The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:19:19

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

16_CP21403_การรักษาความปลอดภัย

๔๙

ËÁÇ´ ñ
¡ÒÃແ´à¼Â¢ŒÍÁÅÙ ¢‹ÒÇÊÒÃ

ÁÒμÃÒ ÷ หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปน้ี
ลงพมิ พในราชกิจจานุเบกษา

(๑) โครงสรางและการจดั องคกรในการดําเนินงาน
(๒) สรปุ อาํ นาจหนาท่ีท่สี ําคญั และวิธีการดําเนนิ งาน
(๓) สถานท่ตี ิดตอเพือ่ ขอรบั ขอ มูลขาวสาร หรือคาํ แนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรฐั
(๔) กฎ มตคิ ณะรฐั มนตรี ขอ บงั คบั คาํ สง่ั หนงั สอื เวยี น ระเบยี บ แบบแผน นโยบาย หรอื
การตคี วาม ทงั้ นเี้ ฉพาะทจ่ี ดั ใหม ขี นึ้ โดยมสี ภาพอยา งกฎ เพอื่ ใหม ผี ลเปน การทว่ั ไปตอ เอกชนทเี่ กยี่ วขอ ง
(๕) ขอ มลู ขา วสารอน่ื ตามทคี่ ณะกรรมการกําหนด
ขอ มูลขาวสารใดที่ไดม กี ารจดั พมิ พเ พ่อื ใหแ พรหลายตามจํานวนพอสมควรแลว ถามกี าร
ลงพิมพในราชกิจจานุเบกษาโดยอางอิงถึงสิ่งพิมพน้ันก็ใหถือวาเปนการปฏิบัติตามบทบัญญัติ
วรรคหนง่ึ แลว
ใหหนวยงานของรัฐรวบรวมและจัดใหมีขอมูลขาวสารตามวรรคหน่ึงไวเผยแพรเพ่ือขาย
หรือจําหนา ยจา ยแจก ณ ทีท่ าํ การของหนวยงานของรัฐแหง นัน้ ตามท่ีเหน็ สมควร
ÁÒμÃÒ ø ขอมูลขาวสารที่ตองลงพิมพตามมาตรา ๗ (๔) ถายังไมไดลงพิมพใน
ราชกิจจานุเบกษาจะนํามาใชบังคับในทางท่ีไมเปนคุณแกผูใดไมได เวนแตผูน้ันจะไดรูถึงขอมูล
ขา วสารนั้นตามความเปนจริงมากอนแลว เปนเวลาพอสมควร
ÁÒμÃÒ ù ภายใตบ งั คบั มาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ หนว ยงานของรฐั ตอ งจดั ใหม ขี อ มลู
ขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ไวใหประชาชนเขาตรวจดูได ท้ังนี้ตามหลักเกณฑและวิธีการ
ทีค่ ณะกรรมการกาํ หนด
(๑) ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยท่ีมีผลโดยตรงตอเอกชน รวมทั้งความเห็นแยง
และคําสง่ั ที่เก่ียวขอ งในการพจิ ารณาวินิจฉัยดงั กลา ว
(๒) นโยบายหรอื การตคี วามทไ่ี มเ ขา ขา ยตอ งลงพมิ พใ นราชกจิ จานเุ บกษา ตามมาตรา ๗ (๔)
(๓) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจาํ ปของปทก่ี าํ ลงั ดําเนินการ
(๔) คูมือหรือคําส่ังเก่ียวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีของรัฐ ซ่ึงมีผลกระทบถึงสิทธิ
หนา ทข่ี องเอกชน
(๕) ส่งิ พิมพท่ีไดมกี ารอา งอิงถึงตามมาตรา ๗ วรรคสอง
(๖) สัญญาสัมปทาน สัญญาท่ีมีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุน
กบั เอกชนในการจดั ทําบริการสาธารณะ

๕๐

(๗) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติ
คณะรัฐมนตรี ทั้งน้ีใหระบุรายช่ือรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลขาวสาร
ทน่ี าํ มาใชใ นการพิจารณาไวด วย

(๘) ขอมลู ขาวสารอื่นตามทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด
ขอ มลู ขา วสารทจี่ ดั ใหป ระชาชนเขา ตรวจดไู ดต ามวรรคหนงึ่ ถา มสี ว นทต่ี อ งหา มมใิ หเ ปด เผย
ตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ อยูดวย ใหลบหรือตัดทอนหรือทําโดยประการอ่ืนใดท่ีไมเปนการ
เปดเผยขอมูลขาวสารนนั้
บุคคลไมวาจะมีสวนไดเสียเกี่ยวของหรือไมก็ตาม ยอมมีสิทธิเขาตรวจดู ขอสําเนาหรือ
ขอสําเนาที่มีคํารับรองถูกตองของขอมูลขาวสารตามวรรคหนึ่งได ในกรณีที่สมควรหนวยงานของรัฐ
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการจะวางหลักเกณฑเรียกคาธรรมเนียมในการน้ันก็ได ในการนี้
ใหคํานึงถึงการชวยเหลือผูมีรายไดนอยประกอบดวย ทั้งน้ีเวนแตจะมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว
เปน อยางอน่ื
คนตา งดา วจะมีสิทธิตามมาตรานเ้ี พียงใดใหเปน ไปตามทก่ี าํ หนดโดยกฎกระทรวง
ÁÒμÃÒ ñð บทบญั ญตั มิ าตรา ๗ และมาตรา ๙ ไมกระทบถึงขอ มูลขาวสารของราชการ
ที่มกี ฎหมายเฉพาะกําหนดใหม กี ารเผยแพรหรือเปดเผยดว ยวธิ กี ารอยางอ่นื
ÁÒμÃÒ ññ นอกจากขอมูลขาวสารของราชการท่ีลงพิมพในราชกิจจานุเบกษาแลว
หรือที่จัดไวใหประชาชนเขาตรวจดูไดแลว หรือที่มีการจัดใหประชาชนไดคนควาตามมาตรา ๒๖
แลว ถาบุคคลใดขอขอมูลขาวสารอื่นใดของราชการและคําขอของผูน้ันระบุขอมูลขาวสารท่ีตองการ
ในลักษณะท่ีอาจเขาใจไดตามควร ใหหนวยงานของรัฐผูรับผิดชอบจัดหาขอมูลขาวสารนั้น
ใหแ กผ ขู อภายในเวลาอันสมควร เวนแตผนู ั้นขอจํานวนมากหรือบอ ยครง้ั โดยไมม เี หตุผลอนั สมควร
ขอ มลู ขา วสารของราชการใดมสี ภาพทอ่ี าจบบุ สลายงา ย หนว ยงานของรฐั จะขอขยายเวลา
ในการจดั หาใหหรอื จะจัดทาํ สําเนาใหใ นสภาพอยางหนึง่ อยา งใด เพ่อื มใิ หเกิดความเสียหายแกข อ มลู
ขา วสารน้ันก็ได
ขอมูลขาวสารของราชการท่ีหนวยงานของรัฐจัดหาใหตามวรรคหน่ึงตองเปนขอมูล
ขาวสารท่ีมอี ยแู ลว ในสภาพท่พี รอมจะใหได มใิ ชเปนการตองไปจดั ทาํ วิเคราะห จาํ แนก รวบรวม หรอื
จัดใหมีข้ึนใหม เวนแตเปนการแปรสภาพเปนเอกสารจากขอมูลขาวสารที่บันทึกไวในระบบการบันทึก
ภาพหรือเสยี ง ระบบคอมพิวเตอรหรอื ระบบอน่ื ใด ทั้งนีต้ ามทีค่ ณะกรรมการกําหนด แตถ า หนว ยงาน
ของรัฐเหน็ วากรณที ี่ขอน้นั มใิ ชการแสวงหาผลประโยชนท างการคา และเปน เร่อื งท่จี าํ เปนเพ่ือปกปอง
สทิ ธเิ สรภี าพสาํ หรบั ผนู นั้ หรอื เปน เรอื่ งทจ่ี ะเปน ประโยชนแ กส าธารณะ หนว ยงานของรฐั จะจดั หาขอ มลู
ขาวสารนน้ั ใหกไ็ ด
บทบัญญัติวรรคสามไมเปนการหามหนวยงานของรัฐท่ีจะจัดใหมีขอมูลขาวสารของ
ราชการใดข้ึนใหมใหแกผูรองขอ หากเปนการสอดคลองดวยอํานาจหนาท่ีตามปกติของหนวยงาน
ของรัฐนนั้ อยแู ลว

๕๑

ใหนําความในมาตรา ๙ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี มาใชบังคับแกการจัดหา
ขอมูลขา วสารใหตามมาตราน้ี โดยอนโุ ลม

ÁÒμÃÒ ñò ในกรณีท่ีมีผูยื่นคําขอขอมูลขาวสารของราชการตามมาตรา ๑๑ แมวา
ขอมูลขาวสารท่ีขอจะอยูในความควบคุมดูแลของหนวยงานสวนกลาง หรือสวนสาขาของหนวยงาน
แหงนั้นหรือจะอยูในความควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐแหงอื่นก็ตาม ใหหนวยงานของรัฐที่รับ
คําขอใหคาํ แนะนํา เพอื่ ไปย่ืนคําขอตอหนวยงานของรฐั ทีค่ วบคุมดแู ลขอมูลขาวสารนั้นโดยไมชกั ชา

ถาหนวยงานของรัฐผูรับคําขอเห็นวาขอมูลขาวสารที่มีคําขอเปนขอมูลขาวสาร
ทจี่ ดั ทาํ โดยหนว ยงานของรฐั แหง อน่ื และไดร ะบหุ า มการเปด เผยไวต ามระเบยี บทก่ี าํ หนดตามมาตรา ๑๖
ใหสง คําขอนน้ั ใหห นวยงานของรัฐผูจดั ทําขอมูลขา วสารน้นั พจิ ารณาเพื่อมคี าํ ส่ังตอไป

ÁÒμÃÒ ñó ผูใดเห็นวาหนวยงานของรัฐไมจัดพิมพขอมูลขาวสารตามมาตรา ๗ หรือ
ไมจัดขอมูลขาวสารไวใหประชาชนตรวจดูไดตามมาตรา ๙ หรือไมจัดหาขอมูลขาวสารใหแกตนตาม
มาตรา ๑๑ หรอื ฝา ฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั นิ ี้ หรอื ปฏบิ ตั หิ นา ทล่ี า ชา หรอื เหน็ วา ตนไมไ ดร บั
ความสะดวกโดยไมมีเหตุอันสมควร ผูนั้นมีสิทธิรองเรียนตอคณะกรรมการ เวนแตเปนเร่ืองเกี่ยวกับ
การมีคําสั่งมิใหเปดเผยขอมูลขาวสารตามมาตรา ๑๕ หรือคําส่ังไมรับฟงคําคัดคานตามมาตรา ๑๗
หรือคําสง่ั ไมแกไขเปลย่ี นแปลงหรือลบขอ มูลขาวสารสวนบุคคลตามมาตรา ๒๕

ในกรณีท่ีมีการรองเรียนตอคณะกรรมการตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการตองพิจารณา
ใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคํารองเรียน ในกรณีท่ีมีเหตุจําเปนใหขยายเวลา
ออกไปได แตต องแสดงเหตผุ ลและรวมเวลาทั้งหมดแลวตองไมเ กินหกสบิ วัน

ËÁÇ´ ò
¢ŒÍÁÙÅ¢Ò‹ ÇÊÒ÷äèÕ Á‹μÍŒ §à»´ à¼Â

ÁÒμÃÒ ñô ขอมูลขาวสารของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบัน
พระมหากษัตรยิ จะเปด เผยมิได

ÁÒμÃÒ ñõ ขอ มลู ขา วสารของราชการทมี่ ลี กั ษณะอยา งหนงึ่ อยา งใดดงั ตอ ไปน้ี หนว ยงาน
ของรฐั หรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั อาจมคี าํ สง่ั มใิ หเ ปด เผยกไ็ ด โดยคาํ นงึ ถงึ การปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ามกฎหมายของ
หนวยงานของรัฐ ประโยชนสาธารณะ และประโยชนข องเอกชนที่เก่ียวของประกอบกัน

(๑) การเปดเผยจะกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ
ระหวางประเทศและความม่ันคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลงั ของประเทศ

(๒) การเปดเผยจะทําใหการบังคับใชกฎหมายเส่ือมประสิทธิภาพ หรือไมอาจสําเร็จ
ตามวตั ถปุ ระสงคไ ด ไมว า จะเกย่ี วกบั การฟอ งคดี การปอ งกนั การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ
หรอื การรูแหลงทม่ี าของขอมลู ขาวสารหรือไมก็ตาม

๕๒

(๓) ความเห็นหรือคําแนะนําภายในหนวยงานของรัฐในการดําเนินการเร่ืองหนึ่งเร่ืองใด
แตท งั้ นไ้ี มร วมถงึ รายงานทางวชิ าการ รายงานขอ เทจ็ จรงิ หรอื ขอ มลู ขา วสารทน่ี าํ มาใชใ นการทาํ ความเหน็
หรอื คาํ แนะนําภายในดังกลาว

(๔) การเปด เผยจะกอ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ ชวี ติ หรอื ความปลอดภยั ของบคุ คลหนงึ่ บคุ คลใด
(๕) รายงานการแพทยห รอื ขอ มลู ขา วสารสว นบคุ คลซง่ึ การเปด เผยจะเปน การรกุ ลา้ํ สทิ ธิ
สว นบุคคลโดยไมสมควร
(๖) ขอมูลขาวสารของราชการที่มีกฎหมายคุมครองมิใหเปดเผย หรือขอมูลขาวสาร
ที่มผี ใู หม าโดยไมประสงคใหท างราชการนําไปเปด เผยตอ ผูอ่นื
(๗) กรณีอนื่ ตามท่กี ําหนดใหพระราชกฤษฎีกา
คําส่ังมิใหเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการจะกําหนดเง่ือนไขอยางใดก็ได แตตองระบุ
ไวด วยวาท่เี ปด เผยไมไดเ พราะเปน ขอมูลขาวสารประเภทใดและเพราะเหตใุ ด และใหถอื วา การมีคําสงั่
เปดเผยขอมูลขาวสารของราชการเปนดุลพินิจโดยเฉพาะของเจาหนาท่ีของรัฐตามลําดับ
สายการบังคับบัญชา แตผูขออาจอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร
ไดต ามทกี่ ําหนดในพระราชบญั ญัตนิ ้ี
ÁÒμÃÒ ñö เพอื่ ใหเ กดิ ความชดั เจนในทางปฏบิ ตั วิ า ขอ มลู ขา วสารของราชการจะเปด เผย
ตอบุคคลใดไดหรือไมภายใตเง่ือนไขเชนใด และสมควรมีวิธีรักษามิใหร่ัวไหลใหหนวยงานของรัฐ
กําหนดวิธีการคุมครองขอมูลขาวสารนั้น ทั้งนี้ ตามระเบียบท่ีคณะรัฐมนตรีกําหนดวาดวยการรักษา
ความลับของทางราชการ
ÁÒμÃÒ ñ÷ ในกรณที เ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั เหน็ วา การเปด เผยขอ มลู ขา วสารของราชการใด
อาจกระทบถึงประโยชนไดเสียของผูใด ใหเจาหนาท่ีของรัฐแจงใหผูน้ันเสนอคําคัดคานภายในเวลา
ท่ีกําหนด แตตองใหเวลาอันสมควรท่ีผูนั้นอาจเสนอคําคัดคานได ซึ่งตองไมนอยกวาสิบหาวันนับแต
วนั ที่ไดรับแจง
ผูท่ีไดรับแจงตามวรรคหนึ่ง หรือผูท่ีทราบวาการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการใด
อาจกระทบถงึ ประโยชนไ ดเ สยี ของตน มสี ทิ ธคิ ดั คา นการเปด เผยขอ มลู ขา วสารนนั้ ไดโ ดยทาํ เปน หนงั สอื
ถึงเจา หนาท่ขี องรัฐผูรับผิดชอบ
ในกรณีท่ีมีการคัดคาน เจาหนาที่ของรัฐผูรับผิดชอบตองพิจารณาคําคัดคานและแจงผล
การพิจารณาใหผูคัดคานทราบโดยไมชักชา ในกรณีที่มีคําสั่งไมรับฟงคําคัดคาน เจาหนาท่ีของรัฐ
จะเปดเผยขอมูลขาวสารน้ันมิไดจนกวาจะลวงพนกําหนดเวลาอุทธรณตามมาตรา ๑๘ หรือจนกวา
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารไดมีคําวินิจฉัยใหเปดเผยขอมูลขาวสารน้ันได
แลวแตก รณี
ÁÒμÃÒ ñø ในกรณีท่ีเจาหนาที่ของรัฐมีคําสั่งมิใหเปดเผยขอมูลขาวสารใดตาม
มาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ หรือมีคําส่ังไมรับฟงคําคัดคานของผูมีประโยชนไดเสียตามมาตรา ๑๗

๕๓

ผูนั้นอาจอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับ
แจง คาํ สั่งนัน้ โดยยน่ื คาํ อทุ ธรณต อ คณะกรรมการ

ÁÒμÃÒ ñù การพิจารณาเก่ียวกับขอมูลขาวสารท่ีมีคําส่ังมิใหเปดเผยนั้นไมวาจะเปน
การพิจารณาของคณะกรรมการ คณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปดเผยขอ มลู ขาวสารหรอื ศาลก็ได จะตอ ง
ดําเนินกระบวนการพิจารณาโดยมิใหขอมูลขาวสารน้ันเปดเผยแกบุคคลอื่นใดที่ไมจําเปนแก
การพจิ ารณาและในกรณีท่ีจาํ เปนจะพิจารณาลับหลังคกู รณีหรือคคู วามฝายใดกไ็ ด

ÁÒμÃÒ òð การเปดเผยขอมูลขาวสารใด แมจะเขาขายตองมีความรับผิดชอบตาม
กฎหมายใด ใหถอื วา เจา หนา ทข่ี องรฐั ไมต อ งรับผิดหากเปน การกระทําโดยสุจริตในกรณีดังตอ ไปนี้

(๑) ขอมูลขาวสารตามมาตรา ๑๕ ถาเจาหนาที่ของรัฐไดดําเนินการโดยถูกตองตาม
ระเบยี บตามมาตรา ๑๖

(๒) ขอมูลขาวสารตามมาตรา ๑๕ ถาเจาหนาที่ของรัฐในระดับตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวงมีคําส่ังใหเปดเผยเปนการท่ัวไปหรือเฉพาะแกบุคคลใด เพ่ือประโยชนอันสําคัญย่ิงกวา
ท่ีเก่ียวกับประโยชนสาธารณะหรือชีวิต รางกาย สุขภาพ หรือประโยชนอื่นของบุคคล และคําสั่งน้ัน
ไดกระทําโดยสมควรแกเหตุ ในการนี้จะมีการกําหนดขอจํากัดหรือเง่ือนไขในการใชขอมูลขาวสารน้ัน
ตามความเหมาะสมกไ็ ด

การเปดเผยขอมูลขาวสารตามวรรคหน่ึงไมเปนเหตุใหหนวยงานของรัฐพนจาก
ความรับผิดตามกฎหมายหากจะพึงมใี นกรณดี งั กลา ว

ËÁÇ´ ó
¢ÍŒ ÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒÃʋǹº¤Ø ¤Å

ÁÒμÃÒ òñ เพื่อประโยชนแหงหมวดนี้ “บุคคล” หมายความวา บุคคลธรรมดาท่ีมี
สัญชาติไทย และบคุ คลธรรมดาทไี่ มมีสัญชาติไทยแตมีถิน่ ท่อี ยูในประเทศไทย

ÁÒμÃÒ òò สาํ นกั ขา วกรองแหง ชาติ สาํ นกั งานสภาความมน่ั คงแหง ชาตแิ ละหนว ยงาน
ของรัฐแหงอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง อาจออกระเบียบโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
กําหนดหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงื่อนไขที่มิใหนาํ บทบญั ญัติวรรคหน่งึ (๓) ของมาตรา ๒๓ มาใชบงั คับ
กบั ขอมลู ขา วสารสว นบุคคลทอี่ ยูใ นความควบคมุ ดแู ลของหนวยงานดังกลา วกไ็ ด

หนว ยงานของรฐั แหง อนื่ ทจี่ ะกาํ หนดในกฎกระทรวงตามวรรคหนง่ึ นน้ั ตอ งเปน หนว ยงาน
ของรัฐซ่ึงการเปดเผยประเภทขอมูลขาวสารสวนบุคคลตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง (๓) จะเปน
อุปสรรครายแรงตอการดาํ เนนิ การของหนว ยงานดังกลาว

๕๔

ÁÒμÃÒ òó หนว ยงานของรฐั ตอ งปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การจดั ระบบขอ มลู ขา วสารสว นบคุ คล
ดงั ตอ ไปนี้

(๑) ตองจัดใหมีระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคลเพียงเทาที่เกี่ยวของ และจําเปน
เพอ่ื การดาํ เนนิ งานของหนว ยงานของรฐั ใหส าํ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคเ ทา นน้ั และยกเลกิ การจดั ใหม รี ะบบ
ดังกลา วเมื่อหมดความจาํ เปน

(๒) พยายามเก็บขอมูลขาวสารโดยตรงจากเจาของขอมูล โดยเฉพาะอยางย่ิงในกรณีท่ี
จะกระทบถงึ ประโยชนไดเ สยี โดยตรงของบคุ คลนน้ั

(๓) จัดใหมีการพิมพในราชกิจจานุเบกษา และตรวจสอบแกไขใหถูกตองอยูเสมอ
เกี่ยวกบั สิง่ ดงั ตอ ไปนี้

(ก) ประเภทของบุคคลทม่ี กี ารเก็บขอ มูลไว
(ข) ประเภทของระบบขอมลู ขาวสารสว นบคุ คล
(ค) ลักษณะการใชข อ มลู ตามปกติ
(ง) วธิ กี ารขอตรวจดขู อมลู ขาวสารของเจา ของขอ มลู
(จ) วธิ กี ารขอใหแกไขเปล่ยี นแปลงขอมูล
(ฉ) แหลง ท่มี าของขอ มลู
(๔) ตรวจสอบแกไขขอ มูลขา วสารสวนบคุ คลในความรบั ผิดชอบใหถ กู ตองอยเู สมอ
(๕) จัดระบบรักษาความปลอดภัยใหแกระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคลตามความ
เหมาะสม เพอ่ื ปองกนั มใิ หมกี ารนําไปใชโ ดยไมเหมาะสมหรอื เปน ผลรา ยตอเจา ของขอมูล
ในกรณที เี่ กบ็ ขอ มลู ขา วสารโดยตรงจากเจา ของขอ มลู หนว ยงานของรฐั ตอ งแจง ใหเ จา ของ
ขอ มลู ทราบลว งหนา หรอื พรอ มกบั การขอขอ มลู ถงึ วตั ถปุ ระสงคท จ่ี ะนาํ ขอ มลู มาใช ลกั ษณะการใชข อ มลู
ตามปกติ และกรณที ขี่ อขอ มลู นน้ั เปน กรณที อ่ี าจใหข อ มลู ไดโ ดยความสมคั รใจหรอื เปน กรณมี กี ฎหมาย
บังคับ
หนวยงานของรัฐตองแจงใหเจาของขอมูลทราบ ในกรณีมีการใหจัดสงขอมูลขาวสาร
สวนบุคคลไปยังท่ีใดซ่ึงจะเปนผลใหบุคคลท่ัวไปทราบขอมูลขาวสารน้ันได เวนแตเปนไปตามลักษณะ
การใชข อมูลตามปกติ
ÁÒμÃÒ òô หนวยงานของรัฐจะเปดเผยขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่อยูในความควบคุม
ดูแลของตนตอ หนวยงานของรฐั แหง อนื่ หรือผูอนื่ โดยปราศจากความยนิ ยอมเปนหนงั สือของเจาของ
ขอ มูลทใี่ หไ วล ว งหนาหรือในขณะนัน้ มไิ ด เวนแตเปนการเปด เผยดงั ตอ ไปนี้
(๑) ตอเจาหนาท่ีของรัฐในหนวยงานของตน เพื่อการนําไปใชตามอํานาจหนาท่ีของ
หนว ยงานของรฐั แหงนั้น
(๒) เปนการใชขอมูลตามปกติภายในวัตถุประสงคของการจัดใหมีระบบขอมูลขาวสาร
สว นบุคคลน้นั

๕๕

(๓) ตอหนวยงานของรัฐที่ทํางานดวยการวางแผน หรือการสถิติ หรือสํามะโนตางๆ
ซง่ึ มหี นา ท่ตี อ งรักษาขอ มลู ขาวสารสว นบุคคลไวไมใ หเ ปด เผยตอ ไปยังผูอน่ื

(๔) เปนการใหเพื่อประโยชนในการศึกษาวิจัย โดยไมระบุช่ือหรือสวนที่ทําใหรูวาเปน
ขอมลู ขาวสารสวนบคุ คลทเี่ ก่ยี วกบั บคุ คลใด

(๕) ตอ หอจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร หรอื หนว ยงานอ่ืนของรัฐตามมาตรา ๒๖
วรรคหน่งึ เพ่ือการตรวจดูคุณคา ในการเก็บรกั ษา

(๖) ตอ เจา หนา ทขี่ องรฐั เพอ่ื การปอ งกนั การฝา ฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย การสบื สวน
การสอบสวน หรือการฟองคดี ไมวาเปน คดีประเภทใดกต็ าม

(๗) เปน การใหซ ง่ึ จาํ เปน เพอื่ การปอ งกนั หรอื ระงบั อนั ตรายตอ ชวี ติ หรอื สขุ ภาพของบคุ คล
(๘) ตอ ศาล และเจา หนา ทข่ี องรฐั หรอื หนว ยงานของรฐั หรอื บคุ คลทมี่ อี าํ นาจตามกฎหมาย
ทจ่ี ะขอขอเทจ็ จรงิ ดงั กลาว
(๙) กรณีอน่ื ตามที่กาํ หนดในพระราชกฤษฎีกา
การเปด เผยขอ มูลขาวสารสวนบุคคลตามวรรคหนงึ่ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) ใหม ี
การจัดทําบัญชีแสดงการเปดเผยกํากับไวกับขอมูลขาวสารน้ัน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด
ในกฎกระทรวง
ÁÒμÃÒ òõ ภายใตบังคับมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ บุคคลยอมมีสิทธิที่จะไดรูถึง
ขอมูลขาวสารสวนบุคคลท่ีเกี่ยวกับตน และเมื่อบุคคลนั้นมีคําขอเปนหนังสือ หนวยงานของรัฐท่ี
ควบคุมดูแลขอมูลขาวสารนั้นจะตองใหบุคคลน้ันหรือผูกระทําการแทนบุคคลน้ันไดตรวจดูหรือไดรับ
สาํ เนาขอ มูลขา วสารสว นบคุ คลสวนทเี่ กี่ยวกับบุคคลน้ัน และใหนาํ มาตรา ๙ วรรคสอง และวรรคสาม
มาใชบ ังคับโดยอนุโลม
การเปดเผยรายงานการแพทยท่ีเก่ียวกับบุคคลใด ถากรณีมีเหตุอันควรเจาหนาที่ของรัฐ
จะเปด เผยตอ เฉพาะแพทยท ี่บคุ คลนน้ั มอบหมายกไ็ ด
ถาบุคคลใดเห็นวาขอมูลขาวสารสวนบุคคลท่ีเก่ียวกับตนสวนใดไมถูกตองตามท่ีเปนจริง
ใหมีสิทธิยื่นคําขอเปนหนังสือใหหนวยงานของรัฐท่ีควบคุมดูแลขอมูลขาวสาร แกไข เปลี่ยนแปลง
หรือลบขอ มลู ขา วสารสว นนนั้ ได ซึง่ หนว ยงานของรัฐจะตองพจิ ารณาคาํ ขอดังกลา ว และแจง ใหบ ุคคล
นัน้ ทราบโดยไมชักชา
ในกรณที ห่ี นว ยงานของรฐั ไมแ กไ ขเปลยี่ นแปลงหรอื ลบขอ มลู ขา วสารใหต รงตามทม่ี คี าํ ขอ
ใหผูน้ันมีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารภายในสามสิบวันนับแตวัน
ไดร บั แจง คาํ สง่ั ไมย นิ ยอม แกไ ข เปลยี่ นแปลงหรอื ลบขอ มลู ขา วสาร โดยยน่ื คาํ อทุ ธรณต อ คณะกรรมการ
และไมวากรณีใดๆ ใหเจาของขอมูลมีสิทธิรองขอใหหนวยงานของรัฐหมายเหตุคําขอของตนแนบไว
กับขอมูลขา วสารสวนบคุ คลทีเ่ กี่ยวของได

๕๖

ใหบุคคลตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวงมีสิทธิดาํ เนินการตามมาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และ
มาตราน้ีแทนผูเยาว คนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ หรือเจาของขอมูลท่ีถึงแกกรรม
แลวก็ได

ËÁÇ´ ô
àÍ¡ÊÒûÃÐÇÑμÔÈÒÊμÏ

ÁÒμÃÒ òö ขอมูลขาวสารของราชการท่ีหนวยงานของรัฐไมประสงคจะเก็บรักษา
หรอื มอี ายคุ รบกาํ หนดตามวรรคสองนบั แตว นั ทเ่ี สรจ็ สนิ้ การจดั ใหม ขี อ มลู ขา วสารนนั้ ใหห นว ยงานของรฐั
สง มอบใหแ กห อจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากรหรอื หนว ยงานอน่ื ของรฐั ตามทก่ี าํ หนดในพระราช
กฤษฎกี า เพ่ือคดั เลอื กไวใ หป ระชาชนไดศ ึกษาคน ควา

กาํ หนดเวลาตองสง ขอมูลขา วสารของราชการตามวรรคหนง่ึ ใหแ ยกประเภท ดังนี้
(๑) ขอมูลขา วสารของราชการตามมาตรา ๑๔ เมื่อครบเจด็ สิบหา ป
(๒) ขอมลู ขา วสารของราชการตามมาตรา ๑๕ เมอื่ ครบยีส่ บิ ป
กําหนดเวลาตามวรรคสอง อาจขยายออกไปไดในกรณดี ังตอไปนี้
(๑) หนวยงานของรัฐยังจําเปนตองเก็บรักษาขอมูลขาวสารของราชการไวเอง
เพ่ือประโยชนในการใชสอย โดยตองจัดเก็บและจัดใหประชาชนไดศึกษาคนควาตามท่ีจะตกลงกับ
หอจดหมายเหตแุ หง ชาติ กรมศลิ ปากร
(๒) หนวยงานของรัฐเห็นวา ขอมูลขาวสารน้ันยังไมควรเปดเผย โดยมีคําส่ังขยายเวลา
กํากับไวเปนการเฉพาะราย คําส่ังการขยายเวลานั้นใหกําหนดระยะเวลาไวดวย แตจะกําหนดเกิน
คราวละหา ปไมได
การตรวจสอบหรอื ทบทวนมใิ หม กี ารขยายเวลาไมเปด เผยจนเกินความจําเปน ใหเ ปน ไป
ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
บทบัญญัติตามมาตราน้ี มิใหใชบังคับกับขอมูลขาวสารของราชการตามที่คณะรัฐมนตรี
ออกระเบียบกําหนดใหหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาท่ีของรัฐจะตองทําลายหรืออาจทําลายได
โดยไมต อ งเก็บรักษา

๕๗

ËÁÇ´ õ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òâ͌ ÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒâͧÃÒª¡ÒÃ

ÁÒμÃÒ ò÷ ใหมีคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ประกอบดวยรัฐมนตรี
ซงึ่ นายกรฐั มนตรมี อบหมายเปน ประธาน ปลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ปลดั กระทรวงกลาโหม ปลดั กระทรวง
เกษตรและสหกรณ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการตางประเทศ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ปลดั กระทรวงพาณชิ ย เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี า เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื น
เลขาธกิ ารสภาความมน่ั คงแหงชาติ เลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร ผูอ าํ นวยการสาํ นักขา วกรองแหง ชาติ
ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และผูทรงคุณวุฒิอ่ืนจากภาครัฐและภาคเอกชน ซ่ึงคณะรัฐมนตรี
แตง ตั้งอกี เกา คนเปน กรรมการ

ใหปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีแตงตั้งขาราชการของสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
คนหน่ึงเปน เลขานุการ และอีกสองคนเปนผูชวยเลขานุการ

ÁÒμÃÒ òø คณะกรรมการมอี ํานาจหนา ที่ ดังตอ ไปนี้
(๑) สอดสอง ดูแล และใหคําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินงานของเจาหนาท่ีของรัฐ
และหนว ยงานของรัฐในการปฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) ใหคําปรึกษาแกเจาหนาที่ของรัฐหรือหนวยงานของรัฐ เก่ียวกับการปฏิบัติตาม
พระราชบัญญตั นิ ต้ี ามท่ีไดร บั คําขอ
(๓) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎกี า และการออกกฎกระทรวง หรอื ระเบยี บของ
คณะรัฐมนตรตี ามพระราชบัญญตั ินี้
(๔) พิจารณาและใหความเห็นเรอื่ งรองเรยี นตามมาตรา ๑๓
(๕) จัดทํารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ เสนอคณะรัฐมนตรีเปน
ครัง้ คราวตามความเหมาะสม แตอยางนอ ยปล ะหนง่ึ ครง้ั
(๖) ปฏบิ ตั หิ นา ที่อ่ืนตามท่กี าํ หนดในพระราชบัญญัตนิ ี้
(๗) ดาํ เนนิ การเร่อื งอ่นื ตามทคี่ ณะรัฐมนตรหี รือนายกรฐั มนตรมี อบหมาย
ÁÒμÃÒ òù กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ซิ งึ่ ไดร บั แตง ตงั้ ตามมาตรา ๒๗ มวี าระอยใู นตาํ แหนง
คราวละสามปน บั แตว ันท่ไี ดร ับแตง ตั้ง ผทู ีพ่ น จากตาํ แหนง แลวอาจไดรบั แตง ต้ังใหมได
ÁÒμÃÒ óð นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการผูทรงคุณวุฒิซ่ึงไดรับ
แตงตั้งตามมาตรา ๒๗ พน จากตาํ แหนง เมอื่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) คณะรัฐมนตรีใหออกเพราะมีความประพฤติเส่ือมเสีย บกพรอง หรือไมสุจริต
ตอหนาที่ หรอื หยอ นความสามารถ

๕๘

(๔) เปน บคุ คลลม ละลาย
(๕) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรค วามสามารถ
(๖) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิด
ท่ไี ดกระทําโดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ
ÁÒμÃÒ óñ การประชมุ ของคณะกรรมการ ตอ งมกี รรมการมาประชมุ ไมน อ ยกวา กงึ่ หนง่ึ
ของจํานวนกรรมการทงั้ หมดจงึ จะเปน องคป ระชุม
ใหป ระธานกรรมการเปน ประธานในทป่ี ระชมุ ถา ประธานกรรมการไมม าประชมุ หรอื ไมอ าจ
ปฏิบตั ิหนาทไี่ ด ใหกรรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึง่ เปนประธานในท่ปี ระชมุ
การวินจิ ฉยั ช้ีขาดของท่ปี ระชุมใหถ ือเสยี งขางมาก กรรมการคนหน่ึงใหม เี สียงหนง่ึ ในการ
ลงคะแนน ถา คะแนนเสยี งเทา กนั ใหป ระธานในทป่ี ระชมุ ออกเสยี งเพม่ิ ขนึ้ อกี เสยี งหนงึ่ เปน เสยี งชขี้ าด
ÁÒμÃÒ óò ใหคณะกรรมการมีอํานาจเรียกใหบุคคลใดมาใหถอยคําหรือใหสงวัตถุ
เอกสาร หรอื พยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาได
ÁÒμÃÒ óó ในกรณีท่ีหนวยงานของรัฐปฏิเสธวาไมมีขอมูลขาวสารตามที่มีคําขอ
ไมวาจะเปนกรณีมาตรา ๑๑ หรือมาตรา ๒๕ ถาผูมีคําขอไมเชื่อวาเปนความจริงและรองเรียนตอ
คณะกรรมการตามมาตรา ๑๓ ใหคณะกรรมการมีอํานาจเขาดําเนินการตรวจสอบขอมูลขาวสารของ
ราชการทเี่ กีย่ วขอ งไดแ ละแจงผลการตรวจสอบใหผูรองเรยี นทราบ
หนว ยงานของรฐั หรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ตอ งยนิ ยอมใหค ณะกรรมการหรอื ผซู ง่ึ คณะกรรมการ
มอบหมายเขาตรวจสอบขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองของตนได ไมวาจะเปนขอมูลขาวสาร
ที่เปด เผยไดห รือไมก ต็ าม
ÁÒμÃÒ óô คณะกรรมการจะแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงาน
อยางใดอยางหนึ่งตามท่ีคณะกรรมการมอบหมายก็ไดและใหนําความในมาตรา ๓๑ มาใชบังคับ
โดยอนโุ ลม

ËÁÇ´ ö
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÇ¹Ô Ô¨©ÂÑ ¡ÒÃà»´ à¼Â¢ŒÍÁÙÅ¢Ò‹ ÇÊÒÃ

ÁÒμÃÒ óõ ใหม คี ณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปด เผยขอ มลู ขา วสารสาขาตา งๆ ตามความ
เหมาะสมซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงต้ังตามขอเสนอของคณะกรรมการ มีอํานาจหนาท่ีพิจารณาวินิจฉัย
อทุ ธรณคาํ ส่งั มใิ หเ ปดเผยขอ มูลขา วสารตามมาตรา ๑๔ หรอื มาตรา ๑๕ หรือคาํ สงั่ ไมรบั ฟง คําคดั คาน
ตามมาตรา ๑๗ และคาํ สั่งไมแ กไ ขเปลย่ี นแปลงหรือลบขอมูลขาวสารสว นบคุ คลตามมาตรา ๒๕

๕๙

การแตง ตง้ั คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปดเผยขอ มูลขา วสารตามวรรคหนึ่ง ใหแ ตง ตัง้ ตาม
สาขาความเชย่ี วชาญเฉพาะดา นของขอ มลู ขา วสารของราชการ เชน ความมน่ั คงของประเทศ เศรษฐกจิ
และการคลังของประเทศ หรอื การบงั คบั ใชกฎหมาย

ÁÒμÃÒ óö คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปด เผยขอ มลู ขา วสาร คณะหนงึ่ ๆ ประกอบดว ย
บุคคลตามความจําเปน แตตองไมนอยกวาสามคน และใหขาราชการที่คณะกรรมการแตงตั้งปฏิบัติ
หนา ทเ่ี ปนเลขานุการและผูชว ยเลขานกุ าร

ในกรณีพิจารณาเก่ียวกับขอมูลขาวสารของหนวยงานของรัฐแหงใด กรรมการวินิจฉัย
การเปดเผยขอมลู ขา วสารซ่ึงมาจากหนว ยงานของรฐั แหงน้นั จะเขารวมพิจารณาดวยไมได

กรรมการวินจิ ฉัยการเปด เผยขอมลู ขาวสาร จะเปนเลขานุการหรือผูชว ยเลขานกุ ารไมได
ÁÒμÃÒ ó÷ ใหค ณะกรรมการพจิ ารณาสง คาํ อทุ ธรณใ หค ณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปด เผย
ขอมูลขาวสาร โดยคํานึงถึงความเช่ียวชาญเฉพาะดานของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผย
ขอ มลู ขาวสารแตล ะสาขาภายในเจด็ วนั นบั แตวนั ท่คี ณะกรรมการไดรบั คาํ อุทธรณ
คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารใหเปนท่ีสุด และในการมี
คําวินิจฉัยจะมีขอสังเกตเสนอตอคณะกรรมการเพื่อใหหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของปฏิบัติเก่ียวกับ
กรณใี ดตามทีเ่ หน็ สมควรก็ได
ใหน าํ ความในมาตรา ๑๓ วรรคสอง มาใชบ งั คบั แกก ารพจิ ารณาอทุ ธรณข องคณะกรรมการ
วินจิ ฉัยการเปด เผยขอมลู ขา วสารโดยอนโุ ลม
ÁÒμÃÒ óø อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารแตละ
สาขา วิธีพิจารณาและวินิจฉัย และองคคณะในการพิจารณาและวินิจฉัย ใหเปนไปตามระเบียบ
ท่คี ณะกรรมการกําหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
ÁÒμÃÒ óù ใหนําบทบัญญตั มิ าตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๒ และบทกาํ หนดโทษ
ที่ประกอบกับบทบัญญัติดังกลาวมาใชบังคับกับคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร
โดยอนโุ ลม

ËÁÇ´ ÷
º·กํา˹´â·É

ÁÒμÃÒ ôð ผใู ดไมป ฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการท่สี ัง่ ตามมาตรา ๓๒ ตองระวาง
โทษจําคุกไมเกินสามเดือน หรอื ปรบั ไมเกนิ หา พนั บาท หรือท้งั จําทัง้ ปรบั

ÁÒμÃÒ ôñ ผใู ดฝา ฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามขอ จาํ กดั หรอื เงอื่ นไขทเี่ จา หนา ทข่ี องรฐั กาํ หนด
ตามมาตรา ๒๐ ตองระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ หนงึ่ ป หรอื ปรับไมเกินสองหมืน่ บาท หรอื ท้งั จาํ ท้ังปรับ

๖๐

º·à©¾ÒСÒÅ

ÁÒμÃÒ ôò บทบญั ญตั มิ าตรา ๗ มาตรา ๘ และมาตรา ๙ มใิ หใ ชบ งั คบั กบั ขอ มลู ขา วสาร
ของราชการทเ่ี กิดข้นึ กอ นวนั ท่พี ระราชบญั ญัตนิ ้ใี ชบงั คบั

ใหหนวยงานของรัฐจัดพิมพขอมูลขาวสารตามวรรคหนึ่ง หรือจัดใหมีขอมูลขาวสารตาม
วรรคหนง่ึ ไวเ พอ่ื ใหป ระชาชนเขา ตรวจดไู ดแ ลว แตก รณี ทง้ั นต้ี ามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทค่ี ณะกรรมการ
จะไดกําหนด

ÁÒμÃÒ ôó ใหระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.๒๕๑๗ ในสวน
ท่ีเกี่ยวกับขอมูลขาวสารของราชการ ยังคงใชบังคับตอไปไดเทาท่ีไมขัดหรือแยงตอพระราชบัญญัตินี้
เวน แตร ะเบียบที่คณะรฐั มนตรีกาํ หนดตามมาตรา ๑๖ จะไดกาํ หนดเปน อยา งอน่ื

ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
นายกรัฐมนตรี

ËÁÒÂàËμØ:- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้คือ ในระบอบประชาธิปไตย การให
ประชาชนมีโอกาสกวางขวางในการไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินการตางๆ ของรัฐเปน
สิ่งจําเปนเพื่อท่ีประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใชสิทธิทางการเมืองไดโดยถูกตองกับ
ความเปนจริง อันเปนการสงเสริมใหมีความเปนรัฐบาลโดยประชาชนมากยิ่งข้ึน สมควร
กําหนดใหประชาชนมีสิทธิไดรูขอมูลขาวสารของราชการ โดยมีขอยกเวนอันไมตองเปดเผยที่แจงชัด
และจํากัดเฉพาะขอมูลขาวสารที่หากเปดเผยแลวจะเกิดความเสียหายตอประเทศชาติหรือตอ
ประโยชนท สี่ าํ คญั ของเอกชน ทง้ั นี้ เพอ่ื พฒั นาระบอบประชาธปิ ไตยใหม น่ั คงและจะยงั ผลใหป ระชาชน
มโี อกาสรถู งึ สทิ ธหิ นา ทขี่ องตนอยา งเตม็ ที่ เพอ่ื ทจ่ี ะปกปก รกั ษาประโยชนข องตนไดอ กี ประการหนง่ึ ดว ย
ประกอบกบั สมควรคมุ ครองสทิ ธสิ ว นบคุ คลในสว นทเี่ กย่ี วขอ งกบั ขอ มลู ขา วสารของราชการไปพรอ มกนั
จงึ จําเปน ตองตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี

๖๑

ºÑ¹·¡Ö ¢ŒÍ¤ÇÒÁ

ÊÇ‹ ¹ÃÒª¡Òà สลก.ตร. โทร. ๐ ๒๒๐๕ ๑๐๑๔
·Õè ๐๐๐๑.๕/ว ๑๙ Çѹ·Õè ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒
àÃè×ͧ แนวทางการคมุ ครองขอ มลู สว นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
àÃÕ¹ ผบ.ตร.
จตช., รอง ผบ.ตร. หรอื ตําแหนงเทียบเทา
ผชู ว ย ผบ.ตร. หรอื ตาํ แหนง เทยี บเทา
ผบช. หรือตาํ แหนงเทียบเทา
ผบก. ในสังกดั สง.ผบ.ตร.

ดว ยสาํ นกั งานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี มหี นงั สือท่ี นร ๐๑๐๘/ว ๓๒๕ ลง ๑๔ ม.ค. ๖๒
ประสานงาน ตร. เรื่อง แนวทางการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร
ของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ โดยคณะอนุกรรมการคุมครอง
ขอ มลู ขา วสารสว นบคุ คลฯ ไดก าํ หนดแนวทางการคมุ ครองขอ มลู สว นบคุ คล ตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู
ขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ในหมวดที่ ๓ วา ดว ยขอมูลขา วสารสว นบคุ คล รายละเอยี ดปรากฏ
ตามสําเนาเอกสารทีไ่ ดแ นบมาพรอมนี้

จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบ เปนทางประสานในการปฏบิ ัตริ าชการตอ ไป

พ.ต.อ.
(พพิ ัฒน ขุม มณีกูล)

รอง ผบก.ฯ ปรท.ลก.ตร.

๖๒

ที่ นร ๐๑๐๘/ว ๓๒๕ สาํ นักงานปลัดสาํ นักนายกรัฐมนตรี
ทําเนียบรัฐบาล กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐
๑๔ มกราคม ๒๕๖๒

เรอ่ื ง แนวทางการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ
พ.ศ.๒๕๔๐

เรยี น ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ
สิ่งทสี่ งมาดวย แนวทางการคมุ ครองขอ มลู สว นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขา วสารของราชการ

พ.ศ.๒๕๔๐

ดว ยคณะกรรมการขอ มลู ขา วสารของราชการ โดยคณะอนกุ รรมการคมุ ครองขอ มลู ขา วสาร
สว นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ไดก าํ หนดแนวทางการคมุ ครอง
ขอ มลู สว นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ในหมวดท่ี ๓ วา ดว ยขอ มลู
สว นบุคคล รายละเอยี ดปรากฏตามส่ิงทส่ี งมาดวย

สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี จึงขอสงแนวทางการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตาม
พระราชบญั ญตั ิขอ มูลขา วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ มาเพ่ือใหห นวยงานถอื ปฏบิ ตั ติ อไป

จึงเรียนมาเพ่อื โปรดทราบ

ขอแสดงความนบั ถอื

(นางประภาศรี บุญวิเศษ)
รองปลัดสํานกั นายกรัฐมนตรี ปฏบิ ัตริ าชการแทน

ปลัดสํานกั นายกรฐั มนตรี

สาํ นักงานคณะกรรมการขอมลู ขาวสารของราชการ (นายเฉลมิ พล เลยี บทว)ี
โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๓
โทรสาร ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๙๘

๖๓

ท่ี นร ๐๑๐๘/ว ๓๑๙ สาํ นกั งานปลดั สาํ นักนายกรฐั มนตรี
ทําเนียบรัฐบาล กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐
๑๔ มกราคม ๒๕๖๒

เรือ่ ง แนวทางการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ
พ.ศ.๒๕๔๐

เรยี น ปลดั กระทรวงมหาดไทย
สงิ่ ท่สี งมาดว ย แนวทางการคมุ ครองขอ มลู สว นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขา วสารของราชการ

พ.ศ.๒๕๔๐

ดว ยคณะกรรมการขอ มลู ขา วสารของราชการ โดยคณะอนกุ รรมการคมุ ครองขอ มลู ขา วสาร
สว นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ไดก าํ หนดแนวทางการคมุ ครอง
ขอ มลู สว นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขา วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ในหมวดที่ ๓ วา ดว ยขอ มลู
สวนบุคคล รายละเอยี ดปรากฏตามส่ิงท่สี ง มาดว ย

สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี จึงขอสงแนวทางการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตาม
พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ มาเพอ่ื ใหหนวยงานถือปฏบิ ัติตอ ไป

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณาดาํ เนนิ การ และกรณุ าแจง ใหห นว ยงานในสงั กดั รวมทงั้ องคก ร
ปกครองสวนทองถนิ่ ทราบและถอื ปฏิบตั ิตอไปดว ย จักขอบคณุ มาก

ขอแสดงความนับถือ

(นางประภาศรี บุญวเิ ศษ)
รองปลดั สํานักนายกรัฐมนตรี ปฏบิ ัติราชการแทน

ปลัดสาํ นักนายกรฐั มนตรี
สํานกั งานคณะกรรมการขอ มูลขา วสารของราชการ (นายเฉลมิ พล เลียบทว)ี
โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๓
โทรสาร ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๙๘

๖๔

á¹Ç·Ò§¡ÒäÁØŒ ¤Ãͧ¢ÍŒ ÁÅ٠ʋǹºØ¤¤Å
μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ Ô¢ÍŒ ÁÙÅ¢Ò‹ ÇÊÒâͧÃÒª¡Òà ¾.È. òõôð
๑. หนวยงานของรัฐตองแจงเจาของขอมูลใหทราบอยางชัดเจนวาจะมีการจัดเก็บ
ขอ มูลสวนบคุ คลใดบาง รวมถงึ วตั ถุประสงคข องการจดั เกบ็ ประเภทของบุคคลหรอื องคก รทีอ่ าจไดร บั
การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลท่ีจัดเก็บ โดยตองแจงสิทธิของเจาของขอมูลและมาตรการที่จะใชในการ
จํากัดการใช การเปดเผย การเขาถึง และการแกไข ทั้งน้ีตองแจงกอนหรือในขณะเก็บ หรือเร็วที่สุด
หลงั การจดั เกบ็ ทง้ั นใ้ี นการจดั เกบ็ หนว ยงานของรฐั ตอ งพยายามเกบ็ ขอ มลู ขา วสารโดยตรงจากเจา ของ
ขอ มลู โดยเฉพาะอยางย่ิงในกรณีท่ีจะกระทบถงึ ประโยชนไ ดเสยี โดยตรงของบคุ คลน้นั
๒. หนว ยงานของรฐั ตอ งจดั ใหม รี ะบบขอ มลู ขา วสารสว นบคุ คลเพยี งเทา ทเ่ี กย่ี วขอ งและ
จาํ เปน เพอ่ื การดาํ เนนิ งานของรฐั ใหส าํ เรจ็ เปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคข องการจดั เกบ็ และตอ งจดั เกบ็ โดยวธิ ี
ทถี่ กู ตอ งตามกฎหมาย ทเี่ กย่ี วขอ งเปน ธรรมและเหมาะสม โดยไดแ จง และไดข อคาํ ยนิ ยอมจากเจา ของ
ขอมูลสวนบุคคลแลวและมีหนาที่ยกเลิกการจัดใหมีระบบดังกลาวเมื่อหมดความจําเปน และจัดใหมี
การพมิ พใ นราชกจิ จานเุ บกษาและตรวจสอบแกไ ขใหถ กู ตอ งอยเู สมอตามทก่ี ฎหมายขอ มลู ขา วสารของ
ราชการกาํ หนด
๓. หนวยงานของรัฐเม่ือมีการจัดเก็บขอมูลตองนําไปใชเฉพาะตามวัตถุประสงคของ
การจัดเก็บเทานั้น เวนแตไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลใหนําไปใชในวัตถุประสงคอื่นได ท้ังนี้
การเปด เผยขอ มลู สว นบคุ คลทห่ี นว ยงานของรฐั จดั เกบ็ ใหก บั บคุ คลอนื่ ไดร บั ทราบไมส ามารถกระทาํ ได
โดยปราศจากความยินยอมเปนหนังสือของเจาของขอมูลท่ีใหไวลวงหนาหรือในขณะน้ันมิได เวนแต
เปนการเปด เผยตามท่ีกฎหมายขอมูลขา วสารของราชการกําหนดใหสามารถกระทําได
๔. หนว ยงานของรฐั ตอ งแจง สทิ ธใิ หท ราบลว งหนา หรอื พรอ มกบั การขอขอ มลู วา เจา ของ
ขอมูลมีสิทธิเลือกวาจะยินยอมใหมีการจัดเก็บ ใช และเปดเผยขอมูลสวนบุคคลของตน ไมวาจะเปน
การขอขอ มลู โดยสมัครใจหรือมกี ฎหมายบงั คบั ก็ตาม
๕. หนวยงานของรัฐมีหนาที่ในการตรวจสอบขอมูลที่จัดเก็บใหมีความถูกตองสมบูรณ
เปนปจจุบนั ตามความจาํ เปน และตามวตั ถุประสงคข องการจัดการเกบ็ ขอ มูลสว นบุคคล
๖. หนวยงานของรัฐมีหนาท่ีในการจัดใหมีมาตรการคุมครองขอมูลอยางเหมาะสม
เพอื่ ปอ งกนั อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ไมว า จะเปน การสญู หาย เสยี หาย การเขา ถงึ ขอ มลู สว นบคุ คลโดยไมไ ด
รบั อนญุ าต การทาํ ลายโดยไมไ ดร บั อนญุ าต การใช ปรบั เปลย่ี นแกไ ข เปด เผย โดยมชิ อบและหนว ยงาน
ของรัฐมีหนาที่ตองแจงใหเจาของขอมูลทราบในกรณีมีการใหจัดสงขอมูลขาวสารสวนบุคคลไปยังที่ใด
ซง่ึ จะเปน ผลใหบ คุ คลทวั่ ไปทราบขอ มลู ขา วสารนนั้ ได เวน แตเ ปน ไปตามลกั ษณะการใชข อ มลู ตามปกติ
๗. หนว ยงานของรฐั มหี นา ทใ่ี นการดแู ลการสง ขอ มลู การสง ขอ มลู สว นบคุ คลไปยงั บคุ คล
หรอื องคก ารอนื่ ๆ ไมว า ภายในประเทศหรอื สง ไปยงั ตา งประเทศ โดยจะตอ งไดร บั คาํ ยนิ ยอมจากเจา ของ

๖๕

ขอ มลู และจะตอ งมมี าตรการทเี่ หมาะสมทเี่ ปน หลกั ประกนั ไดว า บคุ คลหรอื องคก รทไี่ ดร บั ขอ มลู ไปแลว
จะเก็บรักษาขอมูลใหเปนไปตามหลักเกณฑการคุมครองขอมูลสวนบุคคลที่ไดมาตรฐานตามกฎหมาย
ขอมลู ขา วสารของราชการ

๘. เจาของขอมูลมีสิทธิรับรูวามีการเก็บขอมูลสวนบุคคลของตนหรือไม และมีสิทธิ
เขาถึงขอมูลสวนบุคคลของตนเอง เม่ือบุคคลน้ันมีคําขอเปนหนังสือ หนวยงานของรัฐท่ีควบคุมดูแล
ขอมูลขาวสารนั้นจะตองใหบุคคลนั้นหรือผูกระทําการแทนบุคคลน้ันมีสิทธิไดตรวจดูหรือไดรับสําเนา
ขอ มลู ขาวสารสว นบคุ คลสว นที่เกย่ี วกบั บุคคลนัน้

๙. เจา ของขอ มลู ยอ มมสี ทิ ธยิ น่ื คาํ ขอเปน หนงั สอื ใหห นว ยงานของรฐั ทค่ี วบคมุ ดแู ลขอ มลู
ขาวสารแกไขเปลย่ี นแปลงหรือลบขอมูลขา วสารสว นน้ันได ซ่ึงหนว ยงานของรัฐจะตอ งพิจารณาคําขอ
ดงั กลา ว และแจง ใหบคุ คลนน้ั ทราบโดยไมชกั ชา

๑๐. กรณที ห่ี นว ยงานของรฐั ไมแ กไ ขเปลย่ี นแปลงหรอื ลบขอ มลู ขา วสารใหต รงตามทม่ี คี าํ ขอ
ใหผ นู น้ั มสี ทิ ธอิ ทุ ธรณต อ คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปด เผยขอ มลู ขา วสารภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ท่ี
ไดร บั แจง คาํ สง่ั ไมย นิ ยอมแกไ ขเปลย่ี นแปลงหรอื ลบขอ มลู ขา วสาร และไมว า กรณใี ดๆ ใหเ จา ของขอ มลู
มีสทิ ธิรองขอใหหนว ยงานของรัฐหมายเหตุคําขอของตนแนบไวกับขอมลู ขา วสารสวนท่ีเกี่ยวของได

๑๑. ในกรณีหนวยงานของรัฐมีการจัดเก็บขอมูลสวนบุคคลซ่ึงเจาของขอมูลเปนผูเยาว
ผูเสมือนไรความสามารถ หรือผูไรความสามารถ หนวยงานของรัฐตองไดรับความยินยอมจากผูเยาว
และผปู กครอง ผเู สมอื นไรความสามารถและผพู ทิ ักษ หรือผูอนุบาล ตามกฎหมายกอนดว ย

๑๒. กรณีท่ีหนวยงานของรัฐจะมีการวาจางหรือมอบหมายใหบุคคลหรือหนวยงานอ่ืน
(Third Party) ในลักษณะหนวยใหบ รกิ าร (Service Provider) ใหท ําหนา ทีห่ รอื จัดการทเี่ ก่ยี วขอ ง
กับขอ มูลสว นบคุ คล บุคคลหรือหนวยงานดังกลาวจะตอ งมรี ะบบการคมุ ครองขอมลู ทมี่ าตรฐาน และ
จะตอ งมกี ารจดั ทาํ ขอ ตกลงทช่ี ดั เจนวา บคุ คลหรอื องคก รดงั กลา วเมอื่ ไดร บั และครอบครองขอ มลู ไปแลว
จะเกบ็ รักษาขอ มลู ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑ

๖๖

ÃÐàºÕº
Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÃ

¾.È. òõôô

โดยที่เปนการสมควรใหมีระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๖ และมาตรา ๒๖ วรรคหา แหงพระราชบัญญัติ
ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ อันเปนพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับ
การจํากัดสิทธิ และเสรีภาพของบุคคลในการรับรูขอมูลขาวสารของราชการ ซ่ึงมาตรา ๕๘
และมาตรา ๒๙ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยบัญญัติใหกระทําได โดยอาศัยอํานาจ
ของกฎหมายคณะรัฐมนตรีจึงมีมติใหวางระเบียบไว ดังตอไปน้ี
¢ŒÍ ñ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๔”
¢ŒÍ ò ระเบียบนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป
¢ŒÍ ó บรรดาระเบียบ ขอบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และคําส่ังอ่ืนใด ในสวนที่กําหนด
ไวแลวในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบียบน้ีแทน
¢ŒÍ ô ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้

ËÁÇ´ ñ
º··ÑèÇä»
¢ŒÍ õ ในระเบียบน้ี
“ขอมูลขาวสารลับ” หมายความวา ขอมูลขาวสารตามมาตรา ๑๔ หรือ
มาตรา ๑๕ ท่ีมีคําสั่งไมใหเปดเผยและอยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ
ไมวาจะเปนเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐหรือท่ีเก่ียวกับเอกชนซ่ึงมีการกําหนดใหมีชั้นความลับ
เปน ชั้นลับ ช้ันลับมาก หรือชั้นลับท่ีสุด ตามระเบียบนี้โดยคํานึงถึงการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงาน
ของรัฐและประโยชนแหงรัฐประกอบกัน

๖๗

“ประโยชนแหงรัฐ” หมายความวา การดําเนินงานของรัฐท่ีเก่ียวกับประโยชน
สาธารณะหรือประโยชนของเอกชนประกอบกัน ไมวาจะเปนเร่ืองความม่ันคงของรัฐท่ีเก่ียวกับการเมือง
ภายในประเทศหรือระหวางประเทศ การปองกันประเทศ เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี
การพลังงานและส่ิงแวดลอม

“หัวหนาหนวยงานของรัฐ” หมายความวา
(๑) หัวหนาสวนราชการที่มีฐานะเปนนิติบุคคล สําหรับสวนราชการในสังกัด
กระทรวงกลาโหมใหหมายความรวมถึงหัวหนาสวนราชการที่ขึ้นตรงตอสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
กรมราชองครักษ กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ
(๒) ผูวาราชการจังหวัด สําหรับราชการสวนภูมิภาค
(๓) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
นายกเทศมนตรี ประธานสภาตําบล ประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบล นายก
เมืองพัทยา หรือตําแหนงท่ีเรียกช่ืออยางอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกันแลวแตกรณี สําหรับราชการ
สวนทองถิ่น
(๔) ผูบริหารกิจการของรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐสําหรับงานของ
รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐ

“การปรับชั้นความลับ” หมายความวา การลดหรือเพิ่มช้ันความลับของ
ขอมูลขาวสารลับและใหหมายความรวมถึงการยกเลิกชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับนั้นดวย

¢ŒÍ ö ทุกหาปเปนอยางนอย ใหนายกรัฐมนตรีจัดใหมีการทบทวนการปฏิบัติการ
ตามระเบียบน้ีและพิจารณาแกไขเพ่ิมเติมระเบียบน้ีใหเหมาะสม

¢ŒÍ ÷ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาที่รักษาขอมูลขาวสารลับในหนวยงาน
ของตนและอาจมอบหมายหนาท่ีดังกลาวไดตามความจําเปนใหผูใตบังคับบัญชาหรือใหแกราชการ
สวนภูมิภาคในกรณีท่ีสามารถมอบอํานาจไดตามกฎหมาย

ผูมีหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ตองรักษาขอมูลขาวสารลับใหปลอดภัย การใหบุคคลใดเขาถึง
ขอมูลขาวสารลับ หรือการเปดเผยขอมูลขาวสารลับแกผูใดตองกระทําโดยระมัดระวัง ในกรณีจําเปน
ใหกําหนดเงื่อนไขในการปฏิบัติใหเหมาะสมแกกรณี โดยคํานึงถึงการรักษาความลับและประสิทธิภาพ
ในการดําเนินการตามระเบียบน้ี

¢ŒÍ ø บุคคลท่ีจะเขาถึงขอมูลขาวสารลับในชั้นความลับใด จะตองเปนบุคคลท่ี
ผูบังคับบัญชามอบหมายความไววางใจ และใหเขาถึงขอมูลขาวสารลับไดเฉพาะเรื่องท่ีไดรับมอบหมาย
เทาน้ัน

¢ŒÍ ù ในกรณีที่เห็นเปนการสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐอาจขอใหองคการรักษา
ความปลอดภัยชวยตรวจสอบประวัติและพฤติการณของเจาหนาที่ของตนท่ีเก่ียวของกับ
ชั้นความลับได

๖๘

¢ŒÍ ñð ในการดําเนินงานของคณะกรรมการใดๆ ถาคณะกรรมการมีมติกําหนด
ช้ันความลับไวเชนใด ใหเลขานุการดําเนินการตามน้ันและใหหัวหนาหนวยงานของรัฐเจาสังกัดของ
เลขานุการดําเนินการตอไปใหถูกตองตามระเบียบน้ีดวย

ถาคณะกรรมการคณะใดมีฝายเลขานุการซ่ึงมิไดเปนเจาหนาท่ีในหนวยงานของรัฐ
ใหประธานกรรมการทําหนาท่ีเปนหัวหนาหนวยงานของรัฐและใหนําระเบียบน้ีมาใชบังคับโดยอนุโลม

ʋǹ·èÕ ñ
ͧ¤¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

¢ŒÍ ññ องคการรักษาความปลอดภัยตามระเบียบน้ี ไดแก
(๑) สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เปนองคการรักษา

ความปลอดภัยฝายพลเรือน
(๒) ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทหารสูงสุด เปนองคการรักษา

ความปลอดภัยฝายทหาร
ʋǹ·Õè ò

»ÃÐàÀ·ªéѹ¤ÇÒÁÅѺ

¢ŒÍ ñò ชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับ แบงออกเปน ๓ ชั้น คือ
(๑) ลับท่ีสุด (TOP SECRET)
(๒) ลับมาก (SECRET)
(๓) ลับ (CONFIDENTIAL)

¢ŒÍ ñó ลับท่ีสุด หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซึ่งหากเปดเผยทั้งหมดหรือเพียง
บางสวนจะกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนแหงรัฐอยางรายแรงที่สุด

¢ŒÍ ñô ลับมาก หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซ่ึงหากเปดเผยทั้งหมดหรือเพียง
บางสวนจะกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนแหงรัฐอยางรายแรง

¢ŒÍ ñõ ลับ หมายความถึง ขอมูลขาวสารลับซึ่งหากเปดเผยทั้งหมดหรือเพียงบางสวน
จะกอใหเกิดความเสียหายแกประโยชนแหงรัฐ

๖๙

ËÁÇ´ ò
¡ÒÃกํา˹´ªÑ鹤ÇÒÁÅѺ

ʋǹ·Õè ñ
¼ÙŒÁÕอํา¹Ò¨กํา˹´ªéѹ¤ÇÒÁÅѺ

¢ŒÍ ñö ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาท่ีรับผิดชอบในการกําหนดช้ันความลับ
พรอมท้ังใหเหตุผลประกอบการกําหนดช้ันความลับของขอมูลขาวสารลับน้ันดวยวาเปนขอมูลขาวสาร
ประเภทใดและเพราะเหตุใด ในการนี้อาจมอบหมายหนาที่ดังกลาวไดตามความจําเปนใหผูใต
บังคับบัญชาหรือใหแกราชการสวนภูมิภาค ในกรณีท่ีสามารถมอบอํานาจไดตามกฎหมาย

¢ŒÍ ñ÷ ในกรณีท่ีมีความจําเปนเรงดวน เจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของมีอํานาจกําหนดช้ัน
ความลับเปนการชั่วคราวไดและใหรีบเสนอตอผูมีอํานาจกําหนดชั้นความลับเพื่อส่ังการเก่ียวกับ
การกําหนดช้ันความลับตอไปทันที

การกําหนดชั้นความลับของขอมูลขาวสารลับท่ีมีชั้นความลับหลายชั้นในเรื่องเดียวกัน
ใหกําหนดช้ันความลับเทากับช้ันความลับสูงสุดท่ีอยูในขอมูลขาวสารลับน้ัน

ในกรณีที่กําหนดใหขอมูลขาวสารลับท่ีมีช้ันความลับต่ํา แตจําเปนตองอางอิงขอความ
จากขอมูลขาวสารที่มีชั้นความลับสูงกวา ตองพิจารณาถึงเน้ือหาที่อางถึงน้ันวาจะไมทําใหขอมูล
ขาวสารท่ีชั้นความลับสูงกวาร่ัวไหล

¢ŒÍ ñø ใหนายทะเบียนจดแจงเหตุผลประกอบการกําหนดช้ันความลับของขอมูล
ขาวสารลับไวในทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับ แตถาเหตุผลนั้นมีรายละเอียดมากหรือเหตุผลน้ัน
บางสวนมีชั้นความลับสูงกวาชั้นความลับของทะเบียนขอมูลขาวสารลับใหบันทึกเหตุผลยอไวใน
ทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับและบันทึกเหตุผลละเอียดหรือเหตุผลสวนที่มีชั้นความลับสูงกวา
ดังกลาวแยกออกมาโดยเก็บไวระหวางใบปกขอมูลขาวสารลับกับขอมูลขาวสารลับน้ัน

¢ŒÍ ñù การกําหนดใหขอมูลขาวสารลับอยูในชั้นความลับใด ใหพิจารณาถึง
องคประกอบตอไปน้ี เชน

(๑) ความสําคัญของเนื้อหา
(๒) แหลงที่มาของขอมูลขาวสาร
(๓) วิธีการนําไปใชประโยชน
(๔) จํานวนบุคคลที่ควรรับทราบ
(๕) ผลกระทบหากมีการเปดเผย
(๖) หนวยงานของรัฐท่ีรับผิดชอบในฐานะเจาของเรื่องหรือผูอนุมัติ

๗๐

¢ŒÍ òð ในกรณีเปนการสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐจะกําหนดระเบียบการใด
เพื่อปฏิบัติเพิ่มเติมจากระเบียบนี้ก็ได และถาหัวหนาหนวยงานของรัฐเห็นวา การปฏิบัติตามระเบียบนี้
ในเร่ืองใดจะกอใหเกิดความยุงยากโดยไมเหมาะสม หัวหนาหนวยงานของรัฐจะกําหนดวิธีการรักษา
ความลับในเรื่องนั้นดวยวิธีการอ่ืนท่ีมีประสิทธิภาพเทากันหรือดีกวาแทนได

ʋǹ·èÕ ò
¡ÒÃáÊ´§ªÑ鹤ÇÒÁÅѺ

¢ŒÍ òñ เคร่ืองหมายแสดงช้ันความลับใหใชตัวอักษรตามชั้นความลับที่ขนาดใหญกวา
ตัวอักษรธรรมดา โดยใชสีแดงหรือสีอื่นท่ีสามารถมองเห็นไดเดนและชัดเจน

¢ŒÍ òò การแสดงชั้นความลับใหปฏิบัติ ดังน้ี
(๑) ขอมูลขาวสารที่มีสภาพเปนเอกสารใหแสดงชั้นความลับท่ีกลางหนา

กระดาษทั้งดานบนและดานลางของทุกหนาเอกสารน้ัน ถาเอกสารเขาปกใหแสดงไวที่ดานนอกของ
ปกหนาปกหลังดวย

(๒) ขอมูลขาวสารที่มีสภาพเปนภาพเขียน ภาพถาย แผนท่ี แผนภูมิ แผนผัง
และสําเนาสิ่งของดังกลาวนั้น ใหแสดงช้ันความลับในลักษณะเดียวกับ (๑) ถาเอกสารนั้นมวนหรือพับ
ไดใหแสดงชั้นความลับไวใหปรากฏเห็นได ขณะท่ีเอกสารนั้นมวนหรือพับอยูดวย

(๓) ขอมูลขาวสารท่ีมีสภาพเปนจานบันทึก แถบบันทึก ฟลมบันทึกภาพ
ทุกประเภทหรือสิ่งบันทึกที่สามารถแสดงผลหรือสื่อความหมายโดยกรรมวิธีใดๆ ใหแสดงชั้นความลับไว
ท่ีตนและปลายมวนฟลมหรือตนและปลายของขอมูลขาวสารหรือบนวัสดุหรือบนภาชนะท่ีบรรจุ
ถาไมสามารถแสดงชั้นความลับไวในท่ีดังกลาวได ใหเก็บในกลองหรือหีบหอ ซึ่งมีเครื่องหมายแสดง
ชั้นความลับน้ัน

ʋǹ·èÕ ó
¡ÒûÃѺªéѹ¤ÇÒÁÅѺ

¢ŒÍ òó การปรับช้ันความลับ ตองกระทําโดยผูมีอํานาจกําหนดช้ันความลับของ
หนวยงานเจาของเร่ือง

ในกรณีที่หนวยงานเจาของเรื่องเห็นควรใหทําการปรับชั้นความลับของขอมูล
ขาวสารลับใด ใหหนวยงานเจาของเรื่องทําการปรับชั้นความลับ และแจงใหหนวยงานของรัฐอื่น
ท่ีไดรับการแจกจายทราบเพื่อใหมีการแกไขความลับโดยท่ัวกันดวย

๗๑

ผูบังคับบัญชาตามสายงานมีอํานาจปรับชั้นความลับได เม่ือพิจารณาเห็นวา การกําหนด
ช้ันความลับไมเหมาะสม แตตองแจงใหผูกําหนดช้ันความลับเดิมทราบ

ถาสามารถกําหนดระยะเวลาในการปรับช้ันความลับลวงหนาได ใหหนวยงานเจาของ
เร่ืองเดิมแสดงขอความการปรับชั้นความลับไวบนปกหนาหรือหนาแรกของขอมูลขาวสารแตละฉบับ
โดยแสดงไวใกลกับเคร่ืองหมายแสดงช้ันความลับเดิม เพ่ือใหทราบวา เม่ือถึงกําหนดเวลาท่ีระบุไว
ลวงหนานั้น จะปรับชั้นความลับไดโดยไมตองยืนยันใหทราบอีก

การแกไขช้ันความลับ ใหขีดฆาเคร่ืองหมายแสดงชั้นความลับเดิม แลวแสดงเคร่ืองหมาย
ชั้นความลับท่ีกําหนดใหม (ถามี) ไวใกลกับเคร่ืองหมายแสดงชั้นความลับเดิมบนขอมูลขาวสารดังกลาว
และใหจดแจงการปรับช้ันความลับน้ันไวในทะเบียนขอมูลขาวสารลับดวยในกรณีท่ีเห็นสมควร
หัวหนาหนวยงานของรัฐจะกําหนดใหจดแจงการปรับช้ันความลับไวที่หนาแรกของเอกสารหรือท่ีแสดง
ช้ันความลับตาม ขอ ๒๒ (๓) แลวแตกรณี

¢ŒÍ òô ขอมูลขาวสารลับท่ีคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารมีคําวินิจฉัย
ใหเปดเผยโดยไมมีขอจํากัดหรือเงื่อนไขใด ใหถือวาขอมูลขาวสารนั้นถูกยกเลิกช้ันความลับแลว
เวนแตมีการฟองคดีตอศาลและศาลมีคําสั่งหรือคําพิพากษาเปนอยางอื่น

ËÁÇ´ ó
¡Ò÷ÐàºÕ¹

ʋǹ·èÕ ñ
¹Ò·ÐàºÕ¹

¢ŒÍ òõ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงตั้งเจาหนาท่ีควบคุมและรับผิดชอบ
การดําเนินการเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับขึ้นภายในหนวยงานที่ตนรับผิดชอบเรียกวา “นายทะเบียน
ขอมูลขาวสารลับ” และจะแตงตั้งผูชวยนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับตามความเหมาะสมดวยก็ได

ใหผูชวยนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับมีอํานาจหนาท่ีปฏิบัติการแทนนายทะเบียนขอมูล
ขาวสารลับตามที่ไดรับมอบหมาย

¢ŒÍ òö นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ มีหนาที่ดังน้ี
(๑) ดําเนินการทางทะเบียนขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามระเบียบน้ี
(๒) เก็บรักษาแบบเอกสารตางๆ ซึ่งกรอกขอความแลวตามระเบียบนี้

และบรรดาขอมูลขาวสารลับท่ีอยูในความควบคุมดูแลไวในท่ีปลอดภัย
(๓) เก็บรักษาบัญชีลายมือชื่อนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ และผูชวย

นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับของหนวยงานของรัฐอื่นๆ ที่ติดตอเก่ียวของกันเปนประจํา

๗๒

(๔) ประสานงานกับผูควบคุมทะเบียนความไววางใจตามท่ีกําหนดในระเบียบ
วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ เพ่ือกําหนดตัวบุคคลที่จะเขาถึงชั้นความลับ
ตามความเหมาะสมและความรับผิดชอบ

(๕) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวของกับขอมูลขาวสารลับตามท่ีกําหนดไว
ในระเบียบน้ี หรือตามท่ีไดรับมอบหมายจากหัวหนาหนวยงานของรัฐ

¢ŒÍ ò÷ นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับอยางนอยตองจัดใหมีทะเบียนขอมูล
ขาวสารลับประกอบดวย ทะเบียนรับ ทะเบียนสง และทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับ
แยกตางหากจากทะเบียนงานสารบรรณตามปกติของหนวยงานของรัฐ

ทะเบียนรับ ใชสําหรับบันทึกรายละเอียดของขอมูลขาวสารลับที่หนวยงานไดรับไว
ทะเบียนสง ใชสําหรับบันทึกรายละเอียดของขอมูลขาวสารลับที่สงออกนอกบริเวณ
หนวยงาน
ทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับ ใชสําหรับบันทึกทางทะเบียนเก่ียวกับขอมูล
ขาวสารลับท่ีหนวยงานจัดทําข้ึนใชงานหรือไดสงออกหรือไดรับมา รวมท้ังบันทึกการปฏิบัติตางๆ
เกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับนั้น
ทะเบียนขอมูลขาวสารลับใหถือวาเปนขอมูลขาวสารลับดวย
แบบทะเบียนรับ ทะเบียนสงและทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามท่ี
นายกรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
¢ŒÍ òø ในกรณีที่เห็นสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐจะจัดใหมีระบบทะเบียนขอมูล
ขาวสารลับขึ้นในหนวยงานสวนยอยดวยก็ได และใหนําความในขอ ๒๕ ขอ ๒๖ และขอ ๒๗ มาใช
บังคับโดยอนุโลม

ʋǹ·Õè ò
¡ÒÃμÃǨÊͺ

¢ŒÍ òù ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงต้ังคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย
นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับเปนประธานกรรมการ และเจาหนาท่ีอื่นอีกไมนอยกวาสองคน
เปนกรรมการ ทําการตรวจสอบความถูกตองในการปฏิบัติตามระเบียบนี้และการมีอยูของขอมูล
ขาวสารลับที่มีอยูในทะเบียนขอมูลขาวสารลับอยางนอยทุกหกเดือน และเสนอรายงานการตรวจสอบ
ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐนั้นทราบและสั่งการตอไป

¢ŒÍ óð เมื่อสงสัยวาบุคคลที่ไมมีอํานาจหนาท่ีเก่ียวกับขอมูลขาวสารลับไดรู
หรืออาจรูถึงขอมูลขาวสารลับหรือเมื่อสงสัยวามีการละเมิดการรักษาความลับของขอมูลขาวสารของ
ราชการใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยไมชักชา

คณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหน่ึง ตองเปนผูซึ่งมิไดเปนคณะกรรมการตรวจสอบ
ตามขอ ๒๙

๗๓

ËÁÇ´ ô
¡ÒÃดําà¹Ô¹¡ÒÃ

ʋǹ·èÕ ñ
¡ÒèѴทํา

¢ŒÍ óñ การดําเนินการใดๆ เกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับในทุกขั้นตอน ใหหัวหนา
หนวยงานของรัฐกําหนดจํานวนเจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของเพียงเทาท่ีจําเปนตอภารกิจและจํากัดใหทราบ
เทาท่ีจําเปนเทาน้ัน

¢ŒÍ óò ขอมูลขาวสารตามขอ ๒๒ (๑) ใหแสดงช่ือหนวยงานของรัฐ เจาของเร่ือง
เลขที่ชุดของจํานวนชุดทั้งหมด และเลขท่ีหนาของจํานวนหนาทั้งหมดไวทุกหนาของขอมูลขาวสารลับ
ท้ังน้ีจะแสดงช่ือหนวยงานสวนยอยไวดวยก็ได

ขอมูลขาวสารตามขอ ๒๒ (๓) ใหแสดงชื่อหนวยงานของรัฐเจาของเร่ืองและเลขที่ชุด
ของจํานวนชุดท้ังหมดไวที่กลองหรือหีบหอของขอมูลขาวสารลับนั้น ท้ังนี้จะแสดงช่ือหนวยงาน
สวนยอยไวดวยก็ได

ʋǹ·èÕ ò
¡ÒÃสําà¹ÒáÅСÒÃá»Å

¢ŒÍ óó การสําเนา การแปลเอกสาร การเขารหัส หรือการถอดรหัสขอมูลขาวสารลับ
ตองบันทึก จํานวนชุด ยศ ชื่อ ตําแหนงของผูดําเนินการ และชื่อหนวยงานของรัฐที่จัดทําไวท่ีขอมูล
ขาวสารลับฉบับตนที่ตนครอบครองและที่ฉบับสําเนา ฉบับคําแปล ฉบับเขารหัส หรือฉบับถอดรหัส
แลวแตกรณีดวย

การบันทึกตามวรรคหนึ่ง ผูดําเนินการจะจัดทําโดยใชรหัสลับก็ได
ʋǹ·Õè ó
¡ÒÃâ͹

¢ŒÍ óô การโอนขอมูลขาวสารลับระหวางหนวยงานรัฐ หรือการโอนภายในหนวยงาน
เดียวกัน ใหเจาหนาท่ีผูโอนและเจาหนาท่ีผูรับโอนจัดทําบันทึกการโอนและการรับโอนไวเปนหลักฐาน
และใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับจดแจงการโอนขอมูลขาวสารลับดังกลาวไวในทะเบียนควบคุม
ขอมูลขาวสารลับดวย

๗๔

ʋǹ·èÕ ô
¡ÒÃÊ‹§áÅСÒÃÃѺ

¢ŒÍ óõ การสงขอมูลขาวสารลับภายในบริเวณหนวยงานเดียวกันทุกชั้นความลับ
ตองใชใบปกขอมูลขาวสารลับปดทับขอมูลขาวสารลับ

แบบใบปกขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามท่ีนายกรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา

¢ŒÍ óö การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกบริเวณหนวยงาน ตองบรรจุซองหรือภาชนะ
ทึบแสงสองชั้นอยางมั่นคง

บนซองหรือภาชนะชั้นในใหจาหนาระบุเลขท่ีหนังสือนําสง ช่ือหรือตําแหนงผูรับ
และหนวยงานผูสงพรอมท้ังทําเครื่องหมายแสดงชั้นความลับทั้งดานหนาและดานหลัง

บนซองหรือภาชนะชั้นนอกใหจาหนาระบุขอความเชนเดียวกับบนซองหรือภาชนะ
ช้ันใน แตไมตองมีเคร่ืองหมายแสดงช้ันความลับใดๆ

หามระบุช้ันความลับและชื่อเร่ืองไวในใบตอบรับ แตใหระบุเลขที่หนังสือสง วัน เดือน
ป จํานวนหนาและหมายเลขฉบับไวในใบตอบรับดังกลาว และเก็บรักษาใบตอบรับนั้นไวจนกวาจะได
รับคืนหรือยกเลิกช้ันความลับหรือทําลายขอมูลขาวสารลับนั้นแลว

แบบใบตอบรับใหเปนไปตามที่นายกรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
¢ŒÍ ó÷ การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกบริเวณหนวยงานภายในประเทศ
โดยเจาหนาที่นําสาร ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูซึ่งหัวหนาหนวยงานของรัฐมอบหมายมีอํานาจ
อนุญาตใหกระทําได และใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับลงทะเบียนกอนสงออก
การสงขอมูลขาวสารลับตามวรรคหนึ่ง จะจัดใหมีผูอารักขาการนําสารดวยก็ได
¢ŒÍ óø เจาหนาที่นําสารและผูอารักขานําสาร มีหนาที่ดังน้ี

(๑) รักษาความปลอดภัยของขอมูลขาวสารลับตลอดเวลาที่นําออกนอกบริเวณ
หนวยงานและเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับท่ีอยูในความดูแลใหปลอดภัย

(๒) จัดสงขอมูลขาวสารลับแกนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ ถานายทะเบียน
ขอมูลขาวสารลับหรือผูปฏิบัติการแทนไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีไดใหสงขอมูลขาวสารลับนั้นแก
ผูรับตามจาหนา ถาผูรับตามจาหนาไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีได ใหนําขอมูลขาวสารลับกลับมา
เก็บรักษาท่ีหนวยงานของตน และแจงใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับบันทึกไวในทะเบียนควบคุม
ขอมูลขาวสารลับ หรือในกรณีที่สถานที่นําสงอยูหางจากหนวยงานของรัฐที่สงและไมสามารถเดินทาง
กลับภายในวันเดียวกันได ใหเก็บรักษาไวในท่ีปลอดภัยจนกวาจะสงมอบแกนายทะเบียนขอมูล
ขาวสารลับหรือผูรับตามจาหนา แลวแตกรณี

๗๕

ในกรณีที่เจาหนาที่นําสารไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหผูอารักขาการนําสารปฏิบัติ
หนาท่ีแทนและใหรายงานนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับทราบโดยเร็ว

¢ŒÍ óù การสงขอมูลขาวสารลับออกนอกประเทศ ใหปฏิบัติตามระเบียบกระทรวง
การตางประเทศวาดวยถุงเมลการทูตโดยอนุโลม หรือใหเจาหนาท่ีซึ่งมีฐานะทางการทูตถือไปดวย
ตนเองก็ได

¢ŒÍ ôð การสงขอมูลขาวสารลับทั้งภายในประเทศและสงออกนอกประเทศจะสง
ทางโทรคมนาคม ไปรษณียลงทะเบียนตอบรับหรือโดยวิธีการอื่นใดก็ได แตตองไดรับอนุญาตจาก
หัวหนาหนวยงานของรัฐกอน

กรณีการสงทางโทรคมนาคมใหปฏิบัติตามคําแนะนําขององคการรักษาความปลอดภัย
¢ŒÍ ôñ ในกรณีท่ีเจาหนาที่สารบรรณทราบวาขอมูลขาวสารที่รับไวเปนขอมูลขาวสารลับ
ใหรีบสงขอมูลขาวสารลับดังกลาวใหแกนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
¢ŒÍ ôò ใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับลงช่ือในใบตอบรับแลวคืนใบตอบรับนั้น
แกผูนําสง หรือจัดสงใบตอบรับคืนแกหนวยงานและรัฐท่ีเปนผูสง และลงทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
กอนท่ีจะดําเนินการอยางอ่ืน
ในกรณีที่ผูรับยังไมสามารถดําเนินการเก่ียวกับขอมูลขาวสารลับตอไปไดใหผูรับนําขอมูล
ขาวสารลับท่ีไดรับไปเก็บรักษาไวในท่ีปลอดภัยตามระเบียบการเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับที่
หนวยงานของรัฐนั้นกําหนด
¢ŒÍ ôó ในกรณีที่เปนการสงแกผูรับตามจาหนา ใหผูรับตามจาหนาแจงตอนายทะเบียน
ขอมูลขาวสารลับ เพื่อใหลงทะเบียนในทะเบียนขอมูลขาวสารลับโดยไมชักชา

ʋǹ·Õè õ
¡ÒÃà¡çºÃÑ¡ÉÒ

¢ŒÍ ôô การเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับ ใหหนวยงานของรัฐเก็บรักษาไวในที่ปลอดภัย
และใหกําหนดระเบียบการเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับไวเปนการเฉพาะตามคําแนะนําขององคการ
รักษาความปลอดภัย

ʋǹ·èÕ ö
¡ÒÃÂ×Á

¢ŒÍ ôõ การใหยืมขอมูลขาวสารลับ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูซึ่งหัวหนา
หนวยงานของรัฐมอบหมายพิจารณาดวยวาผูยืมมีหนาท่ีดําเนินการในเรื่องท่ียืมและสามารถปฏิบัติ
ตามระเบียบน้ีไดหรือไม

๗๖

ถาเร่ืองที่ผูประสงคจะขอยืมเปนเร่ืองท่ีหนวยงานของรัฐอ่ืนเปนหนวยงานเจาของเร่ือง
การใหยืมตองไดรับอนุญาตจากหนวยงานเจาของเร่ืองน้ันกอน เวนแตผูยืมจะเปนหนวยงานเจาของ
เร่ืองน้ันเอง

ใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับทําบันทึกการยืม พรอมท้ังจดแจงการยืมไวในทะเบียน
ควบคุมขอมูลขาวสารลับดวย

แบบบันทึกการยืมใหเปนไปตามท่ีนายกรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ʋǹ·Õè ÷
¡ÒÃทําÅÒÂ

¢ŒÍ ôö ในกรณีท่ีการเก็บรักษาขอมูลขาวสารลับชั้นลับที่สุด จะเส่ียงตอการรั่วไหล
อันจะกอใหเกิดอันตรายแกประโยชนแหงรัฐ หัวหนาหนวยงานของรัฐจะพิจารณาส่ังทําลายขอมูล
ขาวสารลับช้ันลับท่ีสุดน้ันได หากพิจารณาเห็นวามีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําลาย

หัวหนาหนวยงานของรัฐจะสั่งทําลายขอมูลขาวสารลับนอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง
ไดตอเม่ือไดสงขอมูลสารลับใหหอจดหมายเหตุแหงชาติพิจารณากอนวาไมมีคุณคาในการเก็บรักษา

ในการสั่งทําลายขอมูลขาวสารลับ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐแตงต้ังคณะกรรมการ
ทําลายขอมูลขาวสารลับเสร็จแลว ใหจดแจงการทําลายไวในทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับและ
จัดทําใบรับรองการทําลายขอมูลขาวสารลับดวย ใบรับรองการทําลายใหเก็บรักษาไวเปนหลักฐาน
ไมนอยกวาหน่ึงป

ในกรณีท่ีเห็นสมควร คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ อาจเสนอตอนายก
รัฐมนตรีเพื่อกําหนดหลักเกณฑการใชดุลพินิจของหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือกําหนดใหการใช
ดุลพินิจของหัวหนาหนวยงานของรัฐตองไดรับความเห็นชอบจากบุคคลใดกอนก็ได

แบบใบรับรองการทําลายขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามท่ีนายกรัฐมนตรีกําหนด
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ʋǹ·Õè ø
¡Òû¯ÔºÑμÔã¹àÇÅÒ©Ø¡à©Ô¹

¢ŒÍ ô÷ ใหหนวยงานของรัฐจัดใหมีแผนการปฏิบัติในเวลาฉุกเฉิน โดยมีแผน
การเคลื่อนยาย แผนการพิทักษรักษา และแผนการทําลายขอมูลขาวสารลับ เพื่อนํามาปฏิบัติ
เปนลําดับชั้นตามความรุนแรงของสถานการณ

๗๗

ʋǹ·èÕ ù
¡Ã³ÕÊÙÞËÒÂ

¢ŒÍ ôø ในกรณีท่ีขอมูลขาวสารลับสูญหาย ใหผูทราบขอเท็จจริงรายงานขอเท็จจริง
ท่ีเก่ียวของใหหัวหนาหนวยงานของรัฐท่ีตนสังกัดทราบ เพื่อดําเนินการตอไป และใหนายทะเบียน
ขอมูลขาวสารลับบันทึกการที่ขอมูลขาวสารลับสูญหายไวในทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับดวย

ʋǹ·èÕ ñð
¡ÒÃແ´à¼Â

¢ŒÍ ôù ในกรณีท่ีหัวหนาหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาท่ีของรัฐตามมาตรา ๒๐ (๑)
แหงพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ มีคําส่ังใหเปดเผยขอมูลขาวสารลับใด
โดยมีขอจํากัดหรือเงื่อนไขเชนใด ใหเปดเผยขอมูลขาวสารลับน้ันไดตามขอจํากัดหรือเง่ือนไขที่กําหนด

¢ŒÍ õð ในกรณีที่ขอมูลขาวสารลับใดไมมีเคร่ืองหมายแสดงชั้นความลับไว ใหเจาหนาท่ี
ของรัฐท่ีเก่ียวของสามารถเปดเผยขอมูลขาวสารน้ันได เวนแตเจาหนาท่ีนั้นไดรูหรือควรจะรู
ขอเท็จจริงวาขอมูลขาวสารน้ันไดมีการกําหนดชั้นความลับไวแลว

º·à©¾ÒСÒÅ

¢ŒÍ õñ ใหเอกสารลับตามช้ันความลับท่ีมีอยูกอน ตามระเบียบวาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ เปนขอมูลขาวสารลับตามระเบียบนี้ โดยเอกสารลับช้ันปกปด
ใหถือวามีช้ันความลับอยูในช้ันลับนับแตวันที่ระเบียบนี้ใชบังคับ

แบบใบปกของเอกสารลับตามระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
พ.ศ. ๒๕๑๗ ใหคงใชไดตอไปจนกวาจะหมด

แบบเอกสารตาง ๆ ตามระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗
ซ่ึงมีอยูกอนระเบียบนี้ใชบังคับ ใหใชไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับระเบียบน้ี

ใหนายทะเบียนเอกสารลับและผูชวยนายทะเบียนเอกสารลับที่มีอยูกอนตามระเบียบ
วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ เปนนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับและผูชวย
นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับตามระเบียบน้ี

ใหเจาหนาท่ีนําสารและผูอารักขาการนําสารที่มีอยูกอนตามระเบียบวาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ เปนเจาหนาที่นําสารและผูอารักขาการนําสารตามระเบียบนี้

๗๘

¢ŒÍ õò ภายในหกเดือนนับแตวันท่ีระเบียบนี้ใชบังคับ
(๑) ขอมูลขาวสารใดที่ไดจัดทํามาแลวเกินย่ีสิบป และมีการกําหนด

ช้ันความลับไว ถามิไดมีการกําหนดช้ันความลับใหมเปนรายชิ้นและแจงใหเจาหนาที่ของรัฐหรือ
หนวยงานของรัฐที่เก่ียวของทราบถึงการกําหนดใหเปนขอมูลขาวสารลับตอไป ใหถือวา
ช้ันความลับน้ันเปนอันยกเลิก

(๒) ใหหนวยงานของรัฐตรวจสอบและกําหนดชั้นความลับของขอมูลขาวสาร
ท่ีตนจัดทําข้ึนภายในย่ีสิบปกอนวันที่ระเบียบนี้ใชบังคับใหแลวเสร็จทั้งหมด

หากหนวยงานของรัฐแหงใดมีเหตุจําเปนไมอาจจัดทําไดภายในระยะเวลาท่ีกําหนด
ตามวรรคหนึ่ง ใหขอขยายระยะเวลาตอคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ

¢ŒÍ õó ใหองคการรักษาความปลอดภัยฝายพลเรือนและองคการรักษาความปลอดภัย
ฝายทหารประสานการปฏิบัติในการจัดใหมีหลักเกณฑ วิธีการและคําแนะนําการปฏิบัติตามระเบียบน้ี
รวมทั้งการอบรมบุคลากรที่เก่ียวของตามความจําเปนและงบประมาณ

ประกาศ ณ วันท่ี ๕ กุมภาพันธ ๒๕๔๔
(ลงชื่อ) นาย ชวน หลีกภัย
( ชวน หลีกภัย )
นายกรัฐมนตรี

เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๘ ง หนา ๑ ๗๙
ราชกิจจานุเบกษา
๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๑

ÃÐàºÕº

Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÃ
(©ºÑº·èÕ ò) ¾.È. òõöñ

โดยท่ีเปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติมระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณ โครงสราง และอํานาจหนาที่ของหนวยงานของรัฐ
ในปจจุบัน รวมท้ังกําหนดใหมีการรายงานและการตรวจสอบการปฏิบัติเกี่ยวกับขอมูลขาวสารลับ
ของหนวยงานของรัฐและกําหนดใหมีแบบเอกสารเก่ียวกับขอมูลขาวสารลับเปนการเพิ่มเติม
เพื่อใหมีความชัดเจนและเหมาะสม

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๖ และมาตรา ๒๖ วรรคหา แหงพระราชบัญญัติ
ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ คณะรัฐมนตรีจึงวางระเบียบไว ดังตอไปน้ี

ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๑”

ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ขอ ๓ ใหยกเลิกความในบทนิยามคําวา “หัวหนาหนวยงานของรัฐ” ในขอ ๕ แหง
ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และใหใชความตอไปน้ีแทน

“หัวหนาหนวยงานของรัฐ” หมายความวา
(๑) หัวหนาสวนราชการที่มีฐานะเปนนิติบุคคล
สําหรับกระทรวงกลาโหม ใหหมายความรวมถึงหัวหนาสวนราชการท่ีข้ึนตรงตอ
สวนราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหมท่ีมีฐานะเปนนิติบุคคลดวย
(๒) ผูวาราชการจังหวัด สําหรับราชการสวนภูมิภาค
(๓) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี
นายกองคการบริหารสวนตําบล นายกเมืองพัทยา หรือหัวหนาผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น
ที่มีกฎหมายจัดตั้งแลวแตกรณี สําหรับราชการสวนทองถ่ิน
(๔) ผูวาการ ผูอํานวยการ กรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลซ่ึงดํารงตําแหนง
ผูบริหารสูงสุด ท่ีมีอํานาจหนาท่ีคลายคลึงกันในรัฐวิสาหกิจนั้น สําหรับงานของรัฐวิสาหกิจ

๘๐

เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๘ ง หนา ๒ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา

(๕) ผูบริหารสูงสุดของหนวยงานอื่นของรัฐ เชน อัยการสูงสุด เลขาธิการสํานักงาน
ศาลยุติธรรม เลขาธิการสภาผูแทนราษฎร เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
แหงชาติ ผูอํานวยการองคการมหาชน นายกสภาทนายความ

ขอ ๔ ใหยกเลิกความในขอ ๑๑ แหงระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๔ และใหใชความตอไปนี้แทน

“ขอ ๑๑ องคการรักษาความปลอดภัยตามระเบียบน้ี ไดแก
(๑) สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เปนองคการรักษาความปลอดภัย
ฝายพลเรือน
(๒) ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
เปนองคการรักษาความปลอดภัยฝายทหาร
(๓) กองบัญชาการตํารวจสันติบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ เปนองคการรักษา
ความปลอดภัยฝายตํารวจ”
ขอ ๕ ใหยกเลิกความในขอ ๑๙ แหงระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๔ และใหใชความตอไปนี้แทน
“ขอ ๑๙ การกําหนดใหขอมูลขาวสารอยูในช้ันความลับใด ใหพิจารณาถึงองคประกอบ
อยางนอยดังตอไปนี้
(๑) ความสําคัญของเน้ือหา
(๒) แหลงที่มาของขอมูลขาวสาร
(๓) วิธีการนําไปใชประโยชน
(๔) จํานวนบุคคลที่ควรรับทราบ
(๕) ผลกระทบหากมีการเปดเผย
(๖) หนวยงานของรัฐท่ีรับผิดชอบในฐานะเจาของเร่ืองหรือผูอนุมัติ”
ขอ ๖ ใหเพิ่มความตอไปน้ีเปนวรรคสองของขอ ๒๙ แหงระเบียบวาดวยการรักษา
ความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
“แบบรายงานการตรวจสอบขอมูลขาวสารลับใหเปนไปตามท่ีนายกรัฐมนตรีกําหนด
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา”
ขอ ๗ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนขอ ๒๙/๑ แหงระเบียบวาดวยการรักษาความลับของ
ทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔

๘๑

เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔๘ ง หนา ๓ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา

“ขอ ๒๙/๑ ใหหนวยงานของรัฐรายงานผลการปฏิบัติเก่ียวกับขอมูลขาวสารลับตาม
ระเบียบนี้ภายในเดือนมีนาคมของทุกป ตอคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการตามแบบท่ี
นายกรัฐมนตรีกําหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เม่ือคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการไดรับรายงานผลการปฏิบัติเก่ียวกับ
ขอมูลขาวสารลับ ตามวรรคหน่ึงแลว ใหตรวจสอบการปฏิบัติตามรายงานดังกลาว และรายงานผล
การตรวจสอบตอนายกรัฐมนตรี โดยจะมีขอคิดเห็นและขอเสนอแนะดวยก็ได”

ขอ ๘ ใหยกเลิกความในขอ ๓๔ แหงระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๔ และใหใชความตอไปน้ีแทน

“ขอ ๓๔ การโอนขอมูลขาวสารลับระหวางหนวยงานของรัฐ หรือการโอนภายใน
หนวยงานเดียวกัน ใหเจาหนาที่ผูโอนและเจาหนาท่ีผูรับโอนจัดทําบันทึกการโอนและการรับโอน
ขอมูลขาวสารลับตามแบบที่นายกรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาไวเปนหลักฐาน
และใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับจดแจงการโอนขอมูลขาวสารลับดังกลาวไวในทะเบียนควบคุม
ขอมูลขาวสารลับดวย”

ขอ ๙ ใหยกเลิกความในขอ ๕๓ แหงระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๔ และใหใชความตอไปน้ีแทน

“ขอ ๕๓ ใหองคการรักษาความปลอดภัยฝายพลเรือน องคการรักษาความปลอดภัย
ฝายทหาร และองคการรักษาความปลอดภัยฝายตํารวจประสานการปฏิบัติในการจัดใหมีหลักเกณฑ
วิธีการและคําแนะนําการปฏิบัติตามระเบียบน้ี รวมท้ังการอบรมบุคลากรที่เก่ียวของตามความจําเปน
และงบประมาณ”

ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
นายกรัฐมนตรี

๘๒

ÃÐàºÕºสํา¹Ñ¡¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕ

Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂáË‹§ªÒμÔ
¾.È. òõõò

โดยท่ีระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ซ่ึงเปนระเบียบ
ที่วางแนวทางปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับบุคคล เอกสาร และสถานท่ีไดใชบังคับ
มาเปนเวลานานแลว และมีบทบัญญัติหลายประการท่ีไมเหมาะสมกับกาลปจจุบันนํารายละเอียด
ในทางปฏิบัติมากําหนดไวเกินความจําเปน รวมทั้งระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่ึงเปนแนวทางปฏิบัติในการรักษาขอมูลขาวสารของราชการที่เปนเอกสารมิใหรั่วไหล
มีผลใชบังคับแลว สมควรปรับปรุงระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗
เพ่ือใหการรักษาความปลอดภัยแหงชาติเปนไปอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวางระเบียบไว
ดังตอไปนี้

¢ŒÍ ñ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการรกั ษาความปลอดภยั
แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒”

¢ŒÍ ò ระเบียบน้ีใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป

¢ŒÍ ó ใหยกเลิกระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗
¢ŒÍ ô ในระเบียบน้ี
“การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ” หมายความวา มาตรการและการดําเนินการที่
กําหนดข้ึนเพื่อพิทักษรักษาและคุมครองปองกันส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ ตลอดจนหนวยงาน
ของรัฐ เจาหนาที่ของรัฐ และทรัพยสินมีคาของแผนดิน ใหพนจากการรั่วไหลการจารกรรม
การกอวินาศกรรม การบอนทําลาย การกอการราย การกระทําที่เปนภัยตอความม่ันคง
และผลประโยชนแหงรัฐ และการกระทําอื่นใดที่เปนการเปดเผยส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ
“สิ่งท่ีเปนความลับของทางราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสาร บริภัณฑ ยุทธภัณฑ
ที่สงวน การรหัส ประมวลลับ และส่ิงอ่ืนใดบรรดาที่ถือวาเปนความลับของทางราชการ
“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา ขอมูลขาวสารตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสาร
ของราชการ
“บริภัณฑ” หมายความวา เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ เครื่องกล ส่ิงอุปกรณ และส่ิงอ่ืนท่ี กรช.
ประกาศกําหนด
“ยุทธภัณฑ” หมายความวา สิ่งของทั้งหลายท่ีใชประจํากาย หรือประจําหนวยกําลัง
ถืออาวุธของทางราชการ และส่ิงอื่นที่ กรช. ประกาศกําหนด

๘๓

“ท่ีสงวน” หมายความวา
(๑) สิ่งปลูกสรางทุกชนิดสําหรับการปองกันประเทศ ฐานทัพบก ฐานทัพเรือ ฐานทัพ
อากาศ โรงงานทําอาวุธหรือยุทธภัณฑ โรงชางแสงหรือคลังอาวุธยุทธภัณฑ อูเรือรบ ทาเรืออันใชเปน
ฐานทัพเรือ สถานีวิทยุหรือโทรเลข หรือสถานีสงและรับอาณัติสัญญาณ รวมทั้งสถานที่ใดๆ ซึ่งใช
ในการสรางหรือซอมแซมเรือรบ หรืออาวุธยุทธภัณฑ หรือวัตถุใด ๆ สําหรับใชในการสงคราม
(๒) ชุมทางรถไฟ โรงงาน และสถานท่ีผลิตและจายน้ํา หรือกระแสไฟฟาอันเปน
สาธารณูปโภค
(๓) ส่ิงอื่นท่ี กรช. ประกาศกําหนด
“การรหัส” หมายความวา การใชประมวลลับ หรือรหัสแทนขอความ หรือการ
สงขาวสารท่ีเปนความลับ
“ประมวลลับ” หมายความวา การนําตัวอักษร ตัวเลข คําพูด สัญญาณ สัญลักษณ
มาใชแทนความหมายอันแทจริงตามท่ีตกลงกันไว เพื่อรักษาความลับในการสงขาวหรือติดตอส่ือสาร
ระหวางกัน
“การจารกรรม” หมายความวา การกระทําใด ๆ โดยทางลับเพื่อใหไดลวงรูหรือไดไป
หรือสงส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการใหแกผูไมมีอํานาจหนาที่ หรือผูท่ีไมมีความจําเปนตองทราบ
โดยมีเหตุผลท่ีเชื่อไดวาการกระทําดังกลาวเปนผลรายตอความมั่นคงแหงชาติหรือความสงบเรียบรอย
ภายใน หรือระบอบการปกครอง หรือเสถียรภาพของรัฐบาล หรือกระทําเพ่ือประโยชนแกรัฐ
ตางประเทศ หรือเพื่อประโยชนสวนบุคคล
“การกอวินาศกรรม” หมายความวา การกระทําใด ๆ เพื่อทําลาย ทําความเสียหาย
ตอทรัพยสิน วัสดุ ขอมูลขาวสาร อาคาร สถานที่ ยุทธปจจัย ที่สงวน สาธารณูปโภค และสิ่งอํานวย
ความสะดวก หรือรบกวน ขัดขวาง แกไข เปล่ียนแปลง หนวงเหน่ียวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ
รวมทั้งการประทุษรายตอบุคคล ซ่ึงทําใหเกิดความปนปวน หรือความเสียหายทางการเมือง การทหาร
การเศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา หรือทางหน่ึงทางใด
“การบอนทําลาย” หมายความวา การกระทําใด ๆ ท่ีมุงกอใหเกิดความแตกแยก
ความปนปวน ความกระดางกระเด่ือง ซ่ึงนําไปสูการกอความไมสงบ หรือความออนแอภายในชาติ
ในทางการเมือง การทหาร การเศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา หรือทางหน่ึงทางใด ซึ่งทําใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงระบอบหรือลมลางสถาบันการปกครองของประเทศ หรือเพ่ือทําลายความจงรักภักดี
ของประชาชนตอสถาบันชาติ หรือเพื่อประโยชนแกรัฐตางประเทศ
“การกอการราย” หมายความวา การกระทําใด ๆ ที่สรางความปนปวนใหประชาชน
เกิดความหวาดกลัว หรือเพ่ือขูเข็ญหรือบีบบังคับรัฐบาล หรือองคการระหวางประเทศ ใหกระทํา
หรือละเวนกระทําการอยางหนึ่งอยางใด อันกอใหเกิดความเสียหายตอชีวิตหรือทรัพยสินที่สําคัญ

๘๔

“ทรัพยสินมีคาของแผนดิน” หมายความวา วัตถุ อาคาร สถานที่ หรือสิ่งอ่ืนใดท่ีมี
คุณคาตอสภาพจิตวิทยาของสังคม ประชาชนมีความศรัทธาและหวงแหน หากสูญหาย หรือถูกกระทํา
ใหไดรับความเสียหาย พัง ทลาย หรือทําใหเกิดความเส่ือมเสียตอช่ือเสียงและเกียรติยศแลวจะกระทบ
กระเทือนตอความรูสึกของประชาชน และอาจสงผลบั่นทอนความสงบเรียบรอยของประเทศ

“เขาถึง” หมายความวา การท่ีบุคคลมีอํานาจหนาท่ี หรือไดรับอนุญาตจากผูบังคับบัญชา
ใหไดทราบ ครอบครอง ดําเนินการ หรือเก็บรักษาส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ รวมทั้งการที่
ไดรับอนุญาตใหอยูในที่ซ่ึงนาจะไดทราบเร่ืองที่เกี่ยวกับส่ิงที่เปนความลับของทางราชการน้ันดวย

“รั่วไหล” หมายความวา สิ่งที่เปนความลับของทางราชการไดถูกครอบครองหรือไดทราบ
โดยบุคคลผูไมมีอํานาจหนาท่ี

“กรช.” หมายความวา คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
“หนว ยงานของรฐั ” หมายความวา สว นราชการตามกฎหมายวา ดว ยการปรบั ปรงุ กระทรวง
ทบวง กรม และกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่น
ของรัฐท่ีอยูในกํากับของฝายบริหารแตไมรวมถึงองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
“เจาหนาท่ีของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐ และใหหมายความ
รวมถึงคณะกรรมการหรือบุคคลซ่ึงมีกฎหมายใหอํานาจดําเนินการท่ีเกี่ยวของกับส่ิงที่เปนความลับของ
ทางราชการ
“เจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย” หมายความวา เจาหนาที่ท่ีไดรับการ
แตงตั้งและมอบหมายจากหัวหนาหนวยงานของรัฐ เพื่อทําหนาที่ดําเนินการ ควบคุม กํากับดูแล
ตลอดจนใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของหนวยงานนั้น
“องคการรักษาความปลอดภัย” หมายความวา สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักนายก
รฐั มนตรหี รอื ศนู ยร กั ษาความปลอดภยั กองบญั ชาการกองทพั ไทย กระทรวงกลาโหมหรอื กองบญั ชาการ
ตํารวจสันติบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ แลวแตกรณี
¢ŒÍ õ การรักษาความปลอดภัยแหงชาติในสวนที่เกี่ยวของกับขอมูลขาวสาร
นอกจากตองปฏิบัติตามท่ีกําหนดไวในระเบียบนี้แลว ใหเปนไปตามระเบียบวาดวยการรักษาความลับ
ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ดวย
¢ŒÍ ö ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้

ËÁÇ´ ñ
º··ÑèÇä»

¢ŒÍ ÷ ใหหนวยงานดังตอไปนี้ เปนองคการรักษาความปลอดภัย
(๑) สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เปนองคการรักษาความปลอดภัย
ฝายพลเรือน มีหนาท่ีใหคําแนะนํา ชวยเหลือในเร่ืองการรักษาความปลอดภัยแหงชาติแกหนวยงาน

๘๕

ของรัฐฝายพลเรือน และกํากับดูแล ตรวจสอบ พรอมท้ังพิจารณาแกไขขอบกพรองเพื่อใหระบบ
การรกั ษาความปลอดภยั นนั้ ไดผ ลสมบรู ณอ ยเู สมอ ยกเวน ในสว นทเี่ กยี่ วขอ งกบั การรกั ษาความปลอดภยั
แกหนวยงานของรัฐฝายตํารวจ

(๒) ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
เปนองคการรักษาความปลอดภัยฝายทหาร มีหนาท่ีใหคําแนะนํา ชวยเหลือในเร่ืองการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติแกหนวยงานของรัฐฝายทหาร และกํากับดูแล ตรวจสอบ พรอมท้ังพิจารณา
แกไขขอบกพรองเพ่ือใหระบบการรักษาความปลอดภัยนั้นไดผลสมบูรณอยูเสมอ

(๓) กองบัญชาการตํารวจสันติบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ เปนองคการรักษา
ความปลอดภัยฝายตํารวจ มีหนาที่ใหคําแนะนํา ชวยเหลือในเรื่องการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
แกหนวยงานของรัฐฝายตํารวจ และกํากับดูแล ตรวจสอบ พรอมทั้งพิจารณาแกไขขอบกพรอง
เพื่อใหระบบการรักษาความปลอดภัยน้ันไดผลสมบูรณอยูเสมอ

¢ŒÍ ø ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาที่ในการรักษาความปลอดภัยในหนวยงาน
ของตนในกรณีท่ีหนวยงานของรัฐไดมอบหมายหรือทําสัญญาจางใหเอกชนดําเนินการอยางหน่ึง
อยางใด ซ่ึงเก่ียวของกับการรักษาความปลอดภัย ใหผูไดรับมอบหมายหรือผูเปนคูสัญญา
ซ่ึงเปนเอกชนดังกลาวมีหนาท่ีตองปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัยแหงชาติตามระเบียบนี้ดวย

¢ŒÍ ù บุคคลท่ีจะเขาถึงส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการในชั้นใด ตองเปนบุคคล
ท่ีผูบังคับบัญชามอบหมายความไววางใจ และใหเขาถึงสิ่งท่ีเปนความลับของทางราชการไดเฉพาะ
เร่ืองที่ไดรับมอบหมายเทาน้ัน

¢ŒÍ ñð ในกรณีท่ีเห็นเปนการสมควร หัวหนาหนวยงานของรัฐอาจขอใหองคการรักษา
ความปลอดภัยชวยตรวจสอบประวัติและพฤติการณของเจาหนาที่ของตนท่ีเกี่ยวของกับ
ช้ันความลับได

¢ŒÍ ññ การมอบหมายใหเจาหนาที่ของรัฐปฏิบัติงานเกี่ยวของกับส่ิงท่ีเปนความลับ
ของทางราชการ ใหยึดถือหลักการจํากัดใหทราบเทาท่ีจําเปน เพ่ือปฏิบัติภารกิจท่ีไดรับมอบหมาย
ใหลุลวงไปดวยดี หามผูไมมีหนาที่หรือไมไดรับคําส่ังหรือไมไดรับการมอบหมายอยางถูกตอง อางยศ
ตําแหนงหรืออิทธิพลใดเพ่ือเขาถึงส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ

¢ŒÍ ñò เพ่ือใหการรักษาความปลอดภัยเกิดประสิทธิผล ใหองคการรักษาความปลอดภัย
ทุกฝายประสานการปฏิบัติและประชุมรวมกันเพ่ือดําเนินการจัดใหมีหลักเกณฑ วิธีการ และคําแนะนํา
การปฏิบัติตามระเบียบน้ี รวมท้ังการอบรมบุคลากรท่ีเก่ียวของตามความจําเปน

ใหหนวยงานของรัฐนําหลักเกณฑ วิธีการ และคําแนะนําตามวรรคหน่ึงไปวางแผน
กําหนดวิธีปฏิบัติ โดยประสานมาตรการรักษาความปลอดภัย และมาตรการท่ีเก่ียวของเขาดวยกัน
พรอมทั้งสอดสอง และตรวจสอบมาตรการที่กําหนดไวตามระยะเวลาท่ีระบุไวในแผน ท้ังนี้ วิธีปฏิบัติ
ที่กําหนดนั้นจะตองไมเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติหนาท่ีตามปกติ และตองคํานึงถึงประโยชนของทาง
ราชการเปนสําคัญ

๘๖

ใหห วั หนา หนว ยงานของรฐั แตง ตงั้ เจา หนา ทคี่ วบคมุ การรกั ษาความปลอดภยั และเจา หนา ท่ี
ผูชวยไดตามความจําเปน

ใหหนวยงานของรัฐมีหนาที่รับผิดชอบจัดการอบรมใหเจาหนาที่ของรัฐไดทราบ
โดยละเอียดถึงความจําเปนและมาตรการของการรักษาความปลอดภัย และตองจัดใหมีการอบรม
เพ่ิมเติม โดยอยูภายใตความควบคุมของเจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยหรือผูบังคับบัญชา
ตามโอกาสอันสมควร

¢ŒÍ ñó ในกรณีที่เห็นเปนการสมควรหรืออยางนอยทุกหาป ใหนายกรัฐมนตรีจัดใหมี
การทบทวนการปฏิบัติตามระเบียบนี้ และพิจารณาแกไขเพิ่มเติมใหเหมาะสม

¢ŒÍ ñô เพื่อประโยชนในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ องคกรตามรัฐธรรมนูญ
สวนราชการสังกัดรัฐสภา องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และหนวยงานอ่ืนใดของรัฐ อาจนําระเบียบน้ี
ไปใชบังคับโดยอนุโลม

ËÁÇ´ ò
»ÃÐàÀ·ªéѹ¤ÇÒÁÅѺ

¢ŒÍ ñõ ช้ันความลับของสิ่งที่เปนความลับของทางราชการ แบงออกเปน ๓ ช้ัน คือ
(๑) ลับท่ีสุด (TOP SECRET)
(๒) ลับมาก (SECRET)
(๓) ลับ (CONFIDENTIAL)
¢ŒÍ ñö ลับท่ีสุด หมายความวา ความลับที่มีความสําคัญที่สุดเกี่ยวกับบุคคล ขอมูล
ขาวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพยสินมีคาของแผนดิน ซ่ึงหากความลับดังกลาวท้ังหมดหรือเพียง
บางสวนรั่วไหลไปถึงบุคคลผูไมมีหนาท่ีไดทราบ จะทําใหเกิดความเสียหายตอความม่ันคง
และผลประโยชนแหงรัฐอยางรายแรงที่สุด
¢ŒÍ ñ÷ ลับมาก หมายความวา ความลับที่มีความสําคัญมากเกี่ยวกับบุคคล ขอมูล
ขาวสาร วัตถุ สถานท่ี และทรัพยสินมีคาของแผนดิน ซึ่งหากความลับดังกลาวท้ังหมดหรือเพียง
บางสวนรั่วไหลไปถึงบุคคลผูไมมีหนาท่ีไดทราบ จะทําใหเกิดความเสียหายตอความม่ันคง
และผลประโยชนแหงรัฐอยางรายแรง
¢ŒÍ ñø ลับ หมายความวา ความลับที่มีความสําคัญเก่ียวกับบุคคล ขอมูลขาวสาร
วัตถุ สถานที่ และทรัพยสินมีคาของแผนดิน ซึ่งหากความลับดังกลาวทั้งหมดหรือเพียงบางสวนร่ัวไหล
ไปถึงบุคคลผูไมมีหนาท่ีไดทราบ จะทําใหเกิดความเสียหายตอความม่ันคงและผลประโยชนแหงรัฐ

๘๗

ËÁÇ´ ó
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒùâºÒÂÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂáË‹§ªÒμÔ

¢ŒÍ ñù ใหมีคณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแหงชาติคณะหน่ึง
เรียกโดยยอวา “กรช.” ประกอบดวย
(๑) รัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานกรรมการ
(๒) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เปนรองประธานกรรมการคนที่หน่ึง
(๓) เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เปนรองประธานกรรมการคนที่สอง
(๔) ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เปนกรรมการ
(๕) ปลัดกระทรวงกลาโหม เปนกรรมการ
(๖) ปลัดกระทรวงการคลัง เปนกรรมการ
(๗) ปลัดกระทรวงการตางประเทศ เปนกรรมการ
(๘) ปลัดกระทรวงคมนาคม เปนกรรมการ
(๙) ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสาร เปนกรรมการ
(๑๐) ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนกรรมการ
(๑๑) เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนกรรมการ
(๑๒) เลขาธิการคณะกรรมการ
ขาราชการพลเรือน เปนกรรมการ
(๑๓) ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ เปนกรรมการ
(๑๔) ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เปนกรรมการ
(๑๕) ผูบัญชาการทหารบก เปนกรรมการ
(๑๖) ผูบัญชาการทหารเรือ เปนกรรมการ
(๑๗) ผูบัญชาการทหารอากาศ เปนกรรมการ
(๑๘) เจากรมขาวทหาร เปนกรรมการ
(๑๙) ผูอํานวยการสํานักงานคณะกรรมการ
ขอมูลขาวสารของราชการ เปนกรรมการ
(๒๐) เลขาธิการสภาความมั่นคงแหงชาติ เปนกรรมการและเลขานุการ
(๒๑) ผูอํานวยการสํานักขาวกรองแหงชาติ เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ
(๒๒) ผูบัญชาการศูนยรักษาความปลอดภัย เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ
(๒๓) ผูบัญชาการกองบัญชาการ
ตํารวจสันติบาล เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ

๘๘

¢ŒÍ òð ให กรช. มีอํานาจหนาที่ดังตอไปน้ี
(๑) กําหนดนโยบายและมาตรการการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
(๒) กําหนดแนวทางปฏิบัติและอํานวยการตามนโยบายและมาตรการการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ
(๓) วินิจฉัยปญหาท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติตามระเบียบน้ี
(๔) เสนอแนะการแกไ ขปรบั ปรงุ ระเบยี บนใี้ หม ปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกบั สถานการณ
(๕) แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอยางหนึ่ง
อยางใดตามท่ี กรช. มอบหมาย
(๖) เชิญเจาหนาท่ีของรัฐหรือบุคคลที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานเกี่ยวกับนโยบาย
และมาตรการการรักษาความปลอดภัยแหงชาติมาชี้แจง หรือเรียกเอกสารจากหนวยงานของรัฐ
หรือบุคคลที่เกี่ยวของเพ่ือประกอบการพิจารณาไดตามความจําเปน
(๗) ออกประกาศเพ่ือปฏิบัติการตามระเบียบนี้
(๘) ดําเนินการเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยแหงชาติตามที่คณะรัฐมนตรี
หรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
¢ŒÍ òñ ในการประชุม กรช. ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติ
หนาที่ไดใหรองประธานกรรมการคนท่ีหน่ึงเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการ
และรองประธานกรรมการคนที่หนึ่งไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีได ใหรองประธานกรรมการ
คนที่สองเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการและรองประธานกรรมการท้ังสองคนไมมา
ประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึงเปนประธาน
ในท่ีประชุม
¢ŒÍ òò การประชุม กรช. ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน
กรรมการท้ังหมด จึงจะเปนองคประชุม
การวินิจฉัยช้ีขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหนึ่งในการ
ลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในท่ีประชุมออกเสียงเพ่ิมข้ึนอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด
¢ŒÍ òó ใหสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี ทําหนาที่เปน
สํานักงานเลขานุการของ กรช. และใหมีอํานาจหนาท่ีดังตอไปน้ี
(๑) ศึกษาวิจัยเชิงนโยบาย พรอมท้ังวิเคราะหและสนธิขอมูล ติดตาม และประเมินผล
เก่ียวกับการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
(๒) สนับสนุนและประสานงานกับหนวยงานของรัฐท้ังในประเทศและตางประเทศ
เพ่ือประโยชนในการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
(๓) พิจารณาเสนอความเห็นตอ กรช. เกี่ยวกับการใหมีกฎหมาย หรือแกไขปรับปรุง
กฎหมาย กลไก และมาตรการตาง ๆ เพื่อใหการรักษาความปลอดภัยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
(๔) ปฏิบัติงานอ่ืนตามที่ กรช. มอบหมาย

๘๙

ËÁÇ´ ô
¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂà¡ÕèÂǡѺºØ¤¤Å

¢ŒÍ òô ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐดําเนินการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล
โดยกําหนดมาตรการสําหรับใชปฏิบัติตอผูที่อยูระหวางรอบรรจุหรือแตงตั้งเปนเจาหนาท่ีของรัฐ
หรือเจาหนาท่ีของรัฐ หรือผูที่จะไดรับความไววางใจใหเขาถึงส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ
หรือใหปฏิบัติหนาที่เก่ียวของกับราชการท่ีสําคัญ เพ่ือเลือกเฟนและตรวจสอบใหไดผูท่ีมีคุณสมบัติ
เหมาะสมเปนท่ีเชื่อแนวาตองเปนผูท่ีไมเปนภัย และไมกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคง
และผลประโยชนแหงรัฐ

¢ŒÍ òõ การรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับบุคคล ใหหนวยงานของรัฐปฏิบัติ ดังตอไปน้ี
(๑) ตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคล
(๒) รับรองความไววางใจบุคคลเพื่อใหเขาถึงส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ
¢ŒÍ òö การตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคล ใหใชกับบุคคลดังตอไปนี้
(๑) ผูที่อยูระหวางรอบรรจุหรือแตงต้ังเปนเจาหนาที่ของรัฐ
(๒) ผูที่เปนลูกจางทดลองปฏิบัติงาน หรือฝกงานกอนบรรจุเขาปฏิบัติงาน
(๓) เจาหนาท่ีของรัฐท่ียังมิไดรับการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ และผูท่ีขอกลับ
เขารับราชการใหม
(๔) เจาหนาท่ีของรัฐหรือบุคคลท่ีไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานในหนาท่ีหรือตําแหนง
ที่สําคัญของทางราชการ หรือที่เก่ียวของกับส่ิงที่เปนความลับของทางราชการหรือทรัพยสินมีคาของ
แผนดิน
(๕) ผูไดรับทุนการศึกษาท้ังในประเทศหรือตางประเทศของหนวยงานของรัฐเมื่อสําเร็จ
การศึกษาแลวมีขอผูกพันใหเขาปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ
กรณตี าม (๑) และ (๒) ในระหวา งทต่ี อ งรอฟง ผลการตรวจสอบประวตั แิ ละพฤตกิ ารณบ คุ คล
ถาจําเปนตองรีบบรรจุหรือจางบุคคลเขาปฏิบัติงาน ก็ใหบรรจุหรือจางกอนไดโดยมีเง่ือนไขวา ถาผล
การตรวจสอบปรากฏวาผูน้ันมีความประพฤติหรือมีประวัติและพฤติการณไมเหมาะสมใหหนวยงาน
ของรัฐส่ังเลิกบรรจุหรือเลิกจางได
หากผลการตรวจสอบปรากฏวา เจาหนาที่ของรัฐผูใดมีพฤติการณที่นาสงสัยหรือ
มีการกระทําอันกอใหเกิดความไมนาไววางใจซ่ึงอาจเปนภัยตอความม่ันคงและผลประโยชนแหงรัฐ
ใหยายผูนั้นออกจากตําแหนงหนาท่ีน้ันโดยเร็วและพิจารณาดําเนินการตอไป โดยใหรายงานองคการ
รักษาความปลอดภัยทราบดวย
การตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคล ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ
ที่กําหนดในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี

๙๐

¢ŒÍ ò÷ หนวยงานของรัฐตองจัดใหมีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคล
โดยละเอียด สําหรับบุคคลดังตอไปน้ี

(๑) บุคคลที่จะเขาถึงส่ิงที่เปนความลับของทางราชการชั้นลับที่สุด หรือลับมาก
หรือการรหัส

(๒) บุคคลที่มีพฤติการณ หรือปรากฏขาวสาร หรือติดตอกับบุคคล หรือองคการ
ท้ังภายในและภายนอกประเทศ ท่ีจะเปนภัยตอความม่ันคงและผลประโยชนแหงรัฐ

(๓) บุคคลที่จะไดรับมอบหมายใหทําหนาที่หรือแตงต้ังใหดํารงตําแหนงที่สําคัญ
ในหนวยงานของรัฐ

ใหนําความในวรรคสามและวรรคส่ีของขอ ๒๖ มาใชบังคับกับการตรวจสอบประวัติ
และพฤติการณบุคคลโดยละเอียดดวย

¢ŒÍ òø ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาท่ีรับรองความไววางใจบุคคลเพื่อใหเขาถึง
สง่ิ ทเ่ี ปน ความลบั ของทางราชการตามชน้ั ความลบั ทจี่ ะไดม อบหมายใหป ฏบิ ตั โิ ดยยดึ ถอื ผลการตรวจสอบ
ประวัติและพฤติการณบุคคลน้ัน

บุคคลใดจะไดรับการรับรองความไววางใจ จะตองผานการอบรมหรือชี้แจงในเรื่อง
การรักษาความปลอดภัยตามระเบียบน้ีเสียกอน และลงนามในบันทึกรับรองการรักษาความลับ
เมื่อเขารับตําแหนงหนาที่

ในกรณีจําเปนเรงดวน หัวหนาหนวยงานของรัฐอาจรับรองความไววางใจบุคคล
โดยไมตองรอฟงผลการตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคลไดตามเงื่อนไข ดังตอไปน้ี

(๑) ในกรณีที่กําลังรอฟงผลการตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคลเพ่ือบรรจุ
หรือแตงต้ังบุคคลเปนเจาหนาที่ของรัฐตําแหนงใด ถาจําเปนตองรีบบรรจุหรือแตงต้ังบุคคลเขาปฏิบัติ
หนาที่ในตําแหนงนั้นโดยดวน ก็ใหบรรจุหรือจางกอนได โดยมีเง่ือนไขวา ถาผลการตรวจสอบ
ปรากฏวาผูนั้นมีความประพฤติหรือมีประวัติและพฤติการณไมเหมาะสม ก็ใหเลิกบรรจุหรือเลิกจาง

(๒) ในกรณีที่เปนการมอบหมายความไววางใจใหบุคคลปฏิบัติหนาท่ีเปนการช่ัวคราว
ที่เก่ียวของกับส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ

แบบบันทึกรับรองการรักษาความลับเมื่อเขารับตําแหนงหนาท่ี ใหเปนไปตามท่ีกําหนด
ในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี

¢ŒÍ òù ใหหนวยงานของรัฐจัดใหมีทะเบียนความไววางใจของเจาหนาท่ีของรัฐทุกคน
ตามระดบั ความไวว างใจทแี่ ตล ะคนไดร บั อนมุ ตั ิ และตอ งแกไ ขทะเบยี นความไวว างใจใหต รงตามใบรบั รอง
ความไววางใจ ตามตําแหนงหนาท่ีของบุคคล เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงเก่ียวกับบุคคลหรือมีพฤติการณ
ที่สงสัยวาบุคคลน้ันจะไมเหมาะสมกับความไววางใจที่ไดรับอยู จะตองตรวจสอบประวัติ
และพฤติการณบุคคลใหมและแกไขทะเบียนความไววางใจทันที

แบบทะเบียนความไววางใจ และแบบใบรับรองความไววางใจ ใหเปนไปตามที่กําหนด
ในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี

๙๑

¢ŒÍ óð ในกรณีที่หนวยงานของรัฐจะมอบหมายใหบุคคลใดปฏิบัติหนาท่ีเกี่ยวกับ
ความลับของทางราชการ บุคคลนั้นตองผานการตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคล และให
หนวยงานของรัฐดําเนินการดังตอไปนี้

(๑) มีคําส่ังเปนลายลักษณอักษรแตงต้ังบุคคลซึ่งไดรับความไววางใจใหปฏิบัติหนาท่ี
เกี่ยวกับสิ่งที่เปนความลับของทางราชการ โดยบันทึกชื่อบุคคลดังกลาวลงในทะเบียนความไววางใจ

(๒) มีหนังสือหรือใบรับรองความไววางใจใหเปนหลักฐาน เมื่อตองสงบุคคลไปประชุม
หรือเขารวมในกิจการอ่ืนใดท่ีเกี่ยวกับสิ่งที่เปนความลับของทางราชการ ช้ันลับที่สุดหรือลับมาก
นอกหนวยงานตนสังกัด

¢ŒÍ óñ ในกรณีที่บุคคลใดจะพนจากภารกิจหรือตําแหนงหนาท่ีท่ีเกี่ยวกับสิ่งท่ีเปน
ความลับของทางราชการใหดําเนินการดังตอไปน้ี

(๑) ใหหนวยงานของรัฐคัดชื่อออกจากทะเบียนความไววางใจ
(๒) ใหบุคคลนั้นคืนขอมูลขาวสารกับหลักฐานตาง ๆ ใหกับหัวหนาหนวยงานของรัฐ
หรือผูที่ไดรับมอบหมาย หรือเจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย
(๓) ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐ หรือผูที่ไดรับมอบหมาย หรือเจาหนาท่ีควบคุม
การรักษาความปลอดภัย ช้ีแจงใหบุคคลน้ันไดทราบถึงความเสียหายตอความม่ันคงและผลประโยชน
แหง รฐั ในการเปด เผยความลบั ของทางราชการ และใหบ คุ คลนนั้ ลงชอ่ื ในบนั ทกึ รบั รองการรกั ษาความลบั
เม่ือพนจากภารกิจหรือตําแหนงหนาที่ไวเปนหลักฐาน
แบบบันทึกรับรองการรักษาความลับเมื่อพนจากภารกิจหรือตําแหนงหนาที่ ใหเปนไป
ตามที่กําหนดในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
¢ŒÍ óò บุคคลที่พนจากภารกิจหรือตําแหนงหนาท่ีไปแลว เมื่อกลับเขาทํางานในภารกิจ
หรือตําแหนงหนาท่ีท่ีเกี่ยวกับสิ่งที่เปนความลับของทางราชการ ตองตรวจสอบประวัติและพฤติการณ
บุคคลใหมตามระเบียบนี้

ËÁÇ´ õ
¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂà¡ÕèÂǡѺʶҹ·èÕ

¢ŒÍ óó ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐดําเนินการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานที่
โดยกําหนดมาตรการเพ่ือพิทักษรักษาใหความปลอดภัยแกที่สงวน อาคาร และสถานที่ของหนวยงาน
ของรัฐ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ เจาหนาท่ีของรัฐ และขอมูลขาวสารในอาคารและสถานท่ีดังกลาว
ใหพนจากการโจรกรรม การจารกรรม การกอวินาศกรรม การกอการราย หรือเหตุอ่ืนใดอันอาจ
ทําใหเสียความสามารถในการปฏิบัติภารกิจของหนวยงานของรัฐได

๙๒

¢ŒÍ óô ในการพิจารณาเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ีใหหนวยงาน
ของรัฐคํานึงถึงภยันตรายดังตอไปนี้

(๑) ภยันตรายท่ีเกิดจากปรากฏการณธรรมชาติและอุปทวเหตุ เชน พายุ นํ้าทวม ฟาผา
แผนดินไหว ดินถลม และเพลิงไหม

(๒) ภยันตรายที่เกิดจากการกระทําของมนุษย ไดแก การกระทําโดยเปดเผย เชน
การจลาจล การกอความไมสงบ และการโจมตีของฝายตรงขาม และการกระทําโดยไมเปดเผย เชน
การโจรกรรม การจารกรรม การกอวินาศกรรม และการกอการราย

¢ŒÍ óõ การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ตองปฏิบัติ ดังตอไปนี้
(๑) จัดทําแผนการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่
(๒) กําหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ี
(๓) ดําเนินการสํารวจและตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ี
¢ŒÍ óö แผนการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ ใหจัดทําขึ้นโดยพิจารณา
ถึงส่ิงดังตอไปนี้
(๑) ระดับความสําคัญของหนาที่และภารกิจของแตละหนวยงานของรัฐซ่ึงมีความ
แตกตางกัน
(๒) สถานการณและสภาพแวดลอมโดยรอบพ้ืนที่ ไดแก ลักษณะภูมิศาสตรและ
ทําเลที่ตั้งของหนวยงานของรัฐ อุดมการณหรือทัศนคติของประชาชนในพ้ืนท่ีน้ัน ตลอดจนพฤติการณ
ที่อาจเปนภัยของฝายตรงขาม
(๓) ขาวสาร สิ่งบอกเหตุ และการเตือนภัย ตลอดจนการสนับสนุนชวยเหลือท่ีอาจ
ขอรับจากหนวยงานของรัฐอื่น ๆ
(๔) จํานวนเจาหนาท่ีที่ปฏิบัติงานและเจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ซึ่งข้ึนอยูกับ
ขนาดของอาคาร สถานที่ และพื้นที่ที่ตองควบคุมดูแล
(๕) งบประมาณท่ีจะใชในการวางมาตรการการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่
(๖) การออกแบบกอสรางที่สงวน อาคารและสถานที่ หรือเครื่องกีดขวางของทาง
ราชการท่ีมีความสําคัญ หรือความลับที่ตองพิทักษรักษา ใหคํานึงถึงดานการรักษาความปลอดภัย
ท้ังนี้ใหอยูในความรับผิดชอบของหัวหนาหนวยงานของรัฐ
(๗) การติดตอส่ือสารภายในหนวยงานของรัฐน้ัน และกับหนวยงานของรัฐอ่ืนๆ
(๘) การรายงานผลการสํารวจหรือการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัย
ตอผูบังคับบัญชา
¢ŒÍ ó÷ มาตรการการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานที่ ใหหนวยงานของรัฐ
พิจารณาดําเนินการดังตอไปน้ี
(๑) กําหนดพื้นที่ที่มีการรักษาความปลอดภัย โดยกําหนดขอบเขตท่ีแนชัด
ในการควบคุมการเขาและออก

๙๓

(๒) ใชเคร่ืองกีดขวาง เพ่ือปองกัน ขัดขวางหรือหนวงเหน่ียวบุคคลและยานพาหนะ
ที่ไมมีสิทธิเขาไปในพ้ืนท่ีที่มีการรักษาความปลอดภัย

(๓) ใหแ สงสวา งเพอ่ื ปกปอ งพน้ื ทท่ี มี่ คี วามสาํ คญั และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการตรวจสอบ
พ้ืนที่

(๔) จัดใหมีระบบสัญญาณเตือนภัยสําหรับตรวจและเตือนใหทราบ เมื่อมีการเขาใกล
หรือการลวงล้ําเขามาในพื้นท่ีที่มีการรักษาความปลอดภัย

(๕) ควบคุมบุคคลเพื่อตรวจสอบใหทราบวาเปนบุคคลท่ีไดรับอนุญาตใหผานเขาพื้นที่
ท่ีมีการรักษาความปลอดภัย พ้ืนที่ควบคุม หรือพ้ืนที่หวงหาม

(๖) ควบคุมยานพาหนะ เพ่ือใหทราบวายานพาหนะใดไดรับอนุญาตใหผานเขาในพื้นที่
ท่ีมีการควบคุมและมีบันทึกเปนหลักฐานการเขาและออก

(๗) จัดใหมีเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสถานที่ ประกอบดวย เจาหนาที่เวรรักษา
ความปลอดภัยประจําวัน นายตรวจเวรรักษาความปลอดภัยประจําวัน ยามรักษาการณและเจาหนาที่
อื่นๆ เพ่ือใหการรักษาความปลอดภัยมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น

(๘) ปอ งกนั อคั คภี ยั โดยตอ งวางแผนและกาํ กบั ดแู ลใหเ ปน ไปตามกฎหมาย กฎกระทรวง
และมติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนคําสั่งของทางราชการท่ีเกี่ยวของกับเรื่องน้ี

¢ŒÍ óø ใหหนวยงานของรัฐจัดใหมีการสํารวจและการตรวจสอบการรักษา
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานท่ีตามความเหมาะสม โดยขอคําแนะนําจากองคการรักษาความปลอดภัย

ËÁÇ´ ö
¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ㹡ÒûÃЪØÁÅѺ

¢ŒÍ óù ในหมวดนี้
“การประชุมลับ” หมายความวา การรวมปรึกษาหารือเรื่องที่เกี่ยวของกับสิ่งท่ีเปน
ความลับของทางราชการ และใหหมายความรวมถึงการหาขอยุติ ขอพิจารณา ความเห็น การอภิปราย
การบรรยาย การบรรยายสรุป และเหตุการณที่ปรากฏในการประชุมลับน้ันดวย
¢ŒÍ ôð ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐดําเนินการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ
โดยกําหนดมาตรการเพื่อพิทักษรักษาสิ่งที่เปนความลับของทางราชการที่ปรากฏในการประชุมลับไมให
มกี ารรวั่ ไหล รบกวน ขดั ขวางการประชมุ หรอื ถกู จารกรรม รวมทง้ั คมุ ครองบคุ คลและสถานทท่ี เ่ี กย่ี วขอ ง
กับการประชุมลับน้ันจากการกอวินาศกรรม
¢ŒÍ ôñ ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐเจาของเร่ืองที่จะมีการประชุมลับเปนผูรับผิดชอบ
จัดประชุมและรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการประชุมน้ัน หรืออาจมอบหมายใหบุคคลที่เหมาะสม
เปนผูดําเนินการแทนได

๙๔

ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐหรือผูไดรับมอบหมายใหรักษาความปลอดภัยในการ
ประชุมลับแตงต้ังเจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ และนายทะเบียนขอมูล
ขาวสารลับ รวมท้ังแจงใหผูเขารวมการประชุมและผูมีหนาท่ีเกี่ยวของทุกฝายทราบ

¢ŒÍ ôò ในกรณีท่ีผูเขาประชุมแตละฝายจําเปนตองวางมาตรการการรักษา
ความปลอดภัยเฉพาะในฝายตนแลว การวางมาตรการดังกลาวตองสอดคลองกับมาตรการการรักษา
ความปลอดภยั ในการประชมุ ลบั ตามระเบยี บนี้ และใหแ ตง ตงั้ เจา หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ของฝา ยนนั้ ขน้ึ
เพอื่ ทาํ หนา ทป่ี ระสานงานในเรอ่ื งการรกั ษาความปลอดภยั กบั เจา หนา ทค่ี วบคมุ การรกั ษาความปลอดภยั
ในการประชุมลับ

¢ŒÍ ôó การรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับตองคํานึงถึงหลักการ ดังตอไปนี้
(๑) บุคคลที่เก่ียวของกับการประชุมลับ ตองผานการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ
บุคคลพรอมท้ังไดรับความไววางใจใหเขาถึงความลับในการประชุมน้ัน และการปฏิบัติงานใหอยูใน
ความควบคุมของเจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับน้ัน สําหรับผูท่ีไมมี
อํานาจหนาที่ ตองไมไดรับทราบหรือครอบครองสิ่งที่เปนความลับของทางราชการในการประชุม
(๒) หามนําเครื่องมือสื่อสาร วัสดุอุปกรณ หรือเครื่องบันทึกภาพหรือเสียงเขาไป
ในสถานที่ประชุม และตองไมนําเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ หรือขอมูลขาวสารใด ๆ ออกนอกสถานที่
ประชุมน้ัน
¢ŒÍ ôô การรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ ใหหนวยงานของรัฐพิจารณา
ดําเนินการดังตอไปน้ี
(๑) กําหนดพ้ืนท่ีท่ีมีการรักษาความปลอดภัย
(๒) ดําเนินการรักษาความปลอดภัย
(๓) ประสานงานการรักษาความปลอดภัย
(๔) กําหนดวิธีปฏิบัติตอผูมาติดตอ
(๕) แถลงขาวตอสื่อมวลชน
(๖) บรรยายหรือบรรยายสรุปเรื่องท่ีเปนความลับ
¢ŒÍ ôõ การกําหนดพ้ืนที่ท่ีมีการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับ ประกอบดวย
ส่ิงดังตอไปน้ี
(๑) กําหนดอาณาเขตท่ีใชในการประชุมลับ ที่ทําการของผูเขาประชุมลับและสถานท่ี
ที่ใชเก็บรักษาส่ิงท่ีเปนความลับของทางราชการ และจัดใหมีมาตรการการรักษาความปลอดภัย
ตามความจําเปนและเหมาะสมไวลวงหนากอนเปดการประชุมลับ
(๒) กําหนดใหมีบัตรผานหรือปายแสดงตนสําหรับใชควบคุมบุคคล หลักเกณฑ
และวิธีปฏิบัติในการกําหนดพ้ืนท่ีที่มีการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับตามวรรคหน่ึง
ใหดําเนินการตามมาตรการการรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานที่

๙๕

¢ŒÍ ôö เจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับตองดําเนินการ
ดังตอไปน้ี

(๑) ตรวจตราและตรวจสอบทางเทคนิคตลอดในพื้นที่ท่ีกําหนดใหมีการรักษา
ความปลอดภัยท้ังหมดอยางละเอียดกอนวันเปดประชุมลับและระหวางการประชุมลับ

(๒) ในกรณที กี่ ารประชมุ ลบั นนั้ มคี วามสาํ คญั มาก หนว ยงานของรฐั อาจขอความชว ยเหลอื
จากองคการรักษาความปลอดภัยได หลังจากท่ีองคการรักษาความปลอดภัยตรวจสอบแลว
ใหส ง มอบความรบั ผดิ ชอบในพน้ื ทน่ี น้ั เปน ลายลกั ษณอ กั ษรแกเ จา หนา ทค่ี วบคมุ การรกั ษาความปลอดภยั
ในการประชุมลับหรือผูแทนหนวยงานนั้น

การปฏิบัติตอสิ่งที่เปนความลับของทางราชการ การควบคุมดูแลการประชุมลับ
การทําลายขอมูลขาวสารลับท่ีไมใชแลว ใหอยูในความดูแลของเจาหนาท่ีควบคุมการรักษา
ความปลอดภัยในการประชุมลับและนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ

¢ŒÍ ô÷ ในกรณีท่ีมีผูมาติดตอกับผูเขาประชุมในการประชุมลับ ผูรับผิดชอบจัดประชุม
ตองจัดใหมีการปฏิบัติตาม ขอ ๓๗ (๕) และขอ ๔๕ (๒) โดยอนุโลม

¢ŒÍ ôø กรณจี าํ เปน ตอ งมกี ารแถลงขา วเกยี่ วกบั การประชมุ ลบั ใหผ รู บั ผดิ ชอบจดั ประชมุ
ดําเนินการดังตอไปน้ี

(๑) จัดสถานที่ที่ใชแถลงขาวข้ึนโดยเฉพาะ และควรอยูนอกพ้ืนท่ีท่ีมีการรักษา
ความปลอดภัยในการประชุมลับ

(๒) กําหนดใหผูแถลงขาว หัวขอท่ีจะนําแถลง และขอมูลขาวสารท่ีจะเผยแพร
ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมลับกอน หรือในกรณีท่ีท่ีประชุมลับมอบหมายใหมีผูแถลงขาวหลายคน
ผูแถลงขาวแตละคนตองแถลงเฉพาะเร่ืองที่ตนไดรับอนุมัติจากที่ประชุมลับเทาน้ัน

(๓) ควบคุมใหการแถลงขาวหรือการเผยแพรขอมูลขาวสาร และผูเขารับฟงเปนไปดวย
ความเหมาะสม

¢ŒÍ ôù ในกรณีที่เปนการบรรยายหรือการบรรยายสรุปเรื่องท่ีเปนความลับ
นอกจากจะตองปฏิบัติตามมาตรการในการรักษาความปลอดภัยในการประชุมลับแลวใหดําเนินการ
ดังตอไปน้ีดวย

(๑) กําหนดช้ันความลับของการบรรยายหรือการบรรยายสรุป โดยถือตามชั้น
ความลับท่ีสูงสุดในขอมูลขาวสาร หรือสิ่งท่ีใชประกอบการบรรยายหรือการบรรยายสรุปนั้น

(๒) กําหนดใหผูเขารับฟงทุกคนตองไดรับความไววางใจใหเขาถึงช้ันความลับ
ของการบรรยายหรือการบรรยายสรุปน้ัน

(๓) เม่ือเร่ิมและสิ้นสุดการบรรยายหรือการบรรยายสรุป ผูบรรยายตองแจงให
ผูเขารับฟงรับทราบช้ันความลับของการบรรยาย และเนนยํ้าใหดําเนินการรักษาความปลอดภัย
ตอสิ่งท่ีไดรับฟงจากการบรรยายหรือการบรรยายสรุปน้ัน

๙๖

ËÁÇ´ ÷
¡ÒÃÅÐàÁÔ´¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ

¢ŒÍ õð ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐกําหนดมาตรการเพ่ือปองกันการละเมิดฝาฝน
หรือละเลยไมปฏิบัติตามมาตรการการรักษาความปลอดภัยที่กําหนดไว จะโดยเจตนาหรือไมก็ตาม
อันเปนเหตุใหความลับของทางราชการรั่วไหล หรือเปนเหตุใหเจาหนาที่ของรัฐ หรือวัสดุอุปกรณ
หรือทรัพยสินของรัฐไดรับความเสียหาย

¢ŒÍ õñ ใหเจาหนาที่ของรัฐผูพบเห็นหรือทราบ หรือสงสัยวาจะมีหรือมีการละเมิด
มาตรการการรักษาความปลอดภัย รีบดําเนินการเบ้ืองตนเพ่ือลดความเสียหายใหเหลือนอยท่ีสุด
และรายงานผูบังคับบัญชา หรือเจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัย หรือเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ
หรือแจงเจาของเร่ืองเดิมทราบโดยเร็วท่ีสุด

¢ŒÍ õò ใหเจาหนาท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยหรือเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบ
ดําเนินการดังตอไปน้ี

(๑) สํารวจและตรวจสอบความเสียหายอันเกิดจากการละเมิดมาตรการการรักษา
ความปลอดภัย

(๒) ดําเนินการเพ่ือปองกันหรือลดความเสียหายใหเหลือนอยที่สุด
(๓) สํารวจตรวจสอบและคนหาสาเหตุแหงการละเมิดมาตรการการรักษา
ความปลอดภัย ตลอดจนจุดออนและขอบกพรองตาง ๆ
(๔) ดําเนินการแกไขมาตรการการรักษาความปลอดภัยใหรัดกุมย่ิงข้ึน เพ่ือปองกัน
มิใหมีการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัยเกิดขึ้นอีก
(๕) รายงานรายละเอียดเก่ียวกับการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัย
ตอผูบังคับบัญชาตามลําดับช้ัน หากมีขอมูลขาวสารลับสูญหายใหรายงานและบันทึกลงในทะเบียน
ควบคุมขอมูลขาวสารลับดวย
(๖) หากปรากฏหลักฐานหรือขอสงสัยวาเกิดการจารกรรม หรือการกอวินาศกรรม
ใหรายงานและขออนุมัติผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้น เพื่อแจงเร่ืองใหเจาหนาท่ีผูมีอํานาจหนาที่
ในดานการสืบสวนดําเนินการตอไป
¢ŒÍ õó เม่ือไดดําเนินการตามขอ ๕๒ แลว ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐ ดําเนินการ
ดังตอไปนี้
(๑) แจงใหหนวยงานของรัฐซ่ึงเปนเจาของเรื่องเดิมหรือเจาของสถานที่
หรือผูท่ีเก่ียวของทราบทันที
(๒) สอบสวนเพ่ือใหทราบวาผูใดเปนผูละเมิดและผูใดเปนผูรับผิดชอบตอการละเมิด
น้ัน

๙๗

(๓) พิจารณาแกไขขอบกพรองและปองกันมิใหเหตุการณเชนน้ันเกิดข้ึนซํ้าอีก
(๔) พิจารณาดําเนินการลงโทษตามกฎหมายตอผูละเมิดมาตรการการรักษา
ความปลอดภัยหรือผูจะละเมิด และผูรับผิดชอบตอการละเมิดนั้น
¢ŒÍ õô ใหหนวยงานของรัฐซ่ึงเปนเจาของเรื่องเดิมหรือผูที่เกี่ยวของ ดําเนินการ
ดังตอไปน้ี
(๑) พิจารณาวาสมควรลดหรือยกเลิกชั้นความลับของส่ิงท่ีเปนความลับของ
ทางราชการนั้นหรือไม
(๒) ขจัดความเสียหายอันเกิดจากการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัย
ที่จะมีตอความมั่นคงและผลประโยชนแหงรัฐ ในการนี้ อาจตองเปลี่ยนนโยบายและแผนพรอมทั้ง
ปจจัยตาง ๆ ท่ีเก่ียวของตามท่ีเห็นสมควร

º·à©¾ÒСÒÅ

¢ŒÍ õõ ใหสิ่งท่ีเปนความลับของทางราชการที่มีอยูกอนตามระเบียบวาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ เปนสิ่งที่เปนความลับของทางราชการตามระเบียบนี้

บรรดาหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรการท่ีเกี่ยวของกับการรักษาความปลอดภัย
ท่ีไดกําหนดไวกอนระเบียบนี้ใชบังคับ ใหคงมีผลใชบังคับตอไป จนกวาจะไดมีการกําหนดขึ้นใหม
ตามระเบียบน้ี

แบบเอกสารตาง ๆ ตามระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗
ซ่ึงมีอยูกอนระเบียบน้ีใชบังคับ ใหใชไดตอไปจนกวาจะมีการกําหนดแบบตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันท่ี ๓ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๒
อภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี

๙๘

เลม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๖๗ ง หนา ๑ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔
ราชกิจจานุเบกษา

ÃÐàºÕºสํา¹Ñ¡¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕ

Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂáË‹§ªÒμÔ (©ºÑº·Õè ò)
¾.È. òõõô

โดยที่เปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ เพ่ือปรับปรุงองคประกอบคณะกรรมการนโยบายรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ ใหมีความเหมาะสมย่ิงข้ึน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวางระเบียบไว
ดังตอไปน้ี
ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษาความปลอดภัย
แหงชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔”
ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ ๑๙ แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปน้ีแทน
“ขอ ๑๙ ใหม คี ณะกรรมการนโยบายรกั ษาความปลอดภยั แหง ชาตคิ ณะหนง่ึ เรยี กโดยยอ วา
“กรช.” ประกอบดวย
(๑) รัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานกรรมการ
(๒) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เปนรองประธานกรรมการคนท่ีหนึ่ง
(๓) เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เปนรองประธานกรรมการคนที่สอง
(๔) ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เปนกรรมการ
(๕) ปลัดกระทรวงกลาโหม เปนกรรมการ
(๖) ปลัดกระทรวงการคลัง เปนกรรมการ
(๗) ปลัดกระทรวงการตางประเทศ เปนกรรมการ
(๘) ปลัดกระทรวงคมนาคม เปนกรรมการ
(๙) ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร เปนกรรมการ
(๑๐) ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนกรรมการ


Click to View FlipBook Version