The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรมส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยผ่านกิจกรรมค่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kunkrupeem, 2019-11-28 03:29:32

กรมส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยผ่านกิจกรรมค่าย

กรมส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยผ่านกิจกรรมค่าย

94

กิจกรรมรักขา้ มคลอง





วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือให้นักเรียนรู้จักใช้เหตุผล ใช้ข้อมูลในด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือ ในการตัดสิน

การกระทำของผูอ้ ืน่ โดยไมย่ ึดตนเองเปน็ ศูนยก์ ลาง

วัสดอุ ุปกรณ์


1. เอกสาร “รกั ข้ามคลอง”

2. ใบงานการอภิปรายแลกเปลย่ี น

ขนั้ ตอนการจัดกิจกรรม

1. แบง่ กลุ่มนกั เรยี นเป็นกล่มุ ยอ่ ย กลมุ่ ละ 3 คน ใหแ้ ต่ละคนเลอื กวา่ ใครจะเปน็ A ใครจะเปน็
B และใครจะเปน็ C

2. ผู้นำกจิ กรรมแจกเอกสาร “รกั ขา้ มคลอง” ใหน้ ักเรียนอา่ นคนละแผ่น

3. เม่ืออ่านจบแล้วให้แต่ละคนตัดสินว่าตัวละครในเรื่อง “รักข้ามคลอง” ใครที่มีศีลธรรม

มากทส่ี ดุ

4. ใหน้ กั เรยี นในกลมุ่ 3 คน ร่วมกนั อภิปรายแลกเปล่ียน โดยคนทเ่ี ปน็ B เปน็ ผู้ชวนคุย โดยใช้
เวลา 8 นาที ตามประเด็นในใบงาน ดงั นี


4.1 เปรยี บเทยี บผลของแตล่ ะคนว่าเหมือน/ตา่ งกันอย่างไร

4.2 เพราะอะไรจงึ คิดต่างกัน แต่ละคนใชเ้ กณฑอ์ ะไรในการตดั สนิ วา่ ใครมีศีลธรรมสงู /ตำ่

4.3 องค์ประกอบ และปจั จยั ของการตัดสินใจของเรามีอะไรบา้ ง ตวั อยา่ ง เช่น อารมณ์ เพศ
วัย ข้อมูล ปัจจัยแวดล้อม ความเก่ียวข้องกับคนในเหตุการณ์น้ันๆ มีผลต่อการตัดสินใจมากน้อย
อยา่ งไร

4.4 ก่อนที่เราจะตัดสนิ ผ้อู ่ืน.. เราควรพจิ ารณาสิง่ ใดอีก 

การสรุป

การตดั สินว่าใครถูก ใครผิดควรคำนงึ ถึงขอ้ มลู ปัจจยั แวดล้อม วฒั นธรรม ประเพณี ความเชอ่ื

ของแต่ละสังคม/ชมุ ชน อยา่ ยดึ ตนเองเปน็ ศูนยก์ ลาง

คำถามสะทอ้ นคิด

เราจะเตรียมเดก็ อยา่ งไร ใหเ้ ปน็ ผูท้ ี่มเี หตผุ ล มคี วามเข้าอกเข้าใจ เหน็ ใจผอู้ ่นื โดยไมใ่ ชต้ นเอง
เปน็ ศนู ยก์ ลางหรอื คิดวา่ ความคิดเหน็ ของตนเองเทา่ นั้นทถ่ี ูกต้อง

ขอ้ เสนอแนะ

ผู้นำกจิ กรรมอาจจะใชส้ ถานการณอ์ ืน่ ๆ ทม่ี ีบริบท วัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือที่เหมาะสม

กบั ผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม


 


การสง่ เสรมิ วิถปี ระชาธิปไตยผ่านกจิ กรรมค่าย

95
เอกสาร “รกั ข้ามคลอง”



มีหญิงสาวแสนสวยคนหนึ่งชื่อ ดาวเรือง อาศัยอยู่บนเกาะแห่งหนึ่ง คู่รักของเธอชื่อ ศานติ
ชายหนมุ่ รปู งามแตย่ ากจนอาศัยอยูบ่ นเกาะทห่ี ่างออกไปไม่ไกลนัก แตร่ ะหว่างเกาะทงั้ สองมจี ระเขด้ ุ
และเสี่ยงอันตรายมากถ้าจะว่ายน้ำขา้ มคลอง ปกติแล้ว ศานติ จะพายเรือมาหาดาวเรืองเปน็ ประจำ
ทุกสปั ดาห์

วันหนึ่งพ่อแม่ของดาวเรือง บอกดาวเรืองว่าจะให้เธอแต่งงานกับนายตี๋ซ่ึงเป็นเจ้าหน
้ี
เพ่ือล้างหนี้ ดาวเรืองจึงคิดว่าจะนำเร่ืองนี้ไปปรึกษากับศานติ จึงไปท่ีชายฝั่งและพบกับนายต้น

ซึ่งมีเรือยนต์เป็นของตนเอง ดาวเรืองขอร้องให้นายต้นไปส่งข้ามฝั่ง นายต้นย้ิมรับเพราะแอบชอบ
ดาวเรืองมานานแล้ว โดยมีข้อแม้ว่าถ้าเขาไปส่งดาวเรืองจะต้องยินยอมนอนกับเขาก่อน ดาวเรือง
โกรธนายต้นมากและเดนิ หนไี ปอกี ฝั่งหนง่ึ ของเกาะ

ขณะท่ีดาวเรืองเศร้าใจมากและต้องการไปพบศานติ บังเอิญนายธนูผ่านมา ดาวเรืองจึง
ขอร้องให้นายธนูไปบอกนายต้นให้พาเธอข้ามฟากไปแต่นายธนูปฏิเสธว่า ไม่ต้องการเข้าไปเก่ียวข้อง
กับเร่ืองนี้ และกลับเข้าหมู่บ้านไป ในท่ีสุดดาวเรืองจึงกลับไปที่ท่าเรืออีกคร้ัง และยินยอมทำตาม
เง่ือนไขของนายต้น จากนนั้ นายต้นกพ็ าดาวเรืองไปสง่ ขา้ มฟากตามทส่ี ญั ญาไว้

เมื่อดาวเรืองพบกับศานติจึงเล่าเร่ืองทั้งหมดว่าทำไมเธอจึงข้ามฟากมาหาเขาได้ ศานติโกรธ
ดาวเรืองจึงต่อว่าเธอมากมายและบอกว่าไม่ต้องการเห็นหน้าเธออีกแล้ว เขาปล่อยเธอร้องไห้เสียใจ
เพยี งเดยี วดายทรี่ มิ หาด บงั เอญิ นายมติ ร ซงึ่ เปน็ เพอื่ นของศานตผิ า่ นมาพบ จงึ สอบถามวา่ เกดิ อะไรขนึ้

ดาวเรอื งอธบิ ายเรอื่ งทง้ั หมดใหฟ้ งั วา่ ทำไมเธอจงึ ตอ้ งการขา้ มฟากมาหาศานติ และเธอสามารถขา้ มฟาก

มาได้อย่างไรจนถึงตอนที่ศานตดิ ่าวา่ และทอดท้งิ เธอไป

นายมติ รรสู้ กึ สงสารและเสยี ใจไปกับดาวเรอื ง จงึ วงิ่ ตามไปทีบ่ า้ น ศานตแิ ละชกศานตทิ ี่ทำกับ
ดาวเรอื ง ดาวเรืองขอบคุณนายมิตรทีช่ ว่ ยกูเ้ กยี รตยิ ศศกั ด์ศิ รีของเธอกลบั มา



เม่ืออ่านเรือ่ งจบแล้ว จากประสบการณ์และความคดิ เห็นและความเช่ือของทา่ น ทา่ นคดิ วา่ ในเร่ืองรกั
ขา้ มคลองน…้ี …

ใครเปน็ คนดมี ศี ลี ธรรมสงู สดุ ใหห้ มายเลข 1 และผทู้ ท่ี า่ นคดิ วา่ เปน็ คนไมด่ ี มศี ลี ธรรมตำ่ สดุ หมายเลข 6
จากนัน้ ใหเ้ รยี งลำดบั บคุ คลที่เหลือ 2, 3, 4, 5

ดาวเรอื ง ศานติ นายตน้ นายต๋ี นายมิตร นายธนู

การสง่ เสรมิ วิถปี ระชาธิปไตยผ่านกจิ กรรมคา่ ย

96
ใบงาน เร่อื ง รกั ขา้ มคลอง



คำชี้แจง

เม่ือนักเรียนอ่าน เร่ือง รักข้ามคลอง จบแล้ว ให้กลุ่มย่อย (3 คน) โดยให้ B เป็นผู้นำ

การอภปิ รายตามประเด็นตอ่ ไปนี้

1. เปรียบเทียบผลของแต่ละคนวา่ เหมือน/ตา่ งกันอยา่ งไร

2. เพราะอะไรจงึ คิดต่างกัน แต่ละคนใช้เกณฑ์อะไรในการตัดสินวา่ ใครมีศลี ธรรมสูง/ตำ่

3. องคป์ ระกอบ และปัจจยั ของการตดั สินใจของเรามีอะไรบา้ ง ตัวอยา่ ง เช่น อารมณ์ เพศ วัย
ขอ้ มลู ปัจจยั แวดล้อม ความเกย่ี วข้องกับคนในเหตุการณน์ ้ันๆ มผี ลตอ่ การตัดสินใจมากนอ้ ยอยา่ งไร

4. ก่อนทเี่ ราจะตดั สินผ้อู ืน่ .. เราควรพิจารณาสิ่งใดอกี


การส่งเสริมวิถีประชาธปิ ไตยผ่านกิจกรรมคา่ ย

97

กจิ กรรมเด็กบนทางรถไฟ







วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื ใหน้ ักเรียนรู้และเขา้ ใจหลกั การ วิธีการทีใ่ ช้ในการตัดสนิ ใจ

2. เพือ่ ใหน้ ักเรยี นสามารถวิเคราะหผ์ ลดี ผลเสียในการตัดสินใจแตล่ ะครงั้ ได้


วสั ดอุ ุปกรณ์

1. เอกสาร PowerPoint เรือ่ ง เด็กบนทางรถไฟ

2. ใบงานการอภิปรายแลกเปลีย่ น


ขั้นตอนการจัดกจิ กรรม

1. แต่ละกลุ่มแบ่งกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน แต่ละคนเลือกว่าใครจะเป็น A ใครจะเป็น B


ใครจะเป็น C

2. ผดู้ ำเนินกจิ กรรม ฉาย PowerPoint เรอ่ื งเดก็ บนทางรถไฟ

3. ผดู้ ำเนนิ กจิ กรรม ตั้งคำถามว่าใครจะตดั สนิ ใจอย่างไร

4. แตล่ ะกล่มุ อภิปรายกลุ่มยอ่ ย (C เปน็ ผู้ชวนคุย 8 นาท)ี ตามประเดน็ ในใบงาน

4.1 เปรียบเทยี บการตัดสนิ ใจ เหตุผลของแตล่ ะคน

4.2 การตดั สินใจสับรางรถไฟ ในเชิงความรู้สกึ ศลี ธรรมกับความถูกตอ้ ง และประชาธิปไตย


การสรุป

การเลอื กตัดสนิ ใจเลอื กกระทำส่ิงใดส่งิ หนง่ึ ต้องมหี ลกั การ อยู่บนฐานความถกู ตอ้ ง

คำถามสะทอ้ นคิด


1. เราจะทำอยา่ งไรถา้ เปน็ เสยี งสว่ นนอ้ ย..(แตท่ ำถกู ตอ้ ง) กบั เสยี งสว่ นมากทผี่ ดิ (พวกมาก ลากไป)

2. เราจะเตรยี มเดก็ อยา่ งไรใหม้ จี ติ ใจทเ่ี ปน็ ประชาธปิ ไตยทค่ี ำนงึ ถงึ สทิ ธิ แตก่ ต็ ระหนกั ถงึ หนา้ ที่
และความรบั ผดิ ชอบของตนเองด้วย

ข้อเสนอแนะ

ผู้นำกิจกรรมอาจจะใช้สถานการณ์อื่นๆ ที่มีความเหมาะสมกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น

ข่าว-เหตุการณ์ตา่ งๆ


การสง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยผา่ นกจิ กรรมค่าย

98
เรื่อง เดก็ บนทางรถไฟ























มเี ดก็ กลุ่มหน่ึงเล่นกันใกลร้ างรถไฟ 2 ราง รางหนึ่งอย่ใู นระหว่างการใช้งาน ในขณะท่อี ีกราง
หน่ึงไม่ได้ใช้งานแล้ว มีเพียงเด็กคนเดียวเท่านั้นที่เล่นบนรางที่ไม่ได้ใช้งาน ส่วนเด็กที่เหลือนั่งเล่นอยู่
บนรางทีย่ งั ใชง้ านอย่ ู

เมอ่ื รถไฟแลน่ มา คณุ อยูใ่ กล้ๆทสี่ ับรางรถไฟ คุณสามารถสบั รางให้รถไฟแล่นไปยังรางทไ่ี มไ่ ด้
ใช้งานเพ่ือช่วยชีวิตเด็กส่วนใหญ่ แต่นั่นหมายถึงการเสียสละชีวิตของเด็กคนท่ีเล่นอยู่บนรางท่ีไม่ได

ใชง้ านหรือคณุ เลอื กจะปล่อยให้รถไฟว่งิ ทางเดิม? เพราะอะไร? ลองหยุดคิดสักนดิ มที างเลือกใดท่เี รา
สามารถตัดสนิ ใจได้

คุณตอ้ งทำการตัดสนิ ใจก่อนทีจ่ ะอา่ นตอ่ ไป แต่รถไฟไม่สามารถหยดุ รอให้คุณไตร่ตรองไดค้ น
สว่ นมากอาจเลือกท่จี ะเปล่ยี นทางรถไฟและยอมสละชวี ติ ของเดก็ คนน้ัน

ผมคิดว่า คณุ ก็อาจจะคดิ เชน่ เดียวกนั แนน่ อน ตอนแรกผมก็คดิ เช่นนีเ้ พราะการช่วยชีวติ เดก็

ส่วนมากด้วยการเสียสละชีวิตเด็กหน่ึงคนนั้นดูสมเหตุผลทั้งทางศีลธรรมและความรู้สึก

แต่คุณเคยคิดบ้างไหมว่าเด็กท่ีเลือกเล่นบนรางที่ไม่ได้ใช้งานแล้วท่ีจริงเขาได้ตัดสินใจถูกต้อง ที่จะเล่น
ในสถานที่ๆปลอดภัยแล้วต่างหาก แต่ทว่า เขากลับต้องเสียสละชีวิตให้กับเพื่อนท่ีไม่ใส่ใจและเลือก

ทจ่ี ะเลน่ ในทีอ่ นั ตราย

สถานการณ์เช่นน้เี กดิ ขึ้นรอบตัวเราทุกวันในสถานทท่ี ำงาน ยา่ นชุมชน การเมอื ง โดยเฉพาะ
ในสงั คมประชาธปิ ไตย คนกลมุ่ นอ้ ยมกั จะถกู เสยี สละใหก้ บั ผลประโยชนข์ องคนหมมู่ าก แมว้ า่ คนกลมุ่ นอ้ ย
จะฉลาด มองการณไ์ กล และคนหมมู่ ากจะโง่เง่า ไม่ใส่ใจก็ตาม เด็กคนทเี่ ลอื กที่ไมเ่ ล่นบนรางท่ีอยใู่ น
การใชง้ านตามเพื่อนๆ ของเขาและคงไม่มใี ครเสียนำ้ ตาใหห้ ากเขาตอ้ งสละชวี ติ กต็ าม





การสง่ เสรมิ วิถปี ระชาธิปไตยผ่านกจิ กรรมค่าย

99
ถ้าทางรถไฟถูกเปลี่ยน เด็กหนึ่งคนนั้นต้องตายอย่างแน่นอนเพราะเขาไม่เคยคิดว่ารถไฟ

จะเปลยี่ นมาใช้เสน้ ทางน้นั นอกจากน้นั รางท่ีไมไ่ ด้ถกู ใช้งานอาจเป็นเพราะรางน้นั ไมป่ ลอดภัย

ถ้ารถไฟถูกเปล่ียนเส้นทางมาที่รางนี้เราทำให้ชีวิตของผู้โดยสารทั้งหมดตกอยู่ในอันตราย

ในขณะท่ีคุณพยายามช่วยชีวิตเด็กจำนวนหนึ่งโดยการสละชีวิตเด็กหน่ึงคนอาจกลายเป็น

การสงั เวยชวี ติ ผคู้ นนบั รอ้ ยกเ็ ปน็ ได





ใบงาน เรอื่ ง เดก็ บนทางรถไฟ



คำชแ้ี จง


1. เม่ืออา่ น เรื่อง เดก็ บนรางรถไฟ จบแล้ว ให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายในกลมุ่ ยอ่ ย โดย C เปน็
คนชวนเพื่อคยุ และอภปิ รายตามประเดน็ ตอ่ ไปน้


2. เปรยี บเทยี บการตดั สินใจ เหตุผลของแตล่ ะคน

3. การตัดสินใจสบั รางรถไฟ.. ในเชิงความรู้สึก ศีลธรรม กับความถกู ตอ้ ง และประชาธปิ ไตย

4. เราจะทำอยา่ งไรถา้ เปน็ เสยี งสว่ นนอ้ ย..(แตท่ ำถกู ตอ้ ง) กบั เสยี งสว่ นมากทผี่ ดิ (พวกมาก ลากไป)


การส่งเสรมิ วิถปี ระชาธปิ ไตยผา่ นกิจกรรมค่าย

100

ตัวอย่างตารางอบรมปฏิบัตกิ าร การจดั กจิ กรรมประชาธปิ ไตย
สำหรบั นกั เรียน





วนั แรก

08.30 - 09.00 ผ้รู ว่ มกจิ กรรมรายงานตัว ลงทะเบยี น รบั เอกสาร

09.00 - 09.30 พธิ เี ปิดและกจิ กรรมต้อนรับ

09.30 - 09.40 กิจกรรมบริหารสมอง

09.40 - 10.00 กจิ กรรมความคาดหวัง

10.00 - 10.20 กจิ กรรมรูจ้ ักตัวตนและคนอน่ื

10.20 - 10.30 พกั รบั ประทานอาหารวา่ ง

10.30 - 12.00 กิจกรรมเรียนรู้ประชาธิปไตย(เกม Zone : เพลง, จับคู่ความรู้, ความจำ, บิงโก,

คาวบอย)

12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารวา่ ง

13.00 - 13.10 กจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์ (energizer)

13.10 - 14.30 กจิ กรรมสันตศิ กึ ษา (peace education)

14.30 - 14.40 พกั รบั ประทานอาหารวา่ ง

14.40 - 15.20 กจิ กรรมเสรมิ คุณลกั ษณะประชาธิปไตย

15.20 - 15.50 สรุปประเมนิ ประจำวัน

15.50 - 16.00 พบพ่ีเลย้ี งกลมุ่ ย่อย



วันทีส่ อง

08.30 - 09.00 ทบทวน (recap) และ warm up

09.00 - 09.10 กจิ กรรมบรหิ ารสมอง

09.10 - 10.20 การศกึ ษาเพ่อื สร้างความเป็นพลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธปิ ไตย

10.20 - 10.30 พกั รบั ประทานอาหารวา่ ง

10.30 - 12.00 พลเมอื งดีวิถปี ระชาธปิ ไตยใสใ่ จปญั หาสงั คม

12.00 - 13.00 พกั รบั ประทานอาหารวา่ ง

13.00 - 13.10 กิจกรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ (energizer)

13.10 - 14.30 ระดมสมองกจิ กรรมสง่ เสรมิ ประชปิ ไตยและเตรียมงานถนนประชาธิปไตย

14.30 - 14.40 พักรบั ประทานอาหารว่าง


การสง่ เสริมวิถีประชาธปิ ไตยผ่านกจิ กรรมค่าย

101
14.40 - 15.50 กจิ กรรมถนนประชาธปิ ไตย

15.50 - 16.00 สรปุ ประเมนิ ประจำวันและพบพ่เี ล้ียงกลุม่ ย่อย

วนั ท่สี าม

08.30 - 09.00 ทบทวน (recap) และ warm up

09.00 - 09.10 กิจกรรมบริหารสมอง

09.10 - 10.20 แบ่งกล่มุ วางแผนการจดั ทำโครงงานประชาธิปไตย

10.20 - 10.30 พกั รบั ประทานอาหารว่าง

10.30 - 12.00 นำเสนอแผนการจดั ทำโครงงานในกลุ่มใหญ่

12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารวา่ ง

13.00 - 13.10 กจิ กรรมกล่มุ สัมพันธ์ (energizer)

13.10 - 13.30 ประเมินผลการอบรม

13.30 - 14.30 พิธีปิด


การสง่ เสรมิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตยผ่านกจิ กรรมคา่ ย

102

บรรณานกุ รม





คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, สำนักงาน. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทยจำกดั .

คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน, สำนกั งาน. (2553). ROADMAP จดุ เนน้ สกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น

เพอ่ื การขบั เคลอ่ื นหลกั สตู ร การจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล. กรงุ เทพมหานคร :

โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, สำนักงาน. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552).

แนวทางการจดั ค่าย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค.

คณะกรรมการการเลือกตั้ง, สำนักงาน. และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2551).

คมู่ อื การจดั กิจกรรมการเรียนรปู้ ระชาธิปไตย สำหรบั ครู-อาจารย์ ชน้ั ประถมศึกษา ปที ี่ 1-3.

กรงุ เทพฯ : บริษทั รงุ่ ศิลป์การพมิ พ์ (1977) จำกดั .

คณะกรรมการการเลือกต้ัง, สำนักงาน. และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2551).

คูม่ ือการจดั กิจกรรมการเรยี นรปู้ ระชาธปิ ไตย สำหรบั ครู-อาจารย์ ชนั้ ประถมศกึ ษา ปที ี่ 4-6.

กรุงเทพฯ : บรษิ ทั รงุ่ ศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (1977) จำกดั .

คณะกรรมการการเลือกต้ัง, สำนักงาน. และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551).

คูม่ อื การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ปู ระชาธปิ ไตย สำหรบั ครู-อาจารย์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1-3.

กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั รุ่งศิลปก์ ารพมิ พ์ (1977) จำกัด.

คณะกรรมการการเลือกตั้ง, สำนักงาน. และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551).

คมู่ อื การจดั กิจกรรมการเรียนรูป้ ระชาธปิ ไตย สำหรับครู-อาจารย์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4-6.

กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลปก์ ารพิมพ์ (1977) จำกดั .

บวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ และ ถวลิ วดี บรุ กี ุล. (2548). ประชาธปิ ไตยแบบมสี ่วนรว่ ม (Participatory

Democracy),นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.

ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น, กรม. (2551). คู่มือวิทยากร การเสริมสร้างความรู้เก่ียวกับ

ประชาธปิ ไตยและการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น.

http://www.dailynews.co.th. การศกึ ษาเพือ่ สร้างประชาธิปไตยในโรงเรียน. (สืบคน้ ธนั วาคม 2553)















การส่งเสริมวถิ ปี ระชาธปิ ไตยผ่านกจิ กรรมคา่ ย

103


คณะผ้จู ดั ทำ




ทีป่ รึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
นายชนิ ภัทร ภมู ิรตั น ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
นายชยั พฤกษ ์ เสรรี กั ษ์ ผู้อำนวยการสำนักวชิ าการและมาตราฐานการศกึ ษา
นางเบญจลกั ษณ ์ นำ้ ฟา้
นางสาววีณา อัครธรรม นักวชิ าการศกึ ษา สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นักวชิ าการอสิ ระ
นักวชิ าการอสิ ระ สำนักอทุ ยานการเรียนรู้
ร.ท.หญิง สุดาวรรณ เครอื พานิช นักวชิ าการอสิ ระ
ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.สมุทรสาคร
คณะดำเนนิ การจัดคา่ ย ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
ศึกษานเิ ทศก์ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4
นางสาววีณา นำเจริญสมบตั ิ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.สระแกว้ เขต 2
นายประพนั ธ์ ขนั ตสี า ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ชุมพร เขต 1
นายวชริ ะ เซย่ี งอ่ึง ศกึ ษานิเทศก์ สพม. เขต 5
นางวรยา พลายเล็ก ศึกษานิเทศก์ สพม.เชียงราย เขต 3
นายพยพั สาธพุ นั ธ์ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.นครราชสมี า เขต 7
นายพงศ์ศกั ด์ิ กาญจนภักด์ิ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ลพบุรี เขต1
นางสาวประเสริฐศร ี ศรวี ิลัย ศึกษานิเทศก์ สพป.ชยั นาท
นายนติ ิภทั ร อำพนั มาก ศึกษานิเทศก์ สพป.ตาก เขต 1
นางหัทยา เข็มเพช็ ร ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ยโสธร เขต 1
นางแสงอมั พา บำรุงธรรม
นายเกรียงศักด์ิ คมั ภริ า
นางชนกิ านต์ วงศ์กิตติวรรณ
นางสุกญั ญา มีพ่วง
นายจริ วฒั น ์ รกั พ่วง
นายเจษฎา จนั ทนาภรณ์

การส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตยผ่านกิจกรรมคา่ ย

104

คณะผจู้ ดั ทำ (ตอ่ )


นางเปรมฤด ี ทัดศรี ศึกษานิเทศก์ สพท.สุรนิ ทร์ เขต 3
นางสาวนวลจันทร ์ สนั วรรณ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ลำปาง เขต 1
นางอาภาพรรณ แสงทอง ศกึ ษานิเทศก์ สพป.กระบี่
นางบังอร ควรประสงค์ ศกึ ษานิเทศก์ สพม.เขต 17
นางสมจนิ ต ์ กลับกลาย ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.นครศรธี รรมราช เขต 1
นางสทุ ธวิ รรณ สูงเรือง ศกึ ษานิเทศก์ สพป.อำนาญเจริญ
นายวนั ชยั แจ่มนาม ศกึ ษานิเทศก์ สพป.พษิ ณุโลก เขต 2
นายมงคล จันทรง์ าม ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.อุดรธานี เขต 3

ร.ท.หญิง สุดาวรรณ เครอื พานิช นักวิชาการศึกษา สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา

นางสาววงเดอื น สุวรรณศริ ิ นกั วิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
นางสาวกระแสสินธ ์ุ ปล้องมะณี นกั จดั การงานทว่ั ไป สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

คณะผู้เรยี บเรยี งและสรุปกจิ กรรม

ร.ท.หญงิ สดุ าวรรณ เครือพานิช นกั วิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
นางวรยา พลายเลก็ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.สมุทรสาคร
นายพงศ์ศักด์ ิ กาญจนภกั ดิ์ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 4
นางสาวประเสริฐศร ี ศรวี ลิ ัย ศึกษานเิ ทศก์ สพป.สระแก้ว เขต 2
นางนรมน ไกรสกลุ ศึกษานิเทศก์ สพป.หนองคาย เขต 3
นางเปรมฤด ี ทัดศรี ศึกษานิเทศก์ สพป.สรุ ินทร์ เขต 3
นางชนกิ านต ์ วงศก์ ติ ติวรรณ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ลพบุรี เขต1
นางหัทยา เขม็ เพช็ ร ศึกษานเิ ทศก์ สพม.เขต 5
นางบังอร ควรประสงค์ ศึกษานเิ ทศก์ สพม.เขต 17

การส่งเสริมวถิ ปี ระชาธิปไตยผ่านกิจกรรมค่าย

105

คณะผูจ้ ัดทำ (ตอ่ )


คณะบรรณาธิการกจิ นักวชิ าการศกึ ษา สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
นกั วชิ าการศกึ ษา สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
ร.ท.หญงิ สดุ าวรรณ เครอื พานิช นกั จดั การงานทว่ั ไป สวก.
นายเฉลมิ ชัย พนั ธ์เลศิ ศึกษานิเทศก์ สพป.สมทุ รสาคร
นางสาวกระแสสินธุ ์ ปลอ้ งมะณี ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครศรธี รรมราช เขต 4
นางวรยา พลายเลก็ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.สระแกว้ เขต 2
นายพงศศ์ ักด ิ์ กาญจนภักดิ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.หนองคาย เขต 3
นางสาวประเสรฐิ ศรี ศรีวลิ ัย ศึกษานิเทศก์ สพป.สุรินทร์ เขต 3
นางนรมน ไกรสกลุ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ลพบุรี เขต1
นางเปรมฤดี ทดั ศรี ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.เขต 5
นางชนกิ านต์ วงศก์ ิตตวิ รรณ ศึกษานเิ ทศก์ สพม.เขต 17
นางหัทยา เข็มเพช็ ร
นางบังอร ควรประสงค์

การส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยผา่ นกิจกรรมค่าย

พิมพท์ ่ ี โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด
79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพมหานคร 10900
โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101
นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพ้ มิ พโ์ ฆษณา พ.ศ. 2554


Click to View FlipBook Version