The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มรอบ9เดือน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rek_lis, 2022-04-03 05:20:48

รวมเล่มรอบ9เดือน

รวมเล่มรอบ9เดือน

รายงานการประเมนิ ตนเองระดบั หลกั สูตร
ประจาปีการศกึ ษา 2563

(1 มิถนุ ายน 2563 ถงึ 31 พฤษภาคม 2564)
รอบ 9 เดือน

รหสั หลกั สตู ร 25501951102285
หลกั สตู รเทคโนโลยีบณั ฑิต

สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์

ขอรับรองว่าข้อความในรายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ ถูกต้องเป็นความจริงทุกประการ

1. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นพศกั ด์ิ ตนั ติสัตยานนท์ ประธานหลักสูตร วันที่ 24 มถิ นุ ายน 2562
2. อาจารยเ์ อกรนิ ทร์ วจิ ติ ตพ์ ันธ์ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร วันท่ี 24 มถิ นุ ายน 2562
3. อาจารยว์ ลิ าวรรณ สุขชนะ อาจารย์ประจาหลักสูตร วนั ที่ 24 มถิ นุ ายน 2562
4. อาจารยส์ มพร พงึ่ สม อาจารย์ประจาหลักสูตร วันที่ 24 มถิ ุนายน 2562
5. อาจารย์นภารตั น์ ชูไพร อาจารยป์ ระจาหลักสูตร วันที่ 21 สิงหาคม 2563

..................................................................... ...............................................................
(อาจารยว์ ลิ าวรรณ สุขชนะ) (อาจารย์ ดร.รกั ชนกชรนิ ร์ พูลสุวรรณนธี)
คณบดคี ณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี
หัวหน้าสาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ
วนั ท่ี 24 มถิ ุนายน 2563 วันที่ 24 มิถุนายน 2563

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รใหม่/ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

คานา

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตร
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ประจาปีการศึกษา 2562 ฉบับนี้ จัดทาขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปและประเมินตนเองเก่ียวกับผลการ
ดาเนินงานการจัดการศึกษาระดับหลักสูตร ในปีการศกึ ษา 2562

รายงานฉบบั น้ีประกอบด้วย 7 หมวด ตามท่ี มคอ.7 กาหนดไว้ อันได้แก่ หมวดที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป หรือ
องค์ประกอบท่ี 1 การกากับมาตรฐาน ซ่ึงมีจานวน 1 ตัวบ่งช้ีคือ ตัวบ่งช้ี 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตาม
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรท่ีกาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หมวดที่ 2 บัณฑิต หรือ
องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑิต ซึ่งมีจานวน 2 ตัวบ่งช้ีคือ ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ผลลัพธ์) ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 บัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ
ภายใน 1 ปี (ผลลัพธ์) หมวดท่ี 3 นักศกึ ษา หรอื องค์ประกอบที่ 3 นักศกึ ษา ซ่ึงมีจานวน 3 ตัวบ่งชี้คอื ตัวบ่งชี้
ท่ี 3.1 การรบั นักศึกษา (กระบวนการ) ตัวบง่ ช้ีท่ี 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา และตัวบ่งชี้ท่ี 3.3 ผลที่
เกิดกับนักศึกษา (ผลลัพธ์) หมวดที่ 4 อาจารย์ หรือองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ ซึ่งมีจานวน 3 ตัวบ่งชี้คือ ตัว
บง่ ชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ (กระบวนการ) ตัวบ่งชที้ ี่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ (ปจั จัยนาเข้า) และตัว
บง่ ช้ที ี่ 4.3 ผลที่เกดิ กบั อาจารย์ (ผลลพั ธ์) หมวดท่ี 5 ผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรและคุณภาพการสอน
ในหลักสูตร หรือองค์ประกอบท่ี 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ซ่ึงมีจานวน 4 ตัวบ่งชี้คือ
ตัวบ่งชี้ท่ี 5.1 สาระของรายวชิ าในหลักสูตร (กระบวนการ) ตวั บ่งชท้ี ่ี 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการ
จัดการเรียนการสอน (กระบวนการ) ตัวบ่งชี้ท่ี 5.3 การประเมินผู้เรียน (กระบวนการ) และตัวบ่งช้ีที่ 5.4 ผล
การดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ผลลัพธ์) หมวดท่ี 6 ส่ิงสนับสนุนการ
เรียนรู้ หรือองค์ประกอบท่ี 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ซ่ึงมีจานวน 1 ตัวบ่งช้ีคือ ตัวบ่งชี้ท่ี 6 สิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้ (กระบวนการ) หมวดที่ 7 ปัญหาข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเก่ียวกับคุณภาพหลักสูตร และ หมวด
ที่ 8 แผนการดาเนินการเพอ่ื พฒั นาหลักสตู ร

ท้ังนี้ รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตร ครั้งน้ี ได้พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานให้เป็นไปอย่าง
ต่อเน่ือง อีกท้ังเป็นการนาผลการดาเนินงานไปวางแผนพัฒนาด้านการเรียนการสอน การวิจยั การบริการทาง
วชิ าการแก่สงั คม และการทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรม จะนาไปสู่การปรับปรงุ และพัฒนาการบรหิ ารหลกั สูตรให้มี
คุณภาพในปีการศึกษาหนา้ ตอ่ ไป

สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์

สารบญั

คานา หนา้
สารบญั ค
บทสรปุ ผู้บริหาร

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รใหม่/ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ก

ส่วนที่ 1 บทนา 1
ส่วนที่ 2 - ประวตั คิ วามเปน็ มาของหลักสูตรโดยยอ่ 1
- ปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ ของหลักสูตร 4
สว่ นท่ี 3 - โครงสร้างหลักสูตร 5
ภาคผนวก - สถานทตี่ ้งั 5
- คุณลักษณะบัณฑิตของหลักสตู รปจั จบุ ัน 5
ผลการดาเนินงาน 7
- หมวดที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป 8
- หมวดที่ 2 บณั ฑิต 22
- หมวดท่ี 3 นักศึกษา 26
- หมวดที่ 4 อาจารย์ 64
- หมวดท่ี 5 ขอ้ มูลผลการเรยี นรายวชิ าของหลักสูตรและคุณภาพการสอน 87

ในหลกั สตู รขอ้ มูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสตู ร 152
- หมวดท่ี 6 การบริหารหลักสตู ร 166
- หมวดท่ี 7 ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเกีย่ วกบั คุณภาพหลกั สตู รจากผปู้ ระเมิน 168
- หมวดท่ี 8 แผนการดาเนนิ การเพอื่ พัฒนาหลกั สูตร 169
สรุปผลการประเมิน 170
- ตารางผลการประเมนิ รายตัวบ่งชต้ี ามองคป์ ระกอบคุณภาพ 171
- ตารางการวเิ คราะหค์ ุณภาพการศึกษาภายในระดบั หลกั สูตร 172
- รายงานผลการวเิ คราะหจ์ ุดแข็งและจดุ ท่ีควรพฒั นา
องคป์ ระกอบที่ 2 – องค์ประกอบที่ 6

บทสรุปผูบ้ รหิ าร

หลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์ มผี ลการดาเนินงานในปกี ารศึกษา 2562 ได้มาตรฐาน
การศึกษาระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ และมรี ะดบั คุณภาพอยู่ในระดบั ดี ตามเกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพ
การศกึ ษาระดับหลกั สตู ร 6 องค์ประกอบ ดังน้ี

สรุปผลการประเมนิ ตามองค์ประกอบคุณภาพ

องคป์ ระกอบ จานวนตวั บ่งช้ี คะแนนประเมิน ระดับคณุ ภาพ

0.01 - 2.00 ระดบั คุณภาพนอ้ ย
2.01 - 3.00 ระดบั คณุ ภาพปานกลาง

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รใหม่/ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ข

องค์ประกอบที่ 1 3.01 - 4.00 ระดับคณุ ภาพดี
4.01 – 5.00 ระดบั คุณภาพดมี าก
องคป์ ระกอบท่ี 2
องคป์ ระกอบท่ี 3 ผา่ น
องคป์ ระกอบที่ 4
2
องค์ประกอบที่ 5 3
องค์ประกอบที่ 6 3

เฉลยี่ รวมทกุ ตัวบ่งชี้ 4
1

13

องคป์ ระกอบที่ 1 : การกากับมาตรฐาน
สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ มีการบรหิ ารจดั การหลกั สูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรท่ีกาหนด

โดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมีผลการดาเนินงานครบถ้วนตามกรอบมาตรฐานมาตรฐาน
คณุ วฒุ ิระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ

องค์ประกอบที่ 2 : บัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ใช้กลไกลการพัฒนาบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF) ซึ่งได้มีการ
กาหนดคุณลกั ษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ตามที่หลกั สตู รกาหนดไว้ใน มคอ.2 ซงึ่ ครอบคลุมผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
คือ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบและ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ซึ่งบัณฑิตสามารถทางานได้หลากหลายประเภทที่เกี่ยวเน่ืองกับงานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ สามารถปรับตัวเข้ากับองค์กรได้ทุกรูปแบบ ทั้งในสถานประกอบการเอกชนและรัฐวิสาหกิจ
สอดคลอ้ งกบั อตั ลักษณ์ของมหาวทิ ยาลยั “บณั ฑิตนกั ปฏบิ ตั ิ”

องค์ประกอบที่ 3 : นักศึกษา
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มีการใช้ระบบ กลไกล ท่ีนาไปสู่การปฏิบัติและการดาเนินงาน ใน

การรบั นกั ศึกษา การสง่ เสริมและพัฒนานกั ศึกษา ตลอดจนผลท่ีเกดิ กับนักศึกษา ทีส่ อดคล้องต่อคุณสมบตั ิและ
ความพร้อมในการเรียนในหลักสูตรจนสาเรจ็ การศกึ ษา

องคป์ ระกอบท่ี 4 : อาจารย์
สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใชร้ ะบบ กลไกล ในการการบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ เพ่อื ใหไ้ ด้

อาจารย์ทมี่ ีคุณภาพเหมาะสม ตลอดจนการกากับดูแลและการพฒั นาคณุ ภาพอาจารย์ ให้มีความเชี่ยวชาญ
ทางสาขาวิชาของหลักสูตร และมีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับการผลิตบัณฑิต ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรท่ีกาหนดโดยสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

องค์ประกอบท่ี 5 : หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผู้เรยี น

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รใหม่/ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ค

สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดใ้ ช้หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑติ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) โดย
มีการพัฒนาหลักสูตรในแต่ละปีการศึกษาจะดาเนินการจากการทบทวนผลการดาเนินงานของหลักสูตรที่
รายงานใน มคอ. 7 รวมท้ังคานึงถึงความเปลี่ยนแปลงของศาสตร์และความก้าวหน้าในศาสตร์วิชาน้ัน ๆ ในปี
การศึกษา 2559 ดังน้ันหลักสูตรควรมีการพัฒนาและการเก็บข้อมูลการปรับปรุงสาระในแต่ละรายวิชาในการ
ทวนสอบผลสัมฤทธ์ทิ างการศึกษาด้วยการพิจารณาจากปญั หา/ผลกระทบจากการดาเนินงานในระหว่างการจัด
การศึกษาตามหลกั สตู ร รวมท้ังคานึงถึงความเปล่ียนแปลงของศาสตร์และความก้าวหน้าในศาสตรว์ ิชานั้น ๆ
องค์ประกอบท่ี 6 : สิ่งสนบั สนนุ การเรียนรู้

สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ มรี ะบบและกลไกสิ่งสนบั สนนุ การเรียนรู้ ไปสกู่ ารปฏบิ ัติ ไดด้ าเนนิ การ
ตามระบบและกลไก โดยมีการประชุม เพื่อกากับติดตามการดาเนินงานในด้านส่ิงสนับสนุนเก่ียวกับห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ โดยอาจารย์รายงานสภาพปัจจุบันของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จากแบบสารวจวัสดุ ครุภัณฑ์
ประจาปี เพอื่ ให้มจี านวนสิง่ สนบั สนุนการเรียนรูท้ ีพ่ อเพียงและเหมาะสมต่อการจัดการเรยี นการสอน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รใหม่/ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ง

ส่วนที่ 1 บทนา

1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของหลักสูตร
นับต้ังแต่การก่อต้ังวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ในปี พ.ศ. 2518 ผลิตนักศึกษาท่ีมีเน้นทักษะ

ปฏิบัติด้านงานช่าง ซ่ึงดาเนินการมาจนถึง ปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานช่ือใหม่ใหแ้ กว่ ิทยาลยั เทคโนโลยีและอาชีวศึกษาว่า สถาบนั เทคโนโลยี
ร า ช ม ง ค ล ซ่ึ ง ห ม า ย ค ว า ม ว่ า ส ถ า บั น เ ท ค โ น โ ล ยี อั น เ ป็ น มิ่ ง ม ง ค ล แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช า ใ น วั น ที่
15 กนั ยายน พ.ศ. 2531 จงึ ถอื เอาวนั ดงั กล่าวเป็นวันราชมงคล นบั วา่ เป็นพระมหากรุณาธคิ ุณอย่างล้นพ้นและ
เป็นมงคลอันประเสริฐยง่ิ ตอ่ สถาบันการศกึ ษาแหง่ นี้

ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 เกิดวาตภัยพายุใต้ฝุ่นเกย์ ในบริเวณ 3 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ ชุมพร ระนอง
ประจวบคีรีขันธ์ ทาให้ประชาชนได้รับความเดอื ดร้อน รัฐบาลจึงได้เรง่ ดาเนนิ การให้ความชว่ ยเหลอื โดยใหส้ ่วน
ราชการร่วมกันแก้ไขปัญหา และใหค้ วามช่วยเหลอื เปน็ การเร่งด่วน ภายใตแ้ ผนฟืน้ ฟู บรู ณะ และพัฒนาจงั หวัด
ชุมพรและจังหวัดใกล้เคียง ในส่วนของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลน้ัน กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอให้จัดต้ัง
วิทยาเขตข้ึน ท่ีอาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของแผนงานดังกล่าว โดยใช้พื้นที่ 4
แหง่ เรยี กเป็นเขต 4 เขต คือ เขต 1 พ้ืนทว่ี ังไกลกงั วล ในพน้ื ที่เดียวกับโรงเรียนวังไกลกงั วล ตาบลหวั หิน พื้นที่
1 ไร่, เ ขต 2 พ้ืน ที่กรมธ นา รักษ์ เป็น บ้านพักเดิ มของจอ ม พลประภ า ส จารุเส ถียร ตาบ ล
หนองแก พื้นที่ 8 ไร่, เขต 3 พ้ืนที่ใกล้เขาพิทักษ์ เป็นพ้ืนท่ีฝึกของตารวจพลร่มค่ายนเรศวร พื้นที่ 14 ไร่ และ
เขต 4 พน้ื ท่ตี ดิ ต่อกับคา่ ยสรุ ิโยทยั กองทัพบก พื้นที่ 155 ไร่ ต่อมาได้ขอใชพ้ ื้นท่ีเพ่ิมอีก 80 ไร่

การจัดต้ัง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ท่ีอาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยจัดต้ังในรูปแบบ
วิทยาเขต เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 และได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช ว่า “วิทยาเขตวังไกลกังวล” เพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช
ชนนี (สมเด็จย่า) เนื่องในโอกาสท่ีสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระชนมายุ 90 พรรษา อีกท้ังเป็น
การขยายการศึกษาวิชาชีพระดับสูงให้แก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ ความคิด ในการ
ดารงชีวิต ท้ังเป็นการผลิต และพัฒนากาลังคนสาหรับการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ ในบริเวณพ้ืนท่ีตาม
โครงการพัฒนาชายฝ่ังทะเลภาคใต้ (Southern Seaboard) ของรัฐบาล

ในการเปิดทาการของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตวังไกลกังวล เม่ือวันท่ี 12 สิงหาคม พ.ศ.
2533 โดยใช้อาคารมหาดเล็กภายในโรงเรียนวังไกลกังวล เป็นที่ทาการ และใช้อาคารอเนกประสงค์ ภายใน
พน้ื ท่วี งั ไกลกงั วล เป็นทีจ่ ดั การเรียนการสอน โดยมี 2 สาขาวชิ าแรก ได้แก่ สาขาวชิ าการโรงแรม และสาขาวชิ า
การท่องเที่ยว สังกัดคณะศิลปศาสตร์ เปิดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)
ซึ่งในวันเปิดการเรียนการสอนตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ แล้ว
ในปี พ.ศ. 2533 ยังเป็นปีครบรอบ 90 พรรษา ของสมเด็จพระศรีนคินทราบริมราชชนนี อีกด้วย ดังน้ัน
จงึ กล่าวได้ว่าเป็นการเร่ิมต้นของวิทยาเขตวังไกลกังวล มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับเหตุการณ์ท่ีสาคัญของ
ชาติ ประกอบกับนามสถาบันอันเป็นมงคลย่ิงท้ังนามสถาบันและนามวิทยาเขต สถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล วทิ ยาเขตวังไกลกังวล จึงเป็นสถานบนั ทีม่ ีมงคลนามและจดั ต้งั ในวนั และปอี นั สาคัญของชาติดว้ ย

ต่อมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (Rajamangala University of Technology) เป็นระบบ
มหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย โดยเม่ือวันท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 และประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนท่ี 6ก วันท่ี 18 มกราคม พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัติน้ีมีผลทาให้เกิด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จานวน 9 แห่ง สังกัด สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ท่เี น้นอัตลักษณ์ของนักศึกษาในการเป็น บัณฑิตนักปฏิบัติ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 1

เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซ่ึงจากพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยฯ ดังกล่าว ทาให้เกิด
กฎกระทรวงในการจัดตงั้ คณะตา่ งๆ เพือ่ จัดการเรียนการสอน

ท้งั นี้ คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี จัดต้ังข้ึนเพื่อพัฒนาระบบการศึกษาทจี่ ะกระจ่ายและเปดิ โอกาส
ทางการศึกษาทางวิชาชีพในระดับสากล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยเี ปน็ จดั การศึกษา ระดบั ปริญญา เพ่ือ
แก้ปัญหาการขาดแคลนกาลังคนในตลาดแรงงาน ย่ิงไปกว่าน้ันยังเป็นแหล่งการศึกษาในท้องถ่ิน เพื่อยกระดับ
การศกึ ษาใหส้ ูงขึ้นท่สี อดคลอ้ งกบั การพัฒนาการศึกษาในระดบั ชาติ

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี คานึงถึงนโยบายพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่จัด
การศึกษายึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ โดยรัฐเป็นผู้เรียนทุกคนมี
ความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ โดยรัฐเป็นผู้ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบและ
เป็นไปอย่างต่อเน่ือง การจัดต้ังคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีถูกจัดตั้งขึ้นเพ่ือสนองนโยบายในการเรียนรู้
โดยนาแนวทางของแผนทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) และ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศมาเป็นแนวทางหลักเพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคนสายช่างอุตสาหกรรมโดยการ
ขยายฐานการศึกษาในคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีให้มีหลายสาขาวิชาชีพ เพื่อเป็นการกระจ่ายโอกาส
ทางการศึกษาท่ีควบคู่ไปกับการขยายสาขาอาชีพ อีกทั้งเป็นการสนับสนุนทางวิชาการที่จะพัฒนากาลังคนให้มี
ความรู้ในระดับสูงขึ้นไปให้สอดคล้องกับนโยบายหรือแนวทางการพัฒนาประเทศโดยส่วนรวม ซึ่งคณะฯ จะ
เป็นผู้นาทางวิชาการ การพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ เพ่ือจัดการศึกษาให้
ตอบสนองความตอ้ งการของชาติ

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีจึงมีแนวคิดท่ีจาดาเนินงานในพื้นที่เป้าหมายการดาเนินงานในส่วน
ภูมิภาค เพ่ือขยายโอกาสทางการศึกษาและสร้างการศึกษาด้านสายช่างอุตสาหกรรมให้มีความมั่นคงในด้าน
การศึกษาภาคใต้ตอนบน อีกทั้งเป็นการผสมผสานเทคโนโลยีสายสาขาวิชาชีพให้มีความสอดคล้องกับคณะฯ
โดยมุ่งความเป็นเลิศทางวิชาการและปฏิบัตกิ ารไปสู่ศูนย์กลางความรู้ท้ังในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจน
เน้นความร่วมมือกับผู้ประกอบการให้มามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน เพ่ือสร้างสายงานวิชาการและสาย
ปฏิบตั กิ ารท่ีเขม้ แขง็ เปน็ ท่ยี อมรบั ตอ่ ประเทศ

ดังนั้นรูปแบบโครงสร้างทางวิชาการของคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีจึงเป็นองค์ความรู้ที่รวมใน
หลายสาขาวิชาท่ีมุ่งให้ความรู้สนองความต้องการของสถานประกอบการ รวมท้ังสนับสนุนงานด้านวิชาการใน
การบริการและเอื้อประโยชน์ให้กับบุคลากรภายนอกท่ีต้องการบัณฑิตนักปฏิบัติการที่สามารถปฏิบัติการ
ทางานได้อย่างเต็มความสามารถ ซึ่งตรงกบั ความตอ้ งการของอุตสาหกรรมภายในประเทศ

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาตรี 4 ปี (ปกติ) และ
หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี (เทยี บโอนรายวชิ า) จานวน 6 สาขาวชิ า ได้แก่

1) หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑิตจานวน 2 สาขาวชิ า
- สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ
- สาขาวิชาส่อื สารมวลชน

2) หลกั สูตรอตุ สาหกรรมศาสตรบัณฑติ จานวน 4 สาขาวิชา
- สาขาวชิ าเทคโนโลยีวิศวกรรมการผลิต
- สาขาวชิ าเทคโนโลยีวศิ วกรรมอุตสาหการ
- สาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมไฟฟา้
- สาขาวชิ าเทคโนโลยีวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์

โดยมีกลุม่ เป้าหมายที่ใหบ้ ริการ ได้แก่
1) นกั เรียน/นกั ศึกษา ได้แก่ นกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศกึ ษาระดับอาชวี ศึกษา นกั ศึกษา
ระดบั ปรญิ ญาตรี

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 2

2) ภาคอุตสาหกรรมและสถานประกอบการ

3) หน่วยงานภาครฐั ตา่ งๆ

4) องคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มผี ดู้ ารงตาแหนง่ เปน็ คณบดี จานวน 3 ทา่ น คือ

1) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยเ์ มธี ฉายอรุณ ดารงตาแหนง่ ตงั้ แต่ พ.ศ. 2548 – 2553

2) นายคงศักด์ิ นาคทิม ดารงตาแหน่งตง้ั แต่ พ.ศ. 2553 – 2561

3) ดร.รักชนกชรินธ์ พลู สุวรรณนธี ดารงตาแหน่งตง้ั แต่ พ.ศ. 2561 - ปจั จุบนั

ปจั จบุ ัน คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ จัดต้ังขึ้นเพื่อ

พัฒนาระบบการศึกษาท่ีจะกระจายและเปิดโอกาสทางการศึกษาทางวิชาชีพนระดับสากล คณะอุตสาหกรรม

และเทคโนโลยี คานึงถึงนโยบายพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ท่ีจัดการศึกษายึดหลักว่า

ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ดังวิสัยทัศน์ท่ีว่า “เป็นผู้นาทางวิชาการแห่ง

สงั คมการประกอบการ”

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 3

2. ปรชั ญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร
2.1 ปรชั ญาของหลักสตู ร
“พัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสร้างนักปฏิบัติการที่มีความรู้ ทักษะ

และคณุ ธรรม จริยธรรม”
2.2 ความสาคัญของหลักสูตร
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) ได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว และมี

บทบาทสาคัญในด้านต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การบริการสังคม สาธารณสุข ส่ิงแวดล้อม รวมทั้ง
ด้านการศึกษา ซ่ึงทาให้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เปรียบเหมือนเคร่ืองจักรที่สามารถรองรับข้อมูลข่าวสารมาทาการ
ประมวลผล และการแสดงผลตามท่ีต้องการได้รวดเร็ว การผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถ ตรงกับความ
ต้องการของตลาดแรง และสามารถเริ่มงานได้ทันทีหลังจบการศึกษาน้ัน เป็นสิ่งที่สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ให้ความสาคัญ ดังนั้นเพ่ือให้บัณฑิตเป็นท่ีต้องการของสถานประกอบการ จึงได้
พัฒนาหลักสูตร โดยอิงมาตรฐานหลักสูตรของ The Association for Computing Machinery (ACM) และ The
Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติการที่มี
ความรู้ ทักษะ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.3 วัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร
2.3.1 เพ่ือเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต ความขยันหม่ัน

เพยี ร มีจติ สาธารณะ มีความสานกึ ในจรรยาบรรณแห่งอาชพี และความรับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีและสังคม
2.3.2 เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติการ ให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย

ครอบคลุมพื้นฐานระบบสารสนเทศทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล และเครือข่าย เพ่ือให้สามารถออกแบบ
และพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กท่ีสนับสนุนการใช้งานในองค์กร สามารถเลือกใช้และดูแลร ะบบ
เครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรู้ความสามารถเบื้องต้นในการบริหารหน่วยงานสารสนเทศ การบริหาร
โครงการขนาดเล็กถึงขนาดกลางทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถออกแบบและสร้างระบบงานประยุกต์ได้
อย่างเหมาะสม

2.3.3 เพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติการ ให้สามารถทาหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการปฏิบตั ิงานกับผู้ออกแบบและพัฒนาระบบ มีความเข้าใจในกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
มคี วามสามารถในการส่ือสารและทางานเป็นทีมได้

2.3.4 เพ่ือฝึกฝนให้มีความคิดริเร่ิม มีกิจนิสัยในการค้นคว้า และปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ
สามารถแก้ปัญหาด้วยหลกั การและเหตุผล ปฏิบัติงานด้วยหลักวชิ าการที่มีการวางแผนและควบคมุ อย่างรอบคอบ
ซง่ึ กอ่ ให้เกิดผลสมั ฤทธใ์ิ นการทางาน

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 4

3. โครงสรา้ งหลกั สูตร 145 หน่วยกิต
3.1 จานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสูตร
3.1.1 โครงสร้างหลกั สตู ร 32 หนว่ ยกติ
1. หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป 3 หนว่ ยกิต
1. กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
2. กลมุ่ วิชาสงั คมศาสตร์ 12 หน่วยกติ
3. กลมุ่ วิชาภาษา 9 หน่วยกิต
4. กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ 2 หน่วยกิต
5. กลุ่มวชิ าพลศึกษาและนันทนาการ 107 หน่วยกติ
2. หมวดวชิ าเฉพาะ 34 หนว่ ยกิต
1. กลมุ่ วิชาพืน้ ฐานวชิ าชพี 57 หน่วยกิต
2. กลมุ่ วชิ าเฉพาะดา้ น 16 หน่วยกิต
3. กลมุ่ วชิ าชีพเลือก 6 หน่วยกติ
3. หมวดวชิ าเลือกเสรี

4. สถานที่ต้งั
คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ วิทยาเขตวงั ไกลกังวล
ถนนเพชรเกษม ตาบลหนองแก อาเภอหวั หิน
จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ 77110
โทรศพั ท:์ 0-3261-8500, โทรสาร: 0-3261-8570, www.idt.rmutr.ac.th/

5. คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตของหลกั สตู รปัจจบุ ัน
5.1 มที กั ษะการเรยี นรู้ 5 ด้าน ตามมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศึกษา
5.2 มีคุณลักษณะพิเศษเฉพาะของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ มีความรู้การเป็น

ผู้ประกอบการ และการบริการ ประกอบกับมบี ุคลกิ ภาพของนักบริการในงานอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

6. โครงสรา้ งการบริหารงานของหลักสตู ร

6.1 คณะกรรมการประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ท้ังนี้ คณะกรรมการประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ของคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

ได้แก่

6.1.1 นางสาววลิ าวรรณ สุขชนะ หัวหนา้ สาขาวชิ าฯ/อาจารย์ประจาหลักสตู ร

6.1.2 ดร.นพศกั ด์ิ ตนั ตสิ ัตยานนท์ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร

6.1.3 นายเอกรนิ ทร์ วจิ ิตตพ์ ันธ์ อาจารย์ประจาหลักสตู ร

6.1.4 นายสมพร พึง่ สม อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร

6.1.5 นางสาวนภารตั น์ ชูไพร อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร

6.1.6 นายคงศกั ด์ิ นาคทิม อาจารย์ผสู้ อน

6.1.7 นายพิสฐิ พรพงศเ์ ตชวาณิช อาจารย์ผูส้ อน

6.2 โครงสร้างการบริหารสาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 5

ทั้งน้ี โครงสร้างการบริหารงานของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยีมดี ังน้ี

หวั หนา้ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาจารยว์ ิลาวรรณ สขุ ชนะ
พนกั งานมหาวทิ ยาลัย

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารย์ผู้สอน

1.ดร.นพศกั ดิ์ ตนั ตสิ ตั ยานนท์ 1.ดร.นพศักดิ์ ตันตสิ ัตยานนท์ 1. นายคงศกั ด์ิ นาคทิม
อาจารย์ 7 อาจารย์ 7 อาจารย์ 7

2.นายเอกรนิ ทร์ วิจติ ต์พนั ธ์ 2.นายเอกรินทร์ วิจติ ต์พันธ์ 2. ดร.นพศักดิ์ ตนั ตสิ ัตยานนท์
อาจารย์ 7 อาจารย์ 7 อาจารย์ 7

3.นางสาววลิ าวรรณ สขุ ชนะ 3.นางสาววลิ าวรรณ สขุ ชนะ 3. นายเอกรินทร์ วจิ ติ ตพ์ นั ธ์
พนกั งานมหาวิทยาลัย พนักงานมหาวิทยาลยั อาจารย์ 7

4.นางสาวนภารัตน์ ชูไพร 4.นางสาวนภารตั น์ ชูไพร 4. นางสาววลิ าวรรณ สขุ ชนะ
พนกั งานมหาวิทยาลยั พนกั งานมหาวิทยาลัย พนกั งานมหาวิทยาลัย

5.นายสมพร พง่ึ สม 5.นายสมพร พึ่งสม 5. นายพิสิฐ พรพงศเ์ ตชวาณิช
พนกั งานมหาวทิ ยาลยั พนกั งานมหาวทิ ยาลัย พนกั งานมหาวทิ ยาลยั

6.นายเอกรินทร์ วจิ ติ ตพ์ ันธ์ 6. นายสมพร พึ่งสม
อาจารย์ 7 พนักงานมหาวทิ ยาลัย

7. นางสาวนภารตั น์ ชูไพร
พนักงานมหาวิทยาลัย

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 6

ส่วนท่ี 2 ผลการดาเนินงาน

รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีการศึกษา 2563
หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

(หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ระดบั หลักสตู รปรญิ ญาตรี

คณะ อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์
รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 7

วันที่รายงาน : (ไมเ่ กนิ วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2564)

หมวดท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป

รหัสหลักสตู ร 25501951102285
กลุ่ม ISCED : …………………………..
การเปดิ สอน :  ในเวลา  นอกเวลา  ท้งั ในและนอกเวลา
เลอื กใช้เกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตร : ปี พ.ศ. 2560
ประเภทหลักสตู ร :  วิชาการ  ปฏบิ ัตกิ ารหรือวชิ าชพี

อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตร /อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร

มคอ. 2 ปจั จบุ ัน ประเภท
(อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร/ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร)
1. นายนพศกั ด์ิ ตนั ติสัตยานนท์ 1. นายนพศักด์ิ ตันตสิ ตั ยานนท์ อาจารย์ประจาหลักสูตร/ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร
อาจารยป์ ระจาหลักสูตร/ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตร
2. นายเอกรนิ ทร์ วิจติ ตพ์ ันธ์ 2. นายเอกรนิ ทร์ วจิ ติ ตพ์ ันธ์ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร/ผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร
อาจารย์ประจาหลักสตู ร/ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร
3. นางสาววลิ าวรรณ สุขชนะ 3. นางสาววลิ าวรรณ สุขชนะ อาจารย์ประจาหลักสตู ร/ผู้รับผิดชอบหลักสตู ร

4. นายสมพร พึ่งสม 4. นายสมพร พงึ่ สม

5. นายพิสิฐ พรพงศเ์ ตชวาณิช 5. นางสาวนภารัตน์ ชไู พร

 มีการปรบั ปรุงหลักสตู ร  ไมม่ กี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู ร
หมายเหตุ : ปรบั ปรงุ ใหม่เน่ืองจาก........ โดยผ่านการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลยั ครงั้ ที่ 6/2560 เมอื่ วันเสาร์ ที่ 24 เดือน
มิถนุ ายน พ.ศ. 2560
สกอ.รบั ทราบใหค้ วามเหน็ ชอบหลกั สตู ร เมอ่ื วนั ท่ี 24 เดือน มกราคม พ.ศ. 2563

คุณสมบตั ขิ องอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ประจาหลกั สูตร (ณ สิน้ รอบปกี ารศึกษาท่ีประเมิน)

ลา ตาแหนง่ ทาง ชือ่ อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบ ข้อมูลประวัตกิ ารศกึ ษา/ประสบการณ/์ ผลงาน
ดับ วิชาการ/ หลักสูตร
คณุ วุฒิ

1. นายนพศักด์ิ ตันตสิ ัตยานนท์ ระดับการศกึ ษาทจ่ี บ :

 ปริญญาเอก

ปที จ่ี บการศกึ ษา : 2550

ชอื่ หลกั สูตรท่ีจบการศกึ ษา : ปร.ด.

กลมุ่ สาขาวิชาทีจ่ บ (ISED) : 650145 - คอมพวิ เตอรศ์ ึกษา

ผ้รู ับผดิ ชอบหลักสตู ร สาขาวชิ าทีจ่ บ : คอมพิวเตอรศ์ กึ ษา
ชอ่ื สถาบนั ทีจ่ บ : สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 8

ลา ตาแหน่งทาง ชอ่ื อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบ ข้อมูลประวัติการศึกษา/ประสบการณ์/ผลงาน
ดับ วิชาการ/ หลกั สูตร
คณุ วุฒิ ปรญิ ญาโท
อาจารย์ประจาหลกั สตู ร ปีที่จบการศกึ ษา : 2544
ชอ่ื หลกั สูตรที่จบการศึกษา : ค.อ.ม.
2. นายเอกรินทร์ วิจิตตพ์ ันธ์ กลมุ่ สาขาวิชาท่จี บ (ISED) : 180603 - วิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวชิ าทจ่ี บ : เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์
ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู ร ชื่อสถาบันที่จบ : สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ
อาจารย์ประจาหลักสตู ร
 ปริญญาตรี
ปที จ่ี บการศกึ ษา : 2538
ชอื่ หลกั สตู รทจ่ี บการศกึ ษา : บธ.บ.
กลมุ่ สาขาวชิ าท่ีจบ (ISED) : 680214 - การตลาด
สาขาวชิ าทจ่ี บ : การตลาด
ช่ือสถาบนั ท่จี บ : มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ

ประเภท(สถานภาพของการทางาน):
 ขา้ ราชการ  พนกั งานมหาวทิ ยาลัย  อื่น….. ประสบการณ์
การทาการสอน : 25 ปี
ช่อื ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปี :

ชือ่ ผลงานทางวชิ าการ/งานสร้างสรรค์ ระดับคะแนน
Development of Computer’s Hardware 0.40
Problems Self Diagnostic by Ontology
Knowledge Based Case Study Rajamagala
University of Technology Wangklaikangwon
Campus (2019)
การบริหารจัดการแบนด์วิดท์แบบเรียลไทม์ให้ 0.20
เหมาะสมกบั ผ้ใู ช้งานอินเทอรเ์ น็ต (2562)

ระดับการศึกษาท่ีจบ :
 ปริญญาโท
ปที ีจ่ บการศึกษา : 2546
ชอื่ หลักสูตรที่จบการศกึ ษา : คอ.ม.
กลุม่ สาขาวชิ าท่ีจบ (ISED) : …………..
สาขาวิชาท่จี บ : เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์
ชื่อสถาบันท่ีจบ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร
เหนือ
 ปรญิ ญาตรี
ปีทีจ่ บการศึกษา : 2542
ช่อื หลักสตู รที่จบการศึกษา : คอ.บ.
กลุม่ สาขาวิชาท่จี บ (ISED) : …………..
สาขาวิชาทจี่ บ : เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 9

ลา ตาแหนง่ ทาง ชอ่ื อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบ ข้อมูลประวัติการศกึ ษา/ประสบการณ/์ ผลงาน
ดับ วิชาการ/ หลกั สตู ร
คณุ วุฒิ ชื่อสถาบันที่จบ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร
เหนอื
3. นางสาววิลาวรรณ สุขชนะ ประเภท(สถานภาพของการทางาน):
 ข้าราชการ  พนกั งานมหาวิทยาลยั  อน่ื ๆ ประสบการณ์
ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร การทาการสอน : ............ ปี
อาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร ช่อื ผลงานทางวชิ าการในรอบ 5 ปี :

ช่อื ผลงานทางวชิ าการ/งานสร้างสรรค์ ระดับคะแนน
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร 0.20
สินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา
กล่มุ จงั หวัดภาคกลางตอนลา่ ง 2 (2558)
การพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ออนไลน์วชิ า 0.20
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ส า ห รั บ นั ก เ รี ย น ช้ั น
ประถมศึกษาปีที่ 6 กรณีศึกษา โรงเรียน
สงั วาลวิท 7 (2562)

ระดับการศึกษาท่ีจบ :
 ปริญญาโท
ปีที่จบการศกึ ษา : 2556
ชื่อหลกั สตู รที่จบการศึกษา : วท.ม.
กลุม่ สาขาวชิ าที่จบ (ISED) : 0107-วิทยาการคอมพวิ เตอร์
สาขาวิชาที่จบ : เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ช่ือสถาบันท่ีจบ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ
นครเหนือ
 ปรญิ ญาตรี
ปที ่ีจบการศึกษา : 2552
ชื่อหลกั สตู รที่จบการศกึ ษา : ทล.บ.
กลมุ่ สาขาวิชาที่จบ (ISED) : 0107 วิทยาการคอมพวิ เตอร์
สาขาวชิ าทจ่ี บ : เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ชื่อสถาบันที่จบ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
รตั นโกสินทร์

ประเภท(สถานภาพของการทางาน):
 ข้าราชการ  พนักงานมหาวิทยาลยั  อ่นื ๆ ประสบการณ์
การทาการสอน : ............ ปี
ชอ่ื ผลงานทางวชิ าการในรอบ 5 ปี :

ชอื่ ผลงานทางวชิ าการ/งานสรา้ งสรรค์ ระดบั คะแนน
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร 0.20
สินค้าหนึ่งตาบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา
กลุ่มจังหวดั ภาคกลางตอนลา่ ง 2 (2558)

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 10

ลา ตาแหน่งทาง ช่อื อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบ ข้อมูลประวัติการศกึ ษา/ประสบการณ์/ผลงาน
ดบั วชิ าการ/ หลักสตู ร
คุณวุฒิ An Efficient of Number of Seeds in 0.40
Optimize Auction Bandwidth of
4. นายสมพร พง่ึ สม Content Centric Network with Provider
Portal for Application (2560)
ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์วิชา 0.20
อาจารย์ประจาหลกั สตู ร วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา
ปที ี่ 6 กรณีศกึ ษา โรงเรียนสงั วาลวิท 7 (2562)
The Information Management Systems 0.40
and Monitoring for Student in Co-
operative Education Courses. (2560)
แอปพลิเคชันรวมช่างบนระบบปฏิบัตกิ ารแอน 0.20
ดรอยด์ (2561)
การพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์ 0.20
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียน
หนองพลบั วิทยา (2563)
การพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับบริหาร 0.20
จัดการลูกค้า กรณีศึกษา บริษัท ป๊ัมอัพ ฟิต
เนส หัวหิน (2563)
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ 0.20
เว็บไซต์ กรณีศึกษา ศูนยว์ ัฒนธรรมไทยทรงดา
ตาบลบางหมาก อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร
(2563)
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการแจ้งซ่อม 0.20
พัสดุครุภัณฑ์ กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วน
ตาบลนาไมไ้ ผ่ จังหวัดนครศรธี รรมราช (2563)

ระดบั การศกึ ษาทีจ่ บ :
 ปริญญาโท
ปที ่จี บการศกึ ษา : 2556
ชือ่ หลักสตู รท่ีจบการศึกษา : วท.ม.
กลุ่มสาขาวชิ าที่จบ (ISED) : 0107-วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์
สาขาวิชาที่จบ : วิทยาการคอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ
ชอื่ สถาบันท่จี บ : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
 ปรญิ ญาตรี
ปีทจ่ี บการศกึ ษา : 2548
ช่ือหลักสตู รที่จบการศกึ ษา : บธ.บ.
กล่มุ สาขาวชิ าทจ่ี บ (ISED) : 180607-ระบบสารสนเทศ

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 11

ลา ตาแหน่งทาง ช่ืออาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบ ข้อมูลประวตั ิการศกึ ษา/ประสบการณ/์ ผลงาน
ดบั วชิ าการ/ หลักสูตร
คุณวุฒิ

สาขาวิชาที่จบ : ระบบสารสนเทศ
ชื่อสถาบันท่ีจบ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
รัตนโกสนิ ทร์
ประเภท(สถานภาพของการทางาน):
 ข้าราชการ  พนักงานมหาวิทยาลัย  อ่ืนๆ ประสบการณ์
การทาการสอน : 5 ปี
ชื่อผลงานทางวชิ าการในรอบ 5 ปี :

ช่ือผลงานทางวชิ าการ/งานสร้างสรรค์ ระดับคะแนน

การพฒั นาระบบคน้ คืนสิทธบิ ัตรเชงิ ความหมาย 0.20
โดยใชโ้ ครงสรา้ งออนโทโลยี (2557)

Students Attendance Management 0.20

System based on RFID Technology

(2559)

การพฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 0.20
ตรวจสอบแบบสอบถามภาวะการมีงานทาของ 0.40
บณั ฑติ (2559) 0.40

The Information Management Systems and
Monitoring for Student in Co-Operative
Education Course (2560)

Development of Computer’s Hardware
Problems Self Diagnostic by Ontology
Knowledge Based Case Study Rajamagala
University of Technology Wangklaikangwon
Campus (2562)

การพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ออนไลน์วชิ า 0.20

วทิ ยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปี
ท่ี 6 กรณีศึกษา โรงเรียนสงั วาลวทิ 7 (2562)

การพฒั นาระบบแจ้งเตือนอณุ หภูมิ 0.20
อัตโนมัตหิ ้องแมข่ า่ ยผ่านแอปพลิเคชนั ไลน์ (2562)

การศึกษาและเปรียบเทยี บประสทิ ธภิ าพปรมิ าณ 0.20
การใช้เครือขา่ ยขอ้ มลู และพลังงานข้อมูลดา้ นการ
รบั ชมสอื่ วดี โี อออนไลนบ์ นสมารท์ โฟน (2562)

การพฒั นาระบบสารสนเทศเพอ่ื การประชาสัมพนั ธ์ 0.20
วสิ าหกิจชมุ ชนกลมุ่ อนรุ กั ษ์ผา้ ทอมือเฉลมิ พระ
เกยี รติ์พัฒนา ปา่ ละอู (2563)

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 12

ลา ตาแหนง่ ทาง ชอ่ื อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบ ข้อมูลประวัตกิ ารศกึ ษา/ประสบการณ/์ ผลงาน
ดับ วิชาการ/ หลกั สตู ร
คณุ วฒุ ิ ระดบั การศึกษาทีจ่ บ :
 ปรญิ ญาโท
5. นางสาวนภารตั น์ ชูไพร ปีทีจ่ บการศกึ ษา : 2558
ชือ่ หลักสตู รที่จบการศกึ ษา : วท.ม.
ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร กลมุ่ สาขาวชิ าทีจ่ บ (ISED) : 0107-วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์
อาจารย์ประจาหลักสูตร สาขาวิชาทจ่ี บ : เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ชื่อสถาบันท่ีจบ : มหาวิทยาลัยทกั ษิณ
 ปรญิ ญาตรี
ปีทจี่ บการศกึ ษา : 2553
ชือ่ หลักสูตรที่จบการศึกษา : ทล.บ.
กล่มุ สาขาวิชาทจ่ี บ (ISED) : 0107 วิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาทจี่ บ : เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ช่ือสถาบันที่จบ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
รัตนโกสนิ ทร์

ประเภท(สถานภาพของการทางาน):
 ขา้ ราชการ  พนักงานมหาวทิ ยาลยั  อ่นื ๆ ประสบการณ์
การทาการสอน : ............ ปี
ช่ือผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปี :

ช่อื ผลงานทางวชิ าการ/งานสร้างสรรค์ ระดบั คะแนน
การพัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับบริหาร 0.20
จัดการลูกค้า กรณีศึกษา บริษัท ป๊ัมอัพ ฟิต
เนสหวั หนิ (2563)
ระบบติดตามการผลิตไข่ไก่ด้วยคิวอาร์โค้ด 0.20
กรณีศึกษา ฟาร์มผลิตไข่ไก่ หนองธงฟาร์ม
อาเภอป่าบอน จังหวัดพทั ลุง (2563)

อาจารยผ์ ู้สอน (อาจารย์ภายในมหาวทิ ยาลยั )

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 13

ช่อื -นามสกลุ ตาแหนง่ คณุ วุฒิ สาขาวิชาเอก สถาบันทสี่ าเรจ็ การศกึ ษา ปที ี่สาเร็จ
ทางวิชาการ การศกึ ษา

นายคงศักดิ์ นาคทิม อาจารย์ คอ.ม. คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2545

สารสนเทศ จอมเกล้าธนบุรี

วท.บ. คอมพวิ เตอร์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง 2535

นายนพศักดิ์ ตนั ตสิ ตั ยานนท์ อาจารย์ ปร.ด. คอมพิวเตอรศ์ กึ ษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2550

เกลา้ พระนครเหนือ

คอ.ม. เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2544

เกลา้ พระนครเหนอื

บธ.บ. การตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2538

นายเอกรินทร์ วจิ ิตต์พนั ธ์ อาจารย์ คอ.ม. เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2546

เกลา้ พระนครเหนือ

คอ.บ. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 2542

เกล้าพระนครเหนอื

นางสาววลิ าวรรณ สขุ ชนะ อาจารย์ วท.ม. เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2556

จอมเกลา้ พระนครเหนือ

ทล.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2552

มงคลรัตนโกสนิ ทร์

นายพสิ ิฐ พรพงศเ์ ตชวาณิช อาจารย์ วท.ม. เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ 2557

จอมเกล้าพระนครเหนือ

ทล.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2555

มงคลรตั นโกสินทร์

นายสมพร พ่ึงสม อาจารย์ วท.ม. วิทยาการคอมพิวเตอร์และ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 2556

สารสนเทศ

บธ.บ. ระบบสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2548

มงคลรัตนโกสนิ ทร์

นางสาวนภารตั น์ ชูไพร อาจารย์ วท.ม. เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยทกั ษณิ 2558

ทล.บ. เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2553

มงคลรตั นโกสินทร์

สถานทจ่ี ัดการเรียนการสอน : อาคารเรยี น อาคารคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
จานวนห้องบรรยาย 3 ห้อง
จานวนหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 1 หอ้ ง
จานวนหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 5 ห้อง
จานวนห้องส่งเสรมิ การเรยี นและกจิ กรรมนักศึกษา 2 ห้อง
คณะ/วทิ ยาลัย คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ วิทยาเขตวงั ไกล
กงั วล

ตวั บง่ ชี้ 1.1 การกากบั ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน

ผลการดาเนนิ งานการบรหิ ารจดั การหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 (ระดับปรญิ ญาตรี)

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 14

ข้อ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
( ผ่านเกณฑ/์  ไมผ่ า่ นเกณฑ์)

1  จานวนอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบ - มอี าจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร 5 คน เปน็ ไปตามเกณฑ์ (ไม่นอ้ ยกวา่

หลักสูตร 5 คน) โดยไมไ่ ด้เปน็ อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรเกินกวา่ 1 หลกั สตู ร

และประจาหลกั สูตรตลอดระยะเวลาท่จี ัดการศกึ ษาตามหลักสตู ร

2  คณุ สมบตั ิอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบ (ในกรณหี ลักสูตรประเภทวิชาการ)

หลักสตู ร - มีคุณวฒุ ิการศกึ ษา : ระดับปรญิ ญาโท 4 คน, ปรญิ ญาเอก 1 คน

มตี าแหนง่ ทางวชิ าการ : ผศ. ...2... คน , รศ. ...-... คน , ศ. ...-... คน

ในสาขาทต่ี รงหรือสัมพันธก์ ับสาขาวชิ าท่ีเปิดสอน

(ในกรณหี ลักสูตรประเภทวชิ าชพี /ปฏิบตั กิ าร)
- มีคุณวฒุ ิการศึกษา : ระดับปรญิ ญาโท .... คน, ปรญิ ญาเอก .... คน
มตี าแหนง่ ทางวิชาการ : ผศ. ......... คน , รศ. ........ คน , ศ. ........ คน
ในสาขาทต่ี รงหรอื สัมพนั ธ์กบั สาขาวชิ าท่เี ปดิ สอน
- ประสบการณ์ในดา้ นการปฏบิ ตั ิการ (อย่างน้อย 2 ใน 5 คน)

ช่อื อาจารย์ ประสบการณ์ในดา้ นการปฏบิ ตั กิ าร

นายสมพร พง่ึ สม Web Design, หา้ งหนุ้ สว่ นจากดั หัว

หนิ ซัพพอร์ท

Web Design, บรษิ ัท Siam 2 Web

กทม. ออ่ นนุช 18

นางสาวนภารัตน์ ชู เจ้าหนา้ ท่ีเทคนิคคอมพวิ เตอร์, รา้ น BT

ไพร Computer จากดั จ.พทั ลุง

3  คณุ สมบตั อิ าจารยป์ ระจา - มีคุณวฒุ ิการศกึ ษา : ระดับปรญิ ญาเอก 1 คน , ปริญญาโท 4 คน
หลกั สูตร
มตี าแหน่งทางวชิ าการ : ผศ. 1 คน , รศ. ...-... คน , ศ. ...-... คน

ซง่ึ เปน็ คณุ วฒุ ทิ ตี่ รงหรอื สมั พนั ธก์ ับสาขาวชิ าทเ่ี ปดิ สอน

4  คุณสมบตั อิ าจารยผ์ สู้ อน 7 ท่าน ( - อาจารย์ประจา มีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า

หรือดารงตาแหน่งทางวิชาการไม่ต่ากว่า ผศ. ในสาขาวิชาน้ัน หรือ

สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน หากเป็น

อาจารย์ผู้สอนก่อนเกณฑ์น้ีประกาศใช้ อนุโลมคุณวุฒิระดับปริญญาตรี

ได)้ .....

2 ท่าน (- อาจารย์พิเศษ 1. มีคุณวุฒิระดับปริญญาโท หรือคุณวุฒิ

ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และ2. มีประสบการณ์ทางานที่เก่ียวข้องกับ

วิชาที่สอนไม่น้อยกว่า 6 ปี 3. มีช่ัวโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของ

รายวิชา โดยมอี าจารย์ประจาเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบรายวิชาน้นั ) .......

10  การปรับปรงุ หลกั สูตรตามรอบ หลักสูตรได้รับการอนุมัติ/เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ครั้งท่ี

ระยะเวลาท่ีกาหนด 6/2560 เม่ือวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2560 สกอ.รับทราบให้ความ

เห็นชอบหลักสูตร เม่ือวันที่ 24 มกราคม 2563 และมีการปรับปรุง

หลกั สตู ร โดยผ่านการอนมุ ัติจากสภามหาวิทยาลัย ครง้ั ท่ี 6/2560 เม่อื

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 15

ข้อ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
( ผา่ นเกณฑ/์  ไม่ผา่ นเกณฑ์)

วนั ที่ วันท่ีเสาร์ ท่ี 24 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560 สกอ.รับทราบ เมื่อวันท่ี

24 ม.ค. 2563 และจะครบรอบการปรับปรงุ หลกั สตู รใหมใ่ นปี 2565

สรุปผลการประเมิน  ผ่านเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู ร  ไมผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตร

หลักฐานเอกสารท่ีต้องการนอกเหนือจากเอกสารประกอบแตล่ ะรายตัวบง่ ชี้
1. เอกสารหลักสูตรฉบบั ที่ สกอ. ประทบั ตรารับทราบ
2. หนังสอื นาที่ สกอ. แจง้ รับทราบหลักสูตร (ถ้ามี)
3. กรณหี ลักสตู รยังไม่ได้แจง้ การรับทราบ ใหม้ ีหนังสือนาส่ง สกอ. หรอื หนงั สือส่งคืนจาก สกอ. และรายงาน
การประชุมสภาทอี่ นมุ ัติ / ให้ความเห็นชอบหลกั สตู ร

การปรับปรุงหลกั สูตรตามรอบระยะเวลาที่กาหนด

การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาทก่ี าหนด

รอบระยะเวลา

หลักสตู ร ปีการศึกษาท่ี ปีการศกึ ษาท่ใี ช้ การพิจารณา

พัฒนา จัดการศึกษา

หลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ 2549 2550-2554 สภามหาวทิ ยาลัยอนมุ ัตหิ ลกั สูตรปรับปรงุ

สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในคราวประชุม ครงั้ ท่ี 12/2550

(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2550) เม่ือวันที่ 24 ตุลาคม 2550

หลกั สตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ 2554 2555-2559 สภาวชิ าการอนุมัตหิ ลกั สตู รปรบั ปรุง

สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในคราวประชุม ครัง้ ที่ 10/2554

(หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) เมอ่ื วนั ท่ี 6 ธนั วาคม 2554

สภามหาวิทยาลัยอนมุ ตั ิหลักสตู รปรบั ปรงุ

ในคราวประชุม ครั้งท่ี 5/2555

เมอื่ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2555

ปัจจบุ ันเปน็ การใช้หลกั สูตร

ปที ี่ 4 ของรอบระยะเวลา

หลกั สตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ 2559 2560-2564 มติสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ พิจารณาเห็นชอบหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา

(หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) เทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

การประชุมสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 16

รอบระยะเวลา

หลักสตู ร ปกี ารศึกษาที่ ปกี ารศกึ ษาทใ่ี ช้ การพจิ ารณา

หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ พัฒนา จดั การศึกษา
สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และนวัตกรรมดิจทิ ลั รัตนโกสินทร์ ครั้งท่ี 6/2560 เม่ือวันท่ีเสาร์ ท่ี 24 เดือน
(หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
มถิ ุนายน พ.ศ. 2560 (IDTIFT 1.1-01-03)

ผ่านการพิจารณา ความสอดคล้องของหลักสูตร

ระดบั อุดมศกึ ษา รับทราบเม่อื วนั ท่ี 24 ม.ค. 2563

2564 2565-2569 มติสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

พิจารณาเห็นชอบหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา

เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2565) การประชุมสภามหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ ……/……… เมื่อ

วัน…………. ท่ี ……………… เดือน………………. พ.ศ. 2564

(IDTIFT 1.1-01-03)

ผ่านการพิจารณา ความสอดคล้องของหลักสูตร

ระดบั อดุ มศกึ ษา รับทราบเมอ่ื วนั ที่ 24 ม.ค. 2563

กระบวนการปรับปรงุ หลักสตู รมีข้ันตอนการดาเนินการ ดงั นี้

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 17

กระบวนการ ผลการดาเนินงาน

1. แตง่ ต้งั คณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตรฯ คาส่ังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เร่ือง “คาส่ังแต่งต้ัง

คณะกรรมการโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรตามกรอบ

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 18

กระบวนการ ผลการดาเนินงาน

2. วิเคราะห์ความต้องการใช้บัณฑิต/ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)” คณะอุตสาหกรรมและ
ตลาดแรงงาน ความพร้อมของคณะ เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสนิ ทร์
คู่แข่งและจุดเด่นของหลักสูตร เพ่ือ
จัดทากรอบแนวคิด ความต้องการใช้บัณฑิต/ตลาดแรงงาน พิจารณาจากข้อเสนอแนะท่ีสาคัญ
ของสถานประกอบการ โดยสถานประกอบการมีการรับนักศึกษาเข้าทางาน
3. จัดทา (ร่าง) หลักสูตร มคอ. 2 และ หลังการผ่านกระบวนการฝึกงาน เน่ืองจากนักศึกษามีความรู้ความสามารถที่
เสนอ สวท. ตรวจสอบ (รา่ ง) หลกั สตู ร ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ
ความพร้อมของคณะ พิจารณาจากอาจารย์ประจาหลักสูตรครบตามเกณฑ์ที่
4. คณะกรรมการดาเนินงานพัฒนา กาหนด มีอาจารย์ท่ีมีความรู้ความสามารถ รวมทั้งทรัพยากรทางการศึกษา
หลักสูตรนาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรต่อ วัสดุ แหล่งสืบคน้ ข้อมูลพรอ้ ม มหี อ้ งเรยี น ห้องปฏบิ ัติการ สถานที่ต้งั เหมาะสม
คณะกรรมการประจาคณะ และเพียงพอต่อจานวนนกั ศกึ ษา
คู่แข่งทางตรง หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. คณะนาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรต่อสภา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พิจารณาจากจุดเด่นของ
วิชาการผา่ น สวท. สถาบันการศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนในสาขาวิชาและระดับเดียวกัน คือ
พัฒนาบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและส่งเสริม
6. คณะนาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรต่อสภา พฒั นาบคุ ลากรให้มีผลงานวจิ ยั ทางดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยผา่ น สวท. จุดเด่นของหลักสูตร เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลิตบัณฑิต
นักปฏิบตั สิ ู่สงั คมประกอบการดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ
7. คณะจัดทาหลักสูตร (ฉบับสมบูรณ์)
แจง้ สานักงานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะอุตสาหกรรมและ
(สกอ.) เพ่ือรับทราบการให้ความ เทคโนโลยี ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดทา (ร่าง) หลักสูตร
เห็นชอบหลกั สูตรผ่าน สวท. เทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
โดยนา (ร่าง) หลกั สตู ร มาทาการวพิ ากษห์ ลักสูตรด้วยการเชิญผทู้ รงคณุ วฒุ ิท้ัง
ภายในและภายนอกมาให้ข้อเสนอแนะและพฒั นาหลักสูตร

คณะกรรมการดาเนินงานพัฒนาหลักสูตรจัดทา (ร่าง) หลักสูตรเทคโนโลยี
บณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) เสนอ
ต่อคณะกรรมการประจาคณะ

คณะกรรมการดาเนินงานพัฒนาหลกั สูตร นาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรเทคโนโลยี
บณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) ไปยัง
สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน แล้วเสนอต่อสภาวิชาการพิจารณาให้
ความเห็นชอบหลกั สตู ร

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี นาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) ท่ีผ่านความ
เห็นชอบจากสภาวิชาการไปยังสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน แล้ว
เสนอต่อสภามหาวิทยาลยั เพือ่ พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบหลกั สูตร

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา
เทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ท่ผี ่านความเหน็ ชอบจาก
สภามหาวิทยาลัย ไปยังสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพ่ือแจ้ง
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพ่ือรับทราบการให้ความ
เหน็ ชอบหลักสตู รนี้

 เป็นไปตามเกณฑ์ทีก่ าหนด
 ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ทีก่ าหนด (ระบุเหตุผล)...................................................................................................

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 19

รายการหลักฐานหมวดท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป

รหัสหลักฐาน รายการ

IDTIFT 1.1-01-01 มาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ (มคอ. 2)

IDTIFT 1.1-01-02 มตสิ ภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พิจารณาให้ความเห็นชอบการ

ปรับปรุงแก้ไขอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจาหลักสูตรเทคโนโลยี

บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

IDTIFT 1.1-01-03 มตสิ ภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์ พจิ ารณาเหน็ ชอบหลกั สตู ร

เทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 20

หมวดที่ 2 บัณฑิต

ตวั บ่งชี้ 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ

คุณภาพของบัณฑิตปรญิ ญาตรี/โท รนุ่ จบปีการศึกษา 2564

มีจานวนบัณฑติ ทีส่ าเร็จการศึกษา 22 คน โดยมีบณั ฑติ ทีไ่ ด้รบั การประเมินจากผใู้ ช้บัณฑติ จานวน 21 คน คิด

เปน็ ร้อยละ 95.54 ของจานวนบณั ฑิตทส่ี าเร็จการศึกษา ซึ่งมคี ่าเฉลีย่ คะแนนประเมนิ บัณฑติ 6 ด้าน เทา่ กบั 4.43

คะแนน โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี

คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ ผลรวมของค่า ค่าเฉลีย่ คะแนน
คะแนนทไ่ี ด้จากการ ประเมิน

ประเมนิ (คะแนนเต็ม 5)

จานวนบณั ฑติ ท่ี

ไดร้ ับการประเมิน

1. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม 93 4.43
21

2. ด้านความรู้ 97 4.62
21

3. ดา้ นทกั ษะทางปัญญา 98 4.67
21

4. ด้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ ลากรและความรบั ผดิ ชอบ 91 4.33
21

5. ดา้ นทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 96 4.57
สารสนเทศ 21

6. ดา้ นทกั ษะการปฏิบัติทางวชิ าชพี 84 4.00
21

ผลการประเมนิ ตนเอง : คา่ เฉล่ียคะแนนผลประเมิน 6 ดา้ น 93 4.43 คะแนน
21

หมายเหตุ จำนวนบณั ฑติ ทไ่ี ดร้ ับกำรประเมนิ จะต้องไมน่ ้อยกว่ำรอ้ ยละ 20 ของจำนวนบณั ฑิตทีส่ ำเรจ็ กำรศึกษำ

การวิเคราะหผ์ ลท่ไี ด้
บณั ฑติ ท่ไี ด้รับการประเมิน 21 คน จากบัณฑิตจบใหม่ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 95.54 ผลการประเมิน

เฉลยี่ 4.43 อยู่ในระดับดี มีความรคู้ วามสามารถรายดา้ นอยูใ่ นระดับดี ข้อวิพากษส์ าคญั สามารถนาความรดู้ ้าน
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการทางานกับสถานประกอบการต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลของคณะกรรมการพบว่า บัณฑิตมีทักษะการปฏิบัติงานทุกแขนงวิชาของงานด้าน
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงสามารถทางานได้หลากหลายประเภทที่เกี่ยวเนื่องกับงาน
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถปรับตัวเข้ากับองค์กรได้ทุกรูปแบบ ท้ังในสถานประกอบการ
เอกชนและรัฐวสิ าหกจิ สอดคลอ้ งกบั อัตลกั ษณ์ของมหาวิทยาลยั “บณั ฑติ นกั ปฏิบตั ิ”

สรปุ ผลการประเมินตนเองตามตวั บ่งชที้ ี่ 2.1 : คณุ ภาพบณั ฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษา
แห่งชาติ (ผลลพั ธ)์

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 21

เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย
4 คะแนน ...........คะแนน 4 คะแนน
 บรรลุ  ไม่บรรลุ

ตัวบง่ ช้ี 2.2 บณั ฑิตปรญิ ญาตรีทไ่ี ดง้ านทาหรอื ประกอบอาชพี อิสระ ภายใน 1 ปี

หลกั สูตรปรญิ ญาตรี รุน่ จบปกี ารศกึ ษา 2562

ขอ้ มูลพ้นื ฐาน จานวน ร้อยละ
100
1.จานวนบณั ฑิตทั้งหมด 22 95.54

2.จานวนบณั ฑติ ทตี่ อบแบบสารวจเรอ่ื งการมีงานทา 21 39.90

3.จานวนบัณฑติ ที่ไดง้ านทาหลังสาเร็จการศึกษา 14 17.24
(ไมน่ ับรวมผูป้ ระกอบอาชพี อิสระ) 17.24
13.79
- ตรงสาขาท่ีเรยี น 5 17.95
0.00
- สาขาท่เี กี่ยวข้อง 5 0.00
0.00
- ไม่ตรงสาขาที่เรียน 4 2.56

4.จานวนบณั ฑิตทปี่ ระกอบอาชพี อิสระ ภายใน 1 ปี (อาชีพอสิ ระ) 7 95.54

5.จานวนผู้สาเรจ็ การศกึ ษาท่ีมงี านทากอ่ นเขา้ ศึกษา 0 5

6.จานวนบัณฑิตทศี่ ึกษาตอ่ 0

7.จานวนบณั ฑิตท่ีอปุ สมบท 0

8.จานวนบณั ฑติ ทเ่ี กณฑ์ทหาร 1

9.รอ้ ยละของบัณฑิตที่ไดง้ านทาหรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

ข้อ(3+4) x 100 (21/22) * 100
2-(5+6+7+8)

10 บณั ฑติ ทไี่ ด้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี คะแนนเต็ม 5 (95.54/95.54) *
5

หมายเหตุ จำนวนบณั ฑติ ทีต่ อบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกวำ่ ร้อยละ 70 ของจำนวนบัณฑิตทสี่ ำเร็จ

กำรศกึ ษำ

การวิเคราะห์ผลที่ได้
จากผลการสารวจภาวะการมงี านทาของบัณฑิต หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) ผู้สาเร็จการศึกษาประจาปีการศึกษา 2563 พบว่า บัณฑิตที่ตอบแบบสารวจ
จานวน 21 คน จากบัณฑิตที่สาเรจ็ การศึกษา จานวน 22 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 95.54 มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดให้
ตอ้ งสารวจภาวะการมีงานทาของบัณฑิตไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 70

บัณฑติ ท่ตี อบแบบสารวจ จานวน 21 คน ได้งานทาหลังสาเร็จการศึกษา 21 คน ในจานวนน้ีมีลกั ษณะงาน
ที่ทาตรงกับสาขาวิชาท่ีสาเร็จการศึกษาจานวน 5 คน, เก่ียวข้องและเช่ือมโยงกับสาขาที่สาเร็จจานวน 5 คน,
ไม่ตรงกับสาขาวิชาท่ีสาเร็จแต่ใช้ความรู้ท่ีเรียนมาจานวน 4 คน, บัณฑิตที่ประกอบอาชีพอิสระจานวน 7 คน
และเกณฑ์ทหารจานวน 1 คน และไมม่ ีบัณฑิตท่ีอปุ สมบทและบัณฑิตทีศ่ ึกษาต่อ

คะแนนของบัณฑิตที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี เป็น 5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5
คิดเป็น รอ้ นละ 100

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 22

ดังน้ัน บัณฑิตหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เม่ือสาเร็จการศึกษาแล้วได้
งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปีเป็นส่วนใหญ่ ท้ังน้ีในปัจจุบัน งานในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี
กาลังขยายตัวทาให้โอกาสในการได้งานทามีสูงขึ้น เช่น บริษัทผลิตซอฟต์แวร์หรือบริษัทด้านบริการเครือข่าย
และหน่วยงานตา่ งๆ ให้ความสาคัญกับการนาระบบสารสนเทศมาใช้ในองค์กรเพิ่มมากขึ้น ซ่ึงมีบัณฑิตที่ได้งาน
ไม่ตรงสาขาวิชา เช่น ธุรการ ด้านราชการ โดยใช้ทักษะด้านวิชาชีพทางเทคโนโลยีสารสนเทศและบางส่วนท่ี
ประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งปัจจุบันสามารถทาได้ง่ายข้ึน เช่น การทาธุรกิจจาหน่ายโทรศัพท์มือถือและการทา
ธุรกิจการค้าผ่านระบบอินเตอร์เน็ตออนไลน์ ซึ่งใช้ทักษะและการเรียนรู้ที่ง่ายข้ึน เน่ืองจากเห็นว่างานประจา
เป็นงานทีไ่ ม่เหมาะกบั ตนเอง ไมม่ อี สิ ระ แต่อาชีพอสิ ระไดเ้ ป็นเจา้ นายตนเองและมีความสุขกบั งานมากกวา่

ขอ้ มูลการมีงานทาของบณั ฑติ หลกั สูตร 4 ปี (ปกต)ิ และหลักสูตร 4 ปี (เทยี บโอนรายวิชา)

ปกี ารศกึ ษา จานวนทัง้ หมด จานวนการมีงานทา หมายเหตุ
2561 30 28 เกณฑ์ทหาร 2 คน
2562 39 39
2563 31 30 เกณฑ์ทหาร 1 คน
2564 22 21 เกณฑ์ทหาร 1 คน

สรปุ ผลการประเมินตนเองตามตวั บ่งชที้ ่ี 2.2 : รอ้ ยละของบณั ฑติ ปริญญาตรที ี่ได้งานทา หรอื ประกอบ

อาชพี อิสระภายใน 1 ปี (ผลลพั ธ)์

เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย

 บรรลุ  ไม่บรรลุ

4 คะแนน ............ คะแนน 5 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องคป์ ระกอบที่ 2 : บัณฑิต

ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ผลการ คะแนน
ดาเนนิ งาน จากผลการประเมิน

2.1 คุณภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ 4 4
ระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ (ผลลพั ธ)์ 4
5
2.2 (ปรญิ ญาตรี) รอ้ ยละของบัณฑิตปรญิ ญาตรี
ท่ีไดง้ านทาหรอื ประกอบอาชพี อิสระ 4.50
ภายใน 1 ปี (ผลลัพธ์)

คา่ คะแนนรวมเฉล่ยี

ระดบั คุณภาพมาตรฐาน

รายการหลักฐาน

ตัวบ่งช้ี 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ

IDTIFT 2.1-1-01 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใช้บัณฑิตของผู้สาเร็จการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ ปกี ารศึกษา 2563

ตัวบง่ ช้ี 2.2 ร้อยละของบัณฑติ ปริญญาตรีไดง้ านทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 23

IDTIFT 2.1-1-01 แบบสอบถามภาวะการมงี านทาของผสู้ าเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ ปกี ารศึกษา 2563

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 24

หมวดท่ี 3 นกั ศึกษา

ขอ้ มูลนักศกึ ษา
ข้อมูลนักศึกษาหลกั สตู รฯ 4 ปี (ปกต)ิ

แรกเขา้ จานวนท่ี จานวนที่ จานวนทีย่ งั จานวน จานวน รอ้ ยละของ สาเหตขุ องนักศกึ ษาท่หี ายไปลาออก
(ปกี ารศึกษา) รับเขา้ สาเร็จการ ไม่สาเร็จ ท่ี นักศกึ ษาท่ี นกั ศึกษาทคี่ ง พ้นสภาพ ันก ึศกษา
การศึกษา คงอยใู่ นแต่ อยู่ในแตล่ ะรนุ่ 36- -1 โอนย้ายไปคณะ ื่อน
(1) ศกึ ษา ในรนุ่ นั้น หายไป -7- - - เสียชี ิวต
สาหรับรุ่น ระหวา่ ง ละรนุ่ (5) x 100/ - 13 - - - ไม่ทราบสาเหตุ/ ่ือนๆ
(3) การศึก (5) --1-3
นัน้ ได้จาก (1) 4- - - -
(2) ษา (2)+(3)
(4)

หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 (หลกั สูตร TQF)

2560 15 - 5 10 5 33.33
70.84
2561 24 - 17 7 17 69.44
85.71
2562 36 - 23 13 23 77.78

2564 22 - 18 4 18

2564 18 - 14 4 14

ขอ้ มูลนักศึกษาหลักสูตร 4 ปี (เทียบโอนรายวิชา) จานวน รอ้ ยละของ ลาออกสาเหตขุ องนกั ศึกษาที่หายไป
นักศกึ ษาที่ นักศึกษาทีค่ ง พ้นสภาพ ันก ึศกษา
แรกเขา้ จานวน จานวนท่ี จานวนท่ียัง จานวนท่ี คงอยใู่ นแต่ อย่ใู นแตล่ ะรุ่น โอนย้ายไปคณะ ื่อน-1- -1
(ปกี ารศึกษา) ที่ สาเร็จการ ไม่สาเรจ็ หายไป เสียชี ิวต- - - -3
ละรุ่น (5) x 100/ ไม่ทราบสาเหตุ2- - -2
รับเขา้ ศกึ ษา การศึกษา ระหว่าง (5)
(1) สาหรับรนุ่ ในรุน่ นัน้ การศึกษา ได้จาก (1)
(2)+(3)
น้นั (3) (4)
(2)

หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 (หลักสตู ร TQF)

2562 23 12 9 2 9 39.13
3 38 92.68
2564 41 - 38 4 35 89.74

2564 39 - 35

ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อจานวนนักศกึ ษา
ในปีการศึกษา 2564 นักศึกษาในหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ. 2560) พบว่า มีนักศึกษาแรกเข้าของหลักสูตรเทียบโอนรายวิชาเกินจานวนกาหนดเป้าหมายเอาไว้
และมีนักศึกษาท่ีออกจากการศึกษาในระหว่างภาคการศึกษาอีกจานวนหน่ึง ส่งผลต่อจานวนนักศึกษาที่สาเร็จ
การศึกษาที่มีจานวนลดลงจากจานวนแรกเข้าในแต่ละปีการศึกษา ท้ังน้ี จากการวิเคราะห์ข้อมูลนักศึกษา พบว่า
สาเหตุปัจจยั ท่ีมีผลกระทบตอ่ จานวนนกั ศึกษา มีดงั นี้
1. ปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อจานวนนักศกึ ษาแรกเข้า

1.1 ชื่อเสียงและสภาพการแข่งขันในการจดั การเรียนการสอนระหว่างสถาบันการศึกษาระดับปริญญา
ตรี ทเี่ ปิดสอนดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศมสี ูงมาก เนอื่ งจากมีการเปิดสอนในหลายสถาบันการศกึ ษา

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 25

1.2 ปัญหาด้านประชากรศาสตร์ท่ีจานวนประชากรในวัยเรียนลดลง ทาให้ตัวป้อนท่ีจะสมัครเป็น
นกั ศึกษาใหม่ลดลงด้วย

1.3 ค่านิยมของผู้ปกครองที่ไม่เข้าใจศาสตร์ของด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่สนับสนุนให้นักศึกษา
สมัครเรยี นในสาขาวชิ าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ปัจจัยที่มผี ลตอ่ จานวนนักศึกษาคงอยู่ระหว่างปกี ารศึกษา

2.1 นกั ศกึ ษามีความตัง้ ใจจริงและมองเห็นอนาคตในการได้งานทาหลงั สาเร็จการศึกษาจากสาขาวชิ านี้
2.2 นักศึกษามีความรับผดิ ชอบต่อตนเองค่อนข้างดี และมวี ินัยในการศึกษา หรือสามารถปรบั ตัวให้อยู่
ในสงั คมการเรยี นรูข้ องสาขาวชิ าฯ ได้
2.3 นักศึกษาไดร้ ับทนุ การศึกษาจากกองทนุ กูย้ ืมเพ่ือการศึกษา
2.4 นักศึกษามคี วามชอบและมใี จรักงานดา้ นสารสนเทศเพิ่มมากข้นึ
2.5 นักศึกษามีโอกาสได้ร่วมกิจกรรม และได้ศึกษาในรายวิชาท่ีมีการจัดการเรียนการสอน
ในรปู แบบใหมๆ่ โดยเฉพาะการศกึ ษาในภาคปฏิบัตแิ ละการออกศึกษานอกสถานที่
3. ปัจจัยทท่ี าใหน้ ักศึกษาออกจากการศึกษาระหวา่ งปีการศึกษา
3.1 นักศึกษามีเป้าหมายการศึกษาไม่ชัดเจน ศึกษาเพ่ือให้สาเร็จการศึกษา ไม่ได้สนใจเรื่องการ
ประกอบอาชีพหรือการดาเนินชีวิตหลังสาเร็จการศึกษา จึงไม่สนใจศึกษาเล่าเรียน และทาให้การเรียนอ่อน
และตอ้ งออกจากการศึกษาระหวา่ งปีการศึกษาในทีส่ ุด
3.2 พ้ืนฐานความรู้ก่อนเข้าเป็นนักศึกษาค่อนข้างต่า สังเกตได้จากคะแนนสอบเข้าที่ต่า แต่จานวน
นักศึกษาไม่เต็มจานวน สาขาวิชามีตัวเลือกน้อย เม่ือเข้ามาศึกษาในบางรายวิชาท่ีค่อนข้างยาก จึงทาให้มี
ปัญหาในการศกึ ษา ได้ระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ถงึ เกณฑ์ในแต่ละชัน้ ปี
3.3 นักศึกษาไม่พร้อมในการปรับตัวกับการเรียนในระดับอุดมศึกษา เช่น ทักษะทางคณิตศาสตร์และ
ภาษาอังกฤษมีนอ้ ย รวมถึงทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเป็นอุปสรรคต่อการเรียนในสาขาวิชาเหล่านี้
ได้
3.4 นกั ศึกษามภี าระและปญั หาทางครอบครัว ทท่ี าใหจ้ าเป็นต้องไมเ่ ลือกศึกษาต่อ
3.5 ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการศึกษาระหว่างปีมีไม่เพียงพอ จึงต้องออกไปทางาน ทาให้มีผลกระทบต่อการ
เขา้ เรียนท่ีไมค่ รบตามเกณฑ์ และมผี ลตอ่ การเรยี นรใู้ นรายวชิ านน้ั ๆ
3.6 สภาพสาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐานและส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศยัง
ไม่สามารถตอบสนองความต้องการใช้งานของนักศึกษาได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้นกั ศึกษาเกิดความพึงพอใจน้อย
และตดั สินใจเปลย่ี นไปศกึ ษาในสถานบันทคี่ ิดว่ามสี ่งิ เหล่านส้ี มบรู ณ์กวา่
3.7 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ทาให้
เกิดผลกระทบต่อรายไดข้ องครอบครัวของนกั ศึกษา

ตวั บ่งชี้ 3.1 การรับนกั ศกึ ษา

ชนิดของตัวบง่ ช้ี :: กระบวนการ
- การรับนกั ศึกษา
- การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 26

3.1 การรบั นกั ศกึ ษา ผลการดาเนนิ งาน
มีระบบ มกี ลไก กระบวนการรับนักศึกษาใหม่

หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกในการรับนกั ศกึ ษาโดยทฤษฎี PDCA เป็นกระบวนการพ้ืนฐานกลา่ วคอื
1. การวางแผนการรับนักศึกษา โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรร่วมกันทบทวนเอกสารและข้อที่

เกี่ยวข้องกับการรับนักศึกษาจากปีการศึกษา 2564 เช่น แผนพัฒนาวิทยาลัย ผลการประเมินการรับ
นักศึกษาและการเตรียมความพร้อม และผลการศึกษาของนักศึกษา เป็นต้น เพ่ือวางแผนกาหนด
จานวนรับนักศึกษาของหลักสูตรฯ เกณฑ์การรับนักศึกษา กระบวนการรับนักศึกษา และ
เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการคดั เลือกที่เหมาะสม ตลอดจนการเตรยี มความพร้อมกอ่ นเข้าศกึ ษา
2. การดาเนินการรับนกั ศกึ ษา ตามกรอบแผนงานทก่ี าหนด
3. การประเมินกระบวนการรับนักศึกษา โดยการสารวจความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการรับนักศึกษา และทาการรวบรวมข้อมูลท่ีเก่ียวข้องจากการจัดการศึกษามาร่วมทาการ
วเิ คราะห์และสังเคราะหเ์ พ่ือหาจุดแขง็ และจดุ อ่อน และกาหนดมาตรการรองรับในปีตอ่ ๆ ไป

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 27

4. การปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษา โดยการนามาตรการท่ีได้จากข้อที่ 3 ลงสู่ปฏิบัติในภาค
การศกึ ษาและปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป

มกี ารนาระบบกลไกไปส่กู ารปฏิบตั ิ/ดาเนนิ งาน

1. การกาหนดเปา้ หมายจานวนรับนักศกึ ษา

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการกาหนดแผนในการรับนักศึกษา

หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงกาหนดจานวนรับนักศึกษา จานวน 30 คน

นอกจากน้ีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้พิจารณากาหนดเป้าหมาย

จานวนรบั นักศึกษาจากเกณฑ์ ดงั นี้

1.1 ความต้องการของตลาดแรงงาน ซงึ่ พิจารณาจากภาวะการมีงานทาของบัณฑติ

1.2 ความต้องการของผูเ้ รียน ซงึ่ พิจารณาจากจานวนผู้สมคั รในปีการศกึ ษาทผ่ี ่านมา

1.3 ความพร้อมของอาจารย์ผู้สอน ซ่ึงพิจารณาจากจานวนอาจารย์ผู้สอนที่คงอยู่ในปีการศึกษาที่

ผา่ นมาและสดั สว่ นอาจารยต์ ่อจานวนนักศกึ ษา

1.4 ความพร้อมของส่ิงสนับสนุนซึ่งพิจารณาจากจานวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด วัสดุ

อุปกรณ์ท่ีใช้ประกอบการเรียนการสอน

2. กาหนดเกณฑ/์ เคร่ืองมอื การรบั นกั ศึกษา

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนดเกณฑ์การรับนักศึกษาโดย

พิจารณาใหส้ อดคล้องกับคณุ สมบตั ิทกี่ าหนดไวใ้ น มคอ. 2 หมวดท่ี 3 ขอ้ 2.2 ดงั น้ี

2.1 รบั ผู้สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากวา่ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า หรือหลักสูตรระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทกุ สาขา หรือ

2.2 รับผู้สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า ประเภท

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคนิค

คอมพวิ เตอร์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกสร์ ะบบโทรคมนาคม อเิ ล็กทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรม สาขาวิชา

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือสาขาวิชาอื่นท่ีใกล้เคียง ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหาร

หลักสูตร โดยวธิ ีการเทยี บโอนรายวิชาเป็นรายบคุ คลคุณสมบตั ิอน่ื ตามท่ีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์กาหนด

3. การประชาสัมพนั ธ์การรับสมัคร

3.1 การประชาสมั พนั ธ์โดยมหาวทิ ยาลยั ฯ

3.2 การประชาสมั พันธโ์ ดยคณะฯ

3.3 การประชาสัมพันธโ์ ดยสาขาวชิ าฯ

4. แต่งตั้งคณะกรรมการคลังขอ้ สอบและคณะกรรมการดาเนินการรบั สมัครและสอบคัดเลือก

แต่งตั้งคณะกรรมการคลังข้อสอบและคณะกรรมการดาเนินการรับสมัครและสอบคัดเลือก

มหาวิทยาลัยได้แต่งต้ังบุคลากรของสาขาวิชาเป็นคณะกรรมการดาเนินการรับสมัครและสอบคัดเลือก

นักศึกษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ดงั น้ี

- อาจารย์วิลาวรรณ สขุ ชนะ ประธาน

- อาจารย์คงศักด์ิ นาคทมิ กรรมการ

- ผศ.ดร.นพศักด์ิ ตนั ติสัตยานนท์ กรรมการ

- ผศ.เอกรนิ ทร์ วิจติ ต์พนั ธ์ กรรมการ

- ผศ.พสิ ฐิ พรพงศ์เตชวาณชิ กรรมการ

- อาจารย์สมพร พง่ึ สม กรรมการ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 28

- อาจารย์นภารตั น์ ชูไพร กรรมการ
- นายรฐั พล แพงดี กรรมการและเลขนกุ าร

5. การรับนกั ศกึ ษา
ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง

พ.ศ. 2560) คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีได้กาหนดกลไกการรับนักศึกษาใหม่ โดยจัดทาคาส่ังแต่งตั้ง
คณะกรรมการรับสมัคร คุมสอบ สอบสัมภาษณ์ และรับรายงานตัวนักศึกษาใหม่ ประจาปีการศึกษา 2564
และใช้กระบวนการรับสมคั รนักศึกษาใหม่ ตามปฏิทนิ การรับสมัครนักศึกษาใหม่ ของสานักสง่ เสริมวิชาการ
และงานทะเบียน โดยไดก้ าหนดเกณฑก์ ารคดั เลือกนักศึกษาใหม่ ดงั น้ี

5.1 การรบั สมคั รรอบโควตา
โควตาเรียนดีและกิจกรรมเด่น ซึ่งมีเกณฑ์ระดับคะแนนเฉล่ียสะสมกรณีโควตาเรียนดีไม่ต่ากว่า 2.50
และโควตากิจกรรมเดน่ มีระดับคะแนนเฉลย่ี สะสม ไม่ต่ากวา่ 2.00 โดยการสอบสัมภาษณ์ซ่งึ นักศกึ ษาจะต้อง
มคี ณุ สมบตั คิ รบถ้วนตามท่ีกาหนด และสอบสัมภาษณ์ผา่ นเกณฑ์ ดังขนั้ ตอนตอ่ ไปนี้

5.1.1 ทบทวนกระบวนการรับนักศึกษาโควตา ในปีการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการประชุม
พิจารณากระบวนการ เช่น การสอบสัมภาษณ์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา
เกณฑ์การผา่ นเพ่อื รับเข้าศึกษาจากคะแนน แฟม้ สะสมผลงาน และกิจกรรม

5.1.2 กาหนดแผนการรับนักศึกษาโควตา โดยนาผลการดาเนินงานในปีการศึกษาที่ผ่านมา
กาหนดจานวนการรับนักศึกษาให้มีความเหมาะสม จึงกาหนดแผนการรับนักศึกษา
จานวน 30 คน

5.1.3 ส่งแผนการรับนักศึกษาโควตา ดาเนินการส่งแผนการรับนักศึกษาให้ฝ่ายวิชาการและ
กจิ การนักศึกษา (หลกั ฐาน นาส่งแผนการรับนกั ศกึ ษา)

5.1.4 กาหนดคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ โดยพิจารณาจากอาจารย์ประจาที่มีความรู้
ความสามารถ ส่งรายช่ือให้ฝ่ายวิชาการและกิจการนักศึกษาดาเนินการ เพ่ือออกคาส่ัง
แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ

5.1.5 การรับสมัครนักศึกษา มหาวิทยาลัยฯ ร่วมกับสานักงานวิทยาเขตวังไกลกังวล ประกาศ
รับนักศึกษาโควตา ประจาปีการศึกษา 2562 และดาเนินการรับสมัคร กรอกข้อมูลเข้า
ระบบ ชาระเงินคา่ สมัคร ออกบัตรประจาตัว และประกาศรายชอ่ื ผูม้ สี ทิ ธส์ิ อบสมั ภาษณ์

5.1.6 ดาเนินการสอบสัมภาษณ์สาขาวิชาดาเนินการคัดเลือกผู้มีสิทธิเข้าศึกษาโดยวิธีการสอบ
สัมภาษณ์ ในการสอบสัมภาษณ์จะพิจารณาผลการเรียนเป็นสาคัญ ความรู้ในสาขา
วิชาชพี แฟ้มสะสมงาน และความตั้งใจจรงิ ในการศึกษา เป็นตน้

5.1.7 ส่งผลผู้ผ่านการสอบสัมภาษณ์ สาขาวิชาฯ ดาเนินการสรุปผลการสอบสัมภาษณ์ส่งให้
ฝ่ายวชิ าการฯ เพื่อรวบรวมส่งไปที่ฝา่ ยส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน สานักงานวิทยา
เขตวงั ไกลกังวล และนาส่งสานักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน (สวท.)

5.1.8 ประกาศรายช่ือผู้ผ่านการสอบสัมภาษณ์ และมีสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ และรับรายงานตัว
นักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยฯ ร่วมกับสานักงานวิทยาเขตวังไกลกังวล ดาเนินการ
ประกาศรายช่ือผู้ ผ่านการสอบสัมภาษณ์ และมีสิทธ์ิเข้าศึกษาต่อ โดยมีเจ้าหน้าที่
ดาเนินการออกรหัสประจาตัวนักศึกษาสาหรับผู้ผ่านการคัดเลือกพร้อมลงทะเบียนและ
ชาระเงนิ

5.2 การรบั สมัครรอบรับตรง

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 29

การรับตรงใช้วิธีการคัดเลือกโดยการสอบข้อเขียนและการสอบสัมภาษณ์ นักศึกษาจะต้องมี
คุณสมบัติครบถ้วนตามท่ีกาหนดและมีคะแนนการสอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์ผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดาเนินการคัดเลือกนักศึกษาใหม่โดยมี
กระบวนการรับนักศกึ ษา ดังนี้

5.2.1 ทบทวนกระบวนการรับนักศึกษาสอบตรง ในปีการศึกษาที่ผ่านมา โดยการประชุม
พิจารณากระบวนการ เชน่ การสอบสมั ภาษณ์แฟม้ สะสมผลงาน และกิจกรรม

5.2.2 กาหนดแผนการรับนักศึกษาสอบตรง โดยนาผลการดาเนินงานในปีการศึกษาที่ผ่านมา
มากาหนดจานวนการรับนักศึกษาให้มีความเหมาะสม จึงกาหนดแผนการรับนักศึกษา
จานวน 30 คน

5.2.3 ส่งแผนการรับนักศึกษาสอบตรง ดาเนินการส่งแผนการรับนักศึกษาให้ฝ่ายวิชาการและ
กจิ การนักศกึ ษา

5.2.4 กาหนดคณะกรรมการออกข้อสอบ กรรมการสอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์โดยคณะฯ
พจิ ารณาจากอาจารย์ประจาท่ีมีความรู้ ความสามารถ ส่งรายชื่อไปยัง สวท. ดาเนินการ
เพอ่ื ออกคาสั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการ

5.2.5 การรับสมัครนักศึกษา มหาวิทยาลัยฯ ร่วมกับสานักงานวิทยาเขตวังไกลกังวลประกาศ
รบั นักศึกษาสอบตรง ประจาปีการศึกษา 2562 และดาเนินการรับสมัคร กรอกขอ้ มูลเข้า
ระบบ ชาระเงินค่าสมัคร ออกบัตรประจาตัว และประกาศรายชอ่ื ผูม้ สี ิทธส์ิ อบ

5.2.6 ดาเนินการจัดสอบ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีดาเนินการจัดสอบข้อเขียนวิชา
คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย วชิ าชีพเฉพาะ 1 และวชิ าชพี เฉพาะ2

5.2.7 ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์ิสอบสัมภาษณ์โดย สวท. ดาเนินการประกาศรายช่ือผู้ผ่านการ
สอบข้อเขียน

5.2.8 สาขาวิชาฯดาเนินการสอบสัมภาษณ์ โดยการสอบสมั ภาษณจ์ ะพิจารณาผลการเรยี นเป็น
สาคัญ ความร้ใู นสาขาวิชาชพี แฟม้ สะสมงาน และความตง้ั ใจจริงในการศกึ ษา เป็นตน้

5.2.9 สง่ ผลผู้ผ่านการสอบสัมภาษณ์ สาขาวชิ าฯดาเนินการสรุปผลการสอบสมั ภาษณ์ส่งใหฝ้ า่ ย
วิชาการฯ เพ่ือรวบรวมสง่ ไปทฝ่ี ่ายงานส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน และนาสง่ สวท.
ตอ่ ไป

5.2.10 ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสมั ภาษณ์ และมสี ิทธิ์เข้าศึกษาต่อ โดย สวท. ดาเนินการ
ประกาศรายช่ือผู้ผ่านการสอบสัมภาษณ์ และมีสิทธ์ิเข้าศึกษาต่อ และฝ่ายงานส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบียน สานักงานวิทยาเขตวังไกลกังวล จัดเจ้าหน้าที่ดาเนินการออก
รหัสประจาตัวนักศึกษาสาหรับผู้ผา่ นการคัดเลือกพร้อมใหน้ ักศึกษาลงทะเบียนและชาระ
เงินผ่านธนาคาร โดยมีคณะฯ ดาเนินการกาหนดวันรับรายงานตัวพร้อมแต่งตั้งอาจารย์
ประจาสาขาวิชาฯ เพื่อรับรายงานตัวนักศกึ ษาใหม่

5.3 ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (Thai University Central
Admission System: TCAS)

เป็นระบบท่ีเกิดขึ้นจากนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่มอบหมายให้ท่ีประชุม
อธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) พิจารณาปรับรูปแบบการรับเข้าศึกษา ไม่ให้มีการวิ่งรอกสอบ ลด
ค่าใช้จ่ายในการสมัคร และป้องกันการใช้สิทธิ์ซ้าซ้อน ทปอ. ได้รับหลักการ โดยเสนอแนวทางการรับ
นักเรียนเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาแบบใหม่ โดยสถาบันอุดมศึกษาในเครือข่าย ทปอ. จานวน 31
แห่ง (ปีการศึกษา 2564 สมาชิกเครือข่าย ทปอ. มีจานวน 34 แห่ง) ร่วมกันพิจารณากระบวนการคัดเลือก
บคุ คลเข้าศึกษาตอ่ ในสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือต้องการให้เกิดความเท่าเทียมกนั ซึ่งจะเร่ิมใชต้ ้ังแต่ปกี ารศึกษา

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 30

2561 เป็นต้นไป ทั้งน้ี ทปอ. ราชภัฏ และ ทปอ. ราชมงคลได้รับหลักการในการเข้าร่วมดาเนินการตาม

แนวทางนด้ี ว้ ยโดยยึดหลกั การสาคัญของ TCAS มี 3 ประการ ดงั น้ี

5.3.1 นักเรยี นควรอยู่ในหอ้ งเรยี นจนจบชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6

5.3.2 ผสู้ มัครแตล่ ะคนมีเพียง 1 สทิ ธิใ์ นการตอบรบั ในสาขาวิชาท่เี ลือก เพือ่ ความเสมอภาค

5.3.3 สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จะเข้าระบบ Clearing House

เพื่อบริหาร 1 สิทธขิ องผสู้ มคั ร

6. คณะกรรมการดาเนินการสอบคัดเลือกนักศึกษาตามเกณฑ์กาหนดที่ใช้คัดเลือกนักศึกษาคณะกรรมการ

ดาเนินการสอบคัดเลือกนักศึกษาตามเกณฑ์กาหนดที่ใช้คัดเลือกนักศึกษาในแต่ละรูปแบบและรอบการรับ

สมัคร พจิ ารณาผลคะแนนการสอบและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง โดยกาหนดเกณฑค์ ะแนนดงั น้ี

6.1 รอบโควตา ผลการสอบสัมภาษณ์ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50

6.2 รอบรับตรง ผลการสอบคะแนนข้อเขียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 สอบสัมภาษณ์ไม่น้อยกว่าร้อย

ละ 50

6.3 รอบ TCAS ผลการสอบสัมภาษณ์ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 50

7. กาหนดเกณฑ์การคัดเลือกนักศึกษาโควตาและสัมภาษณ์เพ่ือเข้าเป็นนักศึกษา ในการรับนักศึกษาปี

การศกึ ษา 2562 (หลกั ฐาน) ดงั นี้

7.1 นักศึกษาเรียนดีเกรดเฉลี่ยต้องไม่ต่ากว่า 2.50 ท้ังนี้ การรับท่ีเกรดเฉลี่ย 2.50 เนื่องจากเปิด

โอกาสให้นักเรียนสายสามัญ (วิทย์ - คณิต) มีโอกาสสมัคร เพราะโดยรวมนักเรียนสายน้ี มักจะมีผลการ

เรียนต่ากว่าสายอาชีวะและผลงานด้านกิจกรรมทางศิลปะมีน้อย ซึ่งพิจารณาโดยการสัมภาษณ์นักศึกษา

แฟ้มสะสมงาน ผลการเรียนและไหวพริบในการตอบคาถาม ท้ังนี้ ได้กาหนดสัดส่วนเกณฑ์การให้คะแนน

โดยกรรมการสอบสัมภาษณ์ ดงั น้ี

ดา้ นความรคู้ วามสามารถ 40 คะแนน

ด้านบุคลิกภาพ 20 คะแนน

ด้านปฏิภาณไหวพรบิ 20 คะแนน

ความสามารถพิเศษ 10 คะแนน

ความพร้อมในการศึกษา 10 คะแนน

7.2 กิจกรรมเด่นเกรดเฉล่ียต้องไม่ต่ากว่า 2.00 และมีความสามารถพิเศษ เช่น มคี วามสามารถทาง

ศิลปะผ่านการประกวด และได้รับรางวัล ซึ่งพิจารณาโดยการสัมภาษณ์นักศึกษา แฟ้มสะสมงาน ผลการ

เรียน และไหวพริบในการตอบคาถาม ทั้งน้ี ได้กาหนดสัดส่วนเกณฑ์การให้คะแนนโดยกรรมการสอบ

สัมภาษณ์ ดังน้ี

ดา้ นความรู้ความสามารถ 10 คะแนน

ด้านบคุ ลิกภาพ 20 คะแนน

ดา้ นปฏภิ าณไหวพรบิ 20 คะแนน

ความสามารถพเิ ศษ 40 คะแนน

ความพร้อมในการศกึ ษา 10 คะแนน

กาหนดค่าคะแนนตามเกณฑ์จากประเภทการสมัครคือ เรียนดีและกิจกรรมเด่น โดยผู้ผ่านเกณฑ์ต้องมี

ผลการสอบสมั ภาษณ์ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 50

8. สรุปผลการคัดเลือกแจ้งหลักสูตร/เสนอต่อฝ่ายวิชาการและวิจัย สรุปผลการคัดเลือกแจ้งหลักสูตร/

เสนอตอ่ ฝ่ายวิชาการและกจิ การนักศกึ ษา แตใ่ นกรณีการรับนักศกึ ษาไม่เป็นไปตามเป้าหมาย คณะกรรมการ

บริหารหลักสูตรประชุมพจิ ารณารว่ มกันเพ่อื ปรบั จานวน/เกณฑก์ ารรับ/รอบการรบั สมคั รเพ่มิ เติมใหส้ ามารถ

รับนกั ศกึ ษาไดต้ ามเปา้ หมายและจัดทาแผนการรับนกั ศึกษาเสนอฝา่ ยวิชาการและกจิ การนักศึกษา

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 31

9. ประกาศรายช่ือผ้มู ีสทิ ธริ์ ายงานตวั เขา้ ศกึ ษาต่อและดาเนนิ การรับรายงานตัวเข้าศึกษาประกาศรายชื่อผู้มี
สิทธริ์ ายงานตัวเข้าศึกษาต่อและดาเนินการรับรายงานตัวเข้าศึกษา โดยมหาวิทยาลัยได้แต่งต้ังบุคลากรของ
สาขาวิชาฯ เป็นคณะกรรมการการรับเข้ารายงานตัวเข้าศึกษา ประกอบด้วย อาจารย์ประจาหลักสตู ร และ
อาจารย์ท่ีเกีย่ วขอ้ ง
10.สรุปผลการดาเนินงานรบั นกั ศึกษา

ในปกี ารศกึ ษา 2564 มยี อดรบั เข้านักศึกษาในหลกั สตู ร 4 ปี (ปกต)ิ จานวน 22 คน และหลักสตู ร 4
ปี (เทียบโอนรายวชิ า) จานวน 41 คน
มีการประเมนิ กระบวนการ
1. หลักสูตรมีการประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร คร้ังท่ี 3/2564 ณ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ
ประเมินกระบวนการรบั นกั ศกึ ษา โดยรว่ มกนั วเิ คราะห์หาสาเหตุของปัญหาตามข้อ พบว่า

- การดาเนนิ การประชาสัมพันธก์ ารรบั นกั ศกึ ษาใหบ้ ุคคลท่วั ไปทราบยังไมท่ ว่ั ถึง
- การคดั เลือกนกั ศึกษาไมไ่ ด้เปน็ ไปตามคุณสมบตั ทิ ี่ไดว้ างไว้
- ภาวะเศรษฐกิจตกต่า ค่าเทอมที่สูงขึ้น ส่งผลให้ผู้สนใจศึกษาต่อในรายวิชาลดลงและผู้ปกครอง
สนับสนนุ การศกึ ษาตอ่ ในสถานศกึ ษาใกล้บ้านมากขน้ึ เพื่อลดภาระทางค่าใช้จา่ ย
- โครงสร้างประชากรวัยเด็กของประเทศไทยมีจานวนลดลง ส่งผลให้จานวนนักศึกษาในช่วงอายุท่ี
ต้องศึกษาระดับปรญิ ญาตรลี ดลง ส่งผลใหเ้ กอื บทุกสถานศึกษาประสบปัญหาจานวนผ้เู รียนลดลง
- ค่านิยมเรื่องหลักสูตรหรือคุณวุฒิการศึกษา และปัจจุบันมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมีจานวนมาก
ข้นึ บวกกับประชากรวัยเดก็ ทม่ี ีจานวนลดลง ทาให้นกั ศกึ ษาในกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ไปเลือกเรียน
สถานบันทมี่ ีช่ือเสียงและหลักสตู รทร่ี ้จู ัก
- สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ทาให้มีผลกระทบต่อ
ครอบครวั ซึ่งทาให้นกั เรยี นบางสว่ นมกี ารชะลอการศกึ ษาต่อในระดับปริญญาตรี
2. การประชาสัมพันธ์และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สมัคร ด้านการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และกระบวนการ
การรับสมัครนักศึกษาใหม่ยังไม่เป็นที่ท่ัวถึง เมือมีนักเรียน/นักศึกษาเข้าสู่กระบวนการการรับสมัคร
นักเรยี น/นักศึกษาไม่ไดร้ ับการ
3. ด้วยการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ตั้งแต่ มกราคม
2564 ทาให้ส่งผลกระทบต่อการประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ประจาปีการศึกษา 2564
เป็นอยา่ งยงิ่
มีการปรบั ปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มีการประชุม ประเมินผลการรับ
นักศึกษาในปีการศึกษา 2564 เพ่ือเตรียมความพร้อมในการรับนักศึกษาใหม่ประจาปกี ารศึกษา 2564 โดย
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้มีการเสนอเพือปรับปรุงและพัฒนากระบวนการจากผลการประเมินและ
หลักสูตรมกี ารกาหนดแนวทางการแกไ้ ขปัญหาดงั น้ี
1. เพ่ิมการประชาสัมพันธ์ให้บุคคลทั่วไปทราบถึงการสมัครรับนักศึกษา และมีแบบตอบรับ เพ่ือ
ทราบถึงจานวนผู้สนใจสมัครเขา้ ศึกษาในหลกั สูตร
2. เพ่ิมช่องทางการประชาสัมพนั ธห์ ลักสูตรให้หลากหลายมากขนึ้ เชน่ จดั กิจกรรมเผยแพร่หลกั สูตร
นอกสถานศึกษา
3. เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้หลากหลาย โดยผ่านช่องทาง เช่น Facebook
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, Website สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, แผ่นพับประชาสัมพันธ์
สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 32

4. เปิดช่องทางเพ่ือติดต่อ แจ้งข้อมูล แจ้งเตือนปฏิทินการรับรับสมัคร ขั้นตอนและกระบวนการ
ตา่ งๆทเี่ ป็นประโยชน์แก่ผูส้ มัคร

5. การลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับสถานศึกษา ลงนามบันทึกความร่วมมือทาง
วิชาการเพ่ือส่งนักเรียนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี โดยคณะเป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินการลงนาม
ความร่วมมอื

6. เปดิ โอกาสให้สถานศึกษาระดับมธั ยมศึกษาชั้นปีที่ 5 และ 6 เขา้ มาเยยี่ มเยอื นสาขาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ พบปะพูดคุยกับอาจารย์และนักศึกษาในสาขาวิชาฯ เพื่อทาความเข้าใจความสาคัญ
กระบวนการเรียนการสอน แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคตทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ

7. ทั้งนี้ในการประชาสัมพันธ์ ด้านการแนะแนวในสถานศึกษา ได้ให้ความรู้ เก่ียวกับหลักสูตร
เทคโนโลยีบัณฑิต เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้กับนักเรียน นักศึกษา รวมทั้งบุคคลากรทางสถานศึกษา
ดว้ ย

8. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้สร้างเพจ “สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยี มทร.รัตนโกสินทร์” โดยมีการบันทึกการทากิจกรรมของท้ังอาจารย์และนักศึกษา
ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร สาระการเรียนรู้ ทั้งนี้ ประชาสัมพันธ์ให้กับศิษย์เก่าแนะนาตนเองพร้อมท้ังหน้ าที่
การงานทไี่ ดป้ ระกอบอาชีพหลงั จากจบแล้ว

9. จากการประชุมอาจารย์ประจาสาขาวิชาฯ เร่ืองผลการรับนักศึกษาประจาปีการศึกษา 2564 มี
มติให้รับนกั ศึกษาเพิม่ เติม จงึ เสนอให้มกี ารเปิดรบั สมัครนักศกึ ษาเพิม่ เติมดว้ ยระบบรับตรงพเิ ศษ

10.ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ตั้งแต่ มกราคม
2564 จึงจาเป็นที่จะต้องมีการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่ ด้วยวิธีการ Video Streaming แนะแนว
นักศึกษาได้ดู Live ผ่านช่องทาง Social Media และแชร์ข้อมูลข่าวสารการรับนักศึกษา สู่นักเรียน และ
นักศึกษาในกลุ่มเปา้ หมาย
มผี ลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเปน็ รูปธรรม

กาลงั ดาเนินการ

3.1-2 การเตรียมความพรอ้ มก่อนเขา้ ศึกษา
ผลการดาเนนิ งาน

มีระบบ มกี ลไก
ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีกระบวนการ

เตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา เพื่อให้นักศึกษามีคุณสมบัติ ศักยภาพและการพัฒนาการเรียนรู้จนมี
คุณสมบัติผ่านเกณฑ์ข้ันต่า และสามารถเรียนในหลักสูตรได้จนสาเร็จการศึกษา โดยมีการวางแผนการจัด
โครงการ/กจิ กรรม เพื่อเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเขา้ ศึกษาและได้ดาเนนิ การ ดังนี้

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 33

1. อาจารย์รับผิดชอบหลักสูตรประชุมเพ่ือว่าวิเคราะห์วางแผนการเตรียมความพร้อมก่อนเข้า
ศกึ ษาใหแ้ ก่นกั ศึกษาใหม่

2. หลักสูตรประชุมเสนอรายชื่อและแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษา สาขาวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศ

3. หลักสตู รชแ้ี จง้ บทบาทหนา้ ทข่ี องอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาด้านกิจกรรมนักศึกษา
4. หลักสูตรมอบหมายให้อาจารย์ท่ีปรึกษาและอาจารย์ท่ีปรึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษา
ประสานงาน กากับติดตาม และดาเนินโครงการการเตรยี มความพรอ้ มให้นกั ศึกษากอ่ นเขา้ ศึกษาร่วมกบั
5. หลกั สตู รสนับสนุนและกากับติดตามใหน้ กั ศึกษาใหม่เข้ารว่ มโครงการ/กจิ กรรมต่าง ๆ
6. คณะกรรมการกิจกรรมนักศึกษาจัดทาโครงการ/กิจกรรมเตรียมความพร้อมของสาขาวิชาฯ
เสนอตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รเพอื่ ขออนมุ ัติ
7. คณะกรรมการกิจกรรมนักศึกษาดาเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานภายใต้การกากับ
ดแู ลของอาจารยท์ ่ปี รึกษาดา้ นกิจกรรมนกั ศกึ ษาและอาจารยท์ ่ปี รึกษาใหม่
8. อาจารย์ประจาหลกั สูตรกากับตดิ ตามและสรปุ ผลการดาเนนิ งาน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 34

9. ประเมินกระบวนการการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาก่อนเข้าศึกษาเสนอ ต่อคณะ
กรรมการบริหาร หลักสูตรเพอื่ นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงในปีการศึกษาถัดไป
มกี ารนาระบบกลไกไปสู่การปฏบิ ตั ิ/ดาเนินงาน

หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศมกี ารนาระบบกลไกไปสู่การปฏบิ ัติ โดยมี
การมีการดาเนินงาน ดงั น้ี
1. การสอนปรับพ้นื ฐาน

1.1 มหาวิทยาลัยจัดโครงการเรยี นเพ่ิมพูนความรู้ของนกั ศกึ ษาใหม่ โดยกาหนดให้นกั ศึกษาใหม่ของ
ทุกหลักสูตร ต้องเข้ารับการเรียนปรับพื้นฐานในรายวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เพ่ือให้นักศึกษาปรับ
พื้นฐานความรู้ เป็นการเรียนรู้บทเรียนเบื้องต้นท่ีนักศึกษาต้องศึกษาให้ช้ันปีที่ 1 ให้นักศึกษาได้มีโอกาส
ปรับตัวเองในการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยก่อนการศึกษาจริงและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี
ระหว่างเพอ่ื น และอาจารย์

1.2 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จัดการการเรียนเพิ่มพูนความรู้
ของนักศึกษาใหม่ ประจาปีการศึกษา 2564 ก่อนกาหนดการเปิดภาคการศึกษาใหม่ 6 ชั่วโมง โดยเพิ่มพูน
ความรู้ในเร่ือง “เทคโนโลยีสารสนเทศ” โดยให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งหมดที่มีความเกี่ยวข้อง
กบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในรูปแบบออนไลน์
2. การปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา

2.1 มหาวิทยาลัยฯ จัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ประจาปีการศึกษา 2564 โดยสาขาวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศจัดส่งนักศึกษาใหม่เข้าร่วมโครงการ ณ อาคารสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ วิทยาเขตวังไกลกงั วล และศนู ย์การทหารราบ ค่ายธนะรชั ต์ อาเภอปราณบรุ ี จงั หวัด
ประจวบคีรีขันธ์ เพ่ือช้ีแจงกฎระเบียบในการศึกษา ส่ิงอานวยความสะดวกท่ีมหาวิทยาลัยจัดให้ สร้าง
ความสัมพนั ธ์ท่ีดใี นหมู่คณะ เปน็ ต้น

2.2 คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยไี ด้จัดปฐมนเิ ทศนักศึกษาใหมป่ ระจาปีการศึกษา 2564 ภายใต้
โครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ประจาปีการศึกษา 2564 โดย
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศจัดส่งนักศึกษาใหม่เข้าร่วมโครงการ ณ ห้องประชุมปกเกล้า มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์ วทิ ยาเขตวังไกลกังวล เพื่อช้ีแจงกฎระเบียบในการศึกษา ส่ิงอานวยความ
สะดวกทคี่ ณะจดั ให้ แนะนาอาจารยท์ ่ปี รึกษา เป็นตน้

2.3 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศได้จัดกิจกรรมแรกเข้า โดยมีการประชุมพบปะพูดคุยกับ
นักศึกษาเข้าใหม่ประจาปีการศึกษา 2564 โดยมีรุ่นพ่ีเป็นพ่ีเลี้ยงดูแลความเรียบร้อย เพื่อพูดคุย ช้ีแจ้ง
กฎระเบียบ ส่ิงอานวยความสะดวกของสาขาวิชาจัดให้ แนะนาอาจารย์ภายในสาขาวิชา แนะนาสถานท่ี
หอ้ งเรียนและหอ้ งปฏิบัติการของสาขาวิชาฯ กระบวนการจัดการเรียนการสอน เช่น กระบวนการการเทียบ
โอนรายวิชา ฯลฯ การเพ่ิมพูนความรู้ด้านภาษาอังกฤษ การปฏิบัตทิ ี่ดีและการติดตอ่ งานในสถานศกึ ษาและ
ส่วนท่เี กย่ี วข้องตลอดจบปกี ารศึกษา พรอ้ มทงั้ อาจารยท์ ่ีปรึกษา และชอ่ งทาง ตารางในการปรกึ ษา เป็นต้น

2.4 จัดการอบรมการใช้โปรแกรมพัฒนาด้านภาษาอังกฤษ English Discovery สาหรับนักศึกษา
ใหม่ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564

2.5 ประชุมนักศึกษาใหม่ ประจาปีการศึกษา 2564 (หลักสูตรเทียบโอนรายวิชา) เรื่องกระบวนการ
เทียบโอนรายวิชาของนักศึกษา
มกี ารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร
คร้ังท่ี 2/2561 เพื่อประเมินกระบวนการ การควบคุม ดูแล การให้คาปรึกษาวิชาการ และแนะแนวแก่
นักศึกษาปรญิ ญาตรี โดยรว่ มกนั วิเคราะห์หาสาเหตขุ องปัญหา

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 35

1. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศดาเนินการสารวจความพึงพอใจของนักศึกษาในการปฐมนิเทศ

นักศึกษาใหม่ พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับสูงมาก โดยมีข้อแนะนาว่า หลักสูตรควรจัดให้มีการทา

กิจกรรมสร้างความรู้จักระหว่างรุ่นพ่ีกับนักศึกษาใหม่เพ่ือเสริมสร้างความเป็นทีมเดียวกันของนักศึกษา ซ่ึง

หลักสูตรจกั ไดน้ าไปปรับปรงุ แผนการเตรียมความพรอ้ มก่อนเข้าศึกษาในปกี ารศกึ ษาท่ี 2564 ตอ่ ไป

2. จากผลการจัดโครงการเรียนเพิ่มพูนความรู้ของนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2564 ทาให้ทราบ
ว่า นักศึกษามีผลคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์และวิชาภาษาอังกฤษ มากกว่า ผลคะแนน
เฉล่ียก่อนเรียนทั้ง 2 วิชา อีกทั้งนักศึกษาสามารถนาความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียนการสอนแต่ละรายวิชาทั้ง
ในรายวิชาของหมวดศึกษาท่ัวไป และหมวดวิชาเฉพาะ ดังน้ันในปีการศึกษา 2563 สาขาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศจึงมีการสนับสนุนให้นักศึกษาได้เข้าร่วมโครงการเรียนเพ่ิมพูนความรู้ของนักศึกษาใหม่ในปี
การศึกษา 2563

3. จากการประชุมของอาจารย์ประจาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้มีการเสนอให้มีการเรียนการสอนในวิชาคณิตศาสตร์ที่ทาการเรียนการสอนให้กับสาขาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศให้มีความเข้มข้นและเก่ียวข้องกับรายวิชาในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น วิชาด้านการ
สื่อสารขอ้ มลู เครอื ข่าย หรอื วิชาดิจทิ ลั ทเี่ ป็นรายวิชาท่เี ปิดให้นักศึกษาในสาขาวิชาฯ เรียน เพือ่ ทีจ่ ะสามารถ
เป็นสร้างพ้ืนฐานในการเรียนวิชาดังกล่าวให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ หัวหน้าสาขาวิชาได้นาแจ้งไปยังคณะศิลปศาสตร์
เพ่อื ทาการปรับปรงุ เนื้อหาในรายวิชาใหเ้ ข้มข้นมากย่ิงขึ้น

4. จากมติการประชุมหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า การ
เตรียมความพร้อมก่อนเรียนของนักศึกษาประจาปี 2564 น้ัน นักศึกษามีความรู้ความสามารถในด้าน
พ้ืนฐานช่างในระดับต่าถึงปานกลาง โดยเฉพาะพื้นฐานการเขียนโปรแกรม เทคโนโลยีสารสนเทศเบ้ืองต้น
และด้านดิจิตอล อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจึงมีมติให้ทางสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศควรมีการเน้น
การปรับพ้ืนฐานของนักศึกษาใหม่ให้มีความจริงจังเพ่ิมมากขึ้น โดยเพ่ิมระยะเวลาและรายวิชาของการปรับ
พน้ื ฐานแกน่ ักศึกษา

5. จากภาคการศึกษา 2/2562 พบว่าการลงทะเบียนนักศึกษาหลักสูตรเทียบโอนรายวิชามี
ข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ดังนั้นในปีการศึกษา 2564 ได้มีการประชุมนักศึกษาช้ันท่ี 3 หลักสูตร 4 ปี เทียบโอน
รายวิชา ประจาปีการศึกษา 2564 ถงึ กระบวนการและช้ีแจ้งแนวทางในการเทยี บโอนรายวชิ าให้

6. จากสถานการณ์แพร่การระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ไดเ้ ริ่มต้นขึ้นใน
เดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ทาให้ระหว่างปีการศึกษา 1/2563 จนถึง 2/2564 มีการเปลี่ยนแปลงระบบการ
สอนตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฯ
มีผลจากการปรบั ปรงุ เหน็ ชัดเจนเปน็ รปู ธรรม
กาลังดาเนนิ การ

สรุปผลการประเมนิ ตนเองตามตวั บ่งช้ที ่ี 3.1 : การรบั นักศึกษา (กระบวนการ)

เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย
 บรรลุ  ไม่

บรรลุ

4 คะแนน ......... คะแนน 4 คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 36

ตัวบง่ ช้ี 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานกั ศึกษา

ชนดิ ตัวบง่ ช้ี :: กระบวนการ
- การควบคุมการดูแลการใหค้ าปรึกษาวชิ าการและแนะแนวแกน่ กั ศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรี
- การพฒั นาศักยภาพนักศกึ ษาและการเสรมิ สร้างทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

3.2-1 การควบคุมการดูแลการใหค้ าปรกึ ษาวิชาการและแนะแนวแกน่ ักศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรี
ผลการดาเนนิ งาน

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 37

มีระบบและกลไก
1. การจัดระบบการดแู ลนักศกึ ษาของอาจารยท์ ี่ปรึกษา

มีการนาระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงาน
ระบบและกลไกการจดั ระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ทีป่ รึกษา
1. สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนดอาจารย์ที่ปรกึ ษา 1 คน ตอ่ จานวนนกั ศกึ ษา 1 หอ้ ง โดย

คัดเลอื กอาจารย์ทีป่ รกึ ษาตามความเหมาะสมกบั ภาระงานของอาจารย์
2. กาหนดหน้าทีข่ องอาจารย์ท่ีปรึกษาไว้ในคาส่ังแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษา โดยต้องใหค้ าปรึกษาทั้ง

ด้านวิชาการและการใชช้ วี ิตในมหาวทิ ยาลัย ตามแนวทางทก่ี าหนดในคูม่ ืออาจารย์ท่ปี รึกษา
3. อาจารย์ท่ีปรึกษากาหนดตารางเวลาการเขา้ พบอาจารยท์ ี่ปรึกษาให้กับนักศึกษา พร้อมชอ่ งทาง

ในการติดต่อส่ือสารระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ท่ีปรึกษา เช่น ช่ัวโมงโฮมรูม, E-Mail, Facebook, Line,
พบอาจารย์ที่ปรึกษาโดยตรงหรอื โปรแกรมทะเบยี น (ภาระอาจารย์ทป่ี รกึ ษา) เป็นต้น

4. อาจารย์ท่ีปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1 แนะแนวการใช้คู่มือนักศึกษาท่ีมหาวิทยาลัยแจกในวัน
ปฐมนิเทศ โดยเน้นเร่ืองการแนะนาการลงทะเบียน การเลือกรายวิชาเรียนที่นักศึกษามีความต้องการเรียน
รวมถึงกฎระเบียบตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลัย

5. อาจารย์ท่ีปรึกษาแนะนาการปฏบิ ัติตนเมือ่ นกั ศึกษามผี ลการเรียนตา่

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 38

6. นักศึกษาทุกช้ันปีประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาเพ่ือประเมินระบบ
การดแู ลนักศึกษาของอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา

7. อาจารย์ท่ีปรกึ ษานาผลการประเมนิ มาปรับปรุงระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ที่ปรกึ ษา

แต่งต้งั อาจารย์ทปี่ รกึ ษานกั ศึกษาในปีการศึกษา 2564

ลาดับที่ ชน้ั ปี อาจารย์ท่ปี รกึ ษา หมายเหตุ
หลกั สตู รปริญญาตรี 4 ปี ปกติ
1 ชน้ั ปีที่ 1 (64)
2 ชน้ั ปที ่ี 2 (63) อาจารยน์ ภารตั น์ ชูไพร
3 ชนั้ ปที ่ี 3 (62) อาจารย์วิลาวรรณ สขุ ชนะ
4 ช้นั ปที ี่ 4 (61) อาจารย์ วลิ าวรรณ สุขชนะ
อาจารย์เอกรินทร์ วิจิตต์พันธ์
1 ชั้นปที ่ี 1 (64)
2 ช้นั ปที ่ี 2 (63) หลกั สตู รปรญิ ญาตรี 4 ปี เทียบโอนรายวชิ า
อาจารยส์ มพร พง่ึ สม
ผศ.เอกรนิ ทร์ วิจติ ตพ์ ันธ์

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กาหนดลักษณะงาน คาปรึกษาทาง
วชิ าการ และแนะแนวการใช้ชวี ติ แกน่ ักศกึ ษา คือ

คาปรึกษาทางวิชาการ และแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษา กาหนดช่องทางการสื่อสาร ติดตาม
ประเมินผล รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตร หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ การปรึกษารายงานกรรมการหลักสูตร และคณะ ตามลาดับ ตลอดจนการนาผลประเมินไป
ปรับปรงุ และผลของการปรับปรุงทเ่ี กดิ ข้นึ ในแต่ละปี เพือ่ สรา้ งแนวปฏบิ ตั ิท่ีดีแก่ตนเองและผู้อ่ืนๆ

8. งานด้านสหกิจศึกษา อาจารย์วิลาวรรณ สุขชนะ และอาจารย์ที่ปรึกษา ในปีนั้นๆ คือ อาจารย์วิ
ลาวรรณ สุขชนะ ท่ีปรกึ ษานักศึกษาชั้นปีที่ 4 (60) เป็นผูร้ ับผิดชอบในการดาเนินการด้านสหกิจศึกษา และ
ได้มกี ารกาหนดลกั ษณะงาน ดงั นี้

งานด้านสหกจิ ศึกษา อาจารยว์ ิลาวรรณ สขุ ชนะ ดู แ ล ขั้ น ต อ น ก า ร ส ห กิ จ แ ล ะ อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น ใ น
รายวิชาฯ

กระบวนการการปฏิบัตสิ หกิจศกึ ษา

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 39

ขน้ั ตอนการรับนกั ศึกษาสหกิจศึกษา
1. เจ้าหน้าท่ีจัดส่งหนังสือสารวจความต้องการรับนักศึกษาสหกิจศึกษา และ แบบแจ้งรายละเอียด

งานสหกิจศึกษา ให้กับสถานประกอบการ เพ่ือสถานประกอบการสารวจความต้องการรับนักศึกษาสหกิจ

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 40

ศึกษาในแต่ละสาขาวิชา ก่อนส่งแจ้งรายละเอียดงานพร้อมจานวนตาแหน่งงานท่ีต้องการกลับมาท่ีคณะ ใน
ชอ่ งทางท่สี ถานประกอบการสะดวก (ไปรษณีย์ โทรสาร อีเมล)์

2. เจ้าหน้าท่ีบันทึกข้อมลู ความต้องการรับนักศึกษาสหกจิ ศึกษาจากสถานประกอบการในฐานข้อมูล
พร้อมทั้งประกาศงานท่ีสถานประกอบการเปิดรับสมัครงานสหกิจศึกษา ให้นักศึกษาทราบบนระบบ
ออนไลน์ของแตล่ ะสาขาวิชา

3. นักศึกษาแจ้งช่ือสถานประกอบการที่ต้องการสมัครงานสหกิจศึกษา เพ่ือเป็นข้อมูลใน
กระบวนการ Matching (สาขาวิชาพิจารณาความเหมาะสมในการเลอื กสถานประกอบการของนักศกึ ษา)

4. นักศึกษาย่ืนจดหมายสมัครงานสหกิจศึกษาพร้อมเอกสารหลักฐาน ท่ีตนสนใจผ่านเจ้าหน้าที่
งานสหกิจศึกษา

5. เจ้าหน้าที่จัดส่งจดหมายสมัครงานพร้อมเอกสารหลักฐานของนักศึกษาสหกิจศึกษาให้สถาน
ประกอบการพิจารณาคดั เลือก ซง่ึ สถานประกอบการจะแจ้งผลการคดั เลอื ก โดยส่งแบบแจง้ รายช่อื นักศึกษา
ที่ผ่านการคัดเลือก กลบั มายังศูนย์สหกจิ ศึกษา ทั้งน้ีสถานประกอบการอาจนัดหมายสมั ภาษณ์นักศกึ ษาผา่ น
ชอ่ งทางต่าง ๆ กบั คณะหรอื โทรศพั ทส์ ัมภาษณน์ กั ศกึ ษาเปน็ การเบื้องต้นได้

6. เจา้ หน้าทีป่ ระกาศผลให้นักศกึ ษาทราบบนระบบออนไลน์
7. เจ้าหน้าทจี่ ะจัดส่งหนังสือส่งตัวนักศกึ ษาต่อสถานประกอบการเพื่อยืนยนั การเข้าปฎิบัตงิ านสหกิจ
ศึกษา
8. นักศึกษาจะติดต่อสถานประกอบการเพื่อนัดหมายเข้ารายงานตัว หลังจากทราบผลการคัดเลือก
แล้ว
9. การนิเทศงาน ระยะเวลาการนิเทศอยู่ในช่วงสัปดาห์ท่ี 5 – 12 คณะประสานกับสถาน
ประกอบการเพื่อนดั หมายวันนิเทศงานนักศึกษาสหกิจศึกษา อาจารยน์ ิเทศรับฟังการนาเสนอความก้าวหน้า
ของโครงงานหรืองานท่ีปฏิบัติของนักศึกษาสหกิจศึกษา ร่วมกับพนักงานที่ปรึกษา/พนักงานพี่เลี้ยง และให้
ข้อเสนอแนะ
10. การทารายงาน นิสิตต้องทารายงานพร้อม ๆ ไปกับการปฏิบัติงาน ทั้งน้ีรูปแบบการทารายงาน
อาจเปน็ โครงงาน ชอ่ื การศกึ ษา วิจัย หรืองานประจาท่ีเสนอข้ันตอนและวธิ ีการปฏิบัติงาน หรอื อาจเป็นงาน
ศึกษาตามความต้องการ ของสถานประกอบการ หรืองานคู่มือการรวบรวมข้อมูล จัดทารายงานให้เสร็จส้ิน
เพื่อส่งให้พนักงานที่ปรึกษา/พนักงานพ่ีเล้ียงประเมินก่อนกลับมารายงานตัวที่คณะ และส่งให้กับอาจารย์ท่ี
ปรกึ ษาประเมนิ เมอื่ กลับมารายงานตวั ท่ีคณะ
11. การประเมินผลรายงาน การประเมินผลรายงานแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ประเมินรายงานนัก
ศึกศาสหกิจศึกษาโดยอาจารย์นิเทศงานสหกิจศึกษา และ ประเมินรายงานนักศึกษาสหกิจศึกษาโดย
พนกั งานท่ีปรึกษา/พนักงานพเี่ ลย้ี ง
ดาเนินการด้านการสหกิจศึกษาในทุกกระบวนการและการให้คาปรึกษาในทุกกระบวนการ ได้แก่
เตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา คาปรึกษาทางวิชาการ ทักษะต่างๆ 5 ด้าน (ได้แก่ คุณธรรมจริยธรรม
ปัญญาความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี)
บุคลิกภาพ และแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษาระหว่างการไปสหกิจ กาหนดช่องทางการส่ือสาร ติดตาม
นิเทศ รายงานผล ประเมินผลการปรึกษาและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ฯ รายงานกรรมการหลักสูตร และคณะ
ตามลาดับ ตลอดจนการนาผลประเมินไปปรับปรุง และผลของการปรับปรุงท่ีเกิดข้ึนในแต่ละปี เพ่ือสร้าง
แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี
9. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กาหนดลักษณะงาน คาปรึกษา
กิจกรรมและบริการวิชาการ คอื

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 41

กจิ กรรมนักศกึ ษา อาจารย์สมพร พ่งึ สม ดูแลและใหค้ าปรกึ ษากจิ กรรม
และบริการวชิ าการ อาจารยเ์ อกรินทร์ วจิ ติ ต์พนั ธ์ ดแู ลและใหค้ าปรกึ ษาบรกิ ารวิชาการ

ให้คาปรึกษาทางวิชาการเพ่ือการบริการวิชาการ การสร้างจิตอาสา และทักษะการประกอบกิจกรรม
บริการที่จะเกิดประโยชน์ในทักษะต่างๆ 5 ด้าน (ได้แก่คุณธรรมจริยธรรม ปัญญา ความสัมพันธ์บุคคลและ
ความรับผิดชอบ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี) สาหรับนักศึกษา แนะแนวการ
ใช้ชีวิตแก่นักศึกษาในออกบริการวิชาการชุมชน กาหนดช่องทางการสื่อสาร ติดตาม ประเมินผล รายงาน
กรรมการหลักสูตร และคณะ ตามลาดับ ตลอดจนการนาผลประเมินไปปรับปรุง และผลของการปรับปรุงที่
เกิดขน้ึ ในแต่ละปี เพ่อื สร้างแนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี

มกี ารประเมินกระบวนการ

1. หลักสูตรมีการประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตรคร้ังท่ี 4/2561 เพื่อประเมินกระบวนการ การ

ควบคุม ดูแล การใหค้ าปรึกษาวิชาการ และแนะแนวแก่นกั ศกึ ษาปรญิ ญาตรี โดยร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุ

ของปัญหา ผลปรากฏว่า ในปีการศึกษา 2561 ไม่พบปัญหาในการให้คาปรึกษาของอาจารย์ท่ีปรึกษาแก่

นักศึกษา และมีการกากับดูแลท่ัวถงึ

2. การสนบั สนุนการเว้นการจัดการเรียนการสอนในทุกวันพธุ และจัดให้มีชั่วโมง Home-room แทน

นั้น ทาให้นกั ศกึ ษาสามารถเข้าขอคาปรึกษาและคาแนะนาจากอาจารย์ท่ีปรึกษาได้โดยสะดวก และอาจารย์

ท่ีปรกึ ษามีเวลาในการให้คาปรึกษามากขน้ึ

3. การกาหนดและควบคุมให้อาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบแผนการเรยี นให้กับนักศึกษาทกุ คน และจัด

แผนการเรียนให้แก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลที่มีผลการเรียนต่างจากคนอ่ืน รวมถึงแนะนาการปฏิบัติตนเมื่อ

นกั ศึกษามีผลการเรียนต่า ทาให้นักศึกษามีผลการเรียนดีข้ึน อัตราการพ้นสภาพและลาออกของนักศึกษามี

แนวโนม้ ลดลง

4. จากการดาเนินงานให้คาปรึกษาและแนะนา พบว่า นักศึกษาแรกเข้าบางคนมีปัญหาแล้วไม่กล้า

ปรึกษาอาจารย์ท่ีปรึกษา เน่ืองจากความไม่สนิท ดังน้ันควรจัดการกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่าง

นักศึกษาและอาจารย์ เพื่อใหน้ ักศึกษาสนิทและทาความรจู้ กั กับอาจารย์มากขนึ้ ช่วยใหน้ ักศึกษามคี วามกล้า

ท่จี ะเข้ามาปรกึ ษากบั อาจารย์เพื่อแกป้ ัญหาทตี่ นเองพบเจอ

5. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ กาหนดให้นักศึกษาประเมินความพึง

พอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาทุกปีการศึกษา เพ่ือประเมินระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ท่ี

ปรึกษา โดยในปกี ารศึกษา 2564 มีผลการประเมิน ดงั น้ี

ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อการให้การดแู ลของอาจารย์ท่ปี รึกษา

ประจาปีการศกึ ษา 2564

ชน้ั ปี / หลกั สตู ร อาจารยท์ ปี่ รึกษา คา่ เฉลี่ย ขอ้ วิพากษ์สาคญั
ผลการประเมนิ

หลักสูตร 4 ปี (ปกต)ิ

1 (63) อาจารยว์ ิลาวรรณ สุขชนะ 4.55 -

2 (62) อาจารย์ ดร.คมศลั ล์ ศรีวิสุทธิ์ (อ.วิลาวรณ สขุ ชนะ) 4.30 -

3 (61) อาจารย์เอกรินทร์ วจิ ิตตพ์ ันธ์ 4.61 -

4 (60) อาจารยส์ มพร พ่ึงสม 4.55 -

หลักสูตร 4 ปี (เทยี บโอนรายวชิ า)

3 (63) ผศ.ดร.นพศักด์ิ ตนั ตสิ ัตยานนท์ 4.45 -

4 (62) อาจารย์นภารตั น์ ชูไพร 4.50 -

ค่าเฉลี่ยรวม 4.49

รอ้ ยละ 89.8

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 42

นักศึกษามีความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา ประจาปี
การศึกษา 2564 ในภาพรวมทั้งหลักสูตรอยู่ในเกณฑ์ดี มีค่าเท่ากับ 4.49 จาก 5 คะแนน โดยคิดเป็น
คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ 89.80

มกี ารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ
1. จากผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อการให้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา

ประจาปีการศึกษา 2564 พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาในระดับปริญญาตรี มีความ
เหมาะสมทุกด้าน คิดเป็นค่าเฉล่ียในภาพรวมทั้งหลักสูตรนักศึกษามีความพึงพอใจเท่ากับ โดยอยู่ในระดับ
มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 89.80

2. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ปรับกระบวนการการให้คาปรึกษาโดยตอบสนองนโยบายของ
มหาวทิ ยาลยั และสง่ เสริมการเข้าพบที่ปรกึ ษาของนกั ศกึ ษาให้บอ่ ยและง่ายขึ้น คือ จดั ใหม้ ีคาบ Homeroom
ทุกบ่ายวันพุธ โดยในพุธช่วงบ่าย ตั้งแต่เวลา 13.00 – 16.00 น. จัดตารางเรียนตารางสอนเป็นคาบเรียน
Homeroom นกั ศึกษาจะได้เข้าพบกับอาจารย์ที่ปรึกษา โดยอาจารย์ที่ปรึกษาจะใหค้ าแนะนาและกากับใน
เร่ืองต่างๆ เช่นตรวจสอบผลการเรียนนักศึกษา แนะนาการจัดแผนการเรียนและวิธีการปฏิบัติตนให้กับ
นักศึกษาเป้นรายบุคคลโดยเฉพาะนักศึกษาท่ีมีผลการเรียนไม่เป็นไปตามคาดหรือนักศึกษาที่มีผลการเรียน
ตา่ เพอ่ื ม่งุ หวังให้นักศึกษามผี ลการเรยี นท่ดี ขี นึ้ และสาเรจ็ การศึกษาตามระยะท่ีหลกั สูตรกาหนด

3. ข้อร้องเรียนดังกล่าว ได้มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยมีวาระเรื่อง “การแต่งตั้ง
อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ดาเนินการแทนอาจารย์ที่ปรึกษา” โดยได้มีข้อเสนอให้อาจารย์ที่ปรึกษาที่มี
ภารกิจเดินทางไปราชการนอกพื้นท่ี มอบหมายให้อาจารย์ในสาขาวิชาฯ ที่ปฏิบัติงานตามปกติ (ท่ีไม่ติด
ราชการหรือลา) สามารถดาเนินการให้คาปรึกษาหรือเซ็นเอกสารให้กบั นักศึกษาได้ (กรณเี รง่ ด่วน) ข้อเสนอ
ดังกล่าวได้เป็นได้เป็นมติในที่ประชุมและจัดเป็นข้อกาหนดในการปฏิบัติในการให้คาปรึกษาแ ก่นักศึกษา
เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการใหก้ ารดูแลนกั ศึกษาของอาจารย์ทปี่ รกึ ษา

4. การสอบวดั ระดับความรู้ด้านภาษาอังกฤษ (Exit Exam) ในปีการศกึ ษา 2562 ของนักศึกษาช้ันปี
ท่ี 3 (2559) จานวนผู้มีสิทธิ์สอบทั้งหมด 21 คน ผลปรากฏว่า ผู้เข้าสอบจานวน 21 คน ผู้สอบผา่ น จานวน
3 คน และผู้สอบไม่ผ่านจานวน 2 คน จากการประเมินดังกล่าว สาขาวิชาฯ จึงได้แต่งตั้งอาจารย์สมพร พ่ึง
สม ดาเนินการร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาในการควบคุมและให้คาปรึกษาแก่นักศึกษาท่ีเข้าเกณฑ์ในการสอบ
วัดระดับความรทู้ างภาษาอังกฤษ
มผี ลจากการปรับปรงุ เห็นชดั เจนเป็นรปู ธรรม

กาลังดาเนินการ
มแี นวทางปฏบิ ัติทด่ี ี โดยมีหลักฐานเชงิ ประจักษ์ยืนยนั

กาลงั ดาเนินการ

3.2-2 การพฒั นาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาและการเสริมสรา้ งทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
ผลการดาเนนิ งาน

มีระบบ มกี ลไก
หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ

และการเรียนรขู้ องนักศึกษา ภายใต้แผนกลยุทธ์คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2555-2559 และ พ.ศ. 2559-2564 และมีความเชื่อมโยงสอดคล้องกับการ
พัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วนรอบด้าน โดย
คานึงถึงพันธะกิจ ค่านิยมหลักของมหาวิทยาลัย และความสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของสังคม

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 43

ตลอดจนคานึงถึงความต้องการของนักศึกษา โดยหลักสูตรมีระบบและกลไกการดาเนินงานการพัฒนา

ศกั ยภาพนักศึกษาและการเสรมิ สร้างทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ดังน้ี

1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุม ร่วมกับอาจารย์ประจาสาขาฯ เพ่ือกาหนดหัวขอ้ โครงการ

พฒั นาศักยภาพนักศกึ ษาและการเสริมสร้างทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21

2. อาจารย์ประจาสาขาฯ เขยี นโครงการเพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพนักศึกษาฯ

3. คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร ประชุมเพ่อื พจิ ารณาโครงการเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพนักศึกษาฯ และ

จัดทาแผนปฏบิ ัตงิ านประจาปีการศกึ ษา 2564

4. ดาเนินการตามแผนดาเนินการ หากมีกรณีท่ีโครงการ/กิจกรรมไม่ได้รับการอนุมัติงบประมาณ

สนับสนุน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมพิจารณาร่วมกันเพ่ือปรับรูปแบบและลดขนาดของ

โครงการ/กจิ กรรม

5. กากบั ตดิ ตามและสรุปผลการดาเนนิ การสง่ เสริมและพฒั นานักศกึ ษา

6. ประเมินกระบวนโดยอาจารย์ประจาหลักสูตรและการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเพื่อ

เปน็ ข้อมูลในการปรับปรุงแผนการจัดกจิ กรรมพัฒนานักศึกษาในปกี ารศึกษาถัดไป

มกี ารนาระบบกลไกไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ/ดาเนนิ งาน

ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จัดโครงการ

เพ่ือพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ตามทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งผลการดาเนินงาน

พบว่า การจัดงบประมาณเพื่อส่งเสริมและสนบั สนนุ ในโครงการพฒั นาศักยภาพนักศกึ ษา แบ่งเป็น โครงการ

จากแผนงบประมาณมหาวทิ ยาลัยฯ โครงการของสาขาวชิ าฯ และโครงการจากภายนอก ดงั น้ี

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพนกั ศกึ ษาและการเสริมสรา้ งทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21

การดาเนนิ งาน

1. พ้นื ฐานการ หลักสูตรได้วางแผนการจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา โดยคานึงถึงทักษะ

เรยี นรสู้ าระวิชา การอ่าน (Reading) ทักษะการเขียน ( Writing) และทักษะการคานว ณ

หลกั (Arithmetic) ซ่ึงถือเป็นทักษะพื้นฐานที่มีความจาเป็นท่ีจะทาให้รู้และเข้าใจใน

สาระเนื้อหาของ 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ท่ีแสดงความเป็นสาระวิชาหลกั ของทักษะ

เพอ่ื ดารงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 ได้แก่

1.1 โครงการบรู ณาการรายวชิ าการโปรแกรมอุปกรณ์เคลือ่ นที่ เรอ่ื ง การพัฒนา

แอปพลิเคช่ันเพื่อนาเสนอขอ้ มลู สารสนเทศ

1.2 โครงการบูรณาการรายวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เร่ือง พัฒนาระบบ

สารสนเทศเพ่อื ประชาสมั พันธ์สินคา้ OTOP ผ้าบาตกิ จงั หวดั ชุมพร

1.3 โครงการบูรณาการรายวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เรื่อง วิศวกรรมความ

ตอ้ งการกับการพฒั นาซอฟต์แวร์

1.4 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ เร่อื ง การใชง้ านโปรแกรม Microsoft Office

2. ทกั ษะการเรียนรู้ หลักสูตรได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนและนอกห้องเรียน

และนวัตกรรม ในรายวิชาต่าง ๆ เพ่ือการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการ

เรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 ดา้ นทักษะการเรยี นรู้และนวตั กรรม ดังนี้

1.1 รายวิชาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มกี ารส่งเสรมิ การเรยี นร้ใู น

ศตวรรษท่ี 21 ด้านทักษะสารสนเทศ ส่ือและเทคโนโลยี ทักษะด้านสาระ

วิชาหลักและทักษะเพ่ือการดารงชีวิต และทักษะด้านการเรียนรู้และ

นวัตกรรม โดยมอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลงานวิจัยผ่านระบบ

สารสนเทศ เพ่ือให้นักศึกษาสามารถใช้ระบบสารสนเทศในการศึกษา

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 44


Click to View FlipBook Version