The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:19:19

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

วชิ า ปป. (CP) ๒๑๔๐๓

การรักษาความปลอดภยั

ตาํ ÃÒàÃÂÕ ¹

ËÅÑ¡ÊÙμà ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊÔºตําÃǨ

ÇªÔ Ò »».(CP) òñôðó ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

เอกสารนี้ “໹š ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมใิ หผ ูห น่งึ ผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทงั้ หมดของเอกสารนเี้ พอ่ื การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนท่ีไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÑÞªÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ สาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨá˧‹ ªÒμÔ
¾.È.òõöô

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ

ÇªÔ Ò ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ñ

º··Õè ñ º··èÇÑ ä» ๑
- วตั ถปุ ระสงค ๑
- บทนาํ ๒
- การบรหิ ารจดั การดา นการรกั ษาความปลอดภัย ๒
- การจัดทําแผนการรักษาความปลอดภยั ๓
- หนว ยงานทีเ่ ปนองคการรักษาความปลอดภยั õ
- มาตรฐานการรักษาความปลอดภัย ๕

º··Õè ò ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ º¤Ø ¤Å áÅСÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åสํา¤ÞÑ ๖
- ความจําเปน และความหมายการรกั ษาความปลอดภัยบคุ คล ๗
- ประเภทของบคุ คลท่ีกอใหเ กดิ การละเมดิ มาตรการรกั ษาความปลอดภัย ๘
- ลักษณะนสิ ัยและจุดออ นของบุคคล ๙
- การปฏิบตั ิเก่ยี วกบั การรักษาความปลอดภยั บุคคล ๑๐
- หลักการตรวจสอบประวัติและพฤตกิ ารณบุคคล ๑๐
- การตรวจสอบประวัตแิ ละพฤติการณบคุ คลเบ้ืองตน ๑๑
- การตรวจสอบประวัตแิ ละพฤตกิ ารณบ ุคคลโดยละเอียด ๑๑
- การรบั รองความไวว างใจ ๑๒
- การทะเบียนความไวว างใจ òñ
- การอบรมเรอื่ งการรักษาความปลอดภยั ๒๑
- การรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ ๒๑
๒๒
º··Õè ó ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ àÍ¡ÊÒà ๒๒
- ความหมายของขอ มูลขา วสารลบั ๒๔
- ประเภทชัน้ ความลบั
- องคการรักษาความปลอดภยั
- บุคคลผูม หี นา ที่รักษาขอ มูลขาวสารลับในหนวยงาน
- แนวทางการปฏิบตั เิ กย่ี วกบั ขอ มูลขา วสารลับ

˹Ҍ

º··èÕ ô ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ Ê¶Ò¹·èÕ óñ

- ความหมายและความเปน มาของการรกั ษาความปลอดภัยสถานที่ ๓๑

- เหตุผลทต่ี อ งกําหนดมาตรการการรักษาความปลอดภยั สถานที่ ๓๑

- ประโยชนข องการรักษาความปลอดภยั สถานท่ี ๓๒

- ความจาํ เปนในการสาํ รวจสถานทเ่ี พื่อการรกั ษาความปลอดภัย ๓๒

- ขนั้ ตอนเพอ่ื เตรียมขอมลู สาํ หรบั การวางมาตรการการรักษาความปลอดภยั สถานท่ี ๓๕

- กลุมบคุ คลท่ีเก่ียวของกับพ้ืนทร่ี ักษาความปลอดภยั ๓๖

- การปฏิบัติตามมาตรฐานการรกั ษาความปลอดภยั สถานท่ี ๓๗

- คาํ แนะนําในการสงั เกตวัตถตุ องสงสยั ทค่ี าดวาอาจจะเปนวัตถุระเบดิ ๔๑

ÀÒ¤¼¹Ç¡

- พระราชบญั ญตั ิขอ มูลขา วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ๔๗

- ระเบียบวา ดวยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๔ ๖๖

- ระเบยี บวาดวยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๖๑ ๗๙

- ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดว ยการรกั ษาความปลอดภยั แหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ ๘๒

- ระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดว ยการรักษาความปลอดภยั แหง ชาติ (ฉบับท่ี ๒)

พ.ศ.๒๕๕๔ ๙๘

- ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรี วา ดวยการรักษาความปลอดภยั แหง ชาติ (ฉบบั ที่ ๓)

พ.ศ.๒๕๖๐ ๑๐๐

- ประกาศสํานกั นายกรัฐมนตรี เรื่องการกําหนดแบบเอกสาร

ทใ่ี ชในการรกั ษาความปลอดภัย ตามระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรี

วา ดวยการรกั ษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ ๑๐๖

- พระราชบัญญตั ิ การถวายความปลอดภยั พ.ศ.๒๕๖๐ ๑๒๔

- คูม ือการปอ งกนั เก่ยี วกับวัตถุตองสงสัยสาํ หรบั ประชาชน ๑๒๗

ºÃóҹ¡Ø ÃÁ ñõô



º··èÕ ñ

º··èÑÇä»

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤

เพอ่ื กาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การรกั ษาความปลอดภยั หนว ยงานของรฐั ใหเ ปน ไป
ในแนวทางเดยี วกนั ดงั น้ี

๑. มีความรูความเขาใจในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยและความจําเปนท่ีตองจัดทํา
ระบบการรกั ษาความปลอดภัย

๒. ดําเนินการและปฏิบัติตามคําแนะนําของมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย
ที่กาํ หนดไว

๓. ควบคุม กํากับ และดูแลระบบการรักษาความปลอดภัย ตลอดจนทบทวนปรับปรุง
ใหเ หมาะสมกบั สถานการณและสง่ิ แวดลอ มใหม ีประสิทธภิ าพอยูเสมอ

º·นาํ

ประเทศไทยตอ งเผชญิ กบั ความเปลย่ี นแปลงจากภยั คกุ คามหลายรปู แบบ ทง้ั ภยั ธรรมชาติ
ภัยที่เกิดจากการกระทาํ ของมนษุ ยโดยทางตรงและทางออม ซึ่งสรางความเสียหายตอชีวติ ทรพั ยสนิ
ของประชาชน หนวยงานของรัฐ และสงผลกระทบตอการปฏิบัติหนาท่ีราชการ รวมทั้งทรัพยสิน
ของทางราชการ แมห นว ยงานของรฐั หลายแหง ไดก าํ หนดกลยทุ ธใ นการปอ งกนั แลว แตป ญ หาดงั กลา ว
ยงั ไมห มดไป ซ่ึงอาจเกดิ ขึน้ ใหมไ ดอกี โดยมีเหตปุ จ จัยสถานการณแ วดลอ มแตกตา งกนั ไป

เพ่ือใหการดําเนินการรักษาความปลอดภัยอยางเปนระบบและไดมาตรฐาน นับเปน
กลยุทธท่ีสําคัญอยางยิ่งท่ีจะชวยปองกันภัยคุกคามและบรรเทาความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้นไดอยางมี
ประสิทธิผล เพ่ือเปนการตอบสนองตอหลักการรักษาความปลอดภัย สํานักขาวกรองแหงชาติ
สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ในฐานะองคก ารรกั ษาความปลอดภยั ฝา ยพลเรอื น จงึ กาํ หนดมาตรฐานการรกั ษา
ความปลอดภยั ขนึ้ เพอื่ ใหห นว ยงานของรฐั ฝา ยพลเรอื น นาํ ไปเปน แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการวางมาตรการ
การรักษาความปลอดภยั ข้นั พน้ื ฐานในหนวยงานของรฐั ตอไป

¡ÒúÃÔËÒè´Ñ ¡ÒôŒÒ¹¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ

๑. หวั หนา หนว ยงานของรฐั มหี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบและจดั ใหม รี ะบบการรกั ษาความปลอดภยั
ในหนวยงานของตน

๒. หวั หนา หนว ยงานของรฐั อาจมอบอาํ นาจหนา ทใี่ หแ กผ ใู ตบ งั คบั บญั ชาใหป ฏบิ ตั หิ นา ท่ี
เจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัย เพ่ือทําหนาที่ดําเนินการควบคุม กํากับ ดูแล ตลอดจน



ใหค าํ ปรกึ ษาเกย่ี วกบั การรกั ษาความปลอดภยั ดา นบคุ คล ขอ มลู ขา วสารลบั และสถานทขี่ องหนว ยงานนนั้ ๆ
โดยมีคําส่งั แตง ตงั้ เปนลายลกั ษณอ กั ษรและรบั รองความไวว างใจใหเขา ถงึ ชนั้ ความลับ

๓. หนว ยงานของรฐั มหี นา ทรี่ บั ผดิ ชอบจดั การอบรมเจา หนา ทข่ี องหนว ยงานใหท ราบถงึ
ความจําเปนและมาตรการของการรักษาความปลอดภัย รวมท้ังจัดใหมีการอบรมและทบทวน
เพิ่มเตมิ อยูเสมอตามหว งระยะเวลาที่เหมาะสม

๔. กรณีหนวยงานของรัฐมอบหมายหรือทําสัญญาจางใหภาคเอกชนดําเนินการ
อยางหน่ึงอยางใดซ่ึงเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย ใหภาคเอกชนนั้นถือปฏิบัติตามมาตรฐาน
การรักษาความปลอดภยั น้ดี ว ย

¡ÒèѴทาํ á¼¹¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ

หนวยงานของรัฐตองจัดทําแผนการปฏิบัติดานการรักษาความปลอดภัยท้ังในเวลาปกติ
และเวลาฉุกเฉิน เพ่ือพิทักษรักษาและคุมครองปองกันสิ่งท่ีเปนความลับของทางราชการ เจาหนาที่
ของรัฐ หนวยงานของรัฐ และทรัพยสินมีคาของแผนดินใหพนจากการโจรกรรม การบอนทําลาย
การจารกรรม และการกอวินาศกรรม หรือการกระทําอ่ืนใดที่มีผลกระทบตอความมั่นคงและ
ผลประโยชนแหงรัฐ แผนการรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพจําเปนตองดําเนินการเก่ียวกับ
การรักษาความปลอดภัยดานบุคคล ขอมูลขาวสารลับ และสถานที่ใหสอดคลองกับความสําคัญ
ของหนวยงานและสภาพแวดลอมของแตละสวนราชการ โดยตองมีการปรับปรุงทบทวนแกไข
ใหเ หมาะสมอยเู สมอและสอดคลอ งกบั มตคิ ณะกรรมการนโยบายรกั ษาความปลอดภยั แหง ชาติ (กรช.)
เมื่อ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ ใหหนวยงานของรัฐเครงครัดในการตรวจสอบและจัดระเบียบการควบคุม
การรักษาความปลอดภัยใหเปนไปตามระเบียบการรักษาความปลอดภัยที่กําหนด แลวสงใหองคการ
รกั ษาความปลอดภัย

˹Nj §ҹ·èÕ໚¹Í§¤¡ ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

๑. สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เปนองคการรักษาความปลอดภัย
ฝายพลเรอื น

๒. ศนู ยร กั ษาความปลอดภยั กองบญั ชาการกองทพั ไทย กระทรวงกลาโหม เปน องคก าร
รักษาความปลอดภยั ฝายทหาร

๓. กองบัญชาการตํารวจสันติบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ เปนองคการรักษา
ความปลอดภัยฝา ยตาํ รวจ



สาํ ¹Ñ¡¢Ò‹ Ç¡Ãͧá˧‹ ªÒμÔ
ในฐานะองคการรักษาความปลอดภัยฝายพลเรือน ไดจัดทํามาตรฐานการรักษา
ความปลอดภัยสําหรับหนวยงานของรัฐในสังกัดฝายพลเรือน เพ่ือเปนบรรทัดฐานในการกําหนด
มาตรการการรักษาความปลอดภัยใหเหมาะสม สอดคลองกับสภาพแวดลอม ภารกิจหนาที่
ความสําคัญ และความจําเปน ของแตล ะหนวยงาน

ÁÒμðҹ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

หมายถงึ ระดบั ทค่ี วรจะเปน ของมาตรการตา งๆ ทกี่ าํ หนดขนึ้ เพอ่ื ใหห นว ยงานของรฐั นาํ ไป
เปนแนวทางปฏิบัติ เพ่ือพิทักษรักษาบุคคล ขอมูลขาวสารลับ และสถานที่ ใหพนจากการโจรกรรม
การจารกรรม การบอนทําลาย การกอวินาศกรรม และการกอการราย รวมถึงการลดความเสียหาย
ทีอ่ าจจะเกิดขน้ึ จากการละเมิดการรักษาความปลอดภยั

ÁÒμðҹ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ กํา˹´á¹Ç·Ò§»¯ºÔ ÑμäÔ ÇŒ õ ´ŒÒ¹ ¤×Í
๑. มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล หมายถึง มาตรการท่ีกําหนดข้ึน
เมื่อหนวยงานนําไปเปนแนวปฏิบัติสามารถสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและเชื่อแนวา
เปนบคุ คลทีไ่ มเปนภยั ตอ ความม่ันคงเขา มาปฏบิ ัตหิ นา ทใ่ี นหนว ยงาน
๒. มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับ หมายถึง มาตรการ
ท่ีกําหนดขึ้นเมื่อหนวยงานนําไปเปนแนวปฏิบัติจะทําใหคุมครองขอมูลขาวสารลับไมใหสูญหาย
ถกู ทําลาย เปล่ียนแปลง หรอื รว่ั ไหลไปสบู ุคคลทีไ่ มเ กีย่ วขอ งได
๓. มาตรฐานการรักษาความปลอดภยั เกย่ี วกับสถานที่ หมายถึง มาตรการท่ีกาํ หนดขึ้น
เม่ือหนวยงานนําไปเปนแนวปฏิบัติจะทําใหพิทักษรักษาอาคาร สถานท่ี วัสดุอุปกรณ ตลอดจน
เจา หนา ทแ่ี ละขอมูลขา วใหรอดพนจากภัยอนั ตราย
๔. มาตรฐานการรกั ษาความปลอดภยั เกย่ี วกบั ขอ มลู ขา วสารลบั ทางระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
หมายถึง มาตรการท่ีกําหนดขึ้นเมื่อหนวยงานนําไปปฏิบัติจะคุมครองขอมูลขาวสารลับท่ีอยูในระบบ
อิเลก็ ทรอนกิ ส ใหพน จากการสญู หาย ถูกทําลาย เปลยี่ นแปลง หรอื รัว่ ไหลได
๕. มาตรฐานการรกั ษาความปลอดภยั ในการประชมุ ลบั หมายถงึ มาตรการทก่ี าํ หนดขนึ้
หนว ยงานนาํ ไปปฏบิ ตั จิ ะพทิ กั ษร กั ษาสง่ิ ทเ่ี ปน ความลบั ในการประชมุ ไมใ หร วั่ ไหล รวมถงึ คมุ ครองบคุ คล



º··Õè ò

¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺ¤Ø ¤Å áÅСÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺ¤Ø ¤Åสํา¤ÑÞ

¤ÇÒÁจาํ ໹š áÅФÇÒÁËÁÒ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺؤ¤Å

¤ÇÒÁจํา໚¹
เนอ่ื งจากบคุ คลมคี วามสาํ คญั ทสี่ ดุ ตอ การดาํ เนนิ มาตรการรกั ษาความปลอดภยั ถงึ แมจ ะ
มีการจัดระบบควบคมุ ตรวจสอบ หรือกําหนดมาตรการใด ๆ ขึน้ อยางรอบคอบ และมีประสทิ ธิภาพ
กต็ าม แตห ากบคุ คลทอ่ี ยภู ายใตร ะบบหรอื มาตรการเหลา นนั้ เปน บคุ คลทปี่ ราศจากสาํ นกึ ขาดระเบยี บ
วนิ ยั หรอื ขาดคณุ สมบตั ทิ เ่ี หมาะสมทจ่ี ะปฏบิ ตั งิ านใหก บั สว นราชการและหนว ยงานของรฐั แลว บคุ คล
ประเภทนอี้ าจกลายเปน ผกู อ ใหเ กดิ ภยั อนั ตรายแกส ว นราชการและหนว ยงานของรฐั ทสี่ งั กดั อยู ฉะนน้ั
การคัดกรองบุคคลจึงนับเปนวิธีการหนึ่งท่ีสวนราชการและหนวยงานของรัฐตองสนใจดําเนินการ
เพ่ือใหไดบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และสามารถปฏิบัติงานราชการใหสําเร็จลุลวงอยางดีท่ีสุด
เทา ที่จะกระทาํ ได
วิธีการเบ้ืองตนในการคัดกรองบุคคลที่จะรับเขามาปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ
คือ การกรอก รปภ.๑ เน่ืองจากเอกสารนี้เปน แบบสอบถามขอ มูลประวัติและพฤติกรรมโดยทวั่ ไปของ
บุคคล ที่จะไดรับการบรรจุเขาปฏิบัติงาน นับเปนการพิสูจนทราบเบ้ืองตนถึงประวัติ-ความประพฤติ
สว นตวั ของบคุ คลนน้ั อกี ทง้ั แสดงใหเ หน็ ถงึ ความรว มมอื กบั หนว ยงานของรฐั ทบี่ คุ คลนน้ั จะเขา มาสงั กดั
เนอ่ื งจาก รปภ.๑ ถอื เปน การรายงานตวั ตอ ทางราชการทเ่ี ปน ลายลกั ษณอ กั ษรประเภทหนง่ึ ซง่ึ เจา ของ
ประวตั สิ มควรใหข อ มลู ทค่ี รบถว นตามความเปน จรงิ เพอื่ แสดงใหเ หน็ ถงึ ความเตม็ ใจทจ่ี ะใหค วามรว มมอื
และปฏิบัติตามระเบียบของราชการ หากบุคคลใดไมพรอมท่ีจะใหความรวมมือแลว อาจหมายถึง
พริ ธุ ของบคุ คลนนั้ วา เคยมปี ระวตั หิ รอื พฤตกิ รรมทไี่ มต อ งการเปด เผยตอ บคุ คลภายนอก ซงึ่ สง่ิ ทตี่ อ งการ
ปกปด ดงั กลา วอาจกลายเปน สงิ่ ทก่ี อ ใหเ กดิ ภยั อนั ตรายตอ สว นราชการหรอื หนว ยงานของรฐั ไดใ นภายหลงั
ดังน้ันในการคัดเลือกบุคคลเขามาปฏิบัติหนาที่ในหนวยงานของรัฐจึงตองมีการ “คัดกรอง” คนที่มี
คุณสมบัติ และเหมาะสมเขามาเปนเจาหนาท่ีของรัฐ เพ่ือปกปองผลประโยชนและสรางความมั่นคง
ของชาติ อยางไรก็ตามเมื่อคัดเลือกบุคคลไดแลว ก็จะตองสรางใหบุคคลเหลานั้นใหมีจิตสํานึกท่ีดี
ตอ การปฏิบัติงานราชการ มคี วามตัง้ ใจท่จี ะปกปองสว นราชการ และสรางความเจริญกาวหนาแกช าติ
บานเมอื ง
¤ÇÒÁËÁÒÂ
การรักษาความปลอดภัยบุคคล คือ มาตรการท่ีกาํ หนดขึน้ สําหรบั ใชป ฏิบตั ติ อขาราชการ
หรอื ผูทจ่ี ะไดรบั ความไววางใจใหเ ขาถงึ สิ่งทเี่ ปน ความลบั ของทางราชการ หรือใหปฏิบัติหนา ท่รี าชการ
ที่สาํ คญั เพ่ือใหเปน ทเี่ ชอ่ื แนวา ตอ งเปน ผูท่ีไมเปน ภัยตอความมนั่ คงของประเทศชาติ



ÊÒàËμآͧ¡ÒÃÅÐàÁ´Ô ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

ภยั คกุ คามทเ่ี กดิ ขน้ึ แกอ งคก ร และสง ผลกระทบในทางลบตอ การทาํ งานในหนว ยงาน ทาํ ให
เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของงานลดลง หรอื ไมป ระสบความสาํ เรจ็ สว นใหญเ กดิ จากการกระทาํ
ของคน อาทิ ความลบั ของทางราชการรวั่ ไหล อาคารสถานทไี่ ดร บั ความเสยี หายจากการกอ วนิ าศกรรม
เปนตน สาเหตทุ ท่ี ําให “คน” ละเมิดการรกั ษาความปลอดภยั คือ นิสัยและจุดออ นของตัวบุคคล

»ÃÐàÀ·¢Í§ºØ¤¤Å·è¡Õ ‹ÍãËàŒ ¡Ô´¡ÒÃÅÐàÁ´Ô ÁÒμáÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ

๑. บุคคลหรือกลุมบุคคลไมมีสิทธิ/ไมมีอํานาจหนาที่เกี่ยวของกับหนวยงานของรัฐ
เปน บคุ คลภายนอกทไี่ มม สี ว นเกย่ี วขอ งกบั หนว ยงานของรฐั หรอื อาจเปน ฝา ยตรงขา มทม่ี งุ แสวงประโยชน
หรือมุงทําลายส่ิงที่อยูในความครอบครองของหนวยงานของรัฐ โดยเฉพาะสิ่งท่ีเปนความลับหรือ
มคี วามสาํ คญั วธิ กี ระทาํ การของบคุ คลประเภทนีจ้ ะแบง ออกเปน

๑.๑ การเขามากระทําการดวยตนเอง ไดแก การโจรกรรม การจารกรรม การกอ
วนิ าศกรรม

๑.๒ การชักจูงใหบุคคลภายในหนวยงานของรัฐที่เปนเปาหมาย กระทําการแทน
จนบรรลุวัตถุประสงคท ต่ี อ งการ

๒. บคุ คลหรอื กลมุ บคุ คลทปี่ ฏบิ ตั งิ านอยภู ายในหนว ยงานของรฐั แตม จี ดุ ออ นทอี่ าจกอ
ใหเกดิ การละเมิดการรกั ษาความปลอดภัย

ÅѡɳйÔÊÂÑ áÅШش͋͹¢Í§º¤Ø ¤Å

ñ. Í»Ø ¹ÊÔ Ñ¾¹×é °Ò¹¢Í§áμÅ‹ кؤ¤Å
๑.๑ ความรเู ทา ไมถ งึ การณ เกดิ ขนึ้ จากความไมเ ขา ใจหรอื ไมต ระหนกั ถงึ ความสาํ คญั

ของหนา ทีค่ วามรบั ผิดชอบทกี่ ระทําอยู
๑.๒ ความประมาทเลนิ เลอ สะเพรา และความเกยี จครา น เกดิ จากคณุ สมบตั สิ ว นตวั

ท่ไี มเคยคาํ นึงถึงผลเสียหายท่ีจะเกดิ ตามมาจากการกระทาํ ของตนเอง
๑.๓ ความเคยชนิ เกดิ จากการปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นระดบั สงู หรอื เกยี่ วขอ งกบั ขอ มลู ขา วสาร

ทส่ี าํ คญั หรอื มชี นั้ ความลบั สงู จนทาํ ใหไ มเ หน็ ความสาํ คญั ของขอ มลู ระดบั ตา่ํ กวา หรอื เกดิ จากการปฏบิ ตั งิ าน
ในรปู แบบเดิม ไมม ีการเปลย่ี นแปลงจนเกิดความเคยชนิ

๑.๔ ความขาดสติ เกิดจากการขาดการควบคุมทางอารมณท่ีดี การเสพสุราของ
มึนเมา หรอื ยาเสพติด



ò. ÍØ»¹ÔÊÑ·àèÕ »¹š ¨Ø´ÍÍ‹ ¹¨¹½Ò† Âμ碌ÒÁà¢ÒŒ ÁÒ㪌áÊǧ»ÃÐ⪹
๒.๑ ความเชื่อถอื ไวว างใจในผูใ กลชดิ หรือผทู ่ีมคี ุณสมบตั นิ าเชอ่ื ถือ จนทําใหไ มเ กดิ

ความรสู กึ วา สามารถเปด เผยใหไ ดท ราบถงึ สง่ิ ทเี่ ปน ความลบั หรอื สงิ่ ทย่ี งั ไมถ งึ กาํ หนดเวลาจะตอ งเปด เผย
ความลบั ของทางราชการ

๒.๒ ความภาคภมู ิใจในการปฏบิ ัติงานของตนหรอื สรางความประทับใจใหกับผอู น่ื
๒.๓ มีอุปนิสัยเปนปมเข่ือง และตองการแสดงใหผูอ่ืนไดรับทราบวา ตนไดรับ
ความไววางใจใหรับรูหรือเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารที่สําคัญ หรือเขาถึงมากกวาขาวสารที่ปรากฏอยู
โดยทั่วไป
๒.๔ ความมงุ มนั่ ตอ การปฏบิ ตั งิ านจนผดิ กาลเทศะ เกดิ จากความตอ งการปฏบิ ตั งิ าน
ใหไ ดผ ลดที ส่ี ดุ เทา ทีก่ ระทาํ ได จนไมคาํ นึงถึงความเหมาะสมของบุคคลทีเ่ ขา มาเกี่ยวขอ งกบั งาน หรอื
เวลาทสี่ มควรท่ีจะปฏบิ ตั ิงาน หรอื สถานทที่ ่ีเหมาะสมแกการปฏิบตั งิ านนนั้ ๆ
๒.๕ ความเห็นแกได รับสินบน เพื่อนําไปใชจายตามอุปนิสัยชอบความหรูหรา
ฟุม เฟอ ยเกนิ ฐานะความเปนอยู
ó. à¡´Ô ¨Ò¡ÊÀÒ¾¤ÇÒÁจํา໹š ·Ò§Ê§Ñ ¤Á
๓.๑ ภาระหน้สี นิ
๓.๒ ถกู ชกั จงู เนอื่ งจากมที ศั นคตขิ ดั แยง ทางการเมอื ง หรอื ขาดความเชอื่ มนั่ ในหลกั
ศาสนา หรอื สถาบันพระมหากษตั รยิ 
๓.๓ กระทาํ ดว ยการยดึ มน่ั ตามอดุ มการณ
ô. ÊÀÒÇзҧ¨ÔμäÁ»‹ ¡μÔ
๔.๑ ตอ งการทา ทายสังคม
๔.๒ กระทําเพื่อแกแคน ครอบครวั

¡Òû¯ºÔ μÑ Ôà¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺؤ¤Å

ตามระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดวยการรกั ษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒
กําหนดใหหัวหนาหนวยงานของรัฐจะตองดําเนินการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับบุคคล สามารถสง
ใหผูรับมอบหนาที่ดําเนินการแทน หรือเจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยได แตถาไมมีก็ขึ้น
อยกู บั การพจิ ารณาของหัวหนา หนว ยงาน

วิธปี ฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั การรกั ษาความปลอดภัยบุคคลภายในหนว ยงานของรัฐ
๑. การตรวจสอบประวตั แิ ละพฤติการณบุคคล
๒. การรับรองความไววางใจ
๓. การทะเบยี นความไวว างใจ
๔. การอบรมเรื่องการรกั ษาความปลอดภยั



หวั หนา หนว ยงานของรฐั ตอ งจดั ใหม กี ารปฏบิ ตั หิ รอื มอบหมายใหม กี ารปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐาน
การรักษาความปลอดภยั เกีย่ วกบั บุคคล ดังน้ี

๑. ดาํ เนินการตรวจสอบประวตั ิและพฤติการณบ คุ คล
๑.๑ ผูทอ่ี ยรู ะหวา งรอบรรจหุ รือแตงตัง้ เปน เจา หนา ท่ีของรัฐ
๑.๒ ผูทเ่ี ปน ลกู จา งทดลองปฏบิ ตั งิ าน หรือฝกงานกอ นบรรจเุ ขา ปฏบิ ตั ิงาน
๑.๓ เจาหนาทีข่ องรฐั ทีย่ งั ไมเ คยผานการตรวจสอบประวัตแิ ละพฤติการณ และผทู ี่

ขอกลับเขา รบั ราชการใหม
๑.๔ เจา หนา ทขี่ องรฐั หรอื บคุ คลทไี่ ดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั งิ านในหนา ทห่ี รอื ตาํ แหนง

สาํ คญั ของหนวยงาน หรอื เก่ียวขอ งกับสง่ิ ทเ่ี ปนความลับของทางราชการ ทรพั ยส ินมีคา ของแผน ดนิ
๑.๕ ผูไดรับทุนการศึกษาทั้งในประเทศหรือตางประเทศแลวมีขอผูกพันใหเขา

ปฏิบัตงิ านใหแ กห นว ยงานของรัฐเมอื่ สําเรจ็ การศึกษา
๑.๖ บุคคลภายนอกที่เขามาปฏบิ ัติงานใหห นว ยงานของรฐั
๑.๗ กรณีตรวจพบบุคคลที่มีพฤติการณหรือปรากฏขาวสารท่ีนาจะเปนภัยตอ

ความม่ันคง และผลประโยชนแหงรัฐ หรือบุคคลท่ีเกี่ยวของกับชั้นความลับของทางราชการ
หัวหนาหนวยงานของรัฐ อาจขอใหอ งคการรกั ษาความปลอดภัยตรวจสอบเพ่ิมเตมิ ได

๒. หนว ยงานของรฐั ตอ งจดั ใหม กี ารรบั รองความไวว างใจบคุ คลทจ่ี ะเขา ถงึ สง่ิ ทเ่ี ปน ความลบั
ของทางราชการ โดยมคี าํ สง่ั แตง ตงั้ เปน ลายลกั ษณอ กั ษร และตอ งผา นการตรวจสอบประวตั แิ ละพฤตกิ ารณ

๓. เจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยหนวยงานของรัฐ ตองบันทึกชื่อบุคคลท่ี
ไดร ับการรับรองความไวว างใจไวในทะเบียนความไวว างใจของหนวยงาน

๔. หัวหนาหนวยงานของรัฐตองจัดใหมีการอบรมช้ีแจงเก่ียวกับระเบียบการรักษา
ความปลอดภัยแกบุคคลท่ีไดรับการบรรจุใหม ผูที่ไมเคยไดรับการอบรม หรือผูท่ีจะไดรับมอบหมาย
ใหป ฏบิ ตั หิ นา ทเี่ กยี่ วกบั ความลบั ของทางราชการ รวมถงึ การใหค วามรใู นวทิ ยาการดา นตา ง ๆ และตอ ง
อบรมทบทวนตามระยะเวลาทเ่ี หมาะสม เพอ่ื กระตนุ จติ สาํ นกึ และวนิ ยั ในดา นการรกั ษาความปลอดภยั

ËÅ¡Ñ ¡ÒÃμÃǨÊͺ»ÃÐÇμÑ áÔ ÅоÄμ¡Ô Òóº ؤ¤Å

เพือ่ ใหไดบ ุคคลทม่ี ีคณุ ลกั ษณะดงั ตอไปน้ี
๑. มีคุณสมบัติครบถวนตามกฎหมาย ขอบังคับ หรือระเบียบวาดวยการบรรจุเขาเปน
ขา ราชการ
๒. ตองไมมพี ฤติการณท่ขี ดั ตอระบบการรกั ษาความปลอดภยั
๓. มคี วามซื่อสตั ยส จุ ริตและเปน ทไี่ ววางใจในความจงรักภกั ดีตอ ทางราชการ
๔. มคี ณุ ลกั ษณะ เชน อปุ นสิ ยั ความสขุ มุ รอบคอบ มมี นษุ ยส มั พนั ธด ี ซงึ่ แสดงวา บคุ คลนนั้
ควรไวว างใจใหปฏิบตั งิ านตามหนาทนี่ น้ั ได



ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒
กาํ หนดใหห นว ยงานของรฐั ดาํ เนนิ การตรวจสอบประวตั แิ ละพฤตกิ ารณบ คุ คล ซงึ่ แบง ออกเปน ๒ สว น
ไดแก

๑. การตรวจสอบประวตั แิ ละพฤติการณบคุ คลเบ้ืองตน
๒. การตรวจสอบประวัตแิ ละพฤตกิ ารณโดยละเอยี ด

¡ÒÃμÃǨÊͺ»ÃÐÇÑμáÔ ÅоÄμÔ¡Òóº ؤ¤Åàº×éÍ§μ¹Œ

๑. หัวหนาหนวยงานควรจัดใหมีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณเบ้ืองตน สําหรับ
ผูทจ่ี ะไดร ับการบรรจเุ ขา รับราชการ หรอื รบั โอน หรอื วา จางใหม าปฏิบตั งิ านไดเอง ตามขั้นตอนดังนี้

๑.๑ ตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตนครบถวนตามกฎหมายหรือขอบังคับ จากน้ัน
หนวยงานทาํ หนังสือถึงหัวหนาสถานีตํารวจนครบาลหรือหัวหนาสถานีตาํ รวจภูธรท่ีผูถูกตรวจสอบ
ประวัติและพฤติการณบุคคลมีภูมิลําเนาอยู เพื่อพิมพลายน้ิวมือสงใหกองทะเบียนประวัติอาชญากร
สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจ สํานักงานตาํ รวจแหงชาติ ตรวจสอบพิมพลายนิ้วมือและประวัติ
อาชญากร

๑.๒ จดั ใหมีการกรอกแบบประวัติบุคคล/แบบ รปภ.๑ (เขียนดวยลายมอื ตวั บรรจง)
โดยมีเจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยประจําหนวยงานหรือผูท่ีไดรับมอบหมายควบคุม
ดแู ล เพอื่ ใหก ารกรอกขอ มลู ครบถว นสมบรู ณ หากเจา ของประวตั กิ รอกแบบ รปภ.๑ แสดงอาการขดั แยง
เชน การอางเร่ืองสิทธิสวนบุคคล ไมกรอกขอมูลใหครบถวน และไมสามารถช้ีแจงเหตุผลได
อยางชดั เจน ใหผคู วบคมุ การกรอกบันทึกความเหน็ เพิ่มเติมไวทีแ่ บบ รปภ.๒

๑.๓ กรณีท่ีพบพิรุธหรือขอสงสัยเกี่ยวกับประวัติของผูที่รับเขาปฏิบัติงาน สามารถ
สงใหองคการรักษาความปลอดภัยตรวจสอบประวัติโดยละเอียดได ซึ่งเมื่อดําเนินการแลวเสร็จ
องคก ารรักษาความปลอดภยั จะแจง ผลใหท ราบตอ ไป

๑.๔ กรณีจําเปนเรงดวน สามารถบรรจุหรือวาจางกอนท่ีจะรับผลการตรวจสอบ
ประวตั ิ แตต อ งมเี งอ่ื นไขวา ถา ผลการตรวจสอบประวตั ไิ มเ หมาะสม สามารถสง่ั เลกิ บรรจหุ รอื เลกิ จา งได

๒. สําหรับผูท่ีไดรับความไววางใจใหเขาถึงช้ันความลับ ถาจาํ เปนที่ตองใหผูไดรับ
การบรรจใุ หมเ ขาถงึ ชั้นความลับ กส็ ามารถตรวจสอบพรอ มกันในคราวเดียวกนั

๓. สาํ หรับผทู โ่ี อนมาจากหนว ยงานอืน่ ตอ งกรอกแบบ รปภ.๑ พรอ มทําการตรวจสอบ
ประวัติใหม

๔. เมื่อมีการเปล่ียนแปลงขอมูลประวัติ ที่เขียนไวในแบบ รปภ.๑ ใหเจาของประวัติ
กรอกขอมูลทเี่ ปลย่ี นแปลงใน แบบบันทึกการเปล่ียนแปลงประวัตบิ คุ คล (แบบ รปภ.๒) และเจา หนา ท่ี
ควบคุมการรักษาความปลอดภัย ตรวจสอบความถูกตองและลงช่ือรับรอง เพ่ือความถูกตอง
ตามการแจง ของเจาของประวตั ิ

๑๐

¡ÒÃμÃǨÊͺ»ÃÐÇÑμáÔ ÅоÄμ¡Ô Òóº¤Ø ¤Åâ´ÂÅÐàÍÕ´

การตรวจสอบประวัติและพฤติการณโดยละเอียด หากหนวยงานของรัฐไมสามารถ
ดําเนินการเองได ใหทําหนังสือแจงขอรับการสนับสนุนจากองคการรักษาความปลอดภัย พรอมกับ
แนบแบบ รปภ.๑ หรือขอมูลอื่น ๆ ถามี พรอมวัตถุประสงคของการขอใหตรวจสอบไปดวย บุคคล
ท่หี นวยงานของรฐั ตองตรวจสอบประวตั โิ ดยละเอยี ด คอื

๑. บุคคลที่จะเขาถึงส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการชั้นลับที่สุด หรือลับมาก หรือ
การรหัส

๒. บคุ คลทม่ี พี ฤตกิ ารณ หรอื ปรากฏขา วสาร หรอื ตดิ ตอ กบั บคุ คล หรอื องคก ารทงั้ ภายใน
และภายนอกประเทศที่จะเปนภยั ตอ ความมน่ั คงและผลประโยชนแหง รฐั

๓. บุคคลที่จะไดรับมอบหมายใหทําหนาท่ีหรือแตงตั้งใหดํารงตําแหนงที่สําคัญใน
หนว ยงานของรัฐ

นอกจากนี้หนวยงานควรพิจารณาตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคลโดยละเอียด
แกบ ุคคลดงั ตอไปนี้

๑) ผทู ไี่ ดร บั การบรรจหุ รอื วา จา งใหเ ขา ปฏบิ ตั งิ านในหนว ยงานทเ่ี กย่ี วกบั ความมน่ั คงของ
ประเทศ นโยบายบรหิ าร ผลประโยชนแหงชาติ หรือเก่ยี วของกับสิง่ มคี า ของแผน ดนิ

๒) เจาหนาที่ของรัฐหรือผูที่ถูกวาจางใหเขามาปฏิบัติงานท่ีไดรับความไววางใจใหเขาถึง
สงิ่ ทเ่ี ปน ความลบั ของทางราชการ หรอื ใหป ฏบิ ตั หิ นา ทห่ี รอื ดาํ รงตาํ แหนง ทมี่ คี วามสาํ คญั ของหนว ยงาน

๓) เจา หนา ทขี่ องรฐั หรอื ผทู ถ่ี กู จา งมพี ฤตกิ ารณท ผี่ ดิ สงั เกตหรอื สอ ใหเ หน็ วา จะเปน ภยั ตอ
หนวยงานของรัฐ การตรวจสอบประวัติ หนวยงานของรัฐสามารถกระทําได มิไดเปนการละเมิดสิทธิ
สว นบคุ คล เพราะเปน การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บราชการทไี่ ดก าํ หนดไว ทงั้ นแ้ี บบ รปภ.๑ และแบบ รปภ.๒
ทใ่ี ชก รอกขอ มลู ประวตั ติ า งเปน เอกสารราชการ ซงึ่ สามารถกาํ หนดชน้ั ความลบั ได และหากขอ มลู ประวตั ิ
เหลาน้ีถูกนําไปเปดเผยโดยผูไมมีอํานาจหนาที่ ถือเปนการละเมิดระเบียบการรักษาความปลอดภัย
ทสี่ ามารถเอาผดิ ทางวนิ ัยแกข า ราชการได

¡ÒÃÃºÑ Ãͧ¤ÇÒÁäÇŒÇÒ§ã¨

๑. หวั หนา หนว ยงานของรฐั มหี นา ทรี่ บั รองความไวว างใจบคุ คล โดยยดึ ถอื ผลการตรวจสอบ
ประวัติและพฤตกิ ารณของบคุ คลผูน นั้ เปน แนวทางพจิ ารณาตามทเ่ี หน็ สมควร

๒. ในกรณจี าํ เปน หรอื เรง ดว น หวั หนา หนว ยงานของรฐั อาจรบั รองความไวว างใจบคุ คลได
โดยไมต อ งรอฟง ผลการตรวจสอบประวตั แิ ละพฤตกิ ารณจ ากองคก ารรกั ษาความปลอดภยั ตามเงอื่ นไข
ดงั นี้

๒.๑ ในกรณีบรรจุบุคคลเขาเปนขาราชการ ระหวางท่ีกําลังรอฟงผลการตรวจสอบ
ประวัตแิ ละพฤติการณ ถาจําเปน จะตอ งบรรจบุ คุ คลเขาทาํ งานก็ผอ นผันใหบรรจหุ รอื จา งไวก อ นได

๑๑

๒.๒ ในกรณมี อบความไวว างใจใหบ คุ คลปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ ฉพาะภารกจิ เปน การชวั่ คราว
ทเ่ี กย่ี วกบั ความลับของทางราชการชัน้ ลับทส่ี ดุ ลับมาก หรือลับ

๓. กอนที่บุคคลจะไดรับรองความไววางใจ จะตองผานการอบรมในเร่ืองการรักษา
ความปลอดภยั ตามระเบยี บเสยี กอน และใหบุคคลผูน น้ั ลงนามในบันทกึ การรับรองการรักษาความลบั
เมอ่ื เขารับตาํ แหนง (รปภ.๖) และใหหัวหนาหนว ยงานรฐั ลงนามในใบรบั รองความไววางใจ (รปภ.๓)

๔. การรับรองความไววางใจใหบุคคลใดกระทําหนาท่ีเก่ียวกับการรหัสตองระบุไวใน
รปภ.๓ บุคคลน้ันดว ย

¡Ò÷ÐàºÕ¹¤ÇÒÁäÇŒÇÒ§ã¨

เจา หนา ทคี่ วบคมุ การรกั ษาความปลอดภยั หนว ยงานของรฐั จะตอ งลงทะเบยี นความไวว างใจ
(รปภ.๕) ของเจาหนาที่ในหนวยงานของตนท่ีไดรับความไววางใจ โดยยึดถือใบรับรองความไววางใจ
(รปภ.๔) เปน หลกั ฐาน และมกี ารตรวจสอบขอ มลู ใหถ กู ตอ งตามความเปน จรงิ อยเู สมอ เมอ่ื พบบคุ คลใด
มีพฤติการณท่ีนาสงสัย ตองตรวจสอบประวัติและพฤติการณเพ่ิมเติม หากปรากฏพฤติการณเปน
ที่ไมนาไววางใจใหยกเลิกหรือลดระดับความไววางใจพรอมบันทึกการเปลี่ยนแปลงในทะเบียน
ความไวว างใจทกุ คร้ัง

กรณีที่พนจากตําแหนงหรือหนาที่ท่ีเก่ียวของกับส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ
ในช้ันลับที่สุด ลับมาก และลับ ตองคัดช่ือบุคคลนั้นออกจากทะเบียนความไววางใจ (รปภ.๕) ดวย
และใหบุคคลนั้นสงคืนขอมูลขาวสารและหลักฐานตางๆ ในความรับผิดชอบท้ังหมด และเจาหนาที่
ควบคุมการรักษาความปลอดภัยประจาํ หนวยงานของรัฐตองช้ีแจงใหทราบถึงความรับผิดชอบ
ในการรักษาความลับของทางราชการ พรอมกับใหบุคคลน้ันลงลายมือชื่อในบันทึกรับรองการรักษา
ความลับ เม่ือพนตาํ แหนงหรอื หนาที่ (รปภ.๗) ไวเปนหลักฐาน

¡ÒÃͺÃÁàÃèÍ× §¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

หวั หนา หนว ยงานของรฐั ตอ งจดั ใหม กี ารอบรม ชแ้ี จงเรอื่ งการรกั ษาความปลอดภยั สําหรบั
เจา หนา ท่ขี องรัฐทุกคน เพอ่ื ใหท ราบและปฏิบัติตามมาตรการการรักษาความปลอดภัยของหนวยงาน
และอบรม ชแ้ี จงเพมิ่ เตมิ กรณที บ่ี คุ คลไดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั หิ นา ทสี่ ําคญั หรอื เขา ถงึ สงิ่ ทเ่ี ปน ความลบั
ของทางราชการ เพือ่ เปน การกระตุนเตอื นใหเ กดิ จิตสํานึกดานการรกั ษาความปลอดภัยมากยงิ่ ขนึ้

ประกาศสาํ นกั นายกรฐั มนตรี ลงวนั ที่ ๘ ตลุ าคม ๒๕๕๓ เรอื่ งการกําหนดแบบเอกสารทใ่ี ช
ในการรกั ษาความปลอดภยั ตามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการรกั ษาความปลอดภยั แหง ชาติ
พ.ศ.๒๕๕๒ กาํ หนดแบบเอกสารจํานวน ๗ แบบ เพื่อใชดําเนินการดานการรักษาความปลอดภัย
เกย่ี วกบั บคุ คลของหนวยงานรฐั ดงั นี้

๑. แบบประวตั ิบคุ คล (รปภ.๑)
๒. แบบบนั ทึกเปล่ยี นแปลงประวัติบุคคล (รปภ.๒)

๑๒

๓. แบบบันทกึ ของเจาหนา ทีผ่ รู บั ผิดชอบการลงบนั ทกึ ประวตั ิ (รปภ.๓)
๔. แบบใบรบั รองความไวว างใจ (รปภ.๔)
๕. แบบทะเบียนความไววางใจ (รปภ.๕)
๖. แบบบันทกึ รับรองการรักษาความลบั เม่ือเขารับตําแหนง หรือหนาที่ (รปภ.๖)
๗. แบบบนั ทกึ รับรองการรักษาความลบั เมอ่ื พน ตําแหนง หรือหนา ที่ (รปภ.๗)

¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åสาํ ¤ÑÞ

การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาํ คัญน้ัน เร่ิมต้ังแตเมื่อใดไมสามารถระบุไดเน่ืองจาก
ขาดหลกั ฐานหรอื ขอ มลู มายนื ยนั คาดวา เรม่ิ มขี น้ึ พรอ มกบั การรวมกลมุ กนั เปน หมเู หลา ของมนษุ ย ไดแ ก
ชนเผา ตา ง ๆ ในสมยั โบราณซง่ึ เมอื่ มนษุ ยม ารวมตวั กนั กต็ อ งมหี วั หนา กลมุ หรอื หวั หนา เผา ซงึ่ จดั วา เปน
บคุ คลสําคญั ในกลมุ หรอื เผา ของตน การรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั จงึ เกดิ ขน้ึ ตง้ั แตบ ดั นนั้ ตอ มา
กลุมชนเร่มิ มีจํานวนมากขึ้นและกลายเปนสังคมที่ซับซอ นมากย่ิงข้ึน ปญหาความขัดแยงตาง ๆ กเ็ รม่ิ
มีจาํ นวนมากขึ้นและมีความซับซอนมากยิ่งข้ึน ผูนําหรือบุคคลสําคัญตาง ๆ ก็มักจะถูกปองรายจาก
ฝายตรงขามมากขึ้น ดังน้ัน การรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญจึงเปนสิ่งสําคัญและมีความจาํ เปน
ซงึ่ ตอ มาจงึ ไดม กี ารกําหนดแนวทางในการปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหเ ปน รปู ธรรมทมี่ คี วามชดั เจนแนน อนเชน ในปจ จบุ นั

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åสาํ ¤ÞÑ

การรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ หมายถึง บรรดามาตรการท้ังปวงท่ีกําหนดขึ้น
เพื่อใหความคุมครองปองกันแกบุคคลท่ีมีความสําคัญย่ิง ใหพนจากอันตรายอันอาจเกิดขึ้นไดจาก
อุบัติเหตุ หรอื ความจงใจท่จี ะกระทาํ ของฝา ยตรงขาม (อทุ ยั อัศววไิ ล ๒๕๔๑ : ๑)

สว นคาํ จาํ กดั ความสําหรบั การรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั ไดแ ก ระเบยี บวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ่ี
จาํ เปน ในการรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสําคญั ตลอดจนถงึ ครอบครวั บคุ คลสาํ คญั นน้ั ดว ย ตลอดเวลา
อยางใกลชิดทั้งในทางเปดและในทางลับ แตในการปฏิบัติเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยสวนมาก
ยอมรับกันวาไมมีวิธีการใดท่ีจะใหการรักษาความปลอดภัยตอบุคคลสาํ คัญไดอยางสมบูรณ
และปลอดภยั จริง ๆ ส่งิ ทพี่ อจะทําไดก ็เพียงแตล ดโอกาสในการเขาทํารา ยบุคคลสาํ คัญเทา น้ัน

¨Ø´Áا‹ ËÁÒÂáÅТͺà¢μ¢Í§¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺؤ¤Åสํา¤ÑÞ

๑. เพอื่ คมุ ครองปองกนั ชวี ิตบคุ คลสาํ คัญ ทงั้ เกิดจากอุบตั ิเหตหุ รอื การจงใจกระทํา
๒. เพอ่ื ปอ งกนั มใิ หบ คุ คลสาํ คญั ถกู บบี บงั คบั โดยวธิ กี ารทผ่ี ดิ กฎหมาย เชน การลกั พาตวั
๓. เพื่อปองกันมิใหมีการลบหลเู กยี รตขิ องบคุ คลสาํ คญั

๑๓

º¤Ø ¤Åสํา¤ÞÑ ä´áŒ ¡‹

๑. ประมุขประเทศ เชน พระเจาจักรพรรดิ พระบรมราชินี องครัชทายาท พระบรม
วงศานวุ งศช น้ั ผใู หญท เี่ สดจ็ ไปในงานพธิ ตี า ง ๆ แทนพระองค ผสู าํ เรจ็ ราชการ องคมนตรี ประธานาธบิ ดี
เปนตน

๒. ผนู ําทางการเมือง เปน ผซู ่ึงมีหนา ทส่ี าํ คญั ที่รบั ผดิ ชอบตอนโยบายของประเทศ เชน
นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี หวั หนาคณะปฏวิ ัติ เปนตน

๓. ผูนําทางศาสนาเปนประมุขในทางศาสนาตาง ๆ ก็นับวาเปนบุคคลสําคัญเพราะวา
เปนทเี่ คารพนบั ถอื ของปวงชน เชน สมเดจ็ พระสงั ฆราชสันตะปาปา และผูนาํ ทางศาสนาอ่ืน ๆ

๔. ผูน าํ ทางทหาร เปนผมู ีหนาท่ตี าํ แหนง สูงในทางทหาร เชน ประธานคณะเสนาธกิ าร
ทหาร ผูบ ัญชาการทหารสูงสดุ ผูบญั ชาการเหลาทัพตาง ๆ ผูบ ญั ชาการกองทพั ภาค ผูนําหนวยทหาร
ขนาดใหญ ทั้งในยามปกติ ยามฉุกเฉิน และยามสงคราม

๕. นักวิทยาศาสตรคนสาํ คัญ เปนผูคนพบรายการทางวิทยาศาสตรที่มีความสําคัญตอ
ประเทศชาติ ทัง้ ในทางเศรษฐกจิ และทางการทหาร เชน ผคู น คดิ ประดษิ ฐอ าวธุ อันทนั สมยั ผเู ช่ยี วชาญ
ทางอาวธุ นาํ วิถี เปนตน

๖. บุคคลสาํ คัญในทัศนะของปวงชน เปนบุคคลที่สาธารณชนมีความรักใครนับถือหรือ
สนใจเปนพเิ ศษ

๗. แขกของรัฐบาลหรือผูแทนของประเทศตาง ๆ ที่จะตองพิจารณาใหความคุมครอง
ปองกันภยันตรายเปนพิเศษ เชน ประมุขของตางประเทศท่ีมาเยือน นักการเมืองที่สาํ คัญ หรือทูต
ตางประเทศ เปน ตน

ËÅ¡Ñ ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ º¤Ø ¤Åสํา¤ÑÞ

การรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั นน้ั ไมม มี าตรการใด ๆ ทจ่ี ะดําเนนิ การระวงั ปอ งกนั
มิใหบุคคลสําคัญถูกลอบประทุษราย หรือประสบอุบัติเหตุไดอยางสมบูรณรอยเปอรเซ็นต เพียงแต
ลดโอกาสในการที่ฝายตรงขามจะลอบเขาทาํ รายบุคคลสําคัญเทานั้น แตอยางไรก็ตามการปฏิบัติการ
จะตองยึดถือหลักการการรักษาความปลอดภัยไวตลอดเวลา สาํ หรับมาตรการการระวังปองกันนั้น
สามารถออนตวั เปลี่ยนแปลงไดต ามสถานการณซ่งึ ไมมกี ฎตายตัวแนนอน

ในการปฏบิ ตั งิ าน เจา หนา ทรี่ กั ษาความปลอดภยั พงึ ระลกึ เสมอวา บคุ คลสาํ คญั กต็ อ งการใช
ชวี ติ เปน การสว นตวั ดว ยเหมอื นกนั ดงั นนั้ ในบางโอกาสเจา หนา ทอ่ี าจจะผอ นปรนในการปฏบิ ตั ไิ ดบ า ง
แตท้ังน้ีจะตองไมท้ิงหลักการรักษาความปลอดภัย ซึ่งจะตองคงไวโดยดาํ เนินการรักษาความปลอดภัย
ใหบ คุ คลสาํ คญั แบบไมร สู กึ ตวั นอกจากนี้ เจา หนา ทรี่ กั ษาความปลอดภยั ตอ งพยายามปรบั ตวั ใหเ ขา กบั
สภาพแวดลอมของบุคคลสําคัญใหได โดยไมทาํ ใหบุคคลสําคัญเสียสาธารณชน เจาหนาที่จะตอง
เรียนรูว า บุคคลสําคัญชอบอะไรและพยายามศึกษาเรยี นรสู งิ่ ท่ีบคุ คลสําคัญทาํ เชน การขี่มา การยิงปน
เลน เรือใบ เปน ตน

๑๔

สวนหลักการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาํ คัญ การรักษาความปลอดภัยท่ีดีและมี
ประสิทธภิ าพสงู สุด จะขึน้ อยกู ับองคประกอบหลายประการ ดังน้ี

๑. วางมาตรการระวงั ปองกันตาง ๆ รอบตวั บุคคลสาํ คญั ใหรัดกุมทส่ี ุด โดยพยายามลด
ชอ งวางท่ีคนรายสามารถเขา ทาํ รา ยบุคคลสําคัญใหมากทีส่ ุด

๒. รวบรวมขาวสารที่อาจมีผลกระทบกระเทือนตอบุคคลสาํ คัญใหมากท่ีสุด ทั้งท่ัวไป
และในพนื้ ทบี่ คุ คลสาํ คญั จะไปเยยี่ มเยยี น เพอ่ื ใหม กี ารประเมนิ ภยนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ไดอ ยา งแมน ยํา
เพราะการจัดระดบั ของการรักษาความปลอดภัยมกั ขน้ึ อยกู บั ประเภททอ่ี าจจะเกิดข้นึ ดังนั้น จงึ นับวา
การประเมนิ คา ขา วสารไดอ ยา งแมน ยาํ แลว จะชว ยใหก ารรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสําคญั ไดผ ลดที ส่ี ดุ

๓. ตอ งมีการวางแผนลวงหนา และสามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลาตามสถานการณ
หนวยรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ จะตองวางแผนการสํารวจลวงหนาเพื่อทราบขอมูลเกี่ยวกับ
สถานการณทางดานการขา ว สถานที่ตาง ๆ ท่ีบคุ คลสําคัญจะไป เสนทางยานพาหนะตา ง ๆ ทบี่ ุคคล
สาํ คัญจะใช ตลอดจนการประสานงานกบั สว นราชการหรือเจา หนา ทีท่ ่เี กยี่ วของตา ง ๆ ทบี่ คุ คลสาํ คญั
จะติดตอ รวมท้ังสํารวจการส่ือสารเพื่อนาํ ขอมูลมาใชในการวางแผนการรักษาความปลอดภัยในเรื่อง
ตาง ๆ

๔. ใชเ จา หนา ทตี่ ํารวจใหเ กดิ ประโยชนม ากทสี่ ดุ เพราะวา เจา หนา ทต่ี ํารวจมอี าํ นาจหนา ที่
ตามกฎหมายในการจับกุมตรวจคนผูตองสงสัย หรือกักกันบุคคลท่ีไมนาไววางใจ ไมใหเขาใกลบุคคล
สาํ คัญได

๕. การใหความรวมมือจากตัวบุคคลสาํ คัญ เปนหลักการหน่ึง เพราะบุคคลสาํ คัญเปน
สวนท่ีจะทาํ ใหการวางมาตรการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญไดครบถวนหรือไม ทั้งน้ี เนื่องจาก
บุคคลสาํ คัญบางคนไมช อบใหมบี คุ คลคอยเดินตามอยูตลอดเวลา ดังนน้ั การปฏิบัติงานใหเ ปน ไปดวย
ความเรียบรอ ยจะตอ ง

๕.๑ ปรกึ ษากบั ตวั บคุ คลสาํ คญั ขอความยนิ ยอมใหค มุ กนั และอธบิ ายหลกั การในการ
รกั ษาความปลอดภยั ใหบุคคลทราบ

๕.๒ พยายามหาขา วเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ภยนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ กบั บคุ คลสําคญั ไดจ าก
บุคคลสาํ คญั ซึ่งอาจทราบมานอกเหนือจากที่เราทราบ

๕.๓ หาขอ มลู เกย่ี วกบั สงิ่ ตา ง ๆ ทบ่ี คุ คลสําคญั ชอบและไมช อบรวมถงึ ดําเนนิ กจิ วตั ร
ประจําวันตาง ๆ ของบุคคลสําคัญดว ย

๕.๔ ตองมีกาํ หนดการทั้งหมดของบคุ คลสําคัญ โดยใหท ราบไวกอนเทาทีจ่ ะทาํ ได
๕.๕ ขออนุมัติตรวจสอบความปลอดภัยเก่ียวกับสถานท่ีภายในบาน และสถานที่
ทํางานของบคุ คลสําคัญ

๑๕

ÁÒμáÒÃ㹡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺ¤Ø ¤Åสาํ ¤ÑÞ

หมายถึง การนาํ เอาวิธีการทั้งปวงท่ีไดพิจารณาแลววาจะยังปลอดภัยใหเกิดแกบุคคล
สําคญั มาใชท ง้ั ทางตรงและโดยปรยิ าย เพอื่ มงุ หมายทจ่ี ะใหบ คุ คลสาํ คญั มคี วามปลอดภยั จากการลอบ
ประทษุ รา ยอยตู ลอดเวลา ไมว า บคุ คลสาํ คญั จะอยใู นสภาวะอยา งไร เชน ทํางาน พกั ผอ น กลา วปราศรยั
หรอื แสดงสนุ ทรพจน ฯลฯ ซ่ึงประกอบดว ย

ñ. Ẻ㹡ÒèѴáÅСÒÃÇÒ§กาํ Åѧ
๑.๑ แบบการจดั มกี ารจัดเปน ๓ แบบ ดวยกัน
๑.๑.๑ แบบเปด เผย ซง่ึ เปน การแสดงตวั วา เปน เจา หนา ทท่ี ปี่ ฏบิ ตั กิ ารอารกั ขา

บคุ คลสําคญั เจา หนา ทปี่ ระเภทนมี้ กั แตง เครอื่ งแบบและมอี าวธุ ประจาํ กาย ซง่ึ โดยปกตเิ จา หนา ทปี่ ระเภทน้ี
จะอยูใ นตาํ แหนง ท่ีเปนดา นแรกของระบบการระวงั ปอ งกัน

๑.๑.๒ แบบปกปด คือ ไมเปดเผยแสดงตัวใหบุคคลไดทราบ โดยเจาหนาที่
ประเภทนี้ไมแตงเครื่องแบบ แตงกายแบบเชนประชาชนท่ัวไป ซ่ึงกลมกลืนกับส่ิงแวดลอมของแตละ
สถานที่นั้น ๆ มักใชปฏิบัติหนาที่ในการหาขาวและคอยสอดสองดูแลความเคลื่อนไหวของกลุมชน
หรอื บคุ คลทนี่ า สงสยั เจา หนา ทป่ี ระเภทนส้ี ว นหนง่ึ จะถกู จดั ใหป ะปนในหมปู ระชาชน อกี สว นหนง่ึ จะอยใู กลช ดิ
บคุ คลสําคญั พรอมทจ่ี ะทําการขัดขวาง ยับยั้งและปองกันเหตุรายใด ๆ ที่จะเกดิ ข้ึนอยางทนั ทีทนั ควนั
ซงึ่ เจา หนา ทปี่ ระเภทนจ้ี ะตอ งมเี ชาวนไ วไหวพรบิ ปฏภิ าณ และมคี วามสามารถในการตอ สแู ละใชอ าวธุ
อยางยอดเยย่ี ม

๑.๑.๓ แบบผสมซงึ่ โดยปกตแิ ลว ในการจดั วางกําลงั ปอ งกนั บคุ คลสาํ คญั มกั ใช
เจา หนา ทแี่ ตง เครอ่ื งแบบและไมแ ตง เครอ่ื งแบบผสมกนั สว นการจดั วางกําลงั จะใชเ จา หนา ทแ่ี ตล ะประเภท
มากนอยเพียงใดข้ึนอยูกับสถานการณแ ละการขาวกรอง

๑.๒ การวางกําลังจะตองประกอบดวยข้ันตอนเปนวงรอบอยางนอย ๓ วงรอบ
ดวยกนั คือ

๑.๒.๑ วงรอบชน้ั ใน หมายถงึ การวางกาํ ลงั เจา หนา ทอ่ี ยใู กลช ดิ กบั บคุ คลสาํ คญั
โดยรอบ ใหส ามารถปอ งกันและแกไขเหตกุ ารณท ่ีเกิดข้ึนใกลช ดิ กบั บุคคลสาํ คัญไดทนั ทวงที

๑.๒.๒ วงรอบช้ันกลาง หมายถึง โดยรอบบริเวณพิธีหรือตัวอาคารบานพัก
ซงึ่ อาจไดแ ก ยามชอ งทางเขา ออก ยามรกั ษาการณ ยามประจาํ จดุ โดยรอบรวั้ หรอื บรเิ วณพธิ กี ารตา ง ๆ

๑.๒.๓ วงรอบชั้นนอก หมายถึง สายตรวจเดินเทา รถตรวจการณ หรือชุด
รักษาความปลอดภัยที่จัดไปประจําตามจุดรอบนอก เชน พื้นที่สูงขม พ้ืนท่ีลับหูลับตา ท่ีสามารถใช
อาวธุ กระสนุ วิถีโคง ได

ò. Ç¹Ô ÑÂ㹡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁÅѺ
วนิ ยั ในการรกั ษาความลบั เปน หลกั ทพ่ี งึ ยดึ ถอื ปฏบิ ตั สิ ําหรบั เจา หนา ทท่ี กุ คนทป่ี ฏบิ ตั งิ าน

ดา นการขา วกรอง และการรกั ษาความปลอดภยั หมายถงึ เจา หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ทกุ คนจะตอ ง

๑๖

ไมนําเอารายละเอียดเกี่ยวกับหมายกาํ หนดการตาง ๆ ของบุคคลสาํ คัญ ตลอดจนการเคล่ือนไหวท่ี
เกีย่ วกับบคุ คลสําคัญไปเปด เผย แพรง พรายใหผ ูอนื่ ทราบ และตองมัน่ ใจวาเอกสารตา ง ๆ ถูกเก็บไวใน
ท่ีปลอดภยั เมื่อไมใ ชแ ลวสําหรบั คนอ่นื ๆ ท่ีเก่ียวขอ งในการรกั ษาความปลอดภยั โดยเฉพาะอยา งยิ่ง
ตวั ของบคุ คลสําคัญเอง ก็จะแจง ขา วสารใหท ราบและใหทราบเทา ที่จาํ เปนตองทราบเทานัน้

ó. ¡ÒÃÅǧ
เปนมาตรการท่ีใชประกอบกับวินัยในการรักษาความลับ เพ่ือเปนการปองกันมิให

ฝา ยตรงขา มลว งรขู า วสารเกย่ี วกบั การเคลอื่ นไหวของบคุ คลสําคญั การลวงควรกระทาํ อยา งแนบเนยี น
ไมใ หฝ ายตรงขามจับกลลวงได ถงึ บุคคลสาํ คญั

ô. ¡ÒäǺ¤ÁØ ºØ¤¤ÅáÅÐÊè§Ô ¢Í§·¨èÕ Ðà¢ÒŒ
บคุ คลทจ่ี ะเขา พบปะ ขอเยยี่ ม หรอื แมแ ตเ จา หนา ทจ่ี ะนาํ หนงั สอื เขา เสนอบคุ คลสาํ คญั

จะตองมีการตรวจสอบและตองอยูในความควบคุมของเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยตลอดเวลา
เจา หนา ทป่ี ระจําทํางานอยใู นสํานกั งานของบคุ คลสาํ คญั จะตอ งผา นการตรวจสอบความไวว างใจอยา ง
ละเอยี ดถ่ีถว นตามฐานะในการปฏบิ ตั งิ านและความจําเปน ท่จี ะตองปฏิบัติการโดยใกลชิด

ส่ิงของทุกช้ินท่ีสงมาใหบุคคลสาํ คัญ จะตองผานการตรวจสอบของเจาหนาท่ีทาง
เทคนิคเสียกอน อยาปลอยใหบุคคลสําคัญเปดหีบหอท่ียังมิไดผานการตรวจ การตรวจหีบหออาจใช
เครอ่ื งเอกซเรย เครอื่ งตรวจวัตถรุ ะเบิด หรอื จะใชก ารทาํ ลองเปดเคร่ืองปอ งกันอาํ นาจการระเบิดก็ได

สําหรบั สง่ิ ของประเภทอาหาร กจ็ ะตอ งตรวจสอบอยา งละเอยี ดวา ไมม ยี าพษิ เจอื ปน
บุหรี่ หรอื สรุ าที่บุคคลสําคญั ชอบเปนพเิ ศษ จะตอ งระมัดระวงั ใหม าก

õ. ¡ÒÃÃǺÃÇÁ¢Ò‹ ÇÊÒ÷èÕÁռšÃзº¡ÃÐà·×͹μÍ‹ ºØ¤¤Åสาํ ¤ÑÞ
หวั หนา หนว ยรกั ษาความปลอดภยั จะตองวางแผนใหมีการหาขา ว รวบรวมขา วสาร

ท่ีอาจมีผลกระทบกระเทือนตอบุคคลสาํ คัญอยูตลอดเวลา เชน ขาวเกี่ยวกับบุคคลท่ีนาจะเปน
ผูมงุ ประทษุ รายตอ บคุ คลสําคญั ในทุก ๆ พืน้ ทบี่ ุคคลสําคัญจะตอ งเดินทางผาน หรือปรากฏตัว

ö. ¡ÒÃàʹÍá¹ÐäÁ‹ã˺Œ ¤Ø ¤Åสํา¤ÞÑ àÊÕè§μÍ‹ Í¹Ñ μÃÒÂ
หัวหนาหนวยรักษาความปลอดภัยบุคคลสาํ คัญจะตองหมั่นเสนอแนะบุคคลสําคัญ

มิใหกระทําการใด ๆ เส่ียงตออันตราย เปนตนวา ในบางโอกาสอาจเสนอแนะใหบุคคลสวมเส้ือ
เกราะออนกันกระสุน ใหเปลี่ยนพาหนะท่ีชอบใชประจาํ ใหเปล่ียนเสนทางในการไปทาํ งานบอย ๆ
บางครงั้ อาจตอ งเสนอแนะหรอื ขอรอ งใหบ คุ คลสาํ คญั เปลย่ี นพาหนะทใ่ี ชใ นการเดนิ ทางตามทร่ี ะบไุ วใ น
หมายกาํ หนดการ มาตรการขอ นข้ี ึน้ อยกู ับประสทิ ธภิ าพในการรวบรวมขา วสารและขา วกรองท่กี ระทบ
กระเทอื นตอ บคุ คลสําคญั ทหี่ นว ยแสวงหาและรวบรวมมาได ประกอบกบั การรจู กั ประมาณสถานการณ
ของหัวหนา หนวยรักษาความปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั

÷. ¡ÒÃทาํ ã˾Œ é×¹·àÕè ¡´Ô ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
มาตรการขอนี้ตามความหมายของการรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญมิได

หมายความวา เปนการกระทาํ ที่เจาะจงเฉพาะการใหความปลอดภัยแกอาคาร สถานที่ และอาณา

๑๗

บริเวณท่ีใชเปนสถานที่พักหรือที่พักแรมของบุคคลสําคัญเทานั้น แตยังหมายความถึง การจาํ กัดเขต
หรอื กกั กันบรรดาบคุ คลท่ีตอ งสงสยั วา จะเปนอนั ตรายตอบุคคลสาํ คญั ท่อี ยใู นบริเวณใกลเ คียงน้นั ดวย

บางประเทศกฎหมายใหอํานาจในการจับกุมผูตองสงสัยหรือบรรดาบุคคลที่เคยมี
ประวัติเปนอาชญากรไปกักกันตัวไวเปนการชั่วคราว เมื่อเห็นวาการกระทาํ เชนน้ีจะกอใหเกิดผลดีตอ
ความสงบเรยี บรอยของบานเมือง

การทํางานอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพของฝา ยราชการลบั แลว ดําเนนิ การตอบโตอ ยา งเปด เผย
เพื่อแสดงใหฝายตรงขามคิดวา ฝายเราลวงรูการเคล่ือนไหวทุกอยาง แลววางกําลังในการสะกดรอย
และติดตามอยา งเหนยี วแนน เปนมาตรการท่ใี ชไดผ ล

¤³Ø ÊÁºμÑ Ô·è¾Õ §Ö »ÃÐʧ¤¢ ͧ਌Ò˹Ҍ ·èÃÕ ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ

๑. มีความจงรักภักดี ซ่ือสัตยไววางใจได เปนบุคคลที่สําคัญที่สุดของเจาหนาที่รักษา
ความปลอดภยั หากเปน ผทู ไี่ วว างใจไมไ ดก เ็ ทา กบั สง บคุ คลสําคญั เขา ไปอยใู นกาํ มอื ของฝา ยตรงขา ม ดงั นนั้
จะตอ งมกี ารตรวจสอบผทู จ่ี ะเขา มาเปน เจา หนา ทดี่ งั กลา วอยา งละเอยี ด มฉิ ะนนั้ ฝา ยตรงขา มอาจสง คน
แทรกซมึ เขามาอยใู นกลมุ เจา หนา ท่ีเหลานี้ได นอกจากนี้ ตองเปนผทู ร่ี กั และชอบดา นน้ีพเิ ศษ

๒. จิตใจม่นั คง มสี ุขภาพจิตดี ใจแข็ง ไมห วั่นไหวงา ย มฉิ ะน้นั อาจตกอยูภายใตอิทธิพล
ของฝา ยตรงขา มไดงา ย

๓. สุขภาพสมบูรณแ ละรา งกายแข็งแรง ทนตอ งานตรากตราํ ไมม ีภมู ิแพหรือเจบ็ ปวยใด
ทขี่ ดั ขวางการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี ซงึ่ บางครงั้ ตอ งปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ลอด ๒๔ ชว่ั โมง โดยไมแ สดงความอดึ อดั หรอื
ควบคุมความรูสึกไมไดภายใตสภาวการณกดดันตาง ๆ ท่ีคาดไมถึง อีกทั้งยังตองมีความคลองแคลว
วอ งไว ตนื่ ตวั ทจี่ ะปฏบิ ตั กิ ารตอบโตฝ า ยตรงขา มไดโ ดยพลนั มเี ชาวนไ ว ไหวพรบิ ปฏภิ าณดี มคี วามสามารถ
เขาคุมสถานการณและสามารถปฏิบัติหนาท่ีอยางราบร่ืนและมีประสิทธิภาพภายใตสภาวะคับขัน
ถา ปฏิบตั ิส่ิงเหลานีไ้ มไ ดแลว จะเปน เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยไมไ ดเลย

๔. มีวินัย อดทน เสียสละ ไมประมาท หรือเผลอตัวอาจจะทําใหเกิดผิดพลาดอยาง
รา ยแรงได ซ่ึงไมอ าจแกไ ขตวั และไมอาจจะแกไ ขไดอีก เจาหนา ท่ีรกั ษาความปลอดภัยจะตองสามารถ
ปฏิบัติการไดทุกพื้นท่ีและทุกสถานการณไดอยางมีประสิทธิภาพ แมวาพ้ืนท่ีหรือสถานการณขณะน้ัน
เปน สิ่งที่ตนไมท ราบกต็ าม

๕. เปนคนหูไวและสายตาดีเลิศ เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยจะตองมีประสาทสัมผัส
ทีด่ เี ย่ยี ม โดยเฉพาะสญั ชาตญาณท่รี บั รภู ยั ทอ่ี าจเกิดข้นึ

๖. ไมเ ปน โรคสรุ าเรอ้ื รงั หรอื ตดิ ยาเสพตดิ เพราะจะทําใหส มองเสอ่ื มสภาพไมฉ บั ไวตน่ื ตวั
และทําใหไมพ รอ มรบั สถานการณตา ง ๆ ได

๗. สามารถทาํ งานรวมกับผูอ่ืนเปนชุดปฏิบัติได ถาเขากับผูอ่ืนภายในชุดไมไดแลว
จะทาํ ใหงานเสีย ตลอดจนสามารถสนทนากบั ชนทกุ ระดบั ได

๑๘

๘. มคี วามกลา หาญ การรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสําคญั เปน งานทเ่ี สย่ี งอนั ตราย ดงั นน้ั
เจาหนาท่ีรกั ษาความปลอดภยั จะตองพรอ มทจี่ ะเสยี สละชีวิตเพื่อผทู ีต่ นปอ งกันไดตลอดเวลา แตท ง้ั น้ี
จะตอ งมคี วามสุขมุ รอบคอบ เยอื กเยน็ มกี ารตัดสินใจทีด่ ี รูวา ควรจะทาํ อยา งไรในสถานการณฉ ุกเฉนิ
ไมใชทะลุดุดันเพียงอยางเดียว เพราะบุคคลสําคัญอาจตองเสียชีวิตและรวมทั้งตัวเจาหนาที่เองดวย
ทงั้ ทอ่ี าจมวี ธิ กี ารแกไ ขสถานการณไดด กี วา

๙. มคี วามทรงจําเปน เยยี่ ม สามารถจดจาํ เกยี่ วกบั บคุ คลและสถานทท่ี เ่ี คยผา นตา สามารถ
สังเกตความแตกตา งเล็ก ๆ นอย ๆ ในสิ่งของบคุ คลสําคัญไดทนั ทีและมน่ั ใจเพ่อื หาขอพริ ธุ ตาง ๆ

๑๐. จะตอ งไมเ มาคลนื่ เมารถ หรอื เครอื่ งบนิ เพราะถา เกดิ อาการเหลา นข้ี นึ้ ขณะทที่ ําการ
รักษาความปลอดภัยบุคคลสาํ คัญจะทาํ ใหเกิดอันตรายอยางมาก ถามีผูลอบเขามาทาํ ราย เน่ืองจาก
เจาหนา ที่ผนู ้นั จะไมม ีประสทิ ธิภาพในการทาํ งานเหลอื อยูเลย

๑๑. ความเชย่ี วชาญในดา นการรกั ษาความปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั ความรอู นื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ ง
ซงึ่ ไดแ ก

๑๑.๑ เทคนิคการปองกันตาง ๆ เชน การคุมครองรางกาย การรักษาความลับ
การลวง

๑๑.๒ มคี วามรอบรเู กยี่ วกบั ภยั จากการกอ การรา ยทกุ รปู แบบ และเขา ใจพฤตกิ รรม
ของอาชญากรรมรายแรงตา ง ๆ อยางดียง่ิ

๑๑.๓ มีความชาํ นาญในการใชอ าวธุ ทกุ ชนดิ ที่มีอยู
๑๑.๔ มีความเช่ียวชาญในการใชอ าวุธแปลก ๆ เชน การใชม ดี สิง่ ของตา ง ๆ เพื่อ
ใชแทนอาวธุ เม่ือถึงคราวจาํ เปน
๑๑.๕ มีความสามารถในการตอสูป องกันตวั ดวยมอื เปลา โดยมีความชํานาญเปน
พิเศษในวิชาใดวชิ าหน่ึง เชน มวยไทย ยูโด ไอกโิ ด คาราเต ฯลฯ
๑๑.๖ มคี วามชํานาญพเิ ศษในการขบั ยานพาหนะประเภทตา ง ๆ โดยเฉพาะรถยนต
ตองสามารถขบั นําบคุ คลสําคญั ไปยังพนื้ ท่ีปลอดภยั ไดทุกสภาพภูมิประเทศ
๑๑.๗ เขา ใจการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน เกย่ี วกบั บาดแผลอนั เกดิ จากการถกู ยงิ หรอื
ถูกแทงหรือรกั ษาโรคประจําตวั ของบคุ คลสาํ คญั ในขั้นตนได
๑๑.๘ เขาใจการใชเ คร่อื งมือสอ่ื สารแบบตาง ๆ
๑๑.๙ สามารถใชเคร่ืองมอื ดบั เพลิงไดท กุ ชนิด
๑๑.๑๐ มีความรูดานการคนหาและเก็บกูวัตถุระเบิด การเฝาตรวจดวยเครื่องมือ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส การตรวจคน การคุม กนั ขบวนรถ การซุมโจมตแี ละการตอ ตาน
๑๑.๑๑ มีความรูเกี่ยวกับมารยาทในสังคม ระเบียบปฏิบัติทางพิธีการตาง ๆ ทั้ง
ของไทยและนานาชาติ เพ่ือจกั ไดว างตนใหเหมาะสมกับสถานทีท่ บี่ คุ คลสําคญั ไปรว มงานดวย

๑๙

คุณสมบัติเหลานี้มิไดเกิดจากการฝกฝนเทาน้ัน แตเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย
บุคคลสาํ คัญจะตองพรอมท่ีจะปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถเพ่ือใหบรรลุภารกิจท่ีไดรับ
มอบหมาย สาํ หรบั การฝกน้ันเปน เพยี งเพอ่ื ใหเกดิ ความเคยชนิ เทา นนั้

¢ÍŒ ¾Ö§ÃÐÁÑ´ÃÐÇ§Ñ ã¹¡Òû¯ÔºÑμԢͧà¨ÒŒ ˹ŒÒ·ÃèÕ ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ºØ¤¤Åสํา¤ÑÞ

๑. หามเปนฝายชักชวนบุคคลสําคัญสนทนาดวย
๒. ในกรณที จ่ี ะตอ งไปในพน้ื ทท่ี ย่ี งั ไมไ ดม กี ารตรวจสอบใหเ จา หนา ทรี่ กั ษาความปลอดภยั
บุคคลสาํ คญั เปน ผนู าํ เขาในอาคารกอนบุคคลสาํ คญั เดินผานเขา ประตู ประมาณ ๑๕ ฟตุ
๓. การขึ้นลงลิฟตใหเขากอน และคอยกดปุมเปดประตูรอใหบุคคลสาํ คัญเขาไปในลิฟต
ใหเ รียบรอย การลงจากลิฟตก ต็ องเปน ฝา ยลงกอน
๔. ในขบวนรถเมื่อบุคคลสาํ คัญขนึ้ รถเรียบรอยใหเ คล่ือนขบวนทันที
๕. การวางตัว การแตงกาย การแสดงกิริยามารยาทและความประพฤติตาง ๆ ของ
เจาหนา ท่ีรักษาความปลอดภัยบคุ คลสาํ คัญจะตองดี
๖. ไมพยายามจบั กมุ ตัวผทู กี่ อการรา ย
๗. ไมเ ขา พวั พนั กบั ผกู อ เหตรุ า ยดว ยอาวธุ หรอื วธิ ใี ดกต็ าม เวน แตเ ปน การปฏบิ ตั เิ พอื่ ระงบั
อันตรายท่ีจะเกิดขึน้ โดยทน่ี าํ บคุ คลสําคัญออกไปยงั พ้ืนทีป่ ลอดภยั แลว
๘. ไมค วรทําอะไรซ้ํา ๆ เปนกจิ วตั ร
๙. อยาจอดยานพาหนะโดยไมมคี นเฝา
๑๐. ตองตรวจเสน ทางหลบหนที ุกครงั้
๑๑. ตองมีชดุ ลว งหนาทกุ คร้ังในการปฏิบตั งิ าน
๑๒. จะตอ งไมป ระมาท แตใ หต นื่ ตวั อยเู สมอ มฉิ ะนนั้ แทนทจ่ี ะรกั ษาความปลอดภยั ใหก บั
บคุ คลสาํ คญั กลบั ทํารายบุคคลสาํ คัญเสยี เอง ดังนัน้ เจาหนา ที่จงึ ตองมกี ารฝก อบรมอยเู สมอ
ที่กลาวมานั้น เปนหลักการ วิธีการในการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาํ คัญ ซึ่งภารกิจ
ความรบั ผดิ ชอบโดยหนวยงานและเจาหนา ทขี่ องรฐั ในประเทศไทยนัน้ ใชเ จา หนา ท่ขี องรฐั ซง่ึ สวนใหญ
ไดแก ทหารและตาํ รวจ เปนหลักในการรักษาความปลอดภยั บคุ คลสําคญั และสถานทสี่ าํ คัญ

๒๑

º··Õè ó

¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ àÍ¡ÊÒÃ

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¢ŒÍÁÙÅ¢Ò‹ ÇÊÒÃźÑ

ÃÐàºÂÕ ºÇÒ‹ ´ÇŒ ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡Òà ¾.È. òõôô
“¢ŒÍÁÙÅ¢Ò‹ ÇÊÒÃÅѺ” หมายความวา ขอมลู ขา วสารตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ (ตาม
พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐) ที่มีคําสั่งไมใหเปดเผยและอยูใน
ความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนเรื่องที่เก่ียวกับการดําเนินงาน
ของรัฐหรือที่เกย่ี วกบั เอกชน ซึ่งมีการกําหนดใหม ชี น้ั ความลับเปน ชนั้ ลบั ชน้ั ลับมาก หรือชน้ั ลับท่สี ุด
ตามระเบยี บน้ี โดยคาํ นึงถึงการปฏบิ ัติหนาทขี่ องหนวยงานของรัฐและประโยชนแหงรัฐประกอบกนั
μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμÔ¢ŒÍÁÙÅ¢Ò‹ ÇÊÒâͧ·Ò§ÃÒª¡Òà ¾.È. òõôð
มาตรา ๑๔ ขอมูลขาวสารท่ีอาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริย
จะเปด เผยมไิ ด
มาตรา ๑๕ ขอมูลขาวสารซึ่งหากเปดเผยจะกอใหเกิดความเสียหายอยางหนึ่งอยางใด
ดงั ตอ ไปนี้
๑) ความสัมพนั ธร ะหวา งประเทศ ความมน่ั คงแหง ชาติ ความม่นั คงทางเศรษฐกิจ
๒) จะทาํ ใหการบังคับใชกฎหมายเส่ือมประสิทธิภาพหรือปฏิบัติภารกิจไมสาํ เร็จตาม
วัตถปุ ระสงค
๓) เปนความเห็น คําแนะนํา ภายในหนวยงาน หรือเปนเร่ืองท่ีอยูระหวางดําเนินการ
ยงั ไมแ ลว เสร็จ
๔) จะเปนอันตรายตอชวี ิต หรือความปลอดภยั ของบคุ คล เชน พยาน
๕) เปน ขอ มูลขา วสารสวนบคุ คล เชน ประวตั กิ ารทํางาน การศกึ ษา
๖) กฎหมายบญั ญตั ไิ มใหเ ปด เผย/ผูใหขอมลู ขาวสารไมป ระสงคเปด เผย

»ÃÐàÀ·ªÑ鹤ÇÒÁźÑ
ช้นั ความลบั ของขอ มูลขา วสารลบั แบง ออกเปน ๓ ชั้น คอื
(๑) ลบั ที่สุด (TOP SECRET)
(๒) ลบั มาก (SECRET)
(๓) ลับ (CONFIDENTIAL)
ÅºÑ ·ÊèÕ Ø´ หมายความถึง ขอ มลู ขาวสารลบั ซงึ่ หากเปดเผยทัง้ หมดหรือเพียงบางสวนจะกอ
ใหเ กิดความเสยี หายแกป ระโยชนแหงรฐั อยา งรา ยแรงทสี่ ุด

๒๒

ÅѺÁÒ¡ หมายความถงึ ขอมูลขา วสารลับซ่งึ หากเปด เผยท้งั หมดหรือเพยี งบางสว นจะกอ
ใหเ กดิ ความเสยี หายแกป ระโยชนแหง รฐั อยา งรายแรง

ÅѺ หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซ่ึงหากเปดเผยท้ังหมดหรือเพียงบางสวนจะกอ
ใหเกิดความเสียหายแกป ระโยชนแหงรัฐ

ͧ¤¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
เปนองคการท่ีมีหนาที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
แกหนวยงาน และกํากับดูแล ตรวจสอบ พรอมท้ังพิจารณาแกไขขอบกพรองเพื่อใหระบบการรักษา
ความปลอดภัยน้ันไดผลสมบูรณอ ยเู สมอ
สาํ ¹¡Ñ ¢‹ÒÇ¡Ãͧá˧‹ ªÒμÔ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี เปน องคก ารรกั ษาความปลอดภยั
ฝา ยพลเรือน
ÈÙ¹ÂÏ Ñ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ กองบัญชาการทหารสูงสุด เปนองคการรักษา
ความปลอดภัยฝายทหาร
¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃตําÃǨÊѹμÔºÒÅ สํานักงานตํารวจแหงชาติ เปนองคการรักษา
ความปลอดภัยฝา ยตํารวจ

º¤Ø ¤Å¼ŒÙÁËÕ ¹ŒÒ·ÃèÕ ¡Ñ ÉҢ͌ ÁÅÙ ¢Ò‹ ÇÊÒÃÅºÑ ã¹Ë¹‹Ç§ҹ

ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาที่รักษาขอมูลขาวสารลับในหนวยงานของตนและอาจ
มอบหมายหนา ทด่ี งั กลา วไดต ามความจาํ เปน ใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชาหรอื ใหแ กร าชการสว นภมู ภิ าคในกรณี
ท่ีสามารถมอบอาํ นาจไดตามกฎหมาย ผูม ีหนา ที่รักษาขอมูลขาวสารลบั ในหนว ยงานตอ งรกั ษาขอมูล
ขาวสารลับใหปลอดภัย การใหบุคคลใดเขาถึงขอมูลขาวสารลับหรือการเปดเผยขอมูลขาวสารลับแก
ผูใดตองกระทําโดยระมัดระวัง ในกรณีจําเปน ใหกําหนดเง่ือนไขในการปฏิบัติใหเหมาะสมแกกรณี
โดยคาํ นงึ ถงึ การรกั ษาความลบั และประสทิ ธภิ าพในการดาํ เนนิ การตามระเบยี บวา ดว ยการรกั ษาความลบั
ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔

ËÇÑ Ë¹ÒŒ ˹Nj §ҹ¢Í§Ã°Ñ มหี นา ทคี่ วามรับผิดชอบ ดงั น้ี
๑. กาํ หนดชน้ั ความลบั พรอ มใหเ หตผุ ลประกอบ อาจมอบอาํ นาจหนา ทใี่ หผ ใู ตบ งั คบั บญั ชาได
๒. รักษาขอมูลขา วสารลบั ในหนว ยงาน อาจมอบหมายหนาทใี่ หผ ใู ตบังคับบญั ชาได
๓. แตง ตง้ั นายทะเบยี นขอมลู ขาวสารลบั และผชู ว ยนายทะเบยี นขอมลู ขา วสารลับ
๔. แตงต้ังคณะกรรมการตรวจสอบความถูกตองในการปฏิบัติตามระเบียบ และความ
มอี ยจู ริงของขอ มลู ขา วสาร อยางนอยทุก ๖ เดอื น
๕. อนญุ าตใหส ง ขอ มลู ขา วสารลบั ออกนอกบรเิ วณหนว ยงานและใหน ายทะเบยี นขอ มลู
ขา วสารลบั ลงทะเบยี นกอ นสงออก

๒๓

๖. อนุญาตใหสงขอมูลขาวสารลับท้ังภายใน ภายนอกประเทศ สงทางโทรคมนาคม
ไปรษณยี ลงทะเบยี นตอบรบั ฯลฯ

๗. อนุญาตใหยืมขอ มูลขาวสารลับระหวา งหนวยงานของรัฐ
๘. อนุญาตการทาํ ลายขอมลู ขาวสารลับ
๙. ดาํ เนินการจดั ทําแผนการปฏบิ ตั ิในเวลาฉุกเฉิน
๑๐. มีคาํ สั่งใหเปดเผยขอ มลู ขาวสารลบั โดยมขี อจาํ กดั หรือเงอ่ื นไขเชน ใดก็ได
¹Ò·ÐàºÂÕ ¹¢ŒÍÁÅÙ ¢‹ÒÇÊÒÃÅºÑ áÅмªÙŒ ‹Ç¹Ò·ÐàºÂÕ ¹¢ŒÍÁÙÅ¢Ò‹ ÇÊÒÃźÑ
๑. ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงต้ังเจาหนาที่ควบคุมและรับผิดชอบการดําเนินการ
เกยี่ วกบั ขอ มลู ขา วสารลบั ขน้ึ ภายในหนว ยงานทตี่ นรบั ผดิ ชอบ เรยี กวา “¹Ò·ÐàºÂÕ ¹¢ÍŒ ÁÅÙ ¢Ò‹ ÇÊÒÃÅºÑ ”
และจะแตง ตงั้ “¼ŒÙª‹Ç¹Ò·ÐàºÂÕ ¹¢ŒÍÁÅÙ ¢‹ÒÇÊÒÃÅѺ” ก็ได
๒. นายทะเบยี นขอมลู ขา วสารลบั และผชู วยนายทะเบยี นขอ มลู ขาวสารลบั มหี นาที่

(๑) ดาํ เนินการทางทะเบยี นขอมลู ขาวสารลับและจัดใหมที ะเบียนขอ มลู ขาวสารลับ
ซงึ่ ประกอบดว ย ทะเบยี นรบั (ทขล.๑) ทะเบยี นสง (ทขล.๒) ทะเบยี นควบคมุ ขอ มลู ขา วสารลบั (ทขล.๓)

(๒) เกบ็ รกั ษาแบบเอกสารตา ง ๆ ซงึ่ กรอกขอ ความแลว และบรรดาขอ มลู ขา วสารลบั
ท่ีอยใู นความควบคมุ ดแู ลไวใ นท่ปี ลอดภยั

(๓) เกบ็ รกั ษาบญั ชลี ายมอื ชอ่ื นายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั และผชู ว ยนายทะเบยี น
ขอมูลขา วสารลบั ของหนว ยงานของรัฐอืน่ ๆ ทต่ี ิดตอเกี่ยวขอ งกนั เปน ประจํา

(๔) ประสานงานกบั ผคู วบคมุ ทะเบยี นความไวว างใจตามทก่ี าํ หนดในระเบยี บวา ดว ย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ เพื่อกําหนดตัวบุคคลท่ีจะเขาถึงช้ันความลับตามความเหมาะสม
และความรับผดิ ชอบ

(๕) ปฏิบัติงานอื่นท่ีเก่ียวของกับขอมูลขาวสารลับตามที่กําหนดไวในระเบียบน้ี
หรอื ตามท่ไี ดรับมอบหมายจากหัวหนา หนวยงานของรฐั

·ÐàºÂÕ ¹¢ŒÍÁÅÙ ¢‹ÒÇÊÒÃÅѺ
ประกอบดว ย ทะเบยี นรบั ทะเบยี นสง และทะเบยี นควบคมุ ขอ มลู ขา วสารลบั แยกตา งหาก
จากทะเบียนงานสารบรรณตามปกติของสถาบันฯ
·ÐàºÕ¹ÃѺ ใชสาํ หรับบนั ทกึ รายละเอียดของขอ มลู ขาวสารลบั ท่หี นวยงานไดรบั ไว
·ÐàºÂÕ ¹Ê§‹ ใชส าํ หรบั บนั ทกึ รายละเอยี ดของขอ มลู ขา วสารลบั ทสี่ ง ออกนอกบรเิ วณหนว ยงาน
·ÐàºÂÕ ¹¤Çº¤ÁØ ¢ÍŒ ÁÅÙ ¢Ò‹ ÇÊÒÃÅºÑ ใชส าํ หรบั บนั ทกึ ทางทะเบยี นเกยี่ วกบั ขอ มลู ขา วสารลบั
ที่หนวยงานจัดทําขึ้นใชงานหรือไดสงออกหรือไดรับมา รวมท้ังบันทึกการปฏิบัติตาง ๆ เกี่ยวกับ
ขอมูลขาวสารลับนั้น ทะเบียนขอมูลขาวสารลับใหถือวาเปนขอมูลขาวสารลับดวยแบบทะเบียนรับ

๒๔

ทะเบียนสงและทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามที่นายกรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศ
ในราชกจิ จานุเบกษา

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺ
ใหห วั หนาหนวยงานของรฐั แตง ตง้ั คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย
๑. นายทะเบียนขอ มลู ขา วสารลบั เปน ประธานกรรมการ และ
๒. เจาหนา ทีอ่ น่ื อกี ไมนอ ยกวาสองคนเปนกรรมการ
มีอํานาจหนาท่ีทําการตรวจสอบความถูกตองในการปฏิบัติตามระเบียบวาดวยการรกั ษา
ความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และการมีอยูของขอมูลขาวสารลับท่ีมีอยูในทะเบียนขอมูล
ขา วสารลบั อยา งนอ ยทกุ หกเดอื น และเสนอรายงานการตรวจสอบใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั นนั้ ทราบ
และสัง่ การตอไป
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊͺÊǹ
เม่ือสงสัยวาบุคคลที่ไมมีอํานาจหนาท่ีเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับไดรูหรืออาจรูถึงขอมูล
ขาวสารลับหรือเมื่อสงสัยวามีการละเมิดการรักษาความลับของขอมูลขาวสารของราชการใหหัวหนา
หนว ยงานของรฐั แตง ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนโดยไมช กั ชา (คณะกรรมการสอบสวนตอ งเปน ผซู ง่ึ มไิ ด
เปนคณะกรรมการตรวจสอบ)

á¹Ç·Ò§¡Òû¯ºÔ μÑ Ôà¡èÕÂÇ¡ºÑ ¢ŒÍÁÅÙ ¢‹ÒÇÊÒÃźÑ

¡ÒÃกํา˹´ªÑ¹é ¤ÇÒÁÅѺáÅÐáÊ´§àËμؼÅ
๑. ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั มหี นา ทรี่ บั ผดิ ชอบในการกาํ หนดชน้ั ความลบั พรอ มทงั้ ให
เหตุผลประกอบการกําหนดชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับน้ันดวยวาเปนขอมูลขาวสารประเภทใด
และเพราะเหตุใด ในการนี้อาจมอบหมายหนาที่ดังกลาวไดตามความจําเปนใหผูใตบังคับบัญชา
ในกรณีทส่ี ามารถมอบอํานาจไดต ามกฎหมาย
๒. ในกรณีที่มีความจําเปนเรงดวน เจาหนาท่ีที่เกี่ยวของมีอํานาจกําหนดชั้นความลับ
เปนการชั่วคราวไดและใหรีบเสนอตอผูมีอํานาจกําหนดชั้นความลับเพื่อสั่งการเกี่ยวกับการกําหนด
ชั้นความลบั ตอ ไปทันที การกาํ หนดชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับท่ีมชี นั้ ความลบั หลายชั้นในเร่อื ง
เดยี วกนั ใหก าํ หนดชนั้ ความลบั เทา กบั ชนั้ ความลบั สงู สดุ ทมี่ อี ยใู นขอ มลู ขา วสารลบั นน้ั ในกรณที ก่ี าํ หนด
ใหข อ มลู ขา วสารลบั ทมี่ ชี น้ั ความลบั ตาํ่ แตจ าํ เปน ตอ งอา งองิ ขอ ความจากขอ มลู ขา วสารทมี่ ชี น้ั ความลบั
สูงกวา ตองพิจารณาถึงเนื้อหาทอี่ า งถงึ นน้ั วาจะไมทาํ ใหข อมลู ขาวสารท่ชี ้ันความลับสงู กวารัว่ ไหล
๓. ใหน ายทะเบยี นจดแจง เหตผุ ลประกอบการกาํ หนดชนั้ ความลบั ของขอ มลู ขา วสารลบั
ไวใ นทะเบยี นควบคมุ ขอ มลู ขา วสารลบั แตถ า เหตผุ ลนน้ั มรี ายละเอยี ดมากหรอื เหตผุ ลนน้ั บางสว นมชี นั้

๒๕

ความลับสูงกวาช้ันความลับของทะเบียนขอมูลขาวสารลับใหบันทึกเหตุผลยอไวในทะเบียนควบคุม
ขอ มลู ขา วสารลบั และบนั ทกึ เหตผุ ลละเอยี ดหรอื เหตผุ ลสว นทมี่ ชี น้ั ความลบั สงู กวา ดงั กลา วแยกออกมา
โดยเกบ็ ไวระหวางใบปกขอ มูลขาวสารลับกับขอ มูลขาวสารลับนั้น

๔. การกาํ หนดชน้ั ความลบั ตอ งคาํ นงึ ถงึ ขอ มลู ขา วสารทไี่ มต อ งเปด เผย ตามมาตรา ๑๔, ๑๕
แหงพระราชบญั ญัติขอ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ และปฏิบตั ติ ามระเบียบวาดวยการรักษา
ความลบั ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ทก่ี าํ หนดใหพ จิ ารณาถงึ องคป ระกอบในการกาํ หนดชน้ั ความลบั
ดังตอ ไปนี้

๑) ความสาํ คญั ของเนอ้ื หา
๒) แหลง ทม่ี าของขอ มลู
๓) วธิ ีการนาํ ไปใชป ระโยชน
๔) จาํ นวนบคุ คลทรี่ บั ทราบ
๕) ผลกระทบหากมกี ารเปดเผย
๖) หนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบในฐานะเจาของเรื่องหรือผูอนุมัติในการกําหนด
ช้นั ความลับของขอ มูลขาวสาร
๕. เครอื่ งหมายแสดงชน้ั ความลบั ใหใ ชต วั อกั ษรตามชนั้ ความลบั ทขี่ นาดใหญก วา ตวั อกั ษร
ธรรมดา โดยใชสีแดงหรอื สีอ่ืนทส่ี ามารถมองเหน็ ไดเ ดน และชัดเจน
๖. การปรับช้ันความลับตองกระทําโดยผูมีอํานาจกําหนดช้ันความลับของหนวยงาน
เจา ของเรอื่ งในกรณที หี่ นว ยงานเจา ของเรอื่ งเหน็ ควรใหท าํ การปรบั ชนั้ ความลบั ของขอ มลู ขา วสารลบั ใด
ใหห นว ยงานเจา ของเรอ่ื งทาํ การปรบั ชน้ั ความลบั และแจง ใหห นว ยงานของรฐั อนื่ ทไี่ ดร บั การแจกจา ยทราบ
เพ่อื ใหมกี ารแกไขช้ันความลบั โดยทว่ั กันดวย
๗. ขอมูลขาวสารลับท่ีคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารมีคําวินิจฉัยให
เปดเผยโดยไมมีขอจํากัดหรือเง่ือนไขใด ใหถือวาขอมูลขาวสารน้ันถูกยกเลิกชั้นความลับแลว เวนแต
มีการฟอ งคดตี อ ศาลและศาลมคี ําสง่ั หรือคาํ พิพากษาเปน อยา งอื่น
ÇÔ¸¡Õ ÒáÒÃÃºÑ àÍ¡ÊÒÃźÑ
การรับขอมูลขาวสารลับ (ภายในบริเวณหนวยงานเดียวกันหรือจากหนวยงานภายนอก)
เมื่อไดร บั ขอมลู ขาวสารลบั แลว ใหดาํ เนนิ การดงั นี้
๑. ใหน ายทะเบยี นขอมลู ขา วสารลบั หรอื ผูชว ยนายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั ลงชอ่ื ใน
ใบตอบรับแลวคนื ใบตอบรบั นน้ั แกผ ูน ําสง หรือลงลายมือชอื่ ในเลม ทะเบยี นสง (ทขล.๒) ของผูสง หรือ
จดั สง ใบตอบรบั คนื แกห นว ยงานของรฐั ทเี่ ปน ผสู ง และลงทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั กอ นทจ่ี ะดาํ เนนิ การ
อยางอื่น
๒. นายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั หรอื ผชู ว ยนายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั ลงทะเบยี นรบั
(ทขล.๑) และทะเบียนควบคุมขอมูล ขาวสาร (ทขล.๓) จากน้ันใหเสนอหัวหนาหนวยงานของรัฐ
หรอื ผเู ก่ยี วขอ งดําเนินการตอ ไป

๒๖

๒.๑ เมื่อนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับหรือผูชวยนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
ลงช่ือในใบตอบรบั เอกสารลับ และลงทะเบยี นแลว ใหป ฏบิ ัตดิ ังนี้

๑) นําเอกสารลับน้ัน สงมอบโดยตรงใหแกบุคคลท่ีถูกระบุช่ือโดยเร็ว แตถา
เปนเอกสารท่ีระบุตําแหนงแลว ก็อาจพิจารณามอบใหแกสวนงานที่มีหนาที่ดําเนินการในข้ันตนแทน
บุคคลทถ่ี ูกระบุตําแหนง น้ันดาํ เนินการดว นได

๒) ในกรณที บี่ คุ คลทเี่ อกสารลบั นน้ั ระบชุ อ่ื หรอื ตาํ แหนง ยงั ไมส ามารถดาํ เนนิ การ
ตอ เอกสารไดใ นทันที ใหน าํ เอกสารลบั ทส่ี ดุ หรือลบั มากน้ันมาเก็บไวทนี่ ายทะเบียนขอ มูลขา วสารลับ

๓) เอกสารลับท่ีจาหนาซองหรือซองชั้นในระบุถึงตําแหนงใหบุคคลที่ครอง
ตําแหนงน้ันหรือผูท่ีไดรับมอบหมายจากผูครองตําแหนงน้ันหรือนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
เปน ผเู ปดซองและลงช่ือในใบเอกสารลับ

๔) ถาจาหนาซองหรือซองช้ันในระบุถึงบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ หรือระบุชื่อ
พรอมตําแหนง แลวใหผูถูกระบุชื่อท่ีหนาซองหรือผูไดรับมอบหมายโดยตรงเทาน้ันเปนผูเปดซอง
และลงช่ือในใบรับเอกสารลบั

๓. กรณีท่ีผูรับตามจาหนาซองเปนผูรับดวยตนเอง ใหลงลายมือช่ือในใบตอบรับ แลว
สงคืนใหกับผูนําสงทันที และนําขอมูลขาวสารลับมอบใหนายทะเบียนหรือผูชวยนายทะเบียนขอมูล
ขาวสารลับเพอ่ื บนั ทกึ ลงในทะเบียน ทขล.๑ และ ทขล.๓ ตอไป

๔. กรณเี ปน เจา หนา ทส่ี ารบรรณหรอื เจา หนา ทอ่ี น่ื ทไ่ี มไ ดร บั การแตง ตง้ั ใหเ ปน นายทะเบยี น
ขอ มลู ขา วสารลบั หรอื ผชู ว ยนายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั เปน ผรู บั เอกสาร จะดาํ เนนิ การใด ๆ เกยี่ วกบั
ขอ มลู ขา วสารลบั ไมไ ด ตอ งมอบเอกสารนน้ั ใหแ กน ายทะเบยี นหรอื ผชู ว ยนายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั
ทนั ที เพอื่ ใหด าํ เนนิ การตอ ไปหรือสง ใหผูร บั ตามจาหนา ซองได

๕. ในกรณที ่ผี รู บั ไมสามารถดาํ เนนิ การใด ๆ กับขอ มูลขา วสารลับนนั้ ได ใหเก็บรกั ษาไว
ในท่ีปลอดภยั เพื่อนําสงนายทะเบียนหรือผูชวยนายทะเบียนตอ ไป

ÇÔ¸Õ¡ÒÃʧ‹ àÍ¡ÊÒÃźÑ
ñ. ¡ÒÃÊ‹§àÍ¡ÊÒÃÅºÑ ÀÒÂã¹Ë¹‹Ç§ҹ ใหดาํ เนินการดังนี้

๑) ลงบนั ทกึ รายละเอยี ดในเลม ทะเบยี นรบั ทขล.๓ และใชใ บปกเอกสารลบั ปด ทบั
เอกสารลบั ตามชนั้ ความลบั ของเอกสาร หรอื ใสซ องปด ผนกึ และตตี รา ลบั ทส่ี ดุ ลบั มาก ลบั ลงบนหนา ซอง

๒) เจาหนาท่ีผูสงขอมูลขาวสารลับ จัดสงเอกสารใหสวนงานท่ีเกี่ยวของโดยให
เจาหนาท่ีผูรับผิดชอบของสวนงานน้ันๆ เปนผูลงนามรับเอกสารในเลมทะเบียนสง ทขล.๒ เพ่ือให
นายทะเบียนหรือผูชวยนายทะเบียนลับของหนวยงานน้ันลงบันทึกใน ทขล.๑ และ ทขล.๓
และนําเสนอผูเ ก่ยี วขอ งหรือเจาของเรื่องดาํ เนินการตอ ไป

๒๗

ò. ¡ÒÃʧ‹ àÍ¡ÊÒÃÅºÑ ÍÍ¡¹Í¡ºÃàÔ Ç³Ë¹Ç‹ §ҹËÃÍ× μÒ‹ §Ë¹Ç‹ §ҹ โดยเจา หนา ทน่ี าํ สง
เอกสาร

๑) ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั หรอื ผซู ง่ึ หวั หนา หนว ยงานของรฐั มอบหมายมอี าํ นาจ
อนญุ าตใหก ระทําได และใหน ายทะเบียนขอมลู ขา วสารลับลงทะเบยี นกอ นสง ออก

๒) วธิ กี ารบรรจุซองเอกสารลับ ใหด ําเนนิ การดงั นี้
(๑) บรรจุเอกสารลับในซองสีนา้ํ ตาลหรอื ซองทบึ แสง (๒ ชนั้ )
«Í§ªÑé¹ã¹ ใหจ า หนาซองตามระเบียบงานสารบรรณ (คอื ใสเลขทห่ี นงั สือ

ของหนวยงานเจาของเร่ืองและหนวยงานผูสง ชอื่ ทอี่ ยู ของผูรับขอมูลขา วสารลับ)
- แสดงชั้นความลับ ๒ แหง คือ กึ่งกลางซองสวนบนดานหนา และ

ก่งึ กลางซอง ณ บริเวณรอยปดผนึกดา นหลงั
(๒) นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ ลงลายมือช่ือกํากับบริเวณรอยปดผนึก

ดา นซาย และดานขวาของเครอ่ื งหมายแสดงชัน้ ความลบั
- ใชเทปกาวใสปด ทับตามแนวผนึกซอง ทับลายมือช่ือ และเครือ่ งหมาย

แสดงชัน้ ความลบั ดว ย
- นําซองช้ันในที่ปดผนึกแลว บรรจุลงในซองชั้นนอก แลวปดผนึกซอง

ตามปกติ
«Í§ªéѹ¹Í¡ ใหจาหนาซองระบุขอความเดียวกับซองช้ันใน แตไมตองมี

เครอ่ื งหมายแสดงชั้นความลบั ใดๆ
(๓) นําสงไปรษณียหรือโดยวิธีการอื่นใดพรอมใบตอบรับใหผูรับลงรายละเอียด

และลงชื่อรับเอกสารลงในใบตอบรับและสงคืนใหแกหนวยงานเจาของเร่ืองโดยเร็ว และหนวยงาน
เจา ของเรอื่ งตอ งเกบ็ รกั ษาใบตอบรบั ไว (หา มระบชุ น้ั ความลบั และชอื่ เรอ่ื งไวใ นใบตอบรบั แตใ หร ะบเุ ลขท่ี
หนังสือสง วัน เดือน ป จํานวนหนาและหมายเลขฉบับไวในใบตอบรับดังกลาว และเก็บรักษา
ใบตอบรบั นัน้ ไวจ นกวาจะไดร บั คนื หรือยกเลกิ ช้ันความลับหรือทาํ ลายขอมลู ขา วสารลบั นั้นแลว)

ó. ¡ÒÃÊ‹§¢ŒÍÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒÃÅѺÍÍ¡¹Í¡»ÃÐà·È ใหปฏิบัติตามระเบียบกระทรวง
การตา งประเทศวา ดว ยถงุ เมลก ารทตู โดยอนโุ ลมหรอื ใหเ จา หนา ทซี่ ง่ึ มฐี านะทางการทตู ถอื ไปดว ยตนเองกไ็ ด

ô. ¡ÒÃÊ‹§¢ŒÍÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒÃÅѺ·Ñé§ÀÒÂã¹»ÃÐà·ÈáÅÐÊ‹§ÍÍ¡¹Í¡»ÃÐà·È จะสงทาง
โทรคมนาคม ไปรษณียลงทะเบยี นตอบรบั หรอื โดยวธิ กี ารอน่ื ใดกไ็ ด แตต องไดร ับอนญุ าตจากหวั หนา
หนวยงานของรัฐกอน กรณีการสงทางโทรคมนาคมใหปฏิบัติตามคําแนะนําขององคการรักษา
ความปลอดภยั

ÇÔ¸¡Õ ÒÃà¡çºÃÑ¡ÉÒàÍ¡ÊÒÃÅѺ
การเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับ ใหหนวยงานของรัฐเก็บรักษาไวในที่ปลอดภัยและ
ใหกําหนดระเบียบการเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับไวเปนการเฉพาะตามคําแนะนําขององคการรักษา
ความปลอดภัย ดงั น้ี

๒๘

๑) รกั ษาขอ มลู ขา วสารลบั ไวใ นทป่ี ลอดภยั (ระหวา งดาํ เนนิ การใหด แู ลรกั ษาไมใ หร ว่ั ไหล
ไมท งิ้ เอกสารลบั ไวบ นโตะ ทาํ งาน หรอื ทงิ้ ไวไ มม ผี ดู แู ล หากจาํ เปน ใหเ กบ็ ไวใ นลนิ้ ชกั ปด กญุ แจใหเ รยี บรอ ย)

๒) กาํ หนดตวั ผรู บั ผดิ ชอบในการเกบ็ รกั ษา (เจา ของเรอ่ื งหรอื นายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั )
๓) ขอ มลู ขา วสารลบั ทอ่ี ยใู นเครอ่ื งคอมพวิ เตอร ตอ งกาํ หนดรหสั ผา นเพอื่ ปอ งกนั การเขา ถงึ
จากบคุ คลอื่น
๔) แยกแฟม เอกสารลบั และเกบ็ ไวใ นตเู กบ็ ปด ดว ยกญุ แจทมี่ นั่ คงแยกตา งหากจากเอกสาร
ทวั่ ไป
¡ÒÃÂ×Á
การใหย มื ขอ มลู ขา วสารลบั ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั หรอื ผซู งึ่ หวั หนา หนว ยงานของรฐั
มอบหมายพิจารณาดวยวาผูยืมมีหนาที่ดําเนินการในเรื่องท่ียืมและสามารถปฏิบัติตามระเบียบน้ีได
หรือไม
ถาเร่ืองที่ผูประสงคจะขอยืมเปนเรื่องที่หนวยงานของรัฐอ่ืนเปนหนวยงานเจาของเรื่อง
การใหย มื ตอ งไดร บั อนญุ าตจากหนว ยงานเจา ของเรอ่ื งนนั้ กอ น เวน แตผ ยู มื จะเปน หนว ยงานเจา ของเรอื่ ง
นน้ั เองใหน ายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั ทาํ บนั ทกึ การยมื พรอ มทง้ั จดแจง การยมื ไวใ นทะเบยี นควบคมุ
ขอมลู ขา วสารลบั ดว ย
¡ÒÃทําÅÒÂ
ขอมูลขาวสารลับจะทาํ ลายไดใ น ๒ กรณี ดังนี้
๑. ในกรณีท่ีการเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับชั้นลับที่สุดจะเสี่ยงตอการร่ัวไหลอันจะกอ
ใหเกิดอันตรายแกประโยชนแหงรัฐ หัวหนาหนวยงานของรัฐจะพิจารณาสั่งทําลายขอมูลขาวสารลับ
ªéѹÅѺ·ÕèÊØ´น้ันได หากพิจารณาเห็นวามีความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองทําลาย (หัวหนาหนวยงาน
ของรฐั จะสง่ั ทาํ ลายขอ มลู ขา วสารลบั นอกจากกรณนี ไ้ี ดต อ เมอื่ ไดส ง ขอ มลู ขา วสารลบั ใหห อจดหมายเหตุ
แหงชาติ พจิ ารณากอ นวาไมมีคณุ คา ในการเก็บรักษา)
๒. ครบอายกุ ารเก็บ

- ขอมูลขา วสารตามมาตรา ๑๔ อายุการเกบ็ ๗๕ ป
- ขอ มลู ขาวสารตามมาตรา ๑๕ อายุการเกบ็ ๒๐ ป
¢¹Ñé μ͹¡ÒÃทาํ ÅÒ¢͌ ÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒÃźÑ
๑) จดั ทาํ บัญชีรายชอื่ หนังสือขอทําลาย (ขอมลู ขาวสารลบั )
๒) จัดทําคาํ ขออนุมัติทําลายขอมูลขาวสารลับ พรอมทั้งเสนอหัวหนาหนวยงานของรัฐ
á싧μÑ駤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃทาํ ÅÒ โดยมีนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับของหนวยงานเปนประธาน และ
ผเู กยี่ วขอ งอกี อยา งนอ ย ๒ คน เปน กรรมการ และเมอ่ื คณะกรรมการดงั กลา วไดท าํ ลายขอ มลู ขา วสารลบั
เสรจ็ แลว ใหจดแจง การทาํ ลายไวในทะเบียนควบคุมขอ มลู ขาวสารลับ และจดั ทําใบรับรองการทําลาย
ขอ มลู ขา วสารลบั ดวยใบรบั รองการทาํ ลายใหเ ก็บรกั ษาไวเ ปน หลกั ฐานไมนอ ยกวา หนึง่ ป

๒๙

๓) เมอื่ ไดร บั การอนมุ ตั ใิ หท าํ ลายขอ มลู ขา วสารลบั แลว ใหท าํ การยกเลกิ ชน้ั ความลบั กอ น
โดยผูมีอํานาจกําหนดชั้นความลับของหนวยงานเจาของเร่ือง และหมายเหตุไวที่มุมบนดานซายของ
เอกสารขอ มลู ขา วสารลบั โดยใชข อ ความ “ยกเลกิ ชนั้ ความลบั แลว ” โดย.................และลงวนั /เดอื น/ป
กํากับไว

๔) ใหค ณะกรรมการทาํ ลาย สง เฉพาะบญั ชรี ายชอ่ื ขอ มลู ขา วสารลบั ทจ่ี ะทาํ ลายให สาํ นกั
หอจดหมายเหตแุ หง ชาติ พจิ ารณากอ นวา ขอ มลู ขา วสารลบั ใด ทตี่ อ งการเกบ็ ไวเ ปน เอกสารประวตั ศิ าสตร
ทางสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ จะแจงมา พรอมสงคืนบัญชีรายชื่อดังกลาวกลับมายังหนวยงาน
เพ่ือรอการทาํ ลายตอ ไป

๕) ดําเนินการทําลายขอมูลขาวสารลับ โดยคณะกรรมการทําลาย ที่ไดรับแตงต้ังตาม
ขอ ๒ โดยวธิ กี ารเผาหรือแปรรูปโดยเครอ่ื งยอ ยกระดาษ

๖) จดแจงการทาํ ลายขอมูลขา วสารลบั ไวใน ทขล.๓ ชอ งดําเนนิ การ โดยระบุ วัน เดือน
ปท่ีทําลาย

๗) จดั ทาํ ใบรบั รองการทาํ ลายขอ มลู ขา วสารลบั และเกบ็ รกั ษาไวเ ปน หลกั ฐานอยา งนอ ย
๑ ป

¡Ã³ÊÕ ÙÞËÒÂ
ในกรณที ่ีขอ มลู ขา วสารลับสญู หาย
๑. ใหผูทราบขอเท็จจริงรายงานขอเท็จจริงท่ีเกี่ยวของใหหัวหนาหนวยงานของรัฐท่ีตน
สังกดั ทราบเพอ่ื ดําเนนิ การตอ ไป
๒. ใหน ายทะเบยี นขอ มลู ขา วสารลบั บนั ทกึ การทข่ี อ มลู ขา วสารลบั สญู หายไวใ นทะเบยี น
ควบคมุ ขอ มูลขาวสารลับดว ย
¡ÒÃແ´à¼Â
μÒÁÃÐàºÂÕ ºÇ‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡Òà ¾.È. òõôô
๑. การเปดเผยขอมูลขาวสารลับแกผูใด ตองกระทําโดยระมัดระวัง ในกรณีจําเปนให
กาํ หนดเงอ่ื นไขในการปฏิบตั ิใหเหมาะสม
๒. ในกรณีที่หัวหนาหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาท่ีของรัฐ มีคําส่ังใหเปดเผยขอมูล
ขา วสารลบั ใดโดยมขี อ จาํ กดั หรอื เงอื่ นไขเชน ใด ใหเ ปด เผยขอ มลู ขา วสารลบั ตามขอ จาํ กดั และเงอ่ื นไขนน้ั
๓. กรณีที่ขอมูลขาวสารลับใดไมมีเครื่องหมายแสดงชั้นความลับ เจาหนาที่ที่เก่ียวของ
สามารถเปดเผยขอมูลขาวสารลับได เวนแตเจาหนาที่น้ัน ä´ŒÃÙŒ หรือ ¤ÇÃÃÙŒ วาขอมูลขาวสารนั้นไดมี
การกําหนดช้ันความลับไว
๔. ขอมูลขาวสารลับที่คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารมีคําวินิจฉัยให
เปดเผยโดยไมมีขอจํากัด หรือเงื่อนไขใด ใหถือวาขอมูลขาวสารลับนั้น ถูกยกเลิกชั้นความลับแลว
เวน แตมีการฟองคดีตอศาลและศาลมีคําสัง่ หรอื คําพพิ ากษาเปน อยา งอื่น

๓๐

¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ Ô¢ÍŒ ÁÅÙ ¢Ò‹ ÇÊÒâͧ·Ò§ÃÒª¡Òà ¾.È. òõôð
๑. คาํ วนิ จิ ฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปด เผยขอมลู ขาวสารใหเ ปนทสี่ ดุ
๒. ขอมูลขาวสารตามมาตรา ๑๕ แหงพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐ เปนขอมลู ขาวสารท่ีไมต อ งเปด เผย (ขอมูลขา วสารลบั ) ถา เจาหนา ทด่ี าํ เนินการเปด เผย
โดยสุจริตและปฏิบัติตอขอมูลขาวสารลับ โดยปฏิบัติตามระเบียบวาดวยการรักษาความลับ
ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ เกิดความเสียหายใหถือวาเจาหนาท่ีของรัฐไมตองรับผิดชอบ
เพราะเปน การกระทาํ โดยสจุ รติ

๓๑

º··èÕ ô

¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂʶҹ·Õè

¤ÇÒÁËÁÒ áÅФÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂʶҹ·èÕ

¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂà¡èÂÕ Ç¡ÑºÊ¶Ò¹·Õè คอื มาตรการที่กาํ หนดขนึ้ เพ่อื พทิ กั ษรักษาให
ความปลอดภยั แกท ส่ี งวน อาคารสถานที่ ตลอดจนวสั ดุ อปุ กรณ เจา หนา ทแ่ี ละเอกสารในอาคารสถานที่
ดังกลา วใหพ นจากการโจรกรรม การจารกรรมและการกอวินาศกรรม หรือเหตอุ ่นื ใดอนั อาจทําใหเ สีย
ความสามารถในการปฏบิ ตั ิภารกจิ ของหนวยงานของรัฐ

ความจรงิ การรกั ษาความปลอดภยั สถานทม่ี าจากสามญั สาํ นกึ และสญั ชาตญาณของมนษุ ย
ในการระวังภัยอันตราย นับแตยุคหินท่ีอาศัยอยูตามถ้ํา มนุษยยุคหินท่ีอยูเปนกลุมรวมกันภายในถ้ํา
เดยี วกนั จะรว มมอื กนั ปกปอ งแหลง ทอ่ี ยอู าศยั ไมใ หม นษุ ยต า งกลมุ หรอื สตั วป า เขา มาหรอื เขา ใกลพ น้ื ที่
อาศัยของกลมุ ตน วิธปี อ งกนั เชน กอ กองไฟไวทป่ี ากถา้ํ มยี ามเฝาทางเขา และเม่อื รจู กั เลย้ี งสุนขั กใ็ ช
สุนขั ชว ยเฝา ระวัง เปน ตน ตอมาเม่ือเจริญขึ้น จึงรจู กั ประดษิ ฐเ ครือ่ งทนุ แรงสาํ หรับปกปอ งพนื้ ท่ีอาศัย
เชน ทาํ รวั้ แบง อาณาเขตไปพรอ มกบั การปอ งกนั ภยั จากการรกุ ลาํ้ จากกองไฟบนพนื้ ดนิ กลายเปน คบไฟ
และเปน แสงไฟจากโคมสองสวางหรอื ไฟฉาย การประดิษฐเครือ่ งมอื ประเภทตาง ๆ มาชวยหรือเสริม
การเฝา ระวงั สงั เกตการณ และการปอ งกนั จงึ มพี ฒั นาการเรอื่ ยมาพรอ มกบั มปี ระสทิ ธภิ าพทเ่ี พม่ิ มากขน้ึ

๑. ตองมกี ารกําหนดพนื้ ที่ที่จะดําเนนิ การรกั ษาความปลอดภัย
๒. ตอ งมีการกําหนดมาตรการการรกั ษาความปลอดภยั เชน จัดทําร้วั /กําแพงแบงพนื้ ท่ี
จัดทําแสงสองสวาง จัดทําเคร่ืองกีดขวาง กําหนดจุดที่อนุญาตใหผานเขา-ออก หรือระบบสัญญาณ
เตือนภยั
๓. ตองมรี ะบบและชองทางตดิ ตอสอ่ื สาร
๔. ตองควบคมุ บุคคล ส่ิงของ และยานพาหนะทีผ่ านเขา-ออก
๕. ตองมีเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย หรือยามรักษาการณ เพ่ือการตรวจตรา
และเฝา ระวัง

àËμ¼Ø Å·Õμè ÍŒ §กํา˹´ÁÒμáÒáÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ Ê¶Ò¹·èÕ

๑. วางแนวทางปองกันมิใหเกิดภัยอันตรายที่จะเกิดหรืออาจจะเกิดขึ้นภายในพื้นที่ต้ัง
หรือกําหนดแนวทางจัดการและปฏิบัติ เพื่อบรรเทาภัยอันตรายที่เกิดขึ้นแลวและลดผลการสูญเสียให
เหลือนอยทสี่ ดุ

๒. ลด แกไ ข และหาหนทางปอ งกนั ขอ บกพรอ ง สง่ิ ทล่ี อ แหลม หรอื จดุ เสยี่ งทอี่ าจกอ ใหเ กดิ
อันตรายหรือความเสยี หายตอ อาคาร สงิ่ กอ สรา ง ทรพั ยสนิ หรอื ชวี ิตของบุคคลที่อยูใ นพ้นื ท่ีต้ังน้ัน

๓๒

๓. กรณีทภ่ี ัยอนั ตรายเกิดขนึ้ แลว จะเปน แนวทางสาํ หรับสั่งการและการปฏิบัติ เพือ่ ลด
ความเสยี หายท่จี ะเกิดขนึ้ หรือทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว ใหเ หลือนอ ยทสี่ ุดหรอื มิใหลุกลามตอ ไปได

»ÃÐ⪹¢Í§¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂʶҹ·Õè

๑. เพอื่ ใหมกี ารเฝาระวงั ดแู ล สังเกต และตรวจตรา ในบริเวณพ้นื ท่ีหรอื ทตี่ งั้ สํานักงาน
อยูต ลอดเวลา

๒. เพือ่ ใหพิสูจนท ราบตวั บุคคล สิ่งของ และยานพาหนะที่ผา นเขา – ออก ในบริเวณ
พ้นื ทหี่ รอื ทีต่ ง้ั สาํ นกั งาน

๓. เพ่ือปองกันหรือขัดขวางการบุกรุก รุกล้ํา หรือการลักลอบเขามาในบริเวณพ้ืนที่
หรือที่ตงั้ สาํ นกั งาน

ถึงแมจะเกิดการพัฒนาวิธีการและเคร่ืองมืออุปกรณในรูปแบบตาง ๆ อยางมากมาย
แตจ ุดมุงหมายในการใชง านยังคงเดิม คอื การเฝาระวงั และตรวจตรามใิ หเ กดิ การบุกรุก กบั แจง เตือน
ปองกัน และขัดขวางการรุกลํ้าเขามาในพ้ืนที่ในครอบครอง อยางไรก็ดี อาคาร สิ่งกอสราง หรือ
สถานที่ต้ังในปจจุบันมีทั้งขนาดที่ใหญและมีความสลับซับซอนของอาคารมากขึ้น จากสภาพนี้
จึงตองมีการวางแนวทางปองกันมากย่ิงกวาถํ้าในยุคหิน ดังนั้น ระบบการปองกันจึงมีความซับซอน
ตามไปดว ย มาตรการการรกั ษาความปลอดภยั จงึ มกี ารกาํ หนดขอบเขตมากขนึ้ เพอื่ ใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพ
ทร่ี องรับกบั ความซบั ซอนเหลา น้ัน

¤ÇÒÁจํา໚¹ã¹¡ÒÃสําÃǨʶҹ·àèÕ ¾×èÍ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

เปาหมายที่ตองกําหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัยข้ึนก็เพ่ือควบคุมและปองกัน
การกระทําของบุคคลท่ีเปนภัย ดังน้ัน ในสวนของเปาหมายการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ี
จึงเปน การกาํ หนดขอบเขตของพน้ื ที่ เพือ่ ดาํ เนินการปอ งกนั บุคคลท่จี ะกอ ใหเ กิดภยั อันตราย และการ
กําหนดระเบียบปฏิบัติสําหรับการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ีก็เปนแนวทางปฏิบัติใหบุคคล
ยดึ ถือและกระทําตาม เพื่อปองกันภัยอันตรายทจี่ ะเกิดขึ้นทัง้ จากคนหรอื ภัยธรรมชาติ

จากสภาพสงั คมในปจ จบุ นั การรกั ษาความปลอดภยั เกยี่ วกบั สถานทไี่ ดก ลายเปน มาตรการ
ทจ่ี าํ เปน ตอ งดาํ เนนิ การโดยบคุ คล ประกอบกบั การนาํ เครอ่ื งมอื อปุ กรณ และวทิ ยาการสมยั ใหมม าเสรมิ
การปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ใหส ามารถปอ งปราม หนว งเหนยี่ ว และปอ งกนั ภยั อนั ตรายและการคกุ คามในรปู แบบ
ตางๆ ที่อาจเกิดข้ึนดวยความตั้งใจหรือไมก็ตาม การรักษาความปลอดภัยสถานที่ท่ีมีประสิทธิภาพ
จําเปนตองมีการวางแนวทางและกําหนดวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมและสอดคลองกับสถานที่น้ันๆ ฉะน้ัน
กอ นทจ่ี ะกาํ หนดแนวทางการรกั ษาความปลอดภยั สถานที่ จงึ ตอ งทาํ การสาํ รวจและตรวจสอบขอ เทจ็ จรงิ
ของสถานท่ีต้ัง บริเวณโดยรอบ และสภาพแวดลอม เพื่อหารายละเอียดเก่ียวกับจุดออน-จุดแข็ง
ของท่ีต้ังเหลาน้ัน ตลอดจนสภาพแวดลอมและขอแมตางๆ ท่ีอาจสงผลกระทบตอประสิทธิภาพ
ของการรกั ษาความปลอดภัยสถานที่ทจ่ี ะดําเนินการ

๓๓

จดุ มงุ หมายในการกาํ หนดแนวทางการรกั ษาความปลอดสถานที่ เพอื่ ควบคมุ บคุ คลทอี่ าจ
เปน ภัยมใิ หล วงล้ําเขามาในบรเิ วณพน้ื ทีต่ งั้ รวมทง้ั อาคารสงิ่ กอ สรางภายในพนื้ ทต่ี ้งั แบงออกเปน

๑. ปองปรามและปองกันภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้นดวยความประมาท เลินเลอ
ความบกพรอ ง หรอื ดว ยความตงั้ ใจทาํ ลายตอ สถานทแ่ี ละบรเิ วณโดยรอบของทต่ี งั้ ของหนว ยงานของรฐั
เชน อาคารสํานักงาน สถานท่ีจายหรือที่ตั้งถังจัดเก็บเชื้อเพลิง โรงเก็บวัสดุและเครื่องมืออุปกรณ
ตางๆ โรงเกบ็ สารเคมี โรงผลติ กระแสไฟฟา เข่ือน อา งเก็บนาํ้ เปนตน หรอื พน้ื ท่ี ซ่ึงหนวยงานของรฐั
ใชประโยชน เชน ที่ตั้งสํานักงานของหนวยงานของรัฐ โดยเชาพื้นท่ีอาคารของเอกชน ซึ่งอาจจะใช
ทง้ั อาคารหรอื บางสว นของอาคาร ทงั้ นใ้ี หพ จิ ารณารวมถงึ ภยั ธรรมชาตทิ อี่ าจสรา งความเสยี หายอกี ดว ย

๒. ปอ งกนั อบุ ตั ภิ ยั และปกปอ งจากการคกุ คามทกุ รปู แบบตอ บคุ คลสาํ คญั ทเ่ี ขา สพู นื้ ทต่ี งั้
ของหนวยงานของรัฐหรือสถานท่ีซ่ึงหนวยงานของรัฐใชประโยชน เชน อาคารของหนวยงานของรัฐ
หรือหนวยงานของรัฐใชพื้นที่อาคารของเอกชน เพ่ือการจัดกิจกรรม ซึ่งมีบุคคลสําคัญจากภายใน
และภายนอกประเทศมาเขา รวม เปน ตน

เม่ือกําหนดดําเนินการสํารวจการรักษาความปลอดภัยสถานท่ีใหกับหนวยงานของรัฐ
ท่ีจะวางมาตรการรกั ษาความปลอดภัยเกีย่ วกับสถานท่แี ลว การดําเนนิ การในชน้ั ตน คือ การประเมนิ
ภารกจิ ของหนว ยงานของรฐั ทก่ี าํ หนดวางมาตรการรกั ษาความปลอดภยั สถานท่ี เพอ่ื กาํ หนดระดบั ของ
การรักษาความปลอดภัยสถานท่ีข้ึนอยูกับความสําคัญและความเสี่ยงที่อาจจะกอใหเกิดภัยอันตราย
เพ่อื จะไดก าํ หนดมาตรการการรกั ษาความปลอดภยั สถานที่ใหเ หมาะสมกบั

๑. ระดบั ความสําคัญของหนวยงานของรฐั
๑.๑ หนาทค่ี วามรบั ผิดชอบและภารกิจของหนว ยงานของรัฐน้นั
๑.๒ ทรัพยส ินมีคาท่อี ยูใ นการครอบครอง เก็บรักษา หรอื ดูแล
๑.๓ บุคคลสาํ คัญทเ่ี ก่ยี วของ ทัง้ ทเี่ ปนชาวไทยและตางชาติ

๒. ระดบั ความสาํ คญั ของกจิ กรรมทจี่ ะจดั ขน้ึ ในพน้ื ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของหนว ยงานของรฐั
หรือพ้นื ท่ีของภาคเอกชน

๒.๑ บุคคลสาํ คญั ของประเทศเขารว มกิจกรรม
๒.๒ บคุ คลสําคัญของประเทศและตา งชาตเิ ขา รว มกิจกรรม โดยเปนกิจกรรมระดบั
ประเทศ เชน งานสโมสรสนั นิบาต
๒.๓ บคุ คลสาํ คัญของประเทศและตา งชาติเขา รวมกจิ กรรม โดยเปนกิจกรรมระดับ
นานาชาติ ซ่ึงจัดขึ้นโดยหนวยงานของรัฐหรือรัฐบาล เชน การประชุมสัมมนาระดับรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงจากประเทศตางๆ หรือจากองคก ารระหวา งประเทศ
๒.๔ บคุ คลสําคญั ของประเทศและตางชาติเขารว มกจิ กรรม โดยเปนกจิ กรรมระดับ
นานาชาติ ซงึ่ จดั ขนึ้ โดยรฐั บาลหรอื องคก ารระหวา งประเทศ โดยมผี นู าํ ประเทศเขา รว ม เชน การประชมุ
ระดบั ผูน ําของกลุม ประเทศอาเซียน

๓๔

ปจจัยหลักที่ตองยึดถือ เม่ือตองดําเนินการสํารวจเพื่อการรักษาความปลอดภัยสถานท่ี
กอนวางแนวทางปอ งกนั และปองปราม มดี งั นี้

ñ. ÀѸÃÃÁªÒμÔËÃÍ× ÍºØ ÑμÔÀÂÑ ·ÕÍè Ò¨à¡´Ô ¢¹Öé ใหพ จิ ารณา
๑.๑ โอกาสทจี่ ะเกดิ เพลงิ ไหม เนอื่ งจากมที ตี่ ง้ั อยใู นพนื้ ทแ่ี หง แลง และบรเิ วณโดยรอบ

มีเชอื้ เพลิงธรรมชาติ เชน กอหญาแหง ไมไ ผ ซงึ่ เปน เชื้อเพลงิ ทีด่ ี
๑.๒ โอกาสท่ีจะเกิดการไหลบาของน้ําปาหรือดินถลม เนื่องจากมีที่ต้ังใกลเนินเขา

ภูเขา พ้นื ทดี่ ินรวนซุยเคยยบุ ตวั หรือชองทางที่เคยมีนํา้ ไหลผา น
๑.๓ ตัง้ อยใู นพนื้ ท่ที ่ีเคยประสบปญ หาอุทกภยั น้ําทว มขังเปน ประจํา หรือมโี อกาส

ท่ีจะเกิดนํ้าทวมขัง เนื่องจากอยูใกลทางน้ําไหลผาน เม่ือเกิดพายุฝนตกหนัก หรือเปนพ้ืนที่ลาดต่ํา
หรอื เปนแอง

๑.๔ ตัง้ อยูในพืน้ ทท่ี างผานของลมพายุ หรอื เคยเกดิ เหตุฟา ผา
ò. ÀÂÑ ·Õèà¡Ô´¨Ò¡¡ÒáÃÐทําº¤Ø ¤Å

๒.๑ กรณที ีเ่ ปนการสาํ รวจสถานทตี่ ้งั ของหนว ยงานของรัฐโดยทวั่ ไป ใหพจิ ารณา
- สภาพโดยทว่ั ไปของบคุ คลในหนว ยงานของรฐั นน้ั ไดแ ก ความมรี ะเบยี บวนิ ยั

ความประมาทเลนิ เลอ ความบกพรอ ง หรอื ความรเู ทาไมถ ึงการณ ซ่งึ อาจกอใหเ กิดความเสยี หายแก
หนวยงานของรฐั น้นั

- การโจรกรรม
๒.๒ กรณีท่ีเปนการสํารวจหนวยงานของรัฐที่มีความสําคัญหรือมีบุคคลสําคัญมา
เก่ยี วขอ ง นอกจากตองพิจารณาตามขอ ๑ และ ๒.๑ แลว ยังตองเพิ่มขอพจิ ารณาดงั นี้

- สภาพความขัดแยงท่ีอาจเปนสาเหตุใหเกิดความตองการทําลาย
ความนาเชื่อถือ ช่ือเสียงเกียรติภูมิ สรางความเสียหาย หรือทําลายลางหนวยงานของรัฐที่ต้ังอยูใน
สถานที่นั้น

- การชุมนุมประทวง เพือ่ เรยี กรองผลประโยชนหรือเพ่อื กอกวน
- การจารกรรม
- การกอ วนิ าศกรรม
๒.๓ กรณีท่ีเปนการสํารวจหนวยงานของรัฐหรือภาคเอกชน ซ่ึงหนวยงานของรัฐ
มีภารกิจที่จะตองเขาใชพื้นท่ีเปนการช่ัวคราว แตเปนภารกิจท่ีมีความสําคัญหรือมีบุคคลสําคัญมา
เก่ยี วขอ ง นอกจากตอ งพิจารณาตาม ขอ ๑ และขอ ๒ แลว ยังตอ งเพมิ่ ขอ พิจารณา ดังนี้
- ตองคาํ นงึ ถงึ ผลพวงอืน่ ๆ ท่อี าจเกดิ ตอพืน้ ทนี่ ้ัน
- ในกรณีท่ีเปนภาคเอกชน ตองคํานึงถึงการสูญเสียผลประโยชนและ
ผลกระทบทางธุรกิจในดานอนื่ ๆ ทีอ่ าจเกิดขน้ึ ขณะดาํ เนินกิจกรรมหรอื ในภายหลัง

๓๕

¢é¹Ñ μ͹à¾èÍ× àμÃÂÕ Á¢ÍŒ ÁÅÙ สาํ ËÃѺ¡ÒÃÇÒ§ÁÒμáÒáÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ Ê¶Ò¹·èÕ

กอ นการดาํ เนนิ การวางมาตรการการรกั ษาความปลอดภยั สถานทภี่ ายในแตล ะหนว ยงาน
ของรฐั จาํ เปน ตอ งสาํ รวจตรวจสอบ เพอ่ื ใหไ ดท ราบถงึ ขอ มลู ขา วสารดา นตา ง ๆ ทอี่ าจสง ผลกระทบตอ
การรักษาความปลอดภัย รวมท้ังขอมูลเกี่ยวกับจุดออน ขอขัดของ หรือความบกพรองในดานตางๆ
โดยจะนาํ มาศกึ ษาทบทวน เพ่ือหาแนวทางวางมาตรการทเ่ี หมาะสม รัดกมุ และมปี ระสทิ ธภิ าพ

การสํารวจตรวจสอบสําหรับการวางมาตรการการรักษาความปลอดภัยสถานท่ีของ
หนวยงานของรัฐนั้น ควรดําเนินการทุกคร้ังท่ีมีการปรับเปล่ียนที่ทําการกอสรางข้ึนใหม นอกจากน้ี
หนว ยงานของรัฐควรกําหนดหวงเวลา เชน ทกุ ๖ เดือน หรือ ๑ ป ใหส ว นงานรกั ษาความปลอดภยั
ทาํ การสาํ รวจตรวจสอบ เพอื่ ทบทวนหรอื หาขอ บกพรอ งของมาตรการทก่ี าํ หนดไว เพอ่ื สรปุ เปน รายงาน
เสนอผบู งั คบั บญั ชาพจิ ารณา เพราะโดยพนื้ ฐานในแตล ะหนว ยงานของรฐั ยอ มมคี วามแตกตา งจากกนั
อยแู ลว ทั้งในดา นระดบั ความสําคัญ พ้ืนท่ีต้ัง สภาพแวดลอ ม และหนา ท่ีความรับผดิ ชอบ

¢¹éÑ ·èÕ˹֧è รวบรวมและศึกษาขอมูลขาวสาร ตรวจสอบความเปนจริงของขอมูลขาวสาร
จากรายงานที่ไดเคยจัดทําไวแตเดิม และขอมูลเกี่ยวกับความบกพรองดานการรักษาความปลอดภัย
สถานท่ีที่เคยเกิด ทั้งภายในพื้นท่ีทําการและพ้ืนท่ีบริเวณใกลเคียงโดยรอบของหนวยงานของรัฐ
เชน รายงานเก่ยี วกับการโจรกรรม เหตุเพลิงไหม หรือเจา หนาทภี่ ายในหนว ยงานไมค อยตระหนกั ถึง
ความสําคัญของการรักษาความปลอดภัย ตลอดจนสภาพสังคมและอุปนิสัยโดยรวมของประชาชน
ท่ีอยูอาศัยในบริเวณน้ี เชน มียานชุมชนแออัดอยูใกลเคียง หรือแหลงลักลอบคายาเสพติด
บอ นการพนนั สถานเรงิ รมย เปน ตน ขอ มลู เหลา นน้ี บั วา มคี วามสาํ คญั สาํ หรบั นาํ มาใชป ระกอบการวาง
มาตรการการรักษาความปลอดภัยสถานท่ี เพราะจะทําใหสามารถวางแผนการรักษาความปลอดภัย
สถานที่ใหรองรับภยั อันตรายไดอยา งถกู ตองเหมาะสมมากยงิ่ ขึ้น

¢¹éÑ ·èÕÊͧ สํารวจพื้นท่ีและอาคารสถานที่ที่จะวางมาตรการการรักษาความปลอดภัย
โดยละเอยี ด ในชว งเวลาราชการและนอกเวลาราชการ รวมทัง้ ในชวงเวลาวนั หยุดราชการ เพือ่ นํามา
ประกอบกับขอมูลขาวสารท่ีไดจากขั้นท่ีหน่ึง และนํามาประมวลเพื่อใหไดขอเท็จจริงท่ีมีความชัดเจน
มากขน้ึ กอ นทจ่ี ะนาํ มาใชก าํ หนดรายละเอยี ดของมาตรการและกาํ หนดประเภทของเครอื่ งมอื อปุ กรณ
สําหรับการรักษาความปลอดภัยสถานที่ เพ่ือใหรองรับกับระดับความสําคัญของหนวยงาน สภาพ
และเปนมาตรการท่ีบุคคลสามัญสามารถปฏิบัติตามไดจริง อยางไรก็ดี การวางมาตรการการรักษา
ความปลอดภยั จาํ เปน ตอ งคาํ นงึ ถงึ งบประมาณทจี่ ะตอ งใชจ า ยทเ่ี หมาะสมไวด ว ย เพอ่ื ไมก อ ใหเ กดิ ภาระ
ผูกพันแกหนว ยงานของรัฐ

¢éѹ·èÕÊÒÁ จัดทํารายงานเปนลายลักษณอักษรเสนอผูบังคับบัญชาเพ่ือพิจารณาสั่งการ
โดยชแี้ จงใหเ หน็ ถงึ ความสาํ คญั ของการวางมาตรการการรกั ษาความปลอดภยั สถานท่ี ตลอดจนจดุ ออ น
และขอ บกพรอ ง พรอ มทง้ั วธิ แี กไ ขภยั อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ขนึ้ หรอื บรรเทาขอ บกพรอ งทเ่ี กดิ ขน้ึ ตลอดจน
ใหขอเสนอแนะอนื่ ที่จะชวยเสริมมาตรการ

๓๖

อน่ึง เมือ่ หนว ยงานของรัฐประสงคใ หม าตรการการรักษาความปลอดภัยสถานทเี่ ปน ไป
อยางมีประสทิ ธิภาพ ครบถว น สมบูรณ ผบู ังคบั บัญชาแตล ะระดับชน้ั ตอ งใหความสนใจและใหค วาม
สําคัญ การแตงต้ังผูรับผิดชอบโดยตรงเปนส่ิงท่ีตองดําเนินการอยางชัดเจน ทั้งมอบอํานาจสั่งการ
ดานการรักษาความปลอดภัย โดยประกาศใหเปนที่รับทราบโดยท่ัวถึงภายในหนวยงาน เพ่ือใหผูรับ
หนาท่ีการรักษาความปลอดภัยสามารถควบคุม ดูแลใหการปฏิบัติตามมาตรการการรักษาความ
ปลอดภัย โดยเฉพาะในดานสถานท่ีเปน ไปอยางถกู ตอ งเรยี บรอ ย

¡Å‹ÁØ º¤Ø ¤Å·Õèà¡èÂÕ Ç¢ŒÍ§¡ºÑ ¾×é¹·ÃÕè Ñ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

เพ่ือใหเกิดความชัดเจนเก่ียวกับกลุมบุคคล และหนาที่ท่ีแตละกลุมจะตองกระทํา
ในการรักษาความปลอดภัยสถานที่ขณะเขามาอยูในพื้นที่ของหนวยงาน จึงแบงประเภทของบุคคล
ออกเปนกลุมดงั นี้

ñ. ¼Œ·Ù èÁÕ Õ˹Ҍ ·è¤Õ ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ªÍºâ´Âμçà¡èÕÂǡѺ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂʶҹ·èÕ
ñ.ñ ਌Ò˹ŒÒ·Õè¤Çº¤ØÁ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ เปนผูท่ีไดรับมอบหมายและมี

อาํ นาจในการดาํ เนนิ การแทนหวั หนา หนว ยงานของรฐั เกยี่ วกบั การรกั ษาความปลอดภยั สถานทภ่ี ายใน
หนวยงาน

ñ.ò ਌Ò˹ŒÒ·ÕèÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ คือ เจาหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายใหควบคุม
ดูแลการรักษาความปลอดภัยตามระเบียบปฏิบัติที่แตละหนวยงานของรัฐกําหนดข้ึน และอยูภายใต
การควบคมุ ของเจาหนาทค่ี วบคมุ การรกั ษาความปลอดภยั ประกอบดว ย

๑) เจา หนาที่สวนงานรักษาความปลอดภัยประจําหนว ยงานของรฐั นนั้
๒) เจาหนาท่ีจากสวนงานอื่นท่ีไดรับมอบหมายภารกิจรักษาความปลอดภัย
เพ่ิมข้ึนอีกหนาท่ีหนึ่ง ซึ่งการมอบหมายน้ีตองออกเปนคําส่ังภายใน โดยหัวหนาหนวยงานมอบให
เจา หนา ท่คี วบคมุ การรักษาความปลอดภยั เปน ผดู ําเนนิ การแทน
ñ.ó ÂÒÁÃ¡Ñ ÉÒ¡Òó ไดแ ก
๑) ลูกจางประจําภายในหนวยงานของรัฐ ซึ่งสวนใหญเปนตําแหนงประจําที่
กาํ หนดใหท ําหนาทย่ี ามรกั ษาการณโ ดยเฉพาะ
๒) พนกั งานจากบรษิ ทั รกั ษาความปลอดภยั เอกชน ซงึ่ หนว ยงานของรฐั จดั จา ง
๓) สําหรับหนวยงานความม่ันคงของชาติ ควรขอรับการสนับสนุนกําลังจาก
สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ เพราะเจา หนา ทตี่ าํ รวจมอี าํ นาจหนา ทต่ี ามกฎหมาย สามารถทาํ การตรวจคน
หรอื เขาควบคมุ ตัวบคุ คลทต่ี อ งสงสัย เพอื่ ใหเ จา หนา ทต่ี าํ รวจทองถน่ิ มาดําเนินการตอ ไป
ò. ¼Ù·Œ μèÕ ŒÍ§»¯ÔºμÑ μÔ ÒÁÃÐàºÂÕ º¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂʶҹ·ÕèÀÒÂã¹Ë¹Ç‹ §ҹ
๒.๑ เจาหนาทีภ่ ายในหนว ยงานของรัฐน้นั
๒.๒ ผูมาปฏบิ ตั ิงานภายในพน้ื ทีห่ นวยงานของรฐั แบงออกเปน

๓๗

๑) ผูปฏิบัติงานประจํา เชน บุคคลท่ีไดรับการวาจางจากหนวยงานของรัฐ
ใหเขา มาปฏบิ ตั งิ าน พนักงานทาํ ความสะอาดจากบริษทั เอกชน ผูประกอบการรานอาหาร

๒) ผเู ขา มาปฏบิ ตั งิ านชว่ั คราว เชน คนงานกอ สรา ง พนกั งานซอ มบาํ รงุ เครอ่ื งมอื
อปุ กรณหรือสาธารณูปโภค นกั เรยี นนักศึกษาท่ีเขา มารับการฝกงาน

๒.๓ ผมู าตดิ ตอ คอื บคุ คลทวั่ ไปทมี่ กี จิ ตอ งเขา มาตดิ ตอ กบั สว นงานภายใน เจา หนา ที่
นําสารจากหนว ยงานของรัฐอนื่ ๆ บุรษุ ไปรษณีย

¡Òû¯ÔºÑμÔμÒÁÁÒμðҹ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ Ê¶Ò¹·èÕ

อาคารสถานทที่ รพั ยส นิ มคี า ของแผน ดนิ และความลบั ของทางราชการ รวมถงึ บคุ คลสาํ คญั
ของหนว ยงาน อาจเปน เปา หมายของการโจรกรรม การจารกรรม การกอ วนิ าศกรรม และการกอ การรา ยได
ดังน้ันจึงจําเปนตองวางมาตรการการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานที่เพ่ือพิทักษรักษาบุคคล
และทรพั ยส นิ ของทางราชการใหปลอดภยั หรอื ขัดขวาง หนว งเหนีย่ วการดาํ เนินการของฝายตรงขาม
มิใหส ัมฤทธ์ผิ ล หรือมผี ลเสยี หายตอ หนวยงานนอยที่สดุ และยังตอ งประสานสอดคลอ งกับมาตรการ
ปองกันภัยทางธรรมชาติ รวมถึงอุบัติภัยดวย ดังน้ัน หนวยงานของรัฐตองกําหนดแผนการรักษา
ความปลอดภยั เกย่ี วกบั สถานทข่ี องหนว ยงานตนเอง โดยสาํ รวจการรกั ษาความปลอดภยั เกย่ี วกบั สถานที่
ของหนวยงานกอน จากนั้นจึงนําผลจากการสํารวจเปนขอมูลพ้ืนฐานประกอบในการกําหนดแผน
ซึ่งแผนดังกลาวนี้เปนเร่ืองที่ตองปฏิบัติเปนกิจวัตร หนวยงานเจาของแผนจึงตองพิจารณา ปรับปรุง
แกไขแผนใหมีประสิทธิภาพอยูตลอดเวลา การกําหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับ
สถานที่ตองคํานึงถงึ หลักการดังน้ี

ñ. กํา˹´¾¹é× ·Õè·ÁÕè ¡Õ ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ
การกําหนดพื้นท่ีที่มีการรักษาความปลอดภัย เพื่อเปนการปองกันผูไมมีอํานาจ

หนาท่ี หรือผูไมประสงคดีเขาไปในพื้นท่ี โดยดําเนินการน้ีตองมีการเฝาตรวจผูท่ีจะเขามาในพ้ืนท่ี
ตองมกี ารพิสจู นทราบวา ผูท ่จี ะเขา มาเปน ใคร มีวตั ถุประสงคใด มสี ทิ ธมิ อี าํ นาจ หนาทีห่ รือไม เปนภัย
หรือไม ตองมีการขัดขวาง หากผูท่ีจะเขามาในพื้นท่ีเปนผูท่ีไมมีอํานาจ หนาที่ หรืออาจเปนภัยได
พื้นท่ีหรือบริเวณของสวนราชการตาง ๆ ควรกําหนดขอบเขตใหชัดเจนวาพ้ืนที่ใดควรไดรับการรักษา
ความปลอดภยั เปนพเิ ศษ โดยแบงพ้นื ที่ดังนี้

ñ.ñ ¾é¹× ·èդǺ¤ØÁ คือ พืน้ ท่ีโดยรวมของหนว ยงานอยูภายในขอบเขตของพน้ื ท่ีทม่ี ี
การรักษาความปลอดภยั ทงั้ หมด ตองมีระเบยี บการควบคมุ บุคคลและยานพาหนะเพื่อชวยกลั่นกรอง
ในช้ันหนึ่งกอน มาตรการที่ใชควบคุมการผานเขา – ออก เชน การออกบัตรผาน และ/หรือบันทึก
การผานเขา - ออกของบคุ คลและยานพาหนะ

ñ.ò ¾¹é× ·ËÕè ǧËÒŒ Á คอื พนื้ ทท่ี มี่ กี ารพทิ กั ษร กั ษาสง่ิ ทเี่ ปน ความลบั ตา ง ๆ ตลอดจน
บคุ คลสาํ คัญ ทรัพยสนิ ของทางราชการ ซ่งึ แบง พ้ืนทหี่ วงหามออกเปนดงั น้ี

๓๘

ñ.ò.ñ à¢μËǧˌÒÁ੾ÒÐ เชน พ้นื ท่ีซงึ่ พทิ ักษรักษาส่งิ ทเี่ ปนความลับ วัสดุ
อุปกรณท ่สี าํ คญั บุคคลสาํ คัญ ตองมีการตรวจสอบบคุ คลทเ่ี ขาถึงอยางเขมงวด

ñ.ò.ò à¢μËǧËÒŒ Áà´´ç ¢Ò´ เชน พน้ื ทซี่ งึ่ มสี งิ่ ทเ่ี ปน ความลบั ตลอดจนบคุ คล
ที่มีความสําคัญยิ่ง บุคคลที่ไดรับอนุญาตใหเขาไปใน “เขตหวงหามเด็ดขาด” ตองไดรับการไววางใจ
ตามชั้นความลับที่เหมาะสม และใชมาตรการเสริมเพ่ิมเติม เชน บัตรผานเขา-ออก จะตองใชเฉพาะ
การผา นเพียงครงั้ เดียว และมกี ารบนั ทกึ การเขา-ออก ทุกคร้ัง

ò. ¡ÒÃÇÒ§Ãкº»Í‡ §¡Ñ¹·Ò§´ÒŒ ¹ÇÑμ¶Ø
เปน มาตรการหนว งเหนย่ี ว จาํ กดั ขดั ขวางการรกุ ลา้ํ หรอื ปอ งปราม เพอ่ื ใหเ จา หนา ที่

รกั ษาความปลอดภยั มโี อกาสตรวจสอบ พสิ จู นท ราบ และขดั ขวาง หากมกี ารบกุ รกุ การปอ งกนั ทางวตั ถุ
ประกอบดว ย

ò.ñ à¤ÃÍè× §¡´Õ ¢ÇÒ§ แบง ไดเ ปน
๑) เครอ่ื งกดี ขวางตามธรรมชาติ เชน แมน ้ํา ลาํ คลอง เปน ตน อาจพจิ ารณา

ดดั แปลง หรือปรับปรงุ ใหใ ชประโยชนเ ปนเคร่อื งกีดขวางได
๒) เครอ่ื งกดี ขวางทปี่ ระดษิ ฐข นึ้ เชน รว้ั เครอ่ื งกดี ขวางบรเิ วณชอ งทางเขา -ออก

เชน แผงกั้น ลอเลือ่ น แขนกั้นยานพาหนะ เปน ตน
ò.ò ¡ÒÃãËŒáʧÊÇ‹Ò§ เพื่อใหมาตรการการรักษาความปลอดภัยสถานท่ีมี

ประสทิ ธภิ าพ การใหแ สงสวา ง เพอ่ื จะใหม องเหน็ บรเิ วณรว้ั และเขตหวงหา มตา ง ๆ โดยชดั เจนในเวลามดื
จะไดม องเหน็ ผทู ีบ่ กุ รกุ เขา มาในสถานที่

ó. Ãкº¡ÒÃμ´Ô μÍ‹ Ê×Íè ÊÒÃáÅÐÃкºÊÑÞÞҳᨧŒ ÀÑÂ
ระบบการตดิ ตอ สอ่ื สารและสญั ญาณแจง ภยั จะชว ยใหก ารตดิ ตอ อาํ นวยการ ควบคมุ

สถานการณ ตลอดจนรายงานผลการดําเนินการเปนไปไดอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณ และมี
ประสทิ ธิภาพ ระบบการตดิ ตอสอ่ื สาร เชน โทรศัพทวทิ ยสุ ื่อสาร เปน ตน ตอ งสามารถติดตอ เจา หนาท่ี
ผูบังคับบัญชา เพ่ือรายงานเหตุการณ รวมทั้งติดตอหนวยงานอ่ืน เพ่ือระงับยับย้ัง และบรรเทาเหตุ
ทเ่ี กดิ ขึน้

ระบบสัญญาณแจงภัย เชน เคร่อื งมอื ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ไฟฟา เคร่ืองกล เปนตน
ท่ีทําใหเกิดสัญญาณเม่ือมีผูบุกรุก หรือเกิดเหตุอ่ืน ๆ เชน สัญญาณจับควัน สัญญาณจับคล่ืน
ความรอน เปนตน

ô. ¡ÒäǺ¤ÁØ ºØ¤¤ÅáÅÐÂÒ¹¾Ò˹Ð
เปนภารกิจหลักของการรักษาความปลอดภัยสถานท่ี ผูรับผิดชอบตองตรวจสอบ

บุคคล และยานพาหนะอยางละเอียด รอบคอบ ถี่ถวน เพื่อใหแนใจวาผูท่ีผานเขามาในพ้ืนที่มีสิทธ์ิ
ท่จี ะผานเขา มา และไมก อเหตุละเมดิ การรักษาความปลอดภยั

๓๙

ô.ñ ¡ÒäǺ¤ÁØ ºØ¤¤Å
บตั รผา น และปา ยแสดงตน เปน หลกั ฐานแสดงสถานะตอ เจา หนา ทร่ี กั ษาการณ

ขณะผานจุดตรวจ หรือชองทางเขา-ออก ท้ังนี้ถือเปนการแสดงวามีสิทธิในการผานเขา-ออก และ
การเขาถึงพน้ื ท่ีท่ีมกี ารรกั ษาความปลอดภัยได

๑) บตั รผา น คอื บตั รทหี่ นว ยงานของรฐั ออกใหส าํ หรบั บคุ คล และยานพาหนะ
ของผูท่ีปฏิบัติงานอยูในพื้นที่น้ัน และบุคคลภายนอกท่ีตองเขามาติดตอเปนการชั่วคราว โดยให
เจา หนาที่รักษาการณท ําการบนั ทกึ หลกั ฐาน ตรวจสอบ และมอบบัตรผา น ใหใ ชใ นการผา นเขา-ออก
ในแตล ะครัง้

๒) ปา ยแสดงตน คอื หลกั ฐานใชค วบคมุ บคุ คล ใชส าํ หรบั บคุ คลทง้ั ภายใน และ
ภายนอก เพือ่ แสดงสถานะในการเขา ในพืน้ ที่ที่มกี ารรกั ษาความปลอดภยั ปายแสดงตน ตอ งแสดงไว
ใหเ หน็ เดนชดั ตลอดเวลาทอ่ี ยใู นพนื้ ท่ี

๓) บันทึกหลักฐานการผานเขา-ออก เปนมาตรการควบคุมเสริมจากการใช
บัตรผา น หรอื บตั รแสดงตน โดยจดั ใหม ีเจาหนา ทบี่ ันทึกหลักฐานสาํ หรับบุคคลทผี่ า นเขา -ออกในพ้ืนท่ี
ท่ีมีการรักษาความปลอดภัย โดยใหมีการจดบันทึกรายละเอียดเชนกัน สวนบุคคลภายนอกในกรณี
ผูม าประชุม ติดตอราชการ หรอื พบปะเจาหนา ทีข่ องหนวยงาน โดยใหมรี ายละเอยี ด เชน ชอ่ื ทอ่ี ยู
ของผูท ผ่ี า นเขา-ออก หนว ยงานทสี่ ังกดั วัน เวลา ทผี่ า นเขา-ออก ชอื่ ผทู ี่มาติดตอ เหตุผลในการผาน
เขา -ออกพนื้ ที่

ô.ò ¡ÒäǺ¤ØÁÂÒ¹¾Ò˹Ð
การควบคมุ ยานพาหนะ หมายรวมถึง การควบคุมทง้ั บุคคลและสง่ิ ของตา ง ๆ

บนยานพาหนะดวย ยานพาหนะท่ีไดรับการอนุญาตใหผานเขาไปในพ้ืนท่ีควรกําหนดเสนทางและ
ทจี่ อดรถทัง้ ของเจา หนา ท่ภี ายในและบุคคลภายนอกใหช ัดเจน

การบนั ทึกหลกั ฐานยานพาหนะที่เขา-ออก ควรมีรายละเอยี ดดังตอ ไปน้ี
๑) วนั เวลา ที่ยานพาหนะผา นเขา-ออก
๒) ช่ือผขู บั ข่ี และช่อื ผโู ดยสาร
๓) ประเภท ชนดิ สี เลขทะเบียนยานพาหนะ
๔) ลักษณะ และจํานวนสงิ่ ของบนยานพาหนะนนั้
๕) วตั ถปุ ระสงคก ารเขา พนื้ ที่ควบคมุ
õ. Ãкº¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¡Òó
๕.๑ ระบบการรักษาการณ คือ การจัดและกําหนดเจาหนา ท่ีรกั ษาความปลอดภัย
เจา หนา ทเี่ วรรกั ษาความปลอดภยั ประจาํ วนั นายตรวจเวร เจา หนา ทรี่ กั ษาการณ และหรอื ยามรกั ษาการณ
ปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัยสถานท่ีตามหวงระยะเวลาที่กําหนด และใหรูจักการใชเครื่องมือ
อุปกรณเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ตลอดจนสนใจขาวสารที่อาจสงผลกระทบเปนภัย
ตอหนวยงาน

๔๐

๕.๒ กําลังและขีดความสามารถของเจาหนาที่รักษาการณหรือยามรักษาการณ
เพียงพอกับการปฏิบัติหนาที่ตามความสําคัญของสถานที่ของสวนราชการน้ันๆ หรือไมมีการแกไข
ทดแทน หรอื ปรบั ปรงุ จดุ ออ นเกย่ี วกบั เรอ่ื งนด้ี ว ยวธิ ใี ด มกี ารประสานแผนการรกั ษาความปลอดภยั กบั
สวนราชการอืน่ ท่ีเกย่ี วขอ งหรือไม

๕.๓ ตอ งมกี ารคดั เลอื ก ตรวจสอบประวตั แิ ละพฤตกิ ารณ เพอื่ สรรหาตวั บคุ คลทท่ี าํ
หนา ท่ีเจา หนาท่ีรกั ษาการณ หรือยามรักษาการณ โดยพจิ ารณาจากคุณสมบัตดิ า นคุณธรรม จริยธรรม
และสมรรถนะทางรางกาย

๕.๔ ตองมีการกํากับดูแลโดยเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัยของหนวยงานน้ัน ๆ
ดว ยวิธกี ารดังตอไปนี้

๕.๔.๑ การกาํ กบั ดแู ลโดยบคุ คล หมายถงึ การตรวจการปฏบิ ตั งิ านโดยหวั หนา
เจา หนาที่รักษาการณต ามลําดบั ชน้ั การตรวจจะทาํ ตง้ั แตก อ นเริม่ ปฏบิ ตั ิหนาที่ ตรวจสภาพทว่ั ไปของ
เคร่ืองมือ อุปกรณอาวุธ ทบทวนคําสั่ง และระเบียบของสถานที่น้ัน ตรวจตามระยะเวลาระหวาง
การปฏบิ ัติหนาท่ี เพื่อดคู วามพรอม ความเครง ครดั ความตืน่ ตวั ในการปฏิบตั ิหนาที่

๕.๔.๒ การกาํ กบั ดแู ลโดยเครอ่ื งมอื เปน การใชเ ครอื่ งมอื หรอื วธิ กี ารทเี่ สมอื น
บังคบั ใหเ จาหนาท่รี ักษาการณตองปฏบิ ัตติ ามระยะเวลาทท่ี าํ หนาที่ เคร่อื งมอื และวิธีการมดี ังน้ี

๑) บนั ทกึ การปฏบิ ตั โิ ดยใชแ บบฟอรม รายงานการปฏบิ ตั ใิ หเ จา หนา ที่
รักษาการณเ ปน ผลู งบันทึกตามจุด และเวลาท่กี าํ หนดไว

๒) ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงาน โดยเคร่อื งมอื สื่อสาร เชน วทิ ยุสอ่ื สาร
โทรศัพทและสัญญาณอ่ืน ๆ ที่สามารถส่ือความหมายไดโดยหัวหนาเจาหนาที่รักษาการณหรือ
เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภยั ของหนวยงานเปนผตู รวจสอบ

๕.๕ ตองมีการฝกอบรมและพัฒนาเจาหนาท่ีรักษาการณและหรือยามรักษาการณ
เพ่ือใหการปฏิบัติหนาที่มีประสิทธิภาพ ใหตระหนักถึงภยันตรายที่อาจเกิดข้ึนแกหนวยงาน
สรา งจติ สาํ นกึ ในการรกั ษาความปลอดภยั ฝก ทบทวน การใชเ ครอ่ื งมอื อาวธุ อปุ กรณต า ง ๆ ตลอดจน
ทดสอบความสามารถ วินัยในการปฏิบัตหิ นา ท่ี

ö. ¡Òû͇ §¡¹Ñ áÅÐÃЧºÑ Í¤Ñ ¤ÀÕ ÑÂ
หวั หนา สว นราชการตอ งกาํ หนดแผนปอ งกนั และระงบั อคั คภี ยั โดยมเี จา หนา ทค่ี วบคมุ

การรกั ษาความปลอดภยั ของหนว ยงานเปน ผกู าํ หนดรายละเอยี ดและกาํ กบั ดแู ลใหเ ปน ไปตามกฎหมาย
เก่ียวกับการปอ งกันและระงับอคั คภี ัย ในแตละหนว ยงานควรพจิ ารณาดงั น้ี

๖.๑ เจา หนา ทีด่ ับเพลิง ควรกําหนดตวั บุคคลและหนา ทค่ี วามรับผิดชอบใหชดั เจน
๖.๑.๑ ในเวลาราชการ ใหแบงกลุมเจาหนาที่รับผิดชอบดานตาง ๆ เชน

กลมุ ทที่ าํ หนา ทดี่ บั เพลงิ กลมุ ทที่ าํ หนา ทข่ี นยา ยเอกสารและวสั ดอุ ปุ กรณต า ง ๆ กลมุ ทที่ าํ หนา ทคี่ น หา
ตรวจตราผทู ีห่ ลงเหลือในอาคาร เปน ตน

๔๑

๖.๑.๒ นอกเวลาราชการ เปน หนา ทข่ี องเจา หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั และ
เจา หนา ที่รักษาการณ และหรอื ยามรกั ษาการณประจาํ วันทหี่ นว ยงานกาํ หนดขึ้นเปนผูร บั ผิดชอบ

๖.๒ การจัดเตรียมอุปกรณในการดับเพลิง
๖.๒.๑ สญั ญาณแจง เหตุเพลิงไหม
๖.๒.๒ เคร่ืองมือดับเพลิงช้ันตน เชน นํ้า ทราย ถัง เชือก ขวาน เปนตน

อปุ กรณถงั เคมีดบั เพลิงทีเ่ หมาะสมกบั เพลิงไหมทุกประเภท
๖.๒.๓ ตาํ แหนง ท่ีติดตั้งควรอยูใ นตําแหนง ทมี่ องเห็นไดช ดั เจน และสามารถ

นําไปใชไดสะดวก
๖.๒.๔ ตรวจสอบอุปกรณทุกชนิดใหอยูในสภาพทใ่ี ชง านได
๖.๒.๕ หมายเลขโทรศัพทของหนวยงานดับเพลงิ ท่ตี ิดตอ ไดส ะดวก รวดเร็ว

๖.๓ การฝก อบรมเรอื่ งการดบั เพลงิ ใหจ ดั ทาํ แผนปอ งกนั และระงบั อคั คภี ยั เสน ทาง
หนไี ฟ และอบรมใหเ จา หนา ทที่ กุ คนในหนว ยงานระมดั ระวงั ปอ งกนั การเกดิ อคั คภี ยั ฝก ซอ มใหม คี วามรู
ความชาํ นาญในการดบั เพลงิ เบอื้ งตน การหนไี ฟตามแผน โดยเจา หนา ทคี่ วรมคี วามรใู นเรอ่ื งตา ง ๆ ดงั นี้

๖.๓.๑ ประเภทของเพลิง เชน จากวัสดุธรรมดา นํ้ามันเช้ือเพลิง วัตถุเคมี
กระแสไฟฟาลัดวงจร เปน ตน

๖.๓.๒ เครอ่ื งมืออปุ กรณท่ใี ชในการดบั เพลงิ ตาํ แหนงทตี่ ัง้ วธิ ีการใช
๖.๓.๓ การติดตอส่ือสาร แจงเหตุ แผนผังอาคาร เสนทางเคล่ือนยาย
เสนทางหนไี ฟ
๖.๓.๔ หมายเลขโทรศพั ทห นว ยดับเพลงิ
÷. ÍØ»¡Ã³à ÊÃÔÁÁÒμáÒáÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ
การติดต้ังอุปกรณเสริมมาตรการการรักษาความปลอดภัย หนวยงานของรัฐควร
พิจารณาตามความเหมาะสม เชน ระบบกลองโทรทัศนวงจรปด ซ่ึงควรมีผูรับผิดชอบในการควบคุม
เฝาดู และตรวจสอบใหอยใู นสภาพใชง านไดตลอดเวลา เปนตน

คาํ á¹Ðนํา㹡ÒÃÊѧà¡μÇÑμ¶μØ ÍŒ §Ê§ÊÑ·è¤Õ Ò´ÇÒ‹ ÍÒ¨¨Ð໹š ÇμÑ ¶ØÃÐິÔ

โดยปกตแิ ลว ระเบดิ แสวงเครอ่ื งมลี กั ษณะเหมอื นกบั วสั ดหุ รอื ของใชท วั่ ไป ทาํ ใหก ารสงั เกต
หรอื การพสิ จู นว า เปน ระเบดิ แสวงเครอื่ งนนั้ ทาํ ไดย าก แตป ระชาชนทวั่ ไปสามารถสงั เกตเบอ้ื งตน ไดจ าก
ลกั ษณะ ดังนี้

๑. เปนวัตถุที่ไมมีเจา ของ หรือหาเจาของไมพ บ
๒. เปนวัตถุที่มีลักษณะภายนอกผิดไปจากรูปเดิม เชน กลองมีรองรอยเปรอะเปอน
มรี อยยบั หรือมีสที ีเ่ ปล่ยี นแปลงไป
๓. เปน วตั ถทุ ี่ควรจะอยูใ นท่อี น่ื มากกวา จะอยตู รงน้ัน
๔. เปน วตั ถุท่ีไมเ คยพบเห็น ณ ท่ตี รงนน้ั มากอน

๔๒

ถา มขี อ ผดิ สงั เกตดงั กลา วใหน กึ ไวเ สมอวา “ÇμÑ ¶´Ø §Ñ ¡ÅÒ‹ ǹ¹éÑ ÍÒ¨¨Ð໹š ÃÐàº´Ô áÊǧà¤ÃÍ×è §”
àÁÍè× ¾ºÇμÑ ¶μØ ÍŒ §Ê§ÊÂÑ ´Ñ§¡ÅÒ‹ ÇãËŒ»¯ºÔ μÑ ´Ô ѧ¹éÕ
๑. หามจับตอ ง หยิบ ยกเคลอ่ื นยาย ทาํ ใหสนั่ สะเทอื นหรอื เคลอ่ื นไหวโดยเด็ดขาด
๒. สอบถามหาเจา ของหรอื วตั ถตุ อ งสงสยั หากไมม ผี ใู ดแสดงตนเปน เจา ของใหส นั นษิ ฐาน
กอนวาวัตถุตองสงสยั อาจจะเปนวัตถุระเบิด
๓. จดจําลักษณะทว่ั ไปของวัตถตุ องสงสัย เชน ขนาด รูปรา ง มเี สยี งการทาํ งาน มสี าย
ไฟฟา และบรเิ วณทพ่ี บเหน็ เพอ่ื เปน ขอมลู แกเ จาหนา ทเี่ กบ็ กวู ัตถุระเบดิ
๔. แจงผูรับผิดชอบสถานท่ีที่พบเห็นวัตถุตองสงสัยทราบเพื่อแจงเจาหนาที่บานเมือง
ตอ ไป
๕. อพยพผูคนออกจากอาคารสถานที่น้ันโดยดวน ดวยวิธีนุมนวลเพื่อไมใหเกิดการ
ต่ืนกลวั
๖. กําหนดเขตอันตรายและปองกันบุคคลท่ีไมเก่ียวของโดยประมาณจากขนาดของ
วตั ถุตอ งสงสัยโดยปดกน้ั ระยะตง้ั แต ๑๐๐-๔๐๐ เมตร
๗. ผพู บเห็นวตั ถตุ อ งสงสยั ใหรอใหขอมลู กบั เจา หนา ท่ีเก็บกูวตั ถุระเบิด
¡Òè´Ñ àμÃÂÕ ÁÍØ»¡Ã³ÊíÒËÃºÑ ¡Òû͇ §¡¹Ñ ÇμÑ ¶ØÃÐàº´Ô ËÃ×ÍÇμÑ ¶μØ ÍŒ §Ê§ÊÑÂ
๑. ยางนอกรถยนตที่ใชแลวที่มีน้ําหนักพอสมควร ๕-๖ เสน สําหรับใชครอบปองกัน
วัตถุระเบิดหรอื กลอ งตองสงสัย
๒. กระสอบทรายกวา ง ๑ ฟตุ ยาว ๑.๕ ฟุต จาํ นวน ๑๐-๒๐ ลกู สาํ หรับวางลอมรอบ
วตั ถตุ องสงสยั หรือเพ่อื ปองกนั สะเก็ดระเบิด
๓. เชือกสําหรับขึงปองกันหามไมใหผูไมมีหนาท่ีเก่ียวของเขาไปรบกวนกรณีพบ
วตั ถรุ ะเบิด เลือกชนดิ ทม่ี สี เี ห็นไดช ัดหรอื ใชผา สสี ม สีแดงผกู ไวห ลายๆ จดุ บนเชือก
๔. ปายเตือนอันตรายท่ีมีขนาดเห็นไดชัดเขียนขอความอันตรายหามเขาติดไวกับเชือก
ท้ัง ๔ ดา น หรือเขียนไวใ หเหน็ เดนชัดตามชอ งทางหรอื เสน ทางใกลเคยี งทีเ่ กดิ เหตุ
๕. นา้ํ ยาดบั เพลงิ หรอื อปุ กรณด บั เพลงิ ควรมไี วใ หพ อเพยี งและฝก ฝนใหผ มู หี นา ทเ่ี กยี่ วขอ ง
อยางสมํ่าเสมอ ซกั ซอ มใกลเคยี งและเตรียมการติดตอ กับหนวยงานทีเ่ ก่ียวของโดยทางโทรศพั ท เชน
หนวยพยาบาล หนว ยไฟฟา สถานีตาํ รวจใกลเ คยี ง

๔๓

(¼§Ñ ÀÒ¾·èÕ ñ)

๔๔

(¼§Ñ ÀÒ¾·èÕ ò)

๔๕

ÀÒ¤¼¹Ç¡

๔๗

¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ Ô
¢ŒÍÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒâͧÃÒª¡ÒÃ

¾.È.òõôð
ÀÁÙ Ô¾ÅÍ´ÅØ Âà´ª ».Ã.

ãËäŒ ÇŒ ³ Çѹ·èÕ ò ¡Ñ¹ÂÒ¹ ¾.È.òõôð
໚¹»‚·èÕ õò ã¹ÃѪ¡ÒÅ»˜¨¨Øº¹Ñ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดว ยขอมลู ขา วสารของราชการ
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ขิ นึ้ ไวโ ดยคาํ แนะนาํ และยนิ ยอมของ
รฐั สภาดังตอไปน้ี
ÁÒμÃÒ ñ พระราชบัญญัติน้ีเรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ
พ.ศ.๒๕๔๐”
ÁÒμÃÒ ò พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศ
ในราชกจิ จานุเบกษาเปน ตนไป
ÁÒμÃÒ ó บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอบังคับอ่ืน ในสวนที่บัญญัติไวแลว
ในพระราชบญั ญัตินี้ หรอื ซ่ึงขดั หรือแยง กับบทแหงพระราชบัญญตั นิ ใ้ี หใชพระราชบญั ญตั นิ ีแ้ ทน
ÁÒμÃÒ ô ในพระราชบญั ญัตนิ ี้
“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา ส่ิงที่สื่อความหมายใหรูเร่ืองราวขอเท็จจริง ขอมูล
หรือสิ่งใดๆ ไมวาการส่ือความหมายน้ันจะทําไดโดยสภาพของส่ิงนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ
และไมว าจะไดจ ดั ทําไวในรปู ของเอกสาร แฟม รายงาน หนงั สือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย
ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอรหรือวิธีอ่ืนใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึกไว
ปรากฏได

๔๘

“ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครอง
หรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเก่ียวกับการดําเนินงานของรัฐ
หรือขอมลู ขา วสารเก่ียวกับเอกชน

“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการ
สวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเก่ียวกับการพิจารณา
พิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและหนวยงานอ่ืนตามที่
กาํ หนดในกฎกระทรวง

“เจาหนาที่ของรฐั ” หมายความวา ผูซ ง่ึ ปฏบิ ตั ิงานใหแกหนว ยงานของรัฐ
“ขอมูลขาวสารสว นบคุ คล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกย่ี วกับส่ิงเฉพาะตวั ของบคุ คล
เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน บรรดา
ที่มีช่ือของผนู ัน้ หรือมีเลขหมาย รหัส หรอื สง่ิ บอกลกั ษณะอนื่ ทีท่ าํ ใหร ตู วั ผนู ้นั ได เชน ลายพมิ พน้ิวมอื
แผน บนั ทกึ ลกั ษณะเสยี งของคนหรอื รปู ถา ย และใหห มายความรวมถงึ ขอ มลู ขา วสารเกย่ี วกบั สงิ่ เฉพาะตวั
ของผทู ถี่ ึงแกกรรมแลว ดว ย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมลู ขาวสารของราชการ
“คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาท่ีไมมีสัญชาติไทยและไมมีถ่ินที่อยูใน
ประเทศไทย และนิติบคุ คลดงั ตอไปน้ี
(๑) บริษัทหรือหางหุนสวนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออก
ใหแ กผ ถู ือ ใหถ อื วา ใบหนุ นั้นคนตางดา วเปน ผถู ือ
(๒) สมาคมทมี่ ีสมาชกิ เกนิ กึ่งหนึง่ เปนคนตางดา ว
(๓) สมาคมหรือมูลนิธิทม่ี ีวตั ถุประสงคเ พอื่ ประโยชนของคนตางดา ว
(๔) นิตบิ คุ คลตาม (๑) (๒) (๓) หรอื นิติบุคคลอื่นใดทม่ี ีผจู ัดการหรอื กรรมการเกนิ ก่งึ หน่ึง
เปนคนตางดาว
นติ บิ คุ คลตามวรรคหนง่ึ ถา เขา ไปเปน ผจู ดั การหรอื กรรมการ สมาชกิ หรอื มที นุ ในนติ บิ คุ คลอนื่
ใหถ ือวาผูจัดการหรอื กรรมการ หรอื สมาชกิ หรอื เจาของทนุ ดงั กลา วเปนคนตา งดาว
ÁÒμÃÒ õ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกกฎ
กระทรวง เพอื่ ปฏิบัตติ ามพระราชบญั ญัตนิ ้ี
กฎกระทรวงนนั้ เมอื่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
ÁÒμÃÒ ö ใหจัดต้ังสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการขึ้นในสังกัด
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี มีหนาท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับงานวิชาการและธุรการใหแก
คณะกรรมการและคณะกรรมการวนิ ิจฉัยการเปด เผยขอมูลขาวสาร ประสานงานกับหนว ยงานของรฐั
และใหคําปรกึ ษาแกเ อกชนเกีย่ วกับการปฏิบัติตามพระราชบญั ญตั นิ ี้


Click to View FlipBook Version