The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สามัคคีเภทคำฉันท์ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Feroz Kun, 2022-08-31 09:12:03

สามัคคีเภทคำฉันท์ (1)

สามัคคีเภทคำฉันท์ (1)

สามัคคีเภท
คำฉันท์

คณะผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๕
นำเสนอ
คุณครูชมัยพร แก้วปานกัน

ความเป็นมา

“ ส า มั ค คี เ ภ ท คำ ฉั น ท์ ” เ กิ ด จ า ก วิก ฤ ต ก า ร ณ์ ทั้ ง ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก ป ร ะ เ ท ศ ใ น ส มั ย
รั ช ก า ล ที่ 6 เ ช่ น ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ 1 , ก บ ฏ ร . ศ . 1 3 0 ป ร ะ ก อ บ กั บ ค น ไ ท ย ใ น ส มั ย

นั้ น ไ ด้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ม า ก ขึ้ น ทำ ใ ห้ เ กิ ด แ น ว ค ว า ม คิ ด เ กี่ ย ว กั บ กิ จ ก า ร บ้ า น เ มื อ ง ที่
ห ล า ก ห ล า ย จึ ง ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง บ้ า น เ มื อ ง ทำ ใ ห้ ใ น ช่ ว ง ดั ง ก ล่ า ว

มั ก เ กิ ด ค ว า ม นิ ย ม แ ต่ ง ว ร ร ณ ค ดี ป ลุ ก ใ จ ใ ห้ รั ก ช า ติ ส า มั ค คี เ ภ ท คำ ฉั น ท์ ก็ เ ป็ น
ว ร ร ณ ค ดี เ รื่ อ ง ห นึ่ ง ที่ มุ่ ง ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง ค ว า ม ส า มั ค คี ก า ร ร ว ม เ ป็ น ห มู่
ค ณ ะ เ ป็ น น้ำ ห นึ่ ง ใ จ เ ดี ย ว กั น ส า มั ค คี เ ภ ท คำ ฉั น ท์ จึ ง ถื อ เ ป็ น ว ร ร ณ ค ดี ที่ มี เ นื้ อ ห า เ ป็ น

ค ติ ส อ น ใ จ

ความเป็นมา

“ ส า มั ค คี เ ภ ท ” เ ป็ น คำ ส ม า ส ร ะ ห ว่ า ง “ ส า มั ค คี ” แ ล ะ
“ เ ภ ท ” ซึ่ ง “ เ ภ ท ” มี ค ว า ม ห ม า ย ว่ า ก า ร แ ต ก แ ย ก ดั ง นั้ น
“ ส า มั ค คี เ ภ ท ” จึ ง ห ม า ย ถึ ง “ ก า ร แ ต ก ค ว า ม ส า มั ค คี ”

ประวัติผู้แต่ง

นายชิต บุรทัต

นายชิต บุรทัต (๖ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๒๗ เมษายน ๒๔๘๕) บุตร
นายชู นางปริก เดิมนามสกุล "ชวางกูร" เป็นผู้มีความสามารถในการแต่ง
คำประพันธ์ร้อยกรอง โดยเฉพาะฉันท์ เป็นกวีที่มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่
๖ สมรสกับนางจั่น แต่ไม่มีบุตรธิดา

นายชิต บุรทัตเข้าศึกษาเบื้องต้นที่โรงเรียนวัดราชบพิธและเข้าศึกษาจนจบ
ชั้นมัธยมบริบูรณ์ที่โรงเรียนวัดสุทัศน์ เมื่ออายุได้ ๑๕ ปี บิดาจึงให้บวชเป็น
สามเณร ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยมีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรม
หลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ในเวลานั้นทรงเป็นอุปัชฌาจาร
ย์ บวชได้ไม่นานก็ลาสิกขา นายชิตมีความสนใจการอ่านเขียน และมีความ
เชี่ยวชาญในภาษาไทย มีความรู้ภาษาบาลี และยังฝึกฝนภาษาอังกฤษอยู่ใน
เกณฑ์ใช้ได้ และเริ่มการประพันธ์เมื่ออายุได้ ๑๘ ปี

บทประพันธ์

นายชิตกลับมาบวชสามเณรอีกครั้ง ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ในฐานะ
เป็นศิษย์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้
เขียนงานประพันธ์ครั้งแรก โดยใช้นามปากกา "เอกชน" จนเป็นที่
รู้จักกันดีในเวลานั้นขณะบวชนั้น สามเณรชิตได้รับอาราธนาจากองค์
สภานายกหอพระสมุดวชิรญาณ ให้เข้าร่วมแต่งฉันท์สมโภชพระมหา
เศวตฉัตร ในงานพระราชพิธีฉัตรมงคลรัชกาลที่ ๖ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔
ด้วย ครั้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๘ นายชิต บุรทัต ซึ่งลาสิกขาแล้ว ได้ส่งบท
ประพันธ์เป็นกาพย์ปลุกใจ ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์สมุทสาร เมื่อ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตร ก็พอพระ
ราชหฤทัยเป็นอย่างมาก โปรดฯ ให้เจ้าหน้าที่ของภาพถ่ายเจ้าของบท
ประพันธ์นั้นด้วย

ผลงาน

นายชิต บุรทัต ได้สร้างผลงานร้อยกรองที่มีชื่อเสียง
มากมาย โดยเฉพาะ สามัคคีเภทคำฉันท์ (พ.ศ. ๒๔๕๗) มี
บทร้อยกรองตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ข้อความ
โฆษณาเป็นร้อยกรอง และท่านยังมีชื่อเสียงในการแต่งร้อย
แก้วซึ่งสามารถอ่านอย่างร้อยกรองไว้ในบทเดียวกัน ขณะที่
คำฉันท์นั้น ก็ยังสามารถใช้คำง่ายๆ มาลงครุลหุได้อย่าง
เหมาะสม ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในนักแต่งฉันท์ฝีมือ
เยี่ยมคนหนึ่งของไทยจนถึงปัจจุบันนี้

ลักษณะคำประพันธ์

สามัคคีเภทคำฉันท์ แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทฉันท์ ๑๘ ชนิด กาพย์ ๒ ชนิด คือ

๑. สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๑. มาณวกฉันท์
๒. วสันตดิลกฉันท์ ๑๒. อุเปนทรวิเชียรฉันท์
๓. อุปชาติฉันท์ ๑๓. สัทธราฉันท์
๔. อีทิสังฉันท์ ๑๔. สาลินีฉันท์
๕. อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๕. อุปัฏฐิตาฉันท์
๖. วิชชุมมาลาฉันท์ ๑๖. โตฏกฉันท์
๗. อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๗. กมลฉันท์
๘. วังสัฏฐฉันท์ ๑๘. จิตรปทาฉันท์
๙. มาลินีฉันท์ ๑๙. กาพย์สุรางคนางค์ฉันท์ ๒๘
๑๐. ภุชงคประยาตฉันท์ ๒๐. กาพย์ฉบัง ๑๖

คำฉันท์

เป็นคำประพันธ์ที่ได้แบบอย่างมาจากอินเดียเดิมแต่ง เป็นภาษาบาลี และสันสกฤต ไทย
นำมาเปลี่ยนแปลงลักษณะ บางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับความนิยมในคำประพันธ์ไทย
ตำราฉันท์ที่เป็นแบบฉบับของฉันท์ไทย คือ คัมภีร์วุตโตทัย กำหนดครุ ลหุ และสัมผัส
เป็นมาตรฐาน

คำครุ
เป็นคำที่ออกเสียงหนัก มีตัวสะกด สระเสียงยาว และ อำ ไอ ใอ เอา

คำคลุ
เป็นคำที่ออกเสียงเบา ไม่มีตัวสะกด สระเสียงสั้น ยกเว้น ก็ บ

ภุชงคประยาตฉันท ์ ๑๒

ชื่อฉันท์แปลว่า งู หรือนาคเลื้อย ฉันท์นี้มีลีลาประดุจลีลาศของพญานาค ทำนอง
ฉันท์มีความไพเราะสละสลวย นิยมใช้แต่งเกี่ยวกับกับ บทชมความงาม ความรัก ความ
โศก บางครั้งก็ใช้ในบทสดุดีหรือบทถวายพระพรหรือดำเนินเรื่องให้รวดเร็ว เช่น

ทิชงค์ชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ
กษัตริย์ลิจฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย
เหมาะแก่การณ์จะเสกสรร ปวัตน์วัญจโนบาย
มล้างเหตุพิเฉทสาย สมัครสนธิ์สโมสร

ภุชงคประยาตฉันท ์ ๑๒

มาณวกฉันท์ ๘

ชื่อฉันท์แปลว่าเด็กหนุ่ม เป็นฉันท์ที่มีลีลาเร่งเร้า ผาดโผน คึกคัก ประดุจเด็กหนุ่ม
นิยมใช้กับเรื่องที่ตื่นเต้นและรื่นเริงเช่น

ล่วงลุประมาณ กาลอนุกรม
หนึ่งณนิยม ท่านทวิชงค์
เมื่อจะประสิทธิ์ วิทยะยง
เชิญวรองค์ เอกกุมาร
พราหมณไป
เธอจรตาม ห้องรหุฐาน
โดยเฉพาะใน ความพิสดาร
จึ่งพฤฒิถาม โทษะและไข
ขอธประทาน

มาณวกฉันท์ ๘

อุเปนทรวิเชียรฉันท ์ ๑๑

ชื่อฉันท์แปลว่า อินทรวิเชียรฉันท์น้อย มีลักษณะคล้ายกับอินทรวิเชียรฉันท์
ท่วงทำนองของฉันท์เรียบๆ เย็นๆ ไม่กระแทกกระทั้น มักใช้บรรยายเนื้อความเป็น
การดำเนินเรื่อง เช่น

ทิชงค์เจาะจงเจตน์ กลห์เหตุยุยงเสริม
กระหน่ำและซ้ำเติม นฤพัทธก่อการณ์

ละครั้งระหว่างครา ทินวารนานนาน
เหมาะท่าทิชาจารย์ ธก็เชิญเสด็จไป

อุเปนทรวิเชียรฉันท ์ ๑๑

สัทธราฉันท์ ๒๑

ชื่อฉันท์มีความหมายว่า ฉันท์ที่มีลีลาวิจิตรงดงามประดุจสตรีเพศ
ผู้ประดับด้วยพวงมาลัย มักใช้เป็นฉันท์พรรณนาความงามหรือความโศก
อย่างลึกซึ้งหรือบรรยายความก็ได้ เช่น

ครั้นล่วงสามปีประมาณมา สหกรณประดา
ลิจฉวีรา ชทั้งหลาย
มิตรภิทนะกระจาย
สามัคคีธรรมทำลาย ก็เป็นไป
สรรพเสื่อมหายน์

สัทธราฉันท์ ๒๑

สาลินีฉันท์ ๑๑

ชื่อฉันท์มีความหมายว่า ฉันท์ที่มากไปด้วยครุ ซึ่งเปรียบเสมือนแก่นหรือหลัก
เป็นฉันท์ที่มีเสียงครุมาก มักใช้บรรยายความในการดำเนินเรื่อง เช่น

วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขา
ทุกไท้ไป่เอาภาร ณกิจเพื่อเสด็จไป
จะเรียกหาประชุมไย
ต่างทรงรับสั่งว่า ก็ขลาดกลัวบ่กล้าหาญ
เราใช่เป็นใหญ่ใจ

สาลินีฉันท์ ๑๑

อุปัฎฐิตาฉันท ์ ๑๑

ชื่อฉันท์หมายความว่า ฉันท์ที่กล่าวสำเนียงอันดังก้องให้ปรากฏ กวีนิยมใช้
บรรยายความทั่วไป เช่น

เห็นเชิงพิเคราะห์ช่อง ชนะคล่องประสบสม
พราหมณ์เวทอุดม ธก็ลอบแถลงการณ์
ให้วัลลภชน คมดลประเทศฐาน
กราบทูลนฤบาล อภิเผ้ามคธไกร

อุปัฎฐิตาฉันท ์ ๑๑

วิชชุมมาลาฉันท ์๘

ชื่อของฉันท์แปลว่า ระเบียบแห่งสายฟ้า เป็นฉันท์ที่มีเสียงหนัก หรือคำครุล้วน
เสียงอ่านจึงสั้น กระชับ รวดเร็ว ใช้บรรยายความที่แสดงความรู้สึกในทางวุ่นวายใจเช่น

ข่าวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัดดล
ในหมู่ผู้คน ชาวเวสาลี
แทบทุกถิ่นหมด ชนบทบูรี
อกสั่นขวัญหนี หวาดกลัวทั่วไป
หมดเลือดสั่นกาย
ตื่นตาหน้าเผือด วุ่นหวั่นพรั่นใจ
หลบลี้หนีตาย ซ่อนตัวแตกภัย
ซุกครอกซอกครัว ทิ้งย่านบ้านตน
เข้าดงพงไพร

วิชชุมมาลาฉันท ๘์

อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑

ชื่อฉันท์นี้แปลว่า เพชรของพระอินทร์ ซึ่งมีลักษณะแสงระยิบระยับเป็นฉันท์
ที่มีลีลาเสนาะ จังหวะสละสลวยอีกแบบหนึ่ง กวีนิยมใช้พรรณนาสิ่งที่สวยงาม พรรณนา
ความน่าเอ็นดู ความน่าสงสารบางครั้งก็ใช้บรรยายความเพื่อแสดงความรู้สึกที่อ่อนไหว
เศร้าหมองเยือกเย็น เช่น พรรณนาให้เห็นความเสียสละของวัสสการพราหมณ์ว่า

โดยเต็มกตัญญู กตเวทิตาครัน
ใหญ่ยิ่งและยากอัน นรอื่นจะอาจทน
สละเนื้อและเลือดตน
หยั่งชอบนิยมเชื่อ ขรการณ์พะพานกาย
ยอมรับทุเรศผล ชิวแทบจะทำลาย
มนมั่นมิหวั่นไหว
ไป่เห็นกะเจ็บแสบ
มอบสัตย์สมรรถหมาย

อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑

จิตรปทาฉันท์ ๘

เป็นฉันท์ที่มีทำนองเสียงกระชับคล้ายมาณวกฉันท์เพราะมีเสียงลหุใกล้ชิดกัน
จึงให้ความรู้สึกคึกคะนอง ตื่นเต้น จึงใช้ในลีลาแห่งความตื่นเต้นความสับสนอลหม่าน
เช่น

นาครธา นิวิสาลี
เหนริปุมี พลมากมาย
ข้ามติรชล ก็ลุพ้นหมาย
มุ่งจะทลาย พระนครตน
มนอกเต้น
ต่างก็ตระหนก ตะละผู้คน
ตื่นบมิเว้น มจลาจล
ทั่วบุรคา อลเวงไป
เสียงอลวน

จิตรปทาฉันท์ ๘

สัททุลวิกกีฬิตฉันท ์ ๑๙

ชื่อของฉันท์แปลว่า เสือผยอง เพราะมีลีลาประดุจกิริยาแห่งเสือโคร่ง มีลีลา
ท่วงทำนองเคร่งขรึม เอาจริงเอาจัง ให้ความรู้สึกว่าศักดิ์สิทธิ์ มีสง่า จึงนิยมใช้แต่งบท
ประณามพจน์เป็นการไหว้ครูหรือ กล่าวยอ พระเกียรติหรือสรรเสริญพระมหากษัตริย์
หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ เช่น

ไหว้คุณองค์พระสุคตอนาวรณญาณ มุนี
ยอดศาสดาจารย์ ปิฎก

อีกคุณสนทรธรรมคัมภิรวิธี
พุทธพจน์ประชมตรี

สัททุลวิกกีฬิตฉันท ์ ๑๙

อีทิสังฉันท์ ๒๐

ฉันท์นี้มีทำนองสะบัดสะบิ้ง กระโชกกระชั้น เพราะใช้เสียงครุและเสียงลหุ
สลับกัน ทำให้เสียงกระแทกกระทั้น เหมาะสำหรับใช้พรรณนาความรู้สึกที่รุนแรง เช่น
พรรณนาความโกรธ ความรัก ความตื่นเต้นที่แสดงออกถึงอารมณ์ เช่น

เออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร

ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็น

ศึกบ่ถึงและมึงก็ยังมิเห็น

จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด

อวดฉลาดเพราะคาดแถลงเพราะใจ

ขยาดขยั้นมิทันอะไร ก็หมิ่นกู

อีทิสังฉันท์ ๒๐

วสันตดิลกฉันท์ ๑๔

ชื่อฉันท์แปลว่า ความงามในฤดูฝน เป็นฉันท์ที่มีลีลางดงามอ่อนช้อยประดุจ
ความงามของหยาดน้ำฝนทั้งเล็กและใหญ่สลับกันในฤดูฝน มีความไพเราะมากฉันท์หนึ่ง
ใช้สำหรับพรรณนาสิ่งที่สวยงาม เช่น ชมบ้านเมือง ชมธรรมชาติชมความงามของสตรี
เป็นต้น ทำให้ผู้ฟังรู้สึกไพเราะและซาบซึ้งกับความงามนั้นๆเช่น

สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ
ช่อฟ้าตระการกละจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆัมพ
ดุจกวักนภาลัย
หางหงส์ผจงพิจิตรงอน พิศสุกอร่ามใส
รอบด้านตระหง่านจตุรมุข ฑุรย์พร่างพะแพรวพราย

กาญจน์แกมมณีกนกไพ-

วสันตดิลกฉันท์ ๑๔

โตฏกฉันท์ ๑๒

ชื่อฉันท์แปลว่า ปฏักแทงโค เป็นฉันท์ที่มีลีลากระชั้นคึกคักประดุจนาย
โคบาลแทงโคบาลด้วยปฏัก กวีนิยมใช้กับเนื้อเรื่องที่แสดงความโกรธเคืองร้อนรน
หรือคึกคะนอง สนุกสนาน เช่น

ประลุฤกษมุหุต ทินอุตตมไกร
รณรงควิชัย- ยะดิถีศุภยาม
หิตโกวิทพราหมณ์
ทิชพฤติปุโร- นิติไสยพิธี
ก็ประกอบกิจตาม

โตฏกฉันท์ ๑๒

กมลฉันท์ ๑๒

ชื่อฉันท์แปลว่า ดอกบัว ลีลาของฉันท์มีเสียงครุ ลหุ สลับกันจึงเป็นเสียงเร่งเร้า
กระฉับกระเฉง ใช้แต่งพรรณนาเหตุการณ์ที่คลี่คลายอย่างรวดเร็ว เช่น

ผิวกาลมัชฌัน ติกอันรวีสา
หสร้อนและอ่อนกา ยสกนธ์พหลหาญ
ก็มิรีบมิรัดเอื้อ ธุระเพื่อสบายบาน
พลปรีดิสำราญ สุขพอก็ต่อไป

กมลฉันท์ ๑๒

อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๒

ชื่อฉันท์แปลว่า เหล่ากอพระอินทร์ มีลักษณะคล้ายอินทรวิเชียร แต่วรรค
หลังเพิ่มลหุขึ้นก่อนคำท้ายอีก๑คำทำให้ลีลาสะบัดสะบิ้ง ตอนลงจบคล้ายท่วงทำนอง
ขลุ่ยหรอปี่ จึงมีผู้แปลชื่อฉันท์ชนิดนี้ว่าขลุ่ยหรือปี่ ของพระอินทร์อีกชื่อหนึ่ง นิยมใช้ใน
การพรรณนาความรู้สึกอันไม่ราบรื่นของตัวละครหรือบรรยายความ เช่น

หลากเหลือจะเชื่อจิต ผิวคิดประหวั่นพะ
เมตตาและเต็มปลง มนจักประคับประคอง
หนักข้างระคางอยู่ บมิรู้จะรับจะรอง
ภายหลังก็ตั้งตรอง ตริฤเว้นระวังระแวง

อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๒

มาลินีฉันท์ ๑๕

ชื่อฉันท์แปลว่า ดอกไม้ เป็นฉันท์ที่แต่งยากแต่ทว่ามีความงามประดุจ
ดอกไม้ทำนองฉันท์สั้นกระชับในตอนต้น แล้วราบรื่นในตอนปลาย เป็นฉันท์ที่มีท่วง
ทำนองเคร่งขรึมน่ายำเกรง กวีมักใช้แต่งเพื่ออวดความสามารถในการใช้ศัพท์และเป็น
เชิงกลบท เช่น

กษณะทวิชะรับฐา นันดร์และที่วาจกาจารย์
นิรอลสะประกอบภาร พีริโยฬารและเต็มใจ

มาลินีฉันท์ ๑๕

อุปชาติฉันท์ ๑๑

ชื่อฉันท์มีความหมายว่า ฉันท์ที่แต่งด้วยอินทรวิเชียรฉันท์และอุเปนทรวิเชียร
ฉันท์ปนกัน นิยมแต่งเพื่อบรรยายความในการดำเนินเรื่องหรือบทเจรจาของตัวละคร
เช่น

สดับประกาศิต ระบุกิจวโรงการ
จึ่งราชสมภาร พจนาถประภาษไป
เราคิดจะใคร่ยก พยุห์พลสกลไกร
ประชุมประชิดชัย รณรัฐวัชชี

อุปชาติฉันท์ ๑๑

วังสัฎฐฉันท์ ๑๒

ชื่อฉันท์มีความหมายว่า เป็ นฉันท์ที่มี สำเนียงไพเราะประดุจเสียงปี่
มีลักษณะคล้ายอินทรวงศ์ฉันท์ ใช้บรรยายความเช่นเดียวกับอินทรวงศ์ฉันท์ เช่น

ประชุมกษัตริย์รา ชสภาสดับคะนึง
คะเนณทุกข์รึง อุระอัดประหวัดประวิง
ประกอบระกำพา หิรกายน่าจะจริง
มิใช่จะแอบอิง กลอำกระทำอุบาย

วังสัฎฐฉันท์ ๑๒

เนื้อเรื่องย่อ

พราหมณ์ผู้ฉลาดคาดคะเนว่ากษัตริย์ลิจฉวีวางใจคลายความหวาดระแวง เป็น
โอกาสเหมาะที่จะเริ่มดำเนินการตามกลอุบายทำลายความสามัคคีวันหนึ่งเมื่อถึง
โอกาสที่จะสอนวิชากุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดยพร้อมเพรียงกัน ทันใดวัสสการพรา
หมณ์ก็มาถึงและแกล้งเชิญพระกุมารพระองค์ที่สนิทสนมเข้าไปพบในห้องส่วนตัว
แล้วก็ทูลถามเรื่องที่ไม่ใช่ความลับแต่ประการใด ดังเช่นถามว่า ชาวนาจูงโคมาคู่หนึ่ง
เพื่อเทียมไถใช่หรือไม่พระกุมารลิจฉวีก็รับสั่งเห็นด้วยว่าชาวนาก็คงจะกระทำดังคำ
ของพระอาจารย์ถามเพียงเท่านั้นพราหมณ์ก็เชิญให้เสด็จกลับออกไปครั้นถึงเวลา
เลิกเรียนเหล่าโอรสลิจฉวีก็พากันมาซักไซ้พระกุมารว่าพระอาจารย์เรียกเข้าไปข้างใน
ได้ไต่ถามอะไรบ้าง ขอให้บอกมาตามความจริง พระกุมารพระองค์นั้นก็เล่าเรื่องราวที่
พระอาจารย์เรียกไปถามแต่เหล่ากุมารสงสัยไม่เชื่อคำพูดของพระสหายต่างองค์ก็
วิจารณ์ว่าพระอาจารย์จะพูดเรื่องเหลวไหลไร้สาระเช่นนี้เป็นไปไม่ได้และหากว่าจะ
พูดจริงเหตุใดจะต้องเรียกเข้าไปถามข้างในห้องถามข้างนอกห้องก็ได้ สงสัยว่าท่าน
อาจารย์กับพระกุมารต้องมีความลับอย่างแน่นอนแล้วก็มาพูดโกหก

เนื้อเรื่องย่อ

กุมารลิจฉวีทั้งหลายเห็นสอดคล้องกันก็เกิดความโกรธเคืองการทะเลาะวิวาทก็เกิดขึ้น
เพราะความขุ่นเคืองใจ ความสัมพันธ์อันดีที่เคยมีมาตลอดก็ถูกทำลายย่อยยับลง
แต่หลังจากกษัตริย์ลิจฉวีทรงซักไซ้ไล่เลียงด้วยประการต่างๆ ก็หลงกลวัสสการพราหมณ์
ทรงรับไว้ทำราชการในตำแหน่งอำมาตย์ผู้พิจารณาพิพากษาคดีและตั้งเป็นครูฝึกสอน
ศิลปวิทยาแก่ราชกุมารของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีด้วย จากนั้นต่อมา พราหมณ์เฒ่าก็ทำที่
ปฎิบัติงานในหน้าที่อย่างดี ไม่มีสิ่งใดบกพร่อง จนหมู่กษัตริย์ลิจฉวีไว้วางพระทัย แผนการ
ทำลายความสามัคคีได้เริ่มจากวัสสการพราหมณ์ใช้กลอุบายให้บรรดาราชโอรสกษัตริย์
ลิจฉวีระแวงกัน โดยแกล้งเชิญแต่ละองค์ไปพบเป็นการส่วนตัว แล้วถามปัญหาธรรมดาที่
รู้ๆ กันอยู่เมื่อองค์อื่นซักเรื่องราวว่าสนทนาอะไรกับอาจารย์บ้าง แม้ราชกุมารองค์นั้นจะ
ตอบความจริง

เนื้อเรื่องย่อ

แต่ก็ไม่มีใครเชื่อถือก่อให้เกิดความระแวงและแตกร้าวในบรรดาราชกุมาร
กระทั่งลุกลามไปสู่กษัตริย์ลิจฉวีผู้เป็นพระราชบิดาทุกองค์ทำให้ความสามัคคี
ค่อยๆ เสื่อมลงจนกระทั่งไม่เข้าร่วมประชุมราชสภา หรือได้ยินเสียงกลองก็ไม่
สนใจประชุมเมื่อมาถึงขั้นนี้วัสสการพราหรณ์จึงลอบส่งข่าวไปให้พระเจ้าอชาต
ศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชีได้เป็นผลสำเร็จสามัคคีเภทคำฉันท์ แต่งขึ้นเพื่อมุ่ง
สรรเสริญธรรมแห่งความสามัคคีเป็นแก่นของเรื่อง และหลักธรรมข้อนี้ไม่ล้า
สมัย สามารถยังประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่หมู่ชนที่มีความพร้อมเพรียงกันพัฒนา
สังคม หากนำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง

เนื้อเรื่องเต็ม และ
ถอดคำประพันธ์

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ภุชงคประยาต ฉันท์ฯ ๑๒ คะเนกลคะนึงการ
ระวังเหือดระแวงหาย
ทิชงค์ชาติฉลาดยล ปวัตน์วัญจโนบาย
กษัตริย์ลิจฉวีวาร สมัครสนธิ์สโมสร

เหมาะแก่การณ์จะเสกสรร
มล้างเหตุพิเฉทสาย

ถอดความได้ว่า : พราหมณ์ผู้ฉลาดคาดคะเนว่ากษัตริย์ลิจฉวีวางใจคลายความ
หวาดระแวง เป็นโอกาสเหมาะที่จะเริ่มดำเนินการตามกลอุบายทำลายความ
สามัคคี

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ณ วันหนึ่งลุถึงกา ลศึกษาพิชากร
กุมารลิจฉวีวร เสด็จพร้อมประชุมกัน
สถานราชเรียนพลัน
ตระบัดวัสสการมา สนิทหนึ่งพระองค์ไป
ธ แกล้งเชิญกุมารฉัน

ถอดความได้ว่า : วันหนึ่งเมื่อถึงโอกาสที่จะสอนวิชา กุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดย
พร้อมเพรียงกัน ทันใดวัสสการพราหมณ์ก็มาถึงและแกล้งเชิญพระกุมาร
พระองค์ที่สนิทสนมเข้าไปพบ


Click to View FlipBook Version