The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มรอบ9เดือน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rek_lis, 2022-04-03 05:20:48

รวมเล่มรอบ9เดือน

รวมเล่มรอบ9เดือน

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 118

เกณฑ์การประเมนิ /ผลการดาเนนิ งาน

1 การกาหนดผู้สอน
1. กลไกการการกาหนดผสู้ อน
1.1 จานวนผสู้ อน 8 คน
1.2 เกณฑภ์ าระการสอน
1. เกณฑ์การจัดวางตัวผูส้ อนโดยสาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศพิจารณา ดังน้ี
1.1 อาจารย์ประจาสาขาวิชาร่วมกันพิจารณากาหนดอาจารย์ผู้สอนโดยคานึงถึงความชานาญใน
เนื้อหาที่สอน คุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ ผลงานวิจัย รวมทั้งประสบการณ์การทางานท่ี
เก่ยี วข้องกับวชิ านั้น ๆ
1.2 การกาหนดภาระการสอนของอาจารย์ผู้สอน โดยคานึงถึงภาระขั้นต่า เฉลี่ยภาระการสอน
รวมท้ังพจิ ารณาถึงภาระงานอื่น ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 119

เกณฑ์การประเมนิ /ผลการดาเนนิ งาน

1.3 ในกรณที ี่อาจารยผ์ ู้สอนประจาวิชาใดๆ มผี ลการประเมินการสอนไม่เป็นไปตามเกณฑ์ (คะแนน
เฉลี่ยต่ากว่า 3.51) จะต้องมีการดาเนินการแลกเปล่ียนเรียนรู้ วิธีการหรือแนวทางปรับปรุง
กระบวนการเรียนการสอนใหม้ ีประสทิ ธิภาพดีข้นึ และมผี ลการประเมินในรอบถัดไปดีขึน้

2. การจัดการเรยี นการสอนวชิ าโครงงาน (Senior Project)
สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ มกี ารจดั การเรียนการสอนวชิ าโครงงาน (Senior Project) โดยกาหนดให้
ผู้เรยี นดาเนนิ การ ดังน้ี

2.1 อาจารยผ์ ูส้ อนให้นักศึกษาจัดทาแบบเสนอหวั ขอ้ โครงงาน
2.2 นักศึกษาเลือกอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงาน โดยพิจารณาจากความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความถนัด

ความสนใจพเิ ศษ ผลงานวจิ ยั ผลงานบรกิ ารวิชาการของอาจารยท์ ป่ี รึกษาโครงงาน
2.3 นักศึกษาขอสอบหัวข้อโครงงาน โดยกาหนดให้มีคณะกรรมการสอบอย่างน้อย 4 ท่าน

ประกอบด้วยหัวหน้าสาขาวิชา อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ประจาวชิ า อาจารย์ประจา
สาขา อาจารยป์ ระจา โดยมเี กณฑพ์ ิจารณา ดังน้ี
1. การนาเสนอองค์ความรู้ ความเป็นไปได้ ตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. การตอบข้อซักถาม ตอ้ งไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของขอ้ ซกั ถามทั้งหมด
3. มติของคณะกรรมการสอบ ต้องไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 75
2.4 นักศึกษาสอบจบวิชาโครงงาน โดยมีคณะกรรมการสอบ อย่างน้อย 5 ท่าน ประกอบด้วย
หวั หน้าสาขาวิชา อาจารยท์ ป่ี รึกษาโครงงาน อาจารย์ประจาวิชา อาจารยป์ ระจาสาขา อาจารย์
ประจา โดยมเี กณฑ์พจิ ารณา ดงั น้ี
1. การนาเสนอองค์ความรู้ ความเป็นไปได้ ต้องไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80
2. การตอบข้อซกั ถาม ต้องไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของข้อซักถามทัง้ หมด
3. ความถูกตอ้ งและสมบูรณ์ของโครงงาน ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 85
4. มตขิ องคณะกรรมการสอบ ตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80
2.5 คณะกรรมการสอบโครงงานพิจารณาผลการสอบ และส่งคะแนนให้อาจารย์ประจาวชิ า
2.6 อาจารย์ประจาวชิ าสง่ ผลคะแนนเข้าระบบ หลงั จากได้รับเลม่ รายงานโครงงานต้นฉบบั

เกณฑภ์ าระงานของอาจารย์

ตาแหน่ง ภาระงานสอนของอาจารย์ขน้ั ตา่ (ช่ัวโมง)

รองอธกิ ารบดี 3

รองคณบดี 6

หัวหน้าสาขา 7

หัวหนา้ งาน 7

อาจารยผ์ ู้สอน 10

ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดการเรียนการ
สอนในหลักสูตรฉบับปรับปรุง 2554 และ 2560 โดยมีการกาหนดผู้สอนตามกลไกท่ีกาหนดไว้โดย มีจานวน
ผ้สู อน 8 คน

สรปุ ภาระการสอนของผู้สอนทกุ คนประจาปกี ารศึกษา 2563

ภาระการสอน ภาระการสอน

ชื่ออาจารย์ ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 รวมทงั้ หมด

(ชว่ั โมง) (ชั่วโมง)

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 120

เกณฑก์ ารประเมิน/ผลการดาเนินงาน

ทฤษฏี ปฏิบัติ ทฤษฏี ปฏบิ ัติ
9030
นายคงศักดิ์ นาคทิม 12
10 4 11 10 35
ผศ.ดร.นพศักดิ์ ตันติสัตยานนท์ 35
6 7 6 16 35
นายเอกรินทร์ วิจิตต์พันธ์ 34
8 10 13 4 34
นางสาววลิ าวรรณ สขุ ชนะ 38
12 6 4 12 32
นายพิสฐิ พรพงศเ์ ตชวาณิช
นายสมพร พงึ่ สม 11 3 8 12
ดร.คมศลั ล์ ศรวี ิสทุ ธิ์
นางสาวนภารตั น์ ชไู พร 10 9 7 12

16 0 10 6

โดย อาจารยค์ งศกั ดิ์ นาคทมิ ดารงตาแหน่ง รองอธิการบดี

ผศ.ดร.นพศักด์ิ ตันตสิ ัตยานนท์ ดารงตาแหน่ง รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน

อาจารยเ์ อกรนิ ทร์ วจิ ติ ตพ์ นั ธ์ ดารงตาแหนง่ รองคณบดีฝา่ ยวิชาการและวิจยั

อาจารยว์ ิลาวรรณ สุขชนะ ดารงตาแหนง่ หวั หน้าสาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ

อาจารย์สมพร พ่งึ สม ดารงตาแหนง่ หวั หนา้ งานประชาสมั พนั ธ์ สานักงานวทิ ยาเขตฯ

สรุปผลการดาเนนิ งาน/การประเมนิ กระบวนการ/ผลการปรับปรงุ กระบวนการ

ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดการเรียนการ
สอนในหลักสูตรฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560 มกี ารกาหนดผ้สู อนในแต่ละรายวชิ า โดยคานงึ ถงึ ความรคู้ วามสามารถ
และความเช่ียวชาญในวิชาที่สอนและเป็นความรู้ที่ทันสมัยของอาจารย์ที่มอบหมายให้สอนในวิชานั้นๆ เพื่อให้
นกั ศึกษาได้รับความรู้ ประสบการณ์ และไดร้ ับการพฒั นาความสามารถจากผูร้ ู้จริง ตามกลไกท่ีกาหนดไว้จานวน
8 คน

2 การกากับตดิ ตามและตรวจสอบการจัดทาแผนการเรยี นรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรยี นการสอน
1. กลไกการกากบั ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้

1.1 การจัดทา มคอ. 3 และ มคอ. 4 ของแตล่ ะรายวชิ า

อาจารย์ผู้สอนศึกษารายละเอียดของแบบฟอร์ม มคอ. 3 และ มคอ. 4 และสาขาวิชาจัดผู้สอน 1 คน : 1

วชิ า ในกรณีการสอนเปน็ ทีมจะพิจารณาจากลักษณะรายวิชาที่เป็นภาคปฏิบัติ ในการจัดทา มคอ. 3 กาหนดให้

อาจารยผ์ ู้สอนจัดทารว่ มกนั

1.2 การกากบั /ตดิ ตาม/ตรวจสอบ ผลการจัดทา มคอ. 3 และ มคอ. 4

อาจารย์ประจาหลักสูตรดาเนินการกากับ ติดตามและตรวจสอบ การจัดทา มคอ. 3 และ มคอ. 4 ตาม

ขน้ั ตอน ดงั นี้

1. อาจารยผ์ ูส้ อนจัดทา มคอ. 3 และ มคอ. 4 รวบรวมสง่ ทีส่ าขาวิชาตามระยะเวลาทกี่ าหนด คือ

1.1 ภาคเรยี นที่ 1 ภายในวนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2563

1.2 ภาคเรยี นท่ี 2 ภายในวนั ที่ 2 พฤศจิกายน 2563

1.3 ภาคเรียนท่ี 3 ภายในวนั ท่ี 1 มนี าคม 2564

2. จดั ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร เพื่อตรวจสอบจานวนและความถูกต้องของ มคอ. 3 และ มคอ.

4 ในทกุ รายวชิ าทเ่ี ปิดสอนในภาคการศึกษานน้ั

3. พิจารณาความครบถ้วนของเน้ือหา รายละเอียด ข้อแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาจาก มคอ. 5 และ

มคอ. 6 ของการสอนในครง้ั ทผ่ี ่านมา

4. ในกรณที ีม่ ีข้อบกพรอ่ ง/ข้อแก้ไข อาจารยป์ ระจาหลักสูตรแจ้งใหผ้ ู้สอนในวิชาน้ันทราบเพ่อื ปรับแก้

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 121

เกณฑ์การประเมิน/ผลการดาเนินงาน

5. ประชุมติดตามประเมินผลการดาเนินการสอนตาม มคอ. 3 และ มคอ. 4 เพื่อสรุปรวบรวมปัญหา

และกาหนดแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขเมื่อสิน้ ภาคการศกึ ษา

1.3 การกากบั กระบวนการสอน (ใน มคอ. 3 และ มคอ. 4)

คุณภาพ/ความเหมาะสม ผูต้ รวจสอบ/กากบั ตดิ ตาม วธิ กี าร

1. แผนการสอน อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ตรวจสอบความสอดคล้องกับคาอธิบายรายวิชาใน

หลักสตู ร

2. การแบ่งน้าหนกั การ อาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร ตรวจสอบความเหมาะสมของการแบ่งสัดส่วนคะแนน

ประเมินผลในแต่ละโดเมน เก็บ และคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาค
การศกึ ษา

3. วิธีการประเมินผลของแต่ละ อาจารย์ประจาหลักสตู ร ตรวจสอบความเหมาะสมของวิธีการประเมิน

โดเมน

4. ก า ร ท ว น ส อ บ ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ อาจารย์ประจาหลกั สตู ร ตรวจสอบความถูกต้องของผล/ระดับผลการเรียนของ

ทางการเรียน นักศึกษา และจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนในแต่ละ

ผลการเรียน

สรุปผลการดาเนนิ งาน/การประเมินกระบวนการ/ผลการปรับปรุงกระบวนการ
ผลของการกากับติดตามและตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ (มคอ. 3 และ มคอ. 4 และการจัดการ

เรียนการสอน) ทาให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละท่านจัดทา มคอ. 3 และ มคอ. 4 สาเร็จตามกาหนดครบทุกรายวิชา
และมคี วามถูกตอ้ งเหมาะสมกบั คาอธบิ ายรายวชิ าตา่ ง ๆ
3 การจัดการเรียนการสอนในระดบั ปริญญาตรที ่ีมีการบรู ณาการกับพันธกจิ อ่นื

ในปีการศึกษา 2563 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีท่ีมี
การบรู ณาการกบั การวจิ ยั การบริการวิชาการทางสงั คม และการทานบุ ารงุ ศิลปะและวฒั นธรรม ดังน้ี

การจดั การเรยี นการสอนในระดบั ปรญิ ญาตรที ม่ี ีการบรู ณาการกบั พันธกจิ อ่นื

รหัส / ชอื่ วิชา บรู ณาการกบั วธิ กี ารบรู ณาการ/วิธวี ัดความสาเรจ็ ของการบรู ณาการ
พันธกจิ

ภาคการศึกษา 1/2563

IFT 3218 การเขยี นโปรแกรมเวบ็ การวจิ ัย - นาแนวคดิ จากงานวจิ ยั เรอื่ ง รายงานการวจิ ัยเร่ือง การใช้
แบบพลวัต ประโยชน์และความพงึ พอใจต่อเว็บไซตส์ ถาบันของนกั ศกึ ษา
สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
การบริการ
วชิ าการ - นาแนวคิดจากงานวจิ ยั เรื่อง การพัฒนาบทเรยี นออนไลน์
วิชาการสอ่ื สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยเบอ้ื งตน้ สาหรับผเู้ รียนทม่ี ี
ความสามารถในการเรียนร้ทู ่ีตา่ งกนั

- นาแนวคิดจากงานวจิ ัยเรอ่ื ง พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์
เวลาจริงของนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจ
บัณฑติ ย์

- นาแนวคิดจากงานบรกิ ารวิชาการเร่อื ง การพฒั นารูปแบบการ
แนะนาผ้เู รียนแบบปรับเปลีย่ นไดเ้ พอ่ื สง่ เสรมิ ความสามารถใน
การคดิ เชิงตรรกะในการเรยี นแบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 122

เกณฑก์ ารประเมนิ /ผลการดาเนนิ งาน

IFT 1203 วศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ การวจิ ัย - มอบหมายใหน้ ักศึกษาจดั ทาโครงงานการวิจัยให้กับชุมชนตาม

กระบวนการการผลิตซอฟต์แวร์โดยมีอาจารย์ผู้สอนเป็นท่ี

ปรึกษา “พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือประชาสัมพันธ์สินค้า

OTOP ผา้ บาตกิ จังหวัดชุมพร”

- ค้นคว้าหาความรใู้ นงานวิจัยหรอื วรรณกรรมที่เก่ยี วข้องกบั

โครงงานฯ ของนักศกึ ษา สรุปและนาเสนอ พรอ้ มท้งั ใช้สาหรบั

ประกอบงานโครงงานวิจยั ของนักศกึ ษา

การบริการ - ลงชมุ ชน จัดทาแบบสอบถามความต้องการ จดั โครงงานวิจยั ฯ

วชิ าการ เพอ่ื ผลิตซอฟตแ์ วรใ์ หก้ บั ชุมชน

- นาซอฟต์แวรท์ ไ่ี ด้จากการจดั ทาโครงงาน ไปนาเสนอ อบรม

และเผยแพร่ใหก้ บั หน่วยงานหรอื ชมุ ชน ดว้ ยตัวของนักศึกษา

เอง

งานทานุบารงุ - การกาหนดโครงงานวิจัยของนักศึกษามาประยุกต์เรื่องของ

ศลิ ปวัฒนธรร การบารุงศิลปวัฒนธรรมเช่น ระบบแผนท่ี AR (Augmented

ม Reality) ข อ ง วั ด แ ล ะ ชุ ม ช น , ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ ก า ร

ประชาสัมพันธ์ชุมชนและผลิตภัณฑ์ชุมชน, ระบบสารสนเทศ

เพือ่ การจดั การทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชน เปน็ ตน้

- จดั ทาโครงการบูรณาการรายวิชาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ เรอ่ื ง

“พฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อประชาสัมพันธส์ ินค้า OTOP ผ้า

บาตกิ จงั หวดั ชมุ พร”

ภาคการศกึ ษา 2/2563

IFT 3311 การพาณชิ ย์ การวิจยั - นาแนวคิดจากงานวจิ ยั เรอื่ ง แนวทางการทาธุรกจิ พาณิชย์
IFT 1204 อิเล็กทรอนกิ ส์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พ่ือความไดเ้ ปรียบในธรุ กจิ
การวจิ ัย
ระบบจัดการฐานขอ้ มลู ก า ร บ ริ ก า ร - นาแนวคิดจากงานวจิ ัยเร่ือง ปัญหาการบงั คบั ใชก้ ฎหมายใน
วิชาการ สัญญาพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์

- นาแนวคดิ จากงานวจิ ัยเร่ือง ระบบช่วยสรา้ งเว็บไซตพ์ าณชิ ย์
อเิ ลก็ ทรอนิกส์

- นาแนวคดิ จากงานวจิ ยั เรอ่ื ง การวเิ คราะห์การตดั สนิ ใจเลอื ก
ซอ้ื หนงั สอื ทางช่องทางพาณิชย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ : กรณศี กึ ษา
จงั หวดั กรุงเทพมหานคร

- มอบหมายใหน้ ักศกึ ษาจดั ทาโครงงานการวจิ ัยใหก้ ับชมุ ชนตาม
กระบวนการการผลิตซอฟต์แวร์โดยมีอาจารย์ผู้สอนเป็นท่ี
ปรึกษา

- ค้นคว้าหาความรูใ้ นงานวิจยั หรือวรรณกรรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ
โครงงานฯ ของนักศึกษา สรปุ และนาเสนอ พรอ้ มทง้ั ใช้สาหรับ
ประกอบงานโครงงานวจิ ยั ของนกั ศึกษา

- ลงชมุ ชน จดั ทาแบบสอบถามความตอ้ งการ จัดโครงงานวจิ ัยฯ
เพื่อผลติ ซอฟตแ์ วรใ์ ห้กบั ชมุ ชน

- นาซอฟต์แวร์ทไ่ี ด้จากการจดั ทาโครงงาน ไปนาเสนอ อบรม
และเผยแพรใ่ ห้กับหนว่ ยงานหรือชมุ ชน ด้วยตวั ของนักศึกษา
เอง

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 123

เกณฑ์การประเมิน/ผลการดาเนินงาน

งานทานุบารุง - การกาหนดโครงงานวิจัยของนักศึกษามาประยุกต์เรื่องของ
ศิลปวัฒนธรร การบารุงศิลปวัฒนธรรมเช่น ระบบสารสนเทศการ
ม ประชาสัมพันธ์ชุมชนและผลิตภัณฑ์ชุมชน, ระบบสารสนเทศ

เพื่อการจดั การทอ่ งเท่ียวในชุมชน เปน็ ตน้
- นาเสนอโครงงานทจ่ี ัดทา เพ่ือเผยแพรใ่ หก้ บั ชมุ ชนและปฏิบตั ิ

จรงิ โดยนกั ศกึ ษาเปน็ วทิ ยากร

มกี ารประเมินกระบวนการ
อาจารย์ประจาหลักสตู รมีการประชุมเพ่อื ประเมนิ กระบวนการดาเนินการวางระบบผสู้ อนและกระบวนการ

จัดการเรยี นการสอน ในประเดน็ การกาหนดอาจารย์ผสู้ อน และการมอบหมายภาระงานสอนแกอ่ าจารย์ พบวา่
- ในปีการศกึ ษา 2564 เร่ืองการกาหนดอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบรายวิชาจัดทา มคอ.3/มคอ.4 ควรมกี ารนาผล
การบรู ณาการจากปีก่อนหรือภาคเรยี นก่อนมาพิจารณาก่อนทจ่ี ากาหนดรายวิชาทีจ่ ะบรู ณาการ
- การรวบรวมและตรวจสอบความถูกตอ้ ง มคอ.3/มคอ.4 ของแต่ละรายวชิ า ก่อนเปดิ ภาคเรียนท่ี 1 เดือน
ยงั เกดิ ความล่าชา้ ในการรวบรวมจัดสง่ ต่อคณะกรรมการบริหารคณะ จึงควารมีการปรบั ปรงุ วธิ ีการในการ
ตดิ ตามเพอ่ื จัดส่ง มคอ.3/มคอ.4 ดงั กลา่ วไดอ้ ย่างรวดเรว็ ยงิ่ ขนึ้

มกี ารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
จากการวิเคราะห์และประเมินกระบวนการวางระบบอาจารย์ผู้สอน จากการประชุมผู้รับผิดชอบ พบว่า

กระบวนการดังกล่าวข้างต้น การกากับติดตาม ตรวจสอบความถูกต้องของการจัดทามคอ.3 และ มคอ.4
อาจารย์ผู้ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้กากับติดตาม ตรวจสอบความถูกต้องของ มคอ.3 และ มคอ.4 และได้
ดาเนินการใหอ้ าจารย์ผู้สอนในรายวิชาท่จี ดั ทา มคอ.3 และ มคอ.4 ยงั ไม่ถกู ต้องสมบรู ณไ์ ด้ทาการแก้ไขเรียบรอ้ ย
แล้วและดาเนนิ การอปั โหลดข้อมูลในทันตามเวลาในทุกรายวิชา

สาขาวชิ าฯ ได้เพ่มิ ช่องทางในการจดั ส่ง มคอ.3/มคอ.4 และ มคอ.5/มคอ.6 ของแต่ละรายวิชาผา่ นช่องทาง
ออนไลน์ ดงั น้ี

- สร้างช่องทาง Social Media ผ่าน Line Application ใน Group ของสาขาวิชา เพ่ือเป็นการติดตาม
มคอ. ให้ทันเวลาที่กาหนด

- จัดทา Folder ในระบบเครือข่ายเดียวกันบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของสาขาวิชา เพ่ือแบ่งปัน อัพโหลดไฟล์งาน
ให้กบั อาจารย์ในสาขาวชิ าฯ ไดจ้ ดั การเอกสาร
สาหรับการแก้ปัญหาในด้านการติดต่อกับนักศึกษาในรายวิชาการเตรียมสหกิจศึกษา จากวิกฤติการ
ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ โควิด-19 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์วิลาวรรณ สุขชนะ และผศ.ดร.นพ
ศกั ด์ิ ตันติสัตยานนท์ ได้มีการพดู คยุ กบั นักศึกษาผ่านกลุ่มไลน์ก่อน จากนั้นจงึ ได้มสี อนใช้สือ่ ออนไลน์ตา่ ง ๆ เพื่อ
หาทางในการพดู คุย เช่น การใช้ MS team, Zoom เปน็ ต้น

สรุปผลการดาเนนิ งาน/การประเมนิ กระบวนการ/ผลการปรับปรุงกระบวนการ
การกาหนดผู้สอน อาจารย์ประจาหลักสูตรจะทาการประชุมรว่ มกัน เพ่อื หาทางพฒั นาการจัดการเรียน

การสอนให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประเมินกระบวนการวางระบบผู้สอน
และกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพ่ือปรับปรุงกระบวนการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียน
การสอน มีการกาหนดผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยคานึงถึงความรู้ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในวิชาที่
สอนและเป็นความรู้ที่ทันสมัยของอาจารย์ที่มอบหมายให้สอนในวิชาน้ันๆ เพ่ือให้นักศึกษาได้รับความรู้
ประสบการณ์ และได้รับการพัฒนาความสามารถจากผู้รู้จริง ผลท่ีได้จากการประเมิน เมื่อนามาปรับปรุง

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 124

เกณฑ์การประเมนิ /ผลการดาเนนิ งาน
กระบวนการกาหนดผู้สอนและการจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้บัณฑิตมีประสิทธิภาพและคุณภาพตรงตาม
ความต้องการของตลาดแรงงาน

การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ (มคอ. 3 และ มคอ. 4) และการจัดการเรียน
การสอน ผลปรากฏว่า อาจารย์ผ้สู อนแต่ละท่านจัดทา มคอ. 3 และ มคอ. 4 สาเร็จตามกาหนดครบทุกรายวิชา
และมีความถูกต้องเหมาะสมกับคาอธิบายรายวิชาต่าง ๆ จากแนวทางปฏิบัติเมื่อปีการศึกษา 2563 ทาให้มีการ
ปรับเปล่ียนวิธีการปฏิบัติที่ดีในปีการศึกษา 2563 โดยให้อาจารย์ผู้สอนดาเนินการประเมินผลการเรียนรู้ การ
จัดการเรียนการสอน โดยมีแนวทางการตรวจสอบต่างๆ เช่น มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยใช้
การประเมินตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือท่ีต่างๆ ได้แก่ ข้อสอบปรนัย ข้อสอบอัตนัย การบ้าน รายงานที่
มอบหมาย การสอบปากเปล่า การสังเกตพฤติกรรมนักศึกษา การวัดทักษะ การปฏิบัติงานและการใช้เครื่องมือ
สามาถประเมินสภาพการปฏิบัติงานจริง เพราะสามารถวัดคุณภาพเหล่าน้ันออกมาเป็นผล สามารถนาผลน้ัน
นามาปรบั ปรงุ ระบบใหบ้ ณั ฑติ มพี ฒั นาการท่ดี ีขึน้ ในทุกๆ ปี

การจดั การเรยี นการสอนในระดบั ปริญญาตรีทมี่ ีการบรณู าการการเรียนการสอนกบั การวิจยั การบริการ
วิชาการทางสังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยในภาคการศึกษา 1/2563 มีรายวิชาที่มีการบูร
ณาการกับการวิจัยจานวน 2 รายวิชาและรายวิชาที่มีการบูรณาการกับการบริการวิชาการทางสังคมจานวน 2
รายวชิ า และบูรณการกับงานทานบุ ารุงศิลปวฒั นธรรมจานวน 1 รายวิชา

ในภาคการศึกษา 2/2563 มีรายวิชาท่ีมีการบูรณาการกับการวิจัยจานวน 2 รายวิชา และรายวิชาท่ีมี
การบูรณาการกบั การบรกิ ารวิชาการทางสังคมจานวน 1 รายวิชา และบูรณการกับงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
จานวน 1 รายวิชา ทง้ั นี้การจดั การเรียนการสอนในสาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศที่มกี ารบูรณาการกับการวจิ ัย
และการบริการวิชาการทางสังคม ส่งผลให้นักศึกษามีความรู้ท่ีหลากหลาย นักศึกษาเกิดการเรียนรู้
กระบวนการวิจัยในวิชาต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่วิชาท่ีสอนการวิจัย และนักศึกษาสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้กับการทา
ปรญิ ญานพิ นธข์ องตัวนกั ศึกษาเองได้

มผี ลจากการปรบั ปรุงเหน็ ชัดเจนเป็นรูปธรรม
จากการแกป้ ัญหาในด้านการตดิ ต่อกับนกั ศกึ ษาในรายวชิ าการเตรยี มสหกจิ ศกึ ษา จากวิกฤตกิ ารระบาด

ของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ โควิด-19 โดยการใช้ส่ือออนไลน์ต่าง ๆ ในการพูดคุย ติดต่อกับนักศึกษา
พบวา่ นักศึกษาสามารถเขา้ ใจและใช้โปรแกรมดังกล่าวได้ดี นกั ศกึ ษาจงึ สามารถพูดคุย ปรึกษา สง่ ผลใหน้ ักศึกษา
สามารถเข้าใจข้อควรปฏิบัติต่าง ๆ และข้อควรระวังในการปฏิบัติสหกิจศึกษาได้เปน็ อย่างดี และสามารถสืบค้น
สถานประกอบการทีส่ นใจ และสามารถโทรตดิ ต่อสถานประกอบการเพ่ือขอเข้าปฏิบตั สิ หกิจศึกษาได้

การปรับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เนื่องจาก อาจารย์พิสิฐ พรพงศ์เตชวาณิช ได้ลาศึกษาต่อนั้น ทาให้มี
อาจารยผ์ ู้สอนในรายวิชาน้นั และไม่สง่ ผลกระทบตอ่ กระบวนการเรียนการสอนของสาขาวชิ าฯ

สรุปผลการประเมนิ ตนเองตามตัวบ่งชี้ที่ 5.2 : การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน

(กระบวนการ)

เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย

 บรรลุ  ไมบ่ รรลุ

4 คะแนน ............ คะแนน 4 คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 125

ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผเู้ รียน

ชนดิ ของตัวบ่งชี้ กระบวนการ

5.3-1 การประเมินผลการเรียนร้ตู ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ

เกณฑก์ ารประเมนิ /ผลการดาเนินงาน
1 การประเมินผลการเรยี นรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome) ที่กาหนดตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย
ผลการประเมนิ จากการกาหนดใน มคอ. 2 มีรายละเอยี ด ดังน้ี

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554

Domain วิธกี ารสอน/จัดการเรยี นรู้ วธิ ีวัดและประเมนิ ผล
1. ประเมินจากการตรงเวลาของ
1. คุณธรรม กาหนดให้มวี ฒั นธรรมองคก์ ร เพ่ือเปน็ การปลูกฝังให้
นกั ศึกษาในการเข้าชัน้ เรียน การสง่
จริยธรรม นักศึกษามีระเบยี บวินยั โดยเน้นการเข้าช้ันเรยี นใหต้ รง งานตามกาหนดระยะเวลาที่
มอบหมายและการรว่ มกิจกรรม
เวลาตลอดจนการแตง่ กายทเี่ ป็นไปตามระเบยี บของ 2. ประเมินจากการมวี ินยั และพร้อม
เพรยี งของนักศึกษาในการเขา้ รว่ ม
มหาวิทยาลยั นักศึกษาต้องมีความรับผดิ ชอบโดยในการ กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร
3. ปริมาณการกระทาทจุ รติ ในการสอบ
ทางานกล่มุ นนั้ ตอ้ งฝกึ ใหร้ หู้ นา้ ท่ขี องการเปน็ ผนู้ ากลมุ่ 4. ประเมนิ จากความรบั ผดิ ชอบใน
หน้าทท่ี ่ไี ดร้ บั มอบหมาย
และการเปน็ สมาชิกกลมุ่ มคี วามซอ่ื สัตยโ์ ดยต้องไม่
1. การทดสอบย่อย
กระทาการทจุ ริตในการสอบหรือลอกการบา้ นของผ้อู ื่น

เป็นต้น นอกจากนี้อาจารยผ์ สู้ อนทกุ คนต้องสอดแทรก

เรอ่ื งคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมท้ังมี

การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม เช่น การยก

ยอ่ งนกั ศึกษาทที่ าดี ทาประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวม เสียสละ

2. ความรู้ ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรปู แบบ โดยเน้น

หลักการทางทฤษฎี และประยุกตท์ างปฏบิ ัตใิ น

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 126

เกณฑ์การประเมนิ /ผลการดาเนินงาน

สภาพแวดล้อมจรงิ โดยทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงทาง 2. การสอบกลางภาคเรยี นและปลาย

เทคโนโลยี ทง้ั น้ีใหเ้ ปน็ ไปตามลักษณะของรายวชิ า ภาคเรยี น

ตลอดจนเนอื้ หาสาระของรายวิชานัน้ ๆ นอกจากนค้ี วร 3. ประเมนิ จากรายงานทน่ี กั ศึกษา

จดั ให้มกี ารเรยี นรู้จากสถานการณจ์ ริงโดยการศกึ ษาดู จดั ทา

งานหรอื เชญิ ผเู้ ชีย่ วชาญทม่ี ปี ระสบการณต์ รงมาเป็น 4. ประเมนิ จากแผนธรุ กิจหรือโครงการ

วิทยากรพเิ ศษเฉพาะเรือ่ ง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานใน ที่นาเสนอ

สถานประกอบการ 5. ประเมนิ จากการนาเสนอรายงานใน

ชัน้ เรียน

6. ประเมินจากกลมุ่ วิชาฝึก

ประสบการณท์ างวิชาชพี

3. ทกั ษะทาง 1. กรณศี กึ ษาทางการประยุกต์เทคโนโลยสี ารสนเทศ ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และ
ปญั ญา
2. การอภปิ รายกลมุ่ การปฏิบัตขิ องนักศกึ ษา เชน่ ประเมิน
4. ทักษะความ
สมั พนั ธร์ ะหวา่ ง 3. ใหน้ ักศกึ ษามโี อกาสปฏิบัติจรงิ จากการนาเสนอรายงานในช้ันเรยี น การ
บุคคลและความ
รบั ผดิ ชอบ ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบหรือ

5. ทกั ษะการ สัมภาษณ์ เป็นต้น
วิเคราะหเ์ ชงิ
ตวั เลข การ ใช้การสอนที่มีการกาหนดกิจกรรมให้มีการทางานเป็น ประเมนิ จากพฤตกิ รรมและการ
สอื่ สารและการ
ใช้เทคโนโลยี กลมุ่ การทางานที่ตอ้ งประสานงานกับผ้อู นื่ ข้ามหลักสตู ร แสดงออกของนักศึกษาในการนาเสนอ
สารสนเทศ
หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น รายงานกลุ่มในชน้ั เรียน และสงั เกตจาก
6. ทักษะพสิ ยั
หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการ พฤติกรรมท่แี สดงออกในการรว่ ม

เรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและ กิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วน

ความสามารถในการรบั ผิดชอบ ดังนี้ ชดั เจนตรงประเดน็ ของขอ้ มูล

1. สามารถทางานกับผูอ้ ื่นได้เปน็ อย่างดี

2. มีความรบั ผิดชอบตอ่ งานที่ได้รับมอบหมาย

3. สามารถปรบั ตัวเข้ากบั สถานการณแ์ ละวฒั นธรรม

องค์กรทไี่ ปปฏบิ ัติงานไดเ้ ป็นอยา่ งดี

4. มีมนุษยสมั พนั ธท์ ี่ดกี ับผรู้ ว่ มงานในองคก์ รและกบั

บคุ คลทัว่ ไป

5. มีภาวะผูน้ า

จัดกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ นรายวิชาตา่ งๆ ใหน้ ักศึกษาได้ ประเมินจากเทคนคิ การนาเสนอโดยใช้

วเิ คราะหส์ ถานการณ์จาลอง และสถานการณเ์ สมอื นจรงิ ทฤษฎี การเลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื ทาง

และนาเสนอการแก้ปญั หาท่เี หมาะสม เรยี นรเู้ ทคนคิ การ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์

ประยกุ ตเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศในหลากหลาย และสถติ ิ ที่เกีย่ วข้อง

สถานการณ์ 1. ประเมินจากความสามารถในการ

อธิบาย ถึงขอ้ จากัด เหตผุ ลในการ

เลอื กใช้เครื่องมอื ตา่ งๆ การอภปิ ราย

กรณศี ึกษาต่าง ๆ ท่ีมีการนาเสนอ

ตอ่ ชน้ั เรียน

สามารถปฏบิ ัติงานทางด้านเทคโนโลยเี ฉพาะทาง - พิจารณาผลการปฎิบตั ิงาน และงานที่

ได้รบั มอบหมาย

- ให้หน่วยงานที่มนี กั ศึกษาเขา้ สหกจิ

รว่ มประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะผล

การฝึกสหกิจ

หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 127

เกณฑ์การประเมิน/ผลการดาเนินงาน

Domain วิธกี ารสอน/จดั การเรยี นรู้ วิธีวัดและประเมนิ ผล

1. คุณธรรม กาหนดให้มวี ัฒนธรรมองค์กร เพือ่ เป็นการปลกู ฝงั ให้ 1. ประเมินจากการตรงเวลาของ
จรยิ ธรรม
นกั ศึกษามีระเบยี บวินัย โดยเน้นการเขา้ ชั้นเรยี นใหต้ รง นักศึกษาในการเขา้ ช้ันเรียน การสง่
2. ความรู้
เวลาตลอดจนการแต่งกายท่ีเป็นไปตามระเบยี บของ งานตามกาหนดระยะเวลาที่
3. ทักษะทาง
ปญั ญา มหาวิทยาลยั นักศกึ ษาต้องมีความรับผดิ ชอบโดยในการ มอบหมายและการรว่ มกจิ กรรม

4. ทักษะความ ทางานกลมุ่ นน้ั ตอ้ งฝึกใหร้ หู้ นา้ ที่ของการเปน็ ผูน้ ากลมุ่ 2. ประเมินจากการมีวนิ ัยและพรอ้ ม
สัมพนั ธร์ ะหว่าง
บคุ คลและความ และการเปน็ สมาชกิ กลมุ่ มคี วามซอื่ สัตยโ์ ดยตอ้ งไม่ เพรยี งของนกั ศึกษาในการเขา้ ร่วม
รับผิดชอบ
กระทาการทุจรติ ในการสอบหรอื ลอกการบ้านของผู้อ่นื กิจกรรมเสริมหลักสตู ร
5. ทกั ษะการ
วิเคราะหเ์ ชิง เปน็ ต้น นอกจากนี้อาจารย์ผสู้ อนทกุ คนต้องสอดแทรก 3. ปรมิ าณการกระทาทุจรติ ในการสอบ
ตวั เลข การ
สื่อสารและการ เรือ่ งคุณธรรม จรยิ ธรรมในการสอนทกุ รายวิชา รวมทง้ั มี 4. ประเมนิ จากความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่

การจดั กิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เช่น การยก ที่ได้รับมอบหมาย

ย่องนกั ศึกษาทีท่ าดี ทาประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวม เสยี สละ

ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรปู แบบ โดยเน้น 1. การทดสอบยอ่ ย

หลักการทางทฤษฎี และประยกุ ตท์ างปฏบิ ัติ ใน 2. การสอบกลางภาคเรยี นและปลาย

สภาพแวดล้อมจริง โดยทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงทาง ภาคเรยี น

เทคโนโลยี ทงั้ นีใ้ ห้เป็นไปตามลักษณะของรายวชิ า 3. ประเมนิ จากรายงานที่นักศกึ ษาจดั ทา

ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวชิ านนั้ ๆ นอกจากนี้ควร 4. ประเมินจากแผนธุรกจิ หรือโครงการที่

จัดใหม้ ีการเรยี นรู้จากสถานการณจ์ ริงโดยการศกึ ษาดู นาเสนอ

งาน หรือเชิญผ้เู ชย่ี วชาญทมี่ ีประสบการณต์ รงมาเปน็ 5. ประเมินจากการนาเสนอรายงานใน

วทิ ยากรพิเศษเฉพาะเรอื่ ง ตลอดจนการฝึกปฏิบัตงิ านใน ชัน้ เรียน

สถานประกอบการ 6. ประเมนิ จากกลุ่มวิชาฝึก

ประสบการณท์ างวชิ าชพี

- กรณศี กึ ษาทางการประยกุ ตเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ประเมนิ ตามสภาพจริงจากผลงาน และ

- การอภิปรายกลุม่ การปฏบิ ตั ิของนกั ศกึ ษา เชน่ ประเมนิ

- ใหน้ กั ศกึ ษามีโอกาสปฏิบตั ิจริง จากการนาเสนอรายงานในช้ันเรยี น การ

- การทาโครงงานเพ่อื เข้าประกวดหรือแข่งขนั ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือ

สมั ภาษณ์ เปน็ ตน้

ใช้การสอนที่มีการกาหนดกิจกรรมให้มีการทางานเป็น ประเมินจากพฤตกิ รรมและการ

กลุม่ การทางานท่ีต้องประสานงานกับผอู้ ่ืนขา้ มหลกั สูตร แสดงออกของนักศกึ ษาในวชิ า

หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น ปฎบิ ัตงิ านที่ต้องทางานเปน็ กลมุ่

หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการ ประเมนิ การนาเสนอรายงานกล่มุ ในชน้ั

เรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและ เรียน และสงั เกตจากพฤตกิ รรมที่

ความสามารถในการรบั ผิดชอบ ดงั น้ี แสดงออกในการรว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ และ

1. สามารถทางานกบั ผอู้ นื่ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ความครบถว้ นชัดเจนตรงประเดน็ ของ

2. มีความรบั ผิดชอบต่องานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ขอ้ มูล

3. สามารถปรบั ตัวเข้ากบั สถานการณ์และวฒั นธรรม

องค์กรทไ่ี ปปฏิบตั งิ านได้เปน็ อยา่ งดี

4. มมี นุษยสมั พนั ธ์ท่ีดีกบั ผรู้ ว่ มงานในองคก์ รและกบั

บคุ คลทวั่ ไป

5. มีภาวะผูน้ า

จดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นรายวิชาตา่ งๆ ใหน้ ักศึกษาได้ - ประเมินจากเทคนคิ การนาเสนอโดย

วเิ คราะหส์ ถานการณ์จาลอง และสถานการณ์เสมือนจรงิ ใชท้ ฤษฎี การเลือกใช้เคร่ืองมือทาง

และนาเสนอการแกป้ ญั หาที่เหมาะสม เรียนรเู้ ทคนคิ การ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ

คณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิ ทีเ่ ก่ียวข้อง

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 128

เกณฑก์ ารประเมิน/ผลการดาเนินงาน

ใช้เทคโนโลยี ประยุกตเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศในหลากหลาย - ประเมนิ จากความสามารถในการ
สารสนเทศ
สถานการณ์ อธบิ าย ถงึ ข้อจากดั เหตุผลในการ
6.ทักษะการปฏบิ ตั ิ
ทางวชิ าชพี เลือกใชเ้ คร่อื งมอื ตา่ งๆ การอภิปราย
(ทักษะพสิ ยั )
กรณศี กึ ษาต่าง ๆ ทีม่ กี ารนาเสนอต่อ

ช้ันเรียน

1. ฝึกปฏบิ ตั ิการใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์พืน้ ฐานรวมถงึ - พจิ ารณาผลการปฎิบตั งิ าน และงานท่ี

เทคโนโลยีเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไดร้ บั มอบหมาย

และปลอดภัย - ส่งเสรมิ ให้บคุ ลากรภายนอก สถาน

2. ฝึกการบริหารจดั การ การวางแผน การบรหิ ารความ ประกอบการเขา้ รว่ มประเมินผลการฝึก

เสยี่ ง รวมทงั้ การปรับปรงุ พัฒนาระบบการทางานอยา่ ง ทักษะในการปฎบิ ตั ทิ างวิชาชีพ

ตอ่ เนอ่ื ง - สร้างแบบฟอรม์ ประวตั นิ ักศกึ ษาท่ี

3. บูรณาการการเรียนรรู้ ่วมกับการทางาน ไดร้ ับคาชม/ไดร้ างวัล

4. ฝึกปฏบิ ัตกิ ารทางานรูปแบบโครงงาน (Project - ให้หนว่ ยงานท่มี นี ักศึกษาเข้าสหกจิ

oriented) รว่ มประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านทักษะผล
การฝกึ สหกิจ
5. ฝึกปฏิบตั ิงานจรงิ ในสถานประกอบการ

ในปกี ารศึกษา 2563 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและ

เทคโนโลยี ได้จัดการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน 6 ด้าน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ตามที่ระบไุ ว้ใน มคอ. 2 ตามกระบวนการ ดังน้ี

1. ท่ีประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร กากับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนรายวิชาตามที่ระบุไว้
ใน มคอ. 3 และ มคอ. 4

2. อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการเรียนตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในแบบของ มคอ. 3 และ มคอ. 4
ประมวลผล และการรายงานผลดาเนินงานตามแบบของ มคอ. 5 และ มคอ. 6 โดยอาจารย์ผู้สอน
จดั ทา มคอ. 5 และ มคอ. 6 รวบรวมสง่ ท่สี าขาวชิ าตามระยะเวลาทก่ี าหนด คือ

รายละเอียด ภาคการเรยี นท่ี ภาคการเรยี นที่ ภาคการเรียนที่ หมายเหตุ
กาหนดส่ง มคอ.3 -4 1/2564 2/2564 3/2564
สง่ ก่อน 3 สัปดาห์ก่อน
28 พ.ค. 2564 15 ต.ค. 2564 4 ก.พ. 2564 เ ปิ ด ภ า ค ก า ร ศึ ก ษ า
น้นั ๆ
เปดิ ภาคการศกึ ษา 21 ม.ิ ย. 2564 8 พ.ย. 2564 28 ม.ี ค. 2565
สิน้ สดุ ภาคการศกึ ษา 19 ต.ค. 2564 7 มี.ค. 2565 30 พ.ค. 2565 ส่งภายใน 30 วันนับ
กาหนดสง่ มคอ.5-6 30 พ.ย. 2564 15 เม.ย. 2565 8 ก.ค. 2565 จ า ก ส้ิ น สุ ด ภ า ค
การศึกษาน้ันๆ

3. นักศึกษาประเมนิ อาจารย์ผู้สอนและสิ่งสนบั สนุนการเรยี นการสอนผ่านระบบลงทะเบยี น
4. คณะกรรมการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิ (แต่งตงั้ จากอาจารย์ประจาหลักสตู ร) จัดทาผลการทวนสอบ
5. ที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร และท่ีประชุมกรรมการบริหารคณะ ให้ความเห็นชอบผล

การเรียน ผลการประเมินอาจารย์ผู้สอน และส่ิงสนับสนุนการเรียนการสอน และมีข้อเสนอแนะเพ่ือ
การพฒั นาปรับปรุง

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 129

เกณฑก์ ารประเมิน/ผลการดาเนนิ งาน
6. ที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร และคณะกรรมการบริหารคณะฯ ให้ความเห็นชอบผล

การดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนรายวิชาตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 และมีข้อเสนอแนะ
เพ่อื การพัฒนาปรับปรุง
7. ที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตรหลักสูตรให้ความเห็นชอบผลการทวนสอบฯ พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อ
การปรับปรงุ
8. หลักสูตรจัดทาผลการดาเนินงานหลักสูตรตามแบบ มคอ. 7 เพื่อประเมินหลักสูตร ซ่ึงจะดาเนินการเมื่อ
ส้ินภาคการศึกษาท่ี 3/2564
9. ที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร ให้ความเห็นชอบผลการดาเนินงานหลักสูตรตามแบบ มคอ. 7
พร้อมขอ้ เสนอแนะเพอื่ การปรบั ปรุง ซง่ึ จะได้ดาเนนิ งานตามแผน เม่อื ส้นิ ภาคการศกึ ษาที่ 3/2564
สรปุ ผลการดาเนินงาน/การประเมนิ กระบวนการ/ผลการปรบั ปรุงกระบวนการ
ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการประเมินผลการ

เรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ ทั้งหมด 6 ด้าน ประกอบด้วย

1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
2. ด้านความรู้
3. ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา
4. ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ
5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การส่ือสารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
6. ทกั ษะการปฏบิ ตั ทิ างวชิ าชพี (ทกั ษะพสิ ยั )
ผลของการกากับติดตามและตรวจสอบการจัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ. 5) และ

รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 6) ทาให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละท่านจัดทา มคอ. 5

และ มคอ. 6 สาเรจ็ ตามกาหนดครบทกุ รายวชิ า

2 การตรวจสอบการประเมินผลการเรยี นร้ขู องนกั ศึกษา
1. ผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (นักศึกษาประเมนิ ตนเอง/ข้อมลู เชิงปริมาณ)

ภาคเรยี นท่ี 1/2564 หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 จานวน 5 วิชา

การทวนสอบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ค่าเฉลี่ย ระดับ
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ 6 ดา้ น การเรยี นรู้

1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 4.47 ดี
ดี
2. ความรู้ 4.38 ดมี าก
ดี
3. ทักษะทางปัญญา 4.57 ดี
ดี
4. ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 4.48 ดี

5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอ่ื สารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 4.24

6. ทกั ษะการปฏบิ ตั ดิ า้ นวิชาชีพ (ทกั ษะพิสยั ) 4.48

คา่ คะแนนรวมเฉลยี่ 4.44

ภาคเรียนท่ี 2/2564 หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560 จานวน 5 วชิ า คา่ เฉลย่ี ระดบั
การเรยี นรู้
การทวนสอบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 4.41
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ 6 ดา้ น 4.45 ดี

1. คุณธรรม จรยิ ธรรม ดี
2. ความรู้

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 130

เกณฑ์การประเมนิ /ผลการดาเนนิ งาน

3. ทักษะทางปัญญา 4.48 ดี
ดมี าก
4. ทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 4.60
ดี
5. ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.49 ดี
ดี
6. ทกั ษะการปฏบิ ตั ดิ ้านวิชาชีพ (ทักษะพิสยั ) 4.47

คา่ คะแนนรวมเฉลย่ี 4.48

2. พิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบให้เป็นไปตามแผนการสอน มีการประเมินข้อสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ

ภายนอก

ในกระบวนการการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศึกษายังไม่สาเร็จการศึกษา หลักสูตร

เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มีการ พิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบให้เป็นไปตาม

แผนการสอนในรายวิชานั้นๆ โดยใหผ้ ู้ทรงคณุ วุฒิภายนอก เป็นผู้พจิ ารณา เป็นอาจารย์จากสาขาวิชาเทคโนโลยี

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี

การพิจารณาความเหมาะสมของขอ้ สอบ ได้มีการพิจารณาข้อสอบ ของภาคการศึกษาท่ี 1/2563 กลาง

ภาค จานวน 30 รายวชิ า ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

ภาคเรียนท่ี1/2563 (กลางภาค)

ประเดน็ การทวนสอบ คา่ เฉลยี่ ระดับการเรียนรู้

1.ความชดั เจนของคาสง่ั 3.00

2.ความชัดเจนของโจทย์ 2.75

3.ข้อสอบมกี ารวดั ครอบคลมุ : ความรคู้ วามจา 2.81

4.ข้อสอบมกี ารวัดครอบคลมุ : ความเข้าใจ 2.69

5.ขอ้ สอบมกี ารวัดครอบคลมุ : การนาไปใช้ 2.63

6.ขอ้ สอบมีการวดั ครอบคลมุ : การวเิ คราะห์ 2.81

7.ขอ้ สอบมีการวดั ครอบคลมุ : การสงั เคราะห์ 2.50

8.ขอ้ สอบครอบคลมุ เนอื้ หา (ความตรงเชงิ เนอื้ หา) 2.75

9.ความเหมาะสมของขอ้ สอบกับคะแนน 2.69

10.ความเหมาะสมของข้อสอบกบั เวลา 2.69

รวมเฉลย่ี 2.73

การพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบ ปลายภาค ประจาภาคการศึกษา 1/2564 ตามรายละเอียด

ตอ่ ไปนี้

ภาคเรียนท่ี1/2563 (ปลายภาค)

ประเดน็ การทวนสอบ ค่าเฉลี่ย ระดบั การเรียนรู้

1.ความชัดเจนของคาส่งั 3.00

2.ความชัดเจนของโจทย์ 2.95

3.ข้อสอบมีการวดั ครอบคลมุ : ความรู้ความจา 2.53

4.ขอ้ สอบมกี ารวดั ครอบคลมุ : ความเข้าใจ 2.53

5.ข้อสอบมกี ารวัดครอบคลมุ : การนาไปใช้ 2.74

6.ข้อสอบมกี ารวัดครอบคลมุ : การวิเคราะห์ 2.79

7.ขอ้ สอบมกี ารวัดครอบคลมุ : การสังเคราะห์ 2.53

8.ข้อสอบครอบคลมุ เน้ือหา (ความตรงเชงิ เน้อื หา) 2.63

9.ความเหมาะสมของขอ้ สอบกบั คะแนน 2.68

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 131

เกณฑก์ ารประเมิน/ผลการดาเนินงาน

10.ความเหมาะสมของข้อสอบกับเวลา 3.00

รวมเฉลีย่ 2.74

การพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบ กลางภาค ประจาภาคการศึกษา 2/2564 ตามรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

ภาคเรยี นท่ี 2/2563 (กลางภาค)

ประเด็นการทวนสอบ คา่ เฉลยี่ ระดับการเรียนรู้

1.ความชดั เจนของคาสั่ง 3.00

2.ความชดั เจนของโจทย์ 2.86

3.ขอ้ สอบมีการวดั ครอบคลมุ : ความรคู้ วามจา 2.64

4.ข้อสอบมีการวดั ครอบคลมุ : ความเข้าใจ 2.55

5.ขอ้ สอบมีการวดั ครอบคลมุ : การนาไปใช้ 2.86

6.ข้อสอบมีการวดั ครอบคลมุ : การวิเคราะห์ 2.64

7.ข้อสอบมีการวดั ครอบคลมุ : การสังเคราะห์ 2.64

8.ขอ้ สอบครอบคลมุ เนือ้ หา (ความตรงเชงิ เนอ้ื หา) 2.73

9.ความเหมาะสมของข้อสอบกับคะแนน 2.68

10.ความเหมาะสมของขอ้ สอบกบั เวลา 2.91

รวมเฉลย่ี 2.75

การพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบ ปลายภาค ประจาภาคการศึกษา 2/2564 ตามรายละเอียดตอ่ ไปนี้

ภาคเรียนท่ี 2/2563 (ปลายภาค)

ประเด็นการทวนสอบ คา่ เฉลย่ี ระดับการเรียนรู้

1.ความชัดเจนของคาสั่ง 2.96

2.ความชดั เจนของโจทย์ 2.63

3.ข้อสอบมกี ารวัดครอบคลมุ : ความรู้ความจา 2.71

4.ข้อสอบมีการวดั ครอบคลมุ : ความเขา้ ใจ 2.79

5.ขอ้ สอบมกี ารวดั ครอบคลมุ : การนาไปใช้ 2.63

6.ข้อสอบมีการวัดครอบคลมุ : การวเิ คราะห์ 2.88

7.ข้อสอบมกี ารวัดครอบคลมุ : การสงั เคราะห์ 2.67

8.ขอ้ สอบครอบคลมุ เนื้อหา (ความตรงเชงิ เนอ้ื หา) 2.71

9.ความเหมาะสมของขอ้ สอบกบั คะแนน 2.83

10.ความเหมาะสมของขอ้ สอบกับเวลา 2.97

รวมเฉล่ยี 2.78

สรุปผลการดาเนินงาน/การประเมนิ กระบวนการ/ผลการปรบั ปรงุ กระบวนการ
กาลงั ดาเนินการ

3 การกากับการประเมนิ การจัดการเรียนการสอนและประเมนิ หลกั สูตร (มคอ. 5 และ มคอ. 7)

การกากบั ผูต้ รวจสอบ/กากับ วิธีการ ระยะเวลา
การประเมนิ ตดิ ตาม
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา ภายใน 30 วัน
มคอ. 5 อาจารยป์ ระจาหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนดจัดทารายงานผลการดาเนินการ หลังสิ้นสดุ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 132

เกณฑก์ ารประเมนิ /ผลการดาเนนิ งาน

ของรายวิชา (มคอ. 5) และรายงานผลการดาเนินการของ ภ า ค เ รี ย น ท่ี

ประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 6) ให้ครบทุกรายวิชา ทั้งน้ี 1/2564

หากไม่มกี ารนาสง่ ภายในระยะเวลาทกี่ าหนด มติท่ปี ระชมุ ให้มี 2/2564 และ

ผลต่อการพจิ ารณาผลการปฏบิ ัตงิ านหรือการปรบั ข้ันเงนิ เดอื น 3/2564

ตอ่ ไป

มคอ. 6 อาจารย์ประจาหลักสตู ร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา ภายใน 30 วนั

เทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนดจดั ทารายงานผลการดาเนนิ การ หลงั สน้ิ สดุ

ของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 6) ท้ังนี้หากไม่มีการนาส่ง ภาคเรยี นที่

ภายในระยะเวลาที่กาหนด มติที่ประชุมให้มีผลต่อการ 1/2564

พจิ ารณาผลการปฏบิ ัตงิ านหรือการปรับข้นั เงินเดือนตอ่ ไป

มคอ. 7 อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา ภายใน 60 วัน

เทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนดจดั ทารายงานผลการดาเนนิ การ หลงั สน้ิ สุดปี

ของหลกั สูตร (มคอ.7) การศึกษา

2564

สรุปผลการดาเนินงาน/การประเมนิ กระบวนการ/ผลการปรับปรงุ กระบวนการ
ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ไ ด้ พิ จ า ร ณ า ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น ก า ร ก า กั บ ก า ร ป ร ะเ มิ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะป ร ะเ มิ น ห ลั ก สู ต ร
ตาม มคอ. 5/มคอ. 6/มคอ. 7 ประจาปกี ารศึกษา 2563 พบว่า สามารถดาเนนิ การได้ตามขั้นตอนและระยะเวลา
ที่กาหนด ทั้งน้ีที่ประชุมฯ จึงได้ให้ความเห็นร่วมกันเพ่ิมเติมว่า อาจารย์ผู้สอนมีความกระตือรือร้นในการส่งผล
การดาเนินงานตามแบบ มคอ. 5/มคอ. 6/มคอ. 7 ในเวลาที่กาหนดอย่างเคร่งครัด เพื่อการกากับ ดูแล และ
ทบทวนการจดั ทา มคอ. 5/มคอ. 6/มคอ. 7 ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน

ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มีการวางแผน
การกากับและติดตามการส่งผลการดาเนนิ งานตามแบบ มคอ. 5/มคอ. 6/มคอ. 7 ในเวลาทก่ี าหนด

สรุปผลการประเมนิ ตนเองตามตัวบง่ ช้ีท่ี 5.3 : การประเมนิ ผเู้ รยี น (กระบวนการ)

เป้าหมาย (คะแนน) ผลการดาเนินงาน (คะแนน) ผลการประเมนิ (คะแนน) บรรลุเปา้ หมาย

 บรรลุ  ไม่บรรลุ

3 คะแนน ............ คะแนน 3 คะแนน

ตวั บง่ ชี้ 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ชนิดตวั บ่งช้ี ผลลัพธ์

ตวั บ่งช้ี 5.4 ผลการดาเนนิ งานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ
เกณฑ์การประเมนิ /ผลการดาเนนิ งาน

1 ผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 133

เกณฑก์ ารประเมิน/ผลการดาเนนิ งาน

KPI ที่ต้อง เปรียบเทยี บผลการ
ดาเนนิ งานกับ
ดชั นีบง่ ช้ีผลการดาเนินงาน ดาเนินการ ผลการดาเนนิ งานและเอกสารอา้ งองิ / เกณฑ์
(Key Performance Indicators) ในปี หลกั ฐาน ผา่ น ไม่ผ่าน
เกณฑ์ เกณฑ์
1. อาจารยป์ ระจาหลักสตู รอย่าง การศกึ ษา
นอ้ ยร้อยละ 80 มีสว่ นรว่ มใน 
การประชุมเพอ่ื วางแผน 2559
ตดิ ตาม และทบทวนการ 
ดาเนินงานหลกั สตู ร  ในปกี ารศกึ ษา 2564 อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร

2. มีรายละเอยี ดของหลักสตู ร เทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
ตามแบบ มคอ.2 ทสี่ อดคล้อง 
กบั กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ สารสนเทศ ทัง้ 5 ท่าน ไดเ้ ขา้ รว่ มประชุม
แหง่ ชาติ หรือ มาตรฐาน 
คณุ วุฒิสาขา/สาขาวชิ า (ถา้ มี) วางแผน ติดตามและทบทวนการดาเนนิ งาน

3. มีรายละเอียดของรายวชิ า หลกั สตู ร จานวน 2 ครงั้ ต่อภาคการศึกษา
และรายละเอยี ดของ
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถา้ มี) และอีก 2 คร้ังของภาคการศึกษาที่ 3 รวม 4
ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4
อยา่ งนอ้ ยก่อนการเปดิ สอนใน คร้ัง คิดเป็นร้อยละ 100
แตล่ ะภาคการศึกษาใหค้ รบทุก
รายวิชา  มติสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล

4. จัดทารายงานผลการ รัตนโกสินทร์ พจิ ารณาเหน็ ชอบหลักสูตร
ดาเนนิ การของรายวชิ า และ
รายงานผลการดาเนนิ การของ เทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยี
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถา้ มี)
ตามแบบ มคอ. 5 และ มคอ. สารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
6 ภายใน 30 วัน หลงั สน้ิ สุด
ภาคการศึกษาทเ่ี ปิดสอนให้ การประชุมสภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าช
ครบทุกรายวิชา
มงคลรตั นโกสินทร์ คร้ังที่ 6/2560 เมอื่ วนั ที่
5. จดั ทารายงานผลการ
ดาเนนิ การของหลกั สูตร ตาม เสาร์ ท่ี 24 เดอื นมิถุนายน พ.ศ. 2560
แบบ มคอ. 7 ภายใน 60 วัน
หลงั สิ้นสดุ ปีการศกึ ษา  ในปกี ารศึกษา 2564 หลกั สตู รเทคโนโลยี

บัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ มี

รายวิชาทเ่ี ปดิ สอนท้ังสนิ้ จานวน 62 รายวิชา

ดงั น้ี

- ภาคการศึกษาที่ 1/2564 มคอ. 3

จานวน 27 รายวชิ า และ มคอ. 4 จานวน 1

รายวชิ า

- ภาคการศกึ ษาท่ี 2/2564 มคอ. 3

จานวน 30 รายวิชา

ทัง้ นี้อาจารยผ์ สู้ อนไดส้ ่ง มคอ. 3 และ

มคอ. 4 ก่อนการเปิดสอนในแตล่ ะภาค

การศึกษาครบทุกรายวชิ า

 ในปีการศกึ ษา 2564 อาจารย์ประจาหลกั สตู ร

เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี

สารสนเทศ มีการจัดทารายงานผลการ

ดาเนินการของรายวชิ า (มคอ. 5) และรายงาน

ผ ล ก า ร ด า เ นิ น กา ร ขอ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์

ภาคสนาม (มคอ. 6) ทั้งนี้อาจารย์ผู้สอนได้ส่ง

มคอ. 5 และ มคอ. 6 หลงั สิน้ สดุ ภาคการศกึ ษา

ทั้ง 2 ภาคการศึกษาครบทุกรายวิชาภายใน 30

วัน แยกเป็นภาคการศึกษาตามข้อ 3

 ในปกี ารศกึ ษา 2564 อาจารย์ประจาหลักสูตร

เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี

สารสนเทศ มีการประชมุ เพ่อื จดั ทารายงานผล

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 134

6. มกี ารทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ของ เกณฑก์ ารประเมิน/ผลการดาเนนิ งาน 
นกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการ 
เรยี นรู้ ท่ีกาหนดใน มคอ. 3 การดาเนนิ การของหลกั สตู ร (มคอ. 7) หลัง
อย่างนอ้ ยร้อยละ 25 ของ ประกาศผลการศกึ ษาภายใน 60 วัน 
รายวิชาทเ่ี ปิดสอนในแต่ละปี  ในปกี ารศึกษา 2564 หลักสตู รเทคโนโลยี 
การศกึ ษา บัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ มี
รายวิชาท่ีเปดิ สอนทั้งส้นิ จานวน 62 รายวิชา มี
7. มกี ารพฒั นา/ปรบั ปรงุ การ การทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิจานวน 22 รายวชิ า
จัดการเรยี นการสอน กลยทุ ธ์ คดิ เปน็ ร้อยละ 35.48
การสอน หรอื การประเมนิ ผล
การเรยี นรู้ จากผลการประเมนิ  ในรายวิชา IFT 2215 แนวคิดระบบฐานขอ้ มูล
การดาเนนิ งานที่รายงานใน ได้มีการปรบั ปรงุ เน้ือหาสาระของรายวิชา โดย
มคอ. 7 ปที แี่ ล้ว เพ่มิ เตมิ บทเรียนเก่ียวกับ ทฤษฎีและความรใู้ น
เรอ่ื งของฐานข้อมูล NOSql และการวเิ คราะห์
8. อาจารยใ์ หม่ (ถ้ามี) ทุกคน ข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) เพอื่ ปรับปรุง
ได้รับการปฐมนเิ ทศหรอื เนื้อหาให้ทันสมยั ตามความกา้ วหน้าในศาสตร์
คาแนะนาดา้ นการจัดการเรยี น วชิ านน้ั ๆ กาหนดแผน กลยุทธ์ และการบริการ
การสอน วชิ าการรายวิชาเน้นใหน้ ักศึกษาไดม้ กี ารปฏบิ ตั ิ
จรงิ
9. อาจารยป์ ระจาหลักสตู รทกุ คน IDT 4301 การเป็นผปู้ ระกอบการเพอ่ื สรา้ ง
ได้รบั การพฒั นาทางวิชาการ ธรุ กิจใหม่ ได้มกี ารปรบั ปรงุ เน้ือหาสาระของ
และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปี รายวิชา โดยเพ่ิมเตมิ บทเรยี นเกยี่ วกบั ทฤษฎี
ละหน่ึงครัง้ และความรู้ในเรื่องของฐานข้อมลู STARTup
เพอ่ื ปรบั ปรุงเน้ือหาใหท้ นั สมยั ตาม
10. จานวนบคุ ลากรสนบั สนุนการ ความก้าวหน้าในศาสตรว์ ิชานน้ั ๆ กาหนดแผน
เรยี นการสอน (ถา้ มี) ไดร้ ับการ กลยทุ ธ์ และการบรกิ ารวชิ าการรายวิชาเน้นให้
พฒั นาวชิ าการ และ/หรอื นักศึกษาไดม้ กี ารปฏิบตั ิจริง
อาจารย์ใหม่ 1 คน ไดแ้ ก่
1. ดร.จกั รพงษ์ พลพงษ์
โดยมีหัวหนา้ สาขาฯ และอาจารยท์ ไ่ี ดร้ ับการ
แต่งต้ังใหเ้ ปน็ พีเ่ ลยี้ งในการปฐมนิเทศและให้
คาแนะนาด้านการจัดกระบวนการเรียนการ
สอน

 อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทง้ั 5 คน ได้รบั การ
พัฒนาทางวิชาการและวชิ าชีพ โครงการ
สัมมนาและศึกษาดงู านด้านการบรหิ ารองคก์ ร
และเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน ครงั้ ที่
2 ดังนี้
1. นายนพศักด์ิ ตันตสิ ตั ยานนท์
2. นายเอกรินทร์ วิจิตต์พนั ธ์
3. นางสาววลิ าวรรณ สุขชนะ
4. นายสมพร พึ่งสม
5. นางสาวนภารตั น์ ชูไพร
ไมม่ ี

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 135

เกณฑ์การประเมิน/ผลการดาเนินงาน

วิชาชีพ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 50

ต่อปี

11. ระดับความพงึ พอใจของ  มีการจดั ทาแบบสารวจความพงึ พอใจของ 

นกั ศกึ ษาปีสดุ ทา้ ย/บณั ฑติ ใหม่ นกั ศึกษาปีสุดท้าย/บณั ฑิตใหม่ทม่ี ตี อ่ คุณภาพ 

ทมี่ ตี ่อคุณภาพหลักสูตร เฉลยี่ ของหลกั สูตร โดยมีผลการประเมนิ ความพงึ 11
5
ไมน่ อ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนน พอใจคดิ เป็นคา่ เฉล่ยี เทา่ กบั 4.35 อย่ใู น 100
11
เตม็ 5.0 ระดับมากท่ีสดุ 100

12. ระดับความพงึ พอใจของผูใ้ ช้  มีการจัดทาแบบสารวจความพงึ พอใจของผู้ใช้

บัณฑิตที่มตี อ่ บัณฑิตใหม่ เฉล่ยี บัณฑติ ทีม่ ตี อ่ บณั ฑติ โดยมผี ลการประเมิน

ไมน่ ้อยกวา่ 3.5 จากคะแนน ความพงึ พอใจคดิ เปน็ คา่ เฉลยี่ เท่ากบั 4.40 อยู่

เต็ม 5.0 ในระดบั มาก

รวมตัวบง่ ช้ีในปนี ี้
จานวนตวั บ่งชท้ี ่ดี าเนนิ การผ่านเฉพาะตัวบง่ ชท้ี ี่ 1-5

รอ้ ยละของตัวบ่งชี้ท่ี 1-5
จานวนตวั บง่ ชี้ในปนี ท้ี ่ีดาเนนิ การผา่ น

ร้อยละของตวั บง่ ชี้ทง้ั หมดในปีนี้

สรุปผลการประเมินตนเองตามตัวบ่งช้ี 5.4 : ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ (ผลลพั ธ์)

เป้าหมาย (คะแนน) ผลการดาเนินงาน (คะแนน) ผลการประเมิน (คะแนน) บรรลเุ ป้าหมาย

 บรรลุ  ไม่บรรลุ

5 คะแนน ................. คะแนน 5 คะแนน

การวิเคราะหร์ ายวิชาทมี่ ีผลการเรยี นไมป่ กติ

รหัส / ชื่อวชิ า ความ การ เหตทุ ท่ี าใหผ้ ดิ ปกติ มาตรการแก้ไข
ผิดปกติ ตรวจสอบ

ภาคการศึกษา 1/2564

IFT 3216 การวเิ คราะหแ์ ละ นกั ศกึ ษามี ผลการเรยี น นกั ศึกษามีความรูพ้ ื้นฐานแตกตา่ งกนั สนับสนุนให้นักศึกษา

ออกแบบระบบ ผลการ บางคนขยนั บางคนไม่ขยัน จากการ ค้นควา้ หาความรูเ้ พม่ิ

สารสนเทศ เรียน F สอบถามเพมิ่ เตมิ ถงึ สาเหตุของการท่ีมี เพอ่ื พัฒนาความรู้

ผลการเรยี นตา่ ทราบว่านกั ศึกษามคี วาม พืน้ ฐานใหเ้ ท่าเทยี มกนั

ต้งั ใจทจี่ ะเรยี นคอมพวิ เตอรแ์ ละ

สารสนเทศ เพราะมคี วามชอบทางด้าน

คอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็ จากการ

เลน่ เกมและการเล่นอินเทอรเ์ นต็ แตพ่ อ

มาเรียนในสายของคอมพวิ เตอร์และ

สารสนเทศจริง ๆ กลบั ไม่เป็นไปตามที่

ต้องการ ทาใหเ้ กดิ ความเบอ่ื หนา่ ยและ

ไม่สนใจเทา่ ที่ควร อีกประเด็นหน่ึง คอื

จานวนเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ไม่เพียงพอตอ่

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 136

รหสั / ช่ือวชิ า ความ การ เหตทุ ที่ าใหผ้ ดิ ปกติ มาตรการแกไ้ ข
ผิดปกติ ตรวจสอบ
IFT 3218 การเขียนโปรแกรม สนบั สนุนให้นักศึกษา
เว็บพลวัต นกั ศกึ ษามี การใช้งานทาใหไ้ ม่สามารถตอบสนองต่อ คน้ ควา้ หาความรู้เพ่ิม
ผลการ เพอ่ื พฒั นาความรู้
เรียน F การเรยี นได้อย่างเตม็ ที่ พน้ื ฐานให้เทา่ เทยี มกัน

นักศกึ ษามี ภาคการศกึ ษา 2/2564 ปรบั ระยะเวลาในการ
ผลการ ส่งงานตามความยาก
เรยี น I ผลการเรยี น นกั ศกึ ษามีความรพู้ ้นื ฐานแตกต่างกัน ง่ายของงาน

บางคนขยนั บางคนไม่ขยัน จากการ

สอบถามเพมิ่ เตมิ ถึงสาเหตุของการที่มี

ผลการเรยี นตา่ ทราบว่านักศึกษามีความ

ต้ังใจที่จะเรยี นคอมพิวเตอร์และ

สารสนเทศ เพราะมีความชอบทางด้าน

คอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ตจากการ

เลน่ เกมและการเล่นอินเทอร์เนต็ แต่พอ

มาเรยี นในสายของคอมพวิ เตอรแ์ ละ

สารสนเทศจรงิ ๆ กลับไม่เปน็ ไปตามที่

ตอ้ งการ ทาใหเ้ กิดความเบ่ือหน่ายและ

ไม่สนใจเทา่ ท่คี วร อีกประเด็นหนง่ึ คือ

จานวนเครอ่ื งคอมพวิ เตอรไ์ ม่เพียงพอต่อ

การใช้งานทาให้ไม่สามารถตอบสนองต่อ

การเรยี นได้อยา่ งเตม็ ที่

IFT 4224 โครงงานทาง ผลการเรยี น นกั ศึกษายงั ดาเนินการในสว่ นของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2 โครงงานไมเ่ สร็จสน้ิ และมกี ารลาออก

ระหว่างการศกึ ษา

รายวชิ าที่ไม่ได้เปดิ สอนในปกี ารศึกษา เหตุผลที่ไม่เปดิ สอน มาตรการทีด่ าเนินการ
ภาคการศกึ ษา 1/2564
รหสั / ช่อื วิชา
ภาคการศึกษา 2/2564
ไม่มี

ไม่มี

รายวชิ าทสี่ อนเนอ้ื หาไมค่ รบในปีการศกึ ษา

รหสั / ช่ือวิชา หัวข้อท่ขี าด สาเหตทุ ไ่ี ม่ไดส้ อน วธิ แี กไ้ ข

ภาคการศกึ ษา 1/2564 ใหค้ าปรึกษาเพิม่ เตมิ กบั
นกั ศึกษาทเี่ รียนชา้ ผ่านทาง
IFT 3216 การวเิ คราะหแ์ ละ แบบจาลองขอ้ มูล พ้นื ฐานของนกั ศึกษาไม่ เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์
นอกเหนอื จากตารางเรียน
ออกแบบระบบ เทา่ กนั ประสบการณ์การ ปกติ
สอนในครั้งถัดไป
สารสนเทศ เรยี นรตู้ า่ งกัน

IFT 2116 การสอ่ื สารข้อมลู การแปลงขอ้ มลู บรรยายและยกตัวอย่าง
และเครอื ขา่ ย อนาลอกและดจิ ิตอบ แลว้ นกั ศกึ ษาบางสว่ นไม่
ใหเ้ ปน็ สัญญาณ เขา้ ใจ ตอ้ งยกตวั อย่าง
หวั ข้อย่อย CRC เพ่ิมเตมิ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 137

รหสั / ชอื่ วชิ า หวั ขอ้ ทีข่ าด สาเหตุทีไ่ ม่ไดส้ อน วธิ ีแกไ้ ข
IFT 4323 ระบบสบื คน้ ใหน้ กั ศกึ ษาทาแบบฝึกหัด
หนอ่ ยท่ี 2 เนอ้ื หาเยอะ ทาให้ เพิ่มเตมิ เพอื่ ทาความเขา้ ใจ
สารสนเทศ รปู แบบการทางานของคาสงั่
- การวเิ คราะห์ ยกตัวอยา่ งการนาไปใชง้ าน
IFT 3311 การพาณิชย์ ใหน้ ักศึกษาทาแบบฝกึ หัด
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ขอ้ ความ ได้ไมค่ รบถ้วน เพิม่ เตมิ

- การแบง่ กลุ่มขอ้ มลู ใหค้ าปรึกษาเพ่มิ เตมิ กับ
นักศกึ ษาทเี่ รยี นชา้ ผ่านทาง
อตั โนมตั ิ เครอื ข่ายสังคมออนไลน์
นอกเหนอื จากตารางเรยี น
หน่อยที่ 3 เนอ้ื หาในบทนเี้ ข้าใจยาก ปกติ

- โครงสร้าง

แฟ้มขอ้ มลู

- กลยทุ ธิ์การคน้ หา

ขอ้ มูล

ภาคการศกึ ษา 2/2564

สรา้ งเว็บไซต์พาณิชย์ พ้นื ฐานของนักศึกษาไม่

อิเล็กทรอนิกส์ เทา่ กนั ประสบการณ์การ

เรียนรตู้ ่างกนั

คณุ ภาพของการสอน
การประเมินรายวชิ าทีเ่ ปดิ สอนในปที ี่รายงาน
รายวชิ าท่ีมกี ารประเมนิ คณุ ภาพการสอน และแผนการปรับปรุงจากผลการประเมนิ

ผลการประเมนิ โดยนักศกึ ษา

รหัส / ช่อื วิชา มี ไม่มี
(คะแนนเฉลีย่ )

IDT 1106 ภาคการศึกษา 1/2564 4.123
IFT 1113 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3.992
IFT 1111 เทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้อื งต้น 4.270
IFT 1114 ระบบดจิ ิทลั สาหรบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.633
IFT 1115 จรรยาบรรณและกฎหมายทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.150
IFT 1116 ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ 4.374
IFT 2119 คณิตศาสตร์ดสี ครตี 4.612
IFT 2218 คอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์ 4.544
IFT 3232 วศิ วกรรมซอฟต์แวร์ 4.595
IFT 3233 เทคโนโลยสี ่ือประสม 4.626
ปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งและพัฒนาส่ือประสม 4.514
IFT 2301 เศรษฐศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศเบื้องต้น 4.806
IFT 2113 การพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 4.719
IFT 2115 คณิตศาสตร์ดสี ครตี 4.776
IFT 2116 การส่อื สารข้อมลู และเครอื ขา่ ย 4.644
IFT 2117 ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ 4.333
IFT 3118 เศรษฐศาสตรเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศเบ้อื งตน้ 4.712
IFT 3216 การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 138

ผลการประเมินโดยนกั ศกึ ษา

รหัส / ชือ่ วชิ า มี ไมม่ ี
(คะแนนเฉลี่ย)

IFT 3219 เทคโนโลยสี ่ือประสม 4.755
IFT 3221 การจัดการและออกแบบเครือข่าย
IFT 4323 ระบบการสืบคน้ สารสนเทศ 4.804
IFT 3338 การโปรแกรมอุปกรณไ์ รส้ าย
IFT 3218 การเขียนโปรแกรมเวบ็ แบบพลวตั 4.825
IFT 4223 โครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1
IFT 3217 ระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการ 4.831
IDT 4301 การเป็นผปู้ ระกอบการเพ่ือสร้างธรุ กจิ ใหม่
IFT 3208 โปรแกรมประยุกต์ทางฐานขอ้ มลู 4.721

คะแนนเฉล่ียรวม 4.735

4.910

4.463

4.702

4.716 -

ผลการประเมินโดยนกั ศกึ ษา

รหสั / ชื่อวิชา มี ไมม่ ี
(คะแนนเฉล่ยี )

IFT 1112 ภาคการศกึ ษา 2/2564 4.734
IFT 1116 โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ 4.541
IFT 1117 คณิตศาสตรด์ สี ครตี 4.719
IFT 1201 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม 4.584
IFT 1202 การสื่อสารขอ้ มลู และเครือขา่ ย 4.468
IFT 1203 ปฏบิ ตั กิ ารสอ่ื สารขอ้ มลู และเครอื ข่าย 4.344
IFT 1204 แนวคิดระบบฐานข้อมลู 4.349
IFT 2223 ระบบจดั การฐานข้อมลู 4.765
IFT 2224 เทคโนโลยีเครือข่ายและอนิ เทอรเ์ น็ต 4.755
IFT 3222 ปฏิบตั กิ ารเครอื ขา่ ยและอินเทอรเ์ น็ต 4.696
IFT 2221 การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศ 4.619
IFT 2222 การเขียนโปรแกรมเชงิ วัตถุ 4.588
IFT 2219 ปฏบิ ตั ิการเขียนโปรแกรมเชงิ วัตถุ 4.633
IFT 2220 การเขียนโปรแกรมเวบ็ แบบพลวตั 4.660
IFT 3342 ปฏิบตั ิการเขยี นโปรแกรมเว็บแบบพลวัต 4.755
IDT 4301 การพัฒนาซอฟต์แวร์ระดบั องค์การ 4.545
IFT 2213 การเป็นผ้ปู ระกอบการเพือ่ สร้างธรุ กจิ ใหม่ 4.544
IFT 2214 เทคโนโลยเี ครือขา่ ยและอนิ เทอร์เนต็ 4.606
IFT 2215 การเขียนโปรแกรมเชิงวตั ถุ 4.582
IFT 3218 แนวคิดระบบฐานข้อมลู 4.402
IFT 3217 การเขยี นโปรแกรมเวบ็ แบบพลวตั 4.677
IFT 3208 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ 4.639
IFT 3220 โปรแกรมประยกุ ตท์ างฐานขอ้ มูล 4.601
IFT 4223 วศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ 4.810
IFT 3311 โครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1 4.817
การพานิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 139

ผลการประเมนิ โดยนักศกึ ษา

รหสั / ชอ่ื วชิ า มี ไมม่ ี
(คะแนนเฉลีย่ )

IFT 3306 คอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์ 4.926
IFT 4222 ความมั่นคงปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ
IFT 4224 โครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 4.660
IDT 4301 การเปน็ ผปู้ ระกอบการเพือ่ สรา้ งธุรกิจใหม่
IFT 4340 จรรยาบรรณและกฎหมายทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.963

คะแนนเฉล่ยี รวม 4.344

4.800

4.638 -

ผลการประเมินโดยนกั ศึกษา

รหัส / ช่อื วชิ า มี ไม่มี
(คะแนนเฉล่ีย)

ภาคการศึกษา 3/2564

IFT 3301 การฝึกงาน 4.700

IFT 2219 การเขยี นโปรแกรมเว็บแบบพลวตั 4.714

IFT 2220 ปฏิบตั ิการเขียนโปรแกรมเวบ็ แบบพลวัต 4.480

IFT 3227 โครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.492

IFT 3228 ปฏบิ ตั กิ ารโครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4.810

IFT 3229 การจดั การและออกแบบเครือขา่ ย 4.817

IFT 3230 ปฏบิ ตั ิการจัดการและออกแบบเครือขา่ ย 4.926

คะแนนเฉล่ียรวม 4.597 -

คะแนนเฉลยี่ รวมท้งั ปีการศึกษา 4.65

ผลการประเมนิ คุณภาพการสอนโดยรวม

จากการประเมินคุณภาพการสอนผ่านระบบทะเบียนของมหาวิทยาลัย พบว่า ในปีการศึกษา 2564

พบวา่ นักศกึ ษามีความพึงพอใจต่อคุณภาพการสอนโดยรวมเทา่ กับ 4.65 จากคะแนนเตม็ 5 คิดเป็นรอ้ ยละ 93

ประสทิ ธิผลของกลยุทธ์การสอน แนวทางแก้ไขปรับปรุง
1. กาหนดคุณธรรม จริยธรรม ประจา
มาตรฐานผลการ สรปุ ข้อคิดเห็นของผสู้ อนและขอ้ มลู ปอ้ นกลับจาก
เรียนรู้ แหลง่ ต่าง ๆ ชนั้ ปี ใหท้ กุ รายวิชาของช้ันปีเนน้ ใน
เร่ืองเดียวกนั
คุณธรรมจริยธรรม 1. แตล่ ะรายวชิ ามจี ดุ เน้นดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ท่ี
แตกตา่ งกัน ในชว่ งเวลา 1 ภาคการศกึ ษา นักศึกษา 1. อาจารย์ทบทวนผลการประเมนิ
ได้เรียนรู้ แต่การพัฒนาเป็นนสิ ัยตอ้ งใชเ้ วลามากกว่า รายวชิ าของตนเองและปรบั ปรุง
น้นั
2. ขอให้อาจารย์จัดทาตาราหรือ
ความรู้ 1. การใช้การสอนหลายรปู แบบในภาพรวมเปน็ ผลดีใน เอกสารการสอนใหค้ รบทกุ รายวิชา
ดา้ นการสรา้ งความตืน่ ตัวในการเรยี น แตใ่ นบาง
รายวิชาทใี่ ชร้ ปู แบบการสอนหลายแบบ ซ่ึงนักศึกษา
บางคนปรบั ตวั ไมท่ นั เป็นกังวลและทาให้กลยุทธท์ ี่
ใช้ไมไ่ ดผ้ ล

2. อาจารยไ์ มใ่ หร้ ายละเอียดในห้องเรยี น และคาดหวงั
ใหน้ กั ศึกษาเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง จากการอา่ นเพิม่ เติม
นกั ศกึ ษาไม่มเี วลาในการอ่านมากนัก ดังนน้ั จะไดผ้ ล
ถา้ มหี นังสือตาราทอ่ี าจารย์ใชส้ อนในหอ้ ง

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 140

มาตรฐานผลการ สรุปข้อคิดเห็นของผสู้ อนและขอ้ มลู ป้อนกลบั จาก แนวทางแก้ไขปรับปรุง
เรยี นรู้ แหล่งต่าง ๆ

ทกั ษะทางปญั ญา 1. การใชก้ ารสอนหลายรูปแบบในภาพรวมเป็นผลดีใน 1. อาจารยท์ บทวนผลการประเมนิ

ทกั ษะความสัมพนั ธ์ ดา้ นการสรา้ งความตื่นตวั ในการเรยี น แตใ่ นบาง รายวชิ าของตนเองและปรับปรงุ
ระหวา่ งบุคคลและ
ความรบั ผดิ ชอบ รายวิชาใช้รูปแบบการสอนมากแบบ ซ่งึ นักศึกษา

บางคนปรบั ตัวไมท่ ัน เป็นกงั วล และทาใหก้ ลยุทธท์ ่ี

ใช้ไมไ่ ดผ้ ล

2. รายวิชาสว่ นใหญม่ ีกจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะทางปญั ญา 2. ชีแ้ จงทาความเข้าใจกบั นกั ศึกษาถึง

บางกิจกรรมจดั ในห้องเรียน ซงึ่ เปน็ ผลดตี อ่ การ ความจาเป็นและความรับผิดชอบใน

เรยี นรู้ แต่ทาให้นักศกึ ษาบางคนรสู้ ึกว่าไดร้ ับความรู้ การเรยี นรู้ของตน และขอให้

ท่ีเป็นเนอื้ หาสาระน้อยไป อาจารย์จดั ทาตาราหรอื เอกสารการ

สอนใหค้ รบทุกรายวิชา เพื่อ

นกั ศึกษาไดอ้ า่ นเพ่มิ เตมิ ให้ได้

เนือ้ หาสาระความรูค้ รบถ้วน

1. การเรยี นรู้ทกั ษะโดยการมอบหมายงานกลมุ่ ได้ผลไม่ 1. กาหนดกตกิ ากลางของการรว่ ม

เต็มที่ เพราะนกั ศกึ ษาไม่แสดงบทบาทของตนเอง กิจกรรมกล่มุ ของทกุ รายวิชาให้เปน็

ตามท่คี วร งานกลมุ่ มักเกดิ จากสมาชิกทม่ี คี วามรู้ มาตรฐานเดยี วกนั และอาจารย์

ความสามารถ ส่วนสมาชิกท่ีอ่อน มักไมม่ โี อกาสรว่ ม ตดิ ตามการทางานกลมุ่ อยา่ งจริงจงั

ในกจิ กรรม

2. การเรยี นรู้ทักษะการทางานรว่ มกบั ผ้อู ื่นโดยไมจ่ ากดั 2. จดั กลุ่มกจิ กรรมหมุนเวยี นตามภาค
โดยการเปลยี่ นกลมุ่ กิจกรรมในรายวชิ า ไม่เปน็ ผลดี การศกึ ษา ไมใ่ หส้ มาชิกกลมุ่ ซ้ากัน
ในการทางาน เพราะนกั ศึกษาต้องใชเ้ วลาในการ นกั ศึกษาแตล่ ะคนมโี อกาสทางาน
ปรบั ตวั และมกั มีปญั หาในการจดั เวลาทางาน ในกลุ่มเดยี วกันทุกรายวชิ าตลอดปี
รว่ มกัน การศึกษาและเปล่ยี นกลมุ่ ทางาน 5
กลุ่มตลอดหลกั สตู ร วธิ กี ารจดั กลมุ่
เหมาะสมดแี ล้ว ไมม่ ีขอ้ เสนอแนะ ลักษณะนจ้ี ะมผี ลพลอยได้ในการ
สร้างความสมั พันธ์ระหวา่ งนกั ศกึ ษา
เหมาะสมดีแลว้ ไมม่ ีขอ้ เสนอแนะ ใหแ้ นน่ แฟน้ ยง่ิ ข้ึนด้วย

ทักษะการวเิ คราะห์
เชิงตวั เลข การ
สอ่ื สารและการใช้
เทคโนโลยี
สารสนเทศ

ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ
ทางวชิ าชีพ (ทักษะ
พสิ ยั )

การปฐมนิเทศอาจารยใ์ หม่
การปฐมนิเทศเพื่อชี้แจงหลักสูตร มี ไม่มี 
จานวนอาจารย์ใหม่ ……….………. จานวนอาจารยท์ ่ีเข้ารว่ มปฐมนิเทศ …………………

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 141

กิจกรรมการพฒั นาวิชาชพี ของอาจารยแ์ ละบคุ ลากรสายสนับสนุน

จานวน

กจิ กรรมท่จี ดั หรอื เข้ารว่ ม อาจารย์ บคุ ลากร สรปุ ข้อคดิ เห็นและประโยชนท์ ่ผี ้เู ข้าร่วมกิจกรรมไดร้ ับ
สาย

สนบั สนุน

การจัดการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ  เป็นโครงการของ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

“การดาเนินกจิ กรรมบนระบบ ไดด้ าเนินการโครงการเครอื ขา่ ยสารสนเทศเพอ่ื การศึกษา

เครอื ข่ายสารสนเทศเพอื่ พัฒนา (Inter-University Network : Uninet) เพ่ือกาหนดแนวทางใน

การศึกษา” ครั้งท่ี 40 (40th การดาเนนิ กิจกรรมบนเครือข่ายสารสนเทศเพอ่ื พฒั นา

WUNCA) การศึกษา (Uninet) เพอ่ื ศึกษาวิจยั การประยกุ ตใ์ ช้
(Workshop on UniNet Network and เทคโนโลยสี ารสนเทศบนเครือขา่ ยสารสนเทศเพ่ือพฒั นา
computer Application : 40 th การศกึ ษา เพอ่ื แลกเปล่ียนความรดู้ า้ นเทคโนโลยี
WUNCA) สารสนเทศและระบบเครอื ข่ายระหวา่ งกลุ่มสมาชิก และ
เพอ่ื ใหผ้ ู้เช่ียวชาญด้านตา่ งๆ ถ่ายทอดความรแู้ ละ
ระหวา่ งวันที่ 15-17 มกราคม 2563 ประสบการณใ์ นด้านเทคโนโลยเี ครือข่าย Hardware and
ณ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี

Software

โครงการพัฒนาทกั ษะการเป็น  เตรียมความพร้อมการเป็นพ่เี ลย้ี งหรือโค้ชให้นกั ศึกษาใน

Start-up Mentor สาหรบั อาจารย์ การสร้างธรุ กิจใหม่( Startup) ซึ่งเปน็ นโยบายหลกั ของ

ระหวา่ งวนั ที่ 30 ต.ค - 1 พ.ย 63 ณ มหาวิทยาลยั ทีจ่ ะสร้างสังคมแห่งการประกอบการ

โรงแรมแคนซิงตนั้ องิ ลิซการ์เด้นรี (Entreprenurial University)

สอร์ท เขาใหญ่

โครงการพฒั นาบุคลากรสร้างจติ  ได้พัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลยั ใหม้ ที ัศนคติทด่ี ีและ

บรกิ ารและปลูกจิตสานึกรกั องคก์ ร เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั ในการปฏบิ ัติหน้าที่ท่มี จี ติ สานกึ

ชว่ งที่ 2 วันที่ 20-21กุมภาพันธ์ รกั และผกู พนั ตอ่ องคก์ ร รวมถงึ มคี วามซ่อื สตั ยใ์ นหนา้ ท่ี

2563 ณ โรงเรยี นนายร้อยพระ อันเปน็ สงิ่ สาคญั ต่อการสรา้ งบณั ฑติ ให้เป็นกาลังสาคัญของ

จุลจอมเกล้า เขาชะโงก จงั หวดั ประเทศ

นครนายก

โครงการปจั ฉมิ นิเทศนักศึกษาสหกจิ ทราบถงึ กระบวน วิธีการ และปัญหา การทาโครงงานสห

ศกึ ษา ประจาปีการศึกษา 2563 กิจ และทราบถงึ ประสบการณข์ องนกั ศึกษาในการปฏบิ ตั ิ

สหกจิ ศกึ ษาโดยภาพรวม

การบริหารหลกั สตู ร ผลกระทบของปัญหาต่อสมั ฤทธผิ์ ลตาม แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาใน
วัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร อนาคต
ปญั หาในการบริหารหลักสูตร
อาจารยผ์ ูส้ อนจาเปน็ ต้องตัดทอน จัดตารางเวลาในตารางสอน ให้นกั ศึกษาในแต่
การจัดตารางเวลาเรียนชดเชยกรณี รายละเอียดของเน้อื หาสาระ หรือลด ละชัน้ ปี มีเวลาว่างตรงกนั สัปดาหล์ ะ 4 ชัว่ โมง
จาเปน็ ทาไดย้ าก เนือ่ งจากนกั ศกึ ษา กิจกรรมในหอ้ งเรยี น ผลการเรยี นรูจ้ งึ ได้ และประกาศใหน้ ักศึกษาทราบล่วงหน้า เพื่อ
มตี ารางเวลาเรียนแตกตา่ งกนั เพยี งตามเกณฑข์ น้ั ตา่ หรอื ในกรณที ี่มี พรอ้ มในการเรยี นชดเชยกรณจี าเป็น
ผลกระทบมาก ต้องเปน็ ภาระในการจดั
ชดเชย และอาจจาเปน็ ต้องใช้เวลาของ
รายวิชาท่เี กย่ี วขอ้ งตอ่ เนื่อง

สรปุ ผลการประเมินตนเองตามตัวบ่งชท้ี ี่ 5 : หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 142

ตวั บ่งชี้ เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน คะแนน
(คะแนน) (คะแนน) จากผลการประเมนิ
5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สูตร (กระบวนการ)
4 4
5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการ 4
เรยี นการสอน (กระบวนการ) 4
4
5.3 การประเมนิ ผู้เรยี น (กระบวนการ) 5 4
5
5.4 ผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ 3.75
ระดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ (ผลลัพธ์) 3.75

คา่ คะแนนรวมเฉลีย่

ระดับคณุ ภาพมาตรฐาน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 143

หมวดที่ 6 การบรหิ ารหลักสูตร
ตัวบง่ ชี้ 6.1 ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้
ชนิดของตวั บง่ ชี้ กระบวนการ

- ระบบการดาเนินงานของภาควชิ า/คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วมของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรเพื่อให้มสี ่ิง
สนบั สนนุ การเรยี นรู้

- จานวนสงิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรทู้ ่เี พียงพอและเหมาะสมตอ่ การจดั การเรยี นการสอน
- กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ตอ่ สิ่งสนับสนุนการ

เรียนรู้

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 144

6.1-1 ระบบการดาเนินงานของภาควชิ า/คณะ/สถาบนั โดยมสี ่วนรว่ มของอาจารย์ประจาหลักสตู รเพือ่ ให้มี
ส่ิงสนับสนุนการเรยี นรู้
ผลการดาเนินงาน

มรี ะบบและกลไก

มกี ารนาระบบกลไกไปสกู่ ารปฏบิ ัติ/ดาเนินงาน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 145

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีระบบการดาเนินงานของการจัดสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้ในระดับหลักสูตร โดยการมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจาหลักสูตร เพ่ือให้มีสิ่งสนับสนุน
การเรยี นรู้ท่ีเหมาะสม ซง่ึ ระบบและกลไกในการจดั หาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ดงั นี้

1. มหาวทิ ยาลยั มอบหมายใหม้ ีหน่วยงานตา่ ง ๆ รับผิดชอบในการจัดสง่ิ สนับสนุนการเรียนรู้ เชน่ งาน
พัสดุทาหน้าที่ดาเนินการตามระเบียบ ตามท่ีมหาวิทยาลัยฯ ได้จัดสรรวัสดุ ครุภัณฑ์มาให้ สานักงานวิทยา
เขตทาหน้าที่จดั หาห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ สานักวิทยบรกิ ารทาหน้าท่จี ัดหาโสตทัศนูปกรณ์ หนังสือ ตารา
เพอื่ ใชใ้ นการเรียนการสอน โดยมกี ารจัดสรรงบประมาณให้แตล่ ะหน่วยงาน

2. อาจารยป์ ระจาหลักสตู รประชมุ การบรหิ ารหลักสูตรในส่วนของการจัดหาวัสดุฝึกและการเสนอซ้ือ
หนังสือห้องสมุด ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง แล้วแจ้งความต้องการไปยังคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
เพอ่ื ใหค้ ณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี ใชเ้ ป็นขอ้ มูลประกอบการจัดทาแผนความตอ้ งการใชว้ ัสดฝุ ึก ประจา
ภาคการศึกษาของมหาวิทยาลัย

3. อาจารย์ประจาหลักสูตรหลักสูตรประชุมการบริหารหลักสูตรสารวจความต้องการหนังสือในการ
เรยี นการสอน เพอ่ื ดาเนินการเสนองานวทิ ยบรกิ าร (ห้องสมุด) จัดช้อื เข้าหอ้ งสมดุ ต่อไป

4. อาจารย์ประจาหลักสูตรหลักสตู รประชุมการบริหารหลักสูตร เพื่อสารวจสิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ที่
เหมาะสมแก่นักศึกษา โดยมีการแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานจัดทาแผนพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
เพ่ือให้บริหารจัดการด้านการพัฒนาส่งิ สนับสนุนการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศที่ดีต่อการเรียนการสอน การใช้
ชีวิตร่วมกันของนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ในพื้นท่ีภายในและภายนอกอาคารเรียนของคณะ โดยมี
ตวั แทนอาจารย์ประจาหลกั สตู รทกุ หลักสูตรร่วมเปน็ คณะกรรมการดาเนินงาน

5. ตรวจสอบแหล่งทุนงบประมาณแผ่นดิน รายได้ เหลือจ่าย กระตุ้นเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม
สร้างสรรค์

6. จดั ส่งเรือ่ งการจัดหาอุปกรณ์ ไปยังคณะ ตามระเบยี บขนั้ ตอนท่ีกาหนดเอาไว้
7. ติดตามผล การสนบั สนุนจากทางมหาวทิ ยาลยั
8. ประเมนิ ความพึงพอใจ
9. สรุปผล ความพงึ พอใจ นาเข้าท่ปี ระชุมเพื่อปรึกษาหารือและนา
มกี ารประเมนิ กระบวนการ
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนดให้อาจารย์และนักศึกษาประเมิน
ความพึงพอใจตอ่ ส่งิ สนบั สนุนการเรยี นรู้ โดยควรดาเนินการปีละ 1 ครัง้ ทุก ๆ ส้ินปีการศึกษาและนาผลการ
ประเมินความพึงพอใจเข้าที่ประชุมของสาขาวิชา/คณะ เพ่ือสรุปปัญหาท่ีเกิดขึ้น พร้อมทั้งกาหนดแนว
ทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข ซ่ึงระบบและกลไก ดังน้ี
1. หวั หนา้ สาขาวชิ าดาเนินการรวบรวมปัญหาและอุปสรรคท่เี กิดการใหบ้ ริการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
โดยการแจกแบบประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาต่อส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อสอบถาม
ความคิดเหน็ ของอาจารยแ์ ละนักศึกษาต่อสง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ท่สี าขาวชิ าฯ/คณะ/มหาวิทยาลัยใหบ้ ริการ
2. สาขาวิชาจัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อกาหนดแนวทางปรับปรุงแก้ไขปัญหา/อุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจาก
การให้บริการสง่ิ สนับสนนุ การเรียนรู้
3. ผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ดาเนินการปรับปรงุ /แก้ไขดาเนินการตามมติที่ประชุม เช่น การเพิ่มจานวน
อุปกรณท์ างด้านเครือข่าย ห้องปฏิบัตกิ าร Server ห้องประชมุ เปน็ ตน้
4. รองคณบดฝี า่ ยบริหารและแผนกากับตดิ ตามผลการดาเนินการตามแนวทางการปรบั ปรุง/แก้ไข
5. รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผนหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ดาเนินการปรับปรุง/แก้ไขรายงานการ
ดาเนินการต่อคณบดี

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 146

สรุปผลการดาเนินงาน/การประเมินกระบวนการ/ผลการปรบั ปรงุ กระบวนการ
กาลังดาเนนิ การ

มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ
กาลังดาเนินการ

มผี ลจากการปรบั ปรุงเห็นชัดเจนเป็นรปู ธรรม
-

6-1-2 จานวนสงิ่ สนับสนนุ การเรียนร้ทู เ่ี พียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรยี นการสอน
ผลการดาเนินงาน

มีระบบและกลไก

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 147

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการประชุม เพ่ือกากับติดตามการ
ดาเนินงานในด้านสิ่งสนับสนุนเกี่ยวกับห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โดยอาจารย์รายงานสภาพปัจจุบันของส่ิง
สนับสนุนการเรียนรู้จากแบบสารวจวัสดุ ครุภัณฑ์ และแนวทางเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงพัฒนา ซ่ึงทาง
สาขาวิชาได้ดาเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าว เพื่อให้มีจานวนส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีพอเพียงและ
เหมาะสมต่อการจดั การเรียนการสอน ซึง่ ภาพรวมของส่งิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ตา่ งๆ มีดังต่อไปนี้

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 148

- ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางเครือขา่ ย จานวน 4 ห้อง
- ห้องปฏิบตั ิการทางการเขียนโปรแกรม จานวน 1 หอ้ ง
- หอ้ งปฏิบตั กิ ารการออกแบบกราฟกิ จานวน 1 หอ้ ง
- หอ้ งปฏิบัติการออกแบบทางวิศวกรรม จานวน 1 หอ้ ง
- หอ้ งบรรยาย จานวน 2 ห้อง
- หอ้ งส่งเสรมิ การเรียนรู้และกิจกรรม จานวน 1 ห้อง
- มกี ารให้บริการคอมพวิ เตอร์ จานวน 210 เครื่อง
- จดุ เชือ่ มต่ออินเทอรเ์ น็ตความเร็วสูง จานวน 15 เคร่ือง
- มีการให้บริการอุปกรณ์การศึกษา จานวน 40 ชิน้
- มวี สั ดุ ครุภัณฑก์ ารศกึ ษามีดังนี้

 โปรเจคเตอร์ จานวน 10 เคร่ือง
 กระดานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จานวน 1 ชุด
 ชุดทดลอง IOIO จานวน 10 ชดุ
 USB Bluetooth จานวน 10 ช้ิน
มกี ารนาระบบกลไกไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ/ดาเนินงาน
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีระบบและกลไกสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ไปสู่การปฏิบัติ ได้ดาเนินการตามระบบและกลไก ดังนี้
1. อาจารย์รบั ข้อร้องเรียนจากนกั ศกึ ษา เรอ่ื งปญั หาอุปกรณไ์ มเ่ พยี งพอ ไมส่ ามารถใช้ได้อย่างท่วั ถึง
2. อาจารย์นาข้อร้องเรียน เข้าที่ประชุมเพื่อหางบประมาณในการจัดซื้อจากงบประมาณรายได้/แผน
ดิน หรืองบผลประโยชน์
3. อาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบแตล่ ะวชิ าแจ้งความจานงเพอ่ื จัดซือ้ อปุ กรณ์ที่ไม่เพียงพอ
4. ผรู้ ับผิดชอบฯ รวบรวมรายการที่จะจดั ซ้ือ จากอาจารย์ประจาวิชาแต่ละท่าน
5. ทาบันทึกข้อความถึงคณบดี ผ่านรองคณบดีฝ่ายบริหารและแผนเพื่อส่ังซื้อรายการวัสดุท่ีขาด
แคลน
6. ส่งรายการอปุ กรณไ์ ปยังรา้ นคา้ เพ่อื ขอใบเสนอราคาและส่งต่อไปยังงานพสั ดุ
7. งานพสั ดุรบั ใบเสนอราคาจากผู้จาหน่าย เพ่อื เปรยี บเทียบราคา
8. งานพสั ดขุ ออนุมัตสิ ัง่ ซอื้ และดาเนนิ การส่งั ซื้อ
9. คณะกรรมการตรวจรบั และส่งเอกสารตามข้นั ตอนทางพัสดุ เพ่ือขออนุมัติเบกิ จ่าย
10.สานกั งานวทิ ยาเขตฯ แจ้งผขู้ ายรายการสนิ คา้ เบิกจ่าย ตามข้ันตอนงานการเงนิ
11.นาไปอปุ กรณ์ไปใช้งาน
มีการประเมนิ กระบวนการ
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดาเนินการรวบรวมผลการปัญหาเร่ือง
การขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์การฝึกปฏบิ ัติ โดยการแจกแบบสอบถามเพ่ือสอบถามความพงึ พอใจของนักศึกษา
ต่อการจัดการปัญหาเกยี่ วกบั สง่ิ สนบั สนุนการเรยี นรู้ที่ใช้สาหรบั ฝกึ ปฏิบัติ
มกี ารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
1. มีการประชุมเพ่ือสอบถามและติดตามปัญหาที่พบหรือข้อร้องเรียนจากนักศึกษาและอาจารย์
ประจาหลกั สตู ร หาวิธีการปรับปรุงแกไ้ ขปญั หา/อปุ สรรคท่เี กิดขึน้ จากจัดหาสิง่ สนบั สนุนการเรยี นรู้
2. ทีป่ ระชมุ มีมติใหด้ าเนนิ การปรับปรงุ /แกไ้ ขดาเนนิ การติดตามมติท่ปี ระชุม
3. มกี ารประชุมเพ่ือสรปุ ปญั หาทพ่ี บ และตดิ ตามปรับปรงุ แกไ้ ขปัญหาท่เี กดิ ข้นึ
มผี ลจากการปรบั ปรงุ เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 149

จากทไ่ี ดร้ ับการจดั หาสง่ิ สนบั สนุนการเรยี นรใู้ นเร่อื งของจานวนเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ประจาปี 2560
ในห้องเรียนปฏิบัตกิ ารทางการออกแบบกราฟิกและปฏิบตั ิการสรา้ งและพัฒนาสือ่ ประสม ซง่ึ ใชใ้ นการจัด
เรยี นการสอนเพียงพอกบั นักศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาให้นักศึกษาได้มีอุปกรณ์ใหก้ าร
เรยี นรแู้ ละเพ่ิมพูนความรใู้ ห้กับตนเองมากยงิ่ ขนึ้ สง่ ผลใหน้ ักศกึ ษามผี ลการเรยี นที่ดขี ้นึ กวา่ เดมิ ดังนี้

ตารางเปรยี บเทียบแสดงผลกการเรยี นของนกั ศกึ ษาในวิชาทางดา้ นคอมพวิ เตอร์กราฟิกส์
จานวนผู้ ผลการเรียน
ปกี ารศกึ ษา ลงทะเบียน A B+ B C+ C D+ D F

กอ่ นไดร้ ับการสนบั สนนุ
2560 28 46.4% 14.3% 25% 7.1% 0% 0% 3.6% 3.6%
หลังไดร้ ับการสนับสนนุ
2561 48 45.8% 20.8% 18.7% 8.3% 4.2% 2.1% 0% 0%
2562 23 65.2% 17.4% 4.3% 4.3% 4.3% 0% 0% 4.3%
2563 57 91.2% 1.8% 3.5% 0% 0% 0% 0% 3.5%

ตารางเปรียบเทยี บแสดงผลกการเรียนของนักศกึ ษาในผลการเรยี นวชิ าทางด้านเทคโนโลยีสือ่ ประสม
จานวนผู้ ผลการเรียน
ปกี ารศึกษา ลงทะเบียน A B+ B C+ C D+ D F

ก่อนได้รับการสนบั สนนุ
2560 36 55.6% 5.6% 11.1% 8.3% 0 % 5.6% 11.1% 2.8%
หลงั ได้รับการสนบั สนนุ
2561 45 7.33% 15.6% 4.4% 6.7% 0% 0% 0% 0%
2562 29 72.4% 10.3% 3.4% 6.9% 3.4% 0% 0% 3.4%
2563 57 96.5% 0% 0% 0% 0% 0% 0% 3.5%

จากตารางข้างต้นแสดงให้เหน็ การพัฒนาการเรียนร้ขู องนักศึกษาหลงั จากที่ได้มสี ิ่งสนับสนนุ การ
เรยี นรู้ในเร่ืองของจานวนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีเพียงพอและเหมาะสมต่อการเรียนการสอน ซ่ึงจากสดั สว่ น
ของนักศึกษาทีล่ งทะเบยี นในแต่ละภาคการศึกษานน้ั นกั ศึกษามีผลการเรยี นท่ดี ขี ้นึ อยู่ในระดบั A มากกว่า
ครงึ่ ของจานวนผลู้ งทะเบยี น

6.1-3 กระบวนการปรับปรงุ ตามผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิง่ สนับสนุนการ
เรยี นรู้

ผลการดาเนินงาน
มีระบบและกลไก

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 150

มีการนาระบบกลไกไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ/ดาเนนิ งาน
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มีกระบวนการปรับปรุงตามผลการ

ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารยต์ ่อส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ และนาระบบกลไกมาปฏิบัติจริง
ดังนี้

1. อาจารย์รบั ขอ้ ร้องเรยี นจากนกั ศกึ ษา เรอ่ื งปัญหาอปุ กรณ์ไม่เพียงพอ ไม่สามารถใชไ้ ดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ
2. อาจารย์นาข้อร้องเรียน เข้าท่ีประชุมเพ่ือหางบประมาณในการจัดซ้ือจากงบประมาณรายได้/แผน
ดนิ หรืองบผลประโยชน์
3. อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบแต่ละวชิ าแจ้งความจานงเพ่ือจดั ซอ้ื อปุ กรณท์ ่ีไมเ่ พียงพอ
4. ผู้รบั ผิดชอบฯ รวบรวมรายการท่ีจะจัดซอื้ จากอาจารยป์ ระจาวิชาแต่ละท่าน.
5. ทาบันทึกข้อความถึงคณบดี ผ่านรองคณบดีฝ่ายบริหารและแผนเพ่ือสั่งซื้อรายการวัสดุท่ีขาด
แคลน
6. ส่งรายการอปุ กรณไ์ ปยังรา้ นค้า เพ่ือขอใบเสนอราคาและสง่ ตอ่ ไปยังงานพัสดุ
7. งานพัสดุรบั ใบเสนอราคาจากผจู้ าหน่าย เพอ่ื เปรียบเทยี บราคา
8. งานพัสดขุ ออนุมัติสง่ั ซื้อและดาเนินการส่ังซ้ือ
9. คณะกรรมการตรวจรบั และส่งเอกสารตามขั้นตอนทางพสั ดุ เพอื่ ขออนมุ ัตเิ บกิ จ่าย
10. สานกั งานวิทยาเขตฯ แจง้ ผู้ขายรายการสินคา้ เบกิ จ่าย ตามขั้นตอนงานการเงนิ
11. นาไปอปุ กรณ์ไปใช้งาน
มผี ลการประเมินกระบวนการ

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 151

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ดาเนินการรวบรวมปัญหาและอุปสรรคที่เกิดการให้บริการสิ่ง
สนับสนนุ การเรียนรู้ โดยการแจกแบบสอบถามเพ่ือสอบถามความพึงพอใจของนักศกึ ษาและอาจารย์ประจา
หลกั สูตรตอ่ สิ่งสนบั สนุนการเรียนรู้ ที่สาขาวิชาและวิทยาลัยให้บรกิ าร

ในปีการศึกษา 2564 สาขาวิชาฯ มีการให้อาจารย์ประจาหลักสูตรประเมินความพึงพอใจของส่ิง

สนับสนุนการเรียนรู้ในสาขาวิชาฯ โดยผลความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ประเมิน โดยอาจารย์

ประจาหลักสูตร จานวน 5 คน มีความคิดเห็นต่อส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.71 สามารถจาแนกตามดา้ นตา่ งๆ ดังน้ี

การประเมินความพึงพอใจความคิดเห็นต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านกายภาพ (อาจารย์ประจา

หลกั สูตร)

รายการประเมนิ ปีการศึกษา
2561 2562 2563 2564

1. ห้องเรยี นมจี านวนเพียงพอกับผู้เรยี น 4.60 4.80 4.80 4.80

2. สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรยี นให้สะอาด มแี สงสว่างเพยี งพอ เอ้ือ 4.80 4.80 4.80 4.80

ตอ่ การเรยี น

3. หอ้ งปฏิบตั ิการมีแสงสว่าง อากาศถา่ ยเท หรืออณุ หภูมิ เหมาะสม 4.40 4.20 4.80 4.80

4. มีการดูแลรักษาวสั ดุอปุ กรณ์ในห้องปฏบิ ัติการให้พรอ้ มใช้งานอยู่ 4.60 4.80 4.80 4.80

เสมอ

5. ระบบสาธารณูปโภค เช่น นา้ ประปา ไฟฟ้า เพยี งพอและเหมาะสม 5.00 4.40 4.80 4.85

6. มีอุปกรณ์ป้องกนั อัคคีภยั ในบรเิ วณอาคารตา่ ง ๆ เชน่ ถังดับเพลิง 4.80 4.80 5.00 5.00

หัดฉีด ดบั เพลิง

7. วสั ดุ อุปกรณใ์ นการจัดการเรียนรูก้ ารสอนมเี พยี งพอกับผู้เรยี น 4.60 5.00 4.60 4.65

8. มีการบริการจัดนา้ ด่ืมสาหรับนักศึกษาประจาช้ันตา่ งๆ 4.60 4.80 4.60 4.65

รวม 4.68 4.68 4.78 4.80

การประเมินความพึงพอใจดา้ นส่ิงอานวยความสะดวกหรือทรพั ยากรที่เอ้ือต่อการเรียน (อาจารย์ประจา

หลกั สตู ร)

รายการประเมนิ ปกี ารศกึ ษา
2561 2562 2563 2564

1. ส่ือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในห้องเรียนมีความเพียงพอและมี 4.80 4.80 4.60 4.60

ประสิทธภิ าพภาพใช้งาน

2. มีห้อง smart class room ท่ีทันสมัยและอานวยความสะดวกใน 4.80 4.80 4.60 4.60

การเรยี นรู้

3. ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการมีอุปกรณ์และสื่อเทคโนโลยีท่ีใช้ในการ 4.80 4.80 5.00 5.00

สอนทท่ี นั สมัย มีคณุ ภาพ และพรอ้ มใช้งานอย่เู สมอ

4. มีสถานท่ีสาหรับให้นักศึกษาและอาจารย์ได้พบปะ แลกเปล่ียน 4.40 4.40 4.60 4.65

สนทนา และทางานรว่ มกนั

5. ห้องสมุดคณะ ๆ มีหนังสือ ตารา ส่ิงพิมพ์ และวารสารวิชาการ 4.80 4.80 4.80 4.90

ทนั สมยั หลากหลาย

รวม 4.72 4.72 4.72 4.75

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 152

ผลความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ประเมินโดยนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
จานวน 108 คน มีความคิดเห็นต่อส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.74 โดย
สามารถจาแนกตามดา้ นต่างๆ ดังน้ี

การประเมินความพึงพอใจต่อสิง่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ดา้ นกายภาพ (นกั ศกึ ษา)

รายการประเมิน ปีการศึกษา
2561 2562 2563 2564

1. ห้องเรียนมีจานวนเพยี งพอกบั ผู้เรยี น 4.73 4.37 4.80 4.80

2. สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนให้สะอาด มีแสงสว่างเพียงพอ เอื้อ 4.72 4.83 4.75 4.78

ต่อการเรยี น

3. หอ้ งปฏิบตั กิ ารมแี สงสวา่ ง อากาศถ่ายเท หรอื อุณหภมู ิ เหมาะสม 4.76 4.96 4.78 4.75

4. มีการดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการให้พร้อมใช้งานอยู่ 4.69 4.80 4.71 4.71

เสมอ

5. ระบบสาธารณูปโภค เช่น นา้ ประปา ไฟฟ้า เพียงพอและเหมาะสม 4.68 4.78 4.69 4.70

6. มีอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่าง ๆ เช่น ถังดับเพลิง 4.72 4.94 4.75 4.82

หัดฉีด ดับเพลงิ

7. วัสดุ อปุ กรณใ์ นการจัดการเรยี นร้กู ารสอนมีเพียงพอกับผู้เรยี น 4.70 4.75 4.70 4.75

8. มกี ารบรกิ ารจัดน้าดื่มสาหรับนกั ศกึ ษาประจาชัน้ ต่างๆ 4.76 4.54 4.80 4.80

รวม 4.72 4.72 4.75 4.80

การประเมนิ ความพึงพอใจดา้ นส่งิ อานวยความสะดวกหรอื ทรพั ยากรทเ่ี ออ้ื ต่อการเรียน (นักศึกษา)

รายการประเมิน ปีการศกึ ษา
2561 2562 2563 2563

1. ส่ือและอปุ กรณ์การเรียนการสอนในห้องเรียนมีความเพยี งพอและมี 4.73 4.64 4.78 4.75

ประสิทธภิ าพภาพใช้งาน

2. มีห้อง smart class room ท่ีทันสมัยและอานวยความสะดวกใน 4.69 4.69 4.72 4.75

การเรียนรู้

3. ห้องเรียนและห้องปฏิบตั ิการมีอุปกรณ์และส่ือเทคโนโลยีทใี่ ช้ในการ 4.77 4.82 4.73 4.75

สอนทีท่ ันสมยั มคี ณุ ภาพ และพร้อมใชง้ านอยูเ่ สมอ

4. มีสถานที่สาหรับให้นักศึกษาและอาจารย์ได้พบปะ แลกเปล่ียน 4.74 4.88 4.75 4.80

สนทนา และทางานรว่ มกัน

5. ห้องสมุดคณะ ๆ มีหนังสือ ตารา ส่ิงพิมพ์ และวารสารวิชาการ 4.71 4.77 4.72 4.74

ทันสมยั หลากหลาย

รวม 4.73 4.73 4.74 4.76

ตารางผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดย

เปรยี บเทียบในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา

บุคคล ปกี ารศึกษา

2561 2562 2563 2563

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 153

อาจารย์ 4.69 4.72 4.75 4.82

นักศึกษา 4.73 4.75 4.74 4.79

คา่ เฉลยี่ ความพงึ พอใจ 4.71 4.74 4.75 4.80

จากตารางข้างต้นแสดงให้เห็นถึงความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาท่ีมีต่อสิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกปี และสาขาวิชาฯ ได้มีการประชุมเพื่อหาแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถ
และจัดสรรสงิ่ สนับสนุนการเรียนรู้ให้เกดิ ประโยชน์ในการเรยี นของนกั ศึกษาทุกชัน้ ปี
มีการปรบั ปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน

กาลังดาเนนิ การ
มีผลจากการปรบั ปรงุ เหน็ ชัดเจนเปน็ รปู ธรรม

-

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตามตัวบ่งชท้ี ี่ 6 : ส่ิงสนบั สนุนการเรียนรู้ (กระบวนการ)

เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย
 บรรลุ  ไมบ่ รรลุ

4 คะแนน 4 คะแนน

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง องคป์ ระกอบที่ 6 : สง่ิ สนับสนุนการเรยี นรู้

ตวั บ่งชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการประเมิน

6.1 4 คะแนน

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 154


Click to View FlipBook Version