื้อเรอื่ งทสี่ มบรู ณ์
3. การฟังเรื่องแล้วตอบคำถาม (Text with Questions) คือ วิธีการ
ทดสอบโดยผู้เรียนฟังบทสนทนาที่ผสู้ อนอ่านหรือการฟงั จากแถบบันทึกเสียงแล้วทำแบบทดสอบแบบ
เลอื กตอบ (Multiple-choices test)
4. การตอบสนองต่อประโยคที่ได้ยิน (Responding to Statement) คือ
วิธีการทดสอบที่ผู้เรียนฟังประโยคหรือคำถามแล้วตอบสนองต่อสิ่งที่ได้ยิน โดยการเลือกคำหรือ
รูปภาพระบวุ ่าประโยคหรือคำถามท่ไี ดฟ้ งั น้ันถูกหรอื ผิด หรือตอบดว้ ยคำตอบแบบสน้ั ๆ
5. การตอบคำถามถูก-ผดิ แบบสามตวั เลือก (Three Choices True-False)
คอื วิธกี ารทดสอบที่พฒั นามาจากแบบทดสอบประเภทเลือกคำตอบแบบถกู -ผดิ (True or false test)
โดยเพม่ิ การแสดงความคดิ เหน็ หรือการเพิ่มตวั เลือก “ไม่ไดร้ ะบไุ ว”้
6. การเติมคำจากการฟังแถบบันทึกเสียง (Recorded Cloze) คือวิธีการ
ทดสอบท่ีให้ผ้เู รียนฟงั เทปหรือแถบบนั ทึกเสียง ซ่ึงในทุก ๆ คำท่ี 15 จะถกู แทนทีด่ ้วยเสียงสญั ญาณอื่น
ๆ ท่ีไม่ใช่คำ หรือวลีจากเร่ืองและมีการหยุดระหว่างประโยค เพื่อให้ผู้เรียนเติมคำหรือวลีให้เนื้อเร่ือง
สมบูรณ์
7. การส่งผ่านข้อมูล (Information Transfer) คือ วิธีการทดสอบที่ให้
ผูเ้ รียนฟงั การบรรยาย หรอื บทสนทนาแล้วสรา้ งแผนผงั จากนั้นเตมิ แผนผงั หรอื ตารางในขณะท่ีฟัง
Hubbard (2017) จําแนกการทดสอบการฟังภาษาองั กฤษไว้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1. การทดสอบการฟังที่แท้จริง (Pure listening test) เป็นการทดสอบการฟังและ
การจําแนกเสียงของคาํ ที่ได้ยนิ เชน่
1.1 การทดสอบจําแนกเสียงโดยใช้การเทียบเสยี ง
1.2 การทดสอบจําแนกเสยี งโดยวัดการฟังเสียงเนน้ หลัก (Stress) ในคำ
และประโยค
1.3 การทดสอบการฟังระดับเสียงสูงต่ำในประโยค
2. การทดสอบความเข้าใจในการฟัง (Listening comprehension test) เป็นการ
ทดสอบความเข้าใจในส่งิ ที่ฟงั ดังนี้
2.1 ฟังข้อความท้ังหมด 1 ครง้ั จบแล้วให้ฟังประโยคที่อ่านคร้ังเดียวแล้วให้
ผู้เรียนเลอื กว่าถูกหรือผิดจากข้อความทฟ่ี ัง
2.2 ฟงั ขอ้ ความ 1 คร้งั จบแล้วมีคำถามและคำตอบทเี่ ป็นตวั เลือก
26
2.3 ฟังคำถามแล้วตอบคำถามเก่ียวกับข้อความน้ัน ๆ สำหรับผู้เร่ิมเรียน
คำถามอาจเปน็ ภาษาแม่
2.4 แจกแผนที่ของสถานท่ี เช่น ถนน เมือง หรือรถไฟ พร้อมท้ังบอก
จุดเร่ิมต้นให้กับผู้เรียน จากนั้นผู้เรียนฟังการบอกวิธีเดินทางแล้วไปให้ถึงจุดหมายปลายทาง แล้วระบุ
ตำแหนง่ ของจุดหมายไว้
2.5 ฟังข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิ สภาพอากาศ หรือ
หมายเลขผเู้ ล่นนกั กฬี า แลว้ กรอกข้อมูลหรือทำเครื่องหมายลงในตารางขอ้ มูล
2.6 สมมติให้ผู้เรียนอยู่ในสถานการณ์น้ัน ๆ แล้วสรุปข้อความจากท่ีได้ยิน
เชน่ รถไฟขบวนใดท่จี ะออกจากสถานหี รือขบวนใดท่ีเราจะพลาด เปน็ ตน้
2.7 การจดโน้ต ใช้กบั ผู้เรยี นในระดบั สงู
2.8 การเขียนตามคำบอก เพื่อดูว่าสามารถสะกดและใช้เคร่ืองหมายวรรค
ตอนไดถ้ ูกต้องหรอื ไม่
สรุปได้ว่า การทดสอบความสามารถทางภาษาในการฟังของนักเรียน ควร
วัดท้ังความรู้ในระดับคำศัพท์ ตลอดจนถึงระดับความเข้าใจ โดยใช้กิจกรรมในการทดสอบท่ี
หลากหลาย เช่น แบบทดสอบด้วยการตอบคำถามแบบถูกผิด (True/False) การเลือกคำตอบแบบ
หลายตัวเลือก(Multiple choices) หรือการเติมคำ (Gap Filling) ซึ่งแบบทดสอบควรสอดคล้องกับ
สง่ิ ท่เี รยี นและเหมาะสมกบั ความสามารถของผู้เรยี น
2.5 แนวทางและหลกั เกณฑ์การคัดเลือกเน้อื หาท่นี ำมาใช้ในการสอนฟัง
การจัดการเรียนการสอน องค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญ คือ การคัดเลือก เนื้อหาที่
นำมาใช้สอน เพราะเป็นขั้นเร่ิมแรกท่ีจะนำไปสู่การจัดกระบวนการเรียนรู้ รวมถึงการเลือกหรือผลิต
ส่ือให้มีความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา ทักษะการเรียนรู้ และความสามารถของผู้เรียนเพ่ือบรรลุ
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั ไว้
หลกั เกณฑ์การคัดเลอื กเนื้อหาที่นำมาใช้ในการสอนฟงั
นักการศึกษาได้เสนอแนะเก่ียวกับการพิจารณาคัดเลือกเนื้อหาให้แก่ผู้เรียนมี
หลกั การและเกณฑก์ ารพจิ ารณา ดังนี้
Taba (1963) ไดใ้ หห้ ลักเกณฑใ์ นการคดั เลอื กเนอื้ หาไวอ้ ย่างกวา้ งๆ ประกอบดว้ ย
1. มคี วามเชื่อถือไดแ้ ละเปน็ แก่นสารของความรู้ในแตล่ ะสาขาวิชา
2. มีความสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในสังคม
3. มีความสมดลุ ระหวา่ งความกว้างและความลึกซ้งึ
4. มีความสามารถสนองความมงุ่ หมายไดห้ ลายๆ ประการ
5. มคี วามสอดคล้องกบั วฒุ ภิ าวะในการเรยี นรูแ้ ละประสบการณ์ของผู้เรียน
6. มีความสอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
Kellough and Roberts (1994: 210-218) กล่าวว่า เน้ือหาที่จัดเป็นความรู้
สามารถแบ่งได้3 ลักษณะ คือ ข้อเท็จจริง (fact) ความคิดรวบยอด (concept) และหลักการ
(generalizations)
1. ข้อเท็จจรงิ หมายถงึ ขอ้ ความหรอื เหตกุ ารณท์ เ่ี ป็นมาหรอื ท่ีเปน็ อยูจ่ รงิ เหตุการณ์
ที่เกิดขึ้นในอดีตและยังคงดำรงอยู่ในปัจจุบัน โดยปราศจากการเสริมแต่งด้วยค่านิยมหรือการคาดเดา
27
รับรู้ผ่านกระบวนการสังเกตอย่างเป็นระบบ ข้อเท็จจริงได้รับการรวบรวมจากการสังเกตเหตุการณ์
โดยตรง เช่น การสังเกตในห้องปฏิบัติการทดลอง การดึงจากแหล่งข้อมูล เช่น จากพจนานุกรม
สารานุกรม เป็นต้น จะเห็นว่าในการเรียนการสอนน้ันจะมีเน้ือหาท่ีเป็นข้อเท็จจริงซึ่งสะท้อน
เอกลักษณ์ธรรมชาติของเน้ือหาที่สอน
2. ความคิดรวบยอด หมายถึง ภาพหรือความคิดในสมองที่เป็นตัวแทนของสิ่งใดสิ่ง
หนึง่ ประกอบด้วยคุณสมบัติร่วมที่สำคัญของส่ิงน้ันซงึ่ ขาดไม่ได้ หากขาดไปจะทำให้ไมใ่ ชส่ ง่ิ น้ัน ช่ือท่ีใช้
เรียกข้อมูล ข้อเท็จจริงทไ่ี ด้รบั การจัดแบ่งประเภทแล้วจะมีลักษณะสำคัญท่ีแฝงอยู่หรือมีความคิดรวบ
ยอดอยู่ในสิ่งนั้น ผู้เรียนทุกระดับอายุสร้างความคิดรวบยอดและกำหนดช่ือให้กับความคิดรวบยอด
เพ่ือสร้างความหมายให้กับสิ่งเร้าต่าง ๆ ในโลก ถ้าทุกอย่างในโลกถูกมองอย่างแยกส่วน ไม่สัมพันธ์
เช่ือมโยงจะมีส่ิงท่ีมนุษย์ต้องจดจำมากมายเพียงใด ในการสร้างความคิดรวบยอด ผู้เรียนจำเป็นต้อง
ศึกษาความเหมือนละเลยความแตกต่างและนำสิ่งท่ีเหมือนกันจัดไว้ในประเภทเดียวกัน ความคิดรวบ
ยอดแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ
1) ความคิดรวบยอดท่ีเป็นรูปธรรม (Concrete concept) เช่น คำว่า แมว บ้าน
ผหู้ ญิง แม่ เปน็ ตน้
2) ความคิดรวบยอดท่ีต้องให้คำอธิบาย (Defined concept) หมายถึง ความคิด
รวบยอดทเี่ ปน็ นามธรรม เช่น กรด ดา่ ง สตั วเ์ ลีย้ งลกู ด้วยนม ประชาธิปไตย เป็นตน้
3) หลักการ (Generalizations) หมายถึง ข้อความท่ีเชื่อมโยงความคิดรวบยอด
ต้ังแต่ 2 ความคิดรวบยอดขึ้นไปในลักษณะแสดงความสัมพันธ์ของความคิดรวบยอดข้อความท่ีเป็น
หลักการสร้างจากการสรุปอ้างอิงและทำนายข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ส่วนกฎและทฤษฎีเป็น
หลักการทไ่ี ด้รบั การพิสจู น์ ทดลองซำ้ แลว้ ซำ้ อกี จนพบวา่ เป็นจรงิ เสมอ
Print (1993) ไดเ้ สนอประเดน็ ทีใ่ ช้ในการพิจารณาเนอ้ื หา ดังน้ี
1. ความสำคัญ ส่ิงท่ีควรพิจารณา ได้แก่ การพิจารณาว่าเนื้อหาน้ันเป็นพ้ืนฐาน
สำคัญของการเรียนรู้ในเร่ืองต่อไปท่ีเกี่ยวข้องกันหรือไม่ การเรียนรู้เร่ืองดังกล่าวจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
ความเข้าใจ การเรียนรู้เร่ืองใหม่ที่ยากกว่าได้ดีขึ้นเพียงใดหรือพิจารณาถึงคุณค่าของการเรียนว่ามี
ความสำคัญสำหรบั ผ้เู รียนหรือไม่คมุ้ ค่าแก่เวลาทีต่ ้องใช้ในการเรียนเนื้อหาดังกล่าวเพียงใด
2. ความตรง หมายถงึ การพจิ ารณาวา่ เนอื้ หาที่สอนนัน้ ตรงกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ท่ีเราต้องการให้เกิดกับผู้เรียนจริงหรือไม่ โดยพิจารณาจากความสัมพั นธ์ระหว่างเนื้อหาและ
จุดประสงค์
3. ความสัมพันธ์กับสังคม การจัดการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 ได้กล่าวไว้ชัดเจนในด้านสาระการเรียนรู้ ที่เน้นให้เรียนในเร่ืองเก่ียวกับ ตนเองและ
ความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ตลอดจนประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทย การเมือง และ
การปกครอง ความรู้เก่ียวกับศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม การกีฬาภมู ิปัญญาไทย และการประยกุ ต์ใชใ้ น
การคัดเลือกเนื้อหา ควรจัดให้สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ค่านิยม จารีต อุดมการณ์ ตลอดจนปัญหา
ทางสังคม เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม ตามเกณฑ์ดังกล่าวนี้เน้ือหาที่คัดเลือกควรสะท้อน
หลกั การ ค่านิยมประชาธิปไตยของสังคม ความตระหนกั ในหน้าที่และภารกจิ ท่ผี ู้เรียนมีตอ่ สังคมความ
เข้าใจอย่างลึกซึ้งท่ีมีต่อวัฒนธรรมประเพณีไทย และเรียนรู้เรื่องราวท่ีจะเอ้ืออำนวยต่อการ
เปล่ียนแปลงและการแก้ไขปัญหาของสังคม
28
4. ความสามารถเรียนรู้ได้ ในการจัดเนื้อหาควรคำนึงถึงนักเรียนทุกกลุ่มระดับ
ความสามารถโดยกำหนดเกณฑ์ข้ันต่ำสุดให้ทุกกลุ่มความสามารถเข้าใจเน้ือหาที่เรียนได้ นอกจากน้ี
ควรจัดเน้ือหาเพ่ิมเติมสำหรับเด็กเก่ง หรือมีความสามารถพิเศษเพ่ือตอบสนองความแตกต่างของ
ผเู้ รียน
5. ความสนใจ ตามหลักการเรียนรู้เป็นท่ีทราบดวี ่า หากนักเรียนไดเ้ รยี นในสิ่งทส่ี นใจ
นักเรียนย่อมทำได้ดี และเรียนรู้อย่างมีความหมาย อย่างไรก็ตามเกณฑ์น้ีเป็นเกณฑ์ที่มีคุณค่าในเชิง
ทฤษฎี ไม่ใชแ่ นวปฏบิ ัติ ดงั นั้นมกั เป็นเกณฑ์ทพ่ี ิจารณาในลำดับทา้ ย ๆ
สรุปได้ว่า ในการคัดเลือกเน้ือหา ควรคำนึงถึงประเภทของเน้ือหาที่จะนำมาใช้ใน
การสร้างแบบฝึก ซึ่งในการสอนภาษาอังกฤษควรเลือกเน้ือหาท่ีเป็นหัวข้อสำคัญ ความคิดรวบยอด
และหลักการร่วมกัน เนื่องจากการใช้ภาษาจำเป็นที่จะต้องใช้ความคิดและกฎเกณฑ์ของไวยากรณ์
ควบคู่กันเพ่ือนำไปสู่การส่ือสารไม่ว่าทางใดทางหน่ึง อีกท้ังเน้ือหาที่คัดสรรมาควรคำนึงถึงตัวผู้เรียน
เป็นหลักทั้งความสนใจ ระดับความสามารถ ความตรงกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และการบูรณาการ
ทางสังคม เพ่ือสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ทางภาษาและการนำไปใช้ในสถานการณ์จริงได้ดี
ยิง่ ขึน้
การจดั ลำดบั เนือ้ หาทีน่ ำมาใช้ในการสอน
เมื่อได้เน้ือหาสาระสำหรับการสอนแล้ว การจัดลำดับเป็นส่ิงสำคัญเชน่ กัน เพ่ือเอื้ออำนวยต่อ
การเกิดการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีประสทิ ธิภาพ มีนักการศึกษาได้ให้แนวทางในการจัดลำดบั เนื้อหา
ดงั น้ี
Print (1993) เสนอแนวทางที่ใช้ในการพิจารณาอยู่ 2 มิติ ได้แก่ มิติด้านขอบเขตของเนื้อหา
(Scope) และมิตดิ า้ นลำดับของเนื้อหา (Sequence) ดังต่อไปนี้
1. ขอบเขตของเน้ือหา (Scope) หมายถึง ความกว้างและความลึกของเนื้อหาท่ีเรียนใน
ชว่ งเวลาหน่ึง ๆ ในการพิจารณาขอบเขตเนื้อหาผู้สอนอาจใช้แนวคำถามต่อไปนี้ในการรวบรวมข้อมูล
เพื่อกำหนดเป็นขอบเขตของเน้ือหา
1) ในสดั ส่วนของเวลาที่จดั ไว้ มีเนอ้ื หาอะไรบา้ งทน่ี ักเรียนควรเรียนรู้
2) ในเรอ่ื งที่จัดให้เรียน ควรมีรายละเอยี ดอะไรบา้ ง
3) เนอ้ื หาอะไรท่ีไมจ่ ำเปน็ ต้องบรรจไุ วใ้ นหลักสตู ร
2. ลำดับของเนอื้ หา (Sequence) หมายถงึ ลำดับก่อนหลังของเนอื้ หาที่นำเสนอต่อผู้เรียนใน
ช่วงเวลาหนึ่งๆ ในการพจิ ารณาจดั ลำดบั เน้ือหาผู้สอนอาจใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้
1) อะไรคือเกณฑ์ท่ีใชใ้ นการกำหนดลำดับของเนอื้ หา
2) ควรจัดเนื้อหาอะไรไว้กอ่ น อะไรไวห้ ลังเพราะอะไร
3) นักเรยี นควรไดร้ ับความรู้นั้นเมือ่ ไร
นอกจากนี้มีการอธบิ ายถึงเกณฑท์ ีใ่ ชใ้ นการจดั ลำดับก่อนหลงั ของเน้ือหาท่นี ยิ มใชแ้ บง่ ได้ดงั นี้
1. จากง่ายไปยาก (Simple to complex) เป็นเกณฑ์แบบด้ังเดิมที่ยังคงนิยมใช้กันโดยมี
ความเชื่อว่า เราสามารถจัดเนื้อหาเป็นข้ันตอนจากเรื่องที่ง่ายและเป็นพื้นฐานไปสู่ส่ิงที่ยากหรือ
ซับซ้อน การจัดเน้ือหารูปแบบน้ีมักพบในวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หลักภาษา ดนตรี
ภาษาตา่ งประเทศ เปน็ ต้น
29
2. การเรียนรู้พ้ืนฐานท่ีต้องมีมาก่อน (Prerequisite learnings) การจัด ลำดับเนื้อหาโดย
ความเชื่อที่ว่า การเรียนรู้กฎข้อต่อไป ผู้เรียนจำเป็นต้องรู้กฎที่มีมาก่อนเป็นพื้นฐาน มักใช้กับ
เน้ือหาวชิ าทเี่ ต็มไปดว้ ยกฎและหลกั การ เชน่ ฟสิ ิกส์ ไวยากรณ์ และเรขาคณติ เป็นต้น
3. ตามลำดับเวลาของเหตุการณ์ (Chronology) เป็นการจัดเนื้อหาซ่ึงเป็นไปตามบันทึก
เหตุการณ์ พบในวิชาประวัติศาสตร์ ประวัติดนตรี วรรณคดี พัฒนาการด้านวิทยาศาสตร์ การจัด
เน้อื หาในลักษณะนีอ้ าจจัดในลักษณะเร่ิมจากปัจจุบันย้อนไปสู่อดีตหรืออดีตมาสู่ปจั จุบนั ก็ได้
4. ส่วนรวมไปสู่ส่วนย่อย (Whole to parts) การจัดเนื้อหาตามเกณฑ์นี้อยู่บนหลักเหตุผล
ท่ีว่า การเรียนรู้เร่ืองราวโดยรวมก่อนจะช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ของส่วนย่อยและนำไปสู่ความเข้าใจ
รายละเอียดได้ดีเม่ือเรียนรู้ส่วนย่อย ตัวอย่างการเรียนรู้เน้ือหาในรูปแบบนี้ ได้แก่ การเรียนวรรณคดี
เร่ิมจากการอ่านให้เข้าใจเรื่องทั้งหมดก่อน จึงวิเคราะห์องค์ประกอบย่อยของวรรณคดี เพ่ือเรียนรู้
ความหมายของศพั ท์ หลักไวยากรณ์ หลกั การแต่งบทประพนั ธ์ เป็นตน้
5. จากรูปธรรมไปสู่นามธรรม (Increasing abstraction) การจัดเน้ือหาในลักษณะนี้จะช่วย
ให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนได้ง่าย คล้ายเกณฑ์ข้อท่ี 1 เหมาะสำหรับการเรียนรู้
ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม ซ่ึงต้องการคำอธิบาย ผู้สอนอาจเริ่มต้นจากตัวอย่างของจริงเพื่อ
นำไปสกู่ ารสรปุ อา้ งองิ ไปสขู่ อ้ ความทีเ่ ปน็ หลกั การทั่วไป
6. การจัดลำดับแบบก้าวเวียน (Spiral sequencing) เป็นวิธีการจัดเนื้อหาที่ผู้เรียนได้รับ
แนวคิดพื้นฐานของเน้ือหาซ้ำ เพื่อสร้างความเข้าใจพื้นฐานและความคิดรวบยอดที่ต่อยอดข้ึนไปใน
ท่ีสุดผู้เรียนก็จะรู้และเข้าใจความคิดรวบยอดทั้งหมดที่เชื่อมโยงกัน การจัดเน้ือหาแบบก้าวเวียนนี้จะ
พบในการจัดหลักสูตรที่จัดให้เรียนในหัวข้อเรื่องเดิมท่ีซ้ำกันในแต่ละช่วงชั้น แต่มีความแตกต่างกันใน
ความคิดรวบยอดท่ีเพิ่มขึ้นในแต่ละช่วงชั้นท่ีสูงขึ้น เช่น ในช่วงช้ันที่ 1 นักเรียนได้เรียนเรื่อง
ส่ิงแวดล้อมใกล้ตัว ได้แก่ ครอบครัวและโรงเรียน เม่ือถึงช่วงที่ 2 นักเรียนจะได้เรียนสิ่งแวดล้อม
เช่นเดียวกับในชั้นที่ 1 แต่เป็นสิ่งแวดล้อมท่ีเกี่ยวกับชุมชนและประเทศ เม่ือถึงช่วงช้ันท่ี 3 การเรียน
เร่ืองสิ่งแวดล้อมจะช่วยขยายประสบการณ์ของนักเรียนมากขึ้น เป็นเร่ืองของประเทศเพ่ือนบ้านและ
โลกของเรา เป็นตน้ ในแต่ละช่วงชน้ั ก็จะตอกย้ำถึงความตระหนักในบทบาทหน้าท่ีของผเู้ รียนในฐานะ
เป็นสมาชกิ ของครอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชน ประเทศ และโลก ตามลำดับ เปน็ ตน้
สมชาย รัตนทองคำ (2545) ได้แนะนำว่า การจดั ลำดับเนอื้ หาควรคำนึงถึงสงิ่ เหล่านี้ ได้แก่
1. เรมิ่ จากง่ายไปหายากหรือจากส่ิงท่ไี ม่ซับซ้อนไปสสู่ ่งิ ท่ซี ับซอ้ นย่ิงขนึ้
2. จัดใหเ้ รียนสว่ นรวมก่อนสว่ นย่อย
3. จดั ใหเ้ รียนจากสิ่งทเี่ ปน็ รูปธรรมไปสนู่ ามธรรม
4. จดั ใหเ้ รียนรู้ความรูพ้ น้ื ฐานกอ่ ไปสู่ความร้ขู ั้นสูง
5. จดั ให้เรียนตามลำดับเวลาอย่างต่อเนื่อง จากอดตี มาหาปจั จุบัน หรือจากในปจั จบุ ันไปหา
อดีต
สรปุ ได้วา่ การคัดเลือกเนื้อหาทีจ่ ะนำมาใช้ในการสอนการฟงั ผู้สอนควรคำนึงถงึ ขอบเขตของ
เนอ้ื หา ที่มีความสำคัญตอ่ ผู้เรยี น เหมาะสมกบั ความสามารถของผู้เรียน นอกจากนี้ต้องเป็นเน้ือหาท่ีมี
การเรียงลำดับจากงา่ ยไปสู่สิ่งท่ียากย่ิงข้ึน เนื้อหาจากรปู ธรรมไปสู่นามธรรม รวมไปถึงการเรียงลำดับ
เรื่องราวท่ีมีความต่อเน่ืองสัมพันธ์กัน เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
30
3.เอกสารเกีย่ วกบั การพูดเพื่อการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ
3.1 ความหมายและความสามารถในการพูดเพอ่ื การสอื่ สารภาษาองั กฤษ
การพูดเป็นทักษะที่จำเป็นอย่างย่ิงในการเรียนภาษาเพ่ือการสื่อสาร ผู้พูดจะต้องใช้
ความสามารถทางด้านภาษาหลายด้านประกอบกัน เพ่ือให้ผู้ฟังเข้าใจ โดยจะต้องถ่ายทอดความรู้สึก
นึกคิดของผู้พูดที่จะพูดให้ผู้ฟังสามารถฟังเข้าใจ ผู้พูดท่ีดีจะต้องพูดให้เหมาะสมกับโอกาสและ
สถานการณต์ ่าง ๆ และมีความคลอ่ งแคลว่ ในการพูด โดยการเลอื กใช้คำพูดทถี่ ูกตอ้ ง
สุมิตรา อังวัฒนกุล (2540 หน้า 167) กล่าวว่า การพูดเป็นการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
ความเข้าใจให้ผู้ฟังได้รับรู้และเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้พูด โดยใช้กลวิธีในการพูดท่ีทาให้การส่ือสารมี
ประสิทธภิ าพ
อวยชัย ผกามาศ (2542 หน้า 1-2) กล่าวถึง ความหมายของการพูดไว้ว่า การพูดคือการ
ส่อื สารทางความคิด ประสบการณ์และความต้องการของผู้พูดไปสู่ผู้ฟัง เพื่อส่ือความหมายให้ผฟู้ ังเกิด
ความเขา้ ใจ โดยใช้น้าเสียง ภาษา และกริยาท่าทาง ได้อยา่ งถกู ต้องตามจรรยามารยาท และประเพณี
นิยมของสงั คมให้ผู้ฟังรับร้แู ละได้รบั การตอบสนอง
สรปุ ได้วา่ การพดู หมายถงึ การใช้ความสามารถทางด้านภาษา รวมถึงท่าทาง ความรสู้ ึกนึกคิด
ท่ีจะถ่ายทอดให้ผู้ฟังเข้าใจ โดยมีจุดมุ่งหมายที่สำคัญคือ เพื่อแลกเปล่ียนข่าวสารข้อมูลระหว่างบุคคล
ตั้งแต่สองคนขน้ึ ไป การพูดทมี่ ีประสิทธภิ าพนั้น ผ้พู ูดจะตอ้ งเลือกใช้ถ้อยคำน้ำเสียง รวมถึงอากัปกรยิ า
ในการพูด (Non-Verbal Language) เพื่อประกอบการพูดให้สอดคล้องได้อย่างเหมาะสมถูกต้องกับ
โอกาส และวัฒนธรรมตลอดจนประเพณีนิยมของสังคม
ความสามารถในการพดู เพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ
จุดมุ่งหมายของการสอนภาษาในการพูดเพื่อการส่ือสารนั้น คือ ให้ผู้เรียนมีความรู้
ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการส่ือความหมายได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกับกาลเทศะ
ดงั เชน่
Bartz (1994: 18-82) กลา่ วถงึ องคป์ ระกอบของความสามารถในการพูดเพ่ือการสือ่ สารคือ
1. ความคลอ่ งแคล่ว (Fluency) และมคี วามเขา้ ใจธรรมชาติในการพดู
2. ความเข้าใจ (Comprehensibility) คือ ความสามารถที่จะพูดให้ผู้อ่ืนเข้าใจในส่ิงท่ีผู้พูด
สอ่ื สารออกมา
Canale แ ล ะ Swain (1 9 8 0 : 1 4 7 ) ก ล่ า ว ว่ า ค ว า ม ส า ม า รถ ใน ก า ร อ อ ก เสี ย ง
(Pronunciation) คำศพั ท์ (Vocabulary) และหลักภาษาและไวยากรณ์ (Grammar) เปน็ สงิ่ สำคัญ ท่ี
จะทำให้ ผู้ฟั งสามารถเข้าใจข้อความท่ี ใช้ใน การส่ือสารได้อย่างมีคุณ ภ าพ ( Quality of
communication) องค์ประกอบเหล่านี้จะทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างประโยคท่ีเช่ือมโยงกัน ซึ่ง
จะทาใหก้ ารสนทนาเป็นไปอยา่ งต่อเนื่องจะต้องมีความสามารถดังต่อไปนี้
1. ความสามารถด้านไวยากรณ์(Grammatical Competence) ความสามารถในด้านนี้มิได้
เพียงแต่ความสามารถในการเข้าใจและใช้ไวยากรณ์เท่านั้น จะต้องมีความสามารถในองค์ประกอบ
ท้งั หมดทางดา้ นภาษา คอื เสียง คำศัพท์และไวยากรณ์เนือ่ งจากผู้พดู จะสามารถเลือกใช้ถอ้ ยคำในการ
พดู เพอื่ การสอ่ื สารได้อยา่ งถูกต้องและตรงกบั ความต้องการ
2. ความสามารถด้านภาษาศาสตร์สังคม (Sociolinguistic Competence) ผู้พูดสามารถ
เลือกแบบของภาษาให้สัมพันธ์กับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งสามารถพูดสนทนาเพื่อสร้าง
ความสัมพันธ์ทางสังคมตลอดจนจุดประสงค์ในการสง่ สาร ผู้ท่มี ีความสามารถทางด้านนี้จะสามารถใช้
31
ภาษาทแี่ ตกต่างไปตามประเภทของการพูด เชน่ การอภิปราย การเสนอความคิด หรอื การโตว้ าทเี ป็น
ตน้
3. ความสามารถในการใช้ความสัมพันธ์ของข้อความหรือการเชื่อมประโยค(Discourse
Competence) ตามหลักภาษา หากผู้พูดมีความสามารถทางด้านน้ีจะทาให้ผู้พูดสามารถใช้ภาษาใน
การสนทนา ลำดับก่อน-หลัง และสานวนท่ีผู้พูดใช้เพื่อแสดงความคิดเห็นมีความเช่ือมโยงสัมพันธ์กัน
จึงทำให้การสนทนาดำเนินไปได้อย่างราบร่ืน
4. ความสามารถด้านกลวิธีในการสื่อสาร (Strategic Competence) ในการพูดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพนั้น ผู้พูดจะต้องมีกลวิธีในการสื่อสาร จึงจะทาให้ผู้พูดเพ่ิมศักยภาพทางการพูดเพื่อการ
ส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าผู้พูดมีความรู้ทางด้านไวยากรณ์ไม่ดีพอ หากใช้กลวิธีในการ
แกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ ง ๆ ก็จะทาใหผ้ ้พู ดู สามารถดาเนินการสนทนาส่ือสารกับผอู้ ื่นได้เป็นอย่างดี
Carrall (1982: 135) ได้จัดลาดับความสามารถของทักษะทางการพูดไว9้ ระดับ ดังนี้คอื
ระดับที่ 1 หมายถึง ระดับที่ผู้พูดไมส่ ามารถเข้าใจหรือพดู ไมไ่ ดเ้ ลย (Non-User)
ระดบั ท่ี 2 หมายถงึ ระดับทผ่ี ู้ใชภ้ าษาไดเ้ ล็กน้อย (Intermittent User)
ระดับที่ 3 หมายถงึ ระดับที่ผู้ใช้ภาษาไดใ้ นวงจากัด ผพู้ ดู เกิดความผดิ พลาดบ่อย ๆ
เข้าใจบทสนทนาและรู้รายละเอยี ดบางสว่ น ไม่สามารถจับรายละเอียดได้จับได้แต่ใจความสำคญั
เทา่ น้ัน (Extremely Limited User)
ระดบั ที่ 4 หมายถงึ ระดับท่ีผู้พดู ใชภ้ าษาเกอื บดสี ามารถสนทนาโต้ตอบได้แต่ไม่
คล่องแคลว่ ไมส่ ามารถนาการสนทนา หรือ อภิปรายได้อยา่ งรวดเร็ว จงึ ทาใหก้ ารสนทนาขาดความ
ตอ่ เน่ือง (Marginal User)
ระดบั ที่ 5 หมายถึง ระดับทีผ่ ู้พดู ใชภ้ าษาไดป้ านกลาง สามารถส่ือความหมาย
ใจความหลัก แต่ยังมขี ้อผดิ พลาดในการใช้ไวยากรณจ์ ึงทาให้การสือ่ สารไม่ชัดเจน ขาดความ
คลอ่ งแคลว่ ในการใชภ้ าษา และทา่ ทางประกอบการพูด (Modest User)
ระดับที่ 6 หมายถงึ ระดับทผ่ี ู้พูดใชภ้ าษาไดส้ ามารถคุยในหัวข้อทตี่ ้องการ และ
ปะตดิ ปะต่อเร่ืองราวที่พูดไดห้ รือ เปล่ียนหวั ข้อท่ีพูดได้มีการหยุดพูด หรือ พูดไมต่ ่อเนื่องในการ
สนทนาเป็นบางคร้งั แต่ก็สามารถเรม่ิ ตน้ การสนทนาใหม่ได(้ Competence User)
ระดบั ที่ 7 หมายถึง ระดับท่ีผู้พดู ใช้ภาษาได้ดีสามารถเลา่ เรื่องราวตา่ ง ๆ ได้อยา่ ง
ชดั เจน มีการเกบ็ รายละเอียด มเี หตุผล สามารถสนทนาได้เปน็ เรื่องราว แต่ยงั ขาดความคล่องแคลว่ มี
ความสามารถในการตดิ ตามการสนทนาเมื่อเกดิ การเปล่ยี นแปลงอารมณ์ส่วนน้าเสียงยงั ขาดความ
ม่ันใจ มีการพูดซ้ำข้อความ แตส่ ามารถโต้ตอบได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (Good User)
ระดับท่ี 8 หมายถงึ ผูพ้ ูดใช้ภาษาได้ดีมาก สามารถพดู หรอื อภปิ รายอย่างมี
ประสิทธิภาพ สามารถนาการสนทนาและดาเนินการสนทนาไดอ้ ย่างต่อเน่ือง ตลอดจนมีอารมณ์รว่ ม
ในการโตต้ อบ และใช้กรยิ าท่าทางได้อย่างเหมาะสม (Excellent User)
ระดับที่ 9 หมายถึง ผพู้ ูดใช้ภาษาได้อย่างเชย่ี วชาญ สามารถพดู ไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ สามารถดาเนนิ การสนทนาได้อย่างตอ่ เนื่อง ขยายความไดต้ ลอดจนสามารถพดู ได้
ใจความสำคญั (Expert User)
สรปุ วา่ ความสามารถในการพดู ประกอบด้วย การเลือกใช้ค า ประโยค ใหเ้ หมาะสม
กบั สถานะทางสงั คมของผู้พูดและผู้ฟัง มีความคล่องแคลว่ มีความตั้งใจในการส่ือสารตลอดจนมกี ลวิธี
การเลือกกลวิธใี นการส่อื สารเพ่ือแกไ้ ขข้อบกพร่องทางการสอ่ื สาร ซึง่ นับว่าเปน็ สว่ นสำคัญในการพดู
32
เพอ่ื การสือ่ สารทีผ่ ู้พดู สามารถใชภ้ าษาในการสื่อสารให้ผู้ฟังเกดิ ความเขา้ ใจตรงกบั สง่ิ ที่ผู้พูดต้องการสอื่
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
3.2 การวดั และประเมนิ ความสามารถในการพูดเพือ่ การสื่อสาร
1.วิธีการทดสอบความสามารถด้านการพูดการทดสอบความสามารถด้านการพูดเพื่อการ
ส่อื สารนั้น Finocehiaro และ Sango(1983: 139-143) ได้เสนอวธิ ีการทดสอบความสามารถทางด้าน
การพูดไวด้ ังต่อไปนี้
1. พดู ประโยคสนั้ ๆ ตามผูส้ อน หรอื ตามที่ได้ยนิ จากเครือ่ งบันทึกเสยี ง
2. ให้อา่ นออกเสยี งประโยคตา่ ง ๆ
3. ให้บรรยายวัตถุวัตถุท่ีใช้บรรยายขึ้นอยู่กับระดับของผู้เรียน ผู้เรียนอาจพูดถึง
ข้อมูลอื่น ๆ ของวัตถุแต่มีข้อห้ามไม่ให้บอกชื่อวัตถุหรือส่ิงที่เห็น โดยให้ผู้ฟังเป็นผู้เดาว่าสิ่งท่ีผู้พูด
กลา่ วถงึ นน้ั คืออะไร และสามารถบรรยายภาพบคุ คล สถานที่ หรือ สง่ิ ของอ่ืน ๆ ได้
4. ให้บรรยายเหตุการณโ์ ดยใช้ภาพประกอบ
5. ให้พูดตามหัวข้อท่ีกำหนด โดยมีการกำหนดไว้หลายหัวข้อ และให้ผู้เรียนเลือก
หัวข้อไดต้ ามทต่ี ้องการ
6. ให้ผู้เรียนแสดงเป็นผู้สัมภาษณ์โดยให้หาข้อมูลให้ได้มากท่ีสุดจากผู้ถูกสัมภาษณ์
แลว้ ทำการจดบนั ทึกไวก้ ารทดสอบความสามารถด้านการพูดเพื่อการสือ่ สารน้นั สามารถทาได้หลายวิธี
เชน่ การสัมภาษณ์การบรรยาย การเล่าเร่อื ง การโต้วาทหี รือ การแสดงบทบาทสมมตจิ ากสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ท่ีกำหนดให้จากวธิ ีการต่าง ๆ เหล่านี้ผสู้ อนจะต้องเป็นผู้เลือกการทดสอบที่เหมาะสมกับระดับ
ความสามารถของผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของผู้สอน
สำหรับการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกทดสอบความสามารถในการพูดเพื่อการสื่อสารจากแบบฝึกการ
สนทนาภาษาอังกฤษ
2. เกณฑ์การประเมนิ ความสามารถด้านการพดู
การประเมินความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สารตอ้ งคำนงึ ถึงองค์ประกอบ
ความสามารถด้านการพดู เพื่อวดั ความรคู้ วามสามารถของผเู้ รียนในหลายๆ ดา้ น เช่น การพูด การ
ออกเสียง ไวยากรณ์คาศพั ทค์ วามเขา้ ใจและความคล่องแคลว่ ในการใชภ้ าษา ซ่งึ สามารถทำไดห้ ลายวิธี
โดยสามารถดาเนินการได้ตง้ั แต่ข้นั ก่อนเรียน ระหว่างเรยี น และหลังเรียน โดยใหส้ อดคล้องกับเนื้อหา
สาระท่ผี ู้เรยี นได้เรยี นมาแลว้ ดงั นัน้ ผู้เช่ียวชาญหลายท่านได้ใช้องคป์ ระกอบดงั กลา่ วขา้ งต้น มาใช้เป็น
เกณฑ์การประเมินวดั ความสามารถ โดยแบ่งเป็นระดบั ดังเชน่
Clark (1972) กล่าวถงึ ระบบการให้คะแนนวดั ความสามารถ โดยแบง่ ออกเปน็ 4
ระดบั เริม่ จากระดบั ที่ 1 จนถึงระดบั ที่ 4 โดยแบ่งเปน็ หวั ข้อดังต่อไปนี้
การออกเสยี ง (Pronunciation)
ระดับท่ี 1 ยังพูดและโต้ตอบการสนทนาไม่ได้
ระดับท่ี 2 ออกเสยี งผดิ บอ่ ยมาก และฟงั ไมเ่ ข้าใจ
ระดับที่ 3 ออกเสียงผิดเป็นบางครัง้
ระดับท่ี 4 ออกเสียงถูกตอ้ งพูดได้
คำศัพท์(Vocabulary)
ระดับท่ี 1 ใชค้ ำศัพทผ์ ดิ และโตต้ อบการสนทนาไม่ได้
33
ระดับที่ 2 ใชค้ ำศพั ท์ผิดบอ่ ยมาก แตใ่ ช้ถูกต้องในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้
ระดบั ที่ 3 สื่อความหมายได้เป็นสว่ นใหญ่ เลือกใช้คำศัพทไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ระดับท่ี 4 ส่อื ความหมายไดแ้ ละใชค้ ำศัพท์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สถานการณ์
ไวยากรณ์(Grammar)
ระดับที่ 1 ใชโ้ ครงสรา้ งไวยากรณผ์ ดิ ไมส่ ามารถสอ่ื สารได้
ระดบั ที่ 2 ใชไ้ วยากรณเ์ บื้องต้นผิด วลถี กู ต้องบา้ ง
ระดับที่ 3 ใช้โครงสรา้ งทางไวยากรณ์ได้อยา่ งถูกตอ้ ง มขี ้อผิดพลาดเล็กน้อย
ระดับท4ี ไม่มีขอ้ ผดิ พลาดท้ังในการเลือกใช้คาศัพท์และโครงสร้างทางภาษา
ความคล่องแคลว่ (Fluency)
ระดับที่ 1 พูดแลว้ หยดุ คิดนาน พูดไม่ต่อเน่ือง โตต้ อบการสนทนาไม่ได้10
ระดบั ที่ 2 โต้ตอบสนทนาไมไ่ ด้แต่พยายามพูดตอ่ โดยการเริม่ ต้นใหม่
ระดบั ที่ 3 พูดตอ่ เนอ่ื ง ราบร่นื เปน็ ธรรมชาติแตก่ ม็ สี ะดดุ เปน็ บางครงั้
ระดับท่ี 4 พดู ต่อเนอ่ื ง ราบรน่ื เป็นธรรมชาตมิ คี วามคล่องแคลว่ ต่อเน่ืองในการ
สนทนา หยุดได้ถูกจงั หวะเช่นเดียวกับเจา้ ของภาษา
Harris (1990 : 84) กล่าวถึงเกณฑ์การประเมินผลความสามารถในการพูด โดยแบ่งเกณฑ์
การใหค้ ะแนน 5 อย่างคือ การออกเสยี ง ไวยากรณ์คาศัพท์ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา และความ
เขา้ ใจ โดยแต่ละเกณฑม์ ีการประเมินผล 5 ระดับ ดงั น้ี
1. การออกเสียง (Pronunciation)
ระดบั ที่ 1 มีปัญหาทางการออกเสยี งมาก จึงท าให้ไม่สามารถเขา้ ใจในสงิ่ ที่พูด ได้เลย
ระดับท่ี 2 มีปัญหาในการออกเสียงมาก ยากแก่การทำความเขา้ ใจในคำพดู ได้ผ้ฟู ังจะต้อง
ถามซ้ำ
ระดับที่ 3 มีปัญหาในการออกเสยี งน้อย ผู้ฟังจะตอ้ งตง้ั ใจฟังจึงจะสามารถเข้าใจไดม้ ีการ
ออกเสยี งผดิ ทำใหผ้ ู้ฟังสบั สนในบางครั้ง
ระดับที่ 4 ผพู้ ดู ออกเสียงไดด้ ีแต่ก็มีปญั หาในการออกเสียงอยู่บา้ ง แต่ผู้ฟงั สามารถฟงั
เข้าใจในสง่ิ ทีผ่ ู้พูดต้องการสื่อสาร
ระดับท่ี 5 ผ้พู ูดสามารถออกเสียงไดด้ ีเทยี บเท่ากับเจ้าของภาษา
2. ไวยากรณ์(Grammar)
ระดบั ท่ี 1 ผู้พูดไม่สามารถส่ือความหมายใหเ้ ขา้ ใจได้เนอื่ งจากใชไ้ วยากรณผ์ ิด และ
เรียงลำดบั คำไมถ่ ูกต้อง
ระดับที่ 2 ผู้พดู ใช้ไวยากรณง์ ่ายๆ ได้แต่มักจะใชไ้ วยากรณ์และการเรยี งลำดับคำผดิ บ่อย
ๆ ทำให้ฟังเขา้ ใจยาก
ระดบั ที่ 3 ผูพ้ ูดใชไ้ วยากรณ์ผิดบอ่ ยครัง้ จนทำใหเ้ ขา้ ใจความหมายของประโยคท่ีพดู ผิด
ไป
ระดบั ท่ี 4 ผูพ้ ูดใชไ้ วยากรณผ์ ดิ อยู่บ้าง แต่ส่ือความหมายได้ถูกต้อง
ระดับที่ 5 ผู้พูดใช้ไวยากรณ์ตลอดจนเรียงลำดบั คำโดยมีข้อผดิ พลาดนอ้ ยมาก และ
สามารถแก้ไขขอ้ บกพร่องใหม่ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
3. คำศัพท์(Vocabulary)
ระดบั ที่ 1 ผพู้ ดู ไมส่ ามารถส่ือความหมายได้เพราะไม่มีความรู้ดา้ นคำศัพท์
34
ระดบั ที่ 2 ผพู้ ดู ใช้คำศัพทผ์ ิด เนอื่ งจากมีความร้ดู ้านคาศัพท์อยา่ งจำกัด ทำให้ยากแก
การทำความเขา้ ใจความหมายของประโยคที่พูด
ระยะท่ี 3 ผู้พูดใช้คำศัพท์ผิด ในประโยคทใี่ ช้ในการสนทนา เน่ืองจากผู้พดู มปี ญั หาใน
การคิดหาคำศัพท์มาใช้ในการส่ือสาร
ระยะที่ 4 ผพู้ ดู ใชค้ ำศพั ท์ไม่ถูกต้อง และไมเ่ หมาะสมกับสถานการณ์เปน็ บางครัง้
ระยะที่ 5 ผู้พดู มีความสามารถในการใช้คำศัพทว์ ลแี ละสำนวนไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว
เทียบเท่าเจา้ ของภาษา
4. ความคลอ่ งแคล่วในการใชภ้ าษา (Fluency)
ระดับท่ี 1 ผู้พูดมีการหยุดเวน้ ช่องในการสนทนาเป็นเวลานานมาก จึงทำใหก้ ารสนทนา
ไม่รเู้ รอ่ื ง ระดบั ท่ี 2 ผ้พู ดู มีการหยุดเวน้ ชอ่ งในการสนทนา บ่อยครั้งเพราะมคี วามรู้จำกัดในการใช้
ภาษา ระดับท่ี 3 ผู้พดู มีความคลอ่ งแคลว่ ในการพูดไม่มากนัก เนื่องจากติดขดั เร่ืองการใช้ภาษา
ระดับท่ี 4 ผพู้ ดู มคี วามเร็วและความคลอ่ งแคลว่ ในการพูด แตม่ ีการสะดดุ เปน็ บางครัง้
ระดับท่ี 5 ผ้พู ูดมีความสามารถในการพูดอย่างคล่องแคลว่ เทยี บเท่าเจ้าของภาษา
5. ความเข้าใจ (Comprehension)
ระดับท่ี 1 ผฟู้ ังไมส่ ามารถเข้าใจในสงิ่ ทีผ่ ูพ้ ดู ส่ือสาร ผพู้ ูดไม่สามารถพดู ภาษาอังกฤษ เพ่ือ
สื่อความหมายใหเ้ ขา้ ใจได้
ระดบั ที่ 2 ผพู้ ดู ตดิ ขดั ในการพูด มกั จะพูดซ้ำ ๆ เน่ืองจากใช้เวลาในการหาคำพูด
ระดับท่ี 3 ผูพ้ ูดเขา้ ใจในสงิ่ ทีต่ นพดู และพูดสนทนาได้เปน็ ส่วนมาก แตค่ ่อนข้างชา้
ระดับที่ 4 ผ้พู ูดสามารถพูดให้ผฟู้ งั เข้าใจได้ครบถ้วน แต่มีการพูดข้อความซ้ำเปน็ บางคร้งั
ระดับท่ี 5 ผู้พูดสามารถสื่อสารใหผ้ ูฟ้ ังเขา้ ใจได้ท้งั หมด โดยไมม่ ีปัญหา
สรุปไดว้ า่ จากข้อมูลดังกลา่ วส่ิงทใ่ี ช้ในการประเมินระดบั ภาษาท่ีใชท้ ักษะการพูดเพื่อการ
สือ่ สาร สามารถประเมินไดจ้ าก การออกเสยี งได้อย่างเหมาะสม การเลือกใชค้ าศัพทไ์ ด้อย่างเหมาะสม
กับสถานการณก์ ารใช้ไวยากรณไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง มคี วามคล่องแคลว่ ในการพดู และเกิดความเขา้ ใจใน
การสอ่ื สารระหว่างผู้พดู และผ้ฟู งั ในการวิจัยครัง้ นผี้ ู้วจิ ัยได้ศึกษาเกณฑ์การประเมินผลความสามารถ
ในการพูดของ Harris มาปรับใชเ้ พื่อใหเ้ หมาะสมกบั การพัฒนาความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษ
โดยการใชแ้ บบฝึกบทสนทนาภาษาอังกฤษ
4. เอกสารเก่ยี วกบั การนาํ ภาพยนตร์มาใชใ้ นการเรียนการสอน
ในปัจจบุ ันมีสอ่ื ประกอบการจัดการเรยี นการสอนหลากหลายรูปแบบทีอ่ ำนวยความสะดวกใน
การจัดการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น และช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ซึ่งภาพยนตร์
เป็นสื่อประเภทหนึ่งท่ีสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้ เน่ืองจากมีทั้งเสียง
ภาพเคลื่อนไหว และความบันเทิง อีกทั้งในปัจจุบันมีการผลิตภาพยนตร์หลากหลายประเภทตาม
วัตถุประสงค์ในการใช้งาน เช่น ภาพยนตร์เพื่อการศึกษาที่มุ่งเน้นเนื้อหาสาระให้กับผู้ชมหรือผู้ฟัง
ภาพยนตรเ์ พ่ือการโฆษณา ภาพยนตร์เพ่อื ความบนั เทิง เปน็ ต้น
4.1 ความหมาย ความสำคัญ ทฤษฎีท่เี กีย่ วข้องและประเภทของภาพยนตร์
การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ จำเป็นต้องมีการคัดเลือกส่ือการสอนท่ีมีคว าม
หลากหลาย น่าสนใจ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ทั้งน้ีเพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้กับ
ผู้เรียน และส่ือที่มีการนำมาประยุกต์ใช้ในการสอนภาษาอังกฤษ ได้แก่ ภาพยนตร์ ที่มีเน้ือหา
35
เหมาะสมกับวัยและสอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน ซึ่งมีการบัญญัติความหมายและคำจำกัด
ความของภาพยนตร์ ดังนี้
นิพนธ์ คุณารักษณ์ (2552) กล่าวว่า ภาพยนตร์ หมายถึง สิ่งที่เป็นงานศิลปะเป็นวัฒนธรรม
และเป็นส่ือสารมวลชนอย่างหน่ึง ซึ่งมีบทบาทในการสื่อสาร อันได้แก่ ข้อมูล เรื่องราว ความรู้
ความหมาย ความคิด ตลอดจนอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ไปสู่ผู้ชม ภาพยนตร์สามารถส่ือสารและ
เขา้ ถงึ ได้ทกุ เพศทุกวยั ทุกชาติ ทุกภาษาและทุกวัฒนธรรมได้ เนื่องจากภาพยนตร์นั้นส่ือความหมายท่ี
เปน็ ภาษาสากล โดยใชภ้ าพ (Image) และเสยี ง (Sound) เป็นหลกั
พจนานกุ รมศัพท์เทคโนโลยที างภาพ (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2556) ระบวุ า่ ภาพยนตร์ เปน็ คำที่
ใช้เรียกรวมสำหรับการถ่ายภาพทำและฉายภาพเคล่ือนไหวใด ๆ ไม่ว่าจะทำเพ่ือความบันเทิง สารคดี
การศึกษา ภาพยนตรท์ ดลอง และภาพยนตรช์ ีวลักษณ์ เป็นตน้
พรสิทธ์ิ พัฒนธนานุรักษ์ และคณะ (2558: 31) กล่าวว่า ภาพยนตร์เป็นมหรสพที่นำฉายให้
สาธารณชนได้เห็นภาพหรือเหตุการณ์เคล่ือนไหวได้บนจอ เป็นการสร้างความบันเทิง ภาพยนตร์จึงมี
บทบาทหน้าท่ใี นการเปน็ สอ่ื มวลชนที่ใหค้ วามบนั เทงิ เน่ืองจากเป็นส่ือผสมท่รี ับรไู้ ด้จากการเห็นภาพท่ี
เคลื่อนไหว มีการแสดงตามลีลานาฏศิลป์แบบต่าง ๆ ให้สมจริง โดยมีเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงสนทนา
เสียงบรรยายเสียงดนตรีและเพลง การเล่าเรื่องหรือการผูกเร่ืองราวท่ีนำมาสร้างนั้นมันเป็นเน้ือหาที่
สามารถรบั ร้ไู ด้งา่ ย
สรปุ ได้วา่ ภาพยนตร์ หมายถึง การบันทึกภาพเคลอ่ื นไหว ท่ีมีลักษะเป็นการเล่าเรื่องอาจเป็น
เร่ืองราวท่ีเกิดขึ้นจริงหรือการแสดงตามบริบทต่าง ๆ ในช่วงเวลาท่ีกำหนด เพื่อสื่อถึงสาระความรู้
ความหมาย ความคิด รวมทั้งอารมณ์ความรู้สกึ ต่าง ๆ ไปยังผู้ชม อกี ทั้งภาพยนตร์สามารถสื่อสารและ
เข้าถึงได้ทุกเพศทุกวยั ทุกชาติ ทุกภาษาและทุกวัฒนธรรมได้ เนื่องจากภาพยนตรน์ ้ันสื่อความหมายที่
เปน็ ภาษาสากล โดยใชภ้ าพ (Image) และเสียง (Sound)
ความสำคญั ของภาพยนตรท์ ่ีมีต่อการจดั การเรียนการสอน
ในปัจจุบันส่อื การสอนมีความหลากหลายมากขน้ึ นอกเหนือจากสื่อสงิ่ พิมพ์ในรูปแบบหนังสือ
หรือแบบเรียนเท่านั้น ภาพยนตร์ ถือได้ว่าเป็นสื่อหน่ึงที่เข้ามามีบทบาทในการเรียนการสอนมากข้ึน
โดยเฉพาะการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ทักษะทางภาษา น้ำเสียง ท่าทาง รวมไป
ถึงวัฒนธรรมของเจ้าของภาษานั้นๆ เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ภาษาอย่างมีประสิทธิภาพ จากการศึกษา
เก่ียวกับการใช้ภาพยนตร์ในการสอนภาษาอังกฤษนักการศึกษาได้กล่าวถึงความสำคัญของภาพยนตร์
ที่มตี อ่ การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ ดงั น้ี
Herron et al. (1995: 775) กล่าวว่า ภาพยนตร์ได้รับยกย่องว่าใช้ภาษาตามบริบทจริง
กล่าวคือ เป็นการใช้ภาที่เช่ือมโยงกับความหมายท่ีต้องการจะสื่อถึง และเป็นการพรรณนาวัฒนธรรม
ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากว่าสื่อการสอนประเภทอื่น ๆ นอกจากน้ียังทำให้ผู้เรียนได้ฟังเสียงของ
เจ้าของภาษาในการโต้ตอบบทสนทนาเก่ียวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน อีกท้ังได้ฝึก
โครงสรา้ งทางภาษาทม่ี คี วามสำคัญ ซ่ึงแตกต่างจากการฟังเพียงเทปบันทึกเสียง อกี ทั้งยงั ชว่ ยลดความ
สับสนในการฟังเสียงของเจา้ ของภาษาและกระตุ้นใหน้ ักเรียนต้องการท่ีจะเรียนร้ภู าษามากขนึ้
Heffernan (2005: 7) กล่าวว่า ภาพยนตร์ เป็นสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความน่าสนใจและ
เสริมสร้างประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์มากกวา่ สอื่ ส่ิงพิมพ์ เช่น หนังสือ หรืออุปกรณ์เทปบันทึกเสียง
และในมุมมองการรับรู้ของนักเรียน ภาพยนตรม์ ีส่วนช่วยในการกระตุ้นการเรียนรู้ การปลูกฝัง ความ
สนใจในการฟังและการบรรลเุ ป้าหมายของการเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษ
36
Florence (2009) กล่าวว่า ภาพยนตร์ เป็นส่ือท่ีนำเข้าภาษาที่เป็นจริงและเป็นการจำลอง
สถานการณ์ท่สี ามารถนำมาจัดกิจกรรมอภิปรายในชั้นเรียนได้ นอกจากนี้ยังนำเสนอมมุ มองที่เป็นจริง
ของการใช้ภาษาและวัฒนธรรมในแงข่ องการดำเนินชวี ติ ตามความเป็นจรงิ ของเจ้าของภาษา
Khan et al. (2015) เช่ือว่า การเห็นภาพ จากการชมภาพยนตร์จะเอ้ือให้นักเรียนทำความ
เข้าใจผ่านบริบทที่ได้เห็น ทำให้ภาพยนตร์กลายเป็นสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพมีการนำเสนอที่
หลากหลายและเป็นแหล่งการเรียนรู้ภาษาเป้าหมาย ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะการฟังและทักษะ
การสอ่ื สารได้
สรุปได้ว่า ภาพยนตร์ เป็นสือ่ ที่มีความสำคัญในการเรยี นการสอน เน่ืองจากเป็นสอ่ื ที่สามารถ
นำเสนอท้งั ภาพและเสียง ซ่ึงสนับสนนุ ให้นักเรยี นเกดิ ความเข้าใจในสาระสำคัญของเรื่องราวผ่านเสียง
ภาพเคลื่อนไหว บริบทแวดล้อมในสถานการณ์ต่าง ๆ นอกจากน้ีนักเรียนยังสามารถเรียนรู้วัฒนธรรม
ของเจา้ ของภาษาจากเหตุการณต์ า่ ง ๆ ของเร่ืองราวไดใ้ นขณะเดยี วกัน
ทฤษฎที ีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การนำภาพยนตรม์ าใชใ้ นการเรยี นการสอน
การนำภาพยนตรม์ าใช้ประกอบการสอน เป็นการนำเข้าข้อมูลท้ังภาพท่ีเห็นด้วยตาและเสียง
ท่ีได้ฟังด้วยหูในขณะเดียวกัน จากน้ันผ่านกระบวนการในการตีความและทำความเข้าใจตามลำดับซึ่ง
สอดคลอ้ งกับทฤษฎีรหสั คู่ ที่พัฒนาขนึ้ โดย Paivio (1971) โดยไดอ้ ธบิ ายไว้ ดังน้ี
ทฤษฎีรหัสคู่ หรือ Dual Coding Theory คือทฤษฎีท่ีว่าด้วยเรื่องกระบวนการรับรู้ที่
พัฒนาข้ึนโดย Paivio (1971) มีสมมติฐานที่ว่าข้อมูลภาพ (Visual) และข้อมูลประกอบด้วย คำพูด
(Verbal) จะถูกประมวลผลในช่องทางสื่อสารที่ต่างกัน โดยข้อมูลจะถูกใส่รหัสหรือแปลงเป็น
สัญลักษณ์ก่อนท่ีจะนำไปประมวลผลต่อท้ังรหัสภาพและรหัสคำพูด คือสิ่งแทนข้อมูลท่ีจะถูกนำไปจัด
ระเบียบเป็นความรู้ เพื่อให้สามารถนำความรู้เหล่านั้นไปใช้ จัดเก็บและนำกลับมาใช้ได้อีกการ
ศกึ ษาวจิ ัยของ Paivio (1971) มคี วามสำคญั ต่อวงการศกึ ษาในหลายๆแงม่ มุ อาทิเช่นความสามารถใน
การอ่านการเขียน เทคนิคท่ีช่วยในการจดจำสิ่งท่ีมองเห็นได้ การถ่ายทอดความคิด การออกแบบ
อินเตอร์เฟส รวมไปถึงการพัฒนาสือ่ ทางการศึกษา
Rieber (1996: 5-22) อธิบายงานวิจัยที่เก่ียวกับทฤษฎี Dual Coding Theory ว่าโดยทั่วไป
งานวิจัยให้ข้อสรุปว่า ภาพ (Graphic) จะช่วยในการจดจำแนวคิดท่ีเป็นรูปธรรมได้ดีกว่า คำ
(Words)ซ่ึงในทฤษฎี Dual Coding Theory ไดใ้ ห้คำอธบิ าย 2 ประการเกยี่ วกบั เร่อื งนี้ คอื
1. ข้อมูลที่ถูกใส่รหัสท่ีประกอบด้วยคำพูด (Verbal) หรือประกอบด้วยลักษณะที่มองเห็นได้
(Visual) อย่างใดอย่างหน่ึง สามารถทำให้เกิดผลลัพธ์ในเชิงบวกของการจำได้ หรือถา้ ข้อมูลถูกใส่รหัส
ท่ีประกอบด้วยคำพูดและข้อมูลที่มองเห็นได้ จะทำให้โอกาสในการเรียกคืนความทรงจำเพ่ิมขึ้นเป็น
เทา่ ตัว
2. ภาพ (Visual) และคำ (Verbal) สามารถไปกระตุ้น การประมวลผลทางจิตใจหลาย
รูปแบบ จากสมมติฐานตามทฤษฎีน้ีอาจสรุปได้ว่า การใช้ภาพและคำท้ัง 2 อย่างในลักษณะท่ี
สอดคล้องกนั จะช่วยใหเ้ กดิ ผลทางบวกมากขนึ้ และยังชว่ ยใหเ้ รียกคืนความทรงจำไดด้ ีขึน้
จากทฤษฎีดังกล่าวสรปุ ได้ว่า การท่ีนักเรียนเรียนรู้ภาษาผ่านการฟังและการดูภาพเคล่อื นไหว
ไปพร้อม ๆ กันจากการดูภาพยนตร์สั้น สนับสนุนให้นักเรียนเข้าใจกับบริบทและเรื่องราวที่เกิดข้ึนได้
ง่าย อีกทั้งคำบรรยายประกอบ ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทางภาษา จากการได้ฟังและได้เห็น
คำศัพท์ นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้การใช้ภาษาได้ดีย่ิงขึ้น การศึกษาการใช้ภาษาในสถานการณ์ท่ี
ใกลเ้ คียงกบั สถานการณ์จรงิ ทำใหก้ ารเรยี นร้กู ารใช้ภาษาเพ่อื การสือ่ สารทม่ี ีประสทิ ธิภาพย่งิ ข้นึ
37
ประเภทของภาพยนตรเ์ พ่ือการศกึ ษา
ประเภทของภาพยนตร์ แบง่ ตามวตั ถปุ ระสงค์ในการสร้างทั้งเพ่อื การศึกษาและเพ่ือความ
บันเทงิ โดยจำแนกเป็นประเภท ดังน้ี
รติ หอมลา (2553) ไดแ้ บง่ ประเภทของภาพยนตร์ท่ีนำมาใชท้ างการศึกษาเปน็ 3 ประเภท
คอื
1. ภาพยนตร์สารคดี (Documentary film) เป็นภาพยนตร์ท่นี ำเสนอเรอ่ื งราวเกี่ยวกับความ
เป็นจริงในสังคม ทั้งในการให้การศึกษาทางตรงและทางอ้อมแต่เป็นคนละประเภทกับภาพยนตร์
ประเภทการสอน (Instructional film) ภาพยนตรส์ ารคดมี ิได้เนน้ ให้เกดิ การเรียนรจู้ ากการเรยี น การ
สอนโดยตรง แต่เป็นการนำเสนอส่ิงต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในธรรมชาติตามความเป็นจริง เช่น ภาพยนตร์ สาร
คดีมักจะสร้างให้ชวนติดตามด้วยการสอดแทรกความบันเทิงเอาไว้ด้วย สรา้ งความประทบั ใจให้กับคน
ดูมุ่งเปลี่ยนแปลงทัศนคติบางอย่าง โดยไม่ได้เน้นเนื้อหาวิชาการเป็นหลักใหญ่ ภาพยนตร์ประเภทน้ี
จงึ เหมาะกบั กลมุ่ ผู้ดูทั่วไป มีความยาวประมาณ 10-30 นาที
2. ภาพยนตร์ทางการสอน (Instructional film)เป็นภาพยนตร์ท่ีสร้างขึ้นเพ่ือจุดประสงค์
พิเศษ เพื่อใช้ทางด้านการเรียนการสอนโดยตรง เสนอเนื้อหาสาระท่ีเป็นจริงกับผู้ดูมุ่งให้เกิด การ
เรียนรู้เพ่ือเปล่ียนแปลงพฤติกรรมกับกลุ่มผู้ดูภาพยนตร์ประเภทนี้จึงต้องกำหนดกลุ่มเป้าหมายท่ี
แน่นอนว่าจะใช้สอนกับกลุ่มคนระดับใด ผู้สร้างจะอาศัยเทคนิคนำเสนอภาพท่ีเข้าใจยากๆ ให้ผู้ดู
สามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น ช่วยอธิบายเน้ือหาที่เป็นนามธรรมซึ่งยากต่อการเข้าใจ การใช้เทคนิคการ
ถ่ายภาพเคล่ือนไหวช้า (Slow motion) หรือภาพเคล่ือนไหวเร็ว (Speed up action) เพ่ือความ
ชัดเจนให้มากท่ีสุด ตัวอย่างภาพยนตร์ทางการสอน ได้แก่ การแสดงลำดับพัฒนาการการงอกของ
เมล็ด
3. ภาพยนตร์เร่อื ง (Fiction film) เป็นภาพยนตร์เรื่องที่ให้ความบันเทิงในการแสดงเป็นหลัก
แต่สอดแทรกความรู้ ความคิดบางอย่างเอาไว้ในเร่ือง วัตถปุ ระสงค์ของภาพยนตร์ประเภทนเี้ พื่อดงึ ดูด
ความสนใจของกลุ่มคนผู้ดูไม่ให้เกิดความเบ่ือหน่าย ขณะท่ีดูก็ได้รับความเพลิดเพลินและได้ความรู้
ตามไปด้วยแต่เปน็ ภาพยนตรท์ ี่ตอ้ งใชเ้ งินทุนสูง
วันชนะ บญุ ชม (2555) ไดเ้ สนอการแบ่งประเภทภาพยนตร์ตามการนำไปใชไ้ ด้เป็น 2
ประเภท คอื
1. ภาพยนตร์สำหรับการสอนโดยตรง (Basic Teaching Film) สร้างข้ึนตามเน้ือหาวิชาใน
หลักสตู รตรงตามตำราเรยี นเพือ่ ตอ้ งการให้เห็นกระบวนการการเคล่ือนไหว
2. ภาพยนตรป์ ระกอบการสอน (Supplementary Teaching Film) ผลิตเพื่อเสนอเรื่องราว
และประสบการณ์ตา่ ง ๆ ตามความต้องการขององค์การตา่ ง ๆ มีหลายประเภท คือ
2.1) ภาพยนตร์บนั ทึกเหตกุ ารณ์ (Documentary Film)
2.2) ภาพยนตร์เกี่ยวกับความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี (Technology Film)
2.3) ภาพยนตรส์ ารคดเี พอื่ ความบันเทิงโดยสรา้ งใหเ้ หมาะกับวชิ าต่าง ๆ
สรุปไดว้ ่า ภาพยนตรท์ นี่ ำมาใชใ้ นการเรียนการสอนต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจบุ นั แบ่งออกเป็น 3
ประเภทหลกั ได้แก่
1. ภาพยนตร์สารคดี ท่ีนำเสนอเรื่องราวของชีวิตที่อาจเกิดขึ้นได้จริงในการดำเนินชีวิตและ
สอดแทรกแง่คดิ เปน็ ภาพยนตรท์ เ่ี หมาะสำหรับบคุ คลทัว่ ไป
38
2. ภาพยนตร์ทางการสอน เป็นภาพยนตร์ท่ีเน้ือหาสาระความรู้ ซ่ึงมีกลุ่ม เป้าหมายเฉพาะ
และวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน คือ การให้ผู้ฟัง ผู้ชมเกิดการเรียนรู้และเข้าใจง่ายข้ึนเป็นอันดับแรกและ
ได้รับความบันเทงิ ตามลำดบั
3. ภาพยนตร์เร่ือง เป็นภาพยนตร์ที่มุ่งเน้นให้ความบันเทิงเป็นหลักและสอดแทรกแง่คิดใน
เร่อื งราวท่นี ำเสนอ เพือ่ ให้ผูฟ้ งั ผู้ชมได้รับความเพลดิ เพลนิ
4.2 การคดั เลือกและการนำภาพยนตร์มาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน
การคัดเลือกภาพยนตร์เพ่ือนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเป็นสิ่งสำคัญท่ี
จำเป็นต้องมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นสื่อในการจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยศกึ ษาแนวทางจากคำแนะนำของนกั การศึกษา ดงั นี้
ฉลองชัย สุรวฒั นบรู ณ์ (2528: 23-24 อา้ งถงึ ใน วนั ชนะ บุญชม 2555) ได้แนะนำแนวทางใน
การเลอื กภาพยนตรม์ าใช้ในการสอน ดงั น้ี
1. การเลือกภาพยนตร์ มีหลักในการพิจารณาเลอื กใชภ้ าพยนตรส์ ำหรับการเรยี นการสอน
ดังน้ี คอื
1.1) ผู้สอนจะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมกับการประยุกต์ใช้ทำการเลือกเร่ืองท่ี
เหมาะสมกบั เนอ้ื หาวิชาและความสามารถของผู้เรยี น
1.2) การทดลองฉาย เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการพิจารณาเลือกใช้ภาพยนตร์ขณะที่
ทดลองฉายดูน้ัน ผู้สอนควรจดบันทึกเน้ือหา ความคิดรวบยอดที่สำคัญ ตัวอย่างคำศัพท์ที่สำคัญ
เทคนิคการเสนอเน้ือหา จุดอ่อนหรือขีดจํากัดต่าง ๆ เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับในข้ันวางแผนการใช้
ภาพยนตร์ทจี่ ะไดม้ ีการแก้ไขขดี จํากดั หรือละเวน้ ส่วนที่บกพร่อง
สทุ ธิพงษ์ พงษ์วร (2552) ได้เสนอแนะแนวทางการคดั เลอื กภาพยนตร์มาใช้เพ่ือทำการ
จัดการเรยี นการสอน ดงั น้ี
1. ภาพยนตร์ควรมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ีตั้งไว้หรือทำให้นักเรียนสามารถ
เขา้ ใจหรือปฏิบตั ิเปา้ หมายที่วางไว้
2. ภาพยนตร์ควรมีเน้ือหา ระยะเวลา และรูปแบบในการนำเสนอที่เหมาะกบั ช่วงอายุและวัย
ของผู้เรยี น เช่น เด็กเล็กควรเป็นส่ือที่มีความสวยงาม ระยะเวลาในการนำเสนอไม่ยาวเกินไปนำเสนอ
ภาพท่ชี ัดเจน ใช้ภาพทีง่ ่ายและเหมาะสมต่อความเข้าใจของเดก็ เปน็ ต้น
3. ภาพยนตร์ทน่ี ำมาใช้ไม่ควรนำมาใช้เพ่ือเน้นไปที่การท่องจำเนอ้ื หา
4. ภาพยนตร์ท่ีนำมาใช้ควรหลีกเลี่ยงการใส่ตัวหนังสือหรือภาพประกอบเชิงวิชาการท่ีมาก
เกินความจำเปน็
สรุปได้ว่า การนำภาพยนตร์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนจะต้องพิจารณาถึง
ความเหมาะสมในหลายด้าน ได้แก่ ความสอดคล้องกับบทเรียน ความเหมาะสมของภาพยนตร์กับ
ความสามารถของผ้เู รียน ประเภทและความยาวของภาพยนตร์ทีเ่ หมาะสมกับการจัดกิจกรรม เป็นต้น
ซ่ึงครูผู้สอนต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลเหล่านี้รวมถึงการทดลองฉาย เพื่อคัดเลือกภาพยนตร์ที่
เหมาะสมกับการจดั การเรียนการสอนภาษามากที่สุด
39
การนำภาพยนตร์มาใช้ในการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ
จากการกล่าวข้างต้นเกี่ยวกับประโยชน์ของการนำภาพยนตร์มาใช้เป็นส่ือประกอบการสอน
สำหรับการนำมาใช้ในการสอนภาษาอังกฤษ มีนักการศึกษาได้เสนอแนะแนวทาง ข้ันตอน และวิธี
จัดการเรียนการสอนภาษาโดยใชภ้ าพยนตร์ ดงั น้ี
Kajornboon (1989: 44-49) เสนอวธิ กี ารใช้สื่อภาพยนตร์ไว้ 4 ขัน้ ตอน ดงั นี้
1. การดูแบบเงียบ (Silence viewing) เป็นการดูครั้งแรกที่ปราศจากเสียงเพ่ือให้ผู้เรียนมี
เวลาคิดเกี่ยวกับสถานที่ ผู้คนและสถานการณ์ ก่อนท่ีจะสนใจในสิ่งที่ตัวละครพูดข้ันตอนน้ีช่วยให้
ผู้เรียนเน้นความสำคัญของตัวช้ีแนะท่ีเป็นภาพ และให้เวลาแก่ผู้เรียนในการคิดเก่ียวกับข้อมูลก่อน
กระทำการฟังอย่างจริงจงั
2. การใช้เฉพาะเสียง (Sound only) เป็นการกระตุ้นความสนใจให้เกิดการอภิปรายของ
ผู้เรียนในสิ่งที่ได้ยินและเนน้ ความแตกต่างระหว่างชนิดของข้อมูลคําพูดท่ีกำลงั ดำเนินไปและชนิดของ
ข้อมูลที่เป็นภาพที่กำลังดำเนินไป หลังจากฟังเฉพาะเสียง จากน้ันจึงให้ผู้เรียนชมทั้งภาพและเสียง
เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนเปรยี บเทยี บส่ิงทต่ี นเองเดากับสง่ิ ที่ฟังและเห็น
3. การเน้นคํา (Focus on words) ภาพยนตรส์ ามารถแสดงให้เห็นวตั ถุ สถานท่คี วามคิดรวบ
ยอดได้อย่างไมจ่ าํ กดั การเน้นคาํ มีจุดมงุ่ หมายเพ่ือใหผ้ เู้ รียนร้จู ักคําใหมฝ่ กึ พดู ออกเสยี งคําเหลา่ น้ันหรือ
ใชเ้ กมปรศิ นาตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นจำคำศัพท์
4. การจัดเรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลัง (Sequencing) หลังจากผู้เรียนเสร็จสิ้นการชม
ภาพยนตร์แล้ว ผู้สอนเตรียมประโยคต่าง ๆ ที่เป็นเหตุการณ์หรอื ข้อมูลสำคัญและเก่ียวข้องกบั เน้ือหา
ในภาพยนตร์ แล้วให้ผู้เรียนเรียงลำดับเหตุการณ์ที่กำหนดให้ตามลำดับเหตุการณ์ในภาพยนตร์เป็นคู่
หรือกลุ่ม เปรียบเทียบกับเพ่ือน จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนชมภาพยนตร์อีกคร้ัง เพื่อตรวจสอบลำดับที่
ถกู ต้องของเหตกุ ารณ์
Bury (1983) ได้เสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมประกอบการเรียนการสอนโดยมีภาพยนตร์
ประกอบ ดงั น้ี
1. การดูแบบเงียบ (Silent viewing) เป็นกิจกรรมเริ่มต้นของบทเรียนโดยผู้สอนให้ผู้เรียนดู
ภาพบนจอโทรทัศน์ แต่หรี่ปุ่มเสียงให้เบาสุดเพื่อให้ผู้เรียนเดาเหตุการณ์ของเรื่องราวนั้น ๆ ก่อนฉาย
ภาพยนตร์ ผู้สอนควรใช้คําถามนําเข้าสู่เรื่องเพ่ือสร้างความสนใจ กระตุ้นผู้เรียนให้ติดตามเร่ืองต่อมา
ผ้สู อนกเ็ รง่ ปมุ่ เสียงให้ดงั ขึ้น เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนฟงั บทสนทนาจรงิ
2. การฟังแล้วดูภาพ (Listening with pictures) เป็นกิจกรรมท่ีตรงข้ามกับกิจกรรมท่ีหนึ่ง
คอื ผูส้ อนให้ผเู้ รียนไดย้ ินแต่เสยี งหลกั จากท่ีใช้คําถามนําเพ่ือให้ผ้เู รียนเดาว่าเหตกุ ารณ์ของเรื่องเกิดข้ึน
ที่ไหน และใครกำลังพูด ต่อจากนั้น ผู้สอนให้ผู้เรียนดูภาพบนจอเพ่ือเปรียบเทียบดูว่าส่ิงที่เดานั้น
ถกู ต้องหรือไม่
3. การสลับกันดูภาพและฟังเสยี ง (Jigsaw viewing and listening) เป็นการรวมกิจกรรมท้ัง
สองมาผสมผสานกัน โดยการแบ่งผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่หน่ึงจะได้ฟังแต่เสียงแต่ไม่เห็นภาพ
กลุ่มท่ีสองจะมองเห็นภาพแต่ไม่ได้ยินเสียง ต่อจากนั้นให้ทั้งสองกลุ่มมารวมกันแล้วให้ ผู้เรียนจับคู่
แลกเปลี่ยนสนทนาส่ิงท่ีได้ยินและได้ฟังมาตอนท้ายกจิ กรรม ผสู้ อนฉายภาพยนตรใ์ ห้ผเู้ รียนดูพรอ้ ม ๆ
กันเพ่อื สํารวจความถูกตอ้ งของเรือ่ งราว
4. การทํานายลำดับเหตุการณ์ (Predicting the sequence) กิจกรรมนจี้ ะรวม การมองเห็น
ภาพและการได้ยินเสียงเข้าด้วยกนั โดยผู้สอนจะบอกให้ผู้เรยี นทราบว่าเรือ่ งราวคืออะไรและให้ผู้เรียน