The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มรอบ9เดือน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rek_lis, 2022-04-03 05:20:48

รวมเล่มรอบ9เดือน

รวมเล่มรอบ9เดือน

3 ทกั ษะชีวติ และ ค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติม และเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ด้วย
การทางาน ตนเอง เกดิ แนวคดิ ใหมๆ่ เพอ่ื ใช้ในการพัฒนาหรือสร้างนวตั กรรมใหม่ๆ
1.2 รายวิชาการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศ มีการบรณู าการเรียน
การสอนร่วมกับการวิจัย โดยอาจารย์ท่ีปรึกษาทางวิชาการมอบหมายให้
นักศึกษาศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากงานวิจัย วัตถุประสงค์เพื่อให้
นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง หาองค์ความรู้ใหม่เพ่ือให้เกิดการ
พฒั นาการคิด วิเคราะห์ เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้าน
การเรียนรู้และนวัตกรรม และด้านทักษะการใช้สื่อและเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.3 รายวชิ าวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีการส่งเสริมการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้าน
ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะด้านการเรียนรู้และ
นวัตกรรม นอกเหนือจากเนื้อหารายวิชาหลักอาจารย์ผู้สอนได้นาสื่อด้าน
เทคโนโลยี เครื่องมือ และอุปกรณ์สมัยใหม่ ยุค 4.0 มาเปิดให้นักศึกษาได้
ชม ค้นคว้าหาเพ่ิมเติม และนาเสนอหน้าชั้นเรียน เพ่ือเป็นพัฒนานักศึกษา
ใหท้ นั ตอ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในยคุ ปจั จุบนั

3.1 รายวชิ าสหกิจศกึ ษาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดการเรียนทักษะชีวิตและการทางาน
ซ่ึงรายวิชานี้จะส่งนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์การทางานร่วมกับผู้อ่ืนในสถาน
ประกอบการเป็นระยะเวลา 4 เดือน เพ่ือให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะด้านการปรับตัว
ทักษะสังคม และเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม นอกจากนี้อาจารย์ยังได้มอบหมายให้
นกั ศึกษาศึกษาปัญหาที่เกิดในกระบวนการผลิตซอฟตแ์ วร์ และนาปัญหาน้ันมาเป็น
หัวข้อโครงงานในการศึกษา เพื่อเสริมสร้างใหน้ ักศกึ ษาเกิดการเรียนรู้ คิดวิเคราะห์
และแกไ้ ข ฝกึ การเปน็ ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ

4. ทักษะด้าน 4.1 รายวิชาการเป็นผปู้ ระกอบการเพือ่ สร้างธรุ กิจใหม่
ความรู้เชิงบรู ณา รายวิชาการเป็นผู้ประกอบการเพื่อสร้างธุรกิจใหม่นอกจากการเรียนรู้
การ ทักษะ บทบาทและความรับผิดชอบของการเป็นผู้ประกอบการ รูปแบบของการ
ประกอบธุรกิจ กฎหมาย การวางแผนเชิงกลยุทธ์ แผนการตลาด แผนการผลิต
แผนการบริหารจัดการ และแผนการเงิน ยังได้สอดแทรกทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 โดยมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตและ
นาเสนอแผนงานหรือโครงการเพ่อื ฝึกนักศึกษาให้เกิดการคดิ วิเคราะห์ การวางแผน
เชิงกลยุทธ์ การตลาดในการเปน็ ผปู้ ระกอบการ

5. ทักษะ สาหรับทักษะด้านสารสนเทศและส่ือเทคโนโลยีอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
สารสนเทศและส่ือ หลักสูตรได้กาหนดให้อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกในแผนการสอน โดยมอบหมายให้
เทคโนโลยี นกั ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพ่ิมนอกเหนือจากเนอื้ หาในรายวิชาและนาเสนอหน้าช้ัน
เรียน เพื่อเป็นการสนับสนุนให้นักศึกษาให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองภายนอก
ห้องเรียน รู้จักใช้สารสนเทศและส่ือเทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ และทันต่อ
เทคโนโลยีสาหรบั โลกในยุค 4.0

นอกจากนี้หลักสูตรยังได้จัดรายวิชาสอนเพื่อเสริมสร้างทักษะสารสนเทศ
และสื่อเทคโนโลยี คือ รายวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยมุ่งเน้นให้ให้

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 45

นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากระบบ

สารสนเทศ เพอ่ื สนับสนุนให้นักศกึ ษาใชร้ ะบบสารสนเทศและสื่อเทคโนโลยีได้อยา่ ง

หลากหลายและมปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ

6. การจดั กจิ กรรม 6.1 รายวชิ าวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์

เสริมสร้างความเป็น ได้บูรณาการรายวิชาด้านงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โดยให้นักศึกษา

พลเมืองดที ีม่ ี กาหนดโครงงานวิจัยของนักศึกษามาประยุกต์เรื่องของการบารุงศิลปวัฒนธรรม

จิตสานึกสาธารณะ เช่น ระบบสารสนเทศของวัดและชุมชน, ระบบสารสนเทศการประชาสัมพันธ์

และอนรุ ักษศ์ ิลปะ ชุมชนและผลิตภัณฑ์ชุมชน, ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการท่องเท่ียวในชุมชน

และวฒั นธรรม โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การประชาสัมพันธ์วัดเขาน้อย ปากน้าปราณ

เปน็ ต้น และนาเสนอโครงงานทจี่ ดั ทา เพือ่ เผยแพร่ใหก้ ับชมุ ชนและปฏิบัตจิ รงิ โดย

นักศึกษาเปน็ วทิ ยากร

7. สง่ เสรมิ กจิ กรรม นอกจากกิจกรรม/โครงการท่ไี ด้จัดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

การเผยแพรผ่ ลงาน และกิจกรรมส่งเสริมการเป็นพลเมืองดี หลักสูตรยังได้เสริมสร้างและสนับสนุนให้

ทางวิชาการของ นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการเผยแพร่ผลงานวิชาการในงานต่างๆ โดยส่งเสริมให้

นักศกึ ษา นกั ศึกษาเข้าร่วมโครงการ ดงั น้ี

1) โครงการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 ท่หี ลกั สูตรได้งบประมาณสนับสนนุ จากคณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี

หลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดข้ องบประมาณสนับสนุนโครงการ/
กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึง
โครงการที่ได้รับสนับสนุนมีดังตอ่ ไปนี้

2) ดาเนินการตามแผนดาเนินการ หากมีกรณีที่โครงการ/กิจกรรมไม่ได้รับการอนุมัติ
งบประมาณสนับสนุน

ผลการจัดทาแผนปฏิบัตริ าชการ 5 ปี (พ.ศ. 2559-2564) เพื่อของบประมาณสนบั สนนุ โครงการ
ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พบว่า มี
โครงการที่ไม่ได้รับการอนุมัติงบประมาณสนับสนุน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมพิจารณา
ร่วมกนั เพื่อปรบั รปู แบบและลดขนาดของโครงการ โดยได้ข้อสรุปดงั นี้

กรณีท่มี ีโครงการไมไ่ ด้รบั งบสนับสนุนตามแผนท่ีวางไว้ หลักสูตรจะจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา
นกั ศึกษาเพิ่มเติมเพ่อื ชดเชยในส่วนที่ขาด โดยของบประมาณของงบกิจกรรมนกั ศกึ ษาจากคณะฯ เพื่อให้
มีโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้ครอบคลุมทุกด้าน ซึ่งกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา
นกั ศกึ ษาในการศกึ ษา 2564 ทห่ี ลกั สูตรได้จัดขึ้น คอื

- โครงการทาบญุ สาขาวชิ า ประจาปี 2564
- งานปีใหม่ ประจาปี 2564

1. จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี นในรายวิชาต่าง ๆ เพื่อการพฒั นา
ศกั ยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
1. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการกาหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเก่ียวข้อง
พฒั นาศักยภาพนกั ศึกษาและเสรมิ สร้างทักษะการเรยี นรู้ จานวน 4 กิจกรรม

กิจกรรมพฒั นาศกั ยภาพนกั ศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (นอกห้องเรียน)

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 46

ช่อื กจิ กรรม กลุ่มวชิ า กลมุ่ ทกั ษะ กลุ่มทกั ษะ กล่มุ ทกั ษะ
หลกั ชีวิตและ การเรียนรู้ สารสนเทศ
อาชพี และการ สื่อ และ
1. โครงการบูรณาการรายวิชาการโปรแกรม √ แกป้ ัญหา เทคโนโลยี
อุปกรณ์เคล่ือนที่ เรื่อง การพัฒนา √
แ อ ป พ ลิ เ ค ช่ั น เ พื่ อ น า เ ส น อ ข้ อ มู ล √ √ √
สารสนเทศ √
√ √ √
2. โ ค ร ง ก า ร บู ร ณ า ก า ร ร า ย วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร ม √ √
ซอฟต์แวร์ เร่ือง พัฒนาระบบสารสนเทศ √ √ √ √
เพอื่ ประชาสัมพนั ธ์สินค้า OTOP ผา้ บาติก √
จงั หวดั ชมุ พร 4 √ √
4 √ √
3. โ ค ร ง ก า ร บู ร ณ า ก า ร ร า ย วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร ม
ซอฟต์แวร์ เรื่อง วิศวกรรมความต้องการ 4 4
กบั การพัฒนาซอฟต์แวร์

4. การประชุมวชิ าการระดับปริญญาตรี ดา้ น
คอมพิวเตอรภ์ ูมภิ าคเอเซยี คร้งั ที่ 9

5. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ
ใช้งานโปรแกรม Microsoft Office

รวม

มีการประเมนิ กระบวนการ
กาลงั ดาเนนิ การ

มีการปรับปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน
กาลังดาเนินการ

มีผลจากการปรบั ปรุงเหน็ ชัดเจนเปน็ รปู ธรรม
กาลงั ดาเนนิ การ

มีแนวทางปฏิบัตทิ ดี่ ี โดยมหี ลักฐานเชิงประจกั ษ์ยนื ยนั
กาลงั ดาเนินการ

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองในตัวบง่ ช้ที ี่ 3.2 : การสง่ เสริมและพฒั นานักศกึ ษา (กระบวนการ)

บรรลเุ ปา้ หมาย

เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง  บรรลุ  ไม่

บรรลุ

4 คะแนน .....คะแนน 4 คะแนน

ตวั บ่งชี้ 3.3 ผลท่ีเกิดกับนกั ศกึ ษา

ตัวบ่งชี้ :: ผลลพั ธ์
- อัตราการคงอยู่

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 47

- การสาเรจ็ การศึกษา
- ความพึงพอใจและผลการจัดการขอ้ ร้องเรียนของนักศึกษา
3.3-1 อัตราการคงอยู่
ผลการดาเนินงาน

ตารางเปรียบเทียบอตั ราการคงอยู่จากข้อมลู จานวนนกั ศึกษานบั ถึงส้ินปกี ารศึกษา 2564 พบว่าอัตราการ

คงอยู่ของนักศึกษา ระดบั ปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี ปกติ

ปี จานวน จานวนสาเรจ็ การศึกษาตาม จานวนท่ี การคงอยขู่ อง อัตราการ อัตราการ
การศึกษา รับเข้า หลกั สูตร (2) ลาออกและคดั นกั ศึกษา สาเรจ็ คงอยู่
(1) ช่อื ออกสะสม (ตลอด การศกึ ษา (ร้อยละ)
2560 2561 2562 2564 หลกั สูตร) (รอ้ ยละ)
จนถึงส้ินปี (1)-(3)
การศึกษา (3)

2560 15 10 5 - 33.33

2561 24 7 17 - 70.83

2562 36 11 25 - 69.44

2563 22 19 3 - 85.71

2564

หมายเหตุ = อตั ราการสาเร็จการศึกษา = (2) X 100

(1)

อัตราการคงอยู่ = (1)  (3) X 100

(1)

จากข้อมูลอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาหลักสูตร 4 ปี (ปกติ) ปีการศึกษา 2564 มีจานวนนักศึกษาท่ี

รบั เขา้ 22 คน มีจานวนนกั ศึกษาทีค่ งอยู่ 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละของจานวนนักศึกษาที่คงอยู่ ร้อยละ 85.71 ซ่ึง

มอี ัตราการคงอย่ทู ่ีดีขึน้ และการลาออกและคดั ออกน้อยลง

อัตราการคงอยู่ของนกั ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี หลกั สูตร 4 ปี เทียบโอนรายวชิ า

ปี จานวน จานวนท่ี การคงอยู่ อัตราการ อัตราการ
ของ สาเรจ็
การศกึ ษา รับเขา้ ลาออก นักศกึ ษา คงอยู่
(1) จานวนสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู ร (2) และคัดชอื่ (ตลอด การศกึ ษา (รอ้ ยละ)
ออกสะสม หลักสูตร) (ร้อยละ)
จนถึงสิน้ ปี
การศกึ ษา (1)-(3)

2561 2562 2564 (3)

2562 23 5 7 16 21.74 69.56
2563 41 3 38 - 92.68
2564

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 48

หมายเหตุ = อัตราการสาเร็จการศกึ ษา = (2) X 100

(1)

อตั ราการคงอยู่ = (1)  (3) X 100

(1)

จากข้อมลู อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาหลกั สูตร 4 ปี (เทยี นโอนรายวชิ า) ปีการศกึ ษา 2564 มจี านวน
นกั ศึกษาท่ีรับเข้า 41 คน มีจานวนนักศึกษาทค่ี งอยู่ 38 คน คดิ เป็นรอ้ ยละของจานวนนกั ศกึ ษาท่ีคงอยู่ ร้อยละ
92.68 ซ่ึงมีอตั ราการคงอยู่ทดี่ ีขนึ้ และการลาออกและคดั ออกน้อยลง
จากการวเิ คราะห์ข้อมูลพบว่า

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เปิดจัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตร
ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 สาหรบั นักศึกษาท่ีเข้าศึกษาตงั้ แตป่ กี ารศกึ ษา 2560 เป็นต้นไป

ผลจากการวิเคราะห์สรุปได้ว่า จานวนนักศึกษาในปีการศึกษา 2564 มีอัตราคงอยู่ท่ีดีขึ้นเมื่อ
เปรียบเทียบอัตราการคงอยู่ของนักศึกษา 3 ปีย้อนหลัง เนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ เช่น การให้คาปรึกษาของ
อาจารยท์ ีป่ รึกษา อาจารย์ประจารายวชิ า และอาจารย์ในสาขาวชิ า ได้มกี ารประชมุ พูดคุยกบั นกั ศกึ ษาเพ่มิ เติม
และเข้าถงึ ตวั บุคคลมากขน้ึ เป็นต้น

การหาแนวทางแก้ไข หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ควรเน้นระบบ
อาจารย์ที่ปรึกษาให้เข้มข้น มีการประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร/อาจารย์ท่ีปรึกษา เพื่อกวดขัน กากับดูแล
นกั ศึกษาอยา่ งใกลช้ ิด ให้คาปรึกษาแนะแนวทางเพอื่ ใหส้ ามารถเรียนไดจ้ นครบหลกั สตู ร

สรุปแนวโน้มของอัตราการคงอยู่ในหลักสูตรเมื่อเทียบระหว่างปีการศึกษา 2560 และ ปีการศึกษา
2564 พบวา่ มอี ตั ราการคงอยู่ท่ีดขี น้ึ ทงั้ ในหลักสตู รปี 4 (ปกติ) และหลกั สตู ร 4 ปี (เทยี บโอนรายวชิ า)

3.3-2 การสาเรจ็ การศึกษาตามระยะเวลาของหลักสตู ร

ตารางแสดงอตั ราการสาเร็จการศึกษาตามระยะเวลาของหลกั สูตร

การสาเรจ็ การศกึ ษาตามระยะเวลาของหลกั สูตรของนักศกึ ษาหลกั สูตร 4 ปี (ปกต)ิ

ปีการศึกษาที่ จานวน 2559 ปีการศกึ ษาท่สี าเรจ็ การศึกษา 2564 รวม
รบั เขา้ /(ต้งั แต่ปี ท่ีรับเข้ามา (%)
การศกึ ษาท่ีเรม่ิ จานวน รอ้ ยละ 2561 2562 จานวน ร้อยละ
ใช้หลักสูตร) (คน) (คน) (%) (คน) (%)
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
(คน) (%) (คน) (%)

2558 36 - - 4 11.11 5 13.89 1 2.78 27.78

2559 33 6 18.18 9 27.27 45.45

2560 15 - - - - - - - - 0.00

2561 24 - - - - - - - - 0.00

2562 36 - - - - - - - - 0.00

2564 22 - - - - - - - - 0.00

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง 2560) ของนักศึกษา

หลักสูตร 4 ปี (ปกต)ิ ของนักศึกษาปี 2560 ซ่ึงมีผู้สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2564 ไม่ปรากฏผ้สู าเร็จในปี

การศกึ ษานี้

การสาเร็จการศึกษาตามระยะเวลาของหลกั สูตรของนักศึกษาหลกั สตู ร 4 ปี (เทยี บโอนรายวชิ า)

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 49

ปีการศึกษาที่ จานวน 2560 ปกี ารศกึ ษาทสี่ าเร็จการศึกษา 2564 รวม
รับเข้า/(ต้ังแตป่ ี ทีร่ ับเขา้ มา (%)
การศึกษาท่เี รม่ิ จานวน ร้อยละ 2561 2562 จานวน รอ้ ยละ
ใช้หลกั สูตร) (คน) (คน) (%) (คน) (%)
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
(คน) (%) (คน) (%)

2560 15 - - 3 20.00 5 33.33 4 26.67 80.00

2561 25 - - - - 8 32.00 13 52.00 84.00

2562 23 - - - - - - 5 21.74 21.74

2564 41 - - - - - - - - 0.00

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง 2560) ของนักศึกษา

หลักสูตร 4 ปี (เทียบโอนรายวิชา) ของนักศึกษาปี 2562 ซ่ึงมีผู้สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2564 เป็น

จานวน 5 ราย คดิ เป็นร้อยละ 21.74

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสาเรจ็ การศกึ ษา

1. ในหลักสูตรมีบางรายวิชาเป็นวิชาบังคับก่อน-หลัง นักศึกษาไม่สามารถลงทะเบียนเรียนวิชาบังคับ

หลังไดห้ ากไมผ่ ่านเกณฑ์วชิ าแรก สง่ ผลให้ไม่สาเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กาหนดในหลักสูตร

2. นักศึกษาไม่มีเป้าหมายวิชาชีพท่ีชัดเจน เมื่อเข้ามาศึกษาแล้วไม่ตรงกับความต้องการของตัวเอง จึง

ทาให้นกั ศึกษาออกจากการศกึ ษาในระหวา่ งปีการศึกษา

แนวทางการแกไ้ ขปัญหา

1. อาจารย์ประจาหลักสูตรมอบหมายอาจารย์ท่ีปรึกษาผ่านหัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศให้

การแก้ปัญหาการออกจากการศึกษากลางคันเป็นภาระงานของอาจารย์ท่ีปรึกษาท่ีต้องมีการกากับดูแลและ

แนะแนวทางด้านวิชาการการให้คาปรึกษาในด้านต่าง ๆ รวมถึงการสังเกตและสอบถามอย่างต่อเนื่อ งและ

สม่าเสมอเพื่อการแก้ไขได้ทันเวลา นอกจากนี้ยังกาชับให้อาจารย์ที่ปรึกษาดูแล ดิดตามการลงทะเบียนเรียน

ของนกั ศึกษา ตลอดจนการเทียบโอนรายวชิ าของนกั ศึกษาหลกั สตู รเทยี บโอนรายวิชาด้วย

2. เพ่ิมบรรยากาศของสาขาให้มีโอกาสในการใช้ภาษาต่างประเทศมากข้ึน เพ่ือสร้างความคุ้นเคยให้

นักศกึ ษาทอี่ าจสง่ ผลตอ่ การเรียนร้ใู นรายวิชาภาษาต่างประเทศได้ดีข้นึ

3. ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาบรรยายให้จัดการศึกษาดูงานนอกสถานท่ีเพิ่มข้ึนและ

นาเทคนิคการสอนรูปแบบใหม่ ๆ มาใช้ให้มากขึ้น เพ่ือดึงดูดความสนใจใฝ่เรียนของนักศึกษา ลดปัญหา

การศกึ ษาเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรกาหนด

4. ขอความอนุเคราะห์ศิษย์เก่าที่ประสบความสาเร็จในอาชีพการงานมาในงานศิษย์เก่า เพ่ือให้

นักศึกษาได้เห็นความสาเร็จของรุ่นพ่ี และอาจสรา้ งแรงกระตุ้นใหม้ ุง่ สู่ความสาเรจ็ เช่นเดยี วกบั รนุ่ พี่

3.3-3 ความพงึ พอใจและผลการจดั การข้อร้องเรียนของนักศึกษา

1. ความพึงพอใจของนักศกึ ษา

การดาเนนิ การ ผลการดาเนินการ

11.ความพงึ พอใจของ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดทาแบบ

นกั ศกึ ษา (ความพึงพอใจของ ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพของ

นกั ศกึ ษาในเรื่องของหลักสูตร) หลักสูตร ทั้งน้ีผู้รับผิดชอบงานประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/

บณั ฑิตใหมท่ ่ีมตี ่อคุณภาพของหลกั สูตรได้นาผลการประเมินไปเสนอต่อที่ประชุม

อาจารย์ประจาหลักสูตร ซึ่งท่ีประชุมมีมติรับทราบความพึงพอใจของนักศกึ ษาปี

สุดทา้ ย/บณั ฑิตใหมท่ ีม่ ตี อ่ คณุ ภาพของหลกั สตู ร

ตารางผลการการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ท่ีมีต่อคุณภาพของหลักสูตร

ย้อนหลัง 3 ปี

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 50

2560 2561 2562 2564
ค่าเฉล่ยี ระดบั คา่ เฉล่ยี ระดับ ค่าเฉล่ยี ระดับ
ประเด็น ค่าเฉลย่ี ระดบั ผลการ ความ ผลการ ความ ผลการ ความ
ประเมิน พงึ ประเมนิ พึง ประเมนิ พงึ
ผลการ ความ
พอใจ พอใจ พอใจ
ประเมนิ พึง 4.08 ดี 4.38 ดี 4.42 ดี
4.28 ดี 4.30 ดี 4.37 ดี
พอใจ 4.42 ดี
4.05 ดี 4.12 ดี
1. หลักสตู ร 3.85 ดี 4.20 ดี
4.17 ดี 4.20 ดี
2. อาจารย์ผสู้ อน 4.10 ดี 4.25 ดี
4.17 ดี 4.20 ดี 4.38
3. สภาพแวดล้อมการ 3.98 ดี
เรยี นรู้ 4.34 ดี 4.37 ดี ดี

4. การจัดการเรียนการ 4.05 ดี 4.18 ดี 4.26 ดี 4.31 ดี
สอน

5. การวดั ประเมนิ ผล 4.01 ดี

6. ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด

ห ลั ก สู ต ร ไ ด้ พั ฒ น า 4.18 ดี

คุณลกั ษณะของผเู้ รยี น

รวม 4.02 ดี

นอกจากนี้อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรฯ ได้ประชุมทบทวนและสรุปผลจากแบบประเมนิ ดังกลา่ ว เพื่อรายงาน
ผลการบริหารหลักสูตรฯ ตามแบบ มคอ.7 และเพื่อรวบรวมข้อมูลมาใช้สาหรับการปรับปรุงการบริหารจัดการ

หลักสูตรฯ ในปีการศึกษา 2564 ได้ปรับปรุงข้อคาถาม ดาเนินการและสรุปผลการสอบถามความพึงพอใจ

ดังต่อไปนี้

หวั ขอ้ การประเมนิ ค่าเฉล่ยี ระดับความ
พึงพอใจ

การรบั นกั ศกึ ษา

1. การกาหนดเปา้ หมายการรับนักศกึ ษาในหลักสตู รโดยพิจารณาความต้องการของตลาดและ 4.75 ดี

ความพรอ้ มของอาจารยท์ ม่ี อี ยู่

2. การกาหนดคณุ สมบตั ิของนกั ศึกษาท่ีสอดคล้องกับความตอ้ งการของหลกั สูตร เชน่ ความรู้ 4.08 ดี

พ้ืนฐาน ต่างๆและคณุ สมบตั อิ ืน่ ๆ

3. เกณฑ์ท่ใี ชใ้ นการคัดเลือกนักศกึ ษามคี วามเหมาะสมเช่อื ถอื ไดโ้ ปรง่ ใสเปน็ ธรรม 4.11 ดี

4. การเตรยี มความพรอ้ มของนักศกึ ษาก่อนเข้าศึกษาเพือ่ ใหน้ กั ศึกษาไดร้ บั การพฒั นาตนเอง 4.42 ดี

พร้อมทง้ั สามารถเรียนในหลักสตู รจนสาเรจ็ การศกึ ษา

เฉล่ียรวม 4.34 ดี

กระบวนการเตรยี มความพร้อม

5. ความเหมาะสมของรายวชิ าในการเรยี นปรบั พื้นฐาน 4.54 ดีมาก

6. ระยะเวลาในการจัดการเรยี นปรบั พนื้ ฐาน 4.08 ดี

7. ความสามารถในการประยุกต์ใชค้ วามรู้จากการเรยี น ปรับพ้นื ฐานวชิ าภาษาองั กฤษ กับ 4.37 ดี

การเรยี นในหลักสตู ร

8. ความสามารถในการประยุกตใ์ ช้ความรจู้ ากการเรยี น ปรบั พน้ื ฐานวชิ าคณิตศาสตรก์ บั การ 4.44 ดี

เรียนในหลักสตู ร

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 51

9. การเรยี นปรับพนื้ ฐานสามารถสรา้ งความพรอ้ มในการเรียนตามหลักสตู รได้ 4.46 ดี
10. การปฐมนิเทศของสาขาวชิ าสามารถสร้างความพร้อมให้นักศึกษาเรยี นตามหลกั สตู รได้ 4.19 ดี
รวมเฉลย่ี 4.35 ดี
การส่งเสรมิ และพฒั นานกั ศึกษา
11. กระบวนการจดั การเรยี นการสอนของหลกั สูตรเน้นการพฒั นานักศึกษาไดเ้ รียนรบู้ รู ณาการ 4.50 ดมี าก
กับพนั ธกิจ ต่างๆ
12. การพฒั นาศักยภาพนักศกึ ษาและการเสรมิ สร้างทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 4.17 ดี
13. การเปิดโอกาสให้นักศกึ ษาสามารถตดิ ต่อสอ่ื สารไดห้ ลากหลายชอ่ งทางอาทิ แบบคารอ้ ง 4.33 ดี
ต้จู ดหมาย เฟซบุ๊ค ไลน์ เปน็ ตน้
14. การใหค้ าแนะนาการลงทะเบยี นเรเรยี นวธิ ีการเรยี นการพฒั นาทักษะความรู้ทกั ษะทาง 4.28 ดี
วิชาการและทกั ษะชวี ติ พรอ้ มทัง้ การกาหนดแผนการเรียนตามหลกั สูตรและควบคุม
เฉล่ียรวม 4.32 ดี

การลงทะเบยี นเรยี นของนักศกึ ษาให้เป็นไปตามแผนการเรยี น 4.53 ดีมาก
15. การใหค้ าปรกึ ษาแนะนาและชว่ ยเหลือนกั ศกึ ษาท่ีมีปัญหาดา้ นการเรยี นเพ่ือแก้ไขปัญหาให้ 4.39 ดี
ลุล่วงไปดว้ ยดี 4.22 ดี
16. การกากบั ติดตาม ตรวจสอบ ผลการเรยี นของนกั ศกึ ษาเพื่อช่วยใหน้ ักศึกษาสาเรจ็ 4.38 ดี
การศกึ ษาตาม ระยะเวลาของหลกั สตู ร
17. การใหค้ าปรกึ ษา แนะนา ตกั เตอื น การทากิจกรรม การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ การวางตัว และ
การส่ือสารกบั บุคคลอน่ื ๆอยา่ งเหมาะสม
เฉลย่ี รวม

ผลท่ีเกดิ กบั นกั ศกึ ษา ดี
18. การแกไ้ ข/ปรับปรงุ เกย่ี วกับขอ้ รอ้ งเรียนของนกั ศึกษาท่มี ีต่อหลกั สูตรและการจดั การศึกษา 4.36

ความพงึ พอใจและผลการจดั การข้อรอ้ งเรียน

19. ความพึงพอใจต่อกระบวนการจดั การข้อรอ้ งเรยี น 4.33 ดี

20. การชแ้ี จงระบบขน้ั ตอนการร้องเรยี นและการจดั การขอ้ ร้องเรียนของนกั ศกึ ษา 4.33 ดี

21. ความเหมาะสมของช่องทางการร้องเรยี นของนกั ศึกษา 4.39 ดี

22. ความเหมาะสมของคณะกรรมการการจดั การข้อร้องเรียน 4.39 ดี

23. ผลการจัดการขอ้ ร้องเรียนเปน็ ไปตามลาดบั ขั้นตอน 4.36 ดี

เฉล่ยี รวม 4.36 ดี

1. ความพึงพอใจของ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดทาแบบ

นักศกึ ษา ประเมินความพึงพอใจของนกั ศกึ ษา

ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาในเรื่องของ 1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office
การจดั กจิ กรรมของการพัฒนาศกั ยภาพ
นกั ศึกษาและการเสรมิ สร้างทกั ษะการ วันท่ี 4-5 และ 11 มกราคม 2564 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชา
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จดั โครงการโดย เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษามีความพึง

สาขาวชิ าฯ พอใจเฉลยี่ เท่ากับ 4.48 รอ้ ยละ 93.23

2. โครงการการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบส่ือพิมพ์ วันท่ี 7-9

กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเทคโนโลยี

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 52

สารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี นักศึกษามีความพึงพอใจเฉลี่ย
เท่ากบั 4.68 รอ้ ยละ 93.50
3. ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน สาขาพนักงานการใช้คอมพิวเตอร์ (ตารางทา
การ : Excel) (ข้อสอบทฤษฎี) จากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัด
ประจวบคีรีขนั ธ์ นกั ศกึ ษามีความพึงพอใจเฉล่ียเทา่ กับ 4.58 รอ้ ยละ 91.67
4. โครงการทาบุญสาขา ประจาปี 2564 นักศึกษามีความพึงพอใจเฉล่ียเท่ากับ
4.66 รอ้ ยละ 93.27
5. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการประชาสัมพันธ์วัดเขาน้อย ปากน้า
ปราณ ของนักศึกษาท่ีเรียนรายวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ นักศึกษามีความพึง
พอใจเฉลย่ี เท่ากบั 4.45 ร้อยละ 90.25

2. การจดั ช่องทางการยน่ื ข้อรอ้ งเรียนของนักศกึ ษา

การดาเนนิ การ ผลการดาเนนิ การ

1. การจัดชอ่ งทางการยน่ื ขอ้ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น/

ร้องเรยี นของนกั ศึกษา ความไม่พึงพอใจตอ่ การดาเนินการจดั การเรียนการสอนตามหลักสูตร โดยมีการ

ติดตั้งกล่องรับฟังความคิดเห็นทุกอาคารท่ีมีการจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้

นักศึกษาได้ยื่นข้อร้องเรียนได้สะดวกมากย่ิงข้ึน และมีช่องทางในการย่ืนข้อ

ร้องเรียน ดังต่อไปนี้

1. นกั ศึกษาย่ืนผ่านคณะฯ

2. นกั ศึกษายืน่ โดยตรงทส่ี าขาวชิ า/หวั หนา้ สาขา

3. การร้องเรยี นด้วยวาจา

4. การร้องเรียนดว้ ยลายลักษณอ์ ักษร

5. ผ่านระบบงานทะเบียนนักศกึ ษา (https://reg.rmutr.ac.th)

6. ผา่ นสอ่ื ออนไลน์

2. กระบวนการจัดการข้อรอ้ งเรยี น หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีกระบวนการ

ระดับหลกั สูตร จัดการขอ้ รอ้ งเรียนของนกั ศึกษา ดงั น้ี

1. หัวหน้าสาขาวิชารวบรวมข้อร้องเรียนที่นักศึกษาร้องเรียนผ่านกล่อง

รับฟังความคิดเห็นหรือทาหนังสือแจ้งเรื่องร้องเรียน แล้วแจ้งไปยัง

ผเู้ กี่ยวข้อง

2. หัวหน้าสาขาวิชากากับติดตามผลการจัดการข้อร้องเรียนโดยการ

สอบถามความก้าวหน้าในการดาเนินงาน

3. ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการจัดการข้อร้องเรียน รายงานผลการ

จัดการข้อร้องเรียนไปยังคณะและประเมินผลความพึงพอใจในการ

จดั การขอ้ รอ้ งเรยี น (โดยใช้แบบสอบถาม)

4. อาจารย์ประจาสาขาวิชาร่วมกันประเมินกระบวนการจัดการข้อ

ร้องเรียน โดยพิจารณาถึงจานวนข้อร้องเรียนท่ีลดลงหลังจากมีการ

ปรบั ปรุงขอ้ รอ้ งเรยี นของนกั ศกึ ษา

ทั้งนี้ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา

เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ยังไม่มีนักศึกษาแจ้ง

เร่ืองร้องเรียนผ่านทางกล่องรับฟังความคิดเห็นหรือทาหนังสอื แจ้งเรือ่ งร้องเรียน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 53

แต่คณะยังคงมีการประชาสัมพันธ์ข้ันตอนการแจ้งเร่ืองร้องเรียนให้นักศึกษา

ทราบอยา่ งท่ัวถงึ ทกุ ช้นั ปี

ผลการจดั การขอ้ รอ้ งเรยี น

ข้อรอ้ งเรยี นของนักศึกษา – ไมม่ กี ารสรุปข้อรอ้ งเรียนนกั ศกึ ษา ตามผลการ

จัดการขอ้ ร้องเรียน

สรุปความพงึ พอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนกั ศกึ ษา

ข้อรอ้ งเรยี นของนกั ศกึ ษา – ไมม่ กี ารสรุปขอ้ ร้องเรียนนักศึกษา ตามผลการจัดการขอ้ รอ้ งเรยี น

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองในตวั บ่งชีท้ ี่ 3.3 : ผลท่เี กิดกบั นกั ศึกษา (ผลลัพธ์)

บรรลุเปา้ หมาย

เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง  บรรลุ  ไม่

บรรลุ

4 คะแนน .....คะแนน 4 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องคป์ ระกอบที่ 3 : นกั ศึกษา

ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนน
(คะแนน) (คะแนน) จากผลการประเมนิ

3.1 การรบั นักศกึ ษา (กระบวนการ) 4 4

3.2 การสง่ เสรมิ และพฒั นานกั ศึกษา (กระบวนการ) 4 4

3.3 ผลท่เี กดิ กับนกั ศกึ ษา (ผลลัพธ)์ 4 4

ค่าคะแนนรวมเฉล่ีย 4

ระดับคุณภาพมาตรฐาน

รายการหลักฐาน
ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนกั ศึกษา

1. การรบั นกั ศกึ ษา

2. การเตรยี มความพร้อมก่อนเขา้ ศึกษา

ตัวบ่งช้ี 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานกั ศึกษา
1. การควบคุมการดแู ลการให้คาปรกึ ษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี
รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 54

2. การพัฒนาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาและการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
ตวั บง่ ช้ี 3.3 ผลทีเ่ กิดกับนกั ศึกษา

1. อตั ราการคงอยู่
2. การสาเรจ็ การศึกษา
3. ความพงึ พอใจและผลการจดั การขอ้ รอ้ งเรยี นของนกั ศึกษา

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 55

หมวดที่ 4 อาจารย์

อธิบายผลการดาเนนิ งานตามตัวบ่งช้ีต่อไปน้ี

ตวั บง่ ชี้ 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์

ตัวบง่ ช้ี กระบวนการ
ประกอบดว้ ยตวั บ่งชี้ย่อย 3 กระบวนการ ได้แก่
4.1-1 ระบบการรับและแตง่ ตัง้ อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร
4.1-2 ระบบการบริหารอาจารย์
4.1-3 ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์

4.1-1 ระบบการรับและแต่งตัง้ อาจารย์ประจาหลักสูตร/อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตร

มีระบบและกลไก ผลการดาเนนิ งาน

1. ระบบกลไกในการรับและแต่งต้ังอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มี

แนวทางในการพิจารณาคดั เลือกอาจารย์ประจาหลักสูตร โดยมขี ้นั ตอน ดังนี้
1.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศดาเนินการประชุมอาจารย์ประจาสาขาวิชา เพื่อกาหนดคุณสมบัติ

ท้ังด้านคุณวุฒิ ผลการศึกษา ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ที่ต้องสอดคล้องกับความต้องการ

ของหลกั สูตร และมาตาฐานของ สกอ.

คณุ สมบัติของผ้สู มคั รในตาแหน่งอาจารย์

1. กรณรี บั วฒุ ปิ ริญญาเอก
1.1 เพศหญิง/ชาย (ผา่ นการเกณฑ์ทหารแลว้ )

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลกั สตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 56

1.2 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก คุณวุฒิปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตร์ดุษฎี
บัณฑิตวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, ครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์, สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์, สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ, สาขาวิชา
คอมพวิ เตอร์ หรอื สาขาท่เี กี่ยวข้อง และ

1.3 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท คุณวุฒิครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ,
วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต, วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์,
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์, สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, สาขาวิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์, สาขาวิชาวิศวกรรมเครือข่าย, สาขาวิชาความม่ันคงทางระบบสารสนเทศ
หรอื สาขาทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

2. กรณีรับวุฒปิ ริญญาโท
2.1 เพศหญงิ /ชาย (ผา่ นการเกณฑ์ทหารแลว้ )
2.2 สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท คุณวุฒิครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ,
วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต, วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์,
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์, สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, สาขาวิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์, สาขาวิชาวิศวกรรมเครือข่าย, สาขาวิชาความม่ันคงทางระบบสารสนเทศ
หรือสาขาท่ีเก่ียวข้อง และมีผลการศึกษาสะสมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3.30 (ยกเว้น
ผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาจากตา่ งประเทศ)
2.3 สาเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรี คุณวฒุ ิวิศวกรรมศาสตร์บัณฑติ , ครุศาสตร์อุตสาหกรรม
บัณฑิต, วิทยาศาสตร์บัณฑิต, บริหารธุรกิจบัณฑิต, สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์,
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์, สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกจิ หรือสาขาวิชาทีเ่ กย่ี วขอ้ ง และมผี ลการศึกษาสะสมตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่า 2.50

3. ในกรณีผลการศึกษาไม่เป็นไปตามที่กาหนดจะต้องมีประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา
อย่างน้อย 2 ปี หรอื มีประสบการณก์ ารทางานวจิ ยั อย่างนอ้ ย 1 เรอ่ื ง

หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเรียนการสอน การศึกษา การอบรม การวิจัยค้นคว้าในสาขาวิชาการ และ
วิชาชีพช้ันสูง การให้คาแนะนาปรึกษาแก่นิสิตนักศึกษา การให้บริการทางวิชาการแก่สังคม การทานุบารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม และปฏบิ ัตหิ น้าทอ่ี นื่ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

ลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ

1. งานสอนของคณะฯ

2. จดั ทาโครงการสอน

3. ทาหน้าท่อี าจารยท์ ่ปี รกึ ษาแกน่ ักศึกษา

4. ศึกษา คน้ ควา้ วิจยั ในสาขาท่รี บั ผิดชอบ เพือ่ พัฒนาการเรยี นการสอน

5. ดาเนนิ การหรอื เขา้ ร่วมกิจกรรมด้านการบรกิ ารทางวชิ าการ

6. ดาเนินการ หรอื เข้าร่วมกิจกรรมด้านการทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม

7. งานอ่ืน ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

1.2 กองบริหารงานบุคคลกาหนดวันเร่ิมต้นรับสมัคร ระยะเวลาการรับสมัคร วันสอบข้อเขียน/

สมั ภาษณ์/ปฏิบตั ิ/สอบสอน/วันประการผลสอบ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 57

1.3 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศดาเนินการประชุมอาจารย์ประจาสาขาวิชา เพ่ือสรรหาตัวแทน

อาจารย์ในสาขา เพื่อเป็นคณะกรรมการออกข้อสอบคัดเลือก สอบปฏิบัติ/สอบสอนและสอบ

สัมภาษณ์ เพื่อใหก้ องบรหิ ารงานบคุ คลตัง้ เป็นคณะกรรมการคัดเลอื กอาจารย์ใหม่

1.4 กองบริหารบคุ คล จัดทาคาสั่งแต่งตงั้ คณะกรรมการคัดเลอื กอาจารยใ์ หม่

1.5 ดาเนินการสอบคดั เลือกอาจารยใ์ หม่
คณะกรรมการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ ประชุมสรุปผลการเลือก โดยผู้ที่จะผ่านการสอบคัดเลือกจะต้องผ่าน
เกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนทั้งหมดและแจ้งผลการพิจารณาไปยังกองบริหารงานบุคคลเพื่อประกาศผล
สอบการคัดเลือกอาจารยใ์ หม่

2. หลกั เกณฑก์ ารคักเลอื กอาจารยป์ ระจาหลักสูตร
อาจารย์ประจาหลักสตู ร ตอ้ งมีคุณวุฒขิ ้ันตา่ ปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเทา่ หรือมตี าแหน่งผชู้ ว่ ยศาสตรา

จารย์ และต้องมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับ ปริญญา และเป็นผลงานทาง
วิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งต้ัง ให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง
วิชาการอย่างนอ้ ย 1 รายการ ในรอบ 5 ปียอ้ นหลงั (คณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์ สกอ. พ.ศ.2558)
3. ขน้ั ตอนการเสนอแต่งตง้ั อาจารย์ประจาหลกั สูตร

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มีการกาหนดข้ันตอนการเสนอ
แตง่ ตัง้ อาจารย์ประจาหลกั สตู ร ดังน้ี

ระบบการแตง่ ตั้งอาจารยป์ ระจาหลักสูตร 58
สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี

ปกี ารศกึ ษา 2561

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

3.1 กรณีอาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศประชุมสาขาวิชา เพ่ือเสนอชื่ออาจารย์ประจา
หลักสูตรท่มี ีคณุ สมบัตติ ามเกณฑ์ โดยผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติจากที่ประชุม แล้วจึงนาเสนอชื่อ
ให้คณะกรรมการประจาคณะทราบ

3.2 คณะกรรมการประจาคณะพิจารณาให้ความเห็นชอบรายช่ืออาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีสาขาวิชา
เทคโนโลยสี ารสนเทศเสนอ

3.3 คณะจัดทาคาส่ังแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตรโดยคณบดีลงนามในกรณีที่มีการเปล่ียนแปลง
อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร

3.4 อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศประชุมสาขาวิชา เพ่ือเสนอชื่ออาจารย์ประจา
หลักสูตรที่มีคณุ สมบัติตามเกณฑ์ โดยผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติจากท่ีประชุม แล้วจงึ นาเสนอชื่อ
ให้คณะกรรมการประจาคณะทราบ

3.5 คณะกรรมการประจาคณะพิจารณาให้ความเห็นชอบรายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตรที่สาขาวิช า
เทคโนโลยสี ารสนเทศเสนอ เพื่อให้คณบดีแต่งตั้ง

3.6 คณะจัดทาคาสง่ั แต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสตู รโดยคณบดลี งนาม
3.7 คณะแจ้งรายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีขอเปล่ียนแปลงไปยังสานักส่งเสริมวิชาการและงาน

ทะเบียน และสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ดาเนินการตรวจสอบ แล้วเสนอต่อสภา
วิชาการเพ่อื พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ
3.8 สภาวชิ าการพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบรายชื่ออาจารย์ประจาหลกั สูตรทีข่ อเปล่ียนแปลง
3.9 สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี นเสนอสภามหาวิทยาลัย
3.10 สภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบรายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตรและมอบสานักส่งเสริมวิชาการ
และงานทะเบียนแจ้งสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
3.11 สานกั สง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบยี นแจง้ เร่ืองรายชือ่ อาจารยป์ ระจาหลักสูตรท่ีผ่านความเห็นชอบ
จากสภามหาวิทยาลัยเสนอตอ่ สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
3.12 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแจ้งเรื่องการรับทราบการให้ความเห็นชอบอาจารย์ประจา
หลกั สูตรมายังมหาวทิ ยาลยั ผา่ นสานักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน

4. การกาหนดหนา้ ท่ีของอาจารย์ประจาหลักสูตร
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ได้กาหนดหน้าที่ของอาจารย์ประจาหลักสูตรไว้ในคาสั่งแต่งต้ัง

อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดังน้ี
4.1 จดั ใหม้ กี ารทารายละเอยี ดของรายวชิ า (มคอ. 3) และรายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม
(มคอ. 4) ทุกรายวิชาก่อนเปิดสอนในแตล่ ะภาคการศึกษา
4.2 จัดทาทาเนยี บผ้สู อนทงั้ อาจารย์ประจาและอาจารย์ประจาหลักสตู ร
4.3 กากบั และตดิ ตามการจัดการสอนและการประเมินผลการเรยี นการสอน
4.4 จัดให้มีการทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ า (มคอ. 5) และรายงานผลการดาเนินการของ
ประสบการณภ์ าคสนาม (มคอ. 6) ภายใน 30 วันหลังสิน้ สุดภาคการศึกษา
4.5 จัดใหม้ ีการทวนสอบผลสมั ฤทธิข์ องนกั ศึกษาตามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ผลการเรยี นรู้ในระหว่างปี

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 59

การศึกษา
4.6 จัดใหม้ กี ารทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร (มคอ. 7) ภายใน 60 วนั หลังส้ินสุดปี

การศกึ ษา
4.7 กากับและติดตามการนาผลการประเมนิ มาพัฒนาการเรียนการสอน
4.8 พจิ ารณาแกป้ ญั หาต่าง ๆ ในการบริหารหลักสตู รเสนอตอ่ คณบดี

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน/การประเมินกระบวนการ/ผลการปรับปรงุ กระบวนการ

ปัจจบุ นั
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพศักดิ์ ตนั ตสิ ัตยานนท์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกรินทร์ วจิ ิตต์พันธ์
อาจารย์วิลาวรรณ สขุ ชนะ
อาจารย์สมพร พ่งึ สม
อาจารย์นภารัตน์ ชูไพร

จากตารางข้างต้นประกอบกับข้อมูลคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจา
หลักสูตร ซ่ึงอาจารย์แต่ละท่านมีคุณวุฒิตรงกับสาขาวิชาฯ และในแต่ละปีการศึกษาสาขาวิชาฯ ได้มีการ
ประชุมเพื่อทบทวนหน้าที่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
เพ่ือใหอ้ าจารย์แต่ละทา่ นตระหนักถงึ หนา้ ที่ ความรับผิดชอบของแตล่ ะท่าน

4.1-2 ระบบการบริหารอาจารย์

ผลการดาเนนิ งาน

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 60

มรี ะบบและกลไก
1. การบริหารอตั รากาลังคน

คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มกี ารจดั ทาแผนอตั รากาลงั ระยะเวลา 4 ปี (พ.ศ. 2556-2560) และได้
ทาการปรับปรุงหลักสูตรใหม่ในปีการศึกษา 2560 สาหรับใช้ในการวางแผนการรับสมัครอาจารย์ใหม่ให้
บรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ซึ่งพิจารณาจากจานวนบุคลากรทมี่ ีอยู่ในปัจจุบัน อัตราผู้ที่จะ
เกษียณอายุราชการ จานวนนักศึกษาและภาระงาน โดยคณะจะนาข้อมูลดังกล่าวเสนอต่อกองบริหารงาน
บุคคลเพอื่ ขออนมุ ตั ิกาลังเพิ่มเติม

โดยสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศมีการดาเนินการรับอาจารย์ใหม่ 2 วิธี คือ การสรรหาอาจารย์ใหม่
แบบวิธีปกติท่ัวไป และรับอาจารย์ใหม่แบบวิธีพิเศษ เม่ือสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้รับการจัดสรร
อตั รากาลังแล้วสาขาวิชาจะดาเนินการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ ในการดาเนนิ การคดั เลอื กอาจารย์ใหม่สาขาวชิ า
เทคโนโลยสี ารสนเทศมีขน้ั ตอนการดาเนินงาน ดงั น้ี

1. การสรรหาอาจารย์ใหมแ่ บบวธิ ีปกติท่วั ไป

1.1 ดาเนนิ การวางแผน
โดยสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศดาเนินการประชุมอาจารย์ประจาสาขาวิชา เพื่อ

กาหนดคณุ สมบัตทิ ั้งดา้ นคุณวุฒิ ผลการศึกษา ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ทีต่ ้องสอดคลอ้ งกับความ
ตอ้ งการของหลักสตู ร

1.2 การดาเนินการ
1.2.1 กองบรหิ ารงานบคุ คลกาหนดวันเร่ิมตน้ รับสมัคร ระยะเวลาการรับสมคั ร วันสอบ

ขอ้ เขยี น/สัมภาษณ์/ปฏบิ ตั ิ/สอบสอน/วนั ประการผลสอบ
1.2.2 สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศดาเนินการประชุมอาจารยป์ ระจาสาขาฯ เพ่อื สรรหา

ตัวแทนอาจารย์ในสาขา เพ่ือเป็นคณะกรรมการออกข้อสอบคัดเลือก สอบปฏิบัติ/สอบสอนและสอบ
สมั ภาษณ์ เพ่ือใหก้ องบรหิ ารงานบคุ คลต้งั เป็นคณะกรรมการคัดเลอื กอาจารยใ์ หม่

1.2.3 กองบรหิ ารบุคคล จดั ทาคาส่งั แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลอื กอาจารย์ใหม่
1.3 การตรวจสอบ / ประเมนิ ผลและนาผลประเมินมาวเิ คราะห์

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 61

1.3.1 ตรวจสอบคุณสมบัตผิ ู้สมัคร
1.3.2 ดาเนนิ การสอบคัดเลือกอาจารยใ์ หม่
1.4 การประเมิน
1.4.1 คณะกรรมการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ ประชุมสรุปผลการเลือก โดยผู้ที่จะผ่านการ
สอบคัดเลือกจะตอ้ งผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ของคะแนนทั้งหมดและแจ้งผลการพิจารณาไปยังกองบริหารงาน
บุคคลเพอื่ ประกาศผลสอบการคัดเลอื กอาจารย์ใหม่

2. รบั อาจารย์ใหมแ่ บบวธิ พี เิ ศษ

สัดส่วนอาจารยต์ อ่ นกั ศึกษาในหลกั สตู รประกอบการพิจารณาอตั รากาลงั

ปี จานวนอาจารย์ประจาหลกั สตู รและอาจารย์ จานวนนักศึกษาใน สดั ส่วนอาจารยต์ ่อ
การศกึ ษา ผูส้ อน หลักสตู ร นกั ศกึ ษา
8 108 1/14
2561 8 120 1/15
2562 7 144 1/21
2563 7 142 1/20
2564

2. กลไกการบริหารอาจารย์
กรณีอาจารย์ลาศกึ ษาต่อ/เกษยี ณอายุราชการ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 62

1. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตประชุมวางแผนเพื่อสรรหาอาจารย์ทดแทน ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
หลักสูตรที่ สกอ. กาหนด

2. พิจารณาจากอัตราอาจารย์ที่มีอยู่ภายในมหาวิทยาลยั โดยยงั ไมไ่ ด้เป็นอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรได้
3. กรณีไม่มีอาจารย์ท่ีอยู่ภายในมหาวิทยาลัยท่ีสามารถทดแทนได้ให้หลักสูตรดาเนินการเสนอขอ

อาจารย์ทดแทนตามแผนอัตรากาลังระยะ 5 ปี และดาเนนิ การตามขั้นตอนระบบรับอาจารยใ์ หม่

3. การปฐมนเิ ทศและระบบอาจารยพ์ ่ีเลี้ยงสาหรับอาจารย์ใหม่
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดระบบและกลไกการเตรียมความพร้อมสาหรับอาจารย์ใหม่

ดว้ ยการจัดการปฐมนิเทศและระบบอาจารย์พเ่ี ล้ียงสาหรบั อาจารย์ใหม่โดยมขี น้ั ตอนการดาเนนิ งาน ดังน้ี

คณะฯ/มหาวิทยาลยั จัด มหาวทิ ยาลยั แต่งต้งั อาจารยพ์ เี่ ลยี้ งดาเนนิ การ
โครงการปฐมนิเทศ อาจารย์พี่เล้ียง ใหค้ าปรกึ ษาและสอนงาน

อาจารย์ใหม่

ประชมุ สาขาวิชา เพ่อื ทบทวนผลการดาเนินงาน อาจารย์พี่เล้ียงรายงานผลการปฏบิ ตั ิ
ระบบอาจารย์พเี่ ลย้ี งและให้ขอ้ เสนอแนะ หนา้ ที่ของอาจารยใ์ หม่ตอ่ ผู้บังคบั ชา

3.1 คณะฯ/มหาวิทยาลัยมกี ารจดั โครงการเพื่อปฐมนเิ ทศอาจารย์ใหม่ ในเรื่องของการปฏิบตั ิหน้าท่ีด้าน
การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ ภารกิจของการเป็นอาจารย์ ความสาเร็จใน
อาชีพอาจารย์ การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 และการจัดทาเอกสารประกอบการสอน และการทานุ
บารุงศิลปะและวัฒนธรรม เปน็ ต้น

3.2 แตง่ ตง้ั อาจารยพ์ เี่ ลย้ี งเพื่อใหค้ าแนะนากบั อาจารย์ใหม่
3.3 อาจารยพ์ ่เี ลย้ี งดาเนินการให้คาปรึกษาแนะนาและสอนงานใหแ้ ก่อาจารย์ใหม่
3.4 อาจารย์พีเ่ ลี้ยงรายงานผลการปฏิบัตหิ น้าที่ของอาจารยใ์ หมไ่ ปยังผ้บู ังคบั บญั ชา
3.5 อาจารย์ประจาคณะ/สาขาวชิ ามีการประชมุ นาผลการดาเนินงานเข้าท่ีประชมุ อาจารย์ประจาคณะ/

สาขาวชิ า

4. การเขา้ สตู่ าแหนง่ ทางวชิ าการ
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดระบบและกลไกการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการร่วมกับ

มหาวิทยาลัยโดยมีเกณฑ์การพิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการจากอายุงาน

ผลงานวจิ ัย หนงั สอื หรอื ตารา เอกสารประกอบการสอน ผลงานบรกิ ารวชิ าการและผลงานทางวิชาการอืน่ ๆ
ซ่ึงมกี ระบวนการดาเนนิ งานการเขา้ สู่ตาแหน่งทางวชิ าการ ดังนี้

คณะสารวจความตอ้ งการ คณะจดั ทาแผนการ ดาเนนิ การตามแผนการ
ในการเข้าสตู่ าแหนง่ ทาง บรหิ ารและพฒั นา บรหิ าร และพฒั นา
บุคลากรสายวิชาการ
วชิ าการ บคุ ลากรสายวชิ าการ

รายงานผลการดการเะอนบาินจวงานานรกยขาอ์ทรขงกม่ี อหาีคงลหณุมักนสหสดตู ามรตวบเิทาทตั แคยิคหโานรลนบโยัง่ลถทยว้ บีานงณั วเขฑชิ ้าติาสกสู่ าารขาวชิ าเทคโนโลอยาผสี จาลารกรสายนรผ์เเทเู้ขขศา้ ้าร(รหว่ ่วลมมกัออสบบตู รรรมปม/ร/สบัสมัปมั มรมุงนนพาา.เศจส.ดัน2ทอ56าค0รณ)ายบงดาี น 63

4.1 คณะสารวจความต้องการในการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจาคณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยีเพ่ือให้คณะนาข้อมูลที่ได้จากการสารวจความต้องการมาจัดทาแผนการบริหารและ
พัฒนาบุคลากรสายวิชาการ (แผนงานการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ) พร้อมทั้งแจ้งไปยังกอง
บรหิ ารงานบุคคล

4.2 คณะจัดทาแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ (แผนงานการเข้าสู่ตาแหน่งทาง
วชิ าการ)

4.3 คณะจัดโครงการ/กิจกรรม/แผนงานตามแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ และ
สนับสนุนให้อาจารย์ได้เข้าร่วมอบรม/สัมมนา เพื่อเพ่ิมเติมความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาตาแหน่งทาง
วชิ าการ ทง้ั โครงการที่ดาเนนิ การโดยมหาวิทยาลยั และทหี่ น่วยงานภายนอกจัดข้นึ

4.4 อาจารย์ที่ได้รับการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา จัดทารายงานผลการเข้าร่วมอบรม/สัมมนาเพ่ือเข้าสู่
ตาแหน่งทางวิชาการ เสนอต่อคณบดี

4.5 คณะนาผลการอบรม/สัมมนามาวางแผนในการพัฒนาบุคลากรให้เข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ และ
ผลกั ดนั อาจารยท์ ่ีมีคุณสมบัตคิ รบถ้วนเขา้ สู่กระบวนการกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ

5. การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการ
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดระบบและกลไกการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ

บคุ ลากรสายวชิ าการรว่ มกับมหาวทิ ยาลัยโดยมีกระบวนการดาเนินการ ดงั น้ี

จดั ทาข้อตกลงการปฏิบตั ริ าชการกบั ดาเนนิ การประเมินตนเองและส่ง
ผ้บู ังคับบัญชา เอกสารหลกั ฐาน

ผู้บังคบั บญั ชาดาเนินการตรวจสอบ คณะกรรมการประเมินผลการปฏบิ ัติ
และทวนสอบความถูกต้องของการให้ ราชการตามสายการบงั คบั บญั ชา

คะแนน

5.1 จัดทาข้อตกลงการปฏบิ ัตริ าชการของขา้ ราชการและพนักงานมหาวทิ ยาลยั กบั ผู้บังคับบัญชา

5.2 ข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยดาเนินการประเมินตนเองและส่งเอกสารหลักฐานตาม

แบบฟอร์มท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด โดยจะดาเนินการปงี บประมาณละ 2 ครั้ง รอบ 6 เดือน และ 12

เดือน

5.3 คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามสายการบังคับบัญชา ซึ่งคะแนนการประเมินจะ

ตรวจสอบจากผลสัมฤทธิ์การดาเนินงานและพฤตกิ รรมการปฏิบัติงานตามที่ปรากฏในหลักฐานเชิง

ประจักษ์ท่ีผู้รับการประเมนิ ไดแ้ นบมาประกอบการพิจารณา

5.4 ผู้บังคับบัญชาดาเนินการตรวจสอบและทวนสอบความถูกต้องของการให้คะแนนเพ่ือความโปร่งใส

และความเป็นธรรม

6. การสรา้ งแรงจูงใจและสวสั ดกิ าร

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลกั สตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 64

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรในสาขาวิชามีแรงจูงในการ
ปฏิบัติงานในรูปแบบต่าง ๆ เพอ่ื ให้อาจารย์คงอยู่ในสาขาวิชาและมคี วามก้าวหน้าในวิชาชีพโดยมีกระบวนการ
ดังนี้

6.1 สาขาวิชาดาเนินการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับสวัสดิการที่คณะและมหาวิทยาลัยจัดให้
เช่น ทุนวิจัย สวัสดิการบ้านพัก สหกรณ์ออมทรัพย์ สารองเลี้ยงชีพ เป็นต้น โดยดาเนินการ
ประชาสัมพนั ธ์ผา่ นการประชุมสาขาวชิ า

6.2 คณะมกี ารจดั กจิ กรรมสรา้ งขวญั ให้แก่อาจารย์และบุคลากร เช่น มีการยกยอ่ งเชิดชเู กียรติอาจารย์ที่
ได้รับรางวัลผลงานวิจัยในระดับชาติ/นานาชาติ อาจารย์ท่ีสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก หรือ
อาจารย์ที่ได้รับการแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ทางวิชาการ เปน็ ต้น

6.3 คณะจัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจของบุคลากรต่อการจัดสวัสดิการสาหรับสร้างแรงจูงใจใน
การปฏิบตั ิงานของบคุ ลากรและนาผลการสารวจมาเสนอต่อคณบดี เพ่อื พจิ ารณาต่อไป

6.4 คณะนาผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรตอ่ การจดั สวัสดิการสาหรับสร้างแรงจงู ใจในการ
ปฏิบัติงานของบุคลากร เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารงานประจาคณะ เพ่ือพิจารณาผล
การดาเนินงานและใหข้ ้อเสนอแนะ สาหรับนาไปวางแผนการดาเนินงานในรอบปีการศกึ ษาถดั ไป

สรปุ ผลการดาเนินงาน/การประเมินกระบวนการ/ผลการปรบั ปรงุ กระบวนการ

การดาเนนิ การ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน/การประเมนิ กระบวนการ/ผลการปรบั ปรุง
กระบวนการ

การบริหารอตั รากาลงั คน ในปีการศึกษา 2564 เมื่อดูข้อมูลจากตารางสัดส่วนของอาจารย์

ตอ่ นกั ศึกษาในหลักสูตร ทาให้ทราบว่าในปีการศึกษาจานวนอาจารย์

1 ท่าน ต่อจานวนนักศกึ ษา 20 คน

ก า ร ป ฐ ม นิ เ ท ศ แ ล ะ ร ะ บ บ ในปีการศึกษา 2564 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศไดม้ กี ารรับ

อาจารย์พ่ีเลี้ยงสาหรับอาจารย์ อาจารย์ใหม่จานวน 1 ท่าน ซ่ึงทางสาขาได้มีการแต่งต้ังกรรมการพ่ี

ใหม่ เล้ียงเพื่อทาหน้าที่เป็นกรรมการพ่ีเลี้ยง ด้านการสอน ด้านงาน

วิชาการ งานวิจัยและงานอื่นท่ีเทียบเท่าด้านการบริการทางวิชาการ

และด้านอ่ืนๆ ที่ได้รับมอบหมาย ให้แก่อาจารย์ใหม่จานวน 1 ท่าน

ดังนี้

1.น.ส วลิ าวรรณ สขุ ชนะ เปน็ กรรมการพีเ่ ลี้ยง นายจักรพงศ์ พลพงศ์

การเขา้ ส่ตู าแหน่งทางวิชาการ การเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ ในปีการศีกษา 2554 มีประจา

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตจานวน 2 ท่าน ได้ถึงกาหนดเวลาในการ

เสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ คือ นางสาววลิ าวรรณ สขุ ชนะ

และนายสมพร พึ่งสม ซึ่ง ณ ขณะน้ีกาลังอยู่ในกระบวนการจัดทา

เอกสาร ประกอบการยืน่ ขอตาแหนง่ ทางวิชาการ

การ ปร ะเมิ น ผ ลกา รป ฏิบั ติ อาจารย์ของสาขาวิชาฯ ประกอบด้วย ข้าราชการ 3 คน และ

ราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย 5 คน ซึ่งทั้งข้าราชการและพนักงาน

ม ห า วิ ท ย า ลั ย จ ะ ต้ อ ง ท า ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร

ปีงบประมาณละ 2 ครั้ง ท้ังนี้จะใช้เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติ

ราชการท่ีมหาวิทยาลัยฯ กาหนดรว่ มกบั การจดั ทาข้อตกลงระหวา่ งผู้

ประเมนิ และผู้รบั การประเมนิ แตล่ ะครัง้

รายงานผลการดาเนินงานของหลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 65

การสร้างแรงจูงใจและสวสั ดกิ าร สาขาวิชาได้มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
สวัสดิการที่มหาวิทยาลัยฯ จัดให้ เช่น สวัสดิการบ้านพัก สหกรณ์
มีผลจากการปรับปรุงเห็นชดั เจน ออมทรัพย์ กองทุนสารองเล้ียงชพี เป็นต้น ในส่วนคณะฯ ได้มีการจัด
เปน็ รูปธรรม กิจกรรมสร้างขวัญและกาลังใจให้แก่อาจารย์และบุคลาการ เชน่ การ
ยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ท่ีได้รับรางวัลผลงานวิจัยในระดับชาติ /
นานาชาติ อาจารย์ที่ได้รับการแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งทางวิชาการ
เป็นตน้ นอกจากน้ีสาขาวิชาฯ ได้มีการกาหนดให้รางวัลแก่อาจารย์ที่
ได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งทางวิชาการ โดยในตาแหน่งผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ (ผศ.) จานวน 5,000 บาท และตาแหน่งรอง
ศาสตราจารย์ (รศ.) จานวน 10,000 บาท เพื่อเป็นขวัญและกาลังใจ
ใหแ้ ก่อาจารย์ในสาขาวิชาฯ

-

4.1-3 ระบบการส่งเสรมิ และพฒั นาอาจารย์

มรี ะบบและกลไก ผลการดาเนนิ งาน

1. การฝึกอบรม/สมั มนา/ศกึ ษาดงู านทง้ั ในและตา่ งประเทศ
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการจัดระบบและกลไกในการส่งเสริม

และพฒั นาอาจารยร์ ่วมกับมหาวิทยาลัย และกาหนดใหอ้ าจารยป์ ระจาหลกั สตู รทุกคนต้องเขา้ รบั การพัฒนา
ตนเองอยา่ งน้อยปกี ารศกึ ษาละ 1 ครัง้ โดยมีการดาเนนิ การ ดังน้ี

1. สารวจความต้องการเข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน/นาเสนอผลงานของอาจารย์
ประจาคณะ เพ่ือให้คณะนาข้อมูลที่ได้จากการสารวจความต้องการมาจัดทาเป็นแผนการบริหาร
และพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ (แผนงานการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร) พรอ้ มทั้งแจ้งไปยัง
กองบริหารงานบุคคล

2. คณะจัดทาเป็นแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ (แผนงานการพัฒนาศักยภาพ
ของบุคลากร)

3. คณะจัดโครงการ/กิจกรรม/แผนงานตามแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและ
สนับสนุนให้อาจารย์ได้เข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน/นาเสนอผลงาน ทั้งโครงการท่ี
ดาเนนิ การโดยมหาวิทยาลยั และหนว่ ยงานภายนอกจัดขึน้

4. อาจารย์ที่ได้รับการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน/นาเสนอผลงาน จัดทารายงานผลการ
เข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ศกึ ษาดงู าน/นาเสนอผลงาน เสนอต่อคณบดี

5. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี นาผลการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน/นาเสนอผลงาน มา
วางแผนในการพัฒนาบุคลากรให้ศกั ยภาพท่สี ูงขึ้นและสอดคล้องกับทศิ ทางการพัฒนาของคณะ
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

การฝกึ อบรม/สัมมนา/ศกึ ษาดงู านทัง้ ในและต่างประเทศ 66

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

ชื่อ-สกลุ โครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา/สถานที่ หน่วยงานที่จัด

-

หมายเหตุ ให้เขยี นรายงานผลการดาเนินกจิ กรรมในรอบปีทีท่ าการประเมิน

2. การจัดประชุม/การเข้าร่วมประชมุ วชิ าการ ทัง้ ในระดับชาตหิ รือนานาชาติ

การจัดประชุม/การเข้ารว่ มประชมุ วชิ าการระดับชาติ/นานาชาติ

Sompond Puengsom, the 2nd Rajamagala July 7-9 2021 Rajamagala University of
Technology Rattanakosin
Thanatip Tiplamai, University of Technology
Panrit Ritthanon and Rattanakosin International Rajamagala University of
Conference (RMUTR- Technology Rattanakosin
Ekkarin Wijiphan
Icon2021) and The1st

Rice International

Conference (RICE-

Icon2021)

Sompond Puengsom, the 2nd Rajamagala July 7-9 2021

Korawit Ketkoon and University of Technology
Noppasak Rattanakosin International
Tantisattayanon Conference (RMUTR-

Icon2021) and The1st

Rice International

Conference (RICE-

Icon2021)

หมายเหตุ ใหเ้ ขยี นรายงานผลการดาเนนิ กิจกรรมในรอบปีทีท่ าการประเมิน

3. การสนับสนนุ ทุนการศึกษาต่อทัง้ ในและต่างประเทศ
ทุกๆ ปี มหาวทิ ยาลยั ฯ มกี ารสนบั สนุนทุนการศึกษาต่อทัง้ ในและต่างประเทศ (ระดับปรญิ ญาเอก) โดย

ในปกี ารศึกษา 2562 มอี าจารยป์ ระจาหลกั สตู รจานวน 1 ทา่ นไดม้ ีการวางแผนลาศกึ ษาตอ่
จากแผนการลาศกึ ษาตอ่ ของอาจารย์ประจาหลักสูตร จานวน 1 ท่าน ไดร้ ับการอนมุ ัตจิ ากมหาวิทยาลัย

ให้ลาศึกษาตอ่ ในปีการศึกษา 2563 รายละเอียดดงั น้ี

ช่อื -สกลุ สาขาวิชา/สถาบนั การศกึ ษา งบประมาณ ระยะเวลาที่ใหท้ นุ
3 ปี
นายพิสฐิ พรพงศเ์ ตชวาณชิ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร 270,000

เพอื่ การศกึ ษา คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร

เหนือ
หมายเหตุ ใหเ้ ขียนรายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมในรอบปีท่ีทาการประเมิน

4. การใหร้ างวัลเชิดชเู กียรติ

การให้รางวลั เชดิ ชูเกยี รติ

ชื่อ-สกลุ ประเด็นทีไ่ ดร้ ับการเชดิ ชเู กยี รติ วัน/เดือน/ปี หน่วยงานท่ใี ห้

ไมม่ ี
หมายเหตุ ใหเ้ ขียนรายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมในรอบปที ที่ าการประเมิน

รายงานผลการดาเนินงานของหลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 67

สรุปผลการดาเนนิ งาน/การประเมินกระบวนการ/ผลการปรบั ปรงุ กระบวนการ

การดาเนนิ การ สรุปผลการดาเนินงาน/การประเมินกระบวนการ/ผลการ
ปรบั ปรงุ กระบวนการ
ในปีการศึกษา 2564 อาจารยใ์ นสาขาวิชาฯ มีทักษะ
การจัดประชมุ /การเขา้ รว่ มประชุม
วิชาการ ทั้งในระดับชาตหิ รือนานาชาติ เทคนิค ศักยภาพ และแนวทางการส่งผลงานวิจัย เพื่อ
เผยแพร่บทความวิจัยและผลงานวิชาการในระดับชาติและ
ระดบั นานาชาติ โดยมผี ลดงั ตอ่ ไปนี้
1) อาจารย์สมพร พึ่งสม เข้าร่วมการประชุม
ระดับชาติ จานวน 2 เร่อื ง

สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตามตวั บ่งช้ที ี่ 4.1 : การบริหารและพฒั นาอาจารย์ (กระบวนการ)

เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง บรรลุเปา้ หมาย

 บรรลุ  ไมบ่ รรลุ

3 คะแนน ................ คะแนน 4 คะแนน

ตัวบง่ ช้ี 4.2 คณุ ภาพอาจารย์

ชนดิ ตัวบง่ ช้ี ปจั จยั นาเข้า
- รอ้ ยละของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู รทม่ี ีวุฒิปริญญาเอก
- ร้อยละของอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสตู รที่ดารงตาแหน่งทางวชิ าการ
- จานวนผลงานวชิ าการของผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร

ผลการดาเนนิ งาน
ในปกี ารศึกษา 2564 มีอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรท่ี ปฏิบัตงิ านจริงจานวน 5 คน ลาศกึ ษาต่อจานวน 0

คน มีคณุ วุฒิปรญิ ญาเอก 1 คน และคุณวฒุ ปิ ริญญาโท 4 คน

4.2-1 สรปุ จานวนอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รจาแนกตามคุณวฒุ ิการศึกษา

จานวนอาจารย์ตามคณุ วุฒกิ ารศกึ ษา หนว่ ยวัด ผลการดาเนนิ
งาน
อาจารย์วฒุ ปิ ริญญาตรี คน -
คน 4
อาจารยว์ ุฒปิ ริญญาโท
คน 1
อาจารย์วฒุ ิปริญญาเอก คน 5
รวมจานวนอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลกั สตู รท้ังหมด รอ้ ยละ -
รอ้ ยละผูร้ บั ผิดชอบหลักสูตรมีวฒุ ปิ รญิ ญาตรี รอ้ ยละ 80
ร้อยละผู้รับผดิ ชอบหลักสตู รท่ีมวี ุฒปิ ริญญาโท ร้อยละ 20
รอ้ ยละผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รท่ีมวี ฒุ ปิ รญิ ญาเอก

คานวณคา่ รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รท่มี ีคุณวฒุ ิปริญญาเอก

รายงานผลการดาเนินงานของหลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 68

คา่ รอ้ ยละ = จานวนอาจารย์ประจาหลกั สูตรทมี่ ีคุณวุฒปิ ริญญาเอก x 100
จานวนอาจารยป์ ระจาหลักสูตรทง้ั หมด

= (2 / 5) * 100

= 40

คานวณค่าคะแนนทีไ่ ด้ (คะแนนเตม็ 5)

คะแนนท่ไี ด้ = คา่ รอ้ ยละของจานวนอาจารย์ประจาหลักสูตรทม่ี ีคุณวฒุ ิปริญญาเอก x5

ร้อยละของจานวนอาจารย์ประจาหลักสตู รทมี่ คี ณุ วุฒปิ รญิ ญาเอกทก่ี าหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ 5

= (20 / 20) * 5

=5

การประเมนิ ตนเอง ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย
เปา้ หมาย ............ คะแนน 5 คะแนน
5 คะแนน  บรรลุ  ไม่บรรลุ

4.2-2 สรปุ จานวนอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรจาแนกตามตาแหนง่ ทางวิชาการ

จานวนอาจารยต์ ามคุณวฒุ กิ ารศกึ ษา หน่วยวัด ผลการดาเนิน
งาน
ศาสตราจารย์ คน 0
รองศาสตราจารย์ คน 0
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คน 2
อาจารย์ที่ไมม่ ีตาแหนง่ ทางวชิ าการ คน 3
รวมจานวนอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รท้ังหมด รอ้ ยละ 0
รวมอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู รทีม่ ตี าแหน่งวิชาการ ( ผศ. ,รศ. และ ศ.) ร้อยละ 2
ร้อยละอาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรที่มตี าแหน่งวชิ าการ (ผศ. , รศ. และ ศ.) รอ้ ยละ 0

คานวณคา่ รอ้ ยละของอาจารย์ประจาหลกั สตู รที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ

ค่ารอ้ ยละ = จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรที่ดารงตาแหน่งทางวชิ าการ x 100
จานวนอาจารย์ประจาหลกั สูตรทั้งหมด

= (1 / 5) * 100

= 20

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 69

คานวณค่าคะแนนทีไ่ ด้ (คะแนนเต็ม 5)

คะแนนทีไ่ ด้ = คา่ ร้อยละของอาจารย์ประจาหลกั สูตรทีด่ ารงตาแหน่งทางวิชาการ x5

รอ้ ยละของจานวนอาจารยป์ ระจาหลักสตู รท่มี ีคณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอกท่กี าหนดให้เป็นคะแนนเตม็ 5

= (40 / 60) * 5

= 3.33

การประเมนิ ตนเอง ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย
เปา้ หมาย ........... คะแนน 3.33 คะแนน
3 คะแนน  บรรลุ  ไมบ่ รรลุ

4.2-3 สรปุ ผลงานวชิ าการ/งานสร้างสรรค์ของอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรท่ตี ีพิมพ์เผยแพร่

ประเภทผลงานวชิ าการ/งานสรา้ งสรรค์ของอาจารย์ นา้ หนกั จานวน ผลรวมถว่ งนา้ หนกั
ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรระดับปรญิ ญา โท/เอก 0.20 0.80
0.20
1.1. บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาก 0.40 2
การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ 0.40

1.2 บทความวิชาการฉบับสมบรู ณ์ทตี่ พี ิมพ์ในรายงานสืบเน่อื งจาก 0.40
การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ
0.40
2.1 บทความวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ท่ีตีพมิ พใ์ นรายงานสบื เนื่องจากการ 0.40
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 0.60
0.60
2.2 บทความวชิ าการฉบบั สมบรู ณท์ ่ตี ีพิมพ์ในรายงานสืบเน่อื งจาก
การประชมุ วิชาการระดบั นานาชาติ 0.80

2.3 บทความวิจัยฉบับสมบูรณท์ ตี่ ีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่ไม่
อยู่ในประกาศของ ก.พ.อ.แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันเพ่ือ
อนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการท่ัวไป และแจ้งให้
กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนบั แตว่ นั ท่อี อกประกาศ

2.4 บทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการท่ี
ไม่อยู่ในประกาศของ ก.พ.อ.แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันเพ่ือ
อนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปและแจ้งให้
กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ทอี่ อกประกาศ

2.5 ผลงานท่ไี ดร้ บั การจดอนุสิทธบิ ัตร

3.1 บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏใน
ฐานขอ้ มลู TCI กล่มุ ท่ี 2

3.2บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏใน
ฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2

4.1บทความวิจัยท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่
อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ.แต่สถาบันนาเสนอสภา
สถาบันเพ่ืออนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการท่ัวไป
และแจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออก
ประกาศ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 70

ประเภทผลงานวชิ าการ/งานสรา้ งสรรค์ของอาจารย์ นา้ หนัก จานวน ผลรวมถ่วงน้าหนัก
ผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู รระดับปริญญา โท/เอก
5
4.2บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่ 0.80 2
อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบัน -
เพ่ืออนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปและแจ้งให้ 0.80
กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแตว่ นั ที่ออกประกาศ

4.3 บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ีปรากฏใน 0.80
ฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ท่ี 1

4.4 บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ีปรากฏใน 0.80
ฐานขอ้ มูลTCI กลุ่มที่ 1

5.1บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่

ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ 1.00
ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การ
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทาง
วิชาการ พ.ศ. 2556

5.2 บทความวชิ าการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ี
ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ

ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย หลักเกณฑ์การ 1.00
พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทาง
วิชาการ พ.ศ. 2556

5.3 ผลงานท่ไี ดร้ บั การจดสิทธิบัตร 1.00

5.4 ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านการ 1.00
ประเมนิ ตาแหนง่ ทางวชิ าการแล้ว

5.5 ผลงานวจิ ัยท่หี นว่ ยงานหรอื องค์กรระดบั ชาติวา่ จา้ งให้ 1.00
ดาเนนิ การ

5.6 ผลงานค้นพบพนั ธุ์พชื พันธส์ุ ัตว์ ที่คน้ พบใหม่และไดร้ บั การจด 1.00
ทะเบยี น

5.7 ตาราหรอื หนังสือหรืองานแปลที่ไดร้ บั การประเมินผ่านเกณฑ์ 1.00
การขอตาแหนง่ ทางวชิ าการแลว้

5.8 ตาราหรือหนงั สือหรืองานแปลทีผ่ ่านการพิจารณาตาม 1.00
หลักเกณฑก์ ารประเมินตาแหน่งทางวชิ าการแตไ่ มไ่ ดน้ ามาขอรบั

การประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการ

6. งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใด 0.20
ลักษณะหนงึ่ หรือผา่ นส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ online

7. งานสร้างสรรค์ที่ไดร้ ับการเผยแพร่ในระดับสถาบนั 0.40

8. งานสรา้ งสรรค์ท่ไี ด้รบั การเผยแพร่ในระดบั ชาติ 0.60

9. งานสร้างสรรค์ทีไ่ ด้รับการเผยแพร่ในระดบั ความร่วมมือ 0.80
ระหว่างประเทศ

10. งานสรา้ งสรรค์ท่ีไดร้ ับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซยี น/ 1.00
นานาชาติ

จานวนอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรทง้ั หมด

จานวนผลงานวิชาการทัง้ หมด

จานวนผลงานสรา้ งสรรคท์ ง้ั หมด

ผลรวมถว่ งน้าหนักของผลงานวิชาการของผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร

รายงานผลการดาเนินงานของหลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 71

ประเภทผลงานวิชาการ/งานสรา้ งสรรค์ของอาจารย์ น้าหนกั จานวน ผลรวมถว่ งนา้ หนกั
ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรระดบั ปรญิ ญา โท/เอก
-
ผลรวมถ่วงน้าหนกั ของผลงานสร้างสรรคข์ องอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตร 20
ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวชิ าการของอาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบหลักสูตร
รอ้ ยละของผลรวมถว่ งนา้ หนกั ของผลงานสร้างสรรคข์ องอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร -
ค่าร้อยละของผลรวมถว่ งนา้ หนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสูตร 20
คา่ ร้อยละของผลรวมถว่ งน้าหนกั ของผลงานสรา้ งสรรคข์ องอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร
-

คานวณคา่ รอ้ ยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ประจาหลักสูตร

ค่ารอ้ ยละ = ผลรวมถ่วงนา้ หนกั ของผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร x 100
จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรทัง้ หมด

= (0.80 / 5) * 100

= 16

คานวณค่าคะแนนทไ่ี ด้ (คะแนนเตม็ 5)

คะแนนท่ไี ด้ = ค่าร้อยละของผลรวมถ่วงนา้ หนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร x5

ร้อยละของผลรวมถว่ งน้าหนักของผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ประจาหลกั สูตรทีก่ าหนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5

= (16 / 20) * 5

=4

รายละเอียดผลงานตพี ิมพเ์ ผยแพร่

ลาดบั ช่อื ผลงาน ชอื่ เจา้ ของผลงาน แหลง่ เผยแพร่/ปที ี่ คา่
ท่ี และผ้รู ่วม เผยแพร่ น้าหนัก

1 The Study and Development Sompond Puengsom, the 2nd Rajamagala 0.40
Thanatip Tiplamai, University of
of the Information System for Panrit Ritthanon and Technology 0.40
Ekkarin Wijiphan Rattanakosin
Public Relations through the International
Sompond Puengsom, Conference (RMUTR-
Responsive Web at Khaonoi Korawit Ketkoon and Icon2021) and The1st
Noppasak Rice International
Temple, Pak Nam Pran Sub- Tantisattayanon Conference (RICE-
Icon2021)
District, Pranburi District,
the 2nd Rajamagala
Prachuap Khiri Khan. University of
Technology
2 The Study on Requirements Rattanakosin
and Development of Mobile International
User Interface for Baby
Boomers.

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 72

ลาดบั ชื่อผลงาน ชอ่ื เจ้าของผลงาน แหลง่ เผยแพร่/ปที ี่ ค่า
ท่ี และผรู้ ่วม เผยแพร่ นา้ หนัก

Conference (RMUTR-
Icon2021) and The1st
Rice International
Conference (RICE-
Icon2021)

การประเมนิ ตนเอง ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย
เปา้ หมาย .............. คะแนน 5 คะแนน
4 คะแนน  บรรลุ  ไมบ่ รรลุ

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองตามตวั บ่งชท้ี ี่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ (ปัจจัยนาเขา้ )

ตัวบง่ ชี้ ตวั บง่ ชี้ (ยอ่ ย) เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน ผลการประเมิน
5 (คะแนน)

4.2.1 รอ้ ยละของอาจารย์ 5
5
ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู รทมี่ คี ณุ วุฒิ 5

ปรญิ ญาเอก

4.2. คุณภาพอาจารย์ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์
ผ้รู ับผิดชอบหลกั สตู รท่ีดารงตาแหน่ง

ทางวิชาการ

4.2.3 ผลงานทางวชิ าการ

ของอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร

ค่าคะแนนรวมเฉลีย่

สรุปผลการประเมนิ ตนเองตามตวั บ่งชที้ ่ี 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ (ปัจจัยนาเขา้ )

เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย

 บรรลุ  ไมบ่ รรลุ

3 คะแนน .................. คะแนน 4 คะแนน

ตวั บ่งช้ี 4.3 ผลทเี่ กดิ กบั อาจารย์

ชนดิ ของตัวบ่งชี้ ผลลพั ธ์
4.3-1 การคงอยู่ของอาจารย์

ในปกี ารศกึ ษา 2564 อาจารยป์ ระจาหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีอัตรา
คงอยรู่ ้อยละ 100 โดยไดม้ กี ารเปล่ยี นแปลงอาจารย์ประจาหลักสตู ร ดังนี้

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 73

สรุปตลอดระยะเวลา 5 ปี อาจารย์ประจาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
(หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2561) มีแนวโน้มคงท่แี ละมีอัตราการคงอยรู่ ้อยละ 100

จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรทัง้ หมดและอตั ราการคงอยู่ของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร

ช่อื -สกุล ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร การคงอย่ใู นปกี ารศึกษา หมายเหตุ

2560 2561 2562 2563 2564

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นพศักดิ์ ตนั ตสิ ัตยานนท์      จากขอ้ มูลอตั ราคงอยู่ของอาจารย์
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์เอกรินทร์ วิจิตต์พันธ์      ประจาหลกั สตู รมีแนวโน้มคงที่ ต้ังแตป่ ี

อาจารย์สมพร พ่ึงสม      การศึกษา 2559 – 2564 คดิ เปน็ รอ้ ย

อาจารย์วลิ าวรรณ สุขชนะ      ละ 100

อาจารยน์ ภารตั น์ ชไู พร    

4.3-2 ความพึงพอใจของอาจารยต์ อ่ การบริหารหลักสูตร
ในปีการศึกษา 2564 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กาหนดให้มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบในการ

ดาเนินการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสูตร คือ อาจารย์วิลาวรรณ สุขชนะ โดย
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนดให้มีการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสูตร
จานวน 1 ครั้งต่อปีการศึกษา ในปกี ารศึกษา 2564 มีผลการประเมินความพงึ พอใจคดิ เป็นค่าเฉลย่ี เท่ากับ 4.89
คิดเป็นร้อยละ 97.72 อยู่ในระดับมากที่สุด โดยเมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2563 มีผลการประเมินความ
พึงพอใจคิดเป็นค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.98 คิดเป็นร้อยละ 99.55 อยู่ในระดับมากที่สุด จะเห็นได้ว่าในปีการศึกษา
2564 มีผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหารและพัฒนาอาจารย์สูงกว่าปีการศึกษาท่ีผ่าน
มา ดังตารางเปรยี บเทียบ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ดา้ น ปกี ารศึกษา
2562 2563 2464
การบริหารและพฒั นาอาจารย์
กระบวนการบรหิ ารหลักสูตร 4.94 4.98 4.88
กระบวนการเรียนการสอน 4.93 4.98 4.91
4.84 4.97 4.87
คา่ เฉลี่ยความพึงพอใจ 4.90 4.98 4.89

จากตารางเปรียบเทียบข้างต้นจะเห็นได้ว่า ในปีการศึกษา 2564 มีผลการประเมินความพึงพอใจของ
อาจารยต์ ่อการบรหิ ารหลักสูตรลดลงกวา่ ในปีการศกึ ษา 2563 ทุกด้าน โดยด้านที่ได้คะแนนเฉล่ียมากท่ีสุด คือ
ด้านกระบวนการบริหารหลักสูตรค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.91 คิดเป็นร้อยละ 98.24 อยู่ในระดับมากท่ีสุด และการ
บริหารและพัฒนาอาจารย์ค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.88 คดิ เป็นรอ้ ยละ 97.60

สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตามตวั บ่งชที้ ี่ 4.3 : ผลที่เกดิ กบั อาจารย์ (ผลลัพธ์)

เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง บรรลุเป้าหมาย

 บรรลุ  ไมบ่ รรลุ

4 คะแนน .............. คะแนน 4 คะแนน

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 74

สรุปผลการประเมนิ ตนเอง องคป์ ระกอบที่ 4 : อาจารย์

ตัวบ่งช้ี เปา้ หมาย ผลการ ผลการประเมนิ
(คะแนน) ดาเนนิ งาน (คะแนน)
(คะแนน)

4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ 3
(กระบวนการ)
5
4.2 คุณภาพอาจารย์ (ปจั จัยนาเข้า) 5
5
4.2.1 รอ้ ยละของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบ 4
หลักสตู รทมี่ ีคุณวฒุ ิปริญญาเอก 4.4

4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบ
หลกั สตู รท่ดี ารงตาแหนง่ ทางวิชาการ

4.2.3 ผลงานทางวิชาการ
ของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร

4.3 ผลทีเ่ กิดกับอาจารย์ (ผลทีเ่ กิดกับอาจารย์)

คา่ คะแนนรวมเฉลย่ี

ระดับคุณภาพมาตรฐาน

รายการหลกั ฐาน
ตวั บง่ ชี้ 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์

1. ระบบการรับและแตง่ ตั้งอาจารย์ประจาหลกั สูตร
ไมม่ ี

2. ระบบการบริหารอาจารย์
ไม่มี

3. ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
IDTIFT 4.1-3-02 เอกสารการเผยแพร่บทความวิจยั และผลงานวชิ าการในระดับชาตแิ ละระดับ

นานาชาติ
ตวั บง่ ชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์

ไมม่ ี
ตัวบ่งช้ี 4.3 ผลทเ่ี กดิ กับอาจารย์

1.การคงอยขู่ องอาจารย์
ไม่มี

2. การประเมนิ ความพึงพอใจของอาจารยต์ ่อการบรหิ ารหลกั สตู ร
IDTIFT 4.3-2-01 แบบประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลกั สูตรต่อการบรหิ ารจดั การ

หลักสูตร
IDTIFT 4.3-2-02 สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสตู ร

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 75

หมวด

ขอ้ มูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสตู
ขอ้ มูลผลการเรยี นรา

สรุปผลรายวิชาท่เี ปดิ สอนในภาคที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 (นามาจาก มคอ5 ของแต่ละวชิ า)

รหสั ชอ่ื วชิ า A B+ B C+ C D

IDT 2114-54:การบริหารงานอุตสาหกรรม 000010

IFT 2115-54:คณติ ศาสตร์ดสี ครตี 001000

IFT 3205-54:การโปรแกรมแบบวชิ วล 000010

IFT 3216-54:การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ 0 0 0 0 0 0

IFT 3311-54:การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 000001

IFT 4222-54:ความมน่ั คงปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ 0 0 0 0 0 0

IFT 4223-54:โครงงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1 000000

IFT 4302-54:สหกิจศึกษาทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ 0 0 0 0 0 0

IFT 4340-54:จรรยาบรรณและกฎหมายทางด้านเทคโนโลยีสารสน 0 0 0 0 1 0

IDT 1106-60:การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 3 2 7 17 1

IFT 1111-60:ระบบดจิ ทิ ลั สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ 0 0 2 10 11 5

IFT 1113-60:เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องตน้ 1 1 9 6 12 2

IFT 1114-60:จรรยาบรรณและกฎหมายทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ 0 0 5 2 5 9

IFT 1116-60:คณิตศาสตร์ดสี ครตี 0 4 12 1 0 1

IFT 2216-60:การพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 16 1 0 1 0 0

IFT 2217-60:ปฏิบตั กิ ารพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 16 1 0 1 0 0

IFT 2218-60:วศิ วกรรมซอฟต์แวร์ 126622

IFT 3119-60:ระเบยี บวธิ วี ิจยั ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 111000

รายงานผลการดา

ดท่ี 5

ตรและคณุ ภาพการสอนในหลกั สตู ร
ายวิชาของหลักสูตร

ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนักศกึ ษา

D+ D F S U IP NP I W Audit ลงทะเบียน สอบผ่าน

000000000 0 1 1

000000000 0 1 1

000000000 0 1 1

002000000 0 2 0

100000000 0 1 1

001000000 0 1 0

001000000 0 1 0

0 0 0 22 1 0 0 0 0 0 23 22

000000000 0 1 1

111000001 0 35 35

561000000 0 35 34

222000000 0 35 33

995000000 0 35 30

120000000 0 20 20

002000000 0 20 18

002000000 0 20 18

201000000 0 20 19

010000000 0 4 4

เนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 76

รหสั ช่ือวิชา A B+ B C+ C D
301009
IFT 3120-60:ปฏิบตั ิการวจิ ัยทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 101011
IFT 3222-60:การวเิ คราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ 600000
IFT 3223-60:สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 600000
IFT 3224-60:ปฏบิ ัตกิ ารสมั มนาทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 400020
IFT 3225-60:การสวิทช่ิงและเร้าตงิ้ บนเครือข่าย 411000
324411
IFT 3226-60:ปฏบิ ัติการสวทิ ชงิ่ และเร้าต้ิงบนเครอื ข่าย 613170
011112
IFT 3229-60:การจดั การและออกแบบเครอื ข่าย

IFT 3230-60:ปฏิบตั กิ ารจดั การและออกแบบเครอื ข่าย
IFT 3231-60:ความมั่นคงปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ

สรปุ ผลรายวิชาทเี่ ปดิ สอนในภาคที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 (นามาจาก มคอ5 ของแต่ละวชิ า)

รหสั ชอื่ วชิ า A B+ B C+ C D

IFT 2213-54:เทคโนโลยีเครอื ข่ายและอนิ เทอร์เน็ต ------
IFT 3216-54:การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
IFT 3218-54:การเขียนโปรแกรมเวบ็ แบบพลวัต ------

------

รายงานผลการดา

รอ้ ยละการกระจายของเกรด จานวนนกั ศกึ ษา

D+ D F S U IP NP I W Audit ลงทะเบียน สอบผา่ น

960000005 0 4 4

100000000 0 4 4

000000000 0 6 6

000000000 0 6 6

000000000 0 6 6

000000000 0 6 6

132000000 0 20 18

002000000 0 20 18

200000000 0 6 6

ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนักศึกษา

D+ D F S U IP NP I W Audit ลงทะเบียน สอบผ่าน

--1------ - 1 1

-1------- - 1 1

-5------- - 5 5

เนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 77

รหัส ช่ือวิชา A B+ B C+ C D

IFT 3311-54:การพาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ ------
IFT 4222-54:ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - -1- -1
IFT 4224-54:โครงงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 5- - - - -
IFT 4302-54:สหกิจศึกษาทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ------
IFT 2219-60:การเขยี นโปรแกรมเวบ็ แบบพลวัต ------
IFT 2220-60:ปฏบิ ัติการเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัต ------
IDT 4302-60:สหกจิ ศึกษา ------
IFT 1112-60:โครงสรา้ งระบบคอมพิวเตอร์ 121633
IFT 1115-60:ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1 - 3 3 10 4
IFT 1117-60:โครงสรา้ งข้อมูลและอลั กอรทิ มึ - 242 - 4
IFT 1201-60:การสอ่ื สารข้อมลู และเครือขา่ ย 32129 -
IFT 1202-60:ปฏิบตั ิการสอ่ื สารขอ้ มูลและเครอื ขา่ ย 66113 -
IFT 1203-60:แนวคดิ ระบบฐานขอ้ มูล 1 - 3113
IFT 1204-60:ระบบจัดการฐานขอ้ มูล - - 17 - 1 -
IFT 2219-60:การเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัต 1 - 1 - 23
IFT 2220-60:ปฏบิ ัติการเขยี นโปรแกรมเว็บแบบพลวัต 1 - 1 - 23
IFT 2221-60:การเขียนโปรแกรมเชิงวตั ถุ 533363
IFT 2222-60:ปฏิบตั ิการเขียนโปรแกรมเชงิ วัตถุ 12 7 2 1 - -
IFT 2223-60:เทคโนโลยีเครอื ขา่ ยและอนิ เทอร์เน็ต 11 6 - 2 3 1
IFT 2224-60:ปฏบิ ัติการเครอื ข่ายและอนิ เทอรเ์ น็ต 12 2 4 2 - 1
IFT 3227-60:โครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 9242- -
IFT 3228-60:ปฏบิ ตั กิ ารโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ------

รายงานผลการดา

ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนักศกึ ษา

D+ D F S U IP NP I W Audit ลงทะเบียน สอบผ่าน

--1------ - 1 0

1-------- - 2 2

--------- - 5 5

- - -1- -- - - - 1 1

--4------ - 4 0

--4------ - 4 0

---5----- - 5 0

311- - - - - - - 18 17

42- - - - - - - - 23 23

45- - - - - - - - 17 17

--1------ - 18 17

--1------ - 18 17

381- - - - - - - 18 17

--------- - 18 18

3 12 - - - - - - - - 19 19

3 12 - - - - - - - - 19 19

3-------- - 23 23

-1------- - 23 23

1-------- - 23 23

12- - - - - - - - 23 23

--------- - 17 17

- - 14 - - - - - - - 14 14

เนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 78

รหัส ชอ่ื วชิ า A B+ B C+ C D

IFT 3231-60:ความม่ันคงปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ - -5543
IFT 3232-60:เทคโนโลยสี ือ่ ประสม 17 - - - - -
IFT 3233-60:ปฏบิ ตั ิการสร้างและพัฒนาสือ่ ประสม 17 - - - - -
IFT 3340-60:ระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการ 1574- -
IFT 4343-60:การโปรแกรมแบบวชิ วล 15821 -
IDT 2114-60:การบริหารงานอตุ สาหกรรม 8 10 3 - - -
IDT 4301-60:การเป็นผู้ประกอบการเพือ่ สรา้ งธุรกิจใหม่ 28 5 5 - - -
IFT 1116-60:คณิตศาสตรด์ สี ครีต - 2 9 23 4 -
IFT 2221-60:การเขยี นโปรแกรมเชงิ วัตถุ 22 6 4 2 - 4
IFT 2222-60:ปฏิบตั ิการเขยี นโปรแกรมเชิงวตั ถุ 28 2 5 3 - -
IFT 2223-60:เทคโนโลยเี ครือข่ายและอนิ เทอร์เน็ต 26 2 2 4 3 -
IFT 2224-60:ปฏิบตั ิการเครอื ขา่ ยและอนิ เทอร์เน็ต 18 4 4 7 4 1
IFT 3119-60:ระเบียบวิธวี จิ ยั ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 335- -7
IFT 3120-60:ปฏบิ ัติการวิจยั ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 7- - - - -
IFT 3222-60:การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศ 3 1 - 8 13 1
IFT 3227-60:โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 16 - 1 3 - -
IFT 3228-60:ปฏบิ ตั กิ ารโครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5- - - - -
IFT 3231-60:ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ 157776
IFT 3340-60:ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ 2694- -
IFT 4225-60:การพาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ - -2656

สรุปผลรายวิชาทเ่ี ปดิ สอนในภาคท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 (นามาจาก มคอ5 ของแตล่ ะวชิ า)

รายงานผลการดา

ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนกั ศกึ ษา

D+ D F S U IP NP I W Audit ลงทะเบียน สอบผ่าน

3-------- - 17 17

--------- - 17 17

--------- - 17 17

--------- - 17 17

--------- - 17 17

--------- - 21 21

--------- - 38 38

--------- - 38 38

4-------- - 38 38

--------- - 38 38

--------- - 37 37

1-------- - 38 38

73- - - - - - - - 21 21

- 14 - - - - - - - - 21 21

11 4 - - - - - - - - 40 40

--------- - 20 20

--------- - 5 5

631- - - - - - - 37 36

--------- - 21 21

62- - - - - - - - 21 21

เนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 79

รหสั ชื่อวชิ า A B+ B C+ C D

IFT 3223-60:สมั มนาทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ
IFT 3224-60:ปฏิบตั กิ ารสัมมนาทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ
IFT 3119-60:ระเบยี บวธิ ีวิจยั ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ
IFT 3120-60:ปฏบิ ัตกิ ารวจิ ัยทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ

รายงานผลการดา

รอ้ ยละการกระจายของเกรด จานวนนกั ศกึ ษา

D+ D F S U IP NP I W Audit ลงทะเบยี น สอบผ่าน

เนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) 80

ตวั บง่ ชี้ 5.1 สาระของรายวชิ าในหลกั สตู ร

ตัวบ่งชี้ กระบวนการ
- การออกแบบหลกั สูตรและสาระรายวชิ าในหลักสตู ร
- การปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหท้ ันสมัยตามความกา้ วหน้าในศาสตรว์ ิชานั้นๆ

5.1-1 การออกแบบหลักสตู รและสาระรายวชิ าในหลักสูตร
เกณฑก์ ารประเมิน/ผลการดาเนนิ งาน

การออกแบบหลกั สตู รและสาระรายวชิ าในหลกั สตู ร
กลไกการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิ าในหลักสูตร

5.1-2 การปรับปรุงหลักสตู รใหท้ นั สมัยตามความกา้ วหน้าในศาสตรว์ ิชาน้นั ๆ

ผลการดาเนินงาน
มีระบบและกลไก

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีกลไกและกระบวนการในการพัฒนาหลักสูตรให้มี
ความทันสมัย ได้มาตรฐานสากลและตอบสนองความต้องการของสังคมอย่างสม่าเสมอ โดยมกี ารดาเนนิ การดงั น้ี

1. ประเมินหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชา บัณฑิต และผู้ใช้บัณฑิต เพ่ือนาความคิดเห็นท่ีได้มาพิจารณา
เพื่อทาการปรับปรุงหลักสูตร และนาข้อมูลจากการ สืบค้นบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและ
นานาชาติ มาวิเคราะห์ทิศทางของหลกั สตู รใหมท่ ่จี ะปรบั ปรงุ

2. สาขาวิชาฯประชุมเพื่อพิจารณาผลท่ีได้จากการประเมินหลักสูตรในขั้นตอนท่ี 1 เพื่อสรุปแนวทางในการ
ปรบั ปรุงหลักสตู รใหม้ คี วามทนั สมยั มากยิ่งข้นึ

3. ดาเนนิ การปรับปรุงหลกั สูตรตามแนวทางและข้อสรุปที่ได้

มกี ารนาระบบกลไกไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ/ดาเนนิ งาน
ในปกี ารศึกษา 2563 หลกั สูตรมีการดาเนนิ การตามข้ันตอนและกลไกการปรบั ปรุงหลักสตู รให้มคี วามทนั สมัยดงั นี้
1. หลักสูตร มีการดาเนินการสารวจความต้องการของสถานประกอบการและผู้ใช้บัณฑิตอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงพบว่า

สถานประกอบการและผู้ใช้บัณฑิต มีความต้องการให้หลักสูตรปรับปรุงด้านสมรรถนะทางวิชาการและทักษะในด้าน
อื่นๆ ดงั น้ี

ดา้ นวิชาการ : ผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ต้องการใหบ้ ณั ฑิตมีทกั ษะเพิ่มเติมดา้ นภาษาตา่ งประเทศ โดยเฉพาะภาษาองั กฤษ
: เพิม่ เติมความรู้ทางด้านโปรแกรมพน้ื ฐานคอมพิวเตอร์ เช่น Microsoft Office และโปรแกรม
เฉพาะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ดา้ นอ่นื ๆ : เพิม่ ทักษะภาวะความเป็นผูน้ า การนาเสนองาน
2. สาขาวิชาฯ นาผลการดาเนินการในขั้นตอนท่ี 1 เข้าสู่ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรในการประชุม
สาขาวิชาฯ เพอ่ื หาแนวทางในการแกไ้ ขปรับปรงุ หลักสตู ร
3. สาขาวิชาฯดาเนินการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตร โดยหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2560 มีการแกไ้ ขรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ให้มีความทันสมัยมากย่ิงข้ึน และได้เพ่ิม
รายวิชาใหม่เพ่ิมเติมให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ คือ รายวิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
กับคอมพิวเตอร์, เทคโนโลยีเว็บส่ือความหมาย เพ่ือให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมก่อนออกสู่สถานประกอบการ
นอกจากน้ีหลักสูตรได้มอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนปรับปรุงแนวทางการสอนให้มีความทันสมัยและสอดคล้องตามผล
การสารวจความตอ้ งการของสถานประกอบการและผใู้ ช้บัณฑิตมากย่ิงข้ึน และปรับหน่วยกิตโดยเน้นการปฏิบตั ิใหม้ าก
ย่ิงขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้มีทักษะทางการปฏิบัติงานจริง และให้สอดคล้องและตรงกับอัตลักษณ์ของมหาวิ ทยาลัยคือ
“ผลติ บณั ฑิตนักปฏบิ ัติ”

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 109

ข้นั ตอนการเปดิ หลักสตู ร ขนั้ ตอนการปรับปรุงหลกั สตู ร

มกี ารนาระบบกลไกไปสกู่ ารปฏิบตั /ิ ดาเนนิ งาน
หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ 2560) ได้พัฒนามาจากหลกั สูตร

เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง 2554) โดยเร่ิมพัฒนาหลักสูตรในปีการศึกษา
2559 และเปดิ รบั นกั ศกึ ษาในปีการศึกษา 2564 ซึ่งมีกระบวนการในการออกแบบหลักสูตร ดังน้ี

1. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ได้จดั ทาคาสง่ั แต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนาโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ าร
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) มหาวทิ ยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 110

2. สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี วิเคราะห์ความต้องการใช้
บัณฑิต/ตลาดแรงงาน ความพร้อมของคณะคู่แข่ง และจุดเด่นของหลักสูตร เพื่อจัดทากรอบแนวคิดโดยมี
รายละเอยี ด ดังน้ี
2.1 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลท่ใี ช้ในการปรบั ปรงุ /พัฒนาหลักสตู ร

3. ความตอ้ งการใชบ้ ัณฑิต/ตลาดแรงงาน พจิ ารณาจากขอ้ เสนอแนะท่ีสาคัญของสถานประกอบการ โดยสถาน
ประกอบการ มีการรับนักศึกษาเข้าทางาน หลังการผ่านกระบวนการฝึกงาน เนื่องจากนักศึกษามีความรู้
ความสามารถท่ีตรงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการ

4. ความพร้อมของคณะ พิจารณาจากอาจารย์ประจาหลักสูตรครบตามเกณฑ์ที่กาหนด มีอาจารย์ที่มีความรู้
ความสามารถ รวมทั้ง ทรัพยากรทางการศึกษา วัสดุ แหล่งสืบค้นข้อมูลพร้อม มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
สถานท่ตี ง้ั เหมาะสมและเพียงพอต่อจานวนนักศึกษา

5. คู่แข่งทางตรง หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอม
เกล้าพระนครเหนือ พิจารณาจากจุดเด่นของสถาบันการศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนในสาขาวิชาและ
ระดับเดียวกัน คือ พัฒนาบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและส่งเสริมพัฒนา
บุคลากรให้มีผลงานวิจยั ทางดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

6. จุดเด่นของหลักสูตร เป็นผู้เช่ียวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติสู่สังคมประกอบการ
ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ
6.1 ศกึ ษาขอ้ มูลกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรและนโยบายของ
มหาวิทยาลัย โดยมุ่งเน้นการผลติ บณั ฑิตนักปฏบิ ัติ
6.2 กาหนดวตั ถุประสงคห์ ลักสตู ร
6.2.1 เพ่ือเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย ความซ่ือสัตย์สุจริต ความ
ขยันหมั่นเพียร มีจิตสาธารณะ มีความสานึกในจรรยาบรรณแห่งอาชีพ และความรับผิดชอบ
ต่อหนา้ ท่แี ละสังคม
6.2.2 เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติการ ให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย
ครอบคลุมพื้นฐานระบบสารสนเทศทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล และเครือข่าย เพื่อให้
สามารถออกแบบและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กท่ีสนับสนุนการใช้งานในองค์กร
สามารถเลือกใช้และดูแลระบบเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรู้ความสามารถเบ้ืองต้น
ในการบริหารหน่วยงานสารสนเทศ การบรหิ ารโครงการขนาดเล็กถงึ ขนาดกลางทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ และสามารถออกแบบและสรา้ งระบบงานประยุกตไ์ ด้อย่างเหมาะสม
6.2.3 เพื่อฝึกฝนให้มีความคิดริเร่ิม มีกิจนิสัยในการค้นคว้า และปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ
สามารถแก้ปัญหาด้วยหลักการและเหตุผล ปฏิบัติงานด้วยหลักวิชาการที่มีการวางแผนและ
ควบคมุ อยา่ งรอบคอบ ซ่ึงก่อใหเ้ กิดผลสมั ฤทธใิ์ นการทางาน
6.2.4 เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติการ ให้สามารถทาหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการปฏิบัติงานกับผู้ออกแบบและพัฒนาระบบ มีความเข้าใจใน
กระบวนการพฒั นาระบบสารสนเทศ มีความสามารถในการส่ือสารและทางานเปน็ ทีมได้
6.2.5 เพ่อื ผลิตบัณฑิตที่มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูล และการแก้ปญั หาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางคณติ ศาสตร์ สามารถเลอื กใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้อยา่ งเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ

7. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรีคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีของสาขาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ จัดทา (ร่าง) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2560) โดยนา (ร่าง) หลักสูตรมาทาการวิพากษ์หลักสูตรด้วยการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิท้ังภายในและ
ภายนอกมาใหข้ อ้ เสนอแนะและพฒั นาหลักสตู ร

8. คณะกรรมการดาเนินงานพัฒนาหลักสูตร จัดทา (ร่าง)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) เสนอต่อคณะกรรมการประจาคณะ

มกี ารประเมนิ กระบวนการ
รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 111

9. คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี นาเสนอ (รา่ ง)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) ไปยังสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน แล้วเสนอต่อสภาวิชาการ
พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบหลักสตู ร

10. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี นาเสนอ (รา่ ง) หลกั สตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) ที่ผ่านความเห็นชอบจากสภาวิชาการไปยังสานักส่งเสริมวิชาการและงาน
ทะเบียน แล้วเสนอต่อสภามหาวทิ ยาลยั เพื่อพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบหลกั สูตร

11. ออกแบบโครงสร้างและรายวชิ าในหลักสตู ร
และในปีการศึกษา 2564 คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีจะมีกาหนดการใช้หลักสูตรปรับปรุงจากปีปัจจุบัน
ในหลายสาขาวิชา สาหรับสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศมีกาหนดในการปรับปรุงหลักสูตร คือปีการศึกษา 2565
อย่างไรก็ตามสาขาวิชาฯ เล็งเห็นว่าต้องการให้หลักสูตรมีความทันสมัยต่อสถานการณ์ และความต้องการในตลาด
อุตสาหกรรมและสถานประกอบการ จึงมีมติเห็นชอบว่าให้ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรพร้อมกับสาขาอ่ืน ๆ ดังนั้น
สาขาวิชาจึงได้มีการประชุมเพอื่ ปรกึ ษาหาแนวทางในการปรบั ปรงุ หลักสตู รว่าจะเป็นไปในทศิ ทางใด และเพ่ือจดั เตรียม
ทาร่างหลักสูตรฉบับปรับปรุงปี 2565 โดยออกแบบโครงสร้างและรายวิชาในหลักสูตรให้สอดคล้องตามหลักเกณฑ์ท่ี
กาหนด โดยตอ้ งสอดคล้องตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้

11.1 เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดบั อุดมศึกษา
11.2 เกณฑ์มาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับปรญิ ญาตรี สาขาคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2553 (มคอ.1)
11.3 กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2553
11.4 กรอบวิสัยทัศน์/นโยบายของคณะฯ และ มหาวิทยาลัย (มุ่งผลิตบัณฑิตวิศวกรนักปฏิบัติสู่สังคมการ

ประกอบการ และส่งเสริมให้มีความเป็นผู้ประกอบการ โดยในหลักสูตรมีท้ังรายวิชาปฏิบัติการที่
เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และรายวิชาการเป็นผู้ประกอบการเพ่ือสรา้ งธรุ กจิ ใหม่ เพอื่ ตอบสนอง
สนองวิสยั ทศั นแ์ ละนโยบายดังกล่าว)
11.5 ขอ้ บังคบั ระเบียบ ประกาศของมหาวทิ ยาลยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง
11.6 ความต้องการของสถานประกอบการ (พิจารณาจากแบบสอบถามเพ่ือประเมินความต้องการบุคลากร
ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศจากสถานประกอบการ )
11.7 ความพรอ้ มของอาจารยผ์ ู้สอน และสิ่งสนบั สนุนการเรียนการสอน
11.8 จุดแข็งของหลักสูตรเดียวกันท่ีจัดการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาอื่น คอื มุ่งเน้นให้เป็นบัณฑิต
วิศวกรนักปฏิบัติ โดยการบรรจุรายวิชาปฏบิ ัติการที่เก่ียวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศและรายวิชาสหกิจ
ศกึ ษา ไว้ในหลักสูตร และมกี ารกาหนดรายวิชาทงั้ ภาคทฤษฎี ช่ัวโมงในการฝึกปฏบิ ตั ิ (มคอ.2)

มีการประเมินกระบวนการ
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้พัฒนามาจาก

หลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2554) โดยเร่ิมพัฒนาหลักสูตรใน
ปีการศึกษา 2559 และเปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2560 ผลจาการปรับปรุงหลักสูตรมีการกาหนดกรอบ
แนวความคดิ หลักสาหรบั ใช้ในการออกแบบหลักสูตร โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

หลักคิด : หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มุ่งเน้นความเป็นเลิศในด้านการปฏิบัติ
ตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลยั “บัณฑิตนักปฏิบัติ” เป็นนักปฏบิ ัติในด้านความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามรู้ ความสามารถ
ในงานสร้างสรรค์ท่ีเป็นมืออาชีพสู่สากลบนฐานความเข้าใจในบริบทของศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาความเป็นชาติไทย
และเทคโนโลยี โดยผลิตบณั ฑติ ทเ่ี ขา้ ใจปัญหาในงานเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถคน้ คว้า คิดวเิ คราะห์ และบรู ณาการ
ความรู้ต่าง ๆ เข้ากับความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือสร้างผลงานทางเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพและให้บริการแก่สังคม
ตอบสนองความต้องการของสังคมได้อย่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตน โดยสามารถสร้างฐานความรู้ท่ีเชื่อมโยงเทคโนโลยี
และนวัตกรรมกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน นาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนาผสมผสาน
รว่ มกันจนกลายเป็นจุดแข็งให้กับสังคมไทยควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ โดยปลูกฝังให้บัณฑิตมีความรบั ผิดชอบ มีระเบียบ
วินัย มคี ุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งมจี รรยาบรรณวชิ าชพี และขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทยอนั เปน็ เอกลักษณข์ องชาติ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 112

สาระรายวิชา : แบง่ เปน็ 3 หมวด คอื 1) หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป 2) หมวดวิชาเฉพาะ และ 3) หมวดวิชาเลือกเสรี
ในปีการศกึ ษา 2563 นักศกึ ษาแบง่ ออกเป็น 2 กลุม่ คอื

1. หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2554 โดยตามโครงสร้างของหลักสูตร นกั ศึกษาชัน้ ปีท่ี 1 และช้ันปีท่ี 2 จะเน้นเรยี น
หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไปและหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาพน้ื ฐานวิชาชีพ นักศึกษาชั้นปีท่ี 3 และ 4 จะจัดการเรียนการสอน
รว่ มกันท้งั ชั้น จะเน้นกลุ่มวิชาชีพบังคับ และกลุ่มวิชาชีพเลือกมากขึ้นเพ่ือความเข้าใจในเชิงลึกของแขนงศาสตร์วิชา มี
การเลือกเรยี นในรายวชิ าสหกิจศึกษาทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความรคู้ วามเข้าใจในสายวิชาชีพอย่างแท้จริง
ในการทางานกับสถานประกอบการ ก่อนนักศึกษาจบหลักสูตรจัดให้มีการทาโครงงาน (ปริญญานิพนธ์) เพื่อนาเอา
ความรู้ทงั้ หมดที่เรียนมาประยกุ ต์ใช้ในโครงงาน และสามารถคิดวเิ คราะห์หาเอกลักษณเ์ ฉพาะตนได้

2. หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 โดยมีการปรับเปลี่ยนให้วิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปกระจายอยู่ทุกชั้นปี
เนอ่ื งจากนักศึกษามผี ลการเรียนในหมวดวิชาศึกษาท่วั ไปนอ้ ย จึงสง่ ผลตอ่ ผลการเรยี นโดยรวมของนักศึกษาให้มีค่าน้อย
ตามไปด้วย และได้ให้นักศึกษาปีท่ี 1 เรียนวิชาในสาขาวิชาฯ มากย่ิงขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักอาจารย์ในสาขาวิชาฯ
และไดเ้ รยี นรรู้ ายวิชาในสาขาวิชาฯ มากขน้ึ

3. หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 ได้ประชุมอาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือปรับปรุง
หลักสูตร 2565 โดยได้มีมติในการเปล่ียนชื่อสาขาวิชา จากสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็น “สาขาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล” เพื่อให้เกิดความทันสมัยและความต้องการของตลาดแรงงานพร้อมท้ังปรับเปล่ียน
รายวชิ าใหม้ คี วามทันสมยั มากยงิ่ ขึ้น

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรมีกาหนดครบรอบการปรับปรุงในปี
การศึกษา 2565 มีการประเมินกระบวนการจัดทาหลักสูตร จากกระบวนการเดิม พบปัญหาเรื่อง ในรายวิชารายวิชา
สหกิจศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตร
ปรับปรุง พ.ศ. 2554) ยังไม่มีรายวิชานี้ในหลักสูตร ซึ่งทุกปีนักศึกษาจะต้องเข้ารับการอบรมท่ีทางคณะอุตสาหกรรม
และเทคโนโลยีจัดให้ ดังนั้นสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงมีการเพ่ิมรายวิชาเตรียมสหกิจศึกษา เพื่อให้นักศึกษามี
ความรู้ในการเตรียมตัวก่อนการออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และเปิดการการเรียนการสอนในรายวิชาเตรียมสหกิจ
ศึกษาต้งั แตป่ ีการศกึ ษา 2560

หลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ หลกั สตู รมีการกาหนดครบรอบการปรบั ปรงุ ใน
ปีการศึกษา 2560 มีการประเมินกระบวนการจัดทาหลักสูตร จากกระบวนการเดิมพบปัญหาเร่ืองความเข้าใจท่ีไม่
ชดั เจน เกยี่ วกับการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของผู้เกี่ยวข้อง
กับหลักสูตรในทุก ๆ ส่วน ต้ังแต่ผู้ร่างหลักสูตร ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ใช้บัณฑิต จนถึงผู้ทรงคุณวุฒิท่ีร่วม ประเมินสาระ
รายวิชา การกาหนด Mapping ฯลฯ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จึงเพิ่มข้ันตอนการให้ข้อมูล เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาตแิ ละเพ่ิมกระบวนการมีสว่ นรวมของคณาจารย์ ผู้สอน และผเู้ กี่ยวขอ้ งในส่วนอ่ืน ๆ โดยการจัด
สมั มนาเพอื่ ปรบั ปรุงหลักสตู รในครง้ั ถัดไป

มีการวิเคราะห์หลักสูตรเดียวกันหรือใกล้เคียงกันที่จัดการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาอื่น เพ่ือพัฒนา
หลกั สูตรใหม้ คี วามเทยี บเคยี งกับมหาวทิ ยาลัยชั้นนาได้ ยกตัวอยา่ งเช่น

ค่แู ข่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เน่ืองจากมีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรเทคโนโลยี
บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่นเดียวกัน จุดเด่นของหลักสูตร เป็นหลักสูตรสหกิจศึกษา เน้นการ
กระบวนการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในกระบวนการพัฒนางานด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศได้ (มคอ. 2)

มีการปรับปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 113

ในปีการศึกษา 2564 สาขาวชิ าฯ ได้ให้แนวทางการสง่ เสริมใหห้ ลักสตู รมีจุดเด่น โดยเน้นการฝึกภาษาองั กฤษท่ี
เกย่ี วข้องกบั วชิ าชีพใหก้ ับนกั ศกึ ษาโดยมีการแทรกเขา้ ไปอยใู่ นบางรายวิชา มีการสอนแบบ Problem based learning
เพือ่ ให้นกั ศกึ ษามีทกั ษะทางปัญญาในการคิด วเิ คราะห์ จากเหตกุ ารณจ์ าลองท่ีเกดิ ขน้ึ (Case study) ได้ อกี ท้ังยังมีการ
เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในแต่ละแขนงมาบรรยายในรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาเห็นภาพในสาขาที่เรียนมากยิ่งข้ึน
นอกจากทเี่ ห็นในชนั้ เรียนและเรยี นรู้จากตาราเพียงอย่างเดียว รวมทั้งนางานวจิ ัยมาบูรณาการรว่ มกบั การเรียนการสอน
พร้อมทงั้ บรู ณาการการเรียนการสอนเขา้ กบั การทานบุ ารุงศลิ ปวัฒนธรรม อาทิ

IFT 2218 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาหรบั นักศกึ ษาปีที่ 3 หลกั สตู รเทยี บโอนรายวิชา รายวชิ าดังกล่าวมีหน่วยกิต
3 (3-0-6) ซ่ึงต้องเรียนทฤษฎีในห้องเรียน 3 คาบต่อสัปดาห์ มีการบูรณาการการเรียนการสอนกับด้านการวิจัย ด้าน
การบริการวิขาการและการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โดยให้นักศึกษาไปศึกษาด้วยตนเองท่ีวัดหรือโบราณสถาน หรือ
ชมุ ชน ลงพื้นที่เก็บขอ้ มูลด้านต่างๆ และนามาวิเคราะห์ปัญหาที่เกดิ ขึ้น โดยนาปัญหามาแกไ้ ขโดยการพัฒนาซอฟตแ์ วร์
โดยใช้ทฤษฎีและขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ในบางกรณีท่ีนักศึกษาสามารถช่วยดาเนินการได้ ก็จะให้นักศึกษา
ดาเนนิ การแก้ไขให้เบื้องต้น ซ่งึ จะทาใหน้ กั ศกึ ษาไดน้ าเอาทฤษฎีมาวิเคราะห์ และประยกุ ต์ใชง้ านไดจ้ ริง

นอกจากนี้ปัญหาเรอื่ งของเวลาในการดาเนินงานโครงงานทีไ่ ม่เพียงพอ ผนวกกบั เน่อื งจากสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า หรือ โควิด-19 ที่อาจทาให้โครงงานฯไม่สามารถดาเนินการให้สาเร็จลุล่วงได้ทันตาม
ระยะเวลาที่กาหนด สาขาวิชาจึงได้มีการดาเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยสาขาฯ ได้จัดทาหนังสือขอขยายเวลา
ส่งผลการเรียนในรายวิชาดังกล่าว รวมถึงรายวิชาอ่ืน ๆ ในปีการศึกษา 2564 ภาคการศึกษาที่ 2 ไปยังสานักส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบียน (สวท.) เพื่อพิจารณาอนุมัติตามท่ีเสนอขอ โดยจากการดาเนินการดังกล่าวทาง สวท. ได้มี
หนังสอื อนุมตั ติ ามเสนอขอ้ โดยขยายเวลาไปถงึ วันที่ 31 พ.ค. 2564 ดังนั้นนกั ศึกษาจึงมเี วลาในการดาเนินงานโครงงาน
ฯ มากขึน้

ในรอบปีการศึกษา 2564 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดาเนินการจัดทาสาระรายวิชาในหลักสูตรให้
ทันสมัยและสอดคล้องกับลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ พร้อมทั้งต้ังคณะทางานจัดทาหลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.256 5
โดยจัดใหม้ ีการวิพากษ์หลักสูตร โดยผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากสายวิชาการและสายวิชาชีพ พร้อมท้ังแก้ไขปรับปรุงหลักสูตร
ตามข้อเสนอแนะ

สาหรับการปรับปรุงหลักสูตรฉบับ 2565 สาขาวิชาฯ ก็ได้มีการร่างรูปเล่มหลักสูตรเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว และ
กาลงั อยใู่ นขั้นตอนการแต่งต้งั คณะกรรมการวพิ ากษห์ ลกั สตู ร โดยสาขาวชิ าฯ จะทาการเรยี นเชิญผู้ทรงคุณวฒุ ทิ ่ีมคี วาม
เช่ียวชาญในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จากมหาวิทยาลัยชั้นนาและสถานประกอบการมาร่วมพิจารณาเนื้อหาใน
หลกั สูตร ในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2565 ได้แบ่งกลุม่ รายวชิ าดังน้ี

เลือกกลมุ่ วิชาชีพเฉพาะดา้ น จานวน 17 หนว่ ยกติ ประกอบด้วย 2 กลมุ่ วิชา เลือกเรียนจากกลมุ่ วชิ าต่อไปนี้
1. กลุ่มวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 17 หนว่ ยกติ กาหนดใหเ้ รยี นในรายวชิ าตอ่ ไปนี้

ITD 2207 เทคโนโลยเี ครือขา่ ยและอนิ เทอรเ์ นต็
ITD 2208 ปฏิบัตกิ ารเครือขา่ ยและอินเทอรเ์ นต็
ITD 3209 การโปรแกรมอปุ กรณ์เคลือ่ นท่ี
ITD 3210 การคน้ พบความรแู้ ละการทาเหมืองข้อมลู
ITD 4201 การสวิทชิ่งและเรา้ ต้งิ บนเครอื ขา่ ย
ITD 4202 ปฏิบตั ิการสวิทช่ิงและเร้าต้งิ บนเครอื ข่าย
ITD 4205 ระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ
2. กลุ่มวชิ านวตั กรรมดิจทิ ัล 17 หน่วยกติ กาหนดให้เรียนในรายวิชาต่อไปน้ี
ITD 2209 อนิ เทอร์เน็ตของทุกสรรพส่งิ
ITD 2210 ปฏบิ ตั ิการอินเทอรเ์ น็ตของทกุ สรรพสิ่ง
ITD 3211 ธรุ กิจอจั ฉริยะเบื้องตน้
ITD 3212 การหาคา่ เหมาะสมทีส่ ดุ แบบอภศิ กึ ษาสานึกเบื้องตน้
ITD 4203 เทคโนโลยีมลั ตมิ เี ดีย
ITD 4204 ปฏบิ ตั กิ ารสร้างสอ่ื มลั ติมีเดีย
ITD 4206 เทคโนโลยีการคานวณคลาวด์
รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 114

มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเปน็ รปู ธรรม
กาลังดาเนนิ การ

หลักสูตรมีการประเมินกระบวนการในการปรับปรุงหลักสตู รให้ทนั สมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์วชิ านน้ั ๆ โดย
พบว่า ในกระบวนการปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในบางรายวิชายังไม่ตรงตามความต้องการที่ผู้ใช้
บัณฑิตได้เสนอแนะแนวทาง ดังนั้นหลักสูตรจึงวางแผนการปรับปรุงรายวิชาใหม่หรือวางแผนปรับปรุงคาอธิบาย
รายวิชาใหม่เพ่ือให้มีความทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์วิชานั้นๆ และตรงตามความต้องการของสถาน
ประกอบการมากย่งิ ข้ึน
จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรบั ปรงุ หลกั สูตรใหท้ นั สมยั ตามความก้าวหน้าในศาสตร์วิชา

จุดท่ีควรพฒั นา แนวทางปรบั ปรงุ พฒั นา
1. ในรายวิชาการโปรแกรมอุปกรณ์ไร้สาย รหัสวิชา ปรับเปลี่ยนช่ือรายวิชาและเนื้อหา เพ่ือใหง้ ่ายต่อการ
มีการปรับเปลี่ยนเน้ือหาและเทคโนโลยี เพ่ือ เข้าใจและทนั ต่อเทคโนโลยปี ัจจุบนั
ตอบสนองต่อเทคโนโลยสี มยั ใหม่
2. ในปัจจุบันมีการศึกษาและพัฒนาเก่ียวกับเว็บส่ือ มีการเพิ่มรายวิชาเทคโนโลยีเว็บส่ือความหมาย
ความหมายเพิ่มตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ เพ่ือให้นักศกึ ษาเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้เว็บสื่อ
เก่ียวกับพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตมาก ความหมายในชวี ติ ประจาวันได้
ย่งิ ข้นึ
3. เนื่องจากมหาวิทยาลัยมีนโยบายในการพัฒนา มีการปรับปรุงรายวิชาทฤษฎีบางสว่ น ใหเ้ ป็นรายวชิ า
นักศึกษาให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ จึงได้มีการ ที่มีจานวนชั่วโมงปฏิบัติ และปรับปรงุ รายวิชาท่ีมีการ
ปรับปรุงรายวิชาบางส่วนให้เป็นวิชาที่เน้นปฏิบัติ ปฏิบัติ ให้มีจานวนชว่ั โมงในการปฏบิ ัติมากข้นึ
มากยงิ่ ข้นึ
4. ลักษณะเด่นของหลักสูตรเฉพาะทางด้านอาชีพ เพ่ิมรายละเอียดหรือรายวิชาเฉพาะทางท่ีมีความ
และเทคโนโลยีสารสนเทศมากข้ึน จาเป็นในการประกอบอาชีพขึ้นและเน้นภาคปฏิบัติ
ให้มากขึ้น
5. ในรายวชิ า IFT 2219 การเขียนโปรแกรมเว็บ เพิ่มรายละเอียดการการพัฒนาซอฟต์แวร์โดยมุ่งเน้น
แบบพลวัต เทคนิคการพัฒนาเว็บไซต์ท่ีทันสมัย การแสดงผลผ่านเครื่องมือต่างๆ หรือที่เรียกว่า
และตรงตามความต้องการด้านการพัฒนา Responsive Web Design
ซอฟตแ์ วรใ์ ห้มากยงิ่ ข้ึน
6. รายวิชา IDT 4301 การเป็นผู้ประกอบการเพื่อ เพิ่มและปรับปรุงบทเรียน ด้าน Startup โดยให้
สร้างธุรกิจใหม่ ควรพัฒนาผู้ประกอบการด้าน นกั ศึกษาจดั ทาโครงงาน Startup
Startup ใหม้ ากยงิ่ ขน้ึ

จากการนิเทศนักศึกษาท่ีออกปฏิบัติสหกิจศึกษาตามสถานประกอบการต่างๆ ทั้งหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน
อาจารย์ผู้นิเทศสหกิจได้รับคาแนะนาจากหัวหน้าหรือท่ีปรึกษาของนักศึกษาที่ออกปฏิบัติสหกิจศึกษา ว่า นักศึกษา
อาจจะพลาดโอกาสในการได้รบั การทางานตอ่ ในสถานประกอบการนัน้ ๆ เนื่องดว้ ยในหลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ.2560 การ
ปฏิบัติสหกิจศึกษาได้กาหนดให้นักศึกษาออกปฏิบัติสหกิจศึกษา เมื่อนักศึกษาอยู่ปี 4 ในภาคการเรียนท่ี 1 ทาให้
นกั ศกึ ษาทมี่ คี วามสามารถพลาดโอกาสในการเขา้ ทางานในสถานประกอบการต่อ

ผลการดาเนินงานปี 2565 หลักสูตรการจัดการได้ผลสรุปมาสู่การดาเนินการเพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัย
คอื

1. ปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นการสอนใหท้ ันสมัย

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2560) 115

1.1 พฒั นาศักยภาพดา้ นภาษาองั กฤษให้แก่นักศกึ ษา โดยมอบหมายใหอ้ าจารย์ท่ปี รกึ ษาในระดับชั้นปีท่ี 1

และปีที่ 2 ได้เข้าร่วมการอบรมวิธีการใช้โปรแกรม English Discovery เพ่ือถ่ายทอดและกระตุ้นให้

นักศึกษาตระหนักถึงความสาคัญในการใช้ภาษาอังกฤษมากข้ึน ซึ่งจะส่งผลให้นักศึกษาผ่านเกณฑ์

ตามที่มหาวทิ ยาลยั กาหนด

1.2 เพ่ือเน้นการเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ งกับนักศึกษาในปัจจุบนั ผูส้ อนจึงใช้กระบวนการเรยี นการสอน

แบบ Active Learning มากข้ึน โดยการเรียนผ่านกิจกรรมและเทคโนโลยีออนไลน์ เช่น วิชาแนวคิด

ฐานข้อมลู และวชิ าระบบจดั การฐานข้อมลู

1.3 เพ่ือให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้หลากหลาย สาขาวิชาจึงมีการจัดการเรียนการสอนใน

ลักษณะบูรณาการรายวิชาเข้าดว้ ยกัน เช่น วชิ าแนวคิดฐานข้อมลู และวชิ าระบบจัดการฐานขอ้ มลู

มกี ารปรบั ปรงุ /พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน
หลักสูตรฯมีการดาเนินการประชุมของอาจารย์ผู้สอนเก่ียวกับการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้มีความ

ทนั สมัยมากยิ่งข้ึน โดยทีป่ ระชุมมีมตใิ ห้อาจารย์ผสู้ อนในแต่ละรายวิชาศึกษาคน้ ควา้ เทคโนโลยี องค์ความรูใ้ หม่ๆ ในแต่
ศาสตร์เพือ่ นามาปรบั ปรงุ การจัดการเรียนการสอน โดยดาเนินการปรบั ปรุงการจัดการเรียนการสอนใน มคอ.3/มคอ.4
ใหม้ คี วามทนั สมัยอย่เู สมอ

ในปีการศึกษา 2564 ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามรอบ
การปรับปรุงหลักสูตร โดยได้ปรับปรุง หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2565) ได้ดาเนินการเป็นท่ีเรียบร้อย และได้มีการส่งเสนอหลักสูตรต่อคณะกรรมการประจาคณะฯ เพ่ีอพิจารณา
เห็นชอบ และดาเนินการแก้ไขตามคณะกรรมการประจาคณะเรียบร้อย จึงดาเนินการส่งไปยังสานักส่งเสริ มวิชาการ
และงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เพ่ือเสนอหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อสภาวิชาการ มทร.รัตนโกสินทร์ พิจารณา และขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการเสนอต่อ สภา
มหาวิทยาลยั ตอ่ ไป

ทั้งนี้ ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เข้าร่วมโครงการ
สัมมนาเชิงปฏบิ ัติการเพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ (TQF) โดย
มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาด้านการเรียนการสอนให้ทันกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน
คณุ วฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ (TQF) ทั้งน้สี าขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศได้ทาการปรับปรงุ หลกั สูตรให้ทันสมัยตาม
ความก้าวหน้าในศาสตร์วิชาน้ันๆ โดยมีการปรับเปล่ียนรหัสวิชา และรายวิชา เพ่ือให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าใน
ศาสตร์วชิ า โดยยึดหลักนโยบายในการพัฒนานักศกึ ษาให้เป็นบณั ฑิตนักปฏิบัติ จงึ ไดม้ ีการปรบั ปรุงรายวิชาบางส่วนให้
เป็นวชิ าที่เนน้ ปฏบิ ตั ิมากยิง่ ข้นึ

สาขาวิชาฯ ยังได้รับการสนับสนุนและการยอมรบั จากสถานประกอบการมากขึ้น นักศึกษาได้รบั ความไว้วางใจ
จากสถานประกอบการ ทาให้นักศึกษาได้รับเข้าทางานภายหลังจากจบการศึกษา นอกจากน้ีภายหลังจากการออกสห
กิจศึกษา นักศึกษาได้รับความชื่นชมจากสถานประกอบการเป็นอย่างมาก โดยมีหนังสือแสดงความชื่นชมจากสถาน
ประกอบการมายังคณะ และสาขาวิชา นักศึกษาที่จบการศึกษาจากสาขาวิชาในบางส่วนได้เข้าทางานกับสถาน
ประกอบการที่เคยไปสหกิจศกึ ษา

นอกจากนี้อาจารย์ในสาขาวิชามีความร่วมมือกับสถานประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมมากขื้นอย่างชัดเจน
อาจารย์มีงานวิจัยร่วมกับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค อาเภอหัวหิน ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการทางาน
ของหน่วยงาน และได้ดาเนินงานวิจัยจนเสร็จสิ้นเรียบร้อย นอกจากนี้นักศึกษาได้มีโอกาสร่วมทางานวิจัยท่ีได้รับการ
สนบั สนนุ จากสถานประกอบการ จนโครงงานได้ดาเนินการเสร็จสนิ้ เป็นที่เรียบร้อยเชน่ กนั

รายงานผลการดาเนินงานของหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 116

ในปีการศึกษา 2564 ภาคการศึกษาที่ 2 ในรายวิชา IFT 1203 แนวคิดระบบฐานข้อมูล ได้มีการปรับปรุง
เน้ือหาสาระของรายวิชา โดยเพ่ิมเติมบทเรียนเกี่ยวกับ ทฤษฎีและความรู้ในเร่ืองของฐานข้อมูล NOSql และการ
วิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพ่ือปรับปรุงเน้ือหาให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์วิชานั้นๆ และ
นักศึกษาสามารถนาความรู้ไปใช้ในการจดั ทาและพฒั นาระบบสารสนเทศในวิชาโครงงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1 ได้

ในรายวิชา IFT 2219 การเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัต เทคนิคการพัฒนาเว็บไซต์ที่ทันสมัยและตรงตาม
ความต้องการด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้มากย่ิงข้ึนเพ่ิมรายละเอียดการการพัฒนาซอฟต์แวร์โดยมุ่งเน้น การแสดงผล
ผ่านเครื่องมอื ตา่ งๆ หรอื ทีเ่ รียกว่า Responsive Web Design
ผลจากการปรับปรุงเห็นชดั เจนเปน็ รปู ธรรม

อาจารย์ สาขาวิชาฯ และมหาวิทยาลัยฯ ได้รับการยอมรับและเป็นท่ีรู้จักจากสถานประกอบการ และ
ภาคอุตสาหกรรมมากย่ิงขึ้น นาไปสู่ความร่วมมือในการทางานร่วมกัน จากนักศึกษาสามารถได้รับประสบการณ์ความรู้
จริงจากการทางานร่วมกับภาคอุตสาหกรรม เห็นภาพการทางานจริง จึงทาให้มีความเข้าใจในการทางานมากย่ิงขึ้น
นักศกึ ษามงี านทา ภายหลงั จากสาเร็จการศึกษา

ในปีการศึกษา 2564 ผลจากการปรับปรุงเน้ือหาในรายวิชา IFT 2219 การเขียนโปรแกรมเว็บแบบพลวัต
เทคนิคการพัฒนาเว็บไซต์ที่ทันสมัยและตรงตามความต้องการด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้มากยิ่งขึ้นเพ่ิมรายละเอียด
การการพัฒนาซอฟต์แวร์โดยมุ่งเน้นการแสดงผลผ่านเคร่ืองมือต่างๆ หรือที่เรียกว่า Responsive Web Design ผล
ปรากฏว่า ในการสอบโครงงานหรือปริญญานิพนธ์ ของนักศึกษาในปีการศึกษา 2564 นักศึกษาได้มุ่งพัฒนาระบบ
สารสนเทศ ด้านเวบ็ ไซตม์ ีการนาเทคนิค Responsive Web Design ไปช่วยในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพิ่มมากขนึ้

การประเมินตนเอง ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเป้าหมาย
เปา้ หมาย .........คะแนน  บรรลุ  ไมบ่ รรลุ
4 คะแนน
4 คะแนน

ตวั บ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน

ชนิดของตัวบ่งช้ี กระบวนการ

รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 117


Click to View FlipBook Version