The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nareekan suchaikam, 2023-12-11 22:55:18

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

จัดทำ โดย กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำ นักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ กรมส่งเสริมการเกษตร รายงานสรุป รุ ผลการดำ เนินนิโครงการ ประจำ ปีงปีบประมาณพ.ศ. 2566 (โครงการตามตัวตัชี้วั ชี้ ดวั )


ค ำน ำ ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ จัดท ำรำยงำนสรุปผลกำรด ำเนินโครงกำรประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 (โครงกำรตำมตัวชี้วัด) กรมส่งเสริมกำรเกษตร ขึ้นเพื่อรำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนของส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 ภำยใต้กรอบนโยบำยและยุทธศำสตร์ของกรมส่งเสริมกำรเกษตร กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงควำมส ำเร็จและควำมท้ำทำยในกำรด ำเนินงำนของส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ในกำรขับเคลื่อนงำนส่งเสริมกำรเกษตรตำมภำรกิจและเป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ ทั้งนี้ ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ได้รับอนุมัติจัดสร้ำงงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 (โครงกำรตำมตัวชี้วัด) ภำยใต้แผนงำน จ ำนวน 6 แผนงำน ดังนี้ 1. แผนงำนพื้นฐำนด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมรถในกำรแข่งขัน 2. แผนงำนยุทธศำสตร์กำรเกษตรสร้ำงมูลค่ำ 3. แผนงำนยุทธศำสตร์เสริมสร้ำงพลังทำงสังคม 4. แผนงำนยุทธศำสตร์เพื่อสนับสนุนด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม 5. แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำและส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก 6. แผนงำนยุทธศำสตร์จัดกำรมลพิษและสิ่งแวดล้อม โดยโครงกำรดังกล่ำวมีเป้ำหมำยเพื่อพัฒนำขีดควำมสำมำรถของเกษตรกร เพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตและกำรตลำด สินค้ำเกษตร สร้ำงโอกำสทำงกำรตลำด และยกระดับคุณภำพมำตรฐำนสินค้ำเกษตร ซึ่งจะส่งผลให้เกษตรกรมีรำยได้ เพิ่มขึ้น มีคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น และภำคเกษตรมีควำมมั่นคง ยั่งยืน รำยงำนฉบับนี้ประกอบด้วยข้อมูลสรุปผลกำรปฏิบัติงำนของส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ในแต่ละโครงกำร ประกอบด้วย ชื่อโครงกำร วัตถุประสงค์ของโครงกำร กิจกรรมของโครงกำร เป้ำหมำย ผลกำรด ำเนินงำน เพื่อเป็น แนวทำงในกำรปรับปรุงกำรด ำเนินงำนให้มีควำมมีประสิทธิภำพและประสิทธิผลมำกยิ่งขึ้น ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ขอขอบคุณทุกภำคส่วนที่เกี่ยวข้องที่ให้ควำมร่วมมือในกำรขับเคลื่อนงำนส่งเสริมกำรเกษตร ส่งผลให้กำรด ำเนินงำน ของส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ บรรลุเป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ กลุ่มยุทธศำสตร์และสำรสนเทศ 21 กันยำยน 2566


สารบัญ หน้ำ 1. วัตถุประสงค์ 1 2. ขอบเขต 1 3. วิธีกำรด ำเนินงำน 1 4. ผลกำรด ำเนินงำน น ำเสนอผลกำรด ำเนินงำนของโครงกำรตำมตัวชี้วัดภำยใต้แผนงำน จ ำนวน 6 แผนงำน 1 4.1 แผนงำนพื้นฐำนด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมรถในกำรแข่งขัน 1 โครงกำรที่ 1 พัฒนำอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน 2 โครงกำรที่ 2 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรด้ำนกำรเกษตรและสหกรณ์ 6 โครงกำรที่ 3 โครงกำรสร้ำงกำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำรงำนส่งเสริมกำรเกษตร ปี 2566 10 4.2 แผนงำนยุทธศำสตร์กำรเกษตรสร้ำงมูลค่ำ 11 โครงกำรที่ 4 โครงกำรส่งเสริมกำรใช้เครื่องจักรกลทำงกำรเกษตร 12 โครงกำรที่ 5 โครงกำรยกระดับคุณภำพมำตรฐำนสินค้ำเกษตร 14 โครงกำรที่ 6 โครงกำรส่งเสริมกำรใช้สำรชีวภัณฑ์และแมลงศัตรูธรรมชำติทดแทนสำรเคมี ทำงกำรเกษตร 16 โครงกำรที่ 7 โครงกำรบริหำรจัดกำรกำรผลิตสินค้ำเกษตรตำมแผนที่เกษตร เพื่อกำรบริหำร จัดกำรเชิงรุก (Agri-Map) 19 โครงกำรที่ 8 โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำสินค้ำเกษตรชีวภำพ 22 โครงกำรที่ 9 โครงกำรพัฒนำเกษตรกรรมยั่งยืน 26 โครงกำรที่ 10 โครงกำรระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 28 โครงกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร 1) โครงกำรที่ 11 เพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์ 31 2) โครงกำรที่ 12 ส่งเสริมกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตกำแฟเพื่อควำมยั่งยืน 33 3) โครงกำรที่ 13 ส่งเสริมกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตพืชตระกูลถั่วเพื่อควำมมั่นคงด้ำน อำหำร 35 4) โครงกำรที่ 14 ส่งเสริมกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 38 5) โครงกำรที่ 15 เพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตผักแบบครบวงจร 40 โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำสินค้ำเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น 1) โครงกำรที่ 16 ส่งเสริมอำชีพด้ำนกำรเกษตรตำมอัตลักษณ์และภูมิปัญญำท้องถิ่น 43 2) โครงกำรที่ 17 พัฒนำฐำนข้อมูลภูมิปัญญำท้องถิ่นด้ำนกำรเกษตรเพื่อเสริมสร้ำงอัตลักษณ์ พื้นถิ่น 47 โครงกำรที่ 18 โครงกำรส่งเสริมกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้น้ ำในระดับไร่นำ 51 โครงกำรที่ 19 โครงกำรขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร 54 โครงกำรที่ 20 โครงกำรพัฒนำประสิทธิภำพโลจิสติกส์เกษตรเพื่อลดกำรสูญเสีย 56


สารบัญ (ต่อ) หน้ำ โครงกำรที่ 21 โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำวิสำหกิจชุมชน 59 โครงกำรที่ 22 โครงกำรส่งเสริมกำรจัดตั้งและบริหำรจัดกำรวิสำหกิจเกษตรฐำนชีวภำพและภูมิ ปัญญำท้องถิ่น 62 โครงกำรที่ 23 โครงกำรสร้ำงมูลค่ำเพิ่มจำกวัสดุเหลือใช้ทำงกำรเกษตร 65 โครงกำรที่ 24 โครงกำรส่งเสริมกำรแปรรูปสินค้ำเกษตร 68 โครงกำรที่ 25 โครงกำร 1 อ ำเภอ 1 แปลงอัจฉริยะ 70 4.3 แผนงำนยุทธศำสตร์เสริมสร้ำงพลังทำงสังคม 72 โครงกำรที่ 26 โครงกำรศูนย์ศึกษำกำรพัฒนำอันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ 73 โครงกำรที่ 27 โครงกำรหมู่บ้ำนสหกรณ์สันก ำแพง อ ำเภอแม่ออน ตำมพระรำชด ำริ จังหวัดเชียงใหม่ 75 โครงกำรที่ 28 โครงกำรฟำร์มตัวอย่ำงตำมพระรำชด ำริสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ 77 โครงกำรที่ 29 โครงกำรรักษ์น้ ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน 79 โครงกำรที่ 30 โครงกำรคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระรำชำนุเครำะห์ สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช ฯ สยำมมกุฎรำชกุมำร 82 โครงกำรที่ 31 โครงกำรเกษตรวิชญำ จังหวัดเชียงใหม่ 85 โครงกำรที่ 32 โครงกำรเกษตรเพื่ออำหำรกลำงวัน 87 โครงกำรที่ 33 โครงกำรพัฒนำพื้นที่ลุ่มน้ ำแม่งอนอันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ จังหวัดเชียงใหม่ 90 โครงกำรที่ 34 โครงกำรมูลนิธิสิริวัฒนำ เชสเชียร์ อ ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 92 โครงกำรที่ 35 โครงกำรควำมร่วมมือในกำรพัฒนำและส่งเสริมอำชีพกำรปลูกชำ 95 โครงกำรที่ 36 โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรพัฒนำอมก๋อยอันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ อ ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ 97 โครงกำรที่ 37 โครงกำรสร้ำงป่ำสร้ำงรำยได้ 99 โครงกำรที่ 38 โครงกำรส่งเสริมกำรผลิตพืชอำหำรในศูนย์ฝึกนักเรียนเก่ำโรงเรียนต ำรวจ ตระเวนชำยแดน 4 ภำค 101 โครงกำรที่ 39 โครงกำรร้อยใจรักษ์ จังหวัดเชียงใหม่ 104 โครงกำรที่ 40 โครงกำรพัฒนำตำมพระรำชด ำริ อ ำเภอสันป่ำตอง จังหวัดเชียงใหม่ 107 โครงกำรที่ 41 โครงกำรพัฒนำศักยภำพเกษตรกรเพื่อเป็นต้นแบบในด้ำนกำรเกษตร ตำมแนวพระรำชด ำริ ต ำบลออนใต้ 109 4.4 แผนงำนยุทธศำสตร์เพื่อสนับสนุนด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม 111 โครงกำรที่ 42 โครงกำรส่งเสริมเคหกิจเกษตรในครัวเรือนเกษตรสูงวัย 111 4.5 แผนงำนบุรณำกำรพัฒนำและส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก 113 โครงกำรที่ 43 โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำอำชีพเพื่อแก้ไขปัญหำที่ดินท ำกินของเกษตรกร 114


สารบัญ (ต่อ) หน้ำ โครงกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งกลุ่มกำรผลิตด้ำนกำรเกษตร 1) โครงกำรที่ 44 เสริมสร้ำงและพัฒนำศักยภำพกลุ่มส่งเสริมอำชีพกำรเกษตร 116 2) โครงกำรที่ 45 เสริมสร้ำงแลพัฒนำศักยภำพกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกร 3) โครงกำรที่ 46 กำรส่งเสริมควำมมั่นคงด้ำนอำหำรระดับชุมชน 120 4) โครงกำรที่ 47 เสริมสร้ำงและพัฒนำศักยภำพกลุ่มยุวเกษตรกร 124 โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร 1) โครงกำรที่ 48โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร 127 2) โครงกำรที่ 49 พัฒนำศักยภำพกำรด ำเนินงำนและกำรให้บริกำรของ ศูนย์จัดกำรศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) 132 3) โครงกำรที่ 50 พัฒนำศูนย์เครือข่ำยและถ่ำยทอดเทคโนโลยีด้ำนกำรจัดกำรดินและปุ๋ย (ศดปช.) 135 โครงกำรที่ 51 โครงกำรพัฒนำเกษตรกรปรำดเปรื่อง (Smart Farmer) 137 4.6 แผนงำนยุทธศำสตร์จัดกำรมลพิษและสิ่งแวดล้อม 140 โครงกำรที่ 52 โครงกำรส่งเสริมกำรหยุดเผำในพื้นที่กำรเกษตร 140 ที่ปรึกษำ 144 ผู้จัดท ำ 144 ที่มำของข้อมูล 144 รำยละเอียดเพิ่มเติม (โปรดติดต่อ) 144


กิจกรรมเด่น วันที่ 14 พฤศจิกำยน 2565 เวลำ 09.30 น. นำยนิรัตน์ พงษ์สิทธิถำวร ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ มอบนโยบำย ชี้แจงกำรขับเคลื่อนนโยบำยประจ ำปี 2566 แก่เจ้ำหน้ำที่นักวิชำกำรส่งเสริมกำรเกษตรผู้ปฏิบัติงำนในพื้นที่ 25 อ ำเภอ จ ำนวน 225 รำย ณ ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำ อ ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นำยนิรัตน์ พงษ์สิทธิถำวร ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ ประธำนเปิดโครงกำรคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ปีงบประมำณ 2566 โดยไตรมำสที่ 1 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 ธันวำคม 2565 ณ อ ำเภอแม่แตง ไตรมำสที่ 2 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 กุมภำพันธ์2566 ณ อ ำเภอดอยหล่อ ไตรมำสที่ 3 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภำคม 2566 ณ อ ำเภอไชยปรำกำร ไตร มำสที่ 4 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎำคม 2566 ณ อ ำเภอหำงดง


วันที่ 23 ธันวำคม 2565 เวลำ09.00น.นำยนำยนิรัตน์ พงษ์สิทธิถำวร ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธำนเปิด งำนเทศกำลของขวัญปีใหม่ 2566 นำยเจริญ พิมพ์ขำลเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมหัวหน้ำส่วนรำชกำรจังหวัด ร่วมงำนเปิดเทศกำลดังกล่ำว ณ บริเวณตลำดเกษตรกรเชียงใหม่ ต.ช้ำงเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ วันที่ 12 กุมภำพันธ์ 2566 นำยเข้มแข็ง ยุติธรรมด ำรง อธิบดีกรมส่งเสริมกำรเกษตร ลงพื้นที่ปฏิบัติรำชกำรพร้อมมอบ นโยบำยกำรปฏิบัติรำชกำรแก่เจ้ำหน้ำที่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ณ ห้องประชุมส ำนักงำนเกษตรจังหวัด เชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ วันที่ 2 มีนำคม 2566 เวลำ09.30 น. นำยรพีทัศน์ อุ่นจิตตพันธ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริม เปิดงำนรณรงค์เกษตรกรร่วม ใจผลิตส้มปลอดภัย "Safe Use Safe Orange" ณ ที่ท ำกำรส ำนักงำนกลุ่มเกษตรกรท ำไร่โป่งน้ ำร้อน ต ำบลโป่งน้ ำร้อน อ ำเภอฝำง จังหวัดเชียงใหม่


วันที่ 3 มีนำคม 2566 เวลำ 09.30 น. นำยศักดิ์ชัย คุณำนุวัฒน์ชัยเดช รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ ขับเคลื่อน โครงกำรเกษตรเพื่ออำหำรกลำงวันในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และมอบปัจจัยกำรผลิต ณ ห้องประชุมส ำนักงำนเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 10 พฤษภำคม2566 เวลำ 13.30 น. นำยศักดิ์ชัย คุณำนุวัฒน์ชัยเดช รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ เป็น ประธำนกำรประชุมคณะกรรมกำรส่งเสริมวิสำหกิจชุมชนระดับจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1/2566 ณ ห้องประชุม ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 8 มิถุนำยน 2566 นำยนิรัตน์ พงษ์สิทธิถำวร ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธำนแถลงข่ำวประชำสัมพันธ์ ก ำหนดจัดงำนวันมะม่วงและของดีเชียงใหม่ และงำนลิ้นจี่ไม้ผลอัตลักษณ์จังหวัดเชียงใหม่ ณ ลำนกิจกรรมบิ๊กซีเอ็กตร้ำ เชียงใหม่


วันที่ 10 มิถุนำยน 2566 นำยศักดิ์ชัย คุณำนุวัฒน์ชัยเดช รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธำนเปิดงำน ประชำสัมพันธ์และเผยแพร่ไม้ผลอัตลักษณ์ "ลิ้นจี่" จังหวัดเชียงใหม่ ณ ลำนกิจกรรมประตูท่ำแพ วันที่ 22 มิถุนำยน 2566 เวลำ สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี เสด็จพระรำชด ำเนินไปทรงติดตำมควำมก้ำวหน้ำ กำรด ำเนินงำนศูนย์บริกำรกำรพัฒนำขยำยพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้ำนไร่อัน เนื่องมำจำกพระรำชด ำริซึ่งเป็นศูนย์สำขำของศูนย์ศึกษำกำรพัฒนำห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ ในกำรนี้ นำยเจริญ พิมพ์ขำล เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมรับเสด็จ ณ ศูนย์บริกำรกำรพัฒนำขยำยพันธุ์ ไม้่ดอกไม้ผลบ้ำนไร่อัน เนื่องมำจำกพระรำชด ำริ ต ำบลบ้ำนแหวน อ ำเภอหำงดง จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 29 มิถุนำยน 2566 นำยนิรัตน์ พงษ์สิทธิถำวร ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธำนเปิดงำนวันมะม่วงและ ของดีเมืองเชียงใหม่ครั้งที่ 12 ประจ ำปี 2566 ณ ตลำดประชำรัฐ หน้ำอำคำรอ ำนวยกำร ศำลำกลำงจังหวัดเชียงใหม่


วันที่ 25 กรกฎำคม 2566 นำยเจริญ พิมพ์ขำล เกษตรจังหวัดเชียงใหม่เป็นประธำนเปิดกำรอบรมเกษตรกร ในโครงกำรแก้ไขปัญหำฝุ่นควัน PM 2.5 เชิงรุกแบบบูรณำกำร สร้ำงกำรรับรู้ กำรมีส่วนร่วมของคนในชุมชน สร้ำงควำม เข้มแข็งแก่ชุมชนเป็นกำรท ำกำรเกษตรปลอดกำรเผำ เพื่อแก้ไขปัญหำกำรเผำในพื้นที่กำรเกษตร ด้วยกำรให้ควำมรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกำรปลูกพืชเชิงเดี่ยว ให้เป็นกำรปลูกพืชแบบผสมผสำน ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นร่วมด้วย มุ่งสู่กำรท ำ เกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม วันที่ 18 สิงหำคม 2566 เวลำ 15.00 น. สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำ ฯ สยำมบรม รำชกุมำรี เสด็จพระรำชด ำเนิน ณ โรงเรียนต ำรวจตระเวนชำยแดน เฉลิมพระเกียรติพระเจ้ำอยู่หัว เนื่องในโอกำส พระรำชพิธีมหำมงคล เฉลิมพระชนมพรรษำ 6 รอบ 5 ธันวำคม 2562 บ้ำนแกน้อย ต.เมืองนะ อ.เชียงดำว จ.เชียงใหม่ นำยเจริญ พิมพ์ขำล เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมคณะเจ้ำหน้ำที่เฝ้ำ ฯ รับเสด็จ กรำบบังคมทูลถวำยรำยงำน กำรด ำเนินโครงกำรเกษตรเพื่ออำหำร กลำงวันโรงเรียนต ำรวจตระเวนชำยแดน เฉลิมพระเกียรติพระเจ้ำอยู่หัว เนื่องใน โอกำสพระรำชพิธีมหำมงคล เฉลิมพระชนมพรรษำ 6 รอบ 5 ธันวำคม 2562


วันที่ 29 สิงหำคม 2566 เวลำ 09.00 น. นำยเจริญ พิมพ์ขำล เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธำนเปิดโครงกำร รณรงค์เพื่อควบคุมและป้องกันก ำจัดด้วงงวงเจำะเมล็ดมะม่วง ณ แปลงใหญ่มะม่วง ต ำบลหนองบัว อ ำเภอไชยปรำกำร จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 22 กันยำยน 2566 เวลำ 09.00 น. นำยเจริญ พิมพ์ขำล เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธำนเปิดกำรสัมมนำ เชิงปฏิบัติกำรกำรพัฒนำเจ้ำหน้ำที่เพื่อเพิ่มศักยภำพในกำรด ำเนินงำนโครงกำรระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่วันที่ 22-23 กันยำยน 2566


1 รายงานสรุปผลการด าเนินโครงการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (โครงการตามตัวชี้วัด) ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ การด าเนินงานโครงการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (โครงการตามตัวชี้วัด) ของส านักงานเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ภายใต้กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ซึ่งมีเป้าหมายในการพัฒนาภาคเกษตรและยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้ดีขึ้น โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ศักยภาพของเกษตรกรและผู้ประกอบการเกษตร ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเกษตร และเพิ่ม ช่องทางการตลาดสินค้าเกษตรที่หลากหลาย 1. วัตถุประสงค์ เพื่อสรุปผลการด าเนินงานของส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภายใต้กรอบ นโยบายและยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2. ขอบเขต การด าเนินงานของส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ภายใต้กรอบนโยบาย และยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยแบ่งการด าเนินงานออกเป็น 6 แผนงาน ดังนี้ 2.1 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามรถในการแข่งขัน 2.2 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 2.3 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 2.4 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 2.5 แผนงานบุรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 2.6 แผนงานยุทธศาสตร์จัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม 3. วิธีการด าเนินงาน ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ได้ด าเนินโครงการตามตัวชี้วัดภายใต้แผนงานต่างๆ ข้างต้น โดยด าเนินการตาม ขั้นตอน ดังนี้ 3.1 จัดท าแผนการด าเนินงานประจ าปี 3.2 ด าเนินการตามแผนการด าเนินงาน 3.3 ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน 3.4 รายงานผลการด าเนินงาน นอกจากนี้ ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ยังได้มีการบูรณาการการท างานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น 4. ผลการด าเนินงาน น าเสนอผลการด าเนินงานของโครงการตามตัวชี้วัดภายใต้แผนงาน จ านวน 6 แผนงาน 4.1 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามรถในการแข่งขัน ประกอบด้วย 3 โครงการ ดังนี้ 4.1.1 พัฒนาอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน 4.1.2 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเกษตรและสหกรณ์ 4.1.3 โครงการสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารงานส่งเสริมการเกษตร ปี 2566


2 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ พัฒนาอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อเพิ่มศักยภาพเกษตรหมู่บ้าน (กม.) และอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) ในการขับเคลื่อนงานส่งเสริม การเกษตรและสนับสนุนภารกิจของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2.2 เพื่อให้เกษตรหมู่บ้าน (กม.) และอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) มีส่วนร่วมในการพัฒนางานส่งเสริม การเกษตรและเป็นเครือข่ายการท างานในพื้นที่ 2.3 เพื่อเสริมสร้างขวัญก าลังใจ ในการปฏิบัติงานให้แก่อาสาสมัครเกษตรและอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน ขับเคลื่อนงานอาสาสมัครเกษตร 1) ประชุมคณะกรรมการบริหารงานอาสาสมัครเกษตร จังหวัด 2,850 15 ราย จังหวัดเชียงใหม่ ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน 1) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกษตรหมู่บ้าน (กม.) 50,000 250 ราย พื้นที่ 25 อ าเภอ ๆ ละ 10 ราย (เก ษ ต รห มู่ บ้ าน (กม.)) 2) คัดเลือกและจัดท าข้อมูลอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) - - พื้นที่ 25 อ าเภอ 3) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) 50,000 250 พื้นที่ 25 อ าเภอ ๆ ละ 10 ราย (อาสาสมัครเกษตร หมู่บ้าน (อกม.)) 4) เวทีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้อาสาสมัครเกษตร ระดับจังหวัด 20,000 50 ราย จังหวัดเชียงใหม่ 5) ประชาสัมพันธ์และเชิดชูเกียรติอาสาสมัครเกษตร หมู่บ้าน 30,690 2,046 ราย จังหวัดเชียงใหม่ รวม 153,540 250 โครงการที่ 1


3 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ขับเคลื่อนงานอาสาสมัครเกษตร 1 ) ป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการบริหารงาน อาสาสมัครเกษตรจังหวัด ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ด าเนินการขับเคลื่อนงานอาสาสมัครเกษตร ตามระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่าด้วยการบริหารงานอาสาสมัครเกษตร พ 2563 .ศ.ในรูปแบบของคณะกรรมการที่มีส่วนราชการระดับจังหวัดและ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) เพื่อบูรณาการงานการส่งเสริมและสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของอาสาสมัครเกษตร (.อกม) อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน/และรายงานผล การด าเนินกิจกรรมของแต่ละหน่วยงาน ตลอดจนการเสนอปัญหาอุปสรรคและแนว ทางแก้ไขที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2566 ณ ณ ห้อง ประชุมศูนย์ประสานงานการขับเคลื่อนและขยายผลโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริ จังหวัดเชียงใหม่ ชั้น 3 อาคารอ านวยการ ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีนายศักดิ์ชัย คุณานุวัฒน์ชัยเดช รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธาน ในการประชุม ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน 1) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกษตรหมู่บ้าน (กม.) ส านักงานเกษตรอ าเภอทั้ง 25 อ าเภอ คัดเลือกเกษตรหมู่บ้าน (กม.) อ าเภอละ 10 ราย เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยอบรมเพิ่มองค์ความรู้ที่จ าเป็นในการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของเกษตรหมู่บ้าน ซึ่งมีเกษตรหมู่บ้าน จ านวนรวมทั้งสิ้น 250 ราย ได้รับการพัฒนาศักยภาพมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้และให้บริการช่วยเหลือเกษตรกร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) คัดเลือกและจัดท า ข้อมูลอาสาสมัครเกษตร หมู่บ้าน (อกม.) ส านักงานเกษตรจังหวัดร่วมกับส านักงานเกษตรอ าเภอทั้ง 25 อ าเภอ ด าเนินการ คัดเลือกอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้านตามระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่าด้วย การบริหารงานอาสาสมัครเกษตร พ.ศ. 2563 จ านวน 2,043 ราย โดยจะด ารงอยู่ ในวาระ คราวละ 4 ปี ถึงวันที่ 30 เมษายน 2570 3) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) ส านักงานเกษตรอ าเภอคัดเลือกอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) อ าเภอละ 10 รายเข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อทบทวนบทบาทหน้าที่และภารกิจของ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) ในการสนับสนุนงานด้านการเกษตร พร้อมทั้งวาง แผนการปฏิบัติร่วมกับเจ้าหน้าที่ ซึ่งมีอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) จ านวน 250 ราย ได้เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เกิดการพัฒนา สามารถปฏิบัติงานตามกระบวนการโครงสร้างการบริหารงาน อาสาสมัครเกษตร และเกิดการเชื่อมโยงงานอาสาสมัครเกษตร 4) เวทีเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อาสาสมัครเกษตรระดับ จังหวัด ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการ ขับเคลื่อนงานอาสาสมัครเกษตรและวางแผนการขับเคลื่อนงานเพื่อพัฒนากิจกรรม ของอาสาสมัครเกษตรในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) อ าเภอละ 2 ราย รวมจ านวน 50 ราย เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2566 ณ หอประชุม เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่


4 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 5) ประชาสัมพันธ์และ เชิดชูเกียรติอาสาสมัคร เกษตรหมู่บ้าน ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่จัดท าประกาศนียบัตรเพื่อมอบแก่อาสาสมัคร เกษตรหมู่บ้าน (อกม.) ที่หมดวาระลงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ที่ได้ปฏิบัติงาน เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรและชุมชน ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ส านักงานเกษตรอ าเภอและหน่วยงานภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในวาระที่ ผ่านมา จ านวน 2,046 ราย 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ภาพการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกษตรหมู่บ้าน (กม.) และ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) ภาพการจัดเวทีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้อาสาสมัครเกษตร ระดับจังหวัด ภาพการประชาสัมพันธ์และเชิดชูเกียรติอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน


5 ภาพการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารงานอาสาสมัครเกษตรจังหวัด ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายกอบลาภ แสงสุวรรณ ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0-8480-39770


6 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ พัฒนาเครือข่ายงานส่งเสริมการเกษตร (ระบบส่งเสริมการเกษตร) 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรทุกระดับ มีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาการด าเนินงาน ให้มี ความรู้ความสามารถและมีความพร้อมในการถ่ายทอดความรู้ และให้บริการทางการเกษตรแก่เกษตรกร 2.2 เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ความร่วมมือทางวิชาการกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย พัฒนาด้าน การเกษตร และการขยายผลงานวิชาการด้วยงานส่งเสริมการเกษตร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน การจัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ตามระบบส่งเสริม การเกษตร - เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร ะ ดั บ อ าเภ อ (District Workshop : DW) 38,850 บาท 35 ราย ส านักงานเกษตรจังหวัด เชียงใหม่ อ าเภ อเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ - ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ การขับเคลื่อนงานตาม ระบบส่งเสริมการเกษตร 12,200 บาท 1 ครั้ง ส านักงานเกษตรจังหวัด เชียงใหม่ อ าเภ อเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ รวม 51,050 บาท 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน การจัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ตามระบบส่งเสริม การเกษตร เวทีแลกเปลี่ยนเรียน รู้ ร ะ ดั บ อ าเภ อ (District Workshop : DW) ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ได้ด าเนินการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามระบบ ส่งเสริม กิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอ าเภอ (District Workshop:DW) จ านวน 3 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 เพื่อชี้แจงแนวทางและจัดท าแผนปฏิบัติ งานโครงการส่งเสริมการเกษตร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2 ในวันที่ 13 มีนาคม 2566 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ได้มีแนว ทางการขึ้นทะเบียนเกษตรและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรเวทีในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้พัฒนาการด าเนินงานให้มีความรู้ความสามารถมีความพร้อมในการถ่ายทอด ความรู้ ให้บริการทางการเกษตรแก่เกษตรกร ครั้งที่ 3 ในวันที่ 26 กรกฎาคม 2566 เพื่อได้แนวคิดการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการขอรับการสนับสนุนงบประมาณโครงการ การจัดท าแผนพัฒนาการเกษตร เชิงพื้นที่ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการขับเคลื่อนงานเชิงบรูณาการในพื้นที่ และได้ฝึก ทักษะการวิเคราะห์พื้นที่ การก าหนดกลยุทธ์โครงการเชิงพื้นที่เพื่อได้มาเพื่อขอรับ การสนับสนุนงบประมาณโครงการจากงบจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด องค์การปกครอง โครงการที่ 2


7 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ส่วนท้องถิ่น และการบูรณาการเชิงพื้นที่ สามารถพัฒนาทักษะความรู้ในการเขียน แผนงาน-โครงการ และการแปลงแผนงาน-โครงการสู่แนวทางการปฏิบัติ ผลิตสื่อประชาสัมพัน ธ์ การขับเคลื่อนงานตาม ระบบส่งเสริมการเกษตร ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดท าแผ่นพับสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อการผลิตสื่อ ประชาสัมพันธ์การขับเคลื่อนงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร โครงการ/กิจกรรมที่ ส าคัญ หรือผลความส าเร็จจากการขับเคลื่อนงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร ประชาสัมพันธ์เผยแพร่งานส่งเสริมการเกษตรให้เป็นที่รับรู้ และเพื่อเป็นต้นแบบ ขยายผลงานส่งเสริมการเกษตร ให้แก่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ส านักงานเกษตร อ าเภอ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน กิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอ าเภอ (District Workshop : DW) ครั้งที่ 1 วันที่ 25 พฤศจิกายน 2566 ณ ห้องประชุมส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ และผ่านระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) ไปยัง 25 อ าเภอ


8 ครั้งที่ 2 วันที่ 13 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุมส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่ และผ่านระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) ไปยัง 25 อ าเภอ ครั้งที่ 3 วันที่ 26 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงแรมฮอลิเดย์ การ์เดน อ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่ และผ่านระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) ไปยัง 25 อ าเภอ


9 กิจกรรม ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์การขับเคลื่อนงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวกนกวรรรณ พิทาค า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ เบอร์โทรศัพท์0 9313 08700 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวกนกวรรรณ พิทาค า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ เบอร์โทรศัพท์0 9313 08700


10 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารงานส่งเสริมการเกษตร ปี 2566 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อจัดท าชุดนิทรรศการประชาสัมพันธ์การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน จั ด ท า ชุ ด นิ ท ร ร ศ ก า ร ป ระช าสัมพัน ธ์ก ารขึ้น ทะเบียน และป รับป รุง ทะเบียนเกษตรกร 30,000 ส านักงานเกษตรจังหวัด เชียงใหม่ รวม 30,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน จั ด ท า ชุ ด นิ ท ร ร ศ ก า ร ป ระชาสัมพัน ธ์ก ารขึ้น ทะเบียน และป รับป รุง ทะเบียนเกษตรกร ชุดนิทรรศการ - ขนาดกว้าง 2.4 x สูง 1.2 เมตร - ชุดตัวบอร์ดนิทรรศการท าจากไม้ มีความกว้าง และ ยาว ที่เหมาะสม สวยงาม ตามสัดส่วน - มีที่ส าหรับติดยึด สื่อ/ฟิวเจอร์บอร์ด/ไวนิล ฯ - สามารถตั้งได้ไม่ต้องมีอะไรยึด มีความสูงจากพื้น ถึง ตัวบอร์ด ด้านล่าง 0.5 เมตร - สามารถถอดประกอบได้ และขนย้ายสะดวก - ตกแต่งใน Theme ล้านนา 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธนเดช วงค์เขียว ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 6515 39916 โครงการที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธนเดช วงค์เขียว ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 6515 39916


11 4.2 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า ประกอบด้วย 17 โครงการ ดังนี้ 4.2.1 โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร 4.2.2 โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร 4.2.3 โครงการส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์และแมลงศัตรูธรรมชาติทดแทนสารเคมีทางการเกษตร 4.2.4 โครงการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตร เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) 4.2.5 โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรชีวภาพ 4.2.6 โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน 4.2.7 โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 4.2.8 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 1) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2) ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟเพื่อความยั่งยืน 3) ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชตระกูลถั่วเพื่อความมั่นคงด้านอาหาร 4) ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 5) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผักแบบครบวงจร 4.2.9 โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น 1) ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรตามอัตลักษณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) พัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่น 4.2.10 โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าในระดับไร่นา 4.2.11 โครงการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร 4.2.12 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพโลจิสติกส์เกษตรเพื่อลดการสูญเสีย 4.2.13 โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 4.2.14 โครงการส่งเสริมการจัดตั้งและบริหารจัดการวิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.2.15 โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร 4.2.16 โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร 4.2.17 โครงการ 1 อ าเภอ 1 แปลงอัจฉริยะ


12 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรม ถ่ายทอดความรู้ช่างเกษตรท้องถิ่นหลักสูตรพื้นฐาน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อพัฒนาความรู้ทักษะในด้านเทคนิคการใช้และการบ ารุงรักษาเครื่องจักรกลการเกษตร ตลอดจนสร้างช่าง เกษตรประจ าท้องถิ่นส าหรับรองรับการเติบโตอย่างรวดเร็วของการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรของประเทศ 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพธุรกิจการให้บริการเครื่องจักรกลการเกษตร ให้มีความพร้อมทั้งด้านองค์ความรู้ ทักษะ ทางเทคนิค และการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 เพื่อสร้างโอกาส ยกระดับ การเข้าถึงเทคโนโลยีการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร และระบบการให้น้ าแบบ อัจฉริยะที่ทันสมัยมีประสิทธิภาพในการผลิตพืช และทดแทนแรงงานภาคเกษตรให้แก่เกษตรกร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน ถ่ายทอดความรู้ช่างเกษตร ท้องถิ่นหลักสูตรพื้นฐาน 29,700 50 พื้นที่ด าเนินการ จ านวน 25 อ าเภอ อ าเภอละ 2 ราย สถานที่ด าเนินการ ส านักงานเกษตรจังหวัด เชียงใหม่ รวม 29,700 50 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ ช่ าง เกษตรท้องถิ่นหลักสูตร พื้นฐาน 1. ช่างเกษตรท้องถิ่นมีความรู้ทักษะทางเทคนิคเครื่องจักรกลการเกษตรสมัยใหม่ที่ พร้อมรองรับการบริการซ่อมแซมดูแลเครื่องจักรกลการเกษตรในท้องถิ่น 2. ผู้เกี่ยวข้องในการให้บริการเครื่องจักรกลการเกษตร ได้รับการพัฒนาความรู้และ ทักษะด้านเทคนิคการใช้ หรือการบริหารจัดการธุรกิจการให้บริการเครื่องจักรกล การเกษตรชุมชน 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ภาพประกอบ กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ช่างเกษตรท้องถิ่นหลักสูตรพื้นฐาน จ านวนเกษตรกร 50 ราย โครงการ ส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร กิจกรรม ส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร วันที่ 8 ธันวาคม 2565 ณ ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โครงการที่ 4


13 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายวรวิทย์ มหาวันชัย ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 6434 04204


14 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 พัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ความเข้าใจด้านการผลิตตามระบบมาตรฐาน GAP 2.2 ส่งเสริมเกษตรกรผู้ผลิตเข้าสู่ระบบมาตรฐานเกษตร GAP เพิ่มมากขึ้น 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. อบรมเกษตรกรเข้าสู่ ระบบมาตรฐาน GAP และศึกษาดูงาน 544,400 1,361 ในพื้นที่ 17 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอ ฝาง อ าเภอพร้าว อ าเภอแม่ แตง อ าเภอแม่ริม อ าเภอสัน ท ร าย อ าเภ อ สัน ก าแพง อ าเภอแม่ออน อ าเภอสารภี อ าเภอสันป่าตอง อ าเภอไชย ปราการ อ าเภอดอยสะเก็ด อ าเภอแม่อาย อ าเภอดอย หล่อ อ าเภอดอยเต่า อ าเภอ ฮอ ด อ าเภ อ แม่ ว าง แล ะ อ าเภอเมืองเชียงใหม่ 2 . ติดตามให้ค าปรึกษา แนะน า และตรวจประเมิน แปลงเบื้องต้น 544,400 1,361 3. สนับสนุนการจัดการและ พัฒนาผลิตผลสินค้าเกษตร GAP ในขั้นต้น 1,333,780 1,361 รวม 2,422,580 1,361 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. อบรมเกษตรกรเข้าสู่ ระบบมาตรฐาน GAP และศึกษาดูงาน เกษตรกร จ านวน 1,361 ราย ในพื้นที่ 17 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอฝาง อ าเภอพร้าว อ าเภอแม่แตง อ าเภอแม่ริม อ าเภอสันทราย อ าเภอสันก าแพง อ าเภอแม่ออน อ าเภอ สารภี อ าเภอสันป่าตอง อ าเภอไชยปราการ อ าเภอดอยสะเก็ด อ าเภอแม่อาย อ าเภอ ดอยหล่อ อ าเภอดอยเต่า อ าเภอฮอด อ าเภอแม่วาง และอ าเภอเมืองเชียงใหม่ ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในเรื่องการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส าหรับพืช อาหาร (GAP) หลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจประเมินแปลงเบื้องต้นและการตรวจ รับรองของหน่วยตรวจรับรอง ตามระบบมาตรฐาน GAP ศึกษาดูงานด้านการผลิต และการตลาดสินค้าเกษตร GAP การจัดการพันธุ์และศัตรูพืช การจัดเวทีเพื่อ รับทราบความต้องการสนับสนุนการจัดการและพัฒนาผลิตผลสินค้าเกษตร GAP ใน ขั้นต้น 2. ติดตามให้ค าปรึกษา แนะน า และตรวจประเมิน แปลงเบื้องต้น จัดท าแผนออกติดตามให้ค าปรึกษาแนะน าเกษตรกร, เอกสารสนับสนุนตามระบบ การจัดการคุณภาพและมาตรฐาน GAP, เอกสารที่เกี่ยวข้อง ท าการนัดหมาย เกษตรกรเป้าหมายครบทุกราย เพื่อออกให้ค าปรึกษาแนะน าและตรวจประเมินแปลง เบื้องต้นให้กับเกษตรกร จ านวนรายละ 2 ครั้ง โครงการที่ 5


15 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 3. สนับสนุนการจัดการและ พัฒนาผลิตผลสินค้าเกษตร GAP ในขั้นต้น ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ด าเนินการจัดซื้อวัสดุการเกษตร โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร ตามความต้องการของเกษตรกร โดยวิธี ป ร ะ ก ว ด ร าค าอิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ (e-bidding) มี ก า ร เส น อ ร าค าที่ โป ร่งใส ซึ่งผู้ประกอบการที่ชนะในการประกวดราคา ครั้งนี้ ที่ราคา 1,159,745 บาท (หนึ่งล้านหนึ่งแสนห้าหมื่นเก้าพันเจ็ดร้อยสี่สิบห้าบาทถ้วน) ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ได้ด าเนินการจัดส่งวัสดุการเกษตรให้อ าเภอ เป้าหมาย ครบตามความต้องการทุกอ าเภอ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายเรวัต แก้วเลิศตระกูล ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8985 28781


16 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์และแมลงศัตรูธรรมชาติทดแทนสารเคมีทางการเกษตร กิจกรรม ส่งเสริมการอารักขาพืชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรด าเนินการจัดการศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสาน รวมถึงการใช้ชีวภัณฑ์ และแมลงศัตรูธรรมชาติทดแทนสารเคมีในการป้องกันก าจัดศัตรูพืช 2.2 ผลักดันให้เกษตรกร ลด ละ เลิกการใช้สารเคมีป้องกันก าจัดศัตรูพืช หรือให้มีการใช้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย 2.3 พัฒนาต้นแบบการติดตามสถานการณ์ศัตรูพืชเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการอย่างเป็นระบบ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1 . ส่งเส ริม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ให้ เก ษ ต รก ร ด าเนินการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน 1.1 บริหารจัดการการถ่ายทอดความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันและก าจัดศัตรูพืชโดยวิธี ผสมผสานให้เกษตรกร 24,000 120 ราย อ าเภ อ ฝ าง แ ล ะ อ าเภอสารภี 1 .2 ส่ง เส ริ ม เก ษ ต ร กร ใช้ ชี ว ภั ณ ฑ์ (เชื้อจุลินทรีย์ และศัตรูธรรมชาติ) รวมถึง วิธีการต่างๆที่เหมาะสมในการควบคุมศัตรูพืช 96,000 240 ไร่ อ าเภ อ ฝ าง แ ล ะ อ าเภอสารภี 1.3 สนับสนุนการติดตามและรายงานผล 12,000 จังหวัดด าเนินการ 2. การเฝ้าระวังการใช้สารเคมีป้องกันก าจัด ศัตรูพืชของเกษตรกร 2.1 บริหารจัดการการถ่ายทอดความรู้ เกี่ยวกับการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและ ปลอดภัย 24,000 120 ราย อ าเภ อ ฝ าง แ ล ะ อ าเภอสารภี 3. ติดตามประเมินผลการด าเนินงาน 3.1 ตรวจสารเคมีทางการเกษตรตกค้างใน ผลผลิตการเกษตรของเกษตรกร 6,000 240 ตัวอย่าง จังหวัดด าเนินการ รวม 162,000 120 ราย โครงการที่ 6


17 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1 ) บ ริห ารจัดก ารก าร ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ ก ารป้องกัน และก าจัด ศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ให้เกษตรกร 1.1 ด าเนินการ จัดการการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและก าจัดศัตรูพืช โดยวิธีผสมผสานให้เกษตรกรแปลงใหญ่ จ านวน 2 แปลง 1) แปลงใหญ่ล าไย อ าเภอสารภี 2) แปลงใหญ่ส้มเขียวหวาน อ าเภอฝาง 1.2 เกษตรกรเข้าร่วม จ านวน 120 ราย 1) แปลงใหญ่ล าไย อ าเภอสารภี จ านวน 40 ราย 2) แปลงใหญ่ส้มเขียวหวาน อ าเภอฝาง จ านวน 80 ราย 2) ส่งเสริมเกษตรกรใช้ชีว ภัณฑ์ (เชื้อจุลินทรีย์ และ ศัตรูธรรมชาติ) รวมถึง วิธีการต่างๆที่เหมาะสมใน การควบคุมศัตรูพืช 2 .1 ด าเนิน ก าร ส่งเส ริม ก ารใช้ส ารชี วภัณ ฑ์ ให้ กับ สม าชิก แป ลงให ญ่ จ านวน 2 แปลง รวมพื้นที่ 240 ไร่ ประกอบด้วย 1) แปลงใหญ่ล าไย อ าเภอสารภี จ านวน 80 ไร่ 2) แปลงใหญ่ส้มเขียวหวาน อ าเภอฝาง จ านวน 160 ไร่ 3 ) บ ริห ารจัดก ารก าร ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ ก า ร ใช้ ส า ร เค มี อ ย่ าง ถูกต้องและปลอดภัย 3.1 ด าเนินการ “จัดกระบวนการเรียนรู้ด้านการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและ ปลอดภัย” ให้กับสมาชิกเกษตรกรแปลงใหญ่ จ านวน 2 แปลง 1) แปลงใหญ่ล าไย อ าเภอสารภี 2) แปลงใหญ่ส้มเขียวหวาน อ าเภอฝาง 3.2 เกษตรกรเข้าร่วม จ านวน 120 ราย 1) แปลงใหญ่ล าไย อ าเภอสารภี จ านวน 40 ราย 2) แปลงใหญ่ส้มเขียวหวาน อ าเภอฝาง จ านวน 80 ราย 4) ตรวจสารเคมีทางการ เกษตรตกค้างในผลผลิต การเกษตรของเกษตรกร 4.1 ตรวจสารเคมีตกค้างในผลผลิต ก่อนเข้าร่วมโครงการ จ านวน 120 ตัวอย่าง 4.2 ตรวจสารเคมีตกค้างในผลผลิต หลังเข้าร่วมโครงการ จ านวน 120 ตัวอย่าง 4.3 ผลผลิตเกษตรกร มีความปลอดภัย ร้อยละ 100 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


18 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายสัญชัย ปัญจะเรือง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 9922 44999


19 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2 .1 เพื่อให้เกษ ต รก รวางแผน และผลิตสิน ค้าเกษต รได้เหม าะสมกับศักยภ าพของพื้นที่ตามเขต ความเหมาะสมส าหรับปลูกพืช และปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่น ๆ 2.2 เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหลังจากการปรับเปลี่ยนการผลิตพืช 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ ด าเนินงาน 1. ส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตพืชที่เหมาะสมตาม แผนที่ Agri – Map อ าเภอฝาง 1.1 อบรมให้ความรู้ และศึกษาดูงานการปลูกพืชทางเลือก ใหม่ 10,000 10 ราย 1.2 สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จ าเป็นในการปรับเปลี่ยนการ ผลิตพืชชนิดใหม่ที่เหมาะสม 129,000 30 ไร่ รวม 139,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1.1 อบรมให้ความรู้ และศึกษาดู งานการปลูกพืชทางเลือกใหม่ ครั้งที่ 1 : วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 อบรมถ่ายทอดความรู้ ณ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีพัฒนาที่ดินต าบลสันทราย อ.ฝาง ด าเนินการจัดเวทีวางแผนการผลิตและการซื้อปัจจัยการผลิต ถ่ายทอด ความรู้การลดต้นทุนโดยการใช้สารชีวภัณฑ์ การผลิตปุ๋ยหมักและน้ าหมัก การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน : วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ศึกษาดูงานการท าการเกษตรแบบ ผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงอ าเภอฝาง ต.สันทราย อ.ฝาง ครั้งที่ 2 : วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 อบรมถ่ายทอดความรู้ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเชียงใหม่ ต.โป่งน้ าร้อน อ.ฝาง ด าเนินการ ถ่ายทอดความรู้การลดต้นทุนการผลิตโดยสารชีวภัณฑ์ (BT,BS) การใช้ปุ๋ย และสารเคมีอย่างถูกต้อง : วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 ศึกษาดูงานการผลิตพืชของ โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาเกษตรกรรมบนพื้นที่สูงของมูลนิธิชัยพัฒนา อ.ฝาง โครงการที่ 7


20 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1.2 สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่ จ าเป็นในการปรับเปลี่ยนการผลิตพืช ชนิดใหม่ที่เหมาะสม สนับสนุนวัสดุการเกษตรปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกรเป้าหมายจ านวน 10 ราย พื้นที่ 30 ไร่ ประกอบด้วย วัสดุในการจัดท าระบบน้ าในสวนเกษตร ปุ๋ยเคมี(สูตร 15-15-15 ,สูตร 8-24-24,สูตร 25-7-7 ,สูตร 13-13- 21 ,สูตร 46-0-0) ปุ๋ยคอก(ขี้วัว) เมล็ดพันธุ์ผัก (กะหล่ าปลีหัวใจ, ถั่วฝักยาว,แตงกวา,ผักกาดเขียวปลี,ผักกาดขาวปลี,ผักกาดกวางตุ้ง,พริก ขี้หนูเม็ดใหญ่) กล้าพันธุ์ไม้ผลคุณภาพ (อะโวคาโดพันธุ์แฮส, เงาะโรงเรียน, ล าไยอีดอ) สารเคมีป้องกันก าจัดโรคและแมลง และสารเสริมฮอร์โมนพืช 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ภาพกิจกรรม : อบรมให้ความรู้ และศึกษาดูงานการปลูกพืชทางเลือกใหม่


21 ภาพกิจกรรม : สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จ าเป็นในการปรับเปลี่ยนการผลิตพืชชนิดใหม่ที่เหมาะสม ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวสุภาพร ศรีวิชัย ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8163 53591


22 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรชีวภาพ กิจกรรมย่อยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแมลงเศรษฐกิจ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อสนับสนุนเกษตรกรให้มีการรวมกลุ่มการผลิตสินค้าแมลงเศรษฐกิจที่ได้คุณภาพ 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์แมลงเศรษฐกิจ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1.จัดเวทีวิเคราะห์ศักยภาพ พื้นที่และจัดท าแผนพัฒนา สินค้าแมลงเศรษฐกิจ 4,000 20 อ าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 2.อบ รมความรู้ด้านแมลง เศรษฐกิจแก่เกษตรกร 7,000 20 อ าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 3 .จั ด ศึ ก ษ า ดูง าน แ ม ลง เศรษฐกิจแก่เกษตรกร 8,000 20 ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้าน แมลงเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหม่ รวม 19,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1 .จั ด เ ว ที วิ เค ร า ะ ห์ ศักยภาพพื้นที่และจัดท า แผนพัฒนาสินค้าแมลง เศรษฐกิจ 2.อบรมความรู้ด้านแมลง เศรษฐกิจแก่เกษตรกร 3.จัดศึกษาดูงานแมลง เศรษฐกิจแก่เกษตรกร 1) เกษตรกรผู้เลี้ยงแมลงเศรษฐกิจมีองค์ความรู้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต สามารถพัฒนาผลผลิตให้มีคุณภาพและสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มจากการ ผลิตสินค้าแมลงเศรษฐกิจได้ 2) เกษ ตรกรมีการรวมกลุ่ม สาม ารถจัดท าแผนพัฒ น ากลุ่มเพื่ อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าแมลงเศรษฐกิจ ตลอดจนเชื่อมโยงเครือข่ายการ ผลิตการตลาดได้ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ภาพประกอบ จัดเวทีวิเคราะห์ความต้องการในการพัฒนาความรู้ด้านแมลงเศรษฐกิจ เกษตรกรจ านวน 20 ราย โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรชีวภาพ กิจกรรมย่อยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแมลงเศรษฐกิจ วันที่ 27 มกราคม 2566 ณ แปลงใหญ่กาแฟ หมู่ที่ 8 ต าบลเทพเสด็จ อ าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โครงการที่ 8


23 โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรชีวภาพ กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแมลงเศรษฐกิจ ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรม ถ่ายทอดความรู้ด้านแมลงเศรษฐกิจ


24 ศึกษาดูงานตามประเด็นการจัดเวทีวิเคราะห์ความต้องการในการพัฒนาความรู้ด้านแมลงเศรษฐกิจ โครงการส่งเสริม และพัฒนาสินค้าเกษตรชีวภาพ กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแมลงเศรษฐกิจ


25 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายวรวิทย์ มหาวันชัย ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 6434 04204


26 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 พัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ด้านการผลิตและกระบวนการจัดการสินค้าเกษตรอินทรีย์ บนพื้นฐาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ า 2.2 เกษตรกรได้รับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น และสามารถบริหารจัดการทรัพยากร ทางการเกษตรอย่างสมดุลและ ยั่งยืน 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. อบรมเกษตรกรเข้าสู่ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (รายใหม่ ปี 66) 15,750 105 เกษตรกรรายใหม่ ปี 66 จ านวน 105 คน ได้แก่ อ าเภอแม่อาย อ าเภอแม่แตง อ าเภอพร้าว และ อ าเภอแม่ออน 2. อบรมเกษตรกรเข้าสู่ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และศึกษาดูงาน (รายเดิม ปี 2565) 23,940 133 เกษตรกรรายเดิม ปี 65 จ านวน 133 คน ได้แก่ อ าเภอฝาง อ าเภอเชียงดาว อ าเภอพร้าว อ าเภอสันทราย 3. ติดตามให้ค าปรึกษา แนะน าและตรวจประเมิน แปลงเบื้องต้น 88,060 238 เกษตรกรรายใหม่ ปี 66 จ านวน 105 คน ได้แก่ อ าเภอแม่อาย อ าเภอแม่แตง อ าเภอพร้าว และ อ าเภอแม่ออน เกษตรกรรายเดิม ปี 65 จ านวน 133 คน ได้ แก่ อ าเภอฝาง อ าเภอเชียงดาว อ าเภอพร้าว อ าเภอสันทราย 4. สนับสนุนปัจจัยการ ผลิตเกษตรอินทรีย์ 147,560 238 รวม 275,310 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. อบรมเกษตรกรเข้าสู่ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (รายใหม่ ปี 66) เกษตรกรรายใหม่ ปี 66 จ านวน 105 คน ได้แก่ อ าเภอแม่อาย อ าเภอแม่แตง อ าเภอ พร้าว และอ าเภอแม่ออน ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในเรื่อง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ หลักเกณฑ์และแนว ทางการตรวจประเมินแปลงเบื้องต้นและการตรวจรับรองของหน่วยตรวจรับรอง ตามระบบมาตรฐาน อินทรีย์ 2 . อบรมเกษตรกรเข้ าสู่ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เกษตรกรรายเดิม ปี 65 จ านวน 133 คน ได้แก่ อ าเภอฝาง อ าเภอเชียงดาว อ าเภอพร้าว อ าเภอสันทราย โครงการที่ 9


27 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน แ ล ะ ศึ ก ษ า ดู ง า น (รายเดิม ปี 2565) ได้รับการถ่ายทอดความรู้ พัฒนาเกษตรกรเป้าหมายโดยเน้นหนักให้กับ เกษตรกรที่ผ่านการอบรม เมื่อปี 2565 และผลักดันให้เกษตรกรได้รับการรับรอง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์+จัดการศึกษาดูงาน ในแหล่งที่ประสบความส าเร็จ เพื่อจูงใจให้ เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3. ติดตามให้ค าปรึกษา แนะน าและตรวจประเมิน แปลงเบื้องต้น จัดท าแผนออกติดตามให้ค าปรึกษาแนะน าเกษตรกร, เอกสารสนับสนุนตามระบบ การจัดการคุณภาพและมาตรฐาน อินทรีย์, เอกสารที่เกี่ยวข้อง ท าการนัดหมาย เกษตรกรเป้าหมายครบทุกราย เพื่อออกให้ค าปรึกษาแนะน าและตรวจประเมินแปลง เบื้องต้นให้กับเกษตรกร จ านวนรายละ 2 ครั้ง 4. สนับสนุนปัจจัยการ ผลิตเกษตรอินทรีย์ การจัดเวทีเพื่อรับทราบความต้องการสนับสนุนปัจจัยการผลิตเกษตรอินทรีย์ อ าเภอด าเนินการจัดซื้อตามความต้องการ และส่งมอบให้เกษตรกรทุกราย 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายเรวัต แก้วเลิศตระกูล ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8985 28781


28 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มท าการผลิตสินค้าเกษตร ด้านสินค้าพืช ปศุสัตว์ และประมง มีการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อให้เกิดการรวมกันผลิตและรวมกันจ าหน่ายโดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน 2.2 เพื่อให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและมีผลผลิตต่อหน่วยเพิ่มขึ้น รวมทั้งผลผลิตมีคุณภาพ ได้มาตรฐานภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 2.3 พัฒนาสมาชิกแปลงใหญ่สู่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อม (SME) 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินงาน การบริหารจัดการ ถ่ายทอดความรู้ 392,000 39 แปลง อ าเภอด าเนินการถ่ายทอดความรู้ 2 ครั้ง ให้แปลงใหญ่จ านวน 39 แปลง ในพื้นที่ 19 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอจอมทอง แม่แจ่ม แม่แตง แม่ริม แม่อาย แม่วาง แม่ออน เชียงดาว ฮอด ดอยสะเก็ด ฝาง พร้าว สันป่าตอง สันก าแพง สันทราย หางดง สารภี เวียงแหง อมก๋อย ส่งเสริมการสร้าง มูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร แปลงปี 2564 และปี 2565) 890,000 23 แปลง จังหวัดด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้แปลงใหญ่ จ านวน 23 แปลง ในพื้นที่ 17 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่แจ่ม แม่แตง แม่ริม แม่อาย แม่วาง แม่ออน เชียงดาว ฮอด ดอยสะเก็ด ฝาง พร้าว สันป่าตอง สันก าแพง สันทราย หางดง สารภี เวียงแหง ส่งเสริมการจัดท าแปลง เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต (แปลงปี 2566) 600,000 13 แปลง จังหวัดด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้แปลงใหญ่ จ านวน 13 แปลง ในพื้นที่ 9 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอจอมทอง แม่แตง แม่ริม แม่วาง พร้าว สันก าแพง สันทราย อมก๋อย เวียงแหง จัดประชุมเชี่อมโยงการ ด าเนินงานคณะกรรมการ เครือข่าย ศพก. และ แปลงใหญ่ 114,000 4 ครั้ง ระดับอ าเภอ 25 อ าเภอ และระดับจังหวัด การติดตามประเมินผล โครงการ 78,000 39 แปลง 19 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอจอมทอง แม่แจ่ม แม่แตง แม่ริม แม่อาย แม่วาง แม่ออน เชียงดาว ฮอด ดอยสะเก็ด ฝาง พร้าว สันป่าตอง สันก าแพง สันทราย หางดง สารภี เวียงแหง อมก๋อย โครงการที่ 10


29 กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินงาน การประกวดแปลงใหญ่ 25,000 1 จังหวัด อ าเภอคัดเลือกแปลงใหญ่ระดับอ าเภอเพื่อ เสนอให้จังหวัดจ านวน 25 อ าเภอ และจังหวัดคัดเลือกแปลงใหญ่ระดับจังหวัด จาก 25 อ าเภอ รวม 2,099,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน การบริหารจัดการ ถ่ายทอดความรู้ ด าเนินการอบรมถ่ายทอดความรู้จ านวน 2 ครั้ง ครบทั้ง 39 แปลง ส่งเสริมการสร้าง มูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร แปลงปี 2564 และปี 2565) ด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างเรียบร้อยแล้ว โดยเป็นปัจจัยการผลิตในด้านการเพิ่มมูลค่า สินค้าเกษตร เช่น สารเคมีป้องกันและก าจัดโรคพืช/ศัตรูพืช ถุงห่อผลไม้ บรรจุภัณฑ์ สติกเกอร์ ส่งเสริมการจัดท าแปลง เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต (แปลงปี 2566) ด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างเรียบร้อยแล้ว โดยเป็นปัจจัยการผลิตในการจัดท าแปลง เรียนรู้ เช่น สารเคมีป้องกันและก าจัดโรคพืช/ศัตรูพืช แม่ปุ๋ย ป้ายแปลงเรียนรู้ จัดประชุมเชี่อมโยงการ ด าเนินงานคณะกรรมการ เครือข่าย ศพก. และ แปลงใหญ่ ด าเนินการจัดประชุมเชื่อมโยงการด าเนินงานคณะกรรมการเครือข่าย ศพก. และ แปลงใหญ่ ครบทั้ง 4 ครั้ง ทั้งระดับอ าเภอ และจังหวัด การติดตามประเมินผล โครงการ จังหวัดและอ าเภอด าเนินการติดตามประเมินผลโครงการ ในพื้นที่ 19 อ าเภอ การประกวดแปลงใหญ่ ด าเนินการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น โดยมีผลการประกวด ดังนี้ - รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ - รางวัลชมเชย จ านวน 3 รางวัล ได้แก่ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


30 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวกนกวรรณ เนียมทรัพย์ ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8691 34747


31 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร โดยส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยมีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการการผลิตและการตลาด ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาด 2.3 เพื่อพัฒนาเกษตรกรรายย่อยสู่ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้แก่ เกษตรกร 26,250 75 อ.แม่แจ่ม อ.เชียงดาว 2. จัดท าแปลงเรียนรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 15,000 2 แปลง อ.แม่แจ่ม อ.เชียงดาว รวม 41,250 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ถ่ายทอดความรู้ เกษตรกร 75 ราย ได้รับองค์ความรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ แปลงเรียนรู้ มีแปลงเรียนรู้ให้เกษตรกรได้ศึกษา 2 แปลง 6 ไร่ การประชุมเชื่อมโยง ตัวแทนเกษตรกร ได้มีโอกาสพบปะกับผู้ประกอบการ 6 ครั้ง 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน โครงการที่ 11


32 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


33 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟเพื่อความยั่งยืน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้และทักษะในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนาคุณภาพผลผลิต การแปรรูป และการเพิ่มมูลค่าสินค้ากาแฟเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2.2 เพื่อทราบข้อมูลสถานการณ์การผลิตของกาแฟอะราบิกา และโรบัสตาในประเทศไทย 2.3 เพื่อปลูกจิตส านึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแก่เกษตรกร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. พัฒนาความรู้ และ เสริมสร้างความเข้าใจ เพื่อ การผลิตอย่างมี ประสิทธิภาพ 30,000 75 1. แปลงกาแฟ บ้านห้วยปู ต.แม่แดด อ.กัลยาณิวัฒนา 2. แปลงกาแฟ บ้านปางจ าปี ต .ห้ ว ย แ ก้ ว อ .แ ม่ อ อ น 3. แปลงกาแฟ บ้านโป่งแยง นอก ต.โป่งแยง อ.แม่ริม 2. เพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต การพัฒนาคุณภาพ ผลผลิต การแปรรูป และ การเพิ่มมูลค่าสินค้ากาแฟ 105,000 75 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการ เกษตรที่สูง ต าบลวาวี อ าเภอแม่สรวย จังหวัด เชียงราย 3. ติดตามและประเมินผล การด าเนินงาน 1,000 - 1. แปลงกาแฟ บ้านห้วยปู ต.แม่แดด อ.กัลยาณิวัฒนา 2. แปลงกาแฟ บ้านปางจ าปี ต .ห้ ว ย แ ก้ ว อ .แ ม่ อ อ น 3. แปลงกาแฟ บ้านโป่งแยง นอก ต.โป่งแยง อ.แม่ริม รวม 136,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. พัฒนาความรู้ และ เสริมสร้างความเข้าใจ เพื่อการผลิตอย่างมี ประสิทธิภาพ เกษตรกร จ านวน 75 ราย ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอกัลยาณิวัฒนา อ าเภอแม่ ออน และอ าเภอแม่ริม ได้รับการถ่ายทอดความรู้เกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ ในเรื่องเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนาคุณภาพผลผลิต การแปรรูป และการ เพิ่มมูลค่าสินค้ากาแฟ โครงการที่ 12


34 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 2. เพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต การพัฒนาคุณภาพ ผลผลิต การแปรรูป และ การเพิ่มมูลค่าสินค้ากาแฟ 1. ศึกษาดูงานกลุ่มผู้ผลิตกาแฟ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูง ต าบลวาวี อ าเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับ การพัฒนาการผลิตกาแฟ แบบครบวงจร 2. จัดท าแปลงเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการสวนกาแฟและสนับสนุนปัจจัยการ ผลิต จ านวน 3 แปลงๆละ 2 ไร่ ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอกัลยาณิวัฒนา อ าเภอ แม่ออน และอ าเภอแม่ริม 3. ติดตามและประเมิน ผลการด าเนินงาน ติดตามผลการด าเนินงานร่วมกับกลุ่มไม้ยืนต้น กรมส่งเสริมการเกษตร จ านวน 1 ครั้ง ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอกัลยาณิวัฒนา อ าเภอแม่ออน และอ าเภอแม่ริม 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายเรวัต แก้วเลิศตระกูล ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8985 28781


35 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชตระกูลถั่วเพื่อความมั่นคงด้านอาหาร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร 2.2 เพื่อพัฒนาศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่วชุมชน 2.3 เพื่อด าเนินการรณรงค์และประชาสัมพันธ์การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่วชุมชน 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินงาน จัดเวทีวิเคราะห์และจัดท า แผนการผลิต 12,000 60 ราย อ าเภอด าเนินการจัดเวทีในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง การถ่ายทอดความรู้ ให้เกษตรกร - ถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกร - จัดท าแปลงเรียนรู้การผลิต เมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว - จัดท าแปลงส่งเสริมการผลิต เมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว - บันทึกกิจกรรมแปลง ของสมาชิกศูยน์ฯ รายบุคคล 24,000 42,000 157,500 900 60 ราย 3 ศูนย์ 3 ศูนย์ 60 ราย อ าเภอด าเนินการจัดเวทีในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง จังหวัดด าเนินการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ ไรโซเบียม และปัจจัยการผลิตให้ศูนย์ จ านวน 3 ศูนย์ ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง จังหวัดด าเนินการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ ไรโซเบียม และปัจจัยการผลิตให้ศูนย์ จ านวน 3 ศูนย์ ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง อ าเภอด าเนินการจัดเก็บข้อมูลตามแบบ บันทึกฯ ของเกษตรกรสมาชิกศูนย์ 3 ศูนย์ ในพื้นที่อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง รณรงค์และประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการปลูกพืช ตระกูลถั่ว 31,000 1 จังหวัด จังหวัดด าเนินการ รวม 267,400 โครงการที่ 13


36 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน จัดเวทีวิเคราะห์และจัดท า แผนการผลิต อ าเภอด าเนินการจัดเวทีวิเคราะห์และจัดท าแผนการผลิตให้แก่สมาชิกศูนย์ 3 ศูนย์ ศูนย์ละ 20 ราย ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง การถ่ายทอดความรู้ ให้เกษตรกร - ถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกร - จัดท าแปลงเรียนรู้การผลิต เมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว - จัดท าแปลงส่งเสริมการผลิต เมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว - บันทึกกิจกรรมแปลง ของสมาชิกศูยน์ฯ รายบุคคล อ าเภอด าเนินการจัดเวทีวิเคราะห์และจัดท าแผนการผลิตให้แก่สมาชิกศูนย์ 3 ศูนย์ ศูนย์ละ 20 ราย ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง จังหวัดด าเนินการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ ไรโซเบียม และปัจจัยการผลิตให้ศูนย์ จ านวน 3 ศูนย์ ศูนย์ละ 5 ไร่ ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง จังหวัดด าเนินการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ ไรโซเบียม และปัจจัยการผลิตให้ศูนย์ จ านวน 3 ศูนย์ ศูนย์ละ 35 ไร่ ในพื้นที่ 3 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง อ าเภอด าเนินการจัดเก็บข้อมูลตามแบบบันทึกฯ ของเกษตรกรสมาชิกศูนย์ 3 ศูนย์ ศูนย์ละ 20 ราย ในพื้นที่อ าเภอแม่ริม แม่แตง และสันป่าตอง รณรงค์และประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการปลูกพืช ตระกูลถั่ว จังหวัดด าเนินการจัดจ้างท าสื่อประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการปลูกพืชตระกูลถั่ว การผลิตเมล็ดพันธุ์พืช การปลูกพืชหมุนเวียน และพืชน้ าน้อย 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


37 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวกนกวรรณ เนียมทรัพย์ ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8691 34747


38 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2.วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อให้เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร มีองค์ความรู้ มีแนวทางในการประกอบอาชีพการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2.2 เพื่อให้เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรมีโอกาสในการร่วมก าหนดแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่การเกษตร และการบริหารจัดการกลุ่ม ในการวางแผนการผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัด 2.3 เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพการผลิตสินค้าไม้ดอกไม้ประดับให้มีคุณภาพดี มีความปลอดภัยได้ มาตรฐานสู่สากล โดยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ท าให้มูลค่าสินค้าไม้ดอกไม้ประดับเพิ่มขึ้น 2.๔ เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมศักยภาพของกลุ่มเกษตรกรในการพัฒนาเข้าสู่โครงการระบบส่งเสริม เกษตรแบบแปลงใหญ่ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. จัดเวทีวิเคราะห์จัดท าแผนการผลิตสินค้า 24,000 เกษตรกร 60 ราย อ. แม่ริม อ. ดอยสะเก็ด อ. แม่ออน 2. ถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกร 135,000 เกษตรกร 60 ราย แปลงเรียนรู้ 2 แปลง อ. แม่ริม อ. ดอยสะเก็ด อ. แม่ออน รวม 159,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ถ่ ายทอ ดความ รู้ให้ กับ เกษตรกร เกษตรกร 60 ราย มีความรู้ สามารถผลิตไม้ดอกไม้ประดับที่มีคุณภาพและตรงกับ ความต้องการของตลาด เกษตรกรมีรายได้ที่ดีจากการผลิตไม้ดอกไม้ประดับที่มีคุณภาพ มีแหล่งเรียนรู้การ ผลิตไม้ดอกไม้ประดับในชุมชนที่สามารถศึกษาดูงานได้ รวมทั้งไม้ดอกไม้ประดับของ ประเทศไทยมีคุณภาพดี และสามารถแข่งขันในตลาดระดับสากลได้ โครงการที่ 14


39 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


Click to View FlipBook Version