The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-25 02:08:20

3.วิชาสิทธิมนุษยชน

2_GE21102_สิทธิมนุษยชน

วิชา ศท. (GE) ๒๑๑๐๒

สิทธิมนุษยชนกับการปฏิบัติงาน
ของตํารวจ

ตําÃÒàÃÕ¹

ËÅ¡Ñ ÊμÙ Ã ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊºÔ ตําÃǨ

ÇÔªÒ È·. (GE) òññðò Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹¡Ñº¡Òû¯ºÔ μÑ §Ô Ò¹¢Í§ตาํ ÃǨ

เอกสารน้ี “໹š ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมใิ หผูหน่งึ ผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเ้ี พอื่ การอยา งอน่ื นอกจาก “à¾Í×è ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนท่ีไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สํา¹Ñ¡§Ò¹ตํา¾ÃÇ.Ȩá.òËõ§‹ ªöÒôμÔ

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพ่ือเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สาํ นึกในการใหบริการเพอื่ บําบดั ทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝก อบรมตาํ รวจกลาง และกลุมงานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ น้ี ซง่ึ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใหเ ปน ขา ราชการตํารวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตองการอยางแทจริง และมคี วามพรอ มในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคําปรึกษา คําแนะนํา ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทําใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางยิ่งวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กป ระชาชนไดอยางแทจริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผบู ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ

ÇÔªÒ ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹¡Ñº¡Òû¯ÔºμÑ §Ô Ò¹¢Í§ตาํ ÃǨ

º··èÕ ñ á¹Ç¤Ô´áÅоѲ¹Ò¡ÒÃ¢Í§Ê·Ô ¸ÁÔ ¹Øɪ¹ ñ
- วตั ถปุ ระสงค ๑
- สวนนาํ ๑
- แนวคดิ และพฒั นาการของสทิ ธิมนุษยชน ๑
- ยุคกรีกและโรมัน (Greek and Roman Era) : เมอื่ ชวี ติ เปน ของผอู ่นื ๒
- ยุคกลาง (The Middle Ages) : ชวงเวลาของความมืดมน ๖
- ยคุ สมยั ใหม : เม่ือชวี ิตเปนของเรา ๗
- สว นสรุป ๑๕
- กิจกรรม ๑๖
- เอกสารอา งองิ ๑๘

º··èÕ ò ¹ÂÔ ÒÁ »ÃÐàÀ· áÅÐËÅÑ¡¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹ÉØ Âª¹ òñ
- วตั ถปุ ระสงค ๒๑
- สวนนาํ ๒๑
- ความหมายของสิทธมิ นุษยชน ๒๑
- ประเภทของสิทธิมนษุ ยชน ๒๔
- การแบง ประเภทของสิทธมิ นุษยชนตามยคุ สมัย ๒๕
- ยุคแรก ๒๖
- ยคุ ท่สี อง ๒๖
- ยคุ ท่สี าม ๒๗
- การแบง ประเภทของสทิ ธิมนษุ ยชนตามความสมบรู ณแหงสทิ ธิ ๒๗
- การแบงประเภทของสิทธมิ นษุ ยชนตามปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสิทธมิ นุษยชน ๒๘
- หลักการอนั เปน หัวใจของสิทธิมนษุ ยชน (Core principles of human rights) ๒๘

º··èÕ ó Ê·Ô ¸ÔÁ¹Øɪ¹ã¹ÁμÔ ÃÔ ÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ˹ŒÒ
- วตั ถุประสงค óõ
- สว นนาํ ๓๕
- ที่มาและเจตนารมณแ หงปฏญิ ญาสากลวาดวยสทิ ธิมนุษยชน ๓๕
- เน้อื หาของปฏญิ ญาสากลวาดว ยสิทธมิ นุษยชน ๓๖
- กิจกรรม ๓๘
- กฎหมายหลกั ระหวางประเทศดานสทิ ธิมนุษยชนจํานวน ๙ ฉบบั ๔๔
อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏบิ ัติทางเชอ้ื ชาตใิ นทุกรูปแบบ
(International Convention on the Elimination of all forms of Racial ๔๕
Discrimination : ICERD) öó
øõ
º··èÕ ô Ê·Ô ¸ÔÁ¹Øɪ¹ã¹Ã°Ñ ä·Â
º··Õè õ ÁÒμðҹÊÔ·¸ÁÔ ¹Øɪ¹ÊÒ¡Åสาํ ËÃºÑ à¨ŒÒ˹Ҍ ·èÕ¼ÙŒº§Ñ ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒÂ



º··èÕ ñ

á¹Ç¤´Ô áÅоѲ¹Ò¡ÒÃ¢Í§Ê·Ô ¸ÔÁ¹Øɪ¹

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤

๑. อธบิ ายพัฒนาการของสทิ ธมิ นุษยชนไดอยางถกู ตอง
๒. อธิบายความสัมพันธของแนวคิด “สิทธิธรรมชาติ” กับ แนวคิด “สิทธิมนุษยชน”
ไดอยางถกู ตอง
๓. วิเคราะหเหตุการณสําคัญซึ่งเช่ือมโยงกับพัฒนาการของแนวคิดสิทธิมนุษยชน
ในแตละชวงเวลาไดอ ยางถกู ตอ ง

ʋǹนํา

สิทธิมนุษยชนเปนหนึ่งในกระแสหลักของสังคมโลกปจจุบัน การศึกษาทําความเขาใจ
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนจึงเปนส่ิงท่ีไมอาจหลีกเล่ียง กอนท่ีจะเรียนรูทําความเขาใจบริบทตางๆ
ของสิทธิมนุษยชนจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองเขาใจถึงพัฒนาการกอตัวของแนวคิดสิทธิมนุษยชน
ซึ่งมีมาอยางยาวนานในอดีตเพื่อใหสามารถเห็นภาพท่ีชัดเจนของ “สิทธิมนุษยชน” และเสนทาง
การตอสูเพ่ือใหไดมาซ่ึง “สิทธิมนุษยชน” อันจะกระตุนใหมนุษยไดตระหนักถึงความสําคัญของ
สิทธมิ นษุ ยชน

á¹Ç¤Ô´áÅоѲ¹Ò¡ÒÃ¢Í§Ê·Ô ¸ÁÔ ¹Øɪ¹μÒÁÂؤÊÁÂÑ

หากจะพจิ ารณาถงึ กระแสหลกั ของสงั คมโลกในปจ จบุ นั มปี ระเดน็ ทถี่ กู กลา วขานกนั ในระดบั
นานาชาติ หรอื ทเี่ รยี กไดว าถกู พูดถงึ อยเู สมอๆ อยหู ลายประเดน็ อาทิ หลักธรรมาภิบาล, เทคโนโลยี
สารสนเทศ, สภาวะโลกรอน, ประชาธิปไตย, การคาเสรี แนนอน จะตองมีคําวา “สิทธิมนุษยชน”
รวมอยูในนั้นดวย นั่นหมายความวา “สิทธิมนุษยชน” ไมใชประเด็นเล็กๆ ท่ีรับรูกันในวงแคบ
ทวา “สทิ ธมิ นษุ ยชน” เปน ปรากฏการณท างสงั คมทไี่ ดร บั การยอมรบั และถกู กลา วถงึ ในระดบั นานาชาติ
ดังน้ัน เม่ือสิทธิมนุษยชนเปนหนึ่งในกระแสหลักของสังคมโลกปจจุบัน การศึกษาทําความเขาใจ
ตอ เร่ืองน้ีจงึ เปน สง่ิ จาํ เปนทไี่ มอาจหลกี เลี่ยง

อยางไรก็ดี สิทธิมนุษยชนท่ีถูกกลาวถึงในทุกวันนี้ ไมใชแนวคิดท่ีเพิ่งปรากฏข้ึนมาใหม
หากแตรากฐานของสิทธิมนุษยชนนั้นสามารถยอนกลับไปไดยาวนานในเชิงประวัติศาสตร การทํา
ความเขาใจและมองเห็นภาพท่ีมาท่ีไปอันเปนจุดกําเนิด หรือประกายแสงของสิทธิมนุษยชนจะชวย
ใหเ ราเหน็ คณุ คา ของความเปน มนษุ ยเ สน ทางของแนวคดิ นเี้ ดนิ ทางผา นกาลเวลาและเหตกุ ารณส าํ คญั
หลายเหตุการณ ท้ังถูกขัดเกลาและเสริมแตงจนกลายเปนกระแสหลักของโลกปจจุบัน การมีอยู
ของแนวคิดสิทธิมนุษยชนไดผา นการสูญเสยี เลอื ดเนื้อ ชวี ิต ผานการคิด การตอสู เรยี กรอ ง รณรงค



ตอตาน ขัดขืน และยอมรับ ตราบจนปจจุบันประเด็นเก่ียวเน่ืองกับสิทธิมนุษยชนก็ไมหยุดน่ิง
แนวคดิ สิทธมิ นษุ ยชนยังคงเคลอื่ นไหวเปนพลวตั อยเู สมอ

หากจะศึกษาความเปนมาของสิทธิมนุษยชน คงตองเร่ิมจากการทําความเขาใจ
ในปรัชญาวาดวยÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ (Natural rights) อันเปนรากฐานสําคัญยิ่งของสิทธิมนุษยชน
โดยใหความสําคัญสูงสุดแก “คุณคาของชีวิตมนุษย” ในบทน้ีขออธิบายพัฒนาการความเปนมา
ของสิทธิมนุษยชน โดยอางอิงประวัติศาสตรยุคตางๆ ของโลกเปนจุดเชื่อมการอธิบายสภาพสังคม
ชีวิต ความคิด ความเชื่อ อันสงผลตอกําเนิดและพัฒนาการของสิทธิมนุษยชน ซึ่งจะชวยฉายภาพ
ใหเห็นทั้งความกาวหนา และความเส่ือมถอยของแนวคิดสิทธิมนุษยชนในหวงเวลาตางๆ ไดแก
ยุคกรกี และโรมัน, ยุคกลาง และยุคใหม

¾Ñ²¹Ò¡ÒÃÊ·Ô ¸ÔÁ¹Øɪ¹àª×èÍÁâ§¡ÑºÂ¤Ø ÊÁÑÂμÒ‹ §æ

Âؤ¡ÃÕ¡áÅÐâÃÁѹ (Greek and Roman Era) : àÁÍè× ªÕÇÔμ໚¹¢Í§¼ÙŒÍ×¹è

ยคุ กรกี ๑ นบั เปน ยคุ ประวตั ศิ าสตรส าํ คญั ตอ การกอ กาํ เนดิ อารยธรรมตะวนั ตก มหี ลกั ฐาน
ชัดแจงวายุคนี้ปรากฏรากฐานของแนวคิดสิทธิมนุษยชนข้ึน โดยมีแนวคิดสําคัญท่ีเก่ียวพันสิทธิ
พื้นฐานของความเปนมนุษย (Fundamental human rights) ในช่ือที่นักปรัชญาในยุคนั้นเรียกวา
“ÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ (Natural Right)” โดยมีความเช่ือเบื้องตนวา ธรรมชาติของคนมีเหตุและผล
สิทธิตางๆ เกิดขึ้นมาตามธรรมชาติ ดวยเหตุที่ธรรมชาติเปนส่ิงสากลและอยูเหนือมนุษย กฎหมาย
ธรรมชาติจงึ อยูเหนอื กฎหมายของมนษุ ยแ ละใชไ ดไ มจาํ กดั เวลาหรอื สถานที่

การศึกษาหัวขอสทิ ธิมนุษยชนน้นั สวนใหญจะนบั เอาแนวคิด Ê·Ô ¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ น้ีเปน จดุ เร่ิมตน
อางถึงพัฒนาการของสิทธิมนุษยชน อยางไรก็ดี แนวคิดสิทธิธรรมชาติมีความเปนนามธรรมอยางสูง

๑ จุดเร่มิ ตน ของยคุ กรีกไมไดถกู ระบอุ ยางชัดเจน บางวาเรม่ิ ราว ๑,๐๐๐ ปกอนคริสตกาล เร่ือยมาจนถึง ๘๐๐ ปกอ นคริสตกาล
และสนิ้ สดุ ลงเมือ่ เขา สูยคุ โรมนั



เกย่ี วพันกบั ความถกู ตอง ความดีงาม และศีลธรรม ภายหลงั ไดถูกทาทายจากนักปรชั ญาอยาง เจเรมี
เบนแธม (Jeremy Benthanm, ๑๙๗๔-๑๘๓๒) วา สทิ ธิธรรมชาตนิ น้ั เปนเรอ่ื งไรสาระ๒

ยุคกรีกมีการกลาวอางถึงความเปนมนุษยและความเสมอภาคของมนุษยไมนอย
จากนักคิดชั้นนํา เชน ในทัศนะของ เพลโต (Plato, ๔๒๗-๓๔๗ B.C.) นักปรัชญาที่วางรากฐาน
ทางการศกึ ษาในแขนงวิชาตา งๆ ทัง้ การปกครอง วทิ ยาศาสตร และดาราศาสตร มองวาความตองการ
ของคนในรฐั มคี วามสาํ คญั แตใ นทางปฏบิ ตั สิ งั คมกรกี ขณะนน้ั ชนชน้ั นาํ และนกั ปราชญก ลบั มคี วามสาํ คญั
สงู สดุ เหนอื คนทว่ั ไปและเขาเหลา นคี้ วรเปน ผปู กครองและไดร บั ผลตอนแทนทม่ี ากกวา ๓ หรอื นกั ปราชญ
ชื่อกองโลกอยาง อริสโตเติล (Aristotle, ๓๒๒-๒๘๔ B.C.) กับผลงานสําคัญของเขา “Politics”
เนอื้ หาตอนหน่ึงระบดุ งั น้ี “...a person becomes slave of free only by law, human beings do
not differ at all by the nature of mankind...”๔ [คนจะเปนทาสหรือเสรีชนก็โดยกฎหมายเทา นัน้
เพราะโดยธรรมชาติของมนุษยแลวทุกคนไมแตกตางกัน] อริสโตเติลใหความสําคัญกับกฎหมาย
และเชอ่ื วา โดยธรรมชาตแิ ลว มนษุ ยท กุ คนไมแ ตกตา งกนั แตใ นทางการปกครอง เขากลบั เชอ่ื วา คนทว่ั ไป
ไมสมควรเปนผปู กครอง แตช นช้นั กลางตา งหากท่เี หมาะสมกับการทาํ หนา ทด่ี งั กลา ว

อยา งไรกด็ ี ถงึ แมชว งนไี้ ดปรากฏปรัชญาวา ดวยสทิ ธเิ สรภี าพของมนษุ ยแ ละการใหคุณคา
กับชีวิตมนุษยบางแลว ทวาในทางปฏิบัติน้ัน คุณคาในชีวิตข้ึนอยูกับ “ฐานะทางสังคม” ยิ่งมีฐานะดี
ยิ่งอยูในสถานะที่ชีวิตมีคุณคาเหนือผูอื่น ชนชั้นจึงเปนตัวกําหนดความสําคัญชีวิตมนุษยแตละคน
ผลสรุปจากการศึกษางานหลายช้ินเกี่ยวกับโครงสรางสังคมของกรีก (Ancient Greek’s Social
struycture) สะทอนถงึ การแบง แยกผคู นออกเปนชนช้นั ตางๆ อันประกอบดว ย

(๑) ชนชั้นสูง (Best people) มีอาํ นาจการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม ไดร ับการดูแล
ทดี่ ีท่ีสุดจากรัฐ เปนพลเมอื งเต็มขัน้ ของนครรัฐ

(๒) ชนชั้นกลาง (Middle class) กลุมคนท่ีพอจะครอบครองท่ีดินไดบาง หรือเปน
ท่ีดินในเขตหางไกล มีความเปนพลเมืองของกรีก (Citizenship) แตไมไดรับการดูแลหรือมีอภิสิทธ์ิ
ใดมากนัก กลุมพอคาจากตางแดนผูสะสมรายไดจากเมืองใหญจนกลายเปนชนชั้นกลาง, ทหาร,
ชา งฝมือดา นตา งๆ

๒ อางถึงใน Jonathan Crowe, “Explaining Natural Rights : Ontological Freedom and the Foundations of Political
Discourse,” New York University Journal of Law and Liberty 4(70) (2009), สืบคนเม่ือ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก
http://www.law.nyu.edu/sites/ default/files/ECM_PRO_061928.pdf

๓ “Western Theories of Justice,” Internet Encyclopedia of Philosophy, สืบคนเม่อื ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก http://www.iep.
utm.edu/justwest/#SH1a

๔ Ciobota Eugen, “Evolution of the human rights concept,” 1 December 1918 University, สืบคนเมอ่ื ๓ ตลุ าคม ๒๕๕๙,
จาก http://www.uab.ro/reviste_recunoscute/reviste_drept/onnales_10_2007/ciobotea_en.pdf



(๓) ชนชัน้ ทาส (Slaves) ซงึ่ ไมม สี ิทธใิ ดๆ ในชีวติ เลย นายทาสอาจไดมาจากสงคราม
ซื้อขาย หรือจากการเปน อาชญากร

ชนชนั้ ลา งอยา ง “ทาส” จงึ มชี วี ติ ทถี่ กู กาํ หนดโดยผอู นื่ หากมแี รงทจ่ี ะทาํ งานใหน ายทาสได
กย็ งั จะมอี าหารและทห่ี ลบั นอนให แตเ มอ่ื ใดไมส ามารถทาํ งานใหไ ดก ม็ กั ถกู ขายจาํ หนา ยไป มชี วี ติ แบบ
ทไี่ มส ามารถเลอื กหรอื กาํ หนดเองได ความเชอื่ ทว่ี า ตนเองเกดิ มาพรอ มกบั สทิ ธใิ นชวี ติ ทต่ี ดิ ตวั มาไมอ ยู
ในหว งความคิดของทาสเหลา นั้น จึงไมเกิดคําถามหรือการตอตาน เพยี งแตใ ชช ีวิตเร่ือยไปตามคาํ ส่งั ๕

ยุคสําคัญตอมาอยางสมัยแหงอาณาจักรโรมัน แมจะมีแนวคิดจากนักปราชญที่เสนอ
ความคิดอันสะทอนถึงความสําคัญของสิทธิ เสรีภาพ อยาง ซิเซโร (Cicero, ๑๐๖-๔๓ B.C.)
นกั กฎหมาย นกั การเมอื ง และนกั ปรชั ญาชาวโรมนั ผทู ไ่ี ดช อื่ วา วางรากฐานคาํ วา “กฎหมายธรรมชาต”ิ
(Natural Law) ก็เชื่อม่ันอยางแนวแนในตัวของประชาชน กฎหมายท่ีแทจริงตองสอดคลองกับ
หลักธรรมชาติ (Harmonious with nature)๖ โดยประโยคทีถ่ กู กลาวอางถึงอยางมากจากงานเขียน
ชอ่ื “The Laws” ของเขาก็คอื

“True law is right reason in agreement with nature; it is of universal
application, unchanging and everlasting... And there will not
be different laws at Rome and at Athens, or different laws now
and in the future, but one eternal and unchangeable law will
be valid for all nations and all times...”๗ [กฎหมายทแ่ี ทจริงคอื
เหตผุ ลท่ถี ูกตอง กลมกลืน สอดคลองกบั ธรรมชาติ แผซานในทุกส่งิ ทกุ อยาง
สมํ่าเสมอนิรันดร...กฎหมายเหลานี้ไมเปนอยางหน่ึงท่ีกรุงโรมหรือเปนอีก
อยางหนึ่งท่ีเอเธนส ไมเปนอยางหน่ึงในขณะนี้หรืออีกอยางในเวลาตอมา
แตเปนกฎหมายประการเดียวที่เปนนิรันดรไมเปล่ียนแปลงและมีผลผูกพัน
ทกุ ชาติทกุ ภาษาตลอดกาล”]๘

๕ นักปรัชญาคนสําคัญในยุคกรีกอยางเพลโตและอริสโตเติลก็ไมไดมีแนวคิดท่ีสนับสนุนความเทาเทียม เชน เพสโตถึงจะเช่ือมั่นในความรู
แตก ม็ เี ฉพาะชนชนั้ นาํ เทา นนั้ ทส่ี ามารถเขา ถงึ ความรู เขาสนบั สนนุ คนกลมุ เลก็ ๆ ทเี่ ปน ชนชนั้ นาํ มาเปน ผปู กครอง หมายถงึ การปกครองทม่ี า
จากกลมุ บุคคลเฉพาะกลุม นั่นคอื ทหารและชนช้นั นาํ สว นอรสิ โตเตลิ ก็ไมเ ช่อื มนั่ ในคนหมมู าก ยกยองใหความสาํ คัญกบั กลมุ บุคคลช้นั สงู

เปน หลกั เหน็ ไดว า เขาเหน็ วา การปกครองทด่ี ี คอื การปกครองในแบบทกี่ ษตั รยิ แ ตผ เู ดยี วเปน ผปู กครอง (Monarchy) แบบอภชิ นาธปิ ไตย
(Aristocracy) ทใ่ี หค ณะขุนนางเปน ผปู กครอง และแบบโพลิต้ี (Polity) ท่ใี หชนชน้ั กลางเปนผปู กครอง

๖ “Cicero (106-43 B.C.E.),” Internet Encyclopedia of Philosophy, สบื คนเมอื่ ๓ ตลุ าคม ๒๕๕๙, จาก http://www.iep.utm.edu/
cicero/#SH7c

๗ America’s Party National Committee, “Cicero: True law is right reason in agreement with nature,” สบื คน เม่อื ๓ ตลุ าคม
๒๕๕๙, จาก http://www.selfgovernment.us/news/cicero-true-law-right-reason-in-agreement-with-nature

๘ วราพร ศรีสุพรรณ, “ประชาธปิ ไตยแบบสงั คมเครือขายและการศึกษาแบบปฏริ ปู นิยม”, สืบคนเมื่อ ๓ ต.ค. ๒๕๕๙, จาก http://kpi.ac.th/
media/pdf/M7_180.pdf



ในสว นของโครงสรา งสงั คม การแบง ชนชน้ั เปน ความจาํ เปน พนื้ ฐาน และมคี วามสาํ คญั ยงิ่
ตอ รัฐ งานเขยี นหนงึ่ ของนักเขยี นในยคุ นนั้ กลา วไววา

“In Rome-and across the empire-status mattered”๙ [ในโรม-และทว่ั อาณาจักร-
สถานภาพมีความสาํ คัญ]

อีกท้ังมีการแบงแยกชัดเจนระหวางพลเมือง (Citizens) กับบุคคลท่ีไมใชพลเมืองโรมัน
(Noncitizens) หากจะแบงยอ ยลงไปอีกกอ็ าจแบงเปน คนซง่ึ มอี ิสระ (Free men) กบั ทาส (Slaves)
แนนอนการไดรับการดูแล ปฏิบัติ และอภิสิทธิ์ทั้งหลายยอมแตกตางกันไปตามสถานภาพท่ีเปนอยู
ทาสทํางานรับใชเจาของในฐานะเจาชีวิตของพวกเขา ซึ่งคือสภาพอันปกติของชีวิตท่ีกําหนดเองไมได
ของทาสในยคุ นน้ั

“Slave labour was used in all areas of Roman life except public office”๑๐
[แรงงานทาสถูกใชใ นทกุ กจิ กรรมของชาวโรมัน ยกเวนงานของทางราชการ]

จะเห็นไดวาแม “บุคคล” จะมีความสําคัญข้ึนในทัศนะของนักคิดทรงอิทธิพลท้ังยุคกรีก
และโรมนั และเรม่ิ ใหค วามสําคัญกับสิทธิบางอยา งในนาม “สิทธิธรรมชาต”ิ ที่ทกุ คนมเี ทา ๆ กนั นบั แต
ถอื กาํ เนิด แตเอาเขาจริงแลว ในทางปฏบิ ตั ิ “บคุ คล” ทวี่ าน้นั ไมไดห มายถึง “ทกุ คน” แตเ ปน “บคุ คล
บางประเภท” ที่ถูกนิยามวา มคี ณุ คามากกวา สิ่งมชี ีวิตอนื่

ถงึ กระนน้ั ควรบนั ทกึ ดว ยวา ทา มกลางความมดื มดิ ของสทิ ธใิ นชวี ติ อนั เทา เทยี มของสงั คม
โรมันสมัยนั้นประกายแสงแหงคุณคาในชีวิตมนุษยจากแนวคิด “สิทธิธรรมชาติ” ท่ีเช่ือม่ันวา “มนุษย
ทุกคนลวนเกิดมาอยางมีคุณคา รูจักคิดและมีเหตุผลในตนเอง”๑๑ ก็ทําใหมนุษยปุถุชนธรรมดาท่ีมิใช
ชนชั้นปกครองในยุคตอๆ มา เร่ิมหันมาเห็นคุณคาในชีวิตของตนเองจากการเปนผูถูกปกครอง
ก็อาจหาญมากขึ้นท่ีจะทา ทายเพอื่ ขอกาํ หนดชีวิตของตนเองบา ง ดงั จะไดอธบิ ายความตอไป

๙ Valerie Hope, “Social Pecking Order in the Roman World,” BBC (29 March 2011), สบื คน เมอ่ื ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๙,
จาก http://www.bbc.co.uk/history/ancient/romans/social_structure_01.shtml

๑๐ Mark Cartwright, “Slavery in the Roman World,” Ancient History Encyclopedia (1 November 2013), Ê׺¤Œ¹àÁ×èÍ
ô μÅØ Ò¤Á òõõù, ¨Ò¡ http://www.ancient.eu/article/629/

๑๑ “Human Rights Philosophies”, Australian Human Rights Commission, สืบคน เมอ่ื ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๙,
จาก https://www.humanrights.gov.au/human*-rights-explained-fact-sheet-3-human-rights-philosophies.



Â¤Ø ¡ÅÒ§ (The Middle Ages) : ªÇ‹ §àÇÅҢͧ¤ÇÒÁÁ´× Á¹

กอ นทคี่ วามคดิ “สทิ ธธิ รรมชาต”ิ จากยคุ กอ นจะไดร บั การตอบรบั จากผคู นในสงั คมวงกวา งขน้ึ
ยุโรปเดินหนาเขาสูยุคท่ีชุดความคิดหลักผูกติดกับ “พระเจา” หมายความวาผูคนตางพากันเช่ือวา
พระเจา คือเหตผุ ลของทกุ สรรพสิ่ง (Supremacy of God) การเกิด การมชี วี ิต จนกระทงั่ การตาย
ถูกกําหนดโดยพระเจา แมแตธรรมชาติอยางพระอาทิตยขึ้น ฝนตก แผนดินไหว ฟารอง ก็อธิบาย
ไดดวยอิทธิฤทธ์ิของพระเจา สภาพสังคมในยุคกลางจึงถูกเรียกขานในภายหลังวาเปรียบเสมือน
“ยุคมืด”๑๒ เพราะมีเพยี งพระผเู ปน เจา เทา น้ันท่เี ปนคาํ ตอบของทกุ สิง่ คนสวนใหญก ็เชื่อมน่ั วาพระเจา
จะชว ยใหม ชี วี ติ ทีด่ ีข้ึน ทําไมจงึ เปนเชน กัน ก็เน่ืองดว ยสภาพสงั คมท่มี ีภัยสงครามจากหลายกลุมเหลา
ความแรนแคน เศรษฐกิจตกตํ่า สภาพสังคมไรระเบียบ คนจึงพรอมจะใชศรัทธาท่ีมีตอศาสนา
มายึดนําชีวิต

การใหความสําคัญกับ “คุณคาของมนุษย” ในชวงยุคท่ีผานมาจึงถูกแทนท่ีดวย
ความสําคญั ของพระผูเปนเจาและเหลา นักบวช ผมู พี ฤติกรรมไมส อดคลอ งกับความเช่ือของครสิ ตจักร
ถูกจัดใหเปนพวกนอกรีตเปนเหลาพอมด-แมมดที่มีความชั่วรายที่สมควรถูกทําลาย “สิทธิธรรมชาติ”
ที่มนุษยแตละคนมีติดตัวมาแตเกิดเปนสิ่งเหลวไหล เพราะมนุษยเกิดไดดวยบัญชาจาก
พระผเู ปน เจา มกี ารกลา วอางพระคัมภีรใหม (New Testament) เนน ย้าํ วา พระเจา สรา งทุกสรรพสงิ่
แมแตรัฐและรัฐบาลลวนรับมอบอํานาจมาจากพระเจา๑๓ นักบวชคนสําคัญ เชน นักบุญออกัสติน
(St.Augustine, ๓๕๔-๔๓๐) ผูประพันธงานชิ้นเอกท่ีใชช่ือวา “City of God” ก็ระบุชัดถึง
ความเชอ่ื วา แมโ ดยธรรมชาตมิ นษุ ยม คี วามเสมอภาค แตม นษุ ยน น้ั มบี าปจงึ ตอ งถกู ปกครองตวั แทนของ
พระเจาหรือผูที่เช่ือม่ันในคริสตจักรเทานั้นท่ีจะมาเปนผูปกครองเพราะสามารถลางบาปและนํามา
ซึ่งความสุขได ทํานองเดียวกันกับนักบุญโธมัส อไควนัส (St.Thomas Aquinas, ๑๒๒๖-๑๒๗๔)
ที่เช่ือวาผูนําคริสตจักรควรเปนผูนําการปกครอง และประชาชนตองเชื่อผูนํา บทบาทของคนทั่วไป
จงึ เปนเพยี งผูตามและยอมใหชะตาชวี ิตถูกกาํ หนดโดยบุคคลบางกลมุ ที่เช่อื วามฐี านะสงู สงกวา

เหน็ ไดช ดั วา ในยคุ น้ี ผปู กครองทง้ั ทางโลกคอื กษตั รยิ  และทางธรรมคอื นกั บวช ลว นแตเ ปน
ตวั แทนของพระเจา กฎหมายบา นเมอื งกบั หลักศาสนาถือเปน สิ่งเดียวกนั สังคมในยคุ น้ไี มไ ดเช่อื มโยง
กบั ความตอ งการของปถุ ชุ นหรอื ใหค ณุ คา แกป ระชาชน อาจกลา วไดว า เจตนารมณแ หง “สทิ ธธิ รรมชาต”ิ
ถูกบดบังดวยคําอธิบายวาธรรมชาติตองสอดคลองกับหลักศีลธรรมและหลักศาสนาเปนสําคัญ
น่ันแสดงถึงความเชอื่ สูงสดุ ตอคริสตจกั ร

๑๒ยคุ นกี้ ินระยะเวลานาน ตัง้ แตร าวศตวรรษท่ี ๕ ถึงศตวรรษท่ี ๑๕ หรอื รวม ๑,๐๐๐ ป นบั แตป  ค.ศ.๔๐๐ ถงึ ป ค.ศ.๑๔๐๐
๑๓สโรช สนั ตะพนั ธ,ุ “บทบาทของครสิ ตศาสนจกั รโรมนั คาธอลกิ ในระบบการเมอื งยโุ รปยคุ กลาง,” เครอื ขา ยกฎหมายมหาชนไทย (๒ พฤษภาคม

๒๕๔๘), สืบคน เมื่อ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=767



¢ÍŒ 椄 à¡μ :
“ÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμ”Ô (Natural Rights) ·èÕà¡´Ô ã¹Âؤ¡ÃÕ¡/âÃÁ¹Ñ ๹Œ ¤ÇÒÁสาํ ¤ÞÑ ¢Í§Á¹ÉØ Â Á¹ÉØ Â
ÁàÕ ËμáØ ÅмŠNature = Human
Being
“ÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ” (Natural Rights) ã¹Âؤ¡ÅÒ§ ๹Œ ÈÅÕ ¸ÃÃÁáÅÐμÍŒ §ÊÍ´¤ÅÍŒ §¡ºÑ
ËÅ¡Ñ ÈÒʹÒÍÂà‹Ù ˹Í× »¨˜ ਡº¤Ø ¤Å
Nature = God

ภายใตบริบทเชนนี้ อํานาจทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ไมถือวาอยูในมือของ
สามญั ชน นกั ปราชญช น้ั นาํ ลว นมที ศั นะสนบั สนนุ ความสาํ คญั สงู สดุ ของพระเจา ผนู าํ ทางการปกครองเอง
ก็มาจากฝายศาสนจักร ผูคนในสังคมเองก็ยอมรับสภาพชีวิต ไมมีความคิดอยากตอสูเพ่ือเปล่ียนชั้น
ทางสังคมของตน เหลาทาสพึงพอใจกับการไดรับการดูแลจากผูอุปการะมากกวาเรียกรองชีวิตเสรี
ในเม่ือชะตาชีวิตถูกกําหนดโดยเจตนาของพระเจา (God’s will) แลว แนวคิด “สิทธิธรรมชาติ”
ท่ีเกิดขึ้นมาในยคุ กอนหนาจึงไมใชป ระเดน็ ทไี่ ดรบั ความสนใจและสานตอในยุคนแี้ ตป ระการใด

Â¤Ø ÊÁÂÑ ãËÁ‹ : àÁÍ×è ªÇÕ μÔ à»š¹¢Í§àÃÒ

ในยคุ น๑ี้ ๔ อิทธพิ ลของศาสนจกั รลดนอยลง เนอ่ื งจากไมส ามารถสรา งความสุขแกชีวิตได
อยา งแจมชัด ศาสนจกั รถกู ทา ทาย ท้ังจากปญ หาภายในศาสนจกั รเอง อาทิ นักบวชเขามามบี ทบาท
ทางการเมืองอยางมากพระช้ันผูใหญประพฤติตนไมเหมาะสม ผนวกกับมีการแลกเปล่ียนทางการคา
ผูคน ความคิด องคความรูทางวิทยาศาสตรเริ่มขยายตัว การตอตานศาสนจักรจึงขยายวงกวาง
ตามไปดวย โลกกาวเขา สยู ุคใหมซงึ่ มปี รากฏการณสาํ คญั ที่ควรคาแกก ารกลา วถึงดังนี้

(๑) การฟน ฟศู ลิ ปะวิทยาการ (Renaissance)๑๕
นกั คิด นกั เขยี น ศิลปน นําศลิ ปะ วฒั นธรรมยุคกรีก และโรมันกลับมาฟนฟู รวมถงึ

การเรยี นรกู ารเมอื ง ศลิ ปะ สังคม ดนตรี ทหี่ ายไปนานในยุคกลาง
(๒) การใหความสาํ คัญกบั มนษุ ย (Humanism)
ผูคนเริ่มกลับมาใหคุณคากับการแสวงหาความจริงของสรรพสิ่งดวยตนเอง

ลกั ษณะเดน ของยคุ นคี้ อื ใหค วามสาํ คญั กบั ความจรงิ ความรู และมนษุ ยน ยิ ม ผลอยา งเปน รปู ธรรมคอื
มงี านศิลปะและวรรณกรรมท่โี ดดเดน มีผลงานทพี่ ิสจู นไ ดทางวิทยาศาสตร นาํ ยโุ รปเขา สูยุคสมยั ใหม

๑๔ในท่ีน้ียึดต้ังแตยุคฟนฟูศิลปวิทยาการถึงปรากฏการณการปฏิวัติอุตสาหกรรม ประมาณปลายศตวรรษท่ี ๑๕ ไปจนถึงตนศตวรรษที่ ๑๘
ในฐานะชวงเวลาที่ถูกเรียกวายุคสมัยแหง “การรูแจง” (Enlightenment) หรือยุคของเหตุและผล (Age of Reason) ดวยมีหลักการ
ความเช่อื บางอยา งรว มกนั และสงผลสืบเนอื่ งตอ กันมา

๑๕Renaissance มาจากความหมายวา Rebirth เปรียบกับการเกิดขึ้นใหมของสังคมยุโรปขนานใหญ โดยเฉพาะทางดานการเรียนรู
วรรณกรรม และศลิ ปะที่ไมไ ดรบั การพัฒนาในยคุ มืด แรกเรม่ิ จากอติ าลชี วงกลางศตวรรษที่ ๑๔ และจงึ แพรขยายไปทัว่ ยุโรป



(Modern Europe) การกลบั มาของความเชอื่ ม่ันในตวั มนุษยทาํ ให “สิทธธิ รรมชาติ” ไดร บั การอางถงึ
อีกครัง้

ฮวิ โก โกรเทยี ส (Hugo Grotius, ๑๕๘๓-๑๖๔๕) บรมครทู างกฎหมายของเนเธอรแ ลนด
เช่ือวามนษุ ยมีเหตุผลทถ่ี กู ตอ งในการกระทําของตน [people have a “right reason” for doing
things.] หรอื นกั คิดท่มี ชี ่ือเสียง อาทิ โธมสั ฮอบส (Thomas Hobbes, ๑๕๘๘-๑๖๗๙), จอหน ลอ็ ค
(John Locke, ๑๖๓๒-๑๗๐๔) และเอ็มมานูเอ็ล คานท (Immanuel Kant, ๑๗๒๔-๑๘๐๔)
กม็ ที ศั นะสนบั สนนุ “สทิ ธธิ รรมชาต”ิ วา คนเรานนั้ มสี ทิ ธพิ นื้ ฐานบางอยา งตดิ ตวั เรามานบั แตเ ราถอื กาํ เนดิ
สิทธิท่ีวาน้ีเปนสากล (Universal rights) ที่ทุกคนมีและไมสามารถแบงหรือโอนใหแกกันได
(Inalienable rights)๑๖ ผสานเขากับแนวคิดมนษุ ยนยิ ม (Humanism) ที่เชอ่ื ในศักยภาพของมนษุ ย
ซงึ่ ไปไกลกวา ความคดิ ทไี่ มช ดั เจนของ “สทิ ธธิ รรมชาต”ิ ยงิ่ ไปกวา นน้ั มนษุ ยนยิ มยงั มองไปถงึ ความสามารถ
ของมนุษยในการพัฒนาตนเองในหลากหลายดาน เชน ศิลปะ ดนตรี ภาษา ชางฝม อื วทิ ยาศาสตร
ระบบการศึกษาในยคุ นีจ้ งึ เนน ทก่ี ารพัฒนาคน และใหค วามสําคญั กับ “ปจเจกบคุ คล”

(๓) การรแู จง (The Enlightenment)
เมอ่ื คนรสู กึ วา ตนเองมคี ณุ คา และมศี กั ยภาพทจ่ี ะพฒั นาตนเองแลว นนั่ เองทท่ี าํ ใหม นษุ ย

ใชส ตปิ ญ ญานาํ ไปสกู ารหาคาํ ตอบใหก บั สง่ิ รอบตวั การรแู จง เกดิ มาพรอ มกบั การปฏวิ ตั ทิ างวทิ ยาศาสตร
จนมวี วิ ฒั นาการในทกุ ดา น ไมว า จะเปน ดา นวทิ ยาศาสตร ดาราศาสตร คณติ ศาสตร การแพทย ภมู ศิ าสตร
กฎหมาย ปรชั ญา๑๗ ความสนใจในการเรยี นรขู ยายวงกวา ง ความตอ งการแรงงานทชี่ าํ นาญเฉพาะดา น
ทําใหชวงนี้เกิดการต้ังมหาวิทยาลัยจํานวนมากท่ัวภาคพื้นยุโรป๑๘ การกระจายขององคความรู
อยางมีเหตุและผลทาํ ไดงา ย รวดเรว็ และกวางขวาง

การอธิบายปรากฏการณตางๆ อยางมีเหตุมีผลสงผลตอสังคมในชวงยุคสมัยนั้น
อยางมาก ในแงสังคมเกิดสังคมอุตสาหกรรม ชุมชนเมือง ผูคนมีความหลากหลาย มีความรูเชิง
ประจักษม ากขน้ึ มนุษยอยากมีความสขุ กับปจ จุบนั ไมใ ชโ ลกหนา ในนามของพระเจา ในเชิงเศรษฐกจิ
การพฒั นาวทิ ยาศาสตรท าํ ใหก ารผลติ ทาํ ไดง า ยขนึ้ เกดิ การเดนิ ทาง การคา ขายแลกเปลย่ี นอยา งคกึ คกั ใน
ทางการเมอื งเองกเ็ กดิ ความคดิ เกย่ี วกบั เสรภี าพ และความเสมอภาค การเคารพสทิ ธพิ นื้ ฐานของมนษุ ย
และระบอบการปกครองทเ่ี ปนธรรม๑๙

๑๖ “Human Rights Philosophies,” Op.cit.
๑๗ นกั วิทยาศาสตรทม่ี ชี อ่ื เสยี งมากคนหนง่ึ ของยุคน้ันคอื กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอี (Galileo Galilei, ๑๕๖๔-๑๖๔๒) เขาพยายามเปลยี่ นแนวคิด

ใหมว า ดวงอาทติ ยเ ปนศนู ยก ลางของจักรวาล (สนบั สนุนแนวคิดของโคเปอรน คิ สั ) ซึง่ ขดั แยงกบั การตีความตามพระคมั ภีรที่เช่ือวา โลกเปน
ศนู ยก ลางของจกั รวาล นาํ ความเดอื ดรอ นมาใหก บั เขาเอง ทงั้ ตอ งถกู กกั ขงั และถกู กลา วหาวา เปน พวกนอกรตี ตอ ตา นคาํ สง่ั สอนของศาสนา
๑๘ “Renaissance.” Encyclopedia.com, สบื คนเมอื่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก http://www.encyclopedia.com/literature-and-arts/
language-linguistics-amd-literary-terms/literature-general/renaissance
๑๙ “Enlightenment,” Stanford Encyclopedia of Philosophy (๒๐ August ๒๐๑๐), สบื คน เมอ่ื ๖ ตลุ าคม ๒๕๕๙, จาก https://plato.
stanford.edu/entries/enlightenment/



ขางตนถอื เปนพื้นฐานแนวคดิ อดุ มการณก ารเมืองในยคุ น้ี เชน จงั จาค รสุ โซ (Jean
Jacques Rousseau, ๑๗๑๒-๑๗๗๘) ใหความเห็นไวในงานเขียน “The social contract” วา
ผปู กครองไมใ ชผ ใู ชอ าํ นาจในนามพระเจา แตเ ปน ไปตามเจตนารมณข องประชาชน (The general will)

อันที่จริงสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองสงผลซึ่งกันและกันอยางมีนัยสําคัญ
ชนช้ันใหมอยางพอคาวาณิชหรือผูมีความรูไมไดกระจุกตัวอยางในอดีต ผลักดันใหสังคมตอง
คลี่คลายอํานาจจากกลุมคนช้ันสูงลงสูคนสวนใหญ ซ่ึงสวนหนึ่งสะทอนผานความคิดของนักปรัชญา
หลายทาน ซึ่งมุงใหอํานาจแกประชาชน และสรางสังคมเขมแข็ง (Civic society) และแนนอน
เนนการถือครองทรัพยสินของท่ัวไป พิจารณาไดจากงานเขียน “Second Treatise” ของ จอหน
ลอ็ ค ซึง่ เขามองวา เปา หมายสงู สุดของสงั คมการเมือง คอื การรักษาและปกปอ งทรัพยสิน (รวมความ
อยางกวางถึงทรัพยสมบัติ ชีวิต และเสรีภาพดวย) กฎหมายนั้นตองคุมครองเสรีภาพในการคาขาย
การแลกเปลยี่ น โดยรฐั ไมก า วกา ย อาจกลา วไดว า เสรภี าพทางเศรษฐกจิ และเปน เสรภี าพพนื้ ฐานสาํ คญั
ประการหนึง่ ของยุคสมยั ใหม

สรุปไดวาในยุคนี้ มีความรูเชิงเหตุและผลเปนแรงขับเคลื่อน โดยมีแนวคิดมนุษยนิยม
มาตอกยาํ้ ความสามารถของมนษุ ย นาํ ไปสกู ารพฒั นาความรทู างวทิ ยาศาสตร ซง่ึ สง ผลตอ การเปลยี่ นแปลง
ทั้งมิติทางสังคม เศรษฐกจิ และการปกครอง

ในอดีตผูคนไมสามารถกําหนดชีวิตตนเองได หากเปนทาสก็ตองยอมรับชะตากรรม
ถูกโอน ซื้อ ขาย ถูกลงโทษไดตามแตเจาชีวิตกําหนด หรือเชื่อวาพระเจาบันดาลทุกส่ิง ไมโตแยง
ตอคาํ สอนของพระเจา เพราะไมไดมองวา “มนุษย” คอื ศูนยก ลางของความรแู จง การปกครองกระทาํ
โดยชนช้ันสูง ทวา เม่ือพัฒนาการของสังคมเปลี่ยนไป ผูคนเริ่มเชื่อม่ันในตนเองมากข้ึน มีความรู
ตอโลกมากขึ้น โดยเฉพาะอยางย่ิงในเชิงวิทยาศาสตร เร่ิมสะสมทรัพยสินไดจากระบบเศรษฐกิจ
ทีข่ ยายตวั บวกกับเช่ือวา คนมีความเทา เทยี ม อันเปนผลพวงจากแนวคดิ “สิทธิธรรมชาต”ิ เหลานีเ้ อง
ท่ีทําใหประชาชนลุกฮือเพ่ือสรางความเปลี่ยนแปลงและเรียกรองสิทธิของตน โดยเฉพาะในเชิงการ
ปกครอง เพราะน่ันเทา กับสามารถกําหนดชะตาชีวติ ในรูปแบบทต่ี องการไดน ่นั เอง

อยางไรก็ดี เหตุการณสําคัญท่ีสะทอนวาประชาชนกลาลุกขึ้นมาเปลี่ยนแปลงระบบเกา
กลาท่ีจะเรียกรองสิทธิใหแกตนเอง จนเปนตนแบบใหเกิดความเปล่ียนแปลงในหลายพื้นที่ และเปน
รากฐานอันสาํ คญั ของกฎหมายสิทธิมนษุ ยชนในระดบั สากลในระยะเวลาตอ มา ไดแก สามเหตกุ ารณ
สาํ คญั ตอ ไปนี้ คอื การประกาศมหาบัตร, การปฏิวัติอเมรกิ า และการปฏวิ ตั ฝิ รงั่ เศส

๑๐

àËμØ¡Òóส ํา¤ÞÑ ã¹ÂؤÊÁÑÂãËÁ·‹ ÕèÊзŒÍ¹á¹Ç¤´Ô ÊÔ·¸¸Ô ÃÃÁªÒμÔ

(ñ) ¡ÒûÃСÒÈÁËÒºμÑ Ãòð
องั กฤษภายใตก ารปกครองของพระเจา จอหน King John (๑๑๖๗-๑๒๑๖) พยายามรกั ษา

ดนิ แดนและขยายอาํ นาจดว ยการทาํ สงคราม แนน อนสงิ่ ทต่ี ามมาคอื คา ใชจ า ยมหาศาล กษตั รยิ บ บี คน้ั
ขุนนาง ทายที่สุดก็นําไปสูกระแสตอตานกษัตริยของหมูอภิชนในท่ีสุด พระองคจึงยอมลงนาม
ในเอกสารสาํ คญั คอื มหาบตั ร หรอื Magna Carta (๑๒๑๕) ซง่ึ ระบวุ า ทกุ คนรวมถงึ กษตั รยิ ต อ งอยภู ายใต
กฎหมาย มีท้ังสิ้น ๖๓ ขอ สวนใหญเกี่ยวกับการเก็บภาษี การบริหารประเทศ ในจํานวนน้ีเก่ียวกับ
ประเด็นสทิ ธิเสรีภาพท่ีรวมสมัยอยู ๒ ขอ คอื ขอที่ ๓๙ กับขอ ที่ ๔๐

(๓๙) No free man shall be seized or imprisoned, or stripped of his
rights or possessions, or outlawed or exiled, or deprived of his standing in any other
way, nor will we proceed with force against him, or send others to do so, except by
the lawful judgement of his equals or by the law of the land. [ไมมีเสรชี นควรถกู จับ
จําคุก เพิกถอนสิทธิ ถูกควบคุม ถูกทําใหผิดกฎหมาย ถูกเนรเทศ ถูกพรากออกตําแหนงไมวาวิธีใด
รวมถึงไมใชกําลังบังคับ หรือสงผูอื่นไปใชกําลัง เวนแตโดยการพิจารณาตามกฎหมายท่ีเสมอภาค
หรือโดยกฎหมายของแผน ดิน]

(๔๐) To no one will we sell, to no one deny or delay right or justice. [ไมม ใี คร
ควรถูกขาย หรือปฏิเสธ หรอื หนว งเหนี่ยวซ่ึงสิทธิและความยุติธรรม]

¤³Ø Ù»¡Òâͧ¢ŒÍ¤ÇÒÁàº×Íé §μ¹Œ ·ÁèÕ μÕ ‹Í»ÃÐà´ç¹Ê·Ô ¸ÔÁ¹ÉØ Âª¹ ¤×Í
(๑) เทากับทําใหสิทธิของมนุษยท่ีเคยเปนเพียงแนวคิดนามธรรม เชน เรื่อง
“สทิ ธธิ รรมชาติ” เกดิ ผลในเชิงรูปธรรม และมีสภาพบงั คบั เปน กฎหมายใหผ ปู กครองปฏิบัตติ าม

๒๐ แมนเหตกุ ารณนจ้ี ะเกดิ ขน้ึ ในยคุ สมัยกอ นหนา แตท วาถอื เปน เหตกุ ารณส ําคัญท่คี วรกลาวถงึ เนอ่ื งจากเปน จดุ เรม่ิ ตน ของการจํากดั อาํ นาจ
ผูปกครอง นบั เปน เอกสารชิน้ สาํ คัญของโลกทางดา นกฎหมายมหาชน ซึง่ สงผลตอ ผลลพั ธทเ่ี ปน รปู ธรรมของอกี สองเหตุการณสาํ คญั ที่จะ
ไดก ลาวถึงในลาํ ดับถดั ไป

๑๑

(๒) ใหสิทธิแกพ ลเมืองและปจเจกชนมากยิ่งขน้ึ ๒๑
(๓) กลายเปน ตน แบบใหก บั กฎหมายของหลายประเทศ เชน บทบญั ญตั วิ า ดว ยสทิ ธิ
เสรีภาพ (Bill of Rights, ๑๗๙๑) ของรฐั ธรรมนญู อเมริกนั , ปฏญิ ญาสากลวา ดวยสทิ ธิมนษุ ยชน
แหงสหประชาชาติ (Universal Declaration of Human Rights, ๑๙๔๘) และอนสุ ัญญาวา ดวย
การปกปอ งสทิ ธิมนษุ ยชนของยุโรป (European Convention of Human Rights, ๑๙๕๐)
(ò) ¡Òû¯ÔÇÑμÔÍàÁÃÔ¡Ò (The American Revolution)
ดินแดนที่เปนประเทศสหรัฐอเมริกาในปจจุบัน เดิมเปนผืนดินของคนทองถิ่น
(Indians) ตอมาราวทศวรรษท่ี ๑๗๐๐ ไดมีผูอพยพยายถิ่นจํานวนมากจากยุโรปลองเรือมาข้ึนฝง
เพอ่ื แสวงหาโอกาสใหมแ กชวี ติ รัฐบาลอังกฤษไดขยายอํานาจการปกครองตามไป รวมถึงขยายตลาด
ระบายสนิ คา ไปยงั ดนิ แดนหา งไกลน้ี ทา ยทสี่ ดุ ประชากรองั กฤษกเ็ พม่ิ จาํ นวนหมน่ื เปน เรอื นแสนเรอื นลา น
ชาวอาณานคิ มทเ่ี คยคาดฝน วา จะมชี วี ติ ทอี่ สิ ระเสรกี ลบั ยงั คงอยภู ายใตก ารปกครองของกษตั รยิ อ งั กฤษ
ไมต า งจากเดิม
͹Öè§ »Þ˜ ËÒÍѹนําÁÒÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¡ÃÍŒ §ÍÊÔ ÃÀÒ¾¨Ò¡Í§Ñ ¡ÄÉÁÊÕ Í§»ÃÐà´¹ç สํา¤ÑÞ ¤Í×
(๑) ในทางการเมือง ประชาชนของอาณานิคมแหงน้ีไมไดรับสิทธิในฐานะพลเมือง
อยา งเตม็ ทปี่ ระกายความคดิ เรอื่ ง “สทิ ธธิ รรมชาต”ิ ทมี่ องวา คนเกดิ มามคี วามเทา เทยี ม ครกุ รนุ เสมอมา
ดังคําพูดอันโดงดังของ แพทรกิ เฮนรี (Patrick Henry, ๑๗๓๖-๑๗๙๙) ที่วา “give me liberty or give
me death” [ใหเ สรีภาพแกฉันหรือใหฉันตาย]
(๒) ปญ หาสาํ คญั ทจี่ ดุ ปะทใุ หเ กดิ ความแตกหกั เปน เรอ่ื งของเศรษฐกจิ เนอ่ื งจากนโยบาย
ทไี่ มเ ปน ธรรมหลายเรอื่ งของรฐั บาลองั กฤษ เชน การออกกฎหมาย Stamp Act ป ๑๗๖๕ เพอ่ื เกบ็ ภาษี
กระดาษ เชน หนังสือพิมพ แผนพับ แสตมป เปนตน ซึ่งถูกตอตานจนตองยกเลิกการใชบังคับในป
ถดั ไป, การเก็บภาษใี บชา โดย Tea Act ป ๑๗๗๓ ท่ที ําใหช าวอาณานิคมเสียเปรยี บในการคา ใบชา
จนเกิดเหตุการณ Boston Tea Party๒๒ ชาวอาณานิคมมีความรูสึกวาการตองจายภาษีจํานวนมาก
หลอ เลยี้ งกองกาํ ลงั ของรฐั บาลองั กฤษ แตก ลบั ไมม สี ทิ ธมิ เี สยี งเทยี บเทา ชาวองั กฤษ ราษฎรอาณานคิ ม
ไมม ผี แู ทนราษฎรในรฐั สภา จงึ เปน ทมี่ าของการประทว งไมจ า ยภาษใี หแ กร ฐั บาลองั กฤษ ดว ยคาํ พดู ทว่ี า
“ไมข อจา ยภาษี หากปราศจากตัวแทน” [no taxation without repersentation]
ความไมพ อใจรฐั บาลองั กฤษทถ่ี กู สะสมมาอยา งตอ เนอ่ื ง นาํ ไปสกู ารตอ สถู งึ ขนั้ เขา ทาํ
สงครามกนั โดยเรม่ิ ตง้ั แตด นิ แดนอาณานคิ ม ๑๓ รฐั รว มกนั มคี าํ ประกาศอสิ รภาพ (The Declaration of

๒๑ อยางไรกต็ าม เฉพาะคนทม่ี ีเสรภี าพ (Free man) เทา น้นั ทอี่ ยใู นความคมุ ครองของมหาบตั ร โดยเฉพาะบรรดาขุนนางและนกั บวชดจู ะได
ประโยชนจากการน้ีมากอยูพอสมควร ยังมีคนอีกเปนจํานวนมากซ่ึงไมไดรับการคุมครอง ดู ธเนศ อาภรณสุวรรณ, กําเนิด
และความเปนมาของสทิ ธิมนุษยชน, (กรงุ เทพฯ: โครงการจัดพมิ พค บไฟ, ๒๕๔๙) หนา ๖๒-๖๓.

๒๒ เหตุการณขางตนเกิดขึ้นในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ค.ศ.๑๗๗๓ เมื่อชาวอเมริกัน ๑๕๐ คน บุกข้ึนไปบนเรือบรรทุกใบชาที่จอดเทียบทา
อยเู มืองบอสตนั และเทใบชาทงิ้ ลงทะเลเพื่อประทวงการเก็บภาษีใบชา

๑๒

Independence, ๑๗๗๖)๒๓ ขอแยกตัวออกจากอังกฤษในสมัยของพระเจาจอรจที่ ๖
(King George VI, ๑๘๙๕-๑๙๕๒) เมอ่ื วนั ที่ ๔ กรกฎาคม ค.ศ.๑๗๗๖ โดยที่เนือ้ หาบางสว นของ
คาํ ประกาศนย้ี ดึ โยงกบั รากฐานความเชอ่ื เรอ่ื ง “สทิ ธธิ รรมชาต”ิ คอื เชอื่ วา มนษุ ยเ ทา เทยี มกนั ประชาชน
มีสิทธิเสรีภาพบางประการติดตัวมาตั้งแตเกิด ไดแก สิทธิในชีวิต เสรีภาพ และการแสวงหาความสุข
ตลอดทั้งอํานาจอธิปไตยยอมเปนของประชาชน เมื่อใดที่รัฐบาลไมสามารถรักษาไวซึ่งสิทธิเสรีภาพ
ได ประชาชนก็มีสิทธิท่ีจะโคนลมรัฐบาลนั้น๒๔ เทากับนําแนวคิดของล็อกและรุสโซมาใชเปนฐานคิด
จวบจนนาํ ไปสรู ัฐธรรมนญู ลายลกั ษณอ กั ษรฉบับแรกของโลกในอกี ๑๒ ปต อมา

๑๒ ปหลังจากประกาศอสิ รภาพ รัฐธรรมนญู ฉบบั แรกถกู ประกาศในป ๑๗๘๙ ดวย
มาตราเพียง ๗ มาตรา หัวใจสําคัญของรัฐธรรมนูญคือตอกยํ้าความสําคัญของประชาชนและสิทธิ
เสรภี าพ พิจารณาไดต ั้งแตคําปรารภของรฐั ธรรมนูญ๒๕ ไปจนถึงสวนทเ่ี ก่ยี วกับบทบัญญัตวิ าดวยสิทธิ
เสรภี าพ

กลา วไดวา สิทธิเสรภี าพขน้ั พื้นฐานของคนอเมริกนั ถกู กาํ หนดไวใ นบทบญั ญตั แิ กไข
เพม่ิ เตมิ รฐั ธรรมนูญครัง้ ท่ี ๑-๑๐๒๖ ซึง่ ใหส ัตยาบนั พรอ มกันเมือ่ ๑๕ ธันวาคม ค.ศ. ๑๗๙๑ จงึ ถกู เรียก
รวมๆ วา เปน Bill of Rights (๑๗๙๑) เพ่ือใชเปน หลกั ประกนั วา ประชาชนทุกคนพึงไดร ับการคุม ครอง
จากกฎหมายโดยเทาเทยี มกนั เรอ่ื งท่ีสาํ คญั มีดังน้ี

การแกไขเพ่มิ เตมิ คร้ังท่ี ๑ : ประชาชนมีเสรีภาพในทางศาสนา การพูด การพิมพ
การโฆษณา และการชมุ นมุ รวมกนั โดยสงบ

๒๓ เอกสารน้ีเขียนข้ึนโดย โธมัส เจฟเฟอรสัน (Thomas Jefferson, ๑๗๔๓-๑๘๒๖) ซึ่งตอมาไดเปนประธานาธิบดีคนท่ี ๓
ของสหรัฐอเมรกิ า

๒๔ ตนฉบบั ภาษาองั กฤษของขอ ความบางสวนพรอมคาํ แปลคอื “We hold these truths to be self-evident, that all men are created
equal, that they are endowed by their Creator with certain unalienable Rights, that among these are Life, Liberty
and the pursuit of Happiness. That to secure these rights, Governments are instituted among Men, deriving their just
powers from the consent of the governed,-- That whenever any Form of Government becomes destructive of these ends,
it is the Right of the People to alter or to abolish it...” [เราถือวา ความจรงิ นเ้ี ปนส่ิงทป่ี ระจกั ษแจงอยใู นตวั เอง นนั่ คอื มนุษย
ทุกคนถูกสรางข้ึนมาอยางเทาเทียมกัน และพระผูสรางไดมอบสิทธิบางประการที่จะเพิกถอนมิได ไวใหแกมนุษย ในบรรดาสิทธิเหลาน้ัน
ไดแก ชีวิตเสรีภาพ และการแสวงหาความสขุ และเพื่อธํารงรกั ษาซ่ึงสิทธดิ ังกลา ว เราจงึ ตอ งจัดตง้ั รฐั บาลทป่ี ระกอบดว ยประชาชน เพอ่ื ใช
อํานาจปกครองอยางเปนธรรมโดยความยินยอมของประชาชนผูอยูใตปกครอง และเมื่อใดท่ีรัฐบาลไมวาในรูปแบบใดกลายเปนอุปสรรค
ทาํ ลายเปาประสงคดงั กลาว นัน่ ยอ มเปนสทิ ธขิ องประชาชนท่ีจะเปล่ียนแปลงหรอื ลมลา งรฐั บาลนั้น)

๒๕ ตน ฉบบั ภาษาองั กฤษของขอ ความทง้ั หมดพรอ มคาํ แปลคอื “We the people of the United States, in order to form a more perfect
union, establish justice, insure domestic tranquility, provide for the common defense, promote the general welfare, and
secure the blessings of liberty to ourseives and our posterity, do ordain and establish this Constitution for the United
States of America.” [เราประชาชนแหง สหรฐั เพอื่ ใหก ารรวมกนั เปน ชาตสิ มบรู ณแ บบยงิ่ ขนึ้ เพอื่ ใหม คี วามยตุ ธิ รรม เพอ่ื ความสงบภายใน
ประเทศ เพอ่ื ปอ งกนั ประเทศรว มกนั เพอื่ สง เสรมิ สวสั ดภิ าพโดยทวั่ ไป และเพอ่ื ธาํ รงรกั ษาเสรภี าพไวใ หค นรนุ เราและคนรนุ หลงั ไดช นื่ ชมกนั
ตอ ไป จึงไดบ ญั ญัติ และสถาปนารัฐธรรมนญู แหงสหรัฐอเมรกิ าขน้ึ มา)

๒๖ ดู “Bill or Rights,” Legal Information Institute, สบื คน เมอื่ ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๕๙, จาก https://www.law.cornell.edu/constitution/
billofrights#amendmenti

๑๓

การแกไขเพิม่ เตมิ ครั้งท่ี ๒ : สทิ ธขิ องประชาชนทจี่ ะมแี ละถอื อาวธุ จะถกู ขดั ขวางมไิ ด
การแกไ ขเพิ่มเติมคร้ังที่ ๔ : ประชาชนจะถกู ตรวจคน หรอื ยดึ ทรพั ยส นิ โดยไมม เี หตอุ นั ควร

มไิ ด
การแกไ ขเพ่มิ เตมิ ครัง้ ท่ี ๖ : ในคดีอาญา จําเลยมีสิทธิท่ีจะไดรับการพิจารณาคดี

อยางรวดเรว็ และเปดเผย
การแกไ ขเพ่ิมเติมครง้ั ที่ ๘ : สทิ ธใิ นเรอ่ื งหา มกาํ หนดคา ประกนั ชวี ติ หรอื คา ปรบั สงู เกนิ ควร

และหามการลงโทษซงึ่ รายแรงผดิ ปกติวิสัย
(ó) ¡Òû¯ÇÔ ÑμԽçèÑ àÈÊ (French Revolution)

การปฏวิ ตั ฝิ รง่ั เศสเกดิ ขนึ้ หลงั การประกาศอสิ รภาพของสหรฐั อเมรกิ าเปน เวลา ๑๐ ป
ลกั ษณะรวมที่สาํ คญั คอื ˹§Öè ผปู กครองคอื พระเจาหลุยสท ่ี ๑๖ (King Louis XVI, ๑๗๕๔-๑๗๙๓)
ไมสามารถปกครองอยางเปนธรรมได กอปรกับการใชจายท่ีฟุมเฟอยของราชสํานัก Êͧ สภาวะ
เศรษฐกจิ ทีฝ่ ดเคือง โดยเฉพาะรายจายของรฐั จากการทาํ สงคราม สรางความเดือดรอ นแกป ระชาชน
ประชาชนไรอาชีพแตคาครองชีพกลับสูงข้ึน และ ÊÒÁ อิทธิพลของอุดมการณ “สิทธิธรรมชาติ”
ถูกหยบิ ยกขน้ึ มาอางเพอื่ เปลีย่ นแปลงอดุ มการณด งั้ เดิม๒๗

ขบวนการลุกฮือคร้ังนเี้ ปนไปเพื่อลมระบอบเกา เหตกุ ารณส ําคัญอนั เปนสญั ลกั ษณ
ถึงชัยชนะของการปฏิวัติคือ การบุกพังทลายคุกบาสตีย (Bastille) ที่ใชสําหรับคุมขังนักโทษ
การเมือง และออกประกาศสทิ ธมิ นษุ ยแ ละพลเมือง (Declaration of the Rights of Man and of the
Citizen, ๑๗๘๙) เมือ่ วนั ท่ี ๒๖ สิงหาคม ในปเดยี วกัน ตอกยา้ํ ความสาํ คญั ทง้ั ในแงส ิทธิของปจเจกชน
(Individual rights) และของกลมุ (Collective rights)

ประกาศดงั กลา วมี ๑๗ ขอ เปน ผลโดยตรงของแนวคดิ “สทิ ธธิ รรมชาต”ิ และปรชั ญา
การเมืองและกฎหมายในยุคการรูแจง เชน เร่ืองสัญญาประชาคม (Social contracts) มีเน้ือหา
ระบถุ งึ สทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนในดา นตา งๆ เอาไวม ากมาย ดว ยเพราะตอ งการแกไ ขปญ หาจากการ
ใชอ ํานาจปกครองตามอาํ เภอใจ อาทิ

ขอ ๑ : มนุษยท กุ คนเกดิ มา และดาํ รงอยูอยางมอี สิ ระและเสมอภาคกันในสิทธิ
ขอ ๒ : วตั ถปุ ระสงคข องสงั คมการเมอื งทกุ สงั คมยอ มเปน ไปเพอื่ การคมุ ครองรกั ษาสทิ ธิ

ตามธรรมชาติ
ขอ ๕ : ส่ิงใดทไ่ี มม กี ฎหมายหา ม ใครจะมาหา มไมใ หทํายอมไมได
ขอ ๖ : กฎหมาย คอื เจตนารมณรวมกันของประชาชน

๒๗ สรปุ จาก “French Revolution,” New World Encyclopedia, สบื คน เมื่อ ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๕๙, จาก http://www.newworidency-
clopedia.org/entry/French_Revolution

๑๔

ขอ ๘ : บคุ คลอาจตอ งรบั โทษอาญา เวน แตไ ดก ระทาํ การอนั ฝา ฝน กฎหมายทตี่ ราขนึ้
และประกาศใชก อ นการกระทําความผิด:

ขอ ๙ : บคุ คลยอ มไดร บั การสนั นษิ ฐานไวก อ นวา บรสิ ทุ ธ์ิ จนกวา จะมกี ารประกาศวา
มคี วามผดิ และขอ ๑๑ : การตดิ ตอ สอื่ สารกนั ทางความคดิ และความเหน็ เปน สทิ ธิ
ทม่ี คี า ทส่ี ุดประการหนงึ่ ของมนษุ ยแ ตละคน

การใหคุณคาในชีวิตของ “มนุษย” เปนกระบวนทัศนที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย อดีต
คนยังยอมรับวา ชวี ิตถูกกาํ หนดโดยบคุ คลอ่นื ไมว าจะเปนนายทาส เจา ทดี่ นิ กษตั รยิ  หรอื แมแตข้นึ อยู
กบั พระเจา แนวคดิ จากนกั ปรัชญาเรื่อง “สิทธธิ รรมชาติ” จงึ เปรียบเสมือนแสงเทยี นใหคนตระหนกั วา
“คนมีคณุ คาในชีวติ ” “คนมสี ิทธใิ นชวี ติ ” ดวยเหตนุ ้กี ารลกุ ฮือตอตาน “อาํ นาจ” ท่ีควบคุมชวี ติ “ปถุ ชุ น”
จงึ เกดิ ขน้ึ ไมว า จะเปน เหตผุ ลเชงิ ผลประโยชนท างเศรษฐกจิ สถานภาพทางสงั คม หรอื เพอื่ ผลประโยชน
ของมวลชน แตค วามเปลย่ี นแปลงไดเ กดิ ขนึ้ แลว อดุ มการณส ทิ ธมิ นษุ ยชนไดก อ ตวั ขนึ้ แลว และไดร บั การ
ขยายตวั ไปในหลายประเทศ และทําให “สิทธิ” มคี วามชดั เจนขน้ึ จาก “สทิ ธธิ รรมชาต”ิ ทีเ่ ปน นามธรรม
สกู ารรบั รองโดยบทบญั ญตั กิ ฎหมายทเ่ี ปน ลายลกั ษณอ กั ษร ทวา เหตกุ ารณเ หลา นเ้ี ปน การเปลย่ี นแปลง
เฉพาะพนื้ ท่ี ความเปน “สากล” ของสทิ ธิมนษุ ยชนยงั ไมปรากฏเปนทป่ี ระจกั ษนัก

ปรากฏการณท ที่ าํ ให “สทิ ธมิ นษุ ยชน” กลายเปน เรอ่ื งสาํ คญั ทท่ี าํ ใหท วั่ โลกหนั มาสนใจ
จริงจังตอประเด็นน้ี กระทั่งไดรับการรับรองจากนานาประเทศ เปนผลสืบเน่ืองจากมหาสงครามโลก
คร้ังที่สอง๒๘ ที่สรางความสูญเสียมหาศาลตอมวลมนุษยชาติ การกระทํารุนแรงของมนุษยตอมนุษย
ดวยกันระหวางชวงสงครามเปนความโหดราย เสมือนมองมนุษยราวกับไมใชมนุษย ไมวาจะเปน
การฆาลา งเผา พนั ธโุ ดยกองทัพนาซี การฆา ชาวจีนและเกาหลขี องกองทพั ญ่ีปุน การถลมโดยขปี นาวุธ
โดยอเมริกา ยอดผูเสียชีวิตรวมเปนพลเรือนถึงรอยละ ๖๗ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับชาวยิวที่ถูกฆา
เพราะผนู าํ นาซจี ดั อยใู นกลมุ เชอ้ื ชาติ “ทไ่ี มเ ปน ทต่ี อ งการ” (Undesirable) ชาวยวิ ตอ งถกู จบั เขา คา ยกกั กนั
ท่ีกองทัพเยอรมันสรางขึ้นทั่วยุโรป โดยมากโดนทรมานและถูกทํารายทารุณจนเสียชีวิต
ทั้งจากการถูกรมควันพิษ ถูกทดลองวิทยาศาสตร ถูกบังคับใชแรงงาน คาดวามีชาวยิวเสียชีวิต
ในชว งสงครามมากถึง ๖ ลา นคน๒๙ การบุกเขาไปในจนี ของกองทัพญ่ปี นุ สง ผลใหม ผี หู ญิงจนี ถกู ขม ขนื
ดว ยวธิ กี ารโหดรา ยกวา สองหมน่ื คน หรอื ทร่ี จู กั ในนามเหตกุ ารณ “Rape of Nanking”๓๐ ระเบดิ ปรมาณู

๒๘ สงครามคร้ังน้ีเร่ิมกอตัวระหวางชวงป ค.ศ.๑๙๓๙ จากการที่เยอรมันบุกยึดโปแลนด มีประเทศท่ีไดรับผลกระทบจากสงครามมากกวา
๓๐ ประเทศ มผี เู สยี ชวี ติ ทงั้ ทหารและพลเรอื นกวา ๕๐ ลา นคนทว่ั โลก และสงครามสน้ิ สดุ ลงเมอ่ื ประเทศสมั พนั ธมติ ร (Allied) สามารถเอาชนะ
ฝา ยอกั ษะ(Axis)ไดใ นปค.ศ.๑๙๔๕ ดเู พมิ่ เตมิ จาก“World War ll,” History,สบื คน เมอ่ื ๑๒สงิ หาคม๒๕๕๙,จากhttp://www.history.com
/topics/world-war-ii

๒๙ “World War 2 Holocaust,” World-War-2.info, สืบคน เมื่อ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙, จาก http://www.world-war-2,info/
holocaust/

๓๐ “Timeline of World War II: ๑๙๓๑-๑๙๓๘ ,” Learn NC, สบื คนเม่อื ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙, จาก http://www.learnnc.org/
lp/table.php?id=5975

๑๕

ลูกแรกทสี่ หรัฐอเมรกิ าท้งิ ลงท่ีเมืองฮิโรชิมา เมอ่ื วนั ท่ี ๖ สิงหาคม ค.ศ.๑๙๔๕ คราชีวิตผูค นทันทกี วา
๘๐๐,๐๐๐ คน ยงั ไมพดู ถึงผลรวมท่เี พิ่มข้นึ อีกหลายแสนคนภายหลงั สถานการณส งบ

ความรุนแรงในสงครามโลกครั้งท่ี ๒ ไมวาจะดวยเหตุผลอันใด ทั้งเชิงรุกราน
หรอื เพอื่ ตอบโต/ ปอ งกนั ลว นแลว แตไ มถ กู ตอ งเมอ่ื ลงเอยดว ยความสญู เสยี ชวี ติ ของเพอ่ื นมนษุ ยด ว ยกนั

สงครามคร้ังนี้ทําใหสังคมโลกรวมมือกันแสวงหากลไกที่จะใชในการรักษาสันติภาพ
ภายใตระบบกฎหมายระหวางประเทศ เพื่อปองกันมิใหประวัติศาสตรซ้ํารอย ในท่ีสุดจึงเกิดองคการ
สหประชาชาติ (United Nations) ข้ึนในป ค.ศ.๑๙๔๕ โดยมีประเทศที่รวมกอต้ัง ๕๑ ประเทศ
(ปจจุบันมีสมาชิก ๑๙๓ ประเทศ) และเกิดเปนขอตกลงยอมรับในหลักสิทธิมนุษยชนรวมกัน
ผา น »¯ÔÞÞÒÊÒ¡ÅÇÒ‹ ´ÇŒ ÂÊ·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹¢Í§ÊË»ÃЪҪÒμÔ (The Universal Declaration of Human
Rights-UDHR) ซง่ึ สมชั ชาสหประชาชาตลิ งมตริ บั รอง และประกาศใชม าตงั้ แต ๑๐ ธนั วาคม ค.ศ.๑๙๔๘

สว นตน ของคาํ ปรารภ (Preamble) ระบไุ วว า สงครามนาํ ความสญู เสยี มาแกช วี ติ มนษุ ยชาติ
และใหก ารรบั รองสทิ ธมิ นษุ ยชน, ศกั ดศิ์ รแี ละคณุ คา ความเปน มนษุ ย, ความเสมอภาคของชายและหญงิ
และความเสมอภาคของประเทศไมวาจะมีขนาดใหญหรือเล็ก, รัฐตางๆ ตองวางรากฐานเพื่อสราง
ความยตุ ธิ รรมใหเ ปน ไปตามเจตนารมณแหงพนั ธะสัญญาระหวา งประเทศใหส าํ เรจ็ ผล, และสนบั สนนุ
สรางความกา วหนาทางสงั คมและมาตรฐานชวี ติ ภายใตหลกั เสรภี าพ

การเกิดข้ึนขององคการสหประชาชาติภายหลังเหตุการณสงครามโลกครั้งที่สอง
จึงนับเปนจุดเร่ิมตนของ “สิทธิมนุษยชน” ที่ถูกหยิบยกเปนประเด็น “สากล” สําหรับโลกยุคใหม
การรบั รองกฎบตั รสหประชาชาตเิ ปน การแสดงใหเ หน็ ความมงุ มน่ั คมุ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน กอ นทจ่ี ะขยบั
ขยายตัวไปสปู ระเด็นท่หี ลากหลายในเวลาตอ มา

ʋǹÊûØ

สทิ ธมิ นษุ ยชนทถ่ี กู กลา วถงึ ในทกุ วนั นไี้ มใ ชแ นวคดิ ทเ่ี พง่ิ ปรากฏขนึ้ มาใหม หากแตร ากฐาน
ของสทิ ธมิ นุษยชนน้นั สามารถยอนกลบั ไปไดย าวนานในเชงิ ประวัติศาสตร ซง่ึ แนวคดิ “สิทธิธรรมชาต”ิ
ท่ีมีมาแตอดีตนั้นเปนรากฐานสําคัญของแนวคิด “สิทธิมนุษยชน” ในปจจุบัน โดยมีเหตุการณสําคัญ
ซ่ึงเช่ือมโยงกับพัฒนาการของแนวคิดสิทธิมนุษยชนในแตละชวงเวลา เร่ิมจากยุคกรีกและโรมัน
ซึ่งแมจะเปนจุดกําเนิดของแนวคิดสิทธิธรรมชาติแตประชาชนท่ัวไปยังยอมรับชะตากรรมชีวิต
โดยไมตั้งคําถามมากนักตอสิทธิเสรีภาพในชีวิตของตนเอง ตอมาในยุคกลางหรือยุคมืด อํานาจ
ของศาสนจักรมีบทบาทเหนืออํานาจฝายบานเมือง มีความเช่ือวาคริสตศาสนาคือศูนยกลางของ
สรรพสง่ิ พระเจา สรา งโลกและคอื คาํ ตอบทถ่ี กู ตอ งของชวี ติ มนษุ ย แนวคดิ สทิ ธธิ รรมชาตทิ เ่ี ชอื่ วา มนษุ ย
ทุกคนมสี ทิ ธิตดิ ตัวมาแตก ําเนดิ จึงถูกกดทับเปนอยางมากในยุคน้ี จนกระท่ังเขาสูยคุ ใหม ยคุ ท่ปี จเจกชน
เร่ิมกลับมาใหความสําคัญกับชีวิตมนุษย ดึงความสนใจจากศาสนจักรในยุคกอนมาสูความเปนมนุษย
และยดึ หลกั เหตแุ ละผล รวมถงึ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร เชน แนวคดิ มนษุ ยนยิ ม (Humanism) การรแู จง

๑๖

(The Enlightenment) และการฟน ฟศู ลิ ปะ (Renaissance) แนวคดิ สทิ ธธิ รรมชาตจิ งึ กลบั มาโดดเดน
และไดรับการกระจายแนวคิดนี้ในวงกวางมากย่งิ ขน้ึ นาํ ไปสูการตอสูที่สาํ คัญอันเปน การเรียกรองสิทธิ
ในชวี ติ ทส่ี าํ คญั สองเหตกุ ารณ คอื การประกาศมหาบตั รขององั กฤษ (๑๒๑๕), การปฏวิ ตั อิ เมรกิ า (๑๗๗๖)
และการปฏิวัตฝิ รง่ั เศส (๑๗๘๙)

ความสญู เสยี ทงั้ ตอ ชวี ติ และทรพั ยส นิ จากเหตกุ ารณส งครามโลกครง้ั ทสี่ อง ทาํ ใหป ระเทศ
ตางๆ ทั่วโลกกลับมาทบทวนรวมกันเพื่อสรางมาตรการปองกันการสูญเสียเชนน้ีไมใหเกิดข้ึนอีก
เจตนารมณของแนวคิดสิทธิธรรมชาติ ถูกนํามาใชและพัฒนาสูความเปนสากลหลังเหตุการณ
สงครามโลกคร้ังท่ีสองส้ินสุด น่ันคือ การเกิดข้ึนของแนวคิดสิทธิมนุษยชน ภายหลังการกอตั้ง
องคก ารสหประชาชาติ (๑๙๔๕) และการประกาศปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นษุ ยชนของสหประชาชาติ
(The Universal Declaration of Human Rights-UDHR) (๑๙๔๘)

¡Ô¨¡ÃÃÁ

๑. สิทธธิ รรมชาติ ถอื เปน แนวคิดพื้นฐานของแนวคดิ สิทธิมนษุ ยชนอยางไร
๒. พัฒนาการในยุคสมัยตางๆ สะทอนแนวคดิ สิทธิธรรมชาตอิ ยางไร
๓. ยกตัวอยางเหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรพรอมอธิบายความสัมพันธ
ของเหตุการณน้นั กับแนวคดิ สิทธธิ รรมชาติและสิทธิมนษุ ยชน
๔. วเิ คราะหวลีท่เี กีย่ วเนื่องกบั สิทธิมนุษยชนพรอ มแสดงทัศนตอ วลีนนั้

๔.๑

๑๗

๔.๒ º·¡Å͹¢Í§à´¡ç áÍ¿ÃÔ¡¹Ñ ¼ÙäŒ ´ŒÃºÑ ¡ÒÃàʹͪèÍ× ª§Ô ÃÒ§ÇÅÑ ÂÍ´àÂèÂÕ Á¨Ò¡ UN

When I born, I black
เม่ือผมเกิด ผมผวิ ดาํ
When I grow up, I black
เมอ่ื ผมโตขึน้ ผมก็ยงั ผวิ ดําอยู
When I go in Sun, I black When I sick, I black
เมอื่ ผมอยูใ ตแ สงแดด ผมก็คงยังผิวดํา เมื่อผมปว ย ผมกย็ ังผวิ ดาํ
When I scared, I black And when I die, I still black
เมื่อผมกลัว ผมก็ผวิ ดาํ และเมือ่ ผมตาย ผมกย็ ังผวิ ดํา

And you white fellow When you scared, you yellow
และคุณเพอ่ื นมนษุ ยผ วิ ขาว เมื่อคุณกลวั คณุ มีผวิ สเี หลอื ง
When you born, you pink When you sick, you green
เม่อื แรกเกิด คุณมีผิวสชี มพู เม่อื คุณปวย คณุ มผี ิวสีเขยี ว
When you grow up, you white And when you die, you grey
เม่ือคณุ โตขน้ึ คุณมผี ิวสขี าว เมอื่ คณุ ตาย คณุ มผี วิ สเี ทา
When you go in Sun, you red And you calling me colored??
เมอ่ื คุณอยใู ตแ สงแดด คุณมผี ิวสแี ดง และคุณเรยี กผมวาคนผวิ สี???
When you cold, you blue
เมือ่ คณุ หนาว คณุ มผี วิ สนี า้ํ เงิน

๔.๓ To Deny People
Their Human Rights
Is To Challenge
Their Very Humanity.
(Nelson Mandela)

๑๘

àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§

ธเนศ อาภรณส วุ รรณ, กาํ à¹´Ô áÅФÇÒÁ໹š ÁÒ¢Í§Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹. กรงุ เทพฯ : โครงการจดั พมิ พค บไฟ,
(๒๕๔๙) หนา ๖๒-๖๓

วราพร ศรีสุพรรณ, »ÃЪҸԻäμÂẺÊѧ¤Áà¤Ã×Í¢‹ÒÂáÅСÒÃÈÖ¡ÉÒẺ»¯ÔÃÙ»¹ÔÂÁ. สืบคนเม่ือ
๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ จาก http://kpi.ac/th/media/pdf/M7_180.pdf.

สโรช สันตะพนั ธ,ุ º·ºÒ·¢Í§¤ÃÔÊμÈÒʹ¨Ñ¡ÃâÃÁ¹Ñ ¤Ò·ÍÅÔ¡ã¹Ãкº¡ÒÃàÁÍ× §ÂØâû¡ÅÒ§.เครือขาย
กฎหมายมหาชนไทย (๒ พฤษภาคม ๒๕๔๘), สืบคนเมื่อ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙
จาก http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=767.

America’s Party National Committee, Cicero : True law is right reason in agreement
with nature. สบื คน เมอ่ื ๓ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก http://www.selfgovernment.us/news/
cicero-true-law-right-reason-in-agreement-with-nature.

Bill of Rights, Legal information Institute. สบื คน เมอ่ื ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก http://www.
law.cornell.edu/onstitution/billfrights#amendmenti.

Cicero (106)43 B.C.E.), International Encyclopedia of Philosophy. สบื คน เม่ือ ๓ ตลุ าคม
๒๕๕๙ ¨Ò¡ http://www.iep.utm.edu/cicero/#SH7c.

Enlighterment, Stanford Encyclopedia of Philosophy (20 August 2010). สบื คนเม่อื
๖ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก http://plato.stanford.edu/entries/enlightenment.

French Revolution, New World Encyclopedia. สบื คน เมอื่ ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก http:www.
newworldencyclopedia.or/entry/French_Revolution.

Human Rights Philosophies, Australian Human Rights Commission. สบื คน เมอ่ื ๔ ตลุ าคม
๒๕๕๙ จาก http://www.humanrights.gov.au.human-rights-explained-fact-sheet-
3-human-rights-philosophies.

Jonathan Crowe, Explanining Natural Rights : Ontoliogical Freedom and the
Foundations of Political Discourse. New York University Journal of Law
and Liberty 4(70) (๒๕๕๒), สบื คนเมือ่ ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก http://www.law.nyu.
edu/sites/default/files/ECM_PRO_061928.pdf.

Mark Cartwright, Slavery in the Roman World. Ancient History Encyclopedia
(1 November 2013), สืบคนเม่ือ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ จาก http://www.ancient.eu/
article/629.

๑๙

Renaissance, Encyclopedia.com. สบื คน เมอ่ื ๖ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก http://www.encyclopedia.
com/literature-and-arts/language-linguistics-and-literary-terms/literature-
general/renaissance.

Timeline of World War ll : 1931-1938, Learn NC. สืบคน เมอ่ื ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙
จาก http://www.learnnc.org/lp/table/php?id=5975

Valerie Hope, Social Pecking Order in the Roman World. BBC (29 March 2011),
สบื คน เมอ่ื ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก http://www.bbc/co/uk/history/ancient/romans/
social_structure_01.shtml.

Western Theories of Justice, Internet Encyclopedia of Philosophy. สืบคน เม่อื ๓ ตุลาคม
๒๕๕๙ จาก http://www.uob.ro/recunoscute/revise_drept/annales_10_2007/
ciobotea_en.pdf.

World War 2 Holovaust, World-War-2-info. สืบคนเมื่อ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙
จาก http:/www.world war-2.info/holocaust.

World War II, History. สบื คน เมื่อ ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ จาก http:/www.history.com/
topics/world-war-II.

๒๑

º··èÕ ò

¹ÂÔ ÒÁ »ÃÐàÀ· áÅÐËÅÑ¡¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹

ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤

๑. อธิบายนิยามของสิทธิมนุษยชนและวิเคราะหนิยามของสิทธิมนุษยชน
ทถ่ี กู ใหค วามหมายจากภาคสวนตางๆ ไดอยา งถกู ตอ ง

๒. อธิบายประเภทของสิทธิมนุษยชนและวิเคราะหเปรียบเทียบการแบงประเภท
ของสทิ ธิมนษุ ยชนไดอ ยางถกู ตอ ง

๓. อธิบายหลักการสาํ คญั ของสิทธมิ นุษยชนไดอยางถูกตอง
๔. วิเคราะหเหตุการณสําคัญซ่ึงเชื่อมโยงกับพัฒนาการของแนวคิดสิทธิมนุษยชน
ในแตละชว งเวลาไดอยางถูกตอ ง

ÊÇ‹ ¹นํา

การศึกษา “สิทธิมนุษยชน” นั้น นอกจากตองทําความเขาใจวา “แนวคิดสิทธิมนุษยชน
เกิดข้ึนมาไดอยางไร” อันเปนการศึกษาเชิงพัฒนาการทางประวัติศาสตรที่ชวยใหเขาใจและ
ตระหนักถึงความสําคัญของการตอสูท่ียาวนาน กวาที่ “สิทธิมนุษยชน” จะกลายเปนประเด็นสากล
อยางเชนปจจุบัน ประเด็นคําถามถัดมาท่ีตองทําความเขาใจคือ “สิทธิมนุษยชนคืออะไร มีหลักการ
และแบง ประเภทอยา งไร บทนจี้ งึ เปน การสรปุ สาระสาํ คญั อนั จะชว ยตอบคาํ ถามทส่ี าํ คญั ในสามประเดน็
คือ นิยาม, ประเภท และหลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน โดยรวบรวมและวิเคราะหจากเอกสาร
งานเขยี นจํานวนมากทกี่ ระจัดกระจายเขาดวยกนั เพอ่ื ชวยใหเ ขา ใจและเหน็ ภาพของ “สิทธิมนษุ ยชน”
ไดชดั เจนยงิ่ ขึน้

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧÊÔ·¸ÔÁ¹ÉØ Âª¹

สาํ หรับคําถามส้ันๆ ทด่ี เู หมอื นจะตอบไดไมยากนักวา “สทิ ธมิ นษุ ยชนคืออะไร” คาํ ตอบ
ทไ่ี ดก ลบั หลากหลายและแตกตา งกนั ไปตามพนื้ ฐานความรบั รแู ละประสบการณข องผตู อบ การใหค วามหมาย
แกส ทิ ธิในยคุ แรกๆ หมายถงึ “สิทธธิ รรมชาติ” (Natural rights) อธบิ ายวา แตล ะคนมสี ิทธิบางอยา ง
ติดตัวมาแตกําเนิดอยางเทาเทียม ซึ่งไมมีใครสามารถพรากเอาสิทธินั้นไปได ทวา ความหมาย
ทใ่ี ชอ ธบิ ายนน้ั คอ นขา งเปน นามธรรมอยมู าก และในทางปฏบิ ตั ิ สทิ ธกิ ม็ กั จะถกู สงวนใหแ กค นบางกลมุ
เทา นนั้ เชน กษตั รยิ , นกั บวช, ขนุ นาง, พลเมอื งของอาณาจกั ร อยา งไรกด็ ี พฒั นาการจากประวตั ศิ าสตร
สมัยตางๆ ก็ไดชวยกันสรางตัวตนของ “สิทธิมนุษยชน” (Human rights) ใหเปนรูปรางมากข้ึน
อาทิ ยุคสมัยใหมแหงการฟนฟู (Renaissance) และการรูแจง (Enlightenment) ท่ีสนใจ
และเช่ือมั่นในความเปนมนุษย, ความสูญเสียในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (World War II)

๒๒

กไ็ ดข บั เคลอ่ื นนาํ พาสทิ ธมิ นษุ ยชนใหเ หน็ เดน ชดั เปน รปู ธรรมภายหลงั การจดั ตงั้ องคก ารสหประชาชาติ
(United Nations) ทาํ ใหสิทธิมนุษยชนกลายเปน ประเด็นสากลในทส่ี ุด

ในที่น้ีขอหยิบยกคํานิยามสิทธิมนุษยชนโดยพิจารณาจากบริบทภายหลังการเกิดข้ึนของ
องคก ารสหประชาชาตเิ ปน หลกั เพราะถอื เปน จดุ เปลยี่ นสาํ คญั ทที่ าํ ใหค าํ ๆ นไ้ี ดร บั การยอมรบั ในระดบั
นานาชาติ

ÀÒ¾·Õè ò.ñ คําสํา¤ÑÞ·ÕÁè Õ¤ÇÒÁà¡ÕÂè Çà¹è×ͧ¡Ñºคาํ ÇÒ‹ Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹

(๑) ในอารมั ภบทของปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธิมนุษยชน (Preamble of The Universal
Declaration of Human Rights, ๑๙๔๘) บญั ญัตวิ า

“ศักด์ิศรีแตกําเนิด เทาเทียม และไมอาจเพิกถอนได เปนพ้ืนฐานของอิสรภาพ
ความยุตธิ รรม และสันติภาพของโลก” [Whereas recognition of the inherent dignity and
of the equal and inalienable rights of all members of the human family the foundation
of freedom, justice and peace in the world]๑

(๒) ขา หลวงใหญส ทิ ธมิ นษุ ยชนแหง สหประชาชาติ (Human Rights High Commissioner)
อธบิ ายความหมายของสิทธมิ นษุ ยชนไวว า

“สิทธิของมนุษยทุกคนไมวาจะสัญชาติใด, อยูหนใด, เพศ, เช้ือชาติ ถิ่นกําเนิด,
สีผิว ศาสนา ภาษา หรือสถานะใดๆ ทุกคนมีสิทธิความเปนมนุษยอยางเทาเทียมโดยไมแบงแยก
สทิ ธเิ หลา นม้ี คี วามเกยี่ วขอ งสมั พนั ธก นั ไมส ามารถแบง แยกได” [Human rights are rights inherent to
all human beings. whatever our nationality, place of residence, sex, national or ethnic origin, colour,
religion, language, or any other status. We are all equally entitled to our human rights
without discrimination. These rights are all interrelated, interdependent and indivisible.๒]

๑ “Universal Declaration of Human Rights,” สืบคนเม่ือ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก http://www.ohchr.org/EN/UDHR/
Documents/UDHR_Translations/eng.pdf
๒ “What are human rights?,” OHCHR, สืบคนเม่ือ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก http://www.ohchr.org/EN/Issues/Pages/

WhatareHumanRights.aspx.

๒๓

(๓) ความหมายตามพจนานุกรมเคมบริดจก ลา วถึงสทิ ธิมนุษยชนวา
“สิทธิพื้นฐานท่ีคนทุกคนพึงมี เชน ความยุติธรรมและเสรีภาพในการแสดงความ

คดิ เหน็ [The basic rights that it is generally considered all people should have, such as
justice and the freedom to say what you think๓]

(๔) ขณะท่ีพจนานกุ รมฉบับออ กซฟอรด นยิ ามวาสิทธมิ นุษยชน คือ
“สิทธซิ ่ึงเชือ่ วาเปน ของคนทกุ คน” (A right which is believed to belong to

every person.]๔
(๕) องคกรคุม ครองสทิ ธมิ นุษยชนอยา งองคก ารนริ โทษกรรมสากลใหนิยามวา
“สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน สทิ ธแิ ละเสรภี าพพน้ื ฐานทที่ กุ คนพงึ ไดร บั โดยไมค าํ นงึ ถงึ สญั ชาต,ิ

เพศ, เชื้อชาติ, ถิน่ กําเนิด, ศาสนา, ภาษา และสถานภาพอ่นื ๆ [Human rights are basic rights
and freedoms that all people are entitled to regardless of nationality, sex, national or
ethnic origin, race, religion, language, or other status.]๕

(๖) สาํ หรบั ประเทศไทย ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยคณะกรรมการ
สิทธมิ นุษยชนแหงชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ ใหค ําจาํ กดั ความคาํ วาสิทธมิ นุษยชน ดงั น้ี

“ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลบรรดา
ที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญตามกฎหมาย หรือตามหนังสือสัญญาท่ีประเทศไทย
เปน ภาคแี ละมพี นั ธกรณีทจี่ ะตอ งปฏิบตั ติ าม”

(๗) ตามพจนานุกรมศพั ทร ัฐศาสตรฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานระบุวาคอื
“สทิ ธขิ น้ั พนื้ ฐานของความเปน มนษุ ย ซ่งึ เปนสทิ ธทิ างธรรมชาตทิ ี่มนุษยท กุ คนไดร บั

ตั้งแตเกิด โดยไมแบงเพศ เชื้อชาติ สีผิว ศาสนา ความเชื่อ และไมจําเปนวาจะตองเปนพลเมือง
ของรัฐใดรฐั หนง่ึ เชน สทิ ธใิ นชีวิตและรา งกาย”๖

จากการใหความหมายที่หลากหลายและแตกตางกันในรายละเอียดท่ีมีตอคําวา
“สทิ ธมิ นษุ ยชน” เมอ่ื พจิ ารณาคน หาความหมายพน้ื ฐานทม่ี ลี กั ษณะรว มกนั แลว นนั้ สรปุ ใจความสาํ คญั
ไดวา หมายถึง

“ÊÔ·¸Ô àÊÃÕÀÒ¾Íѹ໚¹¾é×¹°Ò¹¢Í§ªÕÇÔμÁ¹Øɏ ·Ø¡¤¹ÁÕÍ‹ҧàÊÁÍÀҤ෋Òà·ÕÂÁäÁ‹Ç‹Ò
¨ÐÍ‹Ùá˧‹ ˹㴠ËÃ×ÍÁÕʶҹÐã´ ¼ÙŒÍè¹× äÁÊ‹ ÒÁÒö¾ÃÒ¡àÍÒä» ËÃÍ× ¶Ò‹ Ââ͹ãˌᡋ¡Ñ¹ä´Œ”

๓ “human rights,” Cambridge Dictionary, สืบคนเมือ่ ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙, จาก http://dictionary.cambridge.org/dictionary/
english/human-rights
๔ “human right,” Oxford University press, สบื คน เม่อื ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก https://en.oxforddictionaries.com/definition/

human_right
๕ “Human Rights Basics,” Amnesty International, สบื คนเม่อื ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙, จาก http://www.amnestyusa.org/research/
human-rights-basics
๖ สacําaนdักeพmิมicพ.oเอbกecพ.gันoธ.thจ/ําtกeัดxt,b“oหoนk/าwท่ีพebล/เiมmือaงgeวsัฒ/bนoธoรkร/ม1แ0ล02ะ9ก1า0ร_ดeําxเaนrินmชpีวleิต.ใpนdสf)ัง*ค*ม*,*” สืบคนเม่ือ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก http://

๒๔

»ÃÐàÀ·¢Í§ÊÔ·¸ÔÁ¹ÉØ Âª¹

ถงึ กระนนั้ สทิ ธมิ นษุ ยชนทเี่ ปน สทิ ธพิ นื้ ฐานซงึ่ ทกุ คนควรไดร บั สทิ ธเิ หลา นนั้ มเี รอ่ื งอะไรบา ง
แมการแบงประเภทสิทธิมนุษยชนใหชัดเจนลงไปทําไดไมงายนัก เหตุเน่ืองจากมีความเปนพลวัต
และไมเ คยหยดุ นง่ิ ทง้ั ในแงค วามหมายและตวั แสดงทเ่ี กย่ี วของ ทวา เทาท่ีแวดวงวิชาการไดเ คยมีความ
พยายามจําแนกออกมา โดยอิงเกณฑทใี่ ชตางกนั ไป พบอยา งนอ ย ๔ กลมุ ไดแ ก หน่งึ การแบงตาม
ผูทรงสิทธิ (Rights holders) สอง การแบงตามยุคสมยั (Rights generations) สาม การแบงตาม
ความสมบรู ณแหง สทิ ธิ (Entirety rights) และ สี่ การแบงตามเนื้อหาท่ีปรากฏอยใู นปฏญิ ญาสากล
วาดวยสิทธิมนษุ ยชน

¡ÒÃẋ§»ÃÐàÀ·¢Í§ÊÔ·¸ÁÔ ¹Øɪ¹μÒÁËÅÑ¡¼·ŒÙ çÊÔ·¸Ô (Rights holders)
เกณฑนี้จะพิจารณาที่สิทธิน้ันวาเปน “สิทธิเฉพาะตัวของแตละคน” หรือ “สิทธิเชิงกลุม”
อยางไรกด็ ีการแบงประเภทสทิ ธมิ นุษยชนรูปแบบนีม้ ขี อ จํากดั คอื สิทธิบางเรื่องสามารถแปรผนั เปน ได
ทงั้ สิทธเิ ฉพาะตวั และสทิ ธกิ ลมุ
(๑) สิทธเิ ชิงปจ เจก (Individual rights) เปน สทิ ธิเฉพาะตัว เชน

(๑.๑) สทิ ธิในการนบั ถือศาสนา (The right to religion) : สิทธติ ามธรรมชาติ
จะลว งละเมดิ ไมไ ด รฐั ตอ งใหก ารคมุ ครองและรบั รอง รวมถงึ เสรภี าพในการเปลยี่ นศาสนา (Freedom
to change religion), เสรภี าพในการปฏิบตั ติ ามหลกั ความเช่อื ทางศาสนา (Freedom to exercise
religion) และสทิ ธิที่จะไมมศี าสนา (Right to have no religion) ดว ยเชน กนั

(๑.๒) สิทธิในชีวิตรางกาย (The right to life) : มีความเชื่อวามนุษยทุกคน
มีสิทธิในชีวิตและรางกายซ่ึงไมมีใครจะพรากเอาสิทธินี้ไปได รัฐจึงตองใหความคุมครองชีวิตไมให
มีการละเมิด บคุ คลจะถูกทําใหเสยี ชีวติ ตามอาํ เภอใจไมได โดยเฉพาะการเสยี ชีวิตจากอํานาจรฐั ๗
¢ÍŒ 椄 à¡μ :

ความเช่ือในเร่ืองสิทธิในชีวิตรางกายเปนหน่ึงในเหตุผลของฝายสนับสนุนใหมีการยกเลิกโทษประหาร
ชวี ติ หรอื ลงโทษประหารชวี ติ จะกระทําได “เฉพาะอาชญากรรมอุกฉกรรจท ่สี ดุ ”

อดีตเลขาธกิ ารสหประชาชาติ Ban Ki-moon กลา วไววา “The death penalty has no place in
the 21st century” [ไมมที ี่ยืนใหก ับการลงโทษประหารชีวติ ในศตวรรษที่ ๒๑ น]้ี

เงือ่ นไขหน่งึ ของประเทศทีจ่ ะเขาเปนสมาชกิ EU คอื การยกเลกิ โทษประหารชีวติ ในประเทศเสยี กอ น
อยางไรก็ตามประเด็นเร่ืองการยกเลิกโทษประหารชีวิตยังคงเปนประเด็นถกเถียงท่ีมีมายาวนานจวบจน
ปจ จบุ ัน

๗ “ถอยหา งจากโทษประหารชวี ติ บทเรยี นจากเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต” สบื คน เมอ่ื ๑๔ ก.ค. ๒๕๖๐ จาก bangkok.ohchr.org/news/press/
Moving%๒๐away-Thai.pdf

๒๕

(๑.๓) สิทธพิ ลเมืองและสิทธิทางการเมอื ง (Civil and political rights) : สิทธิ
ของบคุ คล เชน สทิ ธใิ นการแสดงความคดิ เหน็ , สทิ ธใิ นการมสี ว นรว มทางการเมอื ง, สทิ ธทิ จ่ี ะมสี ญั ชาต,ิ
สิทธิในกระบวนการยุตธิ รรม, สทิ ธิที่จะไดร บั รูขาวสาร, สิทธิทางการศกึ ษา, สิทธใิ นการรกั ษาพยาบาล,
สทิ ธใิ นการทํางาน ฯลฯ

(๒) สิทธิเชิงกลุม (Collective rights) เปนสิทธิในลักษณะกลุมซึ่งใหความสําคัญ
เหนอื สทิ ธิสวนบุคคล เชน

(๒.๑) สทิ ธิชุมชน (Community rights) : พัฒนามาจากแนวคดิ สิทธิมนุษยชน
เช่ือวาชุมชนมีสิทธิท่ีจะกําหนดแนวทางท่ีเหมาะสมแกชุมชนของตนเอง รวมถึงการรักษา ดูแล
ครอบครองไวซ ง่ึ อัตลกั ษณ ความเชือ่ วิถชี ีวติ ประเพณี วัฒนธรรม ทรพั ยากรของชมุ ชนไวดว ย
¢ŒÍ椄 à¡μ :

ความหวาดกลวั ตอ แนวคดิ สงั คมนยิ มในยคุ สงครามเยน็ เปน ปจ จยั หนงึ่ ทผี่ ลกั ดนั ใหส ทิ ธมิ นษุ ยชนในเชงิ
รวมกลุมหรือสิทธิชุมชนไดรับการจัดต้ังขึ้นมาใหเปนรูปธรรม เชน ชุมชนด้ังเดิม ชุมชนพ้ืนเมือง กระจาย
แนวคิดทั่วโลกลดความเกรงกติการะหวางประเทศซ่ึงนําไปสูการรับรองสิทธิของชุมชนที่ไดรับการยอมรับ
ทว่ั โลก คอื การประชมุ สดุ ยอดผนู าํ วา ดว ยการคมุ ครองสงิ่ แวดลอ มและการพฒั นาทก่ี รงุ รโิ อเดอจาเนโร ในป
๑๙๙๒ ทไ่ี ดม กี ารรบั รองสถานะของชนพน้ื เมอื ง จากนน้ั ในป ค.ศ.๑๙๙๓ องคก ารสหประชาชาตไิ ดป ระกาศ
ใหเ ปน ปแ หง ชนพืน้ เมอื งโลก๘

(๒.๒) สทิ ธิในการรวมกลุม สมาคม : เปนสทิ ธขิ นั้ พื้นฐาน ประชาชนมสี ิทธใิ นการ
รวมกลมุ ในรูปแบบตา งๆ เชน สหภาพ, สหพันธ, องคกรเอกชน ฯลฯ
¢ŒÍÊѧà¡μ :

สทิ ธเิ ชงิ ปจ เจกและสทิ ธชิ มุ ชน อาจมคี วามคาบเกย่ี วกนั อยใู นบางประเดน็ เชน การรวมกลมุ ทางการเมอื ง
ถอื เปน สทิ ธเิ ชงิ กลมุ และเกยี่ วโยงกบั สทิ ธขิ น้ั พน้ื ฐานของปจ เจกชนทางดา นสทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง
เชน กนั

¡ÒÃẋ§»ÃÐàÀ·¢Í§ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹μÒÁÂ¤Ø ÊÁÑÂ

การแบง ตามยคุ สมยั ๙เปน การแบง ประเภทสทิ ธมิ นษุ ยชนโดยนาํ ประเดน็ ทไี่ ดร บั ความสนใจ
ในแตละหวงเวลามาจดั กลุม และองิ ตามผูมหี นา ที่คมุ ครองสทิ ธิ (Rights bearer) ซึง่ มีทงั้ ทีต่ องการ
พงึ่ พาอาํ นาจรฐั และปฏเิ สธไมใ หอ าํ นาจรฐั เขา มายงุ เกย่ี ว การแบง เชน นที้ าํ ใหเ หน็ ถงึ พฒั นการทางดา น
สิทธิมนุษยชนของโลกไดอยา งดี

๘ นิตยา โพธ์ินอก, “ชุมชนกับสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม”, สืบคนเมื่อ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐, จาก kpi.ac.th/media/pdf/
M10_298.pdf

๙ การแบง สทิ ธิมนษุ ยชนออกเปน ๓ ยุคสมยั (Three generations of human rights) ขา งตน ถกู กําหนดคร้งั แรกโดย Karel Vasak
ผูอํานวยการสาขาสิทธิมนุษยชนและสันติภาพขององคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO)
ในบทความท่เี ขาเขยี นขึ้นเม่ือ ป ค.ศ.๑๙๗๗ ดู Karel Vasak, “Human Rights: A Thirty-Year Struggle: the Sustained Efforts
to give Force of law to the Universal Declaration of Human Rights,” UNESCO Courier ๓๐:๑๑ (๑๙๗๗).

๒๖

Â¤Ø áá
ใหความสําคัญกับสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (Civil and political rights)
ถอื เปน ประเดน็ แรกๆ ในการเรยี กรอ งสทิ ธขิ องประชาชน กลา วคอื ไมต อ งการใหร ฐั เขา มากา วกา ยสทิ ธิ
ของปจเจกชน เชน เสรภี าพในการแสดงความคดิ เห็น, เสรภี าพสื่อ, เสรีภาพในการสมาคม, เสรีภาพ
ในการนบั ถอื ศาสนา
เหตทุ สี่ ทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื งไดร บั ความสนใจเปน อนั ดบั ตน ๆ ของกระบวนการ
เรียกรองสิทธิ อาจตองทําความเขาใจสภาพสังคมโดยเฉพาะหลังยุคกลาง (หรือยุคมืด) ที่คนเริ่มเชื่อ
ในหลกั วทิ ยาศาสตรแ ละยดึ ถอื ในหลกั เหตแุ ละผล ความรจู ากศาสตรอ นื่ ๆ ทงั้ ดาราศาสตร, คณติ ศาสตร,
การแพทย, ภูมศิ าสตร, กฎหมาย, ปรัชญา ทาํ ใหผ คู นมีความรูในเชิงประจกั ษมากขน้ึ เกิดการเดนิ ทาง
คาขาย เกิดการต้ังคําถามตอผูปกครองวาแทจริงแลวคนท่ัวไปก็ควรสามารถเปนผูปกครองไดเชนกัน
ปรากฏการณที่สะทอนออกมาชัดเจนคือ การปฏิวัติอเมริกา (๑๗๗๖) และประกาศใชรัฐธรรมนูญ
ทปี่ ระกนั สทิ ธขิ องพลเมอื ง โดยเฉพาะปจ เจกชนใหเ ปน อสิ ระจากอาํ นาจรฐั ๑๐, การปฏวิ ตั ฝิ รงั่ เศส (๑๗๘๙)
เองกม็ กี ารประกาศสิทธิของมนษุ ยและพลเมือง (Declaration of the Rights of Man and of the
Citizen) หลงั จากปฏวิ ัตโิ คนลมกษตั ริยไดสําเรจ็
Â¤Ø ·ÊèÕ Í§
เนนสิทธิทางสังคม เศรษฐกิจ (Economic and social rights) การเนนเพียงสิทธิ
ทางการเมอื งและพลเมอื งไมต อบสนองตอวิถชี วี ิตท่เี ปลย่ี นไป เรือ่ งปากทองการทาํ มาหากินเปน เรอื่ ง
สาํ คญั มากขนึ้ จงึ เกดิ การเรยี กรอ งใหร ฐั แสดงบทบาททจี่ ะสง เสรมิ โอกาสในชวี ติ อนั เทา เทยี ม เชน สทิ ธิ
ทางการศกึ ษา, สทิ ธิในท่อี ยูอาศยั , สิทธดิ านสาธารณสขุ , สิทธิในเร่ืองสวัสดกิ ารการทาํ งานตางๆ
สืบเน่ืองจากองคความรูทางวิทยาศาสตรสงผลตอการเปลี่ยนสังคมขนานใหญในยุโรป
ไปสสู งั คมอตุ สาหกรรม เกดิ ระบบการผลติ แบบโรงงานเพอ่ื ผลติ ครงั้ ละมากๆ ความตอ งการแรงงานมสี งู ขนึ้
เกดิ ชนชน้ั แรงงาน (Working class) ซงึ่ ตอ งทาํ งานอยภู ายใตส ภาพการทาํ งานไมเ หมาะสม การใชแ รงงานเดก็
และจา ยคา จา งในราคาตา่ํ เปน เรอ่ื งปกต๑ิ ๑ โดยทยี่ งั ไมม กี ฎหมายคมุ ครองแรงงานเหลา นเี้ กดิ ขนึ้ ในยคุ นน้ั
การสูญเสียชีวิตของแรงงานท่ีทํางานหนักในสภาพแวดลอมที่ย่ําแย ทําใหเกิดการรวมตัวกันเรียกรอง
ใหมีกฎหมายคุมครองแรงงาน มีการจัดต้ังสหภาพแรงงาน สวนคนท่ีมีฐานะเปนนายทุนก็ตองการ
เรยี กรอ งสิทธทิ างเศรษฐกิจมากข้ึนกวาเดิม เพือ่ ท่ีจะมีอาํ นาจควบคุม ตอ รอง รวมถงึ เอ้ือประโยชนใ น
การประกอบธรุ กจิ ของตนมากขึน้ ยุคนี้จงึ เปน ยคุ แหง การเนน สทิ ธิทางสงั คมและเศรษฐกจิ เปน สําคญั

๑๐ เสนห  จามรกิ , สิทธิมนุษยชน เกณฑค ณุ คา และฐานความคิด, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร, ๒๕๔๔), หนา (๑๖)
๑๑ การปฏิวัติอุตสาหกรรม (ปลายคริสตศตวรรษที่ ๑๘-ตนคริสตศตวรรษท่ี ๑๙) สืบคนเมื่อ ๒๕ ก.ค. ๒๕๖๐ จาก www.mwit.ac.th/~

daramas/In_Revarution.pdf)

๒๗

Âؤ·èÊÕ ÒÁ
สทิ ธมิ นษุ ยชนในมติ แิ หง ความมงุ หวงั (Solidarity rights) ผคู นไมไ ดส นใจเพยี งการมสี ทิ ธิ
เสรภี าพ หรอื การทาํ มาหากนิ ทคี่ ลอ งตวั แลว เทา นน้ั แตค วามสนใจของผคู นหลากหลายมากขนึ้ มคี วาม
ตองการที่จะทําใหคุณภาพชีวิตมีมาตรฐานที่ดีขึ้น และมองปญหาเรื่องสิทธิไกลข้ึนไปกวาที่จะสนใจ
เฉพาะเร่อื งของตนเอง เชน สทิ ธิในการไดร ับการพฒั นาทางเศรษฐกจิ และสงั คม, สทิ ธใิ นการอยูอาศัย
ในสภาพแวดลอมที่ดี, สิทธิในทรัพยากรธรรมชาติ, สิทธิในการมีสวนรวมดูแลมรดกทางวัฒนธรรม,
สทิ ธใิ นการดาํ รงชพี อยา งย่งั ยืน บนพนื้ ฐานความเชือ่ วาภาคประชาชนกับรัฐสามารถสรา งสงั คมท่ดี ไี ด
รวมกนั , สทิ ธทิ ี่จะไดรับการพฒั นา

¡ÒÃầ‹ »ÃÐàÀ·¢Í§Ê·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹μÒÁ¤ÇÒÁÊÁºÃÙ ³á ˧‹ ÊÔ·¸Ô

การจดั แบง ประเภทนยี้ ดึ ตามระดบั ความสมบรู ณแ หง ชาต๑ิ ๒ ไลเ ลยี งตงั้ แตส ทิ ธหิ ลกั ทไ่ี ดร บั
การยอมรับเปนการทั่วไปวา เปนสิทธิมนุษยชนขั้นพ้ืนฐานโดยไมมีเง่ือนไขในการไดรับสิทธินั้น
หรือไมสามารถพรากเอาสทิ ธนิ ้ันไปไดเลยไมวา ในสถานการณใด เรอ่ื ยไปถงึ การวางเง่ือนไข หรอื มีขอ
จํากดั ในการใชสทิ ธิ ดวยเหตุผลเรอ่ื งความสงบเรียบรอยและประโยชนข องสว นรวม ประกอบไปดวย

ÊÔ·¸ÔÊÁºÃÙ ³ (Absolute rights)
เปนสิทธิที่ทั้งรัฐและมนุษยดวยกันเองไมสามารถพรากหรือละเมิดได เชน สิทธิท่ีจะ
ไมถกู ทรมานหรือลดคณุ คาความเปนมนษุ ย (Torture and degrade), สทิ ธใิ นการไดรับพิจารณาคดี
อยางยุตธิ รรม (Fair trial), สทิ ธิในการคดิ (Freedom of thought) เปนตน
ÊÔ·¸ÔÍÂÒ‹ §ÁÕà§×Íè ¹ä¢ (Qualified rights)
สิทธิซึ่งรัฐอาจเขามายุงเก่ียวได เน่ืองจากตองช่ังนํ้าหนักระหวางผลประโยชนของปจเจก
และผลประโยชนของสังคมหรือรัฐ ท้ังน้ีเง่ือนไขสําคัญคือ รัฐตองใชอํานาจและวิธีการที่ชอบธรรม
เทานน้ั (Legitimacy and rule of laws) เชน สทิ ธใิ นชีวติ (Right to life) อาจถกู พรากไป
เมื่อถูกพิพากษาประหารชีวิต, เสรีภาพในการแสดงออก (Freedorm of expression) ทําไมได
หากเปนการแสดงออกที่สรางความเดือดรอนใหแกผูอ่ืน เชน กออาชญากรรมแหงความเกลียดชัง
(Hate crime)
Ê·Ô ¸ÔÍÂÒ‹ §จาํ ¡´Ñ (Limited rights)
เปนสิทธิที่ระบุอยางชัดเจนโดยกฎหมายวามีขอบเขตอันจํากัด เชน การใชเสรีภาพ
ในการชมุ นมุ ตอ งเปน ไปโดยสงบและปราศจากอาวธุ , การแสดงความคดิ เหน็ ไมอ าจจะไปกระทบกระเทอื น
สิทธสิ วนตัวของบุคคลอืน่

๑๒ The Ministry of Justice (๒๐๐๖), Making sense of human rights : a short introduction, pp. ๓-๔, Available online at
https://www.justice.gov.uk/downloads/human-rights/human-rights-making-sense-human-rights.pdf)

๒๘

¡ÒÃầ‹ »ÃÐàÀ·¢Í§ÊÔ·¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹μÒÁ»¯ÔÞÞÒÊÒ¡ÅÇ‹Ò´ÇŒ ÂÊÔ·¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹

งานทางวิชาการจํานวนมากแบงประเภทของสิทธิอันเปนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชน
ตามขอความท่ีถูกระบุในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (The Universal Declaration
of Human Rights) โดยสามารถแบงออกเปน หา ดา นสาํ คัญไดแ ก

˹֧è ÊÔ·¸¾Ô ÅàÁ×ͧ (Civil rights)
สิทธิในชีวิต, เสรีภาพ, การไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียม, ไมตกอยูในความเปนทาส,
ไมไดรับการทรมานหรือลงโทษท่ีโหดราย, สิทธิในกระบวนการยุติธรรม, สิทธิในการโยกยายถิ่นฐาน,
สทิ ธิสว นตัว, สทิ ธิในการเลือกครอบครวั , สทิ ธใิ นการมสี ัญชาต,ิ อสิ รภาพทางความคิด การแสดงออก
เปน ตน (ขอ ๑-ขอ ๑๘ ปฏิญญาสากลวาดว ยสทิ ธมิ นษุ ยชน)
Êͧ ÊÔ·¸·Ô Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ (Political rights)
สิทธิในการเลือกตั้ง, เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น, สิทธิในการไดรับขอมูลขาวสาร,
สิทธิในการชุมนุม, การมีสวนรวมทางการเมือง ฯลฯ (ขอ ๑๙- ขอ ๒๑ ปฏิญญาสากลวาดวย
สทิ ธิมนุษยชน)
ÊÒÁ ÊÔ·¸Ô·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨ (Economic rights)
สิทธิในการเลือกงาน, การไดคาจางที่เปนธรรม, สิทธิที่จะจัดตั้งสหภาพ, สิทธิท่ีจะไดรับ
วันพักผอ นตามสมควร, สิทธใิ นการทาํ งานภายใตส ภาพแวดลอ มท่ีเหมาะสม ฯลฯ (ขอ ๒๒-ขอ ๒๔
ปฏิญญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน)
ÊÕè Ê·Ô ¸Ô·Ò§Êѧ¤Á (Social rights)
สิทธิทางการรักษาพยาบาล, สิทธิทางการศึกษา, การรับบริการทางสังคมตางๆ เปนตน
(ขอ ๒๕-ขอ ๒๖ ปฏญิ ญาสากลวาดว ยสทิ ธิมนุษยชน)
ËÒŒ ÊÔ·¸Ô·Ò§Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁ (Cultural rights)
สิทธิในการนับถือศาสนา, ความเช่ือ, สิทธิในการรักษาวัฒนธรรมของชุมชน ฯลฯ
(ขอ ๒๗ ปฏญิ ญาสากลวาดว ยสทิ ธมิ นุษยชน)

ËÅÑ¡¡ÒÃÍѹ໚¹ËÇÑ ã¨¢Í§ÊÔ·¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹ (Core principles of human rights)

สทิ ธมิ นษุ ยชนนน้ั เกย่ี วพนั กบั เรอ่ื ง “อดุ มการณ” ทตี่ อ งใช “ความรสู กึ ” ในการทาํ ความเขา ใจ
และยังเก่ียวของกับเรื่อง “แนวปฏิบัติ” ท่ีตองมี “แบบแผน” ที่ถูกสรางข้ึนเพื่อเอ้ือเสริมใหแนวคิด
สิทธิมนุษยชนเหน็ ผลในทางปฏบิ ัติ โดยตั้งอยูบ นหลักการสําคัญ ๕ ประการ ไดแ ก

˹Öè§ ËÅÑ¡Í¹Ñ à»¹š ÊÒ¡Å (Universality)
ความเปนสากลของสิทธิมนุษยชน หมายความวา เปนสิทธิพื้นฐานของคนทุกคน
ท่ีพึงมี (Belong to all people) ไมวา จะอยภู ายใตอ าณาเขตของรัฐใดก็ตาม หลักความเปน สากล
อีกแงมุมหน่ึงยังสามารถพิจารณาไดจากการออกกฎหมายระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ซ่ึงได
รับการรบั รองจากประเทศตา งๆ ทั่วโลกก็สะทอนหลกั ความเปน สากลในเชงิ การยอมรบั ตามกฎหมาย
อยา งเปน ทางการในระดับสากลดวยเชนกนั

๒๙

¢ÍŒ 椄 à¡μ :
หลักความเปนสากลของสิทธิมนุษยชนถูกโจมตีอยางมากวาเปนการครอบงําของอุดมการณแบบ

ตะวันตก ในแงม มุ ที่วา
- เกิดข้ึนในบริบทแบบตะวันตกที่เนนปจเจกชน โดยละเลยวิถีชีวิตท่ีแตกตางในประเทศจากมุมอ่ืนๆ

ของโลก
- ตะวันตกใชประเด็นสิทธิมนุษยชนข้ึนมาเพ่ือกีดกันประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะเพื่อผลประโยชนทาง

เศรษฐกจิ
- ความแตกตา งทางวฒั นธรรมเปน จดุ วพิ ากษใ หญต อ ความเปน สากลของสทิ ธมิ นษุ ยชน ยกตวั อยา งเชน

การขลบิ อวยั วะเพศหญงิ ในหลายประเทศของแอฟรกิ า เปน การลว งละเมดิ สทิ ธใิ นชวี ติ และรา งกายในมมุ มอง
ของตะวนั ตก แตเ ปน การปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมของอีกหลายๆ ประเทศ

ในทางวิชาการการถกเถียงตอความเปนสากลของสิทธิมนุษยชนเปนเร่ืองธรรมดาและมีทัศนะท่ี
หลากหลายได

Êͧ ËÅÑ¡È¡Ñ ´ìÔÈÃ¤Õ ÇÒÁ໹š Á¹ÉØ Â (Respect to human dignity)
แมนิยามของคําวา “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย” ไมมีนิยามเดียวที่ไดรับการยอมรับ
เปน การทวั่ ไป แตพ อสรปุ ไดว า ศกั ดศิ์ รคี วามเปน มนษุ ย (Human Dignity) เปน คณุ คา อนั สบื เนอ่ื งจาก
ความเปนมนุษยที่แตกตางจากส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ เนื่องจากเช่ือวามนุษยน้ันมีระบบการตัดสินใจท่ีอยู
บนฐานของหลกั เหตแุ ละผล มนษุ ยม ีเจตนารมณอสิ ระ (Free will) มากกวาสิง่ มีชวี ิตอื่น
หลักศักด์ิศรีความเปนมนุษย จึงเปนของมนุษยทุกคนโดยไมมีขอจํากัดหรือเง่ือนไข
ทั้งน้ีเพื่อใหมนุษยสามารถพัฒนาตนเองได๑๓ มนุษยตองเคารพในศักด์ิศรี และคุณคาในชีวิตของ
ทุกคน ไมปฏิบัติตอผูอ่ืนเฉกเชนวามีคุณคาความเปนมนุษยนอยไปกวาตน (Degradation and
dehumanization)
ÊÒÁ ËÅ¡Ñ ¡ÒÃầ‹ á¡äÁä‹ ´Œ (Inalienable)
หมายถึงไมมีใครสามารถพรากเอาสิทธิพ้ืนฐานในชีวิตไปได ไมสามารถถายโอน
ใหแกกันไดเพราะเปนสิทธิเฉพาะตัวของมนุษยทุกคน เวนแตในสถานการณเฉพาะบางอยาง เชน
สิทธใิ นชวี ิต อาจถูกจาํ กัดหากบุคคลนั้นกระทาํ ความผิดตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด
ÊÕè ËÅÑ¡¤ÇÒÁàÊÁÍÀÒ¤ (Fairness) áÅÐËÅÑ¡äÁ‹àÅ×Í¡»¯ºÔ ÑμÔ (Non-discrimination)
ขอ ท่ี ๑ ของปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นษุ ยชนเขยี นวา มนษุ ยท กุ คนเกดิ มาอยา งมอี สิ รภาพ
และเสมอภาคในศกั ดิ์ศรแี ละสิทธิ [All human beings are born free and equal in dignity and
rights] ดวยแนวความคิดเชนน้ี มนุษยจึงตองปฏิบัติตอกันอยางยุติธรรม ปราศจากการเลือกปฏิบัติ
อนั จะเปน เหตใุ หเ กดิ การลดทอนคณุ คา ของมนษุ ยบ างกลมุ ลง ตามเชอ้ื ชาติ ภาษา ศาสนา เพศทต่ี า งออกไป
ทวา การปฏิบัติท่ีแตกตางกันออกไปก็หาใชเปนการเลือกปฏิบัติเสมอไป หากเกณฑในการแยกแยะ

๑๓ บรรเจิด สิงคะเนต,ิ “หลักพน้ื ฐานเกี่ยวกับสิทธเิ สรีภาพและศกั ดศ์ิ รีความเปน มนุษย, ” (กรงุ เทพฯ: วิญชู น, ๒๕๕๘) หนา ๑๒๖-๑๒๗.)

๓๐

การปฏบิ ตั ทิ แี่ ตกตา งอยา งมเี หตแุ ละผล เชน การใหส ทิ ธพิ เิ ศษแกบ คุ คลเฉพาะกลมุ เชน คนชรา ผพู กิ าร
เดก็ สตรี เปน ตน ไมถือวาเปน การเลอื กปฏบิ ัติหากอยบู นหลกั ความชอบธรรมและเหตุผลท่ีเหมาะสม

ภายใตห ลกั การความเสมอภาค มสี องแนวคิดใหญๆ คือ ความเสมอภาคอยางเทาเทยี ม
(Equality) และความเสมอภาคตามความเหมาะสม (Equity) ซ่ึงไดอธิบายเรื่องความเสมอภาคไว
ตา งกนั ดงั นี้

ความเสมอภาคอยางเทาเทยี ม (Equailty) คือ การจดั สรรทรพั ยากรตา งๆ ใหแกท กุ คน
อยางเสมอภาคเทา เทียมกนั ท้งั หมด ไมว าจะเปน เพศใด อายเุ ทา ใด หรืออยใู นสถานภาพใด

ความเสมอภาคตามความเหมาะสม (Equity) คอื “การพิจารณาความตองการพนื้ ฐาน”
(Basic needs) โดยเช่อื วาคนมคี วามจําเปนที่ตา งกัน คนบางกลุม มคี วามตองการที่จะไดรบั การดูแล
มากกวา เพื่อใหสามารถใชชีวิตอยางปกติเฉกเชนคนท่ัวไป หรือมีโอกาสในชีวิตไดเทาเทียมกับคน
อื่นๆ ได เชน ผพู กิ าร, เดก็ , สตรี, ผูสูงอายุ อาจไดรบั การดแู ลในบางดา นจากรฐั มากกวาคนปกติทั่วไป
ลักษณะเชน นี้ยอมไมถ ือเปน การเลือกปฏิบัติแตอยางใด

สาํ หรับหลกั การไมเ ลือกปฏิบตั ิ (Non-discrimination) คอื การไมแบง แยก การไมกีดกนั
การไมจํากัด หรือลําเอียงบนพ้ืนฐานใดก็ตาม เชน เช้ือชาติ ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม เพศ อายุ
ความคิดเห็นทางการเมือง สถานภาพทางสงั คม ความสมบูรณข องรา งกาย

ÀÒ¾·èÕ ò.ò เปรียบเทียบการแบง สรรตามหลักความเสมอภาคอยา งเทาเทียม และความเสมอภาคอยา งเหมาะสม

ËŒÒ à¡ÕèÂǾѹ¡ÑºË¹ÒŒ ·Õ¢è ͧÃÑ° (State Obligation)
ภายใตการรวมตัวอยูภายใตสังคมอยางเปนทางการโดยมีรัฐทําหนาท่ีเปนผูปกครอง
กาํ กบั ดแู ลประชาชนภายในรัฐ สิทธมิ นุษยชนแมจะมีรากฐานมาจาก “สิทธิธรรมชาติ” ทเี่ ชอ่ื วา มนุษย
มสี ทิ ธติ ดิ ตวั มาแตก าํ เนดิ แตห ากปราศจากการรบั รองจากรฐั สทิ ธทิ ว่ี า นก้ี ด็ จู ะเลอื่ นลอย สทิ ธมิ นษุ ยชน
จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมเม่ือรัฐใหการรับรองโดยกฎหมาย ต้ังแตระดับรัฐธรรมนูญลงมา
ทั้งในแงท่ีวารัฐจะไมเขาแทรกแซง อีกทั้งจะตองมีบทบาทดูแล ปกปอง และจัดการใหมาตรฐาน
สิทธิมนษุ ยชนเกดิ ข้นึ จรงิ ในทางปฏิบัติ

๓๑

ÊÇ‹ ¹ÊûØ

ความหมายของสิทธิมนุษยชนไดรับการนิยามจากหลายภาคสวน ซึ่งมีรายละเอียด
ที่แตกตางกันไป แตมีใจความรวมซ่ึงสามารถสรุปเปนนิยามของสิทธิมนุษยชนไดวาหมายถึง “สิทธิ
และเสรภี าพอนั เปน พนื้ ฐานของชวี ติ มนษุ ย ทกุ คนมอี ยา งเสมอภาคและเทา เทยี มไมว า จะอยแู หง หนใด
หรอื มสี ถานะใด ผูอน่ื ไมสามารถพรากเอาไปหรอื ถา ยโอนใหแกก นั ได”

ในวงวิชาการมีการใชเกณฑท่ีแตกตางกันไปในการแบงประเภทของสิทธิมนุษยชน
ซ่ึงพบอยางนอย ๔ กลุมประเภท ไดแก การแบงตามผูทรงสิทธิ (Rights holders), การแบง
ตามยุคสมัย (Rights generations), การแบงตามความสมบูรณแหงสิทธิ (Entirety rights),
และการแบงตามเนอ้ื หาท่ปี รากฏในปฏิญญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน

หลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน ไดแก หลักความเปนสากล (Universality),
หลักการไมสามารถถายโอนได (Inalienable), หลักการแบงแยกไมได (Indivisibility),
หลักศักดิ์ศรีความเปน มนษุ ย (Human Dignity), หลักยตุ ิธรรม (Fairness) และหลกั ไมเลอื กปฏบิ ัติ
(Non-discrimination) และเกยี่ วพันกับหนา ทีข่ องรฐั (State obligation)

¡¨Ô ¡ÃÃÁ

๑. สิทธิของปจเจกและสิทธิของกลุมมีความแตกตางกันอยางไร ขณะเดียวกันก็มี
ความเกย่ี วโยงซงึ่ กนั และกนั อยา งไร

๒. ยกตวั อยางสทิ ธิเชิงปจเจก และสิทธิเชงิ กลุมมาอยา งละ ๓ ตวั อยาง พรอ มเหตผุ ล
ประกอบอธบิ าย

๓. การแบงประเภทสิทธิมนุษยชนตามยุคสมัยสะทอนสภาพสังคมในแตละยุคอยางไร
อธิบายพรอ มยกตวั อยาง

๔. อธบิ ายความแตกตา งของความสมบรู ณแ หง สทิ ธแิ ตล ะประเภทวา แตกตา งกนั อยา งไร
๕. การแบงประเภทสิทธิมนุษยชนออกตามหลักความสมบูรณแหงสิทธิมีชองวาง
หรือมีจุดออ นอยา งไรหรือไม
๖. หลักความเปน สากลของสิทธมิ นุษยชนหมายความวาอยา งไร จงอธบิ าย
๗. ทานเห็นดวยตอหลักการความเปนสากลของสิทธิมนุษยชนหรือไม อธิบายพรอม
เหตผุ ลประกอบ
๘. การกระทาํ ของรฐั ในลักษณะใดที่ถือเปน การละเมิดศักดิ์ศรีความเปนมนุษย อธิบาย
พรอ มยกตัวอยา ง
๙. หลักการแบง แยกไมได มีขอ ยกเวน อยางไรบา ง อธิบาย
๑๐. นสต. จบั กลมุ กลมุ ละ ๕-๑๐ นาย ใหส มาชกิ แตล ะคนนยิ ามสทิ ธมิ นษุ ยชนของตนเอง
ออกมาและทําการรวบรวมออกมาเปนนิยามสิทธิมนุษยชนของกลุม (ใหเวลา ๕ นาที) หลังจากนั้น
นาํ เสนอพรอ มอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ถงึ เหตผุ ลประกอบการนยิ ามเชน นน้ั พรอ มตวั อยา งประกอบการอธบิ าย
(ใหเ วลา ๓-๕ นาทีตอกลุม )

๓๒

๑๑. ผสู อนแบงกลุม นสต. ออกเปน กลุม กลุม ละ ๕-๑๐ นาย ทาํ การแจกขา วทเี่ ตรยี ม
มาให นสต. และใหชวยกันวิเคราะหวาหากจัดตามประเภทสิทธิสามารถนําขาวท่ีไดรับมาอธิบาย
โดยการใชห ลักการแบงประเภทสทิ ธิใดไดบ าง พรอมเหตผุ ลประกอบ

๑๒. กอ นเรมิ่ สอนหวั ขอ หลกั การสทิ ธมิ นษุ ยชน ผสู อนให นสต. ทาํ กจิ กรรม โดยแบง กลมุ
นสต. ออกใหมสี มาชิกกลมุ ละ ๑๐ นาย ใหสมาชกิ ดูภาพบนจอและใหโจทยวา

๑๒.๑ ใหเลอื กเคกมาจาํ นวน˹Öè§อยา งเทา นัน้
๑๒.๒ ใหก ลมุ แบง เคก ใหส มาชกิ ในกลมุ อยา งÂμØ ¸Ô ÃÃÁ·ÊÕè ´Ø นสต.สามารถเลอื กแบง เคก
ดวยวิธีใดก็ไดข อใหเ ปน มตขิ องกลุม
๑๒.๓ ออกมาอภิปรายวา กลุมเลือกเคกช้ินไหน เหตุผลในการเลือกคืออะไร
และหลกั การในการแบง เคก ของกลุม ใหสมาชิกอยางยุติธรรมท่สี ุดคืออะไร
๑๓. จากรูปให นสต. รว มแสดงทศั นะตอหลักความยตุ ธิ รรม

๓๓

àÍ¡ÊÒÃÍÒŒ §Í§Ô

¡Òû¯ÇÔ μÑ ÍÔ μØ ÊÒË¡ÃÃÁ (»ÅÒ¤ÃÊÔ μȏ μÇÃÃÉ·èÕ ñø - μ¹Œ ¤ÃÊÔ μȏ μÇÃó·Õè ñù) สบื คน เมอื่ ๒๕ ก.ค.
๒๕๖๐ จาก www.mwit.ac.th/~daramas/In_Revarution.pdf.

¶ÍÂË‹Ò§¨Ò¡â·É»ÃÐËÒêÕÇÔμº·àÃÕ¹¨Ò¡àÍàªÕÂμÐÇѹÍÍ¡à©Õ§ãμŒ. สืบคนเมื่อ ๑๔ ก.ค. ๒๕๖๐
จาก bangkok.ohchr.org/news/press/Moving%20away-Thai.pdf

นติ ยา โพธิน์ อก, ªÁØ ª¹¡ºÑ Ê·Ô ¸ãÔ ¹·Ã¾Ñ ÂҡøÃÃÁªÒμáÔ ÅÐʧèÔ áÇ´ÅÍŒ Á. สืบคนเม่ือ ๑๕ ก.ค. ๒๕๖๐
จาก kpi.ac.th/media/pdf/M10_298.pdf.

บรรเจิด สิงคะเนติ, ËÅÑ¡¾é×¹°Ò¹à¡ÕèÂǡѺÊÔ·¸ÔàÊÃÕÀÒ¾áÅÐÈÑ¡´ÔìÈÃÕ¤ÇÒÁ໚¹Á¹Øɏ. กรุงเทพฯ :
วญิ ูชน, (๒๕๕๘), หนา ๑๒๖-๑๒๗.

สํานักพิมพเอกพันธ จํากัด, ˹ŒÒ·Õè¾ÅàÁ×ͧ ÇѲ¹¸ÃÃÁáÅСÒÃดําà¹Ô¹ªÕÇÔμã¹Êѧ¤Á. สืบคนเมื่อ
๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ จาก http:/=/academic.obec.go.th/textbook/web/images/
book/1002910_example.pdf

เสนห จามริก, ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹ ࡳ±¤Ø³¤‹ÒáÅаҹ¤ÇÒÁ¤Ô´. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร, (๒๕๔๔), หนา ๑๖.

human rights, Cambridge Dictionary. สบื คน เมอื่ ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก http://dictionary.
cambridge.org/dictionary/english/human-rights.

human right, Oxford University Press. สบื คน เมอ่ื ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙, จาก https://en.oxford-
dictionaries.com/definition/human_right.

Human Rights Basics, Amnesty International. สบื คน เมือ่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ จาก http://
www.amnestyusa.org/research/human-rights-basics.

Karel Vasak, Human Rights : A Thirty-Year Struggle : the Sustained Efforts to give
Force of law to the Universal Declaration of Human Rights. UNESCO
Courier ๓๐:๑๑ (๑๙๗๗)

The Ministry of Justice (๒๐๐๖), Making sense of human rights : a short introduction
pp” ó-ô. สบื คน เมอื่ ๒๕ ก.ค. ๒๕๖๐ จาก https://www.justice.gov.uk/downloads/
human-rights/human-rights-making-sense-human-rights.pdf.

Universal Declaration of Human Rights. สบื คนเมอ่ื ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ จาก http://www.
ohchr.org/EN/UDHR/Documents/UDHR_Translations/eng.pdf.

What are human rights?, OHCHR. สืบคนเม่อื ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙,
จาก http://www.ohchr.org/EN/Issues/Pages/WhatareHumanRights.aspx.

๓๕

º··Õè ó

Ê·Ô ¸ÔÁ¹ÉØ Âª¹ã¹ÁÔμÃÔ ÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·È

ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤

๑. อธบิ ายเน้ือหาของปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนไดอยา งถกู ตอง
๒. อธิบายหลักการสําคัญของกฎหมายระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนไดอยาง
ถูกตอง

ÊÇ‹ ¹นํา

องคการสหประชาชาติจัดตั้งเพื่อเนนความสําคัญของการสรางสันติภาพและการรักษา
ความม่ันคงรวมกันของมวลมนุษยชาติ เปนองคกรกําหนดหลักการมาตรฐานสากล ซ่ึงมีผลผูกพัน
ตอประเทศสมาชิกรวมทั้งประเทศไทย และจัดต้ังกลไกในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
ระหวา งประเทศ ในป พ.ศ.๒๔๘๘ ไดมกี ารรบั รอง “กฎบตั รสหประชาชาติ” เพ่อื เปนเอกสารสําคัญ
ของสหประชาชาติที่มีเปาหมายกระตุนและสนับสนุนใหเคารพในสิทธิมนุษยชนรวมท้ังอิสรภาพ
ขน้ั พน้ื ฐานของมวลมนษุ ยชาตไิ ด มขี อ บทหรอื มาตราทเ่ี กย่ี วขอ งกบั สทิ ธมิ นษุ ยชนถอื เปน เอกสารสาํ คญั
ในการรับรองหลักการเร่ืองสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศท่ีกําหนดใหประเทศท่ีมีพันธกรณีตองให
การคุม ครองศกั ด์ิศรคี วามเปน มนษุ ยสิทธิและเสรภี าพข้นั พื้นฐานของปจเจกบคุ คลและกลมุ ชน

บทบาทของสหประชาชาติในการคุมครองสิทธิมนุษยชน จะเปนในลักษณะการสงเสริม
สนับสนุนใหรัฐสมาชิกไดตระหนักถึงความสําคัญของสิทธิมนุษยชน เชน การใหความชวยเหลือ
ในการปรบั ปรุงกฎหมายและระบบการบรหิ ารกระบวนการยุติธรรม ใหการศกึ ษาและเผยแพรข าวสาร
ดานสิทธิมนุษยชน ตลอดจนชวยสงเสริมสภาวะการครองชีพเพื่อยกระดับมาตรฐานความเปนอยู
และคุณภาพชีวิตใหดีขึ้นเทาน้ัน แตไมมีอํานาจที่จะควบคุมรัฐสมาชิกใหเคารพตอสิทธิมนุษยชนอยางจริงจัง
เนื่องจากขาดพื้นฐานทางกฎหมายท่ีจะเปนเคร่ืองมือในการสนับสนุน (อุดมศักดิ์ สินธิพงษ, ๒๕๔๘)
ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ซ่ึงถือวาเปนเอกสารสําคัญในการใหความคุมครองสิทธิมนุษยชน
ถึงแมวาโดยเนื้อหาของปฏิญญาดังกลาว จะไมกอใหเกิดความผูกพันตามกฎหมายแกรัฐสมาชิก
ทรี่ ว มลงนามรบั รองกต็ าม แตย งั พอทจี่ ะถอื ไดว า ปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นษุ ยชนเปน เสมอื นมาตรฐาน
ที่ประเทศท้ังหลายพึงใชเปนแนวทางในการจัดระบบภายในของประเทศนั้นๆ เพ่ือใหสอดคลองกับ
การจดั การคุมครองสทิ ธมิ นุษยชนในระดบั สากลตอไป

ในบทนี้ จะไดศึกษาถึงที่มาและสาระสําคัญของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน
และผลทางกฎหมายของปฏิญญาดงั กลาว สาระสาํ คญั และพนั ธะผูกพันทางกฎหมายของสนธสิ ญั ญา
สิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ ๙ ฉบับ ไดแก กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง
และสิทธิทางการเมือง กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

๓๖

อนสุ ัญญาวา ดวยการขจดั การเลือกปฏิบัตติ อสตรีในทกุ รปู แบบ อนสุ ญั ญาวาดวยสทิ ธิเดก็ อนสุ ัญญา
วา ดว ยการขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอ้ื ชาตใิ นทกุ รปู แบบ อนสุ ญั ญาตอ ตา นการทรมานและการปฏบิ ตั ิ
หรอื การลงโทษทโี่ หดรา ยไรม นษุ ยธรรมหรอื ยา่ํ ยศี กั ดศ์ิ รี และอนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธคิ นพกิ าร อนสุ ญั ญา
วาดวยการคุมครองสิทธิของแรงงานอพยพและสมาชิกครอบครัว และอนุสัญญาวาดวยการคุมครอง
มิใหบ คุ คลถกู บังคับใหส ญู หาย ซ่งึ จะไดก ลา วโดยลําดบั ดงั ตอไปน้ี

»¯ÔÞÞÒÊÒ¡ÅÇÒ‹ ´ÇŒ ÂÊÔ·¸ÁÔ ¹Øɪ¹
·èÁÕ ÒáÅÐà¨μ¹ÒÃÁ³á ˧‹ »¯ÞÔ ÞÒÊÒ¡ÅÇÒ‹ ´ÇŒ ÂÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹

นับแตสงครามโลกครั้งท่ีสองสิ้นสุดลง หลายประเทศทั่วโลกเห็นพองตองกันท่ีจะหาวิธี
ปองกันมิใหเกิดความสูญเสียตอมวลมนุษยชาติเชนนั้นขึ้นอีก การกระทําอันเปนการพรากเอาชีวิต
ผูคนไปดวยวิธีการท่ีโหดรายทารุณตางๆ นานาตองหมดสิ้นไป ดวยเหตุผลนี้องคการสหประชาชาติ
(United Nations)๑ จงึ ถกู กอ ตงั้ ขนึ้ ดว ยเจตนารมณส งู สดุ คอื รกั ษาสนั ตภิ าพของโลก ภายหลงั จดั ตงั้ ไมน าน
สมาชิกก็รวมกันประกาศใช “ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน” (The Universal Declaration
of Human Rights) อันเปนเอกสารสําคัญท่ีเปนแมบทเรื่องสิทธิมนุษยชนใหแกประเทศตางๆ
ทจ่ี ะประกนั ศกั ดศิ์ รคี วามเปน มนษุ ยแ ละรบั รองสทิ ธขิ น้ั พน้ื ฐานของประชาชน เปน เสมอื นหลกั การใหม
ของระเบียบโลกหลงั สงคราม

ภายหลังกอตั้งองคการสหประชาชาติในป ๑๙๔๕ มีความพยายามท่ีจะคุมครองสิทธิ
เสรภี าพ และศกั ดศิ์ รขี องมนษุ ยใ หเ ปน รปู ธรรมยงิ่ ขนึ้ ผา นกลไกการทาํ งานของสหประชาชาติ จวบจนวนั ที่
๑๐ ธนั วาคม ค.ศ. ๑๙๔๘๒ สมัชชาใหญส หประชาชาติ (UN General Assembly) ไดมีมตริ บั รอง
“ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน” ซ่ึงกําหนดหลักการพื้นฐานในเร่ืองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
เอาไว ถือเปนเอกสารช้ินสําคัญดานสิทธิมนุษยชนของโลก และเปนตนแบบใหกับกฎหมายระหวาง
ประเทศท่ีมีเจตนารมณเพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพในดานตางๆ เพ่ือสรางสันติภาพใหเกิดขึ้น มิใหเกิด
ประวัตศิ าสตรซํ้ารอยของการเขน ฆา ชีวิตผคู นอยา งเหตุการณส งครามโลกคร้ังที่สองเกิดขึ้นมาไดอีก

๑ เม่ือแรกกอต้ัง องคการสหประชาชาติมีสมาชิกทั้งส้ิน ๕๑ ประเทศ ปจจุบันมี ๑๙๓ ประเทศ โดยซูดานใตเปนประเทศสมาชิกลาสุด
ดรู ายละเอียดเพมิ่ เตมิ ที่ “Un Welcomes 193rd Member State,” United Nations Regional Information Centre for Western
Europe, สืบคนเม่ือ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๙, จาก http://www.unric.org/en/latest-un-buzz/26841-un-welcomes-193rd
-member-state

๒ วนั ที่ ๑๐ ธนั วาคมของทกุ ปจ งึ ถอื เปน “วนั สทิ ธมิ นษุ ยชนสากล” นบั ตง้ั แตป  ๑๙๕๐ เปน ตน มา ดู “Human Rights Day,” United Nations,
สบื คน เม่ือ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙, จาก http://www.un.org/en/events/humanrightsday/

๓๗

¢ÍŒ ¤ÇÃÃÙŒ :
คณะกรรมการทํางานยกรางปฏิญญาฉบับน้ี มีสมาชิกท่ีมีความรูจากหลากหลายดาน ท้ังการเมือง

วัฒนธรรม ศาสนา จาก ๙ ประเทศ มี เอลานอร รูสเวลต (Eleanor Roosevelt, ๑๘๘๔-๑๙๖๒)
ภรรยาของประธานาธิบดีแฟรงคลนิ ดี. รสู เวลต (Fraklin D. Roosevelf, ๑๘๘๒-๑๙๔๕) เปน ประธาน
คณะกรรมการฯ รางปฏิญญาถูกสงใหสมาชิกสหประชาชาติใหคําวิจารณ และมีผลสมบูรณในคราว
การประชุมสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๘ ดวยมติ
เห็นชอบ ๔๘ ตอ ๐ เสียง โดยมี ๘ ประเทศสมาชิกงดออกเสียง ไดแก สหภาพโซเวียต, เบียโลรสั เซยี ,
ยูเครน, โปแลนด, เชโกสโลวาเกีย, ยโู กสลาเวยี , ซาอุดีอาระเบีย และแอฟรกิ าใต

¢ÍŒ ¤ÇÃÌ٠:
ในป ๒๐๐๙ ปฏิญญาฉบับน้ีไดรับการบันทึกเปนสถิติโลกในฐานะเอกสารท่ีถูกแปลเปนภาษาตางๆ

มากทส่ี ดุ ถงึ กวา ๓๐๐ ภาษา โดยไดร บั การรบั รองจากกนิ เนสเวลิ ดเ รคคอรด (Guinness World Record)

อยางไรก็ตาม ถึงแมปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจะถือเปนรากฐานของกฎหมาย
ระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน เปนตนแบบในการทําขอตกลงระหวางรัฐ เปนแนวปฏิบัติใหแก
กฎหมายภายในประเทศ ตลอดจนเปนพลังในการสรางหลักการรวมเพื่อคุมครองสิทธิ แตในทาง
ปฏิบัติแลวยังไมมีสภาพบังคับทางกฎหมาย ไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย หรือมีบทลงโทษใดๆ
แตเ นอื้ หาและเจตนารมณท สี่ ะทอ นจากขอ ความเพยี ง ๓๐ ขอ นนั้ กม็ งุ หวงั ใหส งั คมเกดิ สนั ตสิ ขุ สะทอ น

๓๘

คุณคาชีวิตมนุษยท่ีเกิดจากความสูญเสียและตอสูมายาวนาน (อานแผนการสอนประจําหนวยที่หน่ึง
เรอื่ งพฒั นาการของแนวคดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน) ประเทศทใ่ี หก ารรบั รองปฏญิ ญามคี วามผกู พนั ทางการเมอื ง
และศลี ธรรมทต่ี อ งปฏบิ ตั ใิ หเ ปน ไปตามเจตนารมณ๓ เปน การกดดนั รฐั ในทางหนง่ึ ดว ยเพอ่ื ใหร ฐั ปฏบิ ตั ิ
ตอ ประชาชนอยา งเคารพและเอื้อตอสทิ ธขิ องประชาชน

à¹×éÍËҢͧ»¯ÔÞÞÒÊÒ¡ÅÇÒ‹ ´ÇŒ ÂÊ·Ô ¸ÔÁ¹Øɪ¹

ขอความในบทนําและสวนของเน้ือหาทั้ง ๓๐ ขอ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน
สาระสาํ คัญ

»¯ÔÞÞÒÊÒ¡ÅÇ‹Ò´ÇŒ ÂÊÔ·¸ÁÔ ¹Øɪ¹
ไดรบั การรบั รองและประกาศโดยขอมติสมัชชาสหประชาชาตทิ ่ี ๒๑๗ เอ (III) วันท่ี ๑๐ ธันวาคม

พ.ศ.๒๔๙๑
ÍÒÃÁÑ Àº·
โดยที่การยอมรับศักด์ิศรีแตกําเนิด และสิทธิที่เทาเทียมกันและที่ไมอาจเพิกถอนไดของ
สมาชิกท้ังมวลแหงครอบครัวมนุษยชาติ เปนพ้ืนฐานแหงอิสรภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพ
ในโลก
โดยทก่ี ารไมน าํ พาและการหมนิ่ ในคณุ คา ของสทิ ธมิ นษุ ยชน ยงั ผลใหม กี ารกระทาํ อนั ปา เถอ่ื น
ซึ่งเปนการขัดอยางรายแรงตอมโนธรรมของมนุษยชาติ และการมาถึงของโลกที่ไดมีการประกาศ
ใหความมีอิสรภาพในการพูดและความเช่ือและอิสรภาพจากความหวาดกลัวและความตองการ
ของมนษุ ย เปน ความปรารถนาสูงสุดของประชาชนท่วั ไป
โดยทเี่ ปน การจาํ เปน ทสี่ ทิ ธมิ นษุ ยชนควรไดร บั ความคมุ ครองโดยหลกั นติ ธิ รรม ถา จะไมบ งั คบั
ใหคนตอ งหันเขาหาการลกุ ขน้ึ ตอตา นทรราชและการกดขีเ่ ปนวถิ ที างสดุ ทาย
โดยที่เปน การจาํ เปนทีจ่ ะสงเสริมพฒั นาการแหง ความสมั พันธฉันมิตรระหวา งชาติตางๆ
โดยที่ประชาชนแหงสหประชาชาติไดยืนยันอีกคร้ังไวในกฎบัตรถึงศรัทธาในสิทธิมนุษยชน
ข้นั พน้ื ฐาน ในศกั ดิ์ศรแี ละคาของมนษุ ย และในสทิ ธิที่เทาเทียมกนั ของบรรดาชายและหญงิ และได
มงุ มนั่ ทจี่ ะสง เสรมิ ความกา วหนา ทางสงั คมและมาตรฐานแหง ชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ ในอสิ รภาพอนั กวา งขวางยง่ิ ขนึ้
โดยท่ีรัฐสมาชิกตางปฏิญาณที่จะบรรลุถึงซึ่งการสงเสริมการเคารพและการยึดถือสิทธิมนุษยชน
และอสิ รภาพขั้นพื้นฐานโดยสากล โดยความรวมมือกับสหประชาชาติ

๓ “สหประชาชาติ : สนั ติภาพกับการพฒั นา เนือ่ งในวาระครบรอบ ๕๐ ป ของการสถาปนาองคการสหประชาชาต,ิ ” (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ
เทคนคิ , ๒๕๓๘), หนา ๘๐.

๓๙

โดยท่ีความเขาใจรวมกันในสิทธิและอิสรภาพเหลานี้ เปนส่ิงสําคัญที่สุด เพื่อใหปฏิญญาน้ี
สําเร็จผลเต็มบริบูรณ ฉะนนั้ บดั น้ี สมชั ชาจึงประกาศปฏญิ ญาสากลวาดว ยสิทธิมนุษยชนน้ี ใหเ ปน
มาตรฐานรว มกนั แหง ความสาํ เรจ็ สาํ หรบั ประชาชนทง้ั มวลและประชาชาตทิ ง้ั หลาย เพอื่ จดุ มงุ หมาย
ที่วาปจเจกบุคคลทุกคนและทุกสวนของสังคม โดยการคํานึงถึงปฏิญญาน้ีเปนเนืองนิตย จะมุงม่ัน
สงเสริมการเคารพสิทธิและอิสรภาพเหลาน้ี ดวยการสอนและการศึกษา และใหมีการยอมรับ
และยึดถือโดยสากลอยางมีประสิทธิผล ดวยมาตรการแหงชาติและระหวางประเทศอันกาวหนา
ตามลําดับ ทั้งในบรรดาประชาชนของรัฐสมาชิกดวยกันเอง และในบรรดาประชาชนของดินแดน
ท่ีอยูใ ตเขตอํานาจแหง รัฐน้นั

¢ŒÍ ñ มนุษยท้ังปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรีและสิทธิ ตางในตน
มีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบตั ิตอ กันดวยจติ วญิ ญาณแหงภราดรภาพ

¢ŒÍ ò ทุกคนยอมมีสิทธิและอิสรภาพทั้งปวงตามที่กําหนดไวในปฏิญญาน้ี โดยปราศจาก
การแบงแยกไมวาชนิดใด อาทิ เช้ือชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง
หรอื ทางอื่น พ้นื เพทางชาติหรือสงั คม ทรพั ยส ิน การเกิด หรอื สถานะอนื่ นอกเหนือจากน้ี จะไมม ี
การแบงแยกใดบนพ้ืนฐานของสถานะทางการเมือง ทางกฎหมาย หรือทางการระหวางประเทศ
ของประเทศหรอื ดนิ แดนทบ่ี คุ คลสงั กดั ไมว า ดนิ แดนนจี้ ะเปน เอกราช อยใู นความพทิ กั ษ มไิ ดป กครอง
ตนเอง หรืออยภู ายใตการจํากัดอธปิ ไตยอื่นใด

¢ÍŒ ó ทุกคนมสี ทิ ธิในการมชี ีวิต เสรีภาพ และความมน่ั คงแหง บุคคล
¢ŒÍ ô บคุ คลใดจะตกอยใู นความเปน ทาส หรอื สภาวะจาํ ยอมไมไ ด ทง้ั น้ี หา มความเปน ทาส
และการคาทาสทกุ รปู แบบ
¢ÍŒ õ บุคคลใดจะถูกกระทําการทรมานหรือการปฏิบัติหรือการลงโทษที่โหดราย
ไรมนุษยธรรมหรือยา่ํ ยศี ักด์ิศรไี มได
¢ŒÍ ö ทกุ คนมสี ิทธทิ ี่จะไดร บั การยอมรบั ทกุ แหง หนวา เปนบคุ คลตามกฎหมาย
¢ÍŒ ÷ ทุกคนเสมอภาคกันตามกฎหมายและมีสิทธิท่ีจะไดรับความคุมครองของกฎหมาย
เทา เทยี มกนั โดยปราศจากการเลอื กปฏบิ ตั ใิ ด ทกุ คนมสี ทิ ธทิ จี่ ะไดร บั ความคมุ ครองเทา เทยี มกนั จาก
การเลือกปฏิบตั ใิ ด อันเปนการลว งละเมิดปฏญิ ญาน้ี และจากการยุยงใหม กี ารเลือกปฏบิ ตั ิดังกลาว
¢ÍŒ ø ทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับการเยียวยาอันมีประสิทธิผลจากศาลที่มีอํานาจแหงรัฐ
ตอ การกระทําอนั ลว งละเมดิ สทิ ธิขน้ั พ้ืนฐาน ซงึ่ ตนไดร ับตามรฐั ธรรมนญู หรือกฎหมาย
¢ŒÍ ù บคุ คลใดจะถูกจบั กุม กักขงั หรอื เนรเทศตามอาํ เภอใจไมได
¢ÍŒ ñð ทกุ คนยอ มมสี ทิ ธใิ นความเสมอภาคอยา งเตม็ ทใ่ี นการไดร บั การพจิ ารณาคดที เ่ี ปน ธรรม
และเปดเผยจากศาลท่ีอิสระและไมลําเอียงในการพิจารณากําหนดสิทธิและหนาที่ของตน
และขอกลา วหาอาญาใดตอ ตน

๔๐

¢ÍŒ ññ (๑) ทุกคนท่ีถูกกลาวหาวากระทําผิดทางอาญา มีสิทธิท่ีจะไดรับการสันนิษฐาน
ไวกอนวาบริสุทธิจ์ นกวาจะพสิ จู นไ ดวา มีความผดิ ตามกฎหมายในการพจิ ารณาคดที ี่เปดเผย ซึง่ ตน
ไดร บั หลักประกนั ทจี่ าํ เปนท้ังปวงสําหรบั การตอ สูค ดี

(๒) บุคคลใดจะถูกตัดสินวามีความผิดทางอาญาใด อันเนื่องจากการกระทํา
หรือละเวนใด อันมิไดถือวาเปนความผิดทางอาญาตามกฎหมายแหงชาติหรือกฎหมายระหวาง
ประเทศ ในขณะท่ีไดกระทําการนั้นไมได และจะกําหนดโทษท่ีหนักกวาที่บังคับใชในขณะท่ีได
กระทําความผิดทางอาญานัน้ ไมไ ด

¢ŒÍ ñò บุคคลใดจะถูกแทรกแซงตามอําเภอใจในความเปนสวนตัว ครอบครัว ที่อยูอาศัย
หรอื การส่อื สาร หรอื จะถกู ลบหลเู กียรติยศและชอื่ เสียงไมได ทุกคนมีสิทธิทจี่ ะไดรบั ความคุมครอง
ของกฎหมายตอ การแทรกแซงสทิ ธหิ รอื การลบหลดู งั กลาวนน้ั

¢ŒÍ ñó (๑) ทกุ คนมสี ทิ ธใิ นอสิ รภาพแหง การเคลอื่ นยา ยและการอยอู าศยั ภายในพรมแดน
ของแตล ะรัฐ

(๒) ทุกคนมีสิทธิท่ีจะออกนอกประเทศใด รวมท้ังประเทศของตนเอง และสิทธิ
ทจ่ี ะกลบั สูประเทศตน

¢ŒÍ ñô (๑) ทกุ คนมสี ทิ ธทิ จี่ ะแสวงหา และทจี่ ะไดล ภ้ี ยั ในประเทศอน่ื จากการประหตั ประหาร
(๒) สทิ ธนิ จ้ี ะยกขนึ้ กลา วอา งกบั กรณที กี่ ารดาํ เนนิ คดที เี่ กดิ ขนึ้ โดยแท จากความผดิ

ทมี่ ใิ ชท างการเมืองหรือจากการกระทําอนั ขดั ตอ วัตถปุ ระสงคและหลักการของสหประชาชาติไมไ ด
¢ŒÍ ñõ (๑) ทกุ คนมีสิทธิในสัญชาตหิ นง่ึ
(๒) บุคคลใดจะถูกเพกิ ถอนสัญชาตขิ องตนตามอําเภอใจ หรอื ถกู ปฏเิ สธสิทธทิ ี่จะ

เปล่ียนสญั ชาตขิ องตนไมไ ด
¢ÍŒ ñö (๑) บรรดาชายและหญิงท่ีมีอายุครบบริบูรณแลว มีสิทธิท่ีจะสมรสและกอราง

สรา งครอบครวั โดยปราศจากการจาํ กดั ใด อนั เนอื่ งจากเชอื้ ชาติ สญั ชาติ หรอื ศาสนา ตา งยอ มมสี ทิ ธิ
เทา เทยี มกันในการสมรส ระหวางการสมรส และในการขาดจากการสมรส

(๒) การสมรสจะกระทําโดยความยินยอมอยางอิสระและเต็มที่ของผูท่ีจะเปน
คสู มรสเทานนั้

(๓) ครอบครวั เปน หนว ยธรรมชาตแิ ละพน้ื ฐานของสงั คม และยอ มมสี ทิ ธทิ จี่ ะไดร บั
ความคมุ ครองจากสงั คมและรฐั

¢ŒÍ ñ÷ (๑) ทกุ คนมีสทิ ธิท่จี ะเปน เจาของทรพั ยส ินโดยตนเอง และโดยรว มกบั ผูอนื่
(๒) บคุ คลใดจะถกู เอาทรพั ยส ินไปจากตนตามอาํ เภอใจไมไ ด

ขÍ ñø ทุกคนมีสิทธิในอิสรภาพแหงความคิด มโนธรรม และศาสนา ท้ังนี้ สิทธินี้รวมถึง
อิสรภาพในการเปล่ียนศาสนาหรือความเชื่อ และอิสรภาพในการแสดงออกทางศาสนาหรือ

๔๑

ความเช่ือถือของตนในการสอน การปฏิบัติ การสักการบูชา และการประกอบพิธีกรรม ไมวาจะ
โดยลาํ พังหรือในชมุ ชนรวมกบั ผูอื่น และในทีส่ าธารณะหรอื สว นบุคคล

¢ŒÍ ñù ทกุ คนมสี ทิ ธใิ นอสิ รภาพแหง ความเหน็ และการแสดงออก ทง้ั น้ี สทิ ธนิ ร้ี วมถงึ อสิ รภาพ
ท่ีจะถือเอาความเห็นโดยปราศจากการแทรกแซง และท่ีจะแสวงหา รับ และสงขอมูลขาวสาร
และขอ คดิ ผา นส่อื ใดและโดยไมคาํ นึงถงึ พรมแดน

¢ÍŒ òð (๑) ทุกคนมีสิทธิในอสิ รภาพแหง การชุมนุมและการสมาคมโดยสันติ
(๒) บุคคลใดไมอาจถูกบงั คบั ใหส งั กดั สมาคมหนง่ึ ได

¢ÍŒ òñ (๑) ทกุ คนมสี ทิ ธทิ จ่ี ะมสี ว นรว มในการปกครองประเทศตนโดยตรงหรอื ผา นผแู ทน
ซง่ึ ไดรบั เลือกตงั้ โดยอิสระ

(๒) ทุกคนมสี ทิ ธิท่จี ะเขาถึงบริการสาธารณะในประเทศตนโดยเสมอภาค
(๓) เจตจาํ นงของประชาชนจะตอ งเปน พน้ื ฐานแหง อาํ นาจการปกครอง ทง้ั นี้ เจตจาํ นงน้ี
จะตองแสดงออกทางการเลือกต้ังตามกําหนดเวลาและอยางแทจริง ซ่ึงตองปนการออกเสียง
อยา งทว่ั ถงึ และเสมอภาค และตอ งเปน การลงคะแนนลบั หรอื วธิ กี ารลงคะแนนโดยอสิ ระในทาํ นอง
เดยี วกัน
¢ÍŒ òò ทุกคนในฐานะสมาชิกของสังคม มีสิทธิในหลักประกันทางสังคม และยอมมีสิทธิ
ในการบรรลุสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อันจําเปนยิ่งสําหรับศักด์ิศรีของตน
และการพัฒนาบุคลิกภาพของตนอยางอิสระ ผานความพยายามของรัฐและความรวมมือระหวาง
ประเทศ และตามการจัดการและทรัพยากรของแตล ะรฐั
¢ÍŒ òó (๑) ทุกคนมีสิทธิในการทํางาน ในการเลือกงานโดยอิสระ ในเงื่อนไขที่ยุติธรรม
และเออื้ อํานวยตอ การทํางานและในการคมุ ครองตอ การวา งงาน
(๒) ทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับคาจางท่ีเทาเทียมกันสําหรับงานที่เทาเทียมกัน
โดยปราศจากการเลอื กปฏบิ ัตใิ ด
(๓) ทุกคนที่ทํางานมีสิทธิท่ีจะไดรับคาตอบแทนท่ียุติธรรมและเอ้ืออํานวยตอ
การประกนั ความเปน อยอู นั ควรคา แกศ กั ดศิ์ รขี องมนษุ ยส าํ หรบั ตนเองและครอบครวั และหากจาํ เปน
ก็จะไดรับการคุมครองทางสังคมในรูปแบบอน่ื เพมิ่ เตมิ ดว ย
(๔) ทุกคนมีสิทธิที่จะจัดต้ังและที่จะเขารวมสหภาพแรงงานเพ่ือความคุมครอง
ผลประโยชนของตน
¢ŒÍ òô ทุกคนมีสิทธิในการพักผอนและการผอนคลายยามวาง รวมทั้งจํากัดเวลาทํางาน
ตามสมควร และวนั หยุดเปน คร้งั คราวโดยไดร ับคา จาง
¢ŒÍ òõ (๑) ทกุ คนมสี ทิ ธใิ นมาตรฐานการครองชพี อนั เพยี งพอสาํ หรบั สขุ ภาพและความอยดู ี
ของตนและของครอบครวั รวมทง้ั อาหาร เครอื่ งนงุ หม ทอี่ ยอู าศยั และการดแู ลรกั ษาทางการแพทย

๔๒

และบรหิ ารสงั คมทจี่ าํ เปน และมสี ทิ ธใิ นหลกั ประกนั ยามวา งงาน เจบ็ ปว ย พกิ าร หมา ย วยั ชรา หรอื
ปราศจากการดํารงชพี อนื่ ในสภาวะแวดลอมนอกเหนอื การควบคุมของตน

(๒) มารดาและเด็กยอมมีสิทธิที่จะรับการดูแลรักษาและการชวยเหลือเปนพิเศษ
เดก็ ทง้ั ปวงไมวา จะเกิดในหรอื นอกสมรส จะตอ งไดรบั การคุม ครองทางสังคมเชนเดยี วกนั

¢ÍŒ òö (๑) ทกุ คนมสี ทิ ธใิ นการศกึ ษา การศกึ ษาจะตอ งใหเ ปลา อยา งนอ ยในขนั้ ประถมศกึ ษา
และขั้นพ้ืนฐานการศึกษาระดับประถมจะตองเปนภาคบังคับ การศึกษาดานวิชาการและวิชาชีพ
จะตอ งเปด เปน การทวั่ ไป และการศกึ ษาระดบั สงู ขนึ้ ไปจะตอ งเขา ถงึ ไดอ ยา งเสมอภาคสาํ หรบั ทกุ คน
บนพื้นฐานของคุณสมบัตคิ วามเหมาะสม

(๒) การศึกษาจะตองมุงไปสูการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษยอยางเต็มที่
และการเสรมิ สรา งความเคารพตอ สทิ ธมิ นษุ ยชนและอสิ รภาพขน้ั พน้ื ฐาน การศกึ ษาจะตอ งสง เสรมิ
ความเขาใจ ขันติธรรม และมิตรภาพระหวางประชาชาติ กลุมเช้ือชาติ หรือศาสนาท้ังมวล
และจะตองสง เสรมิ กิจกรรมของสหประชาชาติ เพ่อื การธํารงไวซง่ึ สันติภาพ

(๓) ผูป กครองมสี ิทธเิ บื้องแรกที่จะเลือกประเภทการศึกษาท่จี ะใหแ กบุตรของตน
¢ÍŒ ò÷ (๑) ทุกคนมีสิทธิท่ีจะเขารวมโดยอิสระในชีวิตทางวัฒนธรรมของชุมชน ที่จะ
เพลดิ เพลนิ กับศิลปะ และมสี วนในความรดุ หนา และคณุ ประโยชนท างวิทยาศาสตร

(๒) ทกุ คนมสี ทิ ธทิ จี่ ะไดร บั การคมุ ครองผลประโยชนท างจติ ใจและทางวตั ถุ อนั เปน
ผลจากประดิษฐกรรมใดทางวทิ ยาศาสตร วรรณกรรม และศลิ ปกรรมซึง่ ตนเปน ผสู รา ง

¢ŒÍ òø ทกุ คนยอ มมสี ทิ ธใิ นระเบยี บทางสงั คมและระหวา งประเทศ ซงึ่ จะเปน กรอบใหบ รรลุ
สทิ ธิและอสิ รภาพท่ีกาํ หนดไวใ นปฏญิ ญานี้อยางเต็มที่

¢ÍŒ òù (๑) ทุกคนมีหนาที่ตอชุมชน ซ่ึงการพัฒนาบุคลิกภาพของตนโดยอิสระและเต็มที่
จะกระทําไดก ็แตใ นชมุ ชนเทา นั้น

(๒) ในการใชสิทธแิ ละอสิ รภาพของตน ทกุ คนจะตองอยภู ายใตข อจํากดั เพยี งเทา
ท่ีมีกําหนดไวตามกฎหมายเทานั้น เพื่อวัตถุประสงคของการไดมาซ่ึงการยอมรับและการเคารพ
สทิ ธแิ ละอสิ รภาพอนั ควรของผอู นื่ และเพอ่ื ใหส อดรบั กบั ความตอ งการอนั สมควรทางดา นศลี ธรรม
ความสงบเรียบรอยของประชาชน และสวัสดกิ ารทวั่ ไปในสังคมประชาธปิ ไตย

(๓) สิทธิและอิสรภาพเหลาน้ีไมอาจใชขัดตอวัตถุประสงค และหลักการของ
สหประชาชาติไมวา ในกรณใี ด

¢ŒÍ óð ไมมบี ทใดในปฏิญญาน้ี ทอ่ี าจตีความไดวา เปนการใหสทิ ธิใดแกรฐั กลุมคน หรือ
บุคคลใด ในการดําเนินกิจกรรมใด หรือกระทําการใด อันมุงตอการทําลายสิทธิและอิสรภาพใด
ทก่ี าํ หนดไว ณ ทีน่ ้ี

๔๓

นัยสําคัญท่ีปรากฏในเอกสารชิ้นสําคัญนี้เช่ือวา การเคารพซึ่งสิทธิ ความเสมอภาค
และศักด์ิศรขี องมนษุ ยจะกอ กําเนดิ อสิ รภาพ ความยตุ ิธรรม ที่สาํ คญั ท่สี ดุ คอื “สันตภิ าพ” ใหเกดิ ขึน้ ได
ดงั ขอความที่ระบุในÍÒÃÁÑ Àº·ทว่ี า

“โดยที่การยอมรับศักดิ์ศรีแตกําเนิด และสิทธิท่ีเทาเทียมกันและที่ไมอาจเพิกถอนไดของ
สมาชกิ ทงั้ มวลแหง ครอบครวั มนษุ ยชาติ เปน พน้ื ฐานแหง อสิ รภาพ ความยตุ ธิ รรม และสนั ตภิ าพในโลก”
[Whereas recognition fo the inherent dignity and of the equal and inalienable rights of
all members of the human family is the foundation of freedom, justice and peace in
the world.]

เม่อื พจิ ารณาในสว นของรายละเอยี ดเนอื้ หาของปฏญิ ญาฯ ก็สะทอนชดั เจนถึง
(๑) ÍÔ·¸Ô¾Å¢Í§á¹Ç¤Ô´ÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ (Natural rights) ที่พัฒนาการมาตั้งแตอดีต
กลบั มาปรากฏชดั เจนอีกครง้ั ตัง้ แตเนื้อหาขอแรกของปฏิญญาฯ ท่ีวา

“มนษุ ยท กุ คนเกดิ มามอี สิ ระและเสมอภาคกนั สทิ ธแิ ละศกั ดศิ์ ร”ี [All human beings
are born free and equal in dignity and rights......]

แนวคิดสิทธิธรรมชาติที่ใหความสําคัญกับคุณคาในชีวิตมนุษยยังถูกเขียนขึ้นชัดเจน
ในเน้อื หาขอสาม

“ทกุ คนมีสิทธใิ นการมชี วี ติ เสรีภาพ และความมั่นคงแหงบุคคล” [Everyone has
the right to life, liberty and security of person.]

กลาวไดวาเน้ือหาในปฏิญญาฯ ลวนมีรากฐานมาจากแนวคิดสิทธิธรรมชาติที่ให
ความสาํ คัญกับคณุ คาในชีวิตของมนุษย

(๒) Êз͌ ¹ËÅ¡Ñ ¡ÒÃÊíÒ¤ÑޢͧÊÔ·¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹ คอื หลักความเปน สากล (Universality),
หลักการแบง แยกไมได (Inalienable), หลกั ศกั ดศิ์ รคี วามเปนมนษุ ย (Human Dignity) เนอ่ื งจาก
เจตนารมณแหงปฏิญญาฯ นั้นใชคุมครองกับ “มนุษยทุกคน” เชนดังขอความที่เนนยํ้าในเนื้อหา
ขอที่สองของปฏิญญาฯ วา

“ทกุ คนยอมมสี ทิ ธแิ ละอสิ รภาพทั้งปวงตามท่กี ําหนดไวใ นปฏญิ ญานี้ โดยปราศจาก
การแบงแยกไมวาชนิดใด อาทิ เชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง
หรอื ทางอนื่ พนื้ เพทางชาตหิ รือสงั คม ทรัพยสนิ การเกดิ หรอื สถานะอ่ืน นอกเหนือจากนี้ จะไมมกี าร
แบง แยกใดบนพนื้ ฐานของสถานะทางการเมอื ง ทางกฎหมาย หรอื ทางการระหวา งประเทศของประเทศ
หรือดินแดนทีบ่ คุ คลสังกัด”

[Everyone is entitled to all the rights and freedoms set forth in
this Declaration, without distinction of any kind, such as race, colour, sex, language,
religion, political or other opinion, national or social origin, property, birth or other
status. Furthermorc, no distinction shall be made on the basis of the political, jurisdictional
or international status of the country or territory to which a person belongs...]

หากแบงรายละเอียดเนื้อหาของปฏิญญาออกมาเปนสว นๆ (เนื้อหาขอ ๑-ขอ ๓๐)
สามารถแบงหมวดหมตู ามลาํ ดบั เนือ้ หาออกไดเปน ส่สี ว น ไดแก

๔๔

ÊÇ‹ ¹·èÕ˹§Öè ๹Œ ยา้ํ ãËàŒ Ë¹ç ¤ÇÒÁàªÍè× สาํ ¤ÑÞàºéÍ× §μŒ¹¢Í§ËÅ¡Ñ ¡ÒÃÊ·Ô ¸ÁÔ ¹ÉØ Âª¹ นั่นคือ
(ขอ ๑ และขอ ๒) ความเสมอภาค เทาเทียม หลักศักด์ิศรีความเปนมนุษย เชื่อวามนุษยมีเหตุ
และผล และควรปฏิบัตติ อ กนั ฉันทครอบครวั สทิ ธิมนุษยชนพนื้ ฐานทปี่ ระกาศ
ในปฏญิ ญานเี้ ปนของมนุษยทกุ คน

ʋǹ·ÊèÕ Í§ ໚¹à¹é×ÍËÒ·Õãè ˤŒ ÇÒÁสาํ ¤ÞÑ ¡ºÑ ÊÔ·¸¢Ô ͧ¾ÅàÁÍ× §áÅÐÊÔ·¸·Ô Ò§¡ÒÃàÁÍ× § เชน
(ขอ ๓ และขอ ๒๑) ความไมเปนทาส, การไมถูกลงโทษอยางโหดรายทารุณ, ไดรับการยอมรับ
ทกุ หนแหง วา เปน บคุ คล, ความเสมอภาคกนั ตามกฎหมาย, การไดร บั การเยยี วยา
จากรัฐ, ถูกจับกุม กักขัง เนรเทศตามอําเภอใจไมได, ไดรับการพิจารณาคดี
ท่ีเปนธรรม, ไดรับการสันนิษฐานวาบริสุทธ์ิ, สิทธิไดรับสัญชาติ,
สิทธิในการเคล่ือนยาย, สิทธิในครอบครัว, ศาสนา, การแสดงความคิดเห็น,
การชุมนุม, มีสวนรว มในการปกครอง ฯลฯ

ÊÇ‹ ¹·ÊÕè ÒÁ Áا‹ ๹Œ »ÃÐà´¹ç Ê·Ô ¸Ô·Ò§Êѧ¤Á àÈÃÉ°¡¨Ô áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ เชน
(ขอ ๒๒-ขอ ๒๗) สิทธิในการทาํ งาน, การพักผอน, การมีมาตรฐานการครองชีพ, การมคี ุณภาพ
ชีวติ ท่ีดี, สิทธใิ นการศกึ ษา, สทิ ธใิ นวฒั นธรรมชมุ ชน

ʋǹ·èÊÕ èÕ เปน การสรปุ วา ทกุ คนมสี ทิ ธใิ นสทิ ธมิ นษุ ยชนพน้ื ฐานน้ี ทง้ั นตี้ อ งใชส ทิ ธอิ ยภู ายใต
(ขอ ๒๘-ขอ ๓๐) กรอบกฎหมายและเปนหนาท่ีของบุคคล รวมทั้งรัฐในการสรางใหเจตนารมณ
แหงปฏิญญาน้ีเปน จรงิ ขน้ึ มา

¡Ô¨¡ÃÃÁ

๑. ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนมีการนําเอาหลักการสิทธิธรรมชาติ (Natural
Rights) มาบรรจไุ วอ ยา งไรบาง ยกตวั อยางเนื้อหาสะทอนแนวคดิ สิทธธิ รรมชาตใิ นปฏิญญาฯ

๒. แบงกลุม นสต. ออกเปน กลุมละ ๑๐-๑๕ นาย แจกใบงานให นสต. โดยให
นสต.พจิ ารณาขอ ความในปฏิญญาฯ แลวแสดงความเห็นวา

๒.๑ จากเนื้อหาขอ ๑-๒๗ ของปฏญิ ญาฯ สมาชกิ ในกลุมมมี ตวิ า ขอ ใดสาํ คญั ทีส่ ุด
เพียงขอเดยี ว

๒.๒ นสต. ไมตองการสิทธิในขอใด หรือไมตองการใหคนในครอบครัวไดรับสิทธิ
ในขอใดหรอื ไม

๒.๓ เน้ือหาขอ ๑-๒๗ ของปฏญิ ญา ขอ ใดบางเก่ยี วพนั กบั อาชพี ตํารวจ อธบิ าย
เหตผุ ลประกอบ
ËÁÒÂàËμØ : ใบงานแนบทายแผนการสอนหนวยท่สี าม

๔๕

¡®ËÁÒÂËÅ¡Ñ ÃÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·È´ÒŒ ¹Ê·Ô ¸ÁÔ ¹Øɪ¹จํา¹Ç¹ ù ©ºÑº
͹ØÊÑÞÞÒÇ‹Ò´ŒÇ¡Òâ¨´Ñ ¡ÒÃàÅ×Í¡»¯ÔºμÑ ·Ô Ò§àªéÍ× ªÒμÔ㹷ءû٠Ẻ

(International Convention on the Elimination of all forms of Racial Discrimination : ICERD)

¢ÍŒ ÁÅÙ ·ÇèÑ ä» : ๒๑ ธ.ค. ๑๙๖๕
สมัชชาใหญส หประชาชาติรบั รอง ๔ ม.ค. ๑๙๖๙
มีผลบังคับใช ๑๘๒ ประเทศ (ขอ มูลป ๒๕๖๒)
ประเทศท่ีเขารว มเปนภาคี อารัมภบท และเน้อื หาแบงเปน ๓ ภาค รวม ๒๕ ขอ
เนอื้ หาประกอบดว ย

ÊÒÃÐสาํ ¤ÑÞ
ÀҤ˹§èÖ (¢ÍŒ ñ-÷)
ไดใหนิยามแก “การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ” (Racial Discrimination) วาหมายถึง

การจําแนก การกีดกัน การจํากัดหรือการเลือก โดยต้ังอยูบนพ้ืนฐานของเช้ือชาติ สีผิว เช้ือสาย
หรือชาติกําเนิด หรือเผาพันธุ กําเนิด ซึ่งมีเจตนารมณหรือมีผลทําใหเกิดการระงับหรือการกีดก้ัน
การเคารพสทิ ธมิ นษุ ยชนและเสรภี าพขน้ั พน้ื ฐานของบคุ คลในทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม
และในดานอ่ืนๆ ของการดํารงชีวิตในสังคม รวมทั้งการระงับหรือกีดกั้นการใชสิทธิเหลาน้ัน
อยางเสมอภาคของบุคคล

รัฐตองทบทวนนโยบายของรัฐในทุกระดับเพื่อแกไขนโยบาย หรือกฎระเบียบใดๆ
อันเปน การขยายการเลอื กปฏบิ ัติทางเชอื้ ชาติ รัฐตองสนับสนุนองคก รหรอื กิจกรรมใดๆ ทม่ี งุ ประสาน
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ

รวมถงึ ระบถุ งึ การไดร บั การเยยี วยาตอ การกระทาํ ใดๆ อนั เปน การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอื้ ชาติ
ซึ่งไดล ะเมดิ ตอ สทิ ธมิ นุษยชนและเสรีภาพขั้นพน้ื ฐานของบคุ คลนน้ั

นอกจากน้ียังมีบทบัญญัติตางๆ สําหรับรัฐภาคีในการสงเสริมคุมครองไมใหมีการเลือก
ปฏิบัติทางเช้ือชาติ การใหความสําคัญดานมาตรการในการศึกษา วัฒนธรรม และขอมูลเพื่อขจัด
การเลือกปฏิบัติทางเช้อื ชาตอิ กี ดว ย

ÀÒ¤Êͧ (¢ÍŒ ø-ñö)
วา ดว ยการจดั ตง้ั คณะกรรมการวา ดว ยการขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเชอื้ ชาตจิ าํ นวน ๘ คน
ท่ไี ดรบั เลือกต้งั จากรัฐภาคี และแนวทางการปฏบิ ตั ิงานของคณะกรรมการ
รัฐภาคีตอ งเสนอรายงานตอ สหประชาชาตเิ กีย่ วกบั มาตรการตา งๆ ที่รฐั ไดกระทําการให
สอดคลองกับเจตนารมณข องอนสุ ัญญา (ปกตริ ายงานทุกสองป)
ขอกําหนดเร่ืองการรับขอรองเรียนจากรัฐภาคี, การไกลเกล่ียและยุติขอพิพาทของ
คณะกรรมการ

๔๖

ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ÍŒ ñ÷-òõ)
เกย่ี วกบั การลงนามเขา เปน ภาค,ี การมผี ลใชบ งั คบั , เงอื่ นไขในการขอตงั้ ขอ สงวน และการ
ถอนขอ สงวน, การเพกิ ถอนอนสุ ญั ญา, การเสนอขอ พพิ าทสศู าลยตุ ธิ รรมระหวา งประเทศ และการแกไ ข
และเก็บรักษาตนฉบบั ทัง้ ๕ ภาษา (จนี อังกฤษ ฝร่งั เศส รสั เซีย และสเปน)

¡¨Ô ¡ÃÃÁ

๑. จากผลการสาํ รวจของเมอื่ ป ค.ศ.๒๐๑๕ พบวา สหรฐั อเมรกิ ามปี ญ หาการเลอื กปฏบิ ตั ิ
ทางเชอ้ื ชาติ โดยผลการศกึ ษามีดงั นี้

¢ŒÍ¤ÇÃÃÙŒ :
z การเลือกปฏิบัติน้ันไมไดหมายถึงเฉพาะแตการจงใจเลือกปฏิบัติ (Intentional

discrimination) หากหมายรวมถึงการเลือกปฏิบัติในทางออมตางๆ ดวย เชน กฎหมายท่ี “เนื้อหา”
มีความเปนกลาง แต “ผลลัพธ” เปนไปทางตรงกันขา ม

z การเลือกปฏบิ ัติทางเชอ้ื ชาตไิ มส ามารถทําไดท้งั ในระดบั บุคคล, กลมุ บคุ คล หรือสถาบัน
z เปนเพียงหน่ึงในสามของสนธิสัญญาระหวางประเทศท่ีอนุญาตให “บุคคล” สามารถ
รองเรยี นการถกู ละเมดิ สทิ ธิไปยงั คณะกรรมการไดโ ดยตรง (Individual complain)๔
z การรองเรียนตองเปนการใชมาตรการจัดการแกไขในระดับทองถ่ินจนหมดสิ้นแลว
แตไมบังเกดิ ผลจงึ สงเรื่องมายังคณะกรรมการฯ
z อนุสัญญานี้ จะไมใชกับการจําแนก การกีดกัน การจํากัด หรือการเลือก โดยรัฐภาคีของ
อนสุ ัญญาน้ี ระหวางพลเมืองและบคุ คลท่มี ิใชพ ลเมือง

๔ อนุสญั ญาอีกสองฉบบั คอื The Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights, and the
Convention against Torture and Other Cruel or Inhuman Treatment or Punishment อานเพ่ิมเติมใน “Human Rights
A Basic Handbook for UN Staff,” Office of the High Commissioner for Human Rights, สืบคนเม่ือ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙,
จาก http://www.ohchr.org/Documents/Publications/HRhandbooken.pdf.

๔๗

ให นสต. แบงกลมุ จาํ นวนกลุมละ ๑๐ คน เพ่ือ
๑.๑ สรุปผลจากงานวิจัยคร้ังนี้วาเก่ียวของกับการละเมิดหลักการสิทธิมนุษยชน

อยา งไร อธบิ าย
๑.๒ รัฐควรมีมาตรการ/นโยบาย เชนไรบางเพื่อแกไขปญหาน้ีหากเกิดขึ้นในรัฐ

ของตนเอง ให นสต. เสนอแนะเชงิ นโยบายเพอื่ ใหเปน ไปตามเจตนารมณข องอนสุ ญั ญาฯ


Click to View FlipBook Version