The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สามัคคีเภทคำฉันท์ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Feroz Kun, 2022-08-31 09:12:03

สามัคคีเภทคำฉันท์ (1)

สามัคคีเภทคำฉันท์ (1)

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

จิตรปทาฉันท์ ๘

นาครธา นิ วิส า ลี
เ ห็ น ริปุ มี พลมากมาย
ก็ ลุ พ้ น ห ม า ย
ข้ า ม ติ ร ช ล พระนครตน
มุ่ ง จ ะ ท ล า ย

ถอดความได้ว่า : ฝ่ายเมืองเวสาลีมองเห็นข้าศึกจำนวนมากข้ามแม่น้ำมา
เพื่อจะทำลายล้างบ้านเมืองของตน

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ต่ า ง ก็ ต ร ะ ห น ก ม น อ ก เ ต้ น
ตื่น บ มิเว้น ต ะ ล ะ ผู้ ค น
มจลาจล
ทั่ ว บุ ร ค า อลเวงไป
เ สี ย ง อ ล ว น

ถอดความได้ว่า : ต่างก็ตระหนกตกใจกันถ้วนหน้า ในเมืองเกิดจลาจล
วุ่นวายไปทั่วเมือง

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

สรรพสกล มุ ข ม น ต รี
ต ร อ ม ม น ภี รุ ก เ ภ ท ภั ย
ท ร ป ร า ศ รั ย
บางคณะอา ข ณ ะ นี้ ห น อ
ยั ง มิ ก ร ะ ไ ร

ถอดความได้ว่า : ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ต่างหวาดกลัวภัย บางพวกก็พูดว่า
ขณะนี้ยังไม่เป็นไรหรอก

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ค ว ร บ ริบ า ล พ ร ะ ท ว า ร มั่ น
ต้ า น ป ะ ท ะ กั น อ ริก่ อ น พ อ
ชสภารอ
ขั ต ติ ย ร า วรโองการ
ดำ ริจ ะ ข อ

ถอดความได้ว่า : ควรจะป้องกันประตูเมืองเอาไว้ให้มั่นคง ต้านทานข้าศึกเอาไว้
ก่อน รอให้ที่ประชุมเหล่ากษัตริย์มีความเห็นว่าจะทรงทำประการใด

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ท ร ง ต ริไ ฉ น ก็ จ ะ ไ ด้ ทำ
โ ด ย น ย ดำ รั ส ภู บ า ล
ก็ เ ค า ะ ก ล อ ง ข า น
เสวกผอง ดุ จ ก ล อ ง พั ง
อ า ณั ติ ป า น

ถอดความได้ว่า : ก็จะได้ดำเนินการตามพระบัญชาของพระองค์เ หล่าข้าราชการ
ทั้งหลายก็ตีกลองสัญญาณขึ้นราวกับกลองจะพัง

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ศั พ ท อุ โ ฆ ษ ป ร ะ ลุ โ ส ต ท้ า ว
ลิ จ ฉ วีด้ า ว ข ณ ะ ท ร ง ฟั ง
แ ล ะ ล ะ เ ล ย ดั ง
ต่าง ธ ก็เฉย ธุ ร ะ กั บ ใ ค ร
ไ ท้ มิ อิ นั ง

ถอดความได้ว่า : เสียงดังกึกก้องไปถึงพระกรรณกษัตริย์ลิจฉวีต่างองค์ทรงเพิก
เฉยราวกับไม่เอาใจใส่ในเรื่องราวของผู้ใด

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ต่ า ง ก็ บ ค ล า ณสภาคา
แ ม้ พ ร ะ ท ว า ร บุ ร ทั่ ว ไ ป
และทวารใด
ร อ บ ทิ ศ ด้ า น สิ จ ะ ปิ ด มี
เ ห็ น น ร ไ ห น

ถอดความได้ว่า : ต่างองค์ไม่เสด็จไปที่ประชุม แม้แต่ประตูเมืองรอบทิศทุกบานก็
ไม่มีผู้ใดปิด

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

สัททูลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙

จอ
มทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี

ธ า สู่ วิส า ลี นคร

โ ด ย ท า ง อั น พ ร ะ ท ว า ร เ ปิ ด น ร นิ ก ร

ฤ ๅ ร อ ต่ อ ร อ น อะไร

ถอดความได้ว่า : จอมทัพแห่งแคว้นมคธกรีธาทัพเข้าเมืองเวสาลีทางประตูเมือง
ที่เปิดอยู่โดยไม่มีผู้คนหรือทหารต่อสู้ประการใด

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

เ บื้ อ ง นั้ น ท่ า น คุ รุ วั ส ส ก า ร ทิ ช ก็ ไ ป มคธ
นำ ทั พ ช เ น น ท ร์ ไ ท และโดย

เ ข้ า ป ร า บ ลิ จ ฉ วิขั ต ติ ย์ รั ฐ ช น บ ท
สู่ เ งื้ อ ม พ ร ะ หั ต ถ์ ห ม ด

ถอดความได้ว่า : ขณะนั้นวัสสการพราหมณ์ผู้เป็นอาจารย์ก็ไปนำทัพของกษัตริย์
แห่งมคธเข้ามาปราบกษัตริย์ลิจฉวีอาณาจักรทั้งหมดก็ตกอยู่ในเงื้อมพระหัตถ์

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ไ ป่ พั ก ต้ อ ง จ ะ ก ะ เ ก ณ ฑ์ นิ ก า ย พ ห ล โ ร ย ป ร ะ ยุ ท ธ์
แ ร ง เ ป ลื อ ง ร ะ ด ม โ ป ร ย ณ เดิม

ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต
ค ม เ ข ต บุ เ ร ศ ดุ จ

ถอดความได้ว่า : โดยที่กองทัพไม่ต้องเปลืองแรงในการต่อสู้ ปราบราบคาบแล้ว
เสด็จยังราชคฤห์เมืองยิ่งใหญ่ดังเดิม

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

เ รื่ อ ง ต้ น ยุ ก ติ ก็ แ ต่ จ ะ ต่ อ พ จ น เ ติ ม ป ร ะ ส ง ค์
ภ า ษิ ต ลิ ขิ ต เ ส ริม ตริดู ฯ

ป รุ ง โ ส ต เ ป็ น ค ติ สุ น ท ร า ภ ร ณ จ ง
จั บ ข้ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ต ร ง

ถอดความได้ว่า : เนื้อเรื่องแต่เดิมจบลงเพียงนี้ แต่ประสงค์จะแต่งสุภาษิตเพิ่ม
เติมให้ได้รับฟังเพื่อเป็นคติอันทรงคุณค่านำไปคิดไตร่ตรอง

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑

อั น ภู บ ดี ร า ช อ ช า ต ศั ต รู
ไ ด้ ลิ จ ฉ วีภู ว ป ร ะ เ ท ศ ส ะ ด ว ก ดี
ว ร ร า ช วั ช ชี
แลสรรพบรรดา ฑ อ นั ต ถ์ พิ น า ศ ห น า
ถึ ง ซึ่ ง พิ บั ติ บี

ถอดความได้ว่า : พระเจ้าอชาตศัตรูได้แผ่นดินวัชชีอย่างสะดวก และกษัตริย์ลิจ
ฉวีทั้งหลายก็ถึงซึ่งความพินาศล่มจม

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

เ หี้ ย ม นั้ น เ พ ร า ะ ผั น แ ผ ค ณ ะ แ ต ก แ ล ะ ต่ า ง ม า
ถื อ ทิ ฐิ ม า น ส า ห ส โ ท ษ พิ โ ร ธ จ อ ง
ทนสิ้น บ ปรองดอง
แ ย ก พ ร ร ค ส ม ร ร ค ภิ น ต ริม ลั ก ป ร ะ จั ก ษ์ เ จื อ
ข า ด ญ า ณ พิ จ า ร ณ์ ต ร อ ง

ถอดความได้ว่า : เหตุเพราะความแตกแยกกันต่างก็มีความยึดมั่นในความคิดของ
ตน ผูกโกรธซึ่งกันและกัน ต่างแยกพรรค แตกสามัคคีกัน ไม่ปรองดองกัน ขาด
ปัญญาที่จะพิจารณาไตร่ตรอง

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

เ ชื่ อ อ ร ร ถ ยุ บ ล เ อ า ร ส เ ล่ า ก็ ง่ า ย เ ห ลื อ
เหตุหาก ธ มากเมือ ค ติ โ ม ห เ ป็ น มู ล
ย น ภ า ว อ า ดู ร
จึ่ ง ด า ล ป ร ะ ก า ร ห า ย ศ ศั ก ดิ เ สื่ อ ม น า ม
เ สี ย แ ด น ไ ผ ท สู ญ

ถอดความได้ว่า : เชื่อถ้อยความของบรรดาพระโอรสอย่างง่ายดาย เหตุที่เป็นเช่น
นั้นเพราะกษัตริย์แต่ละพระองค์ทรงมากไปด้วยความหลง จึงทำให้ถึงซึ่งความ
ฉิบหาย มีภาวะความเป็นอยู่อันทุกข์ระทม เสียทั้งแผ่นดิน เกียรติยศ และชื่อเสียง
ที่เคยมีอยู่

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ค ว ร ช ม นิ ย ม จั ด คุ รุ วั ส ส ก า ร พ ร า ห ม ณ์
เ ป็ น เ อ ก อุ บ า ย ง า ม ก ล งำ ก ร ะ ทำ ม า
พิ เ ค ร า ะ ห์ คิ ด พิ นิ จ ป ร า
พุ ท ธ า ทิ บั ณ ฑิ ต ธุ ส มั ค ร ภ า พ ผ ล
ร ภ ส ร ร เ ส ริญ ส า

ถอดความได้ว่า : ส่วนวัสสการพราหมณ์นั้นน่าชื่นชมอย่างยิ่งเพราะเป็นเลิศใน
การกระทำกลอุบายผู้รู้ทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้ใคร่ครวญพิจารณากล่าว
สรรเสริญว่าชอบแล้วในเรื่องผลแห่งความพร้อมเพรียงกัน

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ว่ า อ า จ จ ะ อ ว ย ผ า สุ ก ภ า ว ม า ด ล
ดีสู่ ณ หมู่ตน บ นิราศนิรันดร
คยพรรคสโมสร
ห มู่ ใ ด ผิ ส า มั ค คุ ณ ไ ร้ ไ ฉ น ด ล
ไ ป่ ป ร า ศ นิ ร า ศ ร อ น

ถอดความได้ว่า : ความสามัคคีอาจอำนวยให้ถึงซึ่งสภาพแห่งความผาสุก ณ หมู่
ของตนไม่เสื่อมคลายตลอดไป หากหมู่ใดมีความสามัคคีร่วมชุมนุมกัน ไม่ห่างเหิน
กัน สิ่งที่ไร้ประโยชน์จะมาสู่ได้อย่างไร

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

พ ร้ อ ม เ พ รีย ง ป ร ะ เ ส ริฐ ค รั น เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น แ ห ล ะ บุ ค ค ล
ผู้ ห วั ง เ จ ริญ ต น ธุ ร ะ เ กี่ ย ว ก ะ ห มู่ เ ข า
พึ ง ห ม า ย ส มั ค ร เ ป็ น มุ ข เ ป็ น ป ร ะ ธ า น เ อ า
ธูรทั่ว ณ ตัวเรา บ มิเห็น ณ ฝ่ายเดียว

ถอดความได้ว่า : ความพร้อมเพรียงนั้นประเสริฐยิ่งนัก เพราะฉะนั้นบุคคลใดหวัง
ที่จะได้รับความเจริญแห่งตนและมีกิจธุระอันเป็นส่วนรวม ก็พึงตั้งใจเป็นหัวหน้า
เอาเป็นธุระด้วยตัวของเราเองโดยมิเห็นประโยชน์ตนแต่ฝ่ายเดียว

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ค ว ร ย ก ป ร ะ โ ย ช น์ ยื่ น น ร อื่ น ก็ แ ล เ ห ลี ย ว
ดู บ้ า ง แ ล ะ ก ล ม เ ก ลี ย ว มิ ต ร ภ า พ ผ ดุ ง ค ร อ ง
ท ม ผ่ อ น ผ จ ง จ อ ง
ยั้ ง ทิ ฐิ ม า น ห ย่ อ น ม น เ มื่ อ จ ะ ทำ ใ ด
อ า รีมิ มี ห ม อ ง

ถอดความได้ว่า : ควรยกประโยชน์ให้บุคคลอื่นบ้าง นึกถึงผู้อื่นบ้าง ต้องกลม
เกลียว มีความเป็นมิตรกันไว้ ต้องลดทิฐิมานะ รู้จักข่มใจ จะทำสิ่งใดก็เอื้อเฟื้ อกัน
ไม่มีความบาดหมางใจ

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ลาภผลสกลบรร ลุ ก็ ปั น ก็ แ บ่ ง ไ ป
ต า ม น้ อ ย แ ล ะ ม า ก ใ จ สุ จ ริต นิ ย ม ธ ร ร ม์
สุ ป ร ะ พ ฤ ติ ส ง ว น พ ร ร ค์
พึ ง ม ร ร ย า ท ยึ ด อุ ป เ ฉ ท ไ ม ต รี
รื้ อ ริษ ย า อั น

ถอดความได้ว่า : ผลประโยชน์ทั้งหลายที่เกิดขึ้นก็แบ่งปันกันไป มากบ้างน้อยบ้าง
อย่างเป็นธรรม ควรยึดมั่นในมารยาทและความประพฤติที่ดีงาม รักษาหมู่คณะ
โดยไม่มีความริษยากันอันจะตัดรอนไมตรี

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ดั่งนั้น ณ หมู่ใด ผิ บ ไร้สมัครมี
พ ร้ อ ม เ พ รีย ง นิ พั ท ธ์ นี ร วิว า ท ร ะ แ ว ง กั น
ส ย ค ง ป ร ะ ส บ พ ลั น
ห วั ง เ ท อ ญ มิ ต้ อ ง ส ง หิ ต ะ ก อ บ ท วิก า ร
ซึ่ ง สุ ข เ ก ษ ม สั น ต์

ถอดความได้ว่า : ดังนั้นถ้าหมู่คณะใดไม่ขาดซึ่งความสามัคคี มีความพร้อม
เพรียงกันอยู่เสมอ ไม่มีการวิวาท และระแวงกัน ก็หวังได้โดยไม่ต้องสงสัยว่าคงจะ
พบซึ่งความสุข ความสงบ และประกอบด้วยประโยชน์มากมาย

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ใ ค ร เ ล่ า จ ะ ส า ม า ร ถ มนอาจระรานหาญ
หักล้าง บ แหลกลาญ ก็ เ พ ร า ะ พ ร้ อ ม เ พ ร า ะ เ พ รีย ง กั น
น ร สู ง ป ร ะ เ ส ริฐ ค รั น
ป่ ว ย ก ล่ า ว อ ะ ไ ร ฝู ง เ ฉ พ า ะ มี ชี วีค ร อ ง
ฤ ๅ ส ร ร พ สั ต ว์ อั น

ถอดความได้ว่า : ใครเล่าจะมีใจกล้าคิดทำสงครามด้วย หวังจะทำลายล้างก็ไม่ได้
ทั้งนี้เพราะความพร้อมเพรียงกันนั่นเอง กล่าวไปไยกับมนุษย์ผู้ประเสริฐหรือ
สรรพสัตว์ที่มีชีวิต

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

แ ม้ ม า ก ผิ กิ่ ง ไ ม้ ผิ ว ใ ค ร จ ะ ใ ค ร่ ล อ
มั ด กำ ก ร ะ นั้ น ป อ ง พ ล หั ก ก็ เ ต็ ม ท น
สละลี้ ณ หมู่ตน
เ ห ล่ า ไ ห น ผิ ไ ม ต รี บ มิพร้อมมิเพรียงกัน
กิ จ ใ ด จ ะ ข ว า ย ข ว น

ถอดความได้ว่า : แม้แต่กิ่งไม้หากใครจะใคร่ลองเอามามัดเป็นกำ ตั้งใจใช้กำลัง
หักก็ยากเต็มทน หากหมู่ใดไม่มีความสามัคคีในหมู่คณะของตน และกิจการอันใด
ที่จะต้องขวนขวายทำก็มิพร้อมเพรียงกัน

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

อ ย่ า ป ร า ร ถ น า ห วั ง สุ ข ทั้ ง เ จ ริญ อั น
ม ว ล ม า อุ บั ติ บ ร ร ลุไฉน บ ได้มี
พ ภ ยั น ต ร า ย ก ลี
ป ว ง ทุ ก ข์ พิ บั ติ ส ร ร ติ ป ร ะ ส ง ค์ ก็ ค ง ส ม
แ ม้ ป ร า ศ นิ ย ม ป รี

ถอดความได้ว่า : ก็อย่าได้หวังเลยความสุขความเจริญจะเกิดขึ้นได้อย่างไร
ความทุกข์พิบัติอันตรายและความชั่วร้ายทั้งปวง ถึงแม้จะไม่ต้องการก็จะต้องได้
รับเป็นแน่แท้

เนื้อเรื่องเต็ม (ตอนที่เรียนและถอดคำประพันธ์)

ค ว ร ช น ป ร ะ ชุ ม เ ช่ น ค ณ ะ เ ป็ น ส ม า ค ม
ส า มั ค คิ ป ร า ร ม ภ นิ พั ท ธ รำ พึ ง
ผิ ว มี ก็ คำ นึ ง
ไ ป่ มี ก็ ใ ห้ มี จะประสบสุขาลัย ฯ
เ นื่ อ ง เ พื่ อ ภิ ย โ ย จึ ง

ถอดความได้ว่า : ผู้ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่คณะหรือสมาคม ควรคำนึงถึงความ
สามัคคีอยู่เป็นนิจ ถ้ายังไม่มีก็ควรจะมีขึ้น ถ้ามีอยู่แล้วก็ควรให้เจริญรุ่งเรืองยิ่ง
ขึ้นไปจึงจะถึงซึ่งความสุขความสบาย

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

เนื้อหา

พระเจ้าอชาตศัตรูแห่งกรุงราชคฤห์แคว้นมคธ ทรงมีวัสสการพรา
หมณ์ที่มีความฉลาดและรอบรู้ ทางด้านศิลปศาสตร์เป็นที่ปรึกษา และ
ท่านมีความประสงค์ที่จะขยายอาณาจักรของท่านไปที่เเคว้นวัชชี ของ
เหล่ากษัตริย์ลิจฉวี ซึ่งท่านปกครองด้วยการเน้นสามัคคีธรรมเป็น
หลัก วัสสการพราหมณ์จึงเริ่มออก อุบายในการทำให้เหล่ากษัตริย์ลิจ
ฉวีแตกคอกัน โดยการเรียกพระกุมารของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีมา
สอบถามทีละคน ทำให้เหล่าพระกุมารเกิดความระแวงและสงสัย หลัง
จากนั้นพระกุมารทั้งหลายจึงไป บอกพระบิดา ทำให้เกิดความ
บาดหมางและสิ้นความสามัคคีในเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีกันหมด และท้าย
ที่สุด ความแตกความสามัคคีนี้ทำให้พระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมาตี
แคว้นวัชชีได้สำเร็จอย่างง่ายดาย

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

โครงเรื่อง

แคว้นนั้นยึดมั่นในอปริหานิยธรรม มีความสามัคคี
ปรองดองมั่นคง กษัตริย์ผู้ต้องการแผ่อำนาจจึงต้องใช้
อุบายส่งพราหมณ์ปุโรหิตของตนเข้าไปเป็นไส้ศึก หาวิธี
ทำลายความสามัคคีของกษัตริย์แคว้นนั้นเสียก่อน แล้วจึง
ยกทัพเข้าโจมตี พราหมณ์ปุโรหิตใช้เวลาถึง ๓ ปีจึงดำเนิน
กลอุบายทำลายความสามัคคีได้สำเร็จ กษัตริย์แคว้นนั้นก็
แผ่อำนาจเข้าครอบครองแคว้นข้างเคียงเป็นผลสำเร็จ

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

ตัวละคร

เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีแห่งแคว้นวัซซี
-เคยเป็นตัวอย่างของความสามัคคี
-ขาดวิจารณญาณและไม่ยึดถือหลักเหตุผล
-มีความระแวงและทะนงตน

วัสสการพราหมณ์จากแคว้นมคธ
-มีความฉลาดหลักแหลมมีสติปัญญาที่ดี
-มีความสามารถทางวาทศิลป์ มีเล่ห์เหลี่ยมทางวาจา
-รู้จักพลิกแพลงสถานการณ์
-มีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรูและบ้านเมืองของตน

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

ฉากท้องเรื่อง
เรื่องสามัคคีเภทคำฉันท์เป็นเรื่องที่เรารับมาจากอินเดีย กวีจึงพยายามพรรณนาฉากให้
บรรยากาศของเรื่องเป็นประเทศอินเดียในสมัยพระเจ้าอชาตศัตรู แต่กวีเป็นคนไทยดังนั้น
ฉากจึงมีความเป็นไทยแทรกอยู่บ้าง เช่น การพรรณนาชมบ้านเมือง

อำพนพระมนทิรพระราช สุนิวาสวโรฬาร์
อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พึงชม
เล่ห์เลื่อนชะลอดุสิตฐา นมหาพิมานรมย์
มารังสฤษฎ์พิศนิยม ผิจะเทียบก็เทียมทัน
สามยอดตลอดระยะระยับ
ช่อฟ้าตระการกลจะหยัน วะวะวับสลับพรรณ
บราลีพิลาศศุภจรูญ จะเยาะยั่วทิฆัมพ
หางหงส์ผจงพิจิตรงอน นภศูลประภัสส
ดุจกวักนภาลัย

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

ฉากท้องเรื่อง

นับว่าเป็นบทพรรณนาชมบ้านเมืองที่ไพเราะทั้งเสียง จังหวะและลีลา นัยว่านายชิต บุรทัต
พรรณนาตอนนี้จากพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทและพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท แต่ไม่ใช่ข้อบกพร่อง
เสียหายเพราะธรรมดากวีย่อมบรรยายจากสิ่งที่ได้เคยพบเห็น เรียกกันว่าเป็นอนุโลมกวี

การพรรณนากระบวนทัพช้างและทัพม้าตอนพระเจ้าอชาตศัตรูกรีธาทัพนั้น นับว่าพรรณนา
ได้อย่างน่าเกรงขาม เช่น

ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสาร

ละตัวกำแหงแข็งขัน

เคยเศิกเข้าศึกฮึกครัน เสียงเพรียกเรียกมัน

คำรณประดุจเดือดดาล

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

ฉากท้องเรื่อง
การพรรณนาชมธรรมชาติซึ่งนับว่านิยมมากในวรรณคดีไทย แต่ในสามัคคีเภทคำฉันท์

ขาดรสนี้ไป ตอนวัสสการพราหมณ์ถูกขับก็ดี หรือตอนพระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพก็ดี น่าจะมี
บทพรรณนาชมธรรมชาติบ้าง แต่ผู้แต่งเพียงพรรณนาสรุปสั้น ๆ ว่า

แรมทางกลางเถื่อน ห่างเพื่อนหาผู้
หนึ่งใดนึกดู เห็นใครไป่มี
หลายวันถั่นล่วง เมืองหลวงธานี
นามเวสาลี ดุ่มเดาเข้าไป

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

บทเจรจา
เป็นการแกล้งต่อว่าของพระเจ้าอชาตศัตรูที่วัสสการพราหมณ์ท้วงติงเรื่องการออกศึก

ซึ่งมี การกระแทกกระทั้นแสดงถึงอารมณ์โกรธ

“เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร

ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็น

ศึก บ ถึงและมึงก็ยังมิเห็น

จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด

อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ

ขยาดขยั้นมิทันอะไร ก็หมิ่นกู”

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

แก่นเรื่อง

-การแตกความสามัคคีของหมู่คณะซึ่งนำไปสู่หายนะ
เหล่าโอรสของกษัตริย์ลิจฉวีถูกยุแยงให้แตกกันโดยวัสสการพรา
หมณ์ ฝั่ งพระเจ้า อชาตศัตรูจึงใช้โอกาสนี้ในการโจมตีแคว้นวัชชี

-การรู้จักใช้สติปัญญาเพื่อเอาชนะศัตรู โดยไม่ต้องใช้กำลัง
พระเจ้าอชาตศัตรูใช้ไส้ศึกนั่นคือ วัสสการพราหมณ์เข้าไปยุแยงเหล่า
โอรสของกษัตริย์ ลิจฉวีให้แตกสามัคคีกัน ทําให้พระเจ้าอชาตศัตรูมี
โอกาสบุกโจมตีแคว้นวัชชีได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ซึ่ง ง่ายกว่าการไปบุก
โจมตีแคว้นวัชชีซึ่งๆหน้า

-การรู้จักเลือกใช้บุคคลให้เหมาะสมกับงานที่ได้รับ จะทำให้งาน
สำเร็จด้วยดี

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านเนื้อหา

แก่นเรื่อง

พระเจ้าอชาตศัตรูเลือกให้วัสสการพราหมณ์เป็นผู้ไปยุแยง
เหล่าโอรสให้แตกคอกัน ซึ่ง วัสสการพราหมณ์นั้นเป็นพราหมณ์ที่
ฉลาด รอบรู้ศิลปศาสตร์ และมีวาทศิลป์ดี
-การเอาความคิดของตนเป็นใหญ่ และคิดว่าตนดีกว่าผู้อื่นเสมอ
ย่อมทำให้เกิด ความเสียหายต่อส่วนรวม
เหล่ากษัตริย์ต่างพากันโกรธในสิ่งที่วัสสการณ์พราหมณ์ยุแยง
โดยไม่คํานึงถึงผลที่จะเกิด ในภายภาคหน้า อันนำมาสู่การถูก
โจมตี

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

การเลือกสรรคำ
วรรณคดีประเภทฉันท์แม้จะนิยมใช้คำบาลีสันสกฤตก็ตาม เพราะต้องการบังคับครุ
ลหุ แต่ผู้แต่งสามัคคีเภทคำฉันท์ก็เลือกสรรคำได้อย่างไพเราะเหมาะสมเสียงสัมผัส
ผู้แต่งได้เลือกสรรหาคำเพื่อเสียงสัมผัสทั้งเสียงสัมผัสพยัญชนะและสระสัมผัส
พยัญชนะ เช่น

ทิ ช ง ค์ ช า ติ ฉ ล า ด ย ล ค ะ เ น ก ล ค ะ นึ ง ก า ร
ก ษั ต ริ ย์ ลิ จ วี ว า ร ร ะ วั ง เ หื อ ด ร ะ แ ว ง ห า ย

มี ก า ร เ ล่ น เ สี ย ง พ ยั ญ ช น ะ คำ ว่ า “ ค ะ เ น ก ล - ค ะ นึ ง ก า ร ” กั บ
“ ร ะ วั ง เ หื อ ด - ร ะ แ ว ง ห า ย ”

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

สัมผัสสระ เช่น

ล่วงลุประมาณ กาลอนุกรม

หนึ่ง ณ นิยม ท่านทวิชงค์

มีการเล่นเสียงสระคำว่า “ประมาณ - กาล” กับ “อนุกรม -นิยม”

การเล่นเสียงหนักเบา เช่น

อั น ภู บ ดี ร า ไ ด้ ลิ จ ฉ วี ภู
แลสรรพบรรดา ถึ ง ซึ่ ง พิ บั ติ บี
ว ป ร ะ เ ท ศ ส ะ ด ว ก ดี
ช อ ช า ต ศั ต รู ฑ อ นั ต ถ์ พิ น า ศ ห น า
ว ร ร า ช วั ช ชี

มี ก า ร เ ล่ น เ สี ย ง ห นั ก เ บ า เ ช่ น “ อั น ” เ ป็ น เ สี ย ง ห นั ก “ ร า ” เ ป็ น เ สี ย ง เ บ า ดั ง

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

การเรียบเรียงคำ
การใช้คำที่เข้าใจง่าย มีการใช้คำที่ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ง่าย เช่น ตอนวัสสกา

รพราหมณ์เข้า เมืองเวสาลี

ผู ก ไ ม ต รี จิ ต เ ชิ ง ชิ ด ช อ บ เ ชื่ อ ง
กั บ ห มู่ ช า ว เ มื อ ง ฉั น ท์ อั ช ฌ า สั ย
ว้ า วุ่ น ว า ย ใ จ
เ ล่ า เ รื่ อ ง เ คื อ ง ขุ่ น ด้ า ว ต่ า ง แ ด น ต น
จำ เ ป็ น ม า ใ น

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

การใช้โวหารภาพพจน์
-พรรณณาโวหาร เช่น

“ควรชมนิยมจัด คุรุวัสสการพราหมณ์
เป็นเอกอุบายงาม กลงำกระทำมา
พิเคราะห์คิดพินิจปรา
พุ ทธาทิบัณฑิต ธุสมัครภาพผล”
รภสรรเสริญสา รสเล่าก็ง่ายเหลือ
คติโมหเป็นมูล
“เชื่ออรรถยุบลเอา ยนภาวอาดูร
เหตุหากธมากเมือ ยศศักดิเสื่อมนาม”

จึ่งดาลประการหา
เสียแดนไผทสูญ

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

สาธกโวหาร เช่น

“ ค ว ร ย ก ป ร ะ โ ย ช น์ ยื่ น น ร อื่ น ก็ แ ล เ ห ลี ย ว
ดู บ้ า ง แ ล ะ ก ล ม เ ก ลี ย ว มิ ต ร ภ า พ ผ ดุ ง ค ร อ ง
ท ม ผ่ อ น ผ จ ง จ อ ง
ยั้ ง ทิ ฐิ ม า น ห ย่ อ น ม น เ มื่ อ จ ะ ทำ ใ ด ”
อ า รี มิ มี ห ม อ ง ลุ ก็ ปั น ก็ แ บ่ ง ไ ป
สุ จ ริ ต นิ ย ม ธ ร ร ม์
“ลาภผลสกลบรร สุ ป ร ะ พ ฤ ติ ส ง ว น พ ร ร ค์
ต า ม น้ อ ย แ ล ะ ม า ก ใ จ อุ ป เ ฉ ท ไ ม ต รี ”

พึ ง ม ร ร ย า ท ยึ ด
รื้ อ ริ ษ ย า อั น

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

เทศนาโวหาร เช่น

“ ค ว ร ช น ป ร ะ ชุ ม เ ช่ น ค ณ ะ เ ป็ น ส ม า ค ม
ส า มั ค คิ ป ร า ร ม ภ นิ พั ท ธ รำ พึ ง
ผิ ว มี ก็ คำ นึ ง
ไ ป่ มี ก็ ใ ห้ มี จ ะ ป ร ะ ส บ สุ ข า ลั ย ”
เ นื่ อ ง เ พื่ อ ภิ ย โ ย จึ ง

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

อุปมา เช่น
ตอนพระเจ้าอชาตศัตรูกริ้ววัสสการพราหมณ์
สิล่าถอย”
“กลกะกากะหวาดขมังธนู บห่อนจะเห็นธวัชริปู
วัสสการพราหมณ์เปรียบน้ำพระราชหฤทัยกษัตริย์ลิจฉวี

“ เ ม ต ต า ท ย า ลุ ศุ ภ ก ร ร ม อุ ป ถั ม ภ ก า รุ ณ ย์
ส ร ร เ ส ริ ญ เ จ ริ ญ พ ร ะ คุ ณ สุ น ท ร พู น พิ บู ล ง า ม
ท ะ นุ ที่ ป ร ะ ทั ง ค ว า ม
เ ป รี ย บ ป า น ม ห ร ร ณ พ น ที น ร ห า ก ป ร ะ ส บ เ ห็ น
ร้ อ น ก า ย ก ร ะ ห า ย อุ ท ก ย า ม ร ะ อุ ผ่ า ว ก็ ผ่ อ น เ ย็ น
สุ ข ปี ติ ดี ใ จ
เ อิ บ อิ่ ม ก ร ะ ห ยิ่ ม ห ท ย ค ร า ว
ยั ง อุ ณ ห มุ ญ จ น ะ แ ล ะ เ ป็ น

การกล่าวถึงความรุ่งเรืองของแคว้นมคธ ภพเลอสุราลัย
“เมืองท้าวสิเทียบทิพเสมอ บุลมวลประการมา”

เมืองท้าวแหละสมบุรณไพ

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

อุปลักษณ์ เช่น
ตอนวัสสการพราหมณ์กล่าวเปรียบเทียบทหารของแคว้นวัชชีกับทหารของแคว้นมคธว่า

“หิ่งห้อยสิแข่งสุริยะไหน จะมิน่าชิวาลาญ”

ตอนพระเจ้าอชาตศัตรูทรงเปรียบเทียบการแตกสามัคคีของกษัตริย์ลิจฉวีว่า

“ลูกข่างประดาทา รกกาลขว้างไป
ห มุ น เ ล่ น ส นุ ก ไ ฉ น ดุจกันฉะนั้นหนอ”

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านสังคม

❖คุณค่าด้านสังคม
สะท้อนวัฒนธรรมของคนในสังคม
➢ สะท้อนภาพการปกครองโดยระบอบสามัคคีธรรม เน้นโทษของการแตก
ความสามัคคี ในหมู่คณะ และเน้นถึงหลักธรรม อปริหานิยธรรม 7 ประการ
ซึ่งเป็นหลักธรรมที่ส่งผล ให้เกิดความเจริญ­ของหมู่คณะ ปราศจากความ
เสื่อม ได้แก่
■ ไม่เบื่อหน่ายการประชุม เมื่อมีภารกิจก็ประชุมปรึกษาหารือกัน เพื่อช่วยกัน
คิดหาทางแก้ไขปัญหา

วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าด้านสังคม

( )คุณค่าด้านสังคม
ต่อ
■ เข้าประชุมพร้อมกัน เลิกประชุมพร้อมกัน ร่วมกันประกอบกิจอันควรกระทำ
- มีความสามัคคีกัน

❖■ ยึดมั่นในจารีตประเพณีอันดีงาม และประพฤติดีปฏิบัติตามสิ่งที่บัญญัติไว้
แสดงให้เห็นถึงโทษของการแตกความสามัคคีในหมู่คณะ
➢ ถ้าไม่สามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ก็จะนำบ้านเมืองไปสู่ความหายนะได้

❖(ฝ่ายตรงข้ามสามารถใช้จุดอ่อนในเรื่องนี้เพื่อโจมตีได้ง่าย)
เน้นการใช้สติปัญญาไตร่ตรองในการแก้ไขปัญหามากกว่าการใช้กำลัง

บรรณานุกรม

nidkawkong.(๒๕๕๖). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
https://nidkawkong.wordpress.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1
%E0%B8%B1%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%
A0%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%89%E0%B8%B1%E0%B8
%99%E0%B8%97%E0%B9%8C/ (วันที่สืบค้นข้อมูล: ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๕).

วิกิพีเดีย.(๒๕๖๓). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B
8%95_%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%
B8%B1%E0%B8%95 (วันที่สืบค้นข้อมูล:๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๕).

กาญจนา .(๒๕๕๕). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
https://www.gotoknow.org/posts/406381 (วันที่สืบค้นข้อมูล:๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๕).

ไม่ปรากฏผู้เขียน .(๒๕๕๖). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-post_3427.html?m=1
(วันที่สืบค้นข้อมูล:๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๕).

ไม่ปรากฏผู้เขียน .(๒๕๕๖). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-post_4301.html?m=1
(วันที่สืบค้นข้อมูล:๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๕).

ไม่ปรากฏผู้เขียน .(๒๕๕๖). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-
post_3919.html?m=1 (วันที่สืบค้นข้อมูล:๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๕).

ไม่ปรากฏผู้เขียน .(๒๕๕๖). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-
post_2653.html?m=1 (วันที่สืบค้นข้อมูล:๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๕).

ไม่ปรากฏผู้เขียน .(๒๕๕๖). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-
post_3584.html?m=1 (วันที่สืบค้นข้อมูล:๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๕).

ไม่ปรากฏผู้เขียน .(๒๕๕๖). สามัคคีเภทคำฉันท์.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก
https://poommpw.weebly.com/uploads/6/1/3/1/61314895/%E0%B8%A3%E0%B8
%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99_%E0%B8%AA%E0%B8
%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B9%
80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%89%E0%B8%B
1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C.docx (วันที่สืบค้นข้อมูล:๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๕).

คณะผู้จัดทำ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖/๕

น.ส. ณัฐสรี ทองคำเจริญ เลขที่ ๔
น.ส. ธันย์ชนก
น.ส. นริสรา ลัฏฐิกุลสัมพันธ์ เลขที่ ๕
น.ส. ปนิตา
น.ส. ปรางศร นุชอยู่ เลขที่ ๘
น.ส. ปาทิตตา
น.ส. พรรทิพา ธนานันท์นุกุล เลขที่ ๑๒
น.ส. พุธิตา
น.ส. ระพีพัฒน์ สุขเผือก เลขที่ ๑๓
น.ส. ศิตา
น.ส. อธิติยา สระทองห้อย เลขที่ ๑๔

อินอ่อน เลขที่ ๑๗

บัวชุม เลขที่ ๒๑

เหล่าศรีนาท เลขที่ ๒๕

ชลอเดช เลขที่ ๓๑

ห้องเขียว เลขที่ ๓๔


Click to View FlipBook Version