The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:19:19

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

๙๙

เลม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๖๗ ง หนา ๒ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔
ราชกิจจานุเบกษา

(๑๑) เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนกรรมการ
(๑๒) เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เปนกรรมการ
(๑๓) ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ เปนกรรมการ
(๑๔) ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เปนกรรมการ
(๑๕) ผูบัญชาการทหารบก เปนกรรมการ
(๑๖) ผูบัญชาการทหารเรือ เปนกรรมการ
(๑๗) ผูบัญชาการทหารอากาศ เปนกรรมการ
(๑๘) เลขาธิการกองอํานวยการ
รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร เปนกรรมการ
(๑๙) เจากรมขาวทหาร เปนกรรมการ
(๒๐) ผูอํานวยการสํานักงานคณะกรรมการ
ขอมูลขาวสารของราชการ เปนกรรมการ
(๒๑) เลขาธิการสภาความม่ันคงแหงชาติ เปนกรรมการและเลขานุการ
(๒๒) ผูอํานวยการสํานักขาวกรองแหงชาติ เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ
(๒๓) ผูบัญชาการศูนยรักษาความปลอดภัย เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ
(๒๔) ผูบัญชาการกองบัญชาการตํารวจสันติบาล เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ”

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี

๑๐๐

เลม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๘๕ ง หนา ๑ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

ÃÐàºÕºสํา¹Ñ¡¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕ

Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂáË‹§ªÒμÔ (©ºÑº·èÕ ó)
¾.È. òõöð

โดยทปี่ จ จบุ นั ความเจรญิ ทางเทคโนโลยมี กี ารพฒั นาไปอยา งรวดเรว็ รวมทงั้ สภาพแวดลอ ม
และภัยคุกคามในดานตาง ๆ ไดเปล่ียนแปลงรูปแบบไปอยางมาก ประกอบกับตามระเบียบที่กําหนด
ใหมีการทบทวนการปฏิบัติอยางนอยทุกหาป สมควรแกไขเพ่ิมเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ เพ่ือปรับปรุงมาตรการดานการรักษาความปลอดภัย
ในหนวยงานของรัฐใหเหมาะสมและสอดคลองกับขอเท็จจริงดังกลาว

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดนิ
พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีออกระเบียบไว ดังตอไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษาความปลอดภัย
แหงชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐”

ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ใหยกเลิกความใน (๒) ของบทนิยามคําวา “ท่ีสงวน” ในขอ ๔ แหงระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปน้ีแทน
“(๒) ชมุ ทางการขนสง ทางรางทกุ ระบบ โรงงาน และสถานทผี่ ลติ และจา ยนา้ํ หรอื กระแสไฟฟา
อันเปนสาธารณูปโภค”
ขอ ๔ ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “องคการรักษาความปลอดภัย” ในขอ ๔ แหง
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความ
ตอไปน้ีแทน
““องคก ารรกั ษาความปลอดภยั ” หมายความวา สาํ นกั ขา วกรองแหง ชาติ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี
หรือศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม หรือ
กองบัญชาการตํารวจสันติบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ แลวแตกรณี”
ขอ ๕ ใหเ พมิ่ ความตอ ไปนเ้ี ปน วรรคสองของขอ ๕ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒
“ในกรณีการรักษาความปลอดภัยระบบเครือขายคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใหถือปฏิบัติตามวรรคหน่ึง และกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ขอบังคับ คําสั่ง มติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวกับหลักเกณฑและมาตรการรักษาความปลอดภัยดานสารสนเทศดวย”

๑๐๑

เลม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๘๕ ง หนา ๒ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

ขอ ๖ ใหย กเลกิ ความใน (๒) ของขอ ๗ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการรกั ษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

“(๒) ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
เปนองคการรักษาความปลอดภัยฝายทหาร มีหนาท่ีใหคําแนะนํา ชวยเหลือในเร่ืองการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติแกหนวยงานของรัฐฝายทหาร และกํากับดูแล ตรวจสอบ พรอมทั้งพิจารณา
แกไขขอบกพรองเพื่อใหระบบการรักษาความปลอดภัยน้ันไดผลสมบูรณอยูเสมอ”

ขอ ๗ ใหยกเลิกความในขอ ๘ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

“ขอ ๘ ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั มหี นา ทใี่ นการรกั ษาความปลอดภยั ในหนว ยงานของตน
ในกรณที หี่ นว ยงานของรฐั ไดม อบหมายหรอื ทาํ สญั ญาวา จา งใหบ คุ คลภายนอกดาํ เนนิ การ
อยางหน่ึงอยางใด ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐกํากับดูแลผูไดรับมอบหมายหรือผูเปนคูสัญญา
ซ่ึงเปนบุคคลภายนอกดังกลาวใหตองปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยแหงชาติตามระเบียบน้ีดวย”
ขอ ๘ ใหย กเลกิ ความใน (๙) ของขอ ๑๙ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการรกั ษา
ความปลอดภยั แหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ซงึ่ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการรกั ษา
ความปลอดภัยแหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ และใหใชความตอไปน้ีแทน
“(๙) ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เปนกรรมการ”
ขอ ๙ ใหยกเลิกความในขอ ๒๔ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปน้ีแทน
“ขอ ๒๔ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐดําเนินการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล
โดยกําหนดมาตรการสําหรับใชปฏิบัติกับผูท่ีอยูระหวางรอวาจาง บรรจุ หรือแตงต้ังเปนเจาหนาท่ี
ของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐหรือผูที่จะไดรับความไววางใจใหเขาถึงส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ
หรือใหปฏิบัติหนาที่เก่ียวของกับภารกิจที่สําคัญหรือทรัพยสินมีคาของแผนดิน เพ่ือเลือกเฟนและ
ตรวจสอบใหไดผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเปนที่เชื่อแนวาตองเปนผูท่ีไมเปนภัย และไมกอใหเกิด
ความเสียหายตอความมั่นคงและผลประโยชนแหงรัฐ
ในกรณีที่วาจางบุคคลภายนอก ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐกําหนดหลักเกณฑและเง่ือนไข
ในสัญญาวาจางเกี่ยวกับการกําหนดมาตรการสําหรับใชปฏิบัติกับบุคคลภายนอกดังกลาว เพ่ือไมให
เกิดความเสียหายตอความมั่นคงและผลประโยชนแหงรัฐ”
ขอ ๑๐ ใหย กเลกิ ความใน (๑) ของวรรคหนงึ่ ของขอ ๒๖ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี
วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

๑๐๒

เลม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๘๕ ง หนา ๓ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

“(๑) ผูท่ีอยูระหวางรอวาจาง บรรจุ หรือแตงต้ังเปนเจาหนาท่ีของรัฐ”
ขอ ๑๑ ใหย กเลกิ ความใน (๔) ของวรรคหนงึ่ ของขอ ๒๖ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี
วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน
“(๔) เจา หนา ทขี่ องรฐั หรอื บคุ คลทไี่ ดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั หิ นา ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ภารกจิ ทสี่ าํ คญั
หรือตําแหนงท่ีสําคัญของทางราชการ หรือที่เกี่ยวของกับส่ิงที่เปนความลับของทางราชการหรือ
ทรัพยสินมีคาของแผนดิน”
ขอ ๑๒ ใหยกเลิกความในวรรคสองของขอ ๒๖ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน
“กรณตี าม (๑) และ (๒) ในระหวา งทต่ี อ งรอฟง ผลการตรวจสอบประวตั แิ ละพฤตกิ ารณบ คุ คล
ถาจําเปนตองรีบบรรจุหรือจางบุคคลเขาปฏิบัติงาน ก็ใหบรรจุหรือจางกอนไดโดยมีเงื่อนไขวาถาผล
การตรวจสอบปรากฏวาผูน้ันมีความประพฤติหรือมีประวัติและพฤติการณไมเหมาะสม ใหหนวยงาน
ของรัฐดําเนินการเพ่ือใหบุคคลน้ันพนจากการปฏิบัติหนาที่ และใหดําเนินการตามกฎหมายท่ีเก่ียวของ
ตอไป”
ขอ ๑๓ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนขอ ๒๖/๑ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒
“ขอ ๒๖/๑ หัวหนาหนวยงานของรัฐตองจัดใหมีมาตรการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับ
บุคคล ในกรณีผูซึ่งไมใชเจาหนาท่ีของรัฐเขามาปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐ”
ขอ ๑๔ ใหยกเลิกความใน (๓) ของขอ ๒๗ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน
“(๓) บุคคลที่จะไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่เก่ียวของกับภารกิจท่ีสําคัญหรือแตงตั้ง
ใหดํารงตําแหนงท่ีสําคัญในหนวยงานของรัฐ รวมถึงบุคคลท่ีไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานเกี่ยวของ
กับทรัพยสินมีคาของแผนดิน”
ขอ ๑๕ ใหยกเลิกความในขอ ๒๘ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน
“ขอ ๒๘ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาท่ีรับรองความไววางใจบุคคลเพื่อใหเขาถึง
สิ่งที่เปนความลับของทางราชการตามชั้นความลับที่จะไดมอบหมายใหปฏิบัติโดยยึดถือผล
การตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคลน้ัน
บคุ คลใดจะไดร บั การรบั รองความไวว างใจ จะตอ งผา นการอบรมหรอื ชแ้ี จงในเรอื่ งการรกั ษา
ความปลอดภัยตามระเบียบนี้เสียกอน และลงนามในบันทึกรับรองการรักษาความลับเม่ือเขารับ
การปฏิบัติหนาที่ในภารกิจหรือตําแหนงหนาที่

๑๐๓

เลม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๘๕ ง หนา ๔ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

ในกรณีจําเปนเรงดวน หัวหนาหนวยงานของรัฐอาจรับรองความไววางใจบุคคลโดยไม
ตองรอฟงผลการตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคลไดตามเง่ือนไข ดังตอไปน้ี

(๑) ในกรณีอยูระหวางรอฟงผลการตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคลเพื่อวาจาง
บรรจุหรือแตงตั้งบุคคลเปนเจาหนาที่ของรัฐตําแหนงใด ถาจําเปนตองรีบวาจาง บรรจุ หรือแตงตั้ง
บุคคลเขาปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงน้ันโดยดวน ก็ใหวาจาง บรรจุ หรือแตงตั้งกอนได โดยมีเง่ือนไขวา
ถาผลการตรวจสอบปรากฏวาผูน้ันมีความประพฤติหรือมีประวัติและพฤติการณไมเหมาะสม
ใหด าํ เนนิ การเพอื่ ใหบ คุ คลนนั้ พน จากการปฏบิ ตั หิ นา ที่ และใหด าํ เนนิ การตามกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ งตอ ไป

(๒) ในกรณีท่ีเปนการมอบหมายความไววางใจใหบุคคลปฏิบัติหนาที่ในภารกิจหรือ
ตําแหนงหนาท่ีเปนการช่ัวคราวท่ีเก่ียวของกับสิ่งท่ีเปนความลับของทางราชการ

แบบบันทึกรับรองการรักษาความลับเมื่อเขารับการปฏิบัติหนาท่ีในภารกิจหรือตําแหนง
หนาที่ใหเปนไปตามท่ีกําหนดในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี”

ขอ ๑๖ ใหยกเลิกความในขอ ๓๐ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปน้ีแทน

“ขอ ๓๐ ในกรณีที่หนวยงานของรัฐจะมอบหมายใหบุคคลใดปฏิบัติหนาท่ีเก่ียวกับส่ิงที่
เปนความลับของทางราชการ บุคคลน้ันตองผานการตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคล และให
หนวยงานของรัฐดําเนินการ ดังตอไปน้ี

(๑) มคี าํ สง่ั เปน ลายลกั ษณอ กั ษรแตง ตงั้ บคุ คลซง่ึ ไดร บั ความไวว างใจใหป ฏบิ ตั หิ นา ทเ่ี กย่ี วกบั
สิ่งที่เปนความลับของทางราชการ โดยบันทึกชื่อบุคคลดังกลาวลงในทะเบียนความไววางใจ

(๒) มีหนังสือหรือใบรับรองความไววางใจใหเปนหลักฐาน เมื่อตองสงบุคคลไปประชุม
หรือเขารวมในกิจการอ่ืนใดที่เก่ียวกับส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการช้ันลับที่สุด หรือลับมาก
นอกหนวยงานตนสังกัด”

ขอ ๑๗ ใหยกเลิกความในขอ ๓๑ วรรคสอง แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปน้ีแทน

“แบบบันทึกรับรองการรักษาความลับเม่ือพนจากการปฏิบัติหนาท่ีในภารกิจหรือตําแหนง
หนาที่ใหเปนไปตามที่กําหนดในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี”

ขอ ๑๘ ใหยกเลิกความในขอ ๓๓ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

“ขอ ๓๓ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐดําเนินการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานท่ี
โดยกําหนดมาตรการเพื่อพิทักษรักษาใหความปลอดภัยแกที่สงวน อาคาร และสถานท่ีของหนวยงาน

๑๐๔

เลม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๘๕ ง หนา ๕ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

ของรฐั ตลอดจนขอ มลู ขา วสาร วสั ดอุ ปุ กรณ ศนู ยข อ มลู สารสนเทศ ระบบสาธารณปู โภค เจา หนา ทข่ี องรฐั และ
สง่ิ อน่ื ทหี่ วั หนา หนว ยงานของรฐั กาํ หนด ทอ่ี ยใู นอาคารและสถานทดี่ งั กลา ว ใหพ น จากการโจรกรรม การบกุ รกุ
การจารกรรม การกอวินาศกรรม การกอการราย หรือเหตุอ่ืนใดอันอาจทําใหเสียความสามารถในการ
ปฏิบัติภารกิจของหนวยงานของรัฐได

ใหน าํ ความในวรรคหนงึ่ มาใชบ งั คบั กบั ขอ มลู ขา วสาร ศนู ยข อ มลู สารสนเทศ และสงิ่ อน่ื ซง่ึ มไิ ด
อยภู ายในอาคารและสถานทตี่ ามวรรคหนง่ึ ดว ย ทง้ั นี้ ตามทห่ี วั หนา หนว ยงานของรฐั กาํ หนดโดยคาํ นงึ ถงึ
ความจําเปนแกการปฏิบัติภารกิจของหนวยงานของรัฐ

ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั กาํ หนดมาตรการเพอ่ื พทิ กั ษร กั ษาบคุ คลสาํ คญั เจา หนา ทข่ี องรฐั
และทรพั ยส นิ ของรฐั เปน สว นหนงึ่ ในการรกั ษาความปลอดภยั เกยี่ วกบั สถานทตี่ ามวรรคหนงึ่ เพอ่ื ปอ งกนั มใิ ห
ผูไมมีอํานาจหนาท่ีกระทําการอ่ืนใดท่ีจะทําใหเกิดความเสียหายตอบุคคลสําคัญ เจาหนาที่ของรัฐ
และทรัพยสินของรัฐ”

ขอ ๑๙ ใหยกเลิกความใน (๑) ของขอ ๓๔ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปน้ีแทน

“(๑) ภยันตรายท่ีเกิดจากปรากฏการณธรรมชาติ อุปทวเหตุ และปฏิกิริยาเคมี เชน พายุ
นํ้าทวม ฟาผา แผนดินไหว ดินถลม ระเบิดและเพลิงไหม”

ขอ ๒๐ ใหเพ่ิมความตอไปนี้เปนวรรคสองของขอ ๓๖ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒

“หนวยงานของรัฐตองจัดใหมีการทบทวนและซักซอมแผนการรักษาความปลอดภัย
เกี่ยวกับสถานที่ตามวรรคหน่ึงอยางนอยปละหน่ึงคร้ัง”

ขอ ๒๑ ใหเ พมิ่ ความตอ ไปนเี้ ปน (๙) ของขอ ๓๗ แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒

“(๙) จัดใหมีอุปกรณเก่ียวกับมาตรการรักษาความปลอดภัยตามความจําเปนในการ
ปฏิบัติภารกิจของหนวยงานของรัฐ”

ขอ ๒๒ ใหยกเลิกความในขอ ๕๐ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

“ขอ ๕๐ ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั กาํ หนดมาตรการเพอื่ ปอ งกนั การละเมดิ ฝา ฝน หรอื ละเลย
ไมปฏิบัติตามมาตรการการรักษาความปลอดภัยท่ีกําหนดไว จะโดยเจตนาหรือไมก็ตาม อันเปนเหตุ
ใหส่ิงที่เปนความลับของทางราชการรั่วไหล หรือเปนเหตุใหเจาหนาท่ีของรัฐ หรือวัสดุอุปกรณหรือ
ทรัพยสินของรัฐไดรับความเสียหาย”

๑๐๕

เลม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๘๕ ง หนา ๖ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

ขอ ๒๓ ใหเพิ่มความตอไปน้ีเปนวรรคสองของขอ ๕๑ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒

“ใหนําความในวรรคหนึ่งมาใชบังคับกับการรักษาความปลอดภัยทางระบบเครือขาย
คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศดวย และใหแจงเจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย
หรือเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ เพื่อใหประสานหนวยงานของรัฐท่ีรับผิดชอบโดยตรง หรือหนวยงานเอกชน
ที่ไดรับมอบหมายหรือเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐดําเนินการในทันทีที่เผชิญเหตุ”

ขอ ๒๔ ใหยกเลิกความใน (๖) ของขอ ๕๒ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

“(๖) หากปรากฏหลกั ฐานหรอื ขอ สงสยั วา เกดิ การจารกรรม การกอ วนิ าศกรรม หรอื การรว่ั ไหล
ซง่ึ สง่ิ ทเี่ ปน ความลบั ของทางราชการ ใหร ายงานและขออนมุ ตั ผิ บู งั คบั บญั ชาตามลาํ ดบั ชนั้ เพอ่ื แจง เรอ่ื งให
เจาหนาที่ผูมีอํานาจหนาท่ีในดานการสืบสวนดําเนินการตอไป”

ขอ ๒๕ บรรดาหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรการท่ีเก่ียวของกับการรักษาความปลอดภัย
รวมทงั้ แบบเอกสารตา ง ๆ ทไ่ี ดก าํ หนดไวต ามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการรกั ษาความปลอดภยั
แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ กอนระเบียบนี้ใชบังคับ ใหมีผลใชบังคับตอไปไดเทาที่ไมขัดหรือแยงกับระเบียบน้ี
ทง้ั นี้ จนกวา จะไดม กี ารกาํ หนดขนึ้ ใหมต ามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการรกั ษาความปลอดภยั
แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
นายกรัฐมนตรี

๑๐๖

เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๓๒ ง หนา ๑๒ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
ราชกิจจานุเบกษา

»ÃСÒÈสํา¹Ñ¡¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕ

àÃ×èͧ ¡ÒÃกํา˹´áººàÍ¡ÊÒ÷èÕ㪌㹡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
μÒÁÃÐàºÕºสํา¹Ñ¡¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕ Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂáË‹§ªÒμÔ ¾.È. òõõò

อาศัยอํานาจตามความในขอ ๒๖ วรรคสี่ ขอ ๒๗ วรรคสอง ขอ ๒๘ วรรคสี่ ขอ ๒๙
วรรคสอง และขอ ๓๑ วรรคสอง แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษาความปลอดภัย
แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ นายกรัฐมนตรีจึงออกประกาศไว ดังตอไปน้ี

เอกสารท่ีใชในการรักษาความปลอดภัยดังตอไปน้ี ใหเปนไปตามแบบท่ีกําหนดไว
ทายประกาศนี้

(๑) ประวัติบุคคล (รปภ. ๑)
(๒) บันทึกเปลี่ยนแปลงประวัติบุคคล (รปภ. ๒)
(๓) บันทึกของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบการลงบันทึกประวัติบุคคล (รปภ. ๓)
(๔) ใบรับรองความไววางใจ (รปภ. ๔)
(๕) ทะเบียนความไววางใจ (รปภ. ๕)
(๖) บันทึกรับรองการรักษาความลับเม่ือเขารับตําแหนงหรือหนาท่ี (รปภ. ๖)
(๗) บันทึกรับรองการรักษาความลับเมื่อพนตําแหนงหรือหนาที่ (รปภ. ๗)

ประกาศ ณ วันท่ี ๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี

๑๐๗

๑๐๘

๑๐๙

๑๑๐

๑๑๑

๑๑๒

๑๑๓

๑๑๔

๑๑๕

๑๑๖

๑๑๗

๑๑๘

๑๑๙

๑๒๐

๑๒๑

๑๒๒

๑๒๓

๑๒๔ หนา ๑ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา
เลม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๒๖ ก

¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ

¡ÒöÇÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
¾.È. òõöð

ÊÁà´ç¨¾ÃÐ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇÁËÒǪÔÃÒŧ¡Ã³ º´Ô¹·Ãà·¾ÂÇÃÒ§¡ÙÃ

ãËŒäÇŒ ³ Çѹ·èÕ ñõ ¸Ñ¹ÇÒ¤Á ¾.È. òõöð
໚¹»‚·èÕ ò ã¹ÃѪ¡ÒÅ»˜¨¨ØºÑ¹

สมเดจ็ พระเจา อยหู วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู มพี ระราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการถวายความปลอดภัย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิติบัญญัติแหงชาติทําหนาท่ีรัฐสภา ดังตอไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการถวายความปลอดภัย
พ.ศ. ๒๕๖๐”
มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปนตนไป
มาตรา ๓ ใหยกเลิกพระราชบัญญัติการถวายความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๗
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“การถวายความปลอดภยั ” หมายความวา การรกั ษาความปลอดภยั สาํ หรบั องคพ ระมหากษตั รยิ 
พระราชินี พระรัชทายาท พระบรมวงศานุวงศต้ังแตชั้นพระองคเจาขึ้นไป และใหหมายความรวมถึง
การรกั ษาความปลอดภยั สาํ หรบั ผสู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองค ผแู ทนพระองคซ งึ่ เปน พระบรมวงศานวุ งศ
ตั้งแตชั้นพระองคเจาข้ึนไป และบุคคลที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ รับเปนพระราชอาคันตุกะ

๑๒๕

เลม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๒๖ ก หนา ๒ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

“ความปลอดภยั ” หมายความวา การรกั ษาความปลอดภยั และการถวายพระเกยี รตติ อ พระองค
หรอื บคุ คลทต่ี อ งมกี ารถวายความปลอดภยั การรกั ษาความปลอดภยั ของพระราชฐาน ทปี่ ระทบั หรอื ทพี่ กั
การรักษาความปลอดภัยในขณะที่เสด็จไปหรือไปยังท่ีใด รวมตลอดถึงการรักษาความปลอดภัยของ
ยานพาหนะ และสิ่งอื่นท่ีเกี่ยวของ

“สวนราชการในพระองค” หมายความวา สวนราชการในพระองคตามพระราชกฤษฎีกา
วาดวยการจัดระเบียบราชการและการบริหารงานบุคคลของราชการในพระองค

“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่น
ของรัฐ

มาตรา ๕ ใหส ว นราชการในพระองคม หี นา ทว่ี างแผนการถวายความปลอดภยั ตลอดจน
การอํานวยการ ประสานงาน ควบคุม และปฏิบัติงานในการถวายความปลอดภัย โดยมีราชเลขานุการ
ในพระองคของพระมหากษัตริยเปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ ทั้งน้ี ตองปฏิบัติใหเปนไปตามพระราช
ประสงค

ในกรณีที่มีการกําหนดแผนการถวายความปลอดภัยตามวรรคหน่ึงและมีสวนเก่ียวของ
กับหนวยงานของรัฐแหงใด ใหแผนการถวายความปลอดภัยน้ันมีผลตามกฎหมายท่ีหนวยงานของรัฐ
แหงน้ัน มีหนาที่ตองปฏิบัติตามดวย

มาตรา ๖ ใหหนวยงานของรัฐทุกแหงมีหนาท่ีในการถวายความปลอดภัยหรือรวมมือ
ในการถวายความปลอดภัย การปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐในการดําเนินการดังกลาวใหเปนไป
ตามที่ราชเลขานุการในพระองคของพระมหากษัตริยกําหนด

มาตรา ๗ เพื่อประโยชนในการถวายความปลอดภัยใหมีประสิทธิภาพและมีแนวปฏิบัติ
ทส่ี อดคลอ งกนั ใหร าชเลขานกุ ารในพระองคข องพระมหากษตั รยิ ม อี าํ นาจกาํ หนดระเบยี บหรอื ออกประกาศ
เกี่ยวกับหลักเกณฑการปฏิบัติหนาที่ในการถวายความปลอดภัยเพื่อใชบังคับกับสวนราชการในพระองค
และหนวยงานของรัฐ

มาตรา ๘ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ และประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติการถวาย
ความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๗ ใหยังคงใชบังคับไดตอไปเทาท่ีไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัติน้ี ทั้งนี้
จนกวาจะมีการออกระเบียบ ประกาศ หรือกําหนดแนวปฏิบัติเปนอยางอ่ืนตามพระราชบัญญัติน้ี

มาตรา ๙ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
ผูรับสนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา

นายกรัฐมนตรี

๑๒๖

เลม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๒๖ ก หนา ๓ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทไี่ ดม กี ารตรากฎหมายวา ดว ย ระเบยี บ
บรหิ ารราชการในพระองคแ ละพระราชกฤษฎกี าวา ดว ยการจดั ระเบยี บราชการและการบรหิ ารงานบคุ คล
ของราชการในพระองค กาํ หนดใหม สี ว นราชการในพระองคเ พอื่ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ขนึ้ ตรงตอ พระมหากษตั รยิ 
สมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการถวายความปลอดภัยใหสอดคลองกับการกําหนดหนาท่ี
สวนราชการในพระองค และกําหนดหลักเกณฑในการถวายความปลอดภัยใหสามารถดําเนินการถวาย
พระเกียรติในการปฏิบัติภารกิจไดตามพระราชประสงค จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติน้ี

๑๒๗

¤Ù‹Á×Í
¡Òû‡Í§¡Ñ¹à¡ÕèÂǡѺÇÑμ¶ØμŒÍ§Ê§ÊÑÂ

สําËÃѺ»ÃЪҪ¹

๑๒๘

คํานํา
....................
ปจจุบันสถานการณการกอเหตุรุนแรงดวยวัตถุระเบิดแสวงเคร่ืองในพื้นท่ีจังหวัดชายแดน
ภาคใต ไดมีการพัฒนามาอยางตอเน่ือง ท้ังองคประกอบของวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง และรูปแบบ
ในการกอเหตุ ผูกอเหตุรุนแรงไดนําความรูและเทคนิคใหมๆ จากตางประเทศมาพัฒนาปรับปรุงทําให
การกอเหตุรุนแรงในปจจุบันประสบความสําเร็จเปนอยางดี เชน มีการพัฒนาใหอํานาจการระเบิด
รุนแรงมากขึ้น มีการพัฒนาทําเช้ือปะทุไฟฟาแสวงเครื่องข้ึนใชเอง มีการนําวงจรจุดระเบิดท่ี จนท.
ไมมีเครื่องมือปองกันมาใช มีการพัฒนารูปแบบกอเหตุโดยการสรางเหตุการณตางๆ เพ่ือลวงให จนท.
เขาตรวจสอบพื้นที่ โดยมีการวางระเบิดแสวงเคร่ืองไวในเสนทางเขา-ออกพ้ืนท่ี หรือใกลจุดท่ีเกิดเหตุ
ซ่ึีงการกอเหตุแตละครั้งจะมีการกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน
หนวยทําลายลางวัตถุระเบิดอโณทัย จึงไดปรับปรุงคูมือประชาชนเลมน้ีขึ้นมาใหม
เพ่ือใหมีความทันสมัยสอดคลองกับการพัฒนาของวัตถุระเบิดแสวงเคร่ืองและสถานการณจริงท่ีเกิดข้ึน
ในปจจุบัน บริเวณพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต และหวังเปนอยางยิ่งวาจะเกิดประโยชนชวยใหทานได
รูเทาและรูทัน ทราบถึงวิธีในการสังเกต การปองกันตนเองใหปลอดภัยจากเหตุการณระเบิดแสวงเคร่ือง
รวมถึงการแจงขาวสารกับหนวยงานราชการท่ีเก่ียวของซ่ึงจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอสวนรวมตอไป
.......................
...สําเร็จภารกิจ... ทุกชีวิตปลอดภัย... คือ... หัวใจของการทํางาน...
˹‹ÇÂทําÅÒÂŌҧÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´Íâ³·ÑÂ
¡ÃÁÊÃþÒÇظ·ËÒú¡

ÊÒúÑÞ ๑๒๙
ลําดับ ชื่อเรื่อง
หนา
วัตถุระเบิด และ ระเบิดแสวงเคร่ือง
สิ่งที่จําเปนสําหรับการระเบิด
การระวังปองกัน
เมื่อพบวัตถุตองสงสัย จะทําอยางไร

.......................

๑๓๐

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´áÅÐÃÐàºÔ´áÊǧà¤Ã×èͧ

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´¤×ÍÍÐäÃ?
วัตถุระเบิด คือสารประกอบทางเคมีท่ีมีสถานะตางๆ ทั้งของแข็ง ของเหลว และกาซ
ท่ีเมื่อไดรับปฏิกิริยาจากภายนอกทั้ง ความรอน เปลวไฟ การกระแทก การเสียดสี หรือคล่ืนการระเบิด
แลวจะเปลี่ยนแปลงสภาพจากเดิมกลายเปนกาซปริมาณมากมายจํานวนมหาศาล กระจายออก
ทุกทิศทาง การขยายตัวของกาซที่เกิดจากการระเบิดกอใหเกิด แสงสวาง เปลวไฟ ความรอนและแรงดัน
จํานวนมหาศาล
วัตถุระเบิดสามารถแบงตามความเร็วในการจุดตัว (Aelocity Of Detonation) ไดเปน
๒ ประเภท คือ
ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´áçต่ํา (Low Explosive) จะแปรสภาพจากเดิมเปนกาซไดอยางชาๆ
มีความเร็วในการจุดตัวนอยกวา ๑,๐๐๐ เมตร/วินาที เชน ดินดํา ดินสง กระสุน พลุ ประทัด ดอกไมไฟ
สารไพโรเทคนิคตางๆ สามารถทําใหเกิดการระเบิดได หากเปนการเผาไหมอยางรุนแรงในที่หอมลอม
หรือที่บังคับ เชน การระเบิดของประทัด การระเบิดของดินสงกระสุนในรังเพลิง

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´áçÊÙ§ (High Explosive) จะแปรสภาพจากเดิมเปนกาซไดอยางรวดเร็ว
มีความเร็วในการจุดตัวมากกวา ๑,๐๐๐ เมตร/วินาที การระเบิดของวัตถุระเบิดแรงสูงเรียกวา การปะทุ
จะกอใหเกิด คล่ืนการปะทุ (Shock Wave) ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของการระเบิดพอง (ทําใหระเบิด
ที่อยูในรัศมีระเบิดตามไปดวย

๑๓๑

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´ÊÒÁÒöẋ§μÒÁÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ÒÃ㪌§Ò¹ä´Œ ó »ÃÐàÀ· ¤×Í
ÇμÑ ¶ÃØ Ðàº´Ô ·Ò§·ËÒà เปน วัตถรุ ะเบิดทใี่ ชใ นทางทหาร มคี วามเสถียรมาก มคี วามปลอดภยั
ในการเก็บรักษา มีความคงทนตอการกระแทกเสียดสี เปลวไฟและความรอน ตองใชตัวจุดท่ีเหมาะสม
เทาน้ันจึงจะเกิดการระเบิด ไดแก ดินระเบิดมาตรฐานทางทหารชนิดตางๆ เชน TNT, Comp.4,
Militaly Dynamite ฯลฯ

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´·Ò§¾ÅàÃ×͹ เปนวัตถุระเบิดท่ีใชในทางพลเรือน ตามเหมืองหินหรืองาน
กอสรางตางๆ เชน การขุดหลุม การขุดอุโมงค การทําลายโครงสรางอาคารตางๆ มีความเสถียรนอย
ตองใชความระมัดระวังในการเก็บรักษา มีความไวตอการกระแทกเสียดสี เปลวไฟ และความรอน
มากกวาวัตถุระเบิดทางทหาร ไดแก ANFO, Commercial Dynamite ฯลฯ

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´ทําàͧ (Homemade Explosive or Dirty Bomb) เปนวัตถุระเบิดท่ีสามารถ
ทาํ ไดข นึ้ เองอยา งงา ยๆ จากสารระเบดิ (Blasting Agent) ซงึ่ เปน สารตงั้ ตน ทมี่ ใี ชท ว่ั ไปในชวี ติ ประจาํ วนั
และมีจําหนายทั่วไปตามทองตลาด เชน ปุยเคมี น้ํามัน ยาปราบศัตรูพืช ยายอมผม ดางทับทิม
กาซหุงตม ฯลฯ และหากนํามาผสมรวมกันในอัตราสวนที่เหมาะสมแลวจะกลายเปนวัตถุระเบิด
ปกติแลวจะประกอบดวยที่มีคาออกซิเจนสูงๆ (Oxidizer) และสารท่ีเปนเช้ือเพลิง (Fuel) เชน
การนํา Ammonium nitrate + Gasoline = ANFO

๑๓๒

ÃÐàºÔ´áÊǧà¤Ã×èͧ¤×ÍÍÐäà ?
วัตถุระเบิดแสวงเคร่ือง (ED.-Improvised Explosive Device) เปนรูปแบบหน่ึงของ

กบั ระเบดิ เปน การนาํ วสั ดทุ ม่ี อี ยทู วั่ ไป ทจ่ี ดั หาไดง า ยๆ นาํ มาประดษิ ฐเ ปน ระเบดิ ขน้ึ ไมว า จะเปน การนาํ
วัตถุระเบิดทางทหาร ทางพลเรือน สารประกอบทางเคมี และนําเครื่องมือเคร่ืองใชตางๆ มาประกอบ
รวมกนั เปน ระเบดิ แสวงเครอื่ ง มรี ปู แบบหลากหลาย ไมแ นนอนตายตัวสามารถออกแบบไดส ลับซบั ซอน
อันตราย เก็บกูแกไขไดยาก ซ่ึงการออกแบบข้ึนอยูกับวัตถุประสงคการใชงาน และความชํานาญ
ของผูประกอบระเบิด สามารถพกพาซุกซอนไดสะดวก แยกองคประกอบเคล่ือนยายไดงาย ตรวจพบ
ไดยาก ตนทุนในการผลิตตํ่า มีอํานาจการทําลายลางสูงกวาการกอวินาศกรรมแบบอื่นๆ กอใหเกิด
ความหวาดกลัว มีผลตอขวัญและกําลังใจสูงและท่ีสําคัญท่ีสุดคือเปนท่ี¹ÔÂÁ㪌Í‹ҧ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§·èÑÇâÅ¡

ͧ¤»ÃСͺ¢Í§ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´áÊǧà¤Ãè×ͧ
ระเบิดแสวงเคร่ืองมีองคประกอบหลายอยาง มีความแตกตางกันในระเบิดแตละลูก

มีสวนประกอบท่ีสําคัญโดยท่ัวไปดังน้ี.-
áËÅ‹§¾Åѧ§Ò¹ (Power Supply) หรือแบตเตอร่ี ชนิดและขนาดตางๆ เปนตัวใหพลังงาน

ไฟฟาในการจุดตัวจุดระเบิดหรือเช้ือปะทุไฟฟา ซึ่งใชแรงเคล่ือนไฟฟาในการจุดตัวเพียง ๐.๗ โวลต
ในพ้ืนท่ี จชต. มีใชดวยกันหลายแบบ แตท่ีพบสวนมากจะเปนแบตเตอร่ี ขนาด ๑.๕, ๖, ๙, ๑๒ โวลต
ทั้งแบบแหงและแบบเติมนํ้ากลั่น

๑๓๓

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´ (Explosive) เปนสวนประกอบหลักที่กอใหเกิดแรงดันจํานวนมหาศาล
ความเสยี หายทเี่ กดิ มากหรอื นอ ยขน้ึ อยกู บั ชนดิ ของวตั ถรุ ะเบดิ และปรมิ าณของวตั ถรุ ะเบดิ ทใ่ี ช วตั ถรุ ะเบดิ
ทมี่ คี วามเรว็ ในการจดุ ตวั สงู จะใหอ าํ นาจการระเบดิ รนุ แรงกวา วตั ถรุ ะเบดิ ทมี่ คี วามเรว็ ในการจดุ ตวั ตาํ่ กวา

สวนใหญวัตถุระเบิดท่ีใชเปนวัตถุระเบิดหลักจะเปนดินระเบิดมาตรฐานทางพลเรือน และ
ดินระเบิดชนิดทําเอง

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´ÁÒμðҹ·Ò§¾ÅàÃ×͹ ท่ีพบวามีการใชมากและใชงานมาโดยตอเน่ืองคือ
แอมโมเนียมไนเตรต (Ammonium nitrate) ท่ีมีใชงานทั่วไปตามเหมืองหินในพื้นท่ีนํามาผสมนํ้ามัน
เชื้อเพลิงในอัตราสวนท่ีเหมาะกลายเปนวัตถุระเบิดที่เรียกวา ANFO (Ammonium nitrate+Fuel)
นอกจากนี้ยังสามารถนําปุยเคมีสูตร ๔๖-๐-๐, สารปราบศัตรูพืช (Sodium Chlorate) มาใชทดแทน
ไดดวย

´Ô¹ÃÐàºÔ´¼ÊÁàͧ (ANFO) ·èÕ¹íÒÁÒºÃèØ㹶ѧ¹éíÒÂÒà¤ÁմѺà¾ÅÔ§

à¹è×ͧ¨Ò¡ÀÒª¹ÐºÃèطèÕÁÕ¢¹Ò´ãËÞ‹ทําใหตองใชดินระเบิดท่ีผสมเอง เปนดินระเบิดหลัก

ÊÒûÃÒºÈÑμÃپת (Sodium Chlorate)

๑๓๔

วัตถุระเบิดมาตรฐานทางพลเรือน อีกประเภทหน่ึงท่ีนํามาใชอยางกวางขวางและตอเน่ือง
คือ Emulsion Explosive หรือที่เรียกกันวา Power gel นิยมนํามาใชเปนสวนขยายการระเบิด
(Booster) ทําใหการระเบิดสมบูรณย่ิงข้ึน

วัตถุระเบิดมาตรฐานทางพลเรือนท่ีนิยมนํามาใชเปนสวนขยายการระเบิดอีกประเภทหนึ่ง
คอื ฝก แคระเบดิ (Detonation Cord) ซงึ่ เปน วตั ถรุ ะเบดิ แรงสงู ชนดิ อเนกประสงคม ลี กั ษณะเปน เสน กลม
เสนผาศูนยกลางประมาณ ๐.๕ ซม. มีความยาวมวนละ ๕๐๐, ๑,๐๐๐ เมตร

นอกจากน้ียังพบวามีการใชวัตถุระเบิดแรงต่ําประเภทดินดํา และสารไพโรเทคนิค (สาร
ใหแสงสวางและสีตางๆ) มาใชเปนวัตถุระเบิดหลักทดแทนวัตถุระเบิดขางตน ซึ่งสามารถใหอํานาจ
การระเบิดไดเชนกัน สวนใหญไดมาจากดินดําทําเอง ดินดํา/เทาทําจากพลุ ประทัด ดอกไมไฟ

๑๓๕

ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´·Ò§·ËÒà ในชวงแรกของการกอเหตุ (ป ๒๕๔๗-๒๕๕๑) ไมพบวามีการใช
ดนิ ระเบดิ มาตรฐานทางทหาร แตห ลงั จากป ๒๕๕๒ เปน ตน มาพบวา มกี ารใชด นิ ระเบดิ ทางทหารมากขนึ้
สวนใหญนํามาเปนสวนขยายการระเบิดเพื่อใหการระเบิดมีความสมบูรณยิ่งข้ึน

μÑǨشÃÐàºÔ´ËÃ×Íàªé×Í»Ð·Ø (Detonator) ถือเปนËÑÇã¨ÊíÒ¤Ñޢͧ¡ÒèشÃÐàºÔ´หากขาด
เช้ือปะทุก็จะไมสามารถเกิดระเบิดขึ้นได เช้ือปะทุที่ใชใน จชต. สวนใหญเปนเชื้อปะทุไฟฟาที่มีทั้งแบบ
มาตรฐานทางพลเรือนและแบบแสวงเคร่ือง

àª×éͻзØä¿¿‡ÒÁÒμðҹ·Ò§¾ÅàÃ×͹ ท่ีพบในพื้นท่ีสวนมากเปนเช้ือปะทุไฟฟาท่ีลักลอบ
นํามาจากเหมืองหินในพื้นที่ จชต. ซึ่งสามารถตรวจสอบไดจากสีของสายไฟที่ใชโดยมีขอกําหนด
ใหผูขออนุญาตใชตองระบุสีของสายไฟจุดระเบิดเพ่ือใหสามารถตรวจสอบได แตก็มีบางครั้งท่ี
ตรวจสอบแลวพบวาเปนเชื้อปะทุจากตางประเทศ

àªé×ͻзØä¿¿‡ÒáÊǧà¤Ãè×ͧ ท่ีพบในพ้ืนท่ีมีดวยกัน ๒ ลักษณะ คือ การดัดแปลงเช้ือปะทุ
ชนวนเปนเช้ือปะทุไฟฟา และการทําเช้ือปะทุไฟฟาแสวงเครื่องขึ้นเอง

๑๓๖

á»Å§àª×éͻзت¹Ç¹à»š¹àª×éͻзØä¿¿‡Ò เปนการนําเชื้อปะทุชนวนซึ่งปกติสามารถ
จุดระเบิดไดดวยเปลวไฟจากฝกแคเวลา นํามาแสวงเคร่ืองโดยนําหลอดไฟฟาขนาดเล็กท่ีใชสําหรับ
ประดับ มาบีบใหแตกเหลือไวเพียงขดลวดความรอนแลวนําดินดํามาบรรจุไวแทน เมื่อมีกระแสไฟฟา
ผานขดลวดจะเกิดความรอนข้ึนแลวเผาไหมดินดําเกิดเปนเปลวเพลิงไปจุดเชื้อปะทุชนวนอีกครั้งหน่ึง

àª×éͻзØä¿¿‡ÒáÊǧà¤Ãè×ͧ จากมาตรการควบคุมเช้ือปะทุไฟฟาทั้งในและนอกพื้นท่ี
จชต. ทําใหการลักลอบนําเช้ือปะทุไฟฟาจากเหมืองหินทําไดยาก ผูกอเหตุรุนแรงจึงไดผลิตเชื้อปะทุ
ไฟฟาข้ึนเอง โดยนําเอาดินระเบิดท่ีอยูในฝกแคระเบิด ซ่ึงเปนดินระเบิดชนิดเดียวกับในเช้ือปะทุ
มาผสมกับดินเทาที่ไดจากประทัดแลวบรรจุใสหลอดดินสอเขียนคิ้ว หลอดปากกาเคมี จุดดวย
หลอดไฟประดับซ่ึงสามารถใชทดแทนกันได

Ãкº¤Çº¤ÁØ ¡Òè´Ø ÃÐàº´Ô (Switch) เปน สว นประกอบสาํ คญั ทจี่ ะทาํ ใหร ะเบดิ แสวงเครอ่ื ง
เกิดระเบิดขึ้นตามวัตถุประสงคของผูกอเหตุ ที่พบสวนมากเปนการดัดแปลงจากอุปกรณไฟฟา
อิเล็กทรอนิกสท่ีใชทั่วไป มีรูปแบบขององคประกอบเหมือนในตางประเทศทั้งอุปกรณและการประกอบ
พอสรุปไดดังนี้.-

๑๓๗

¡ÒäǺ¤ØÁ¡ÒèشÃÐàºÔ´´ŒÇÂÊÒÂä¿ÃÐÂÐä¡Å (Command Wire) หรือการลากสาย
เปนระบบจุดระเบิดท่ีใชงานมาโดยตอเน่ือง ใหความเท่ียงตรงที่สุด มีองคประกอบนอยที่สุด
ไมยุงยากในการใชงาน สามารถตอพวงกันเพื่อใหเกิดการระเบิดหลายจุดพรอมๆ กัน สวนใหญ
จะนํามาใชกับเปาหมายเคล่ือนที่ยานพาหนะที่มีความเร็ว

๑๓๘

ǧ¨Ã¨Ø´ÃÐàºÔ´´ŒÇÂâ·ÃÈѾ·Á×Ͷ×Í (Cell Phone) เปนอีกวงจรหน่ึงท่ีนิยมนํามาใชอยาง
กวางขวางและตอเนื่องจนถึงปจจุบันสามารถทํางานได ๒ ระบบ คือ การต้ังเวลา และการเรียกเขา
สวนมากใชกับเปาหมายอยูกับที่ ในเขตเมืองท่ีมีสัญญาณโทรศัพท เคยพบวามีการซิมการด
ตางประเทศในพื้นท่ีตามแนวชายแดนติดประเทศเพ่ือนบาน

๑๓๙

ǧ¨Ã¨´Ø ÃÐàº´Ô ´ÇŒ ¹ÒÌ¡ Ң͌ ÁÍ× áºº´¨Ô ·Ô ÅÑ เปน อกี วงจรหนงึ่ ทน่ี ยิ มใชง านมาโดยตอ เนอ่ื ง
มีความแมนยําสูง มีขนาดเล็ก ดัดแปลงงาย สามารถประกอบในระเบิดแสวงเคร่ืองขนาดเล็ก
ซุกซอนงาย ไมมีอุปกรณปองกัน นาฬการุนท่ีนิยมนํามาใชคือ CASIO รุน F200 และ F201

๑๔๐

ǧ¨Ã¨Ø´ÃÐàºÔ´μÑé§àÇÅÒẺÍÔàÅç¡·Ã͹ԡʏ (IC Timer) เปนวงจรท่ีใชต้ังกาลเวลาดวย
อุปกรณอิเล็กทรอนิกส (IC 4060) มีขนาดเล็ก สามารถตั้งเวลาไดต้ังแต ๒ - ๒,๗๐๐ วินาที เนื่องจาก
ดัดแปลงซุกซอนวงจรไดงาย เพื่ออําพรางการตรวจคนของเจาหนาที่ ปจจุบันนํามาใชเปนวงจรหลัก
ในลูกระเบิดขวางแบบแสวงเครื่อง

๑๔๑

ǧ¨Ã¨Ø´ÃÐàºÔ´´ŒÇ¤Åè×¹ÇÔ·ÂؤÇÒÁ¶Õèตํ่า โดยการใชรีโมทคอนโทรลรถ (Car Alarm)
เปนอุปกรณควบคุมการจุดระเบิด เปนวงจรท่ีนํามาทดแทนวงจรจุดระเบิดดวยโทรศัพท สามารถ
จุดระเบิดไดโดยตรง (Real Time) มีความแมนยํา ระยะทํางานประมาณ ๑๕๐ - ๒๐๐ เมตร
มีการนํามาใชในหวงป ๒๕๕๐ ปจจุบันพบวามีการใชนอยลง หรือเกือบจะไมพบเลยในพื้นที่เน่ืองจาก
มีการควบคุมการขายในพื้นท่ี และเจาหนาที่มีอุปกรณในการปองกันท่ัวถึง

๑๔๒

ǧ¨Ã¨Ø´ÃÐàºÔ´´ŒÇÂÊÑÞÞÒ³ DTMF ¼‹Ò¹ÇÔ·ÂØÊè×ÍÊÒà เปนวงจรจุดระเบิดท่ีนิยมใช
อยางกวางขวางในปจจุบัน ใชหลักการทํางานโดยการสงสัญญาณ DTMF ผานคลื่นวิทยุเพ่ือทําการ
จุดระเบิด ใชไดกับวิทยุสื่อสารทุกยาน (CB, VHF, UHF) ÊÒÁÒö¨Ø´ÃÐàºÔ´ä´Œâ´Âμç áÅÐทําãËŒ
ǧ¨Ã¾ÃŒÍÁทํา§Ò¹ÊÒÁÒö¤Çº¤ØÁ¡ÒèشÃÐàºÔ´¾ÃŒÍÁ¡Ñ¹ËÅÒ·ÕèËÁÒ ËÃ×ÍàÅ×Í¡ãËŒÃÐàºÔ´·ÕèËÁÒÂ
áμ‹ÅÐáË‹§ä´Œ´ŒÇ¡ÒÃμÑé§ÃËÑÊ

๑๔๓

ǧ¨Ã¨Ø´ÃÐàºÔ´áºº¼ÊÁ·Ò§¡Åä¡áÅÐÃкºä¿¿‡Ò หรือวงจรกับระเบิด (กับดัก -
Booby Trap) เปนวงจรจุดระเบิดโดยการใหเปาหมายกระทําโดยตรงอยางใดอยางหนึ่งตอวัตถุระเบิด
เชน การเปด ปด ยกขึ้น กดลง ดึง ปลอย ขยับ หรือเคลื่อนยาย นิยมนํามาใชรวมกับการกอเหตุ
แบบอ่ืนๆ โดยการสรางสถานการณลวง เชน การยิง การเผา หรือระเบิด เพ่ือลวงเจาหนาที่เขา
ท่ีเกิดเหตุแลวไปกระทําอยางใดอยางหน่ึงตอวัตถุระเบิด มีหลายรูปแบบ

๑๔๔

ÀÒª¹Ð·ãÕè ªºŒ ÃÃ¨Ø (Container) ในพน้ื ท่ี จชต. มรี ปู แบบของภาชนะบรรจทุ มี่ คี วามหลากหลาย
ตามวัตถุประสงคการใชงาน การซอนพรางและตามความตองการของผูประดิษฐ เม่ือเกิดการ
ระเบิดข้ึน ช้ินสวนของภาชนะบรรจุจะแตกออกกลายเปน ÊÐà¡ç´ÃÐàºÔ´ (Fragment) สาดกระจาย
ออกไปทุกทิศทาง กอใหเกิดความเสียหาย สรางความบาดเจ็บและสูญเสีย ตามตัวอยางที่นําเสนอ

๑๔๕

àÈÉâÅËÐà¾ÁÔè àμÁÔ (Shrapnel) ผปู ระกอบระเบดิ มกั จะนาํ เอาเศษวสั ดตุ า งๆ บรรจรุ วมกบั
วัตถุระเบิดแสวงเครื่องเพื่อเพ่ิมเติมสะเก็ดระเบิดที่เกิดจากภาชนะบรรจุ สามารถทําจากสิ่งตางๆ
ไดมากมาย เชน ตะปู เหล็กเสน โซรถ ลูกปราย ฯลฯ

๑๔๖

ÇÑμ¶ØμŒÍ§Ê§ÊÑ ËÃ×ÍÃÐàºÔ´áÊǧà¤Ãè×ͧ
คําสองคํานี้แตกตางกันอยางไร
เนื่องจากระเบิดแสวงเคร่ืองท่ีพบในพื้นที่ จชต. จะมีสภาพหีบหอภายนอกเหมือนกับ

ส่ิงของที่ใชทั่วไปในชีวิตประจําวัน ทําใหไมสามารถท่ีจะพิจารณาและตัดสินใจไดวาจะมีวัตถุระเบิด
ซุกซอนอยูภายในหรือไม จึงมีขอแนะนําเพ่ือชวยในการตัดสินใจดังตอไปนี้.-

สิ่งของท่ีพบเห็นนั้น ตองเปนส่ิงของท่ี
- äÁ‹à¤ÂàËç¹?
- äÁ‹à»š¹¢Í§ã¤Ã?
- äÁ‹ãª‹·ÕèÍÂÙ‹?
- ´ÙäÁ‹àÃÕºÌÍÂ?
- äÁ‹à¤ÂàËç¹ หมายถึง เปนส่ิงของท่ีไมเคยพบเห็นในบริเวณน้ันมากอน รวมถึงส่ิงที่
เคยอยู ณ ที่นั้น ซ่ึงไดหายไป แลวกลับมาวางอยู ณ ท่ีนั้นโดยไมทราบสาเหตุ
- äÁ‹à»š¹¢Í§ã¤Ã หมายถึง เปนส่ิงของที่ทิ้งไวไมมีเจาของ ประกาศหาเจาของแลวไมมี
ผูมาแสดงตัว หรือไมสามารถระบุตัวผูเปนเจาของได
- äÁ‹ãª‹·ÕèÍÂÙ‹ หมายถึง สถานที่ท่ีพบส่ิงของกับเปนสิ่งของที่พบไมมีความสัมพันธกัน
หรือสิ่งของส่ิงนั้นควรจะอยูในสถานที่อ่ืนมากกวาท่ีจะมาอยูบริเวณน้ัน
- ´ÙäÁ‹àÃÕºÌÍ หมายถึง เปนสิ่งของที่มีลักษณะภายนอกผิดปกติ หรือมีรูปรางผิดไป
จากเดิม เชน กลองมีรอยเปรอะเปอน มีการปดผนึกไมเรียบรอย อาจมีรอยปดผนึกใหม มีรอยยับ
ตางๆ มีสีที่เปลี่ยนไปจากเดิม มีรอยเชื่อมใหม มีการผูกมัดรัดตรึงที่แนนหนาผิดปกติ มีสายไฟ
หรือมีช้ินสวนตางๆ โผลพนออกมาผิดปกติ เปนตน
จากขอพิจารณาขางตน ไมจําเปนตองเขาหลักเกณฑครบท้ังหมดทุกขอเพียงเขา
หลักเกณฑอยางนอย ๒ ขอ ก็เพียงพอสําหรับการสันนิษฐานและตัดสินใจไดแลววาเปน ÇμÑ ¶ØμÍŒ §Ê§ÊÑÂ
ÃÐàºÔ´áÊǧà¤Ã×èͧ หมายถึง วัตถุตองสงสัย ซึ่งภายในมีการบรรจุวัตถุระเบิด (วัตถุระเบิด
มาตรฐานและ/หรือสารเคมีตางๆ) และอุปกรณตางๆ ท่ีสามารถทําใหเกิดการระเบิดไดดวยระบบ
การจุดระเบิดดวยวิธีใดวิธีหน่ึง
¡ÒÃÃÐÇѧ»‡Í§¡Ñ¹ ความเสียหายท่ีเกิดจากการระเบิด จะเกิดมากหรือนอยเพียงใดข้ึนอยู
กับสถานท่ี ปริมาณวัตถุระเบิดและการระวังปองกัน หากมีการระวังปองกันท่ีดีก็จะเปนการ
ลดความเสี่ยง ตอการถูกลอบวางระเบิดหรือลดเหตุระเบิด
หลีกเลี่ยงความเสียหาย ท่ีเกิดจากการระเบิดรูจักปองกันเม่ือพบสิ่งของตองสงสัย
ปราศจากเหตุรา ยในพนื้ ที่ เมอื่ มกี ารระวังปอ งกันทดี่ ี การลอบวางระเบิดกจ็ ะกระทําไดย าก
ทําใหพ้ืนท่ีนั้นปลอดภัยตอเหตุระเบิด

๑๔๗

เพื่อความปลอดภัยมีขอแนะนําดังน้ี
- หมั่นติดตามขาวสารและปฏิบัติตามคําแนะนําที่เก่ียวของ
- หลีกเลี่ยงไปในพ้ืนท่ีที่เส่ียงตออันตราย
- หม่ันตรวจดูสิ่งผิดสังเกตรอบๆ ตัวเอง
¡Òû‡Í§¡Ñ¹à»š¹Ë¹ŒÒ·èբͧã¤Ã?
การระเบิดทําใหเกิดความเสียหายตอสถานที่ตางๆ และผูท่ีอยูในบริเวณท่ีเกิดการระเบิด
ฉะน้ันการปองกันจึงเปนหนาที่ของทุกคน
¨Ð»‡Í§¡Ñ¹Í‹ҧäÃ?
การปองกันตัวเองท่ีดีท่ีสุด คือ การไมเขาไปในที่ที่มีการวางระเบิด หรืออยูหางใหมาก
ท่ีสุด แตไมมีใครรูลวงหนากอนวาจะมีการวางระเบิดที่ใด เมื่อใด
ÍÒ¤Òà ºŒÒ¹àÃ×͹ ˌҧÌҹ สถานท่ีของทานอาจเปนเปาหมายของการลอบวางระเบิด
ไดเทาๆ กัน การตรวจหรือมองหาส่ิงของท่ีผิดสังเกตบริเวณโดยรอบบานพักอาศัย ตามสถานท่ีตางๆ
เปนการระวังปองกันเพ่ือความปลอดภัยตอสถานท่ี ส่ิงท่ีจะตองตรวจไดแก
ºØ¤¤Å คือ ผูท่ีเขามาในบริเวณพื้นท่ีของทาน หรืออาจเปนบุคคลแปลกหนาท่ีมาเฝา
สังเกตใกลสถานท่ีของทาน โดยอาจนําสิ่งของติดตัวมา เพ่ือการลอบวางระเบิด
ÊÔ觢ͧ คือ สิ่งของท่ีผูเขามาในบริเวณสถานที่ของทานนําติดตัวมา เชน กระเปา กลอง
บรรจุสิ่งของ ถุงตางๆ ฯลฯ เพราะหลายเหตุการณที่เกิดการระเบิดเน่ืองจากมีผูนําส่ิงของวางไวบริเวณ
ท่ีลับตา สังเกตเห็นไดยาก หรือมองเห็นแตอาจไมสนใจเน่ืองจากอาจเปนสิ่งของที่คลายกับส่ิงของ
ท่ีอยูในบริเวณนั้น
ÂÒ¹¾Ò˹Рคือ รถท่ีเขามาในพื้นที่ เน่ืองจากอาจมีการซุกซอนวัตถุระเบิดมากับรถได
โดยเฉพาะรถยนตบรรทุก (รถกระบะ) เน่ืองจากโครงสรางของรถมีพ้ืนที่วางมาก
เพื่อใหการระวังปองกันทําไดสะดวก รวดเร็ว ไมสับสน อาจมีขอกําหนดในการปฏิบัติ
ใหกับผูท่ีเกี่ยวของ เชน
¡ÒÃกาํ ˹´¾¹é× ·Õè เนอื่ งจากแตล ะสถานทม่ี เี นอื้ ทไี่ มเ ทา กนั การกาํ หนดพนื้ ทอี่ าจไมส ามารถ
กระทําได ใหพิจารณาตามความจําเปนดังน้ี.-
พื้นท่ีจอดรถ คือ ควรแยกพื้นที่จอดรถของเจาหนาที่กับผูมาติดตอหรือผูมาใชบริการ
ออกจากกัน หากเปนไปไดควรกําหนดพ้ืนที่จอดภายนอก พื้นที่ภายในใหเขาไดเฉพาะรถเจาหนาท่ี
เทาน้ัน จะชวยลดภาระในการตรวจของเจาหนาที่ หากเกิดเหตุระเบิดสามารถตรวจสอบไดและ
ลดความเสียหายท่ีจะเกิดกับสถานท่ีไดมาก โดยเฉพาะสถานที่ที่มีผูมาใชบริการมากซึ่งเปนสถานที่
เสี่ยงตอการถูกลอบวางระเบิด เชน รานคา หางสรรพสินคา สถานที่ราชการ โรงแรม สถานบันเทิง
รานอาหาร ฯลฯ

๑๔๘

พื้นที่พักรอ สวนใหญจะเปนสถานที่ราชการ ธนาคาร หรือสถานท่ีอ่ืนๆ เนื่องจาก
มีผูใชบริการจํานวนมาก จึงควรแบงพื้นท่ีเพ่ือแยกบุคคลท่ีไมเกี่ยวของออกจากเจาหนาท่ี เชน
เขตหวงหาม เขตพักรอของผูใชบริการ ขอดี การตรวจหาส่ิงผิดปกติทําไดสะดวกและงาย

¢Ñº¢èÕä»μÒÁàÊŒ¹ ในการควบคุมวัตถุระเบิดที่ซุกซอนมากับยานพาหนะ นอกจากการ
กําหนดพื้นที่จอดรถแลว การกําหนดเสนทางเดินรถเปนอีกวิธีหน่ึง หากไมสามารถกําหนดพื้นที่จอดรถ
ใหกับผูมาใชบริการได การกําหนดใหเดินรถทางเดียวเปนสิ่งที่จําเปนเพ่ือใหการตรวจไมสับสนและ
ทําไดอยางรวดเร็ว การควบคุมโดยการจดบันทึกขอมูลของบุคคล ยานพาหนะและส่ิงของที่ผานเขามา
ในพื้นที่ก็เปนส่ิงจําเปน รวมท้ังการกําหนดบัตรผานเพ่ือแยกเจาหนาที่กับผูใชบริการ

äÁ‹ÅÐàÇŒ¹¡ÒÃμÃǨ วัตถุระเบิดที่ซุกซอนสามารถผานเขามาในพ้ืนที่ สวนมากมักจะเกิด
จากสาเหตุดังตอไปน้ี.-

- ¤ØŒ¹à¤Â
- à¡Ã§ã¨
- ãËŒ¢Í§
- äÁ‹ÁͧÊèÔ§·ÕèμÃǨ

¤ØŒ¹à¤Â เปนสาเหตุที่ทําใหวัตถุระเบิดที่ซุกซอนผานเขามาในพื้นที่ได เกิดข้ึนกับบุคคลท่ี
รูจัก สนิทสนม บุคคลในสถานที่ทํางาน หรือบุคคลที่มาเปนประจํา ทําใหไววางใจและม่ันใจวาไมคิด
ท่ีจะซุกซอนวัตถุระเบิดมาอยางแนนอน จึงละเลยการตรวจ

à¡Ã§ã¨ การเขาใจท่ีผิดประการหน่ึงคือ ความเกรงกลัว ความเกรงใจตอผูบริหาร เชน
เจาของกิจการ หัวหนาหนวยงานราชการ เปนตน วาหากทําการตรวจยานพาหนะของบุคคลเหลาน้ี
อาจทําใหเกิดความไมพอใจได และเกิดจากการไมใหความสําคัญตอมาตรการรักษาความปลอดภัย
ของผูบริหาร เจาของกิจการ หรือหัวหนาหนวยงานราชการ เพราะบุคคลเหลานี้เปนเปาหมายของ
การถูกลอบวางระเบิด จึงจําเปนอยางย่ิงตอการตรวจ

ãËŒ¢Í§ การใหของแกผูตรวจ เปนการสรางความเปนมิตรและความประทับใจแกผูไดรับ
ซึ่งเปนสาเหตุอีกประการหน่ึงท่ีทําใหวัตถุระเบิดที่ถูกซุกซอนผานเขามาในพ้ืนท่ีได เนื่องจากผูตรวจ
อาจละเลยตอการตรวจไดเชนกัน สาเหตุนี้อาจเกิดจากผูนําระเบิดแสวงเคร่ืองซุกซอนไวในรถ
และตองการผานการตรวจของเจาหนาที่ อาจใชวิธีน้ีก็ได

äÁ‹ÁͧÊèÔ§·èÕμÃǨ สาเหตุที่ทําใหวัตถุระเบิดท่ีถูกซุกซอนมากับรถผานเขาในพ้ืนที่ประการ
สําคัญ คือ การไมมองส่ิงที่ตรวจซึ่งเกิดจากผูตรวจไมสนใจมองหาส่ิงท่ีตรวจ ตัวอยางเชน การตรวจ
ดวยกระจกตรวจใตทองรถยนต แตสายตาของผูตรวจกับมองส่ิงอ่ืนแทนที่จะมองกระจกที่สองดูใตทอง
รถยนต

ºÃÔàdz·Õ辺ÇÑμ¶ØμŒÍ§Ê§ÊÑ วัตถุตองสงสัยที่พบสวนมากจะพบตามสถานที่เหลานี้ ถนน
หรือเสนทางสาธารณะตางๆ บริเวณถังขยะ ถุงขยะ กําแพง ร้ัว ทอระบายนํ้า แนวตนไม กระถางตนไม


Click to View FlipBook Version