The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nareekan suchaikam, 2023-12-11 22:55:18

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

40 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผักแบบครบวงจร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผักแบบครบวงจร และสามารถถ่ายทอดให้กับ เกษตรกรได้ 2 .2 เพื่ อให้เกษ ตรกรตระหนักถึงความส าคัญ ของการผลิตผักให้ปลอดภัย และสาม ารถผลิตผัก ที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ 2 .3 เพื่ อให้เกษ ต รก รเกิดก าร รวมก ลุ่ม ส าม ารถบ ริห ารจัดก ารก ารผลิตแ ละก ารตล าด ร่ วม กัน และมีความพร้อมในการก้าวสู่กระบวนการท าการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ต่อไป 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้ในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตพืชผัก แบบครบวงจรแก่เกษตรกร 10,000 25 ราย กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดภัย ต าบลท่าวังตาล อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 1.1 อบรมถ่ายทอดความรู้ให้แก่ เกษตรกร ตามหลักสูตรที่วิเคราะห์ ปัญหาและตามความต้องการของ เกษตรกร 5,000 25 ราย กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดภัย ต าบลท่าวังตาล อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 1.2 จัดประชุมเชื่อมโยงการผลิต และการตลาดผัก 5,000 25 ราย กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดภัย ต าบลท่าวังตาล อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 2 .จัดท าแปล งเรียน รู้การผลิต พืชผักแบบครบวงจร 12,000 1 แปลง กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดภัย ต าบลท่าวังตาล อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ รวม 22,000 25 ราย 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) 4.1 ผลผลิต (output) เจ้าหน้าที่สามารถให้ความรู้และค าแนะน า ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผักแบบครบวงจร 4.2 ผลลัพธ์ (outcome) เกษตรกรมีความรู้และสามารถผลิตผักแบบครบวงจรได้อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการที่ 15


41 4.3 ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ เกษตรกรจ านวน 300 ราย ได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผักแบบ ครบวงจร เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตผักให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


42 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางนงคราญ ไชยพรมมา ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 9810 14563


43 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น กิจกรรม ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรตามอัตลักษณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่น............... 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อสร้างอาชีพและรายได้จากสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นแก่เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร 2 2.เพื่อส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นและพัฒนาช่องทางการตลาด 2 3.เพื่อพัฒนาความรู้และเพิ่มศักยภาพกระบวนการท างานในพื้นที่ส าหรับการพัฒนาสินค้าไม้ผลตามอัตลักษณ์และ ภูมิปัญญาที่เหมาะสมให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน แข่งขันทางการตลาดได้ 2 4.เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นสู่ผู้บริโภคให้มีความรู้ความเข้าใจถึงถิ่นก าเนิด เกิดการสร้าง มูลค่าเพิ่มด้วยมาตรฐานการรับรอง GI 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ ด าเนินงาน 1. พัฒนาเกษตรกรผลิตสินค้าไม้ผลอัตลักษณ์พื้นถิ่นที่เหมาะสม กับพื้นที่สู่มาตรฐานสร้างความเข้มแข็งขององค์กร 89,000 แปลงใหญ่ เงาะต.บ้านช้าง อ.แม่แตง 1.1 จัดอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสินค้าไม้ผลอัตลักษณ์ พื้นถิ่น 9,000 30 ราย 1.2 จัดท าแปลงเรียนรู้การผลิตไม้ผลอัตลักษณ์ที่ได้มาตรฐาน 50,000 1 แปลง ๑.๓ พัฒนาสินค้าไม้ผลอัตลักษณ์สู่กระบวนการรับรองสินค้า GI และตรวจสอบย้อนกลับได้ ๓๐,๐๐๐ ๑ สินค้า 2. พัฒนาการสร้างมูลค่าเพิ่ม การตลาด การประชาสัมพันธ์และ เผยแพร่สินค้าไม้ผลอัตลักษณ์คุณภาพดีสู่ผู้บริโภค 60,000 2.1 พัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าผลไม้อัตลักษณ์ ๓๐,๐๐๐ 1 สินค้า 2.2 พัฒนาจุดรวบรวมและการจัดชั้นคุณภาพไม้ผลอัตลักษณ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓๐,๐๐๐ ๑ จุด 3. บริหารงานตามยุทธศาสตร์ผลไม้ 337,500 3.1 ติดตามคาดคะเนสถานการณ์ผลไม้ระดับจังหวัด ๑๕,๐๐๐ ๓ ครั้ง 3.2 ติดตามคาดคะเนสถานการณ์ผลไม้ระดับอ าเภอ ๓๗,๕๐๐ ๓ ครั้ง/ อ าเภอ ๒๔ อ าเภอ ย ก เ ว้ น อ . กัลยาฯ 3.3 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดท าข้อมูลประมาณการผลผลิตไม้ผล 3.3.1 ส ารวจแปลงพยากรณ์เพื่อประเมินสถานการณ์ผลผลิต ไม้ผลระดับอ าเภอ ๓๗,500 ๓ ครั้ง/ อ าเภอ ๒๔ อ าเภอ ยกเว้น อ. กัลยาฯ โครงการที่ 16


44 กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ ด าเนินงาน 3.3.2 จัด Focus Group เพื่อสรุปข้อมูลการประเมิน สถานการณ์ผลผลิตใน แปลงพยากรณ์ - ระดับอ าเภอ ๒๑๖,๐๐๐ ๓ ครั้ง/ อ าเภอ ๒๔ อ าเภอ ย ก เ ว้ น อ . กัลยาฯ - ระดับจังหวัด ๓๑,๕๐๐ ๓ ครั้ง 4. บริหารจัดการโครงการ 15,000 4.1 ติดตาม และประเมิลผล ๕,๐๐๐ ๔.๒ สรุปผลโครงการ ๑๐,๐๐๐ รวม 501,500 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. พัฒนาเกษตรกรผลิตสินค้าไม้ผลอัตลักษณ์พื้นถิ่นที่เหมาะสมกับพื้นที่สู่มาตรฐานสร้างความเข้มแข็งของ องค์กร 1 .1 จัดอบ รมถ่ ายทอด เทคโนโลยีการผลิตสินค้าไม้ ผลอัตลักษณ์พื้นถิ่น ด าเนินการอบรมถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรผู้ปลูกเงาะต าบลบ้านช้าง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ จ านวน ๓๐ ราย หลักสูตรเทคโนโลยีการผลิตเงาะคุณภาพ ,การพัฒนาสู่การรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์,การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน 1.2 จัดท าแปลงเรียนรู้การ ผลิ ตไม้ ผลอั ต ลั กษ ณ์ ที่ได้ มาตรฐาน สนับสนุนวัสดุการเกษตรที่จ าเป็นในการผลิตเงาะให้มีคุณภาพ ได้แก่ ปุ๋ยเคมี ฮฮร์โมน สารเคมีป้องกันก าจัดโรคพืชและแมลง กรรไกรตัดกิ่งด้ามยาว และป้าย แปลงเรียนรู้ จ านวน ๒ แปลง ๑.๓ พัฒนาสินค้าไม้ผลอัต ลักษณ์สู่กระบวนการรับรอง สินค้า GI และตรวจสอบ ย้อนกลับได้ ด าเนินการ ดังนี้ 1. จัดท า website แสดงข้อมูลแหล่งผลิตไม้ผลอัตลักษณ์ปี 2566 เพื่อการ ตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งที่มาของสินค้าไม้ผลอัตลักษณ์ ในรูปแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาจีน รวมทั้งมีการจัดท าลิงค์ที่สามารถเชื่อมโยงไปยัง Facebook ของกลุ่มเกษตรกร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เว็บไซต์จะต้อง ด าเนินงานบนแพลตฟอร์มที่ไม่มีค่าใช้จ่ายในเรื่องค่าพื้นที่ส าหรับจัดเก็บข้อมูล และค่าธรรมเนียมใดๆ จากการใช้เว็บไซต์ที่จะมีการเรียกเก็บในภายหลัง ๒.จัดท า Sticker ที่มี QR Code ติดบนบรรจุภัณฑ์หรือผลผลิต จ านวน ๒๐๐ ชิ้น ๓. จัดท า Tag ที่มี QR Code เพื่อติดบนบรรจุภัณฑ์จ านวน ๒๐๐ ชิ้น ๔. จัดท าข้อมูลประชาสัมพันธ์สินค้าไม้ผลอัตลักษณ์ในรูปแบบ ebook และต้อง แสดงผลใน website ด้วย ๕. จัดท า X Stand ขนาด 60 x 160 cm แสดงแหล่งข้อมูลสินค้าไม้ผลอัต ลักษณ์ ๓ อัน


45 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 2. พัฒนาการสร้างมูลค่าเพิ่ม การตลาด การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่สินค้าไม้ผลอัตลักษณ์คุณภาพดีสู่ ผู้บริโภค 2.1 พัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อ เพิ่มมูลค่าผลไม้อัตลักษณ์ สนับสนุนกล่องบรรจุภัณฑ์ขนาด ๕ กก. แสดงข้อมูลไม้ผลอัตลักษณ์ Story ช่อง ทางการติดต่อสั่งซื้อผลผลิตจากเกษตรกร จ านวน ๒๐๐ ใบ 2.2 พัฒนาจุดรวบรวมและ การจัดชั้นคุณภาพไม้ผลฯ สนับสนุนเข่งคุณภาพดี ขนาด ๕๐ กก.เพื่อคัดแยกและรวบรวมผลผลิตเงาะแม่ แตงแก่กลุ่มเกษตรกร จ านวน ๘๐ ใบ 3. บริหารงานตามยุทธศาสตร์ผลไม้ 3.1 ,๓.๒ ติดตามคาดคะเน ส ถ าน ก า รณ์ ผ ลไม้ ร ะ ดั บ จังหวัดและอ าเภอ ติดตามสถานการณ์ไม้ผลในพื้นที่อ าเภอและจังหวัด จ านวน ๓ ครั้ง/จว.และ ๒๔ อ าเภอ เพื่อคาดการณ์การติดดอก-ติดผล-เก็บเกี่ยว-การตลาด ของไม้ผล ล าไย ลิ้นจี่ มะม่วง และอื่นๆ 3.3 เพิ่มประสิทธิภาพการ จัดท าข้อมูลประมาณการ ผลผลิตไม้ผล 3.3.1 ส ารวจแปลงพยากรณ์ เพื่อประเมินสถานการณ์ ผลผลิตไม้ผลระดับอ าเภอ ติดตามส ารวจแปลงพยากรณ์จ านวน ๒๔ อ าเภอๆ ละ ๓ ครั้ง ในพื้นที่เป้าหมาย ทุกต าบลที่มีไม้ผล ต าบลละ ๔ แปลง (แปลงหลัก ๑ แปลง ส ารอง ๓ แปลง) 3 .3 .2 จั ด Focus Group เพื่อสรุปข้อมูลการประเมิน สถานการณ์ผลผลิตใน แปลง พยากรณ์ระดับจังหวัดและ อ าเภอ ด าเนินการประชุมจัด Focus Group เพื่อสรุปข้อมูลการประเมินสถานการณ์ ผลผลิตใน แปลงพยากรณ์ระดับจังหวัดและอ าเภอ จ านวน ๓ ครั้ง 4. บริหารจัดการโครงการ 4.1 ติดตาม และประเมิลผล ติดตามการด าเนินงานไม้ผลอัตลักษณ์ (เงาะแม่แตง) ของเกษตรกร จ านวน ๓ ครั้ง ๔.๒ สรุปผลโครงการ จัดท าสรุปผลโครงการจ านวน ๕ เล่มและจัดซื้อวัสดุส านักงาน 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


46 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวสุภาพร ศรีวิชัย ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8163 53591


47 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น กิจกรรม พัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่น 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตรให้มีความสมบูรณ์เป็นปัจจุบัน และสะดวกต่อการใช้งาน สามารถน าไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์ได้ 2.2 เพื่อเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านเกษตรเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์ พื้นถิ่น 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. กิจกรรมพัฒนาฐาน ข้อมูลภูมิปัญญา ท้องถิ่นและนวัตกรรมในงานส่งเสริม การเกษตร - - พื้นที่ 25 อ าเภอ ใน จังหวัดเชียงใหม่ 2. กิจก รรมการพัฒนาต่อยอดองค์ ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร เพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่น 1 จุดใหม่ ที่ด าเนินการ ปี พ.ศ. 2566 - เวทีที่ 1 เพื่อค้นหาองค์ความรู้ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น และปรับกระบวนทัศน์ 8,000 20 ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนดาวม่างงานผ้าใย กัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 3. กิจกรรมการพัฒน าต่อยอดองค์ ค ว า ม รู้ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ด้ า น การเกษตรเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้น ถิ่น 1 จุดใหม่ที่ด าเนินการ ปี พ.ศ. 2566 - เวทีที่ 2 เพื่อวิเคราะห์ชุมชนและร่วม ก าหนดเป้าหมายในการพัฒน าภูมิ ปัญญาท้องถิ่น 8,000 20 (รายเดิม) ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนดาวม่างงานผ้าใย กัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 3. กิจกรรมการพัฒน าต่อยอดองค์ ค ว า ม รู้ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ด้ า น การเกษตรเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้น ถิ่น 1 จุดใหม่ที่ด าเนินการ ปี พ.ศ. 2566 - เวทีที่ 2 เพื่อวิเคราะห์ชุมชนและร่วม ก าหนดเป้าหมายในการพัฒน าภูมิ ปัญญาท้องถิ่น 8,000 20 (รายเดิม) ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนดาวม่างงานผ้าใย กัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ โครงการที่ 17


48 กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 4. กิจกรรมการพัฒนาต่อยอดองค์ ค ว า ม รู้ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้อง ถิ่ น ด้ า น การเกษตรเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้น ถิ่น 1 จุดใหม่ที่ด าเนินการ ปี พ.ศ. 2566 – เวทีที่ 3 เพื่อก าหนดแนวทางการ พัฒนาอัตลักษณ์พื้นถิ่นจากภูมิปัญญา ของชุมชน และกลไกขับเคลื่อนของ ชุมชน 8,000 20 (รายเดิม) ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนดาวม่างงานผ้าใย กัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 5. กิจกรรมการพัฒนาต่อยอดองค์ ค ว า ม รู้ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อง ถิ่ น ด้ า น การเกษตรเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้น ถิ่น 1 จุดใหม่ที่ด าเนินการ ปี พ.ศ. 2566 - เวทีที่ 4 เพื่อสรุปบทเรียน คืนข้อมูล สู่ชุมชน และร่วมกันวางแผนเชื่อมโยง แผนพัฒนากับเครือข่ายต่าง ๆ ในการ พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมชาวบ้านเพื่อ สร้างคุณค่าและรายได้จากสินค้าและ บริการที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชน 8,000 20 (รายเดิม) ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนดาวม่างงานผ้าใย กัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ รวม 24,000 20 ราย 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. กิจก รรมพัฒนาฐาน ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น แล ะ น วั ตก รรมในงาน ส่งเสริมการเกษตร ส ารวจและเก็บข้อมูลด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น และข้อมูลนวัตกรรมด้านการเกษตร ได้ ด าเนินการพัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรจากข้อมูลที่มีอยู่, ส ารวจและจัดเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรใหม่ประจ าปี พ.ศ. 2566 และตรวจสอบความสมบูรณ์ของฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ได้ด าเนินการรวบรวมไว้ และเผยแพร่ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตร เพื่อให้มี ความสะดวกและง่ายต่อการสืบค้นข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้าน การเกษตรไว้ในจุดเดียว 2. กิจกรรมการพัฒนาต่อ ยอดองค์ความรู้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้านการเกษตรเพื่อ เสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่น 1 จุดใหม่ที่ ด าเนิ น ก า ร ปี พ.ศ. 2566 - เวทีที่ 1 เพื่อค้นหาองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และปรับกระบวนทัศน์ ด าเนินการ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2566 ณ ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดาวม่างงานผ้าใยกัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ - เวทีที่ 2 เพื่อวิเคราะห์ชุมชนและร่วมก าหนดเป้าหมายในการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ด าเนินการเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2566 ณ ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดาวม่างงาน ผ้าใยกัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่


49 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน - เวทีที่ 3 เพื่อก าหนดแนวทางการพัฒนาอัตลักษณ์พื้นถิ่นจากภูมิปัญญาของชุมชน และ กลไกขับเคลื่อนของชุมชน ด าเนินการเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ ที่ท าการกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนดาวม่างงานผ้าใยกัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ - เวทีที่ 4 เพื่อสรุปบทเรียน คืนข้อมูลสู่ชุมชน และร่วมกันวางแผนเชื่อมโยงแผนพัฒนา กับเครือข่ายต่าง ๆ ในการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมชาวบ้านเพื่อสร้างคุณค่าและรายได้ จากสินค้าและบริการที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชน ด าเนินการเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2566 ณ ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดาวม่างงานผ้าใยกัญชง ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ. เชียงใหม่ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


50 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายศราวุฒิ ปิงเขียว ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8955 96034


51 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าในระดับไร่นา 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าในระดับไร่นาแก่เกษตรกร 2.2 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ในการให้น้ าตามความต้องการน้ าของพืช การดูแลรักษาความชื้นของดิน 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1 การถ่ายทอดความรู้แก่ เกษตรกรโดยวิธีการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม 12,500 50 ด าเนินการในพื้นที่ อ าเภอ สารภี 2จัดท าแปลงเรียนรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ า ในระดับไร่นาในชุมชน 30,000 1 แปลง ด าเนินการในพื้นที่ อ าเภอ สารภี 3 ติ ด ต า ม นิ เ ท ศ ประเมินผลการด าเนินงาน และสรุปรายงาน 1,500 1 ครั้ง ด าเนินการในพื้นที่ อ าเภอ สารภี รวม 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1 การถ่ายทอดความรู้แก่ เก ษ ต ร ก รโด ย วิ ธี ก า ร เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 2 จัดท าแปลงเรียนรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ น้ าในระดับไร่นาในชุมชน 3ติ ด ต า ม นิ เ ท ศ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ด าเนิ นง าน แ ล ะ ส รุป รายงาน - เกษตรกร มีการใช้น้ าอย่างมีประสิทธิภาพในระดับไร่นาได้ผลตอบแทนสูงขึ้น สามารถใช้ประโยชน์ จากแปลงเรียนรู้ เพื่อการผลิตในไร่นาของตนเองได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพในชุมชน 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ภาพประกอบ ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรโดยวิธีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม“การใช้น้ าอย่างรู้คุณค่าส าหรับ เกษตรกร เกษตรกร 50 ราย โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าระดับไร่นา วันที่ 19 มกราคม 2566 ณ ที่ท าการแปลงใหญ่ล าไย ต าบลชมภู อ าเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ วิทยากรโดย สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 19 เชียงใหม่ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน โครงการที่ 18


52


53 วัสดุจัดท าแปลงเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าในระดับไร่นา ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายวรวิทย์ มหาวันชัย ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 6434 04204


54 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกรให้มีความครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน 2.2 เพื่อจัดเก็บข้อมูลผังแปลงเพาะปลูกของเกษตรกร ให้มีความครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน 2.3 เพื่อน าข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรที่ได้รับการปรับปรุง ตรวจสอบแล้ว มาวิเคราะห์ ประมวลผลใน ภาพรวมของประเทศที่ถูกต้อง สามารถน าไปเผยแพร่ บูรณาการใช้ประโยชน์ได้ทั่วไปทั้งภาครัฐและเอกชน 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ปรับปรุงข้อมูลทะเบียน เกษตรกรให้เป็นปัจจุบัน 1.1 ติดตามการจัดเก็บและ ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร ให้เป็นปัจจุบัน 1.2 ค่าอินเทอร์เน็ตส าหรับใช้กับ Tablet ในการปรับปรุงทะเบียน และวาดแปลง (ค่าสาธารณูปโภค) 48,840 บาท 507,600 บาท 148,000 ครัวเรือน 141 หมายเลข 25 อ าเภอ 25 อ าเภอ รวม 556,440 บาท 148,000 ครัวเรือน/ 141 หมายเลข 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. ปรับปรุงข้อมูลทะเบียน เกษตรกรให้เป็นปัจจุบัน 1.1 ติดตามการจัดเก็บและ ปรับปรุงข้อมูลทะเบียน เกษตรกรให้เป็นปัจจุบัน 1.2 ค่าอินเทอร์เน็ตส าหรับใช้ กับ Tablet ในการปรับปรุง ทะเบียนและวาดแปลง (ค่า สาธารณูปโภค) เชิงปริมาณ จ านวนครัวเรือนเกษตรกร 148,000 ครัวเรือน มีการปรับปรุงข้อมูล ทะเบียนเกษตรกร เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของข้อมูลทะเบียนเกษตรกร สามารถน าไปประกอบการเข้าร่วม โครงการและมาตรการของภาครัฐ ผลที่ได้รับ มีการวิเคราะห์และเผยแพร่ข้อมูลทะเบียนเกษตรกรจากฐานข้อมูลทะเบียน เกษตรกรที่ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน พัฒนาการผลิต การตลาด ส่งเสริมการเกษตร บูรณาการข้อมูลร่วมกันทั้งภาครัฐ และเอกชน ซึ่งจะท าให้เกษตรกรได้รับการสนับสนุน ช่วยเหลือ และได้รับ ประโยชน์สูงสุดเกษตรลดลง ส่งผลให้สุขอนามัยของประชาชนดีขึ้น โครงการที่ 19


55 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน 1. ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกรให้เป็นปัจจุบัน 1.1 ติดตามการจัดเก็บและปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกรให้เป็นปัจจุบัน 1.2 ค่าอินเทอร์เน็ตส าหรับใช้กับ Tablet ในการปรับปรุงทะเบียนและวาดแปลง (ค่าสาธารณูปโภค) ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวสุวิมล ยิ่งโยชน์ ต าแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ เบอร์โทรศัพท์0 8178 35702


56 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาประสิทธิภาพโลจิสติกส์เกษตรเพื่อลดการสูญเสีย 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ สามารถพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับสินค้า และเพิ่มช่องทางกระจายสินค้าสู่ตลาดที่มีศักยภาพทั้งออนไลน์และออฟไลน์ 2.2 เพื่อพัฒนาตลาดเกษตรกรให้เกิดอัตลักษณ์ เกิดสินค้านวัตกรรม เป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตและแหล่ง จ าหน่ายผลผลิตทางการเกษตรหลักของเกษตรกรในพื้นที่ สร้างการรับรู้ให้บุคคลทั่วไปได้รู้จัก อย่างแพร่หลาย 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. พัฒนาความรู้และศักยภาพในการจัดการ ธุรกิจเกษตรและโลจิสติกส์ 1.1 พัฒนาความรู้และศักยภาพของเกษตรกร และเครือข่าย 13,000 10 ส านักงานเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ ตลาดเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่ 2. พัฒนาตลาดเกษตรให้มีศักยภาพ 10,000 1 จังหวัด ส านักงานเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ ตลาดเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่ รวม 23,000 10 4. ผลการด าเนินงาน กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. พั ฒ น าค ว าม รู้แ ล ะ ศักยภาพในการจัดการ ธุ ร กิ จ เ ก ษ ต ร แ ล ะ โลจิสติกส์ 1.1 พัฒนาความรู้และ ศักยภาพของเกษตรกร และเครือข่าย ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ จัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านกระบวนการต่างๆ ทั้ง ในรูปแบบออนไลน์ และออฟไลน์ โดยเน้นเกษตรกรเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ดังนี้ 1. จัดท าฐานข้อมูลตลาดเกษตรกร รายงานยอดจ าหน่ายในโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ https://farmermarket.doae.go.th/ และเว็บไซต์ตลาดเกษตรกรออนไลน์.com เป็นประจ าทั้งรายสัปดาห์ และรายเดือน เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการวางแผนการผลิต การตลาด และบริหารจัดการตลาดเกษตรกรหรือตลาดสินค้าเกษตรทั้ง Offline และ Online ในมิติต่างๆ โครงการที่ 20


57 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 2. ด าเนินการจัดเวทีวิเคราะห์/ประเมินสถานการณ์ของตลาดเกษตรกร เพื่อให้เห็น ถึงผลการด าเนินงานที่ผ่านมา และทบทวนบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร จัดการตลาดเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมทั้งร่วมกันก าหนดแนวทาง แก้ไข ปรับปรุงแนวทางการพัฒนาตลาดเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ ให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น จ านวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุมส านักงานเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 3. ด าเนินการจัดอบรมให้แก่สมาชิกเกษตรตลาดเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ จ านวน 10 ราย โดยจัดอบรมจ านวน 2 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 ในหัวข้อการการรับรองมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรเบื้องต้นและ มาตรฐานในระดับสากล และกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตสินค้าเกษตร ส าหรับตลาด Modern Trade และ ตลาดออนไลน์ โดย Young Smart Farmer จังหวัดเชียงใหม่ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2566 ณ ห้องประชุมส านักงานเกษตร จังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ การท าการตลาดออนไลน์ผ่านแพลตฟอร์ม Tiktok Seller จัดขึ้น เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2566 ณ ห้องประชุมส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และจัดศึกษาดูงานในประเด็นเรื่อง “การบริหารจัดการผลผลิตของสมาชิกเครือข่าย และการด าเนินกิจกรรมของกลุ่มฯ” และ “การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในเชิง ธุรกิจ” ณ ที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ผักปลอดภัยต าบลอุโมงค์ อ.เมือง จ.ล าพูนและที่ท าการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรบ้านแคว อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2566 4. ด าเนินการเพิ่มฐานเกษตรกรที่มีศักยภาพในการจ าหน่ายสินค้าผ่านระบบ ออนไลน์ โดยผ่านทาง www.ตลาดเกษตรกรออนไลน์.com โดยเพิ่มจ านวนขึ้นจาก ฐานข้อมูลเกษตรกรในปีงบประมาณ 2565 จ านวน 5 ราย 2. พัฒนาตลาดเกษตรให้ มีศักยภาพ ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ด าเนินการพัฒนาตลาดเกษตรกรให้เกิดรูปแบบที่ เป็นอัตลักษณ์ สามารถสื่อให้เห็นถึงความเป็นตลาดเกษตรกร โดยการจัดซื้อวัสดุเพื่อ สนับสนุนการด าเนินกิจกรรมของตลาดเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ โดยจัดซื้อผ้าคลุม เต็นท์ จ านวน 10 ผืน เพื่อทดแทนของเดิมที่อยู่ในสภาพช ารุด และเป็นการอ านวย ความสะดวกให้แก่ลูกค้าที่มาใช้บริการในตลาดเกษตรกรของจังหวัดเชียงใหม่


58 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ภาพการจัดอบรมพัฒนาความรู้และศักยภาพของเกษตรกรและเครือข่าย เวทีที่ 1 ภาพการจัดอบรมพัฒนาความรู้และศักยภาพของเกษตรกรและเครือข่าย เวทีที่ 2 การจัดอบรมพัฒนาความรู้และศักยภาพของเกษตรกรและเครือข่าย เวทีที่ 3 การศึกษาดูงาน กิจกรรมพัฒนาความรู้และศักยภาพของเกษตรกรและเครือข่าย ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายกอบลาภ แสงสุวรรณ ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8480 3977 0


59 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อยกระดับศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนให้สูงขึ้น 2.2 เพื่อสนับสนุนกลไกลการด าเนินงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2568 ให้สามารถ ส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินงาน 1.ส่งเสริมและพัฒนากิจการวิสาหกิจชุมชน 1.1 การยกระดับศักยภาพวิสาหกิจชุมชน 1.1.1 การยกระดับศักยภาพวิสาหกิจ ชุมชนจากระดับปานกลางเป็นระดับดี 25 อ าเภอ - จัดเวทีชุมชน 104,000 260 ราย - สนับสนุนงบประมาณยกระดับ ด้านส่งเสริมการผลิตและการแปรรูป 182,000 26 แห่ง 1.1.2 การยกระดับศักยภาพวิสาหกิจ ชุมชนจากระดับปรับปรุงเป็นระดับปานกลาง 5 อ าเภอ (ฝาง อมก๋อย แม่ ริม แม่แจ่ม ดอย หล่อ) - จัดเวทีชุมชน 20,000 50 ราย - สนับสนุนงบประมาณยกระดับ ด้านส่งเสริมการผลิตและการแปรรูป 35,000 5 แห่ง 1.2 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน จังหวัด 1.2.1 สนั บ สนุ น ก า รด าเนิ นง าน ของ เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 8,000 1 เครือข่าย 2. ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนต้นแบบ 2.1 ประกวดวิสาหกิจชุมชนดีเด่น 8,000 1 แห่ง 3. สนับสนุนกลไกลการด าเนินงานตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 จังหวัด 3.1 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชนจังหวัด 34,400 2 ครั้ง 3.2 ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชนจังหวัด คณะกรรมการสรรหากรรมการ ผู้แทนวิสาหกิจชุมชนจังหวัด หรือคณะท างานที่ แต่งตั้งโดยคณธกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน จังหวัด 15,750 2 ครั้ง โครงการที่ 21


60 กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินงาน 4. สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านทะเบียนวิสาหกิจ ชุมชน 25 อ าเภอ 4.1 สนับสนุนการด าเนินงานของนายทะเบียน วิสาหกิจชุมชน 75,000 25 อ าเภอ รวม 482,150 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. ส่งเสริมและพัฒนากิจการวิสาหกิจชุมชน 1.1 การยกระดับศักยภาพวิสาหกิจชุมชน 1.1.1 การยกระดับศักยภาพวิสาหกิจชุมชนจาก ระดับปานกลางเป็นระดับดี - จัดเวทีชุมชน ยกระดับศักยภาพวิสาหกิจชุมชนจากระดับปาน กลางเป็นระดับดีได้ตามเป้าหมาย 260 คน - สนับสนุนงบประมาณยกระดับด้านส่งเสริม การผลิตและการแปรรูป สนับสนุนงบประมาณยกระดับด้านส่งเสริมการ ผลิตและการแปรรูปได้ครบ 26 แห่ง 1.1.2 การยกระดับศักยภาพวิสาหกิจชุมชนจาก ระดับปรับปรุงเป็นระดับปานกลาง - จัดเวทีชุมชน ยกระดับศักยภาพวิสาหกิจชุมชนจากระดับ ปรับปรุงเป็นระดับปานกลางได้ตามเป้าหมาย 50 คน - สนับสนุนงบประมาณยกระดับด้านส่งเสริม การผลิตและการแปรรูป สนับสนุนงบประมาณยกระดับด้านส่งเสริมการ ผลิตและการแปรรูปได้ครบ 5 แห่ง 1.2 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 1.2.1 สนับ สนุน ก ารด าเนินงาน ของเค รือข่ าย วิสาหกิจชุมชน สนับสนุนการด าเนินงานของเครือข่ายวิสาหกิจ ชุมชนได้ จ านวน 1 เครือข่าย 2. ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนต้นแบบ 2.1 ประกวดวิสาหกิจชุมชนดีเด่น จัดการประกวดวิสาหกิจชุมชนดีเด่น 1 ครั้ง 3. สนับสนุนกลไกลการด าเนินงานตาม พ.ร.บ. ส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 3.1 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด จัดการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชนจังหวัด จ านวน 2 ครั้ง 3.2 ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน จังหวัด คณะกรรมการสรรหากรรมการผู้แทนวิสาหกิจชุมชน จังหวัด หรือคณะท างานที่แต่งตั้งโดยคณธกรรมการส่งเสริม วิสาหกิจชุมชนจังหวัด จัดการประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชนจังหวัด คณะกรรมการสรรหากรรมการ ผู้แทนวิสาหกิจชุมชนจังหวัด หรือคณะท างานที่ แต่งตั้งโดยคณธกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน จังหวัด จ านวน 2 ครั้ง


61 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 4. สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านทะเบียนวิสาหกิจชุมชน 4.1 สนับสนุนการด าเนินงานของนายทะเบียนวิสาหกิจ ชุมชน สนับสนุนการด าเนินงานของนายทะเบียนวิสาหกิจ ชุมชน ได้ทั้งหมด 25 อ าเภอ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายกฤษนันท์ ทองทิพย์ ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8195 25330


62 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดตั้งและบริหารจัดการวิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรมส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนต้นแบบในการพัฒนาสินค้าและบริการจากฐานชีวภาพ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อส่งเสริมจัดตั้งวิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน 2.2 เพื่อพัฒนาทักษะการบริหารจัดการ การผลิต การตลาด ให้เหมาะสมตามศักยภาพของวิสาหกิจชุมชน ผู้ผลิตสินค้าและบริการจากฐานชีวภาพ 2.3 ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการจากฐานชีวภาพ และพัฒนาช่องทางการตลาด 2.4 ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการจากฐานชีวภาพ และพัฒนาช่องทางการตลาด 2.5 เพื่อรวบรวมข้อมูลวิสาหกิจชุมชนที่มีกิจกรรมจากฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. กิจกรรมจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะการเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจเกษตรฐาน ชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 17,000 20 วิสาหกิจชุมชนกลุ่ม เกษตรกรคนปงยั้งม้า ต าบลบ้านปง อ าเภอหาง 2. กิจกรรมศึกษาดูงานผู้ประกอบการที่ประสบ- ดง จังหวัดเชียงใหม่ ความส าเร็จ 30,000 20 (รายเดิม) 3. กิจกรรมการวิเคราะห์ศักยภาพการด าเนินงาน และจัดท าแผนพัฒนากิจการของวิสาหกิจเกษตร ฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพืช 7,000 20 (รายเดิม) 4. กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และยกระดับ มาตรฐานการผลิตต้นแบบ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ สามารถด าเนินการผลิตและจ าหน่ายได้ในเชิง พาณิชย์ 60,000 20 (รายเดิม) 5. กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และยกระดับ มาตรฐานการผลิตต้นแบบ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และสร้างต ราสิน ค้ าที่มี ความเหม าะสมกับ ผลิตภัณฑ์ 60,000 20 (รายเดิม) 6.ส ารวจข้อมูลแหล่งทรัพยากรวิสาหกิจเกษตร ฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านพืช และเกลือทะเลไทย 20,000 25 อ าเภอ 25 อ าเภอ รวม 194,000 20 โครงการที่ 22


63 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. กิจกรรมจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะการเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจเกษตร ฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ทักษะความรู้มาตรฐาน Good Agriculture Practices (GAP) (ก รม วิ ช าก า รเกษ ต ร), ม าต ร ฐ าน Good Manufacturing Practice (GMP) (กรมวิชาการเกษตร), การตลาดยุคใหม่ และ ช่องทางการตลาดของสินค้าเกษตรแปรรูป (มหาวิทยาลัยฟาร์อีส เทอร์น)และทักษะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การสร้างคุณค่าใหม่ให้กับสินค้าเกษตรแปรรูป (มหาวิทยาลัยฟาร์ อีสเทอร์น) ด าเนินการเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2566 ณ ห้อง ประชุมเทศบาลต าบลบ้านปง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 2. กิจกรรมศึกษาดูงานผู้ประกอบการที่ ประสบความส าเร็จ ศึ ก ษ า ดูง า น ที่ อุ ท ย า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เท ค โน โล ยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, บริษัท ทุ่งสุวรรณออร์แกนิคฟาร์ม, ศูนย์ นวัตกรรมสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวทิพย์ช้าง ด าเนินการเมื่อ วันที่ 10 - 11 กรกฎาคม 2566 3. กิจก รรมก ารวิเค ราะห์ศักยภ าพ ก าร ด าเนินงานและจัดท าแผนพัฒนากิจการของ วิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้านพืช มีการวิเคราะห์ศักยภาพการด าเนินงาน และจัดท าแผนพัฒนา กิจการของวิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านพืชด าเนินการเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2566 4. กิ จก ร รม ก ารพั ฒ น าผลิ ตภั ณ ฑ์ แ ล ะ ยกระดับมาตรฐานการผลิตต้นแบบ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถด าเนินการผลิตและจ าหน่าย ได้ในเชิงพาณิชย์ผลิตภัณฑ์ Soft gel (น้ ามันงาสกัดเย็น) ที่ได้ ผ่านการวิเคราะห์ และมาตรฐาน อย. จ านวน 20,400 เม็ด Soft gel 5. กิ จก ร รม ก ารพั ฒ น าผลิ ตภั ณ ฑ์ แ ล ะ ยกระดับมาตรฐานการผลิตต้นแบบ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และสร้างตราสินค้าที่มีความเหมาะสม กับผลิตภัณฑ์ปริมาณจ านวน 340 ขวดบรรจุภัณฑ์ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


64 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายศราวุฒิ ปิงเขียว ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8955 96034


65 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการน าเศษวัสดุการเกษตรมาใช้ประโยชน์ สามารถ ลดต้นทุน และสร้างมูลค่าเพิ่มขึ้นได้ 2.2 เพื่อลดการเผาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เพิ่มปริมาณการใช้วัสดุการเกษตรไปเป็นพลังงานชีวมวล ลดปัญหาหมอกควัน และสร้างสมดุลระบบนิเวศ ในชุมชน 2.3 เพื่อเสริมสร้างให้เกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติและจิตส านึกของเกษตรกร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1 .จั ด เว ที ชุ ม ช น ค รั้งที่ 1 วิเค ร าะห์ สถ าน ก ารณ์ แ ล ะ ศักยภาพชุมชน เพื่อก าหนด แนวทางการจัดการและเพิ่ม มูลค่ าเศษ วัสดุเห ลื อใช้ท าง การเกษ ต รที่เหม าะสมต าม บริบทของชุมชน 2.สนับสนุนปัจจัยการผลิตตาม แน วท างก า รด าเนิ นง าน ที่ ก าหนด 3.จัดเวทีชุมชน ครั้งที่ 2 สรุป บทเรียนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน 4.ติดตาม สรุป และรายงานผล 30,000 39,000 30,000 1,400 200 ราย 5 กลุ่ม 200 ราย 1. กลุ่มเกษตรกรบ้านดอกแดง ต าบลสง่าบ้าน อ าเภอดอยสะเก็ด 2. กลุ่มเกษตรกรต าบลช่างเคิ่ง ต าบลช่างเคิ่ง อ าเภอ แม่แจ่ม 3. กลุ่มเกษตรกรต าบลสลวง ต าบลสลวง อ าเภอ แม่ริม 4. กลุ่มเกษตรกรต าบลหางดง ต าบลหางดง อ าเภอฮอด 5. กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่มะม่วง บ้านห้วยต้นโชค ต าบลปิงโค้ง อ าเภอเชียงดาว รวม 100,400 บาท 200 ราย 5 กลุ่ม 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1 .จั ดเวที ชุม ชน ค รั้งที่ 1 วิเคราะห์สถานการณ์ และ ศักยภาพชุมชน เพื่อก าหนด แนวทางการจัดการและเพิ่ม มูลค่าเศษวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตรที่เหมาะสมตาม บริบทของชุมชน เชิงปริมาณ เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ จ านวน 200 ราย เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตสินค้าเกษตร ชีวภาพให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ผลที่ได้รับ 1. เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการน าเศษวัสดุการเกษตรมาใช้ ประโยชน์ สามารถลดต้นทุน และสร้างมูลค่าเพิ่มขึ้นได้ โครงการที่ 23


66 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 2.สนับสนุนปัจจัยการผลิต ตามแนวทางการด าเนินงานที่ ก าหนด 3.จัดเวทีชุมชน ครั้งที่ 2 สรุป บทเรียนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน 2. ชุมชนมีส่วนร่วมด าเนินการก่อให้เกิดความสามัคคีในชมชุน 3. ลดการเผาเศษวัสดุการเกษตร และรักษาสิ่งแวดล้อมสร้างสมดุล ระบบนิเวศในชุมชนอย่างยั่งยืน 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน 1. กลุ่มเกษตรกรบ้านดอกแดง ต าบลสง่าบ้าน อ าเภอดอยสะเก็ด 2. กลุ่มเกษตรกรต าบลช่างเคิ่ง ต าบลช่างเคิ่ง อ าเภอ แม่แจ่ม 3. กลุ่มเกษตรกรต าบลสลวง ต าบลสลวง อ าเภอแม่ริม 4. กลุ่มเกษตรกรต าบลหางดง ต าบลหางดง อ าเภอฮอด


67 5. กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่มะม่วงบ้านห้วยต้นโชค ต าบลปิงโค้ง อ าเภอเชียงดาว ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวเบญจรินทร์ รัตนสิงห์ขรณ์ ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ เบอร์โทรศัพท์0 8640 15660


68 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร กิจกรรม พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรแปรรูป 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 พัฒนาทักษะด้านการผลิตสินค้าเกษตรแปรรูปให้กับวิสาหกิจชุมชน 2.2 พัฒนาสินค้าเกษตรแปรรูป โดยพัฒนาในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ หรือคุณภาพมาตรฐาน สินค้าเกษตรแปรรูปให้กับวิสาหกิจชุมชน 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินงาน 1. พัฒนาทักษะวิสาหกิจชุมชนด้าน การบริหารจัดการการผลิตสินค้า เกษตรแปรรูป 21,000 20 ราย 1. อ าเภอสันก าแพง (10 ราย) 2. อ าเภอหางดง (10 ราย) จังหวัดด าเนินการจัดกิจกรรม 2. พัฒนาสินค้าเกษตรแปรรูปของ วิสาหกิจชุมชน 58,000 2 กลุ่ม 1. อ าเภอสันก าแพง (10 ราย) 2. อ าเภอหางดง (10 ราย) จังหวัดด าเนินการจัดกิจกรรม รวม 79,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. พัฒนาทักษะวิสาหกิจชุมชน ด้านการบริหารจัดการการผลิต สินค้าเกษตรแปรรูป เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีองค์ความรู้ในเรื่องการ สุขาภิบาลอาหารส าหรับผู้สัมผัสอาหาร ตามกฎกระทรวง สุขลักษณะของ สถานที่จ าหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2) สมาชิกวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีองค์ความรู้ในเรื่องการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การสร้างคุณค่าใหม่ให้กับสินค้าเกษตรแปร รูป การตลาดยุคใหม่ และช่องทางการตลาดของสินค้าเกษตรแปรรูป ไม่น้อย กว่าร้อยละ 70 2. พัฒนาสินค้าเกษตรแปรรูป ของวิสาหกิจชุมชน เชิงปริมาณ 1) จ านวนวิสาหกิจชุมชน 2 แห่ง ได้รับการสนับสนุนด้านการพัฒนาสินค้า เกษตรแปรรูป 2) วิสาหกิจชุมชนที่ได้รับการพัฒนาสินค้าเกษตรแปรรูปมีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่ น้อยกว่า ร้อยละ 20 เชิงคุณภาพ สินค้าเกษตรแปรรูปของวิสาหกิจชุมชน มีมูลค่าเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 โครงการที่ 24


69 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน 1. พัฒนาทักษะวิสาหกิจชุมชนด้านการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรแปรรูป 2. พัฒนาสินค้าเกษตรแปรรูปของวิสาหกิจชุมชน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายณัชพล อยู่เย็น ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ เบอร์โทรศัพท์0 8012 23644


70 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ 1 อ าเภอ 1 แปลงเกษตรอัจฉริยะ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อพัฒนาระบบการส ารวจติดตาม เฝ้าระวังการระบาดศัตรูพืชให้รวดเร็วและสามารถป้องกันความเสียหาย อันเนื่องมาจากการระบาดศัตรูพืชได้ 2.2 เพื่อจัดเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดของศัตรูพืช ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้น สัมพัทธ์ และความเข้มแสง เพื่อการศึกษาแนวโน้มการเกิดศัตรูพืชระบาดควบคุมกับการส ารวจจัดเก็บข้อมูลศัตรูพืช น าไปสู่การพัฒนาระบบพยากรณ์และเตือนการระบาดของศัตรูพืชต่อไป 2.3 เพื่อน าเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการจัดการดินและปุ๋ยมาประยุกต์ใช้เพื่อการเกษตรแม่นย า 2.4 เพื่อจัดท าต้นแบบแปลงเรียนรู้การใช้ปุ๋ยอย่างแม่นย า และเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับพืชโดยการเลือกใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชนิดพืชและสภาพพื้นที่ 2.5 เพื่อการศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการอารักขาพืช การจัดการดิน/ น้ า/ปุ๋ย และการใช้โดรนในภาคการเกษตร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน กิ จ ก ร ร ม ส่ง เส ริ ม แ ล ะ พัฒนาต้นแบบอัจฉริยะ 23,200 1 ศูนย์ อ.แม่ริม รวม 23,200 1 ศูนย์ อ.แม่ริม 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน กิ จ ก ร ร ม ส่งเส ริม แ ล ะ พัฒนาต้นแบบอัจฉริยะ เชิงปริมาณ - มีการจัดท าแปลงต้นแบบการพัฒนาระบบการส ารวจติดตาม เฝ้าระวังการระบาด ศัตรูพืชให้รวดเร็วและสามารถป้องกันความเสียหายอันเนื่องมาจากการระบาด ศัตรูพืชและเป็นต้นแบบใช้ปุ๋ยอย่างแม่นย าเพื่อสร้างความแข็งแรงและทนทานต่อ ศัตรูพืช จ านวน 1 แปลง เชิงคุณภาพ -พัฒนาระบบการส ารวจติดตาม เฝ้าระวังการระบาดศัตรูพืชให้รวดเร็วและสามารถ ป้องกันความเสียหายอันเนื่องมาจากการระบาดศัตรูพืชและเป็นต้นแบบใช้ปุ๋ยอย่าง แม่นย าเพื่อสร้างความแข็งแรงและทนทานต่อศัตรูพืชโดยเกษตรกรมีการใช้เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อพืช - นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรในระดับอ าเภอและระดับจังหวัด ได้เรียนรู้และ ปฏิบัติงานอย่างมีส่วนร่วมกับเกษตรกรในพื้นที่เพื่อเรียนรู้ระบบการส ารวจติดตาม เฝ้าระวังการระบาดศัตรูพืชให้รวดเร็วและสามารถป้องกันความเสียหายอัน เนื่องมาจากการระบาดศัตรูพืชและเป็นต้นแบบใช้ปุ๋ยอย่างแม่นย าเพื่อสร้างความ แข็งแรงและทนทานต่อศัตรูพืช โครงการที่ 25


71 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน - เกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับการถ่ายทอดความรู้และค าแนะน าระบบการ ส ารวจติดตาม เฝ้าระวังการระบาดศัตรูพืชให้รวดเร็วและสามารถป้องกันความ เสียหายอันเนื่องมาจากการระบาดศัตรูพืชและเป็นต้นแบบใช้ปุ๋ยอย่างแม่นย าเพื่อ สร้างความแข็งแรงและทนทานต่อศัตรูพืช 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายนพพล ฟูแสง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8571 11247


72 4.3 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม ประกอบด้วย 16 โครงการ ดังนี้ 4.3.1 โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 4.3.2 โครงการหมู่บ้านสหกรณ์สันก าแพง อ าเภอแม่ออน ตามพระราชด าริ จังหวัดเชียงใหม่ 4.3.3 โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด าริสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 4.3.4 โครงการรักษ์น้ าเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน 4.3.5 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยาม มกุฎราชกุมาร 4.3.6 โครงการเกษตรวิชญา จังหวัดเชียงใหม่ 4.3.7 โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน 4.3.8 โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ าแม่งอนอันเนื่องมาจากพระราชด าริ จังหวัดเชียงใหม่ 4.3.9 โครงการมูลนิธิสิริวัฒนา เชสเชียร์ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 4.3.10 โครงการความร่วมมือในการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพการปลูกชา 4.3.11 โครงการศูนย์เรียนรู้การพัฒนาอมก๋อยอันเนื่องมาจากพระราชด าริ อ าเภออมก๋อย จังหวัด เชียงใหม่ 4.3.12 โครงการสร้างป่าสร้างรายได้ 4.3.13 โครงการส่งเสริมการผลิตพืชอาหารในศูนย์ฝึกนักเรียนเก่าโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน 4 ภาค 4.3.14 โครงการร้อยใจรักษ์ จังหวัดเชียงใหม่ 4.3.15 โครงการพัฒนาตามพระราชด าริ อ าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 4.3.16 โครงการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรเพื่อเป็นต้นแบบในด้านการเกษตรตามแนวพระราชด าริ ต าบลออนใต้


73 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อน าองค์ความรู้ ที่เป็นผลส าเร็จจากการศึกษา ทดลอง วิจัย จากศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด าริที่เหมาะสมไปส่งเสริมแก่เกษตรกรในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร 2.2 ขยายผลองค์ความรู้ตามแนวพระราชด าริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.3 พัฒนาและยกระดับเกษตรกรต้นแบบ ในการขยายผลองค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นให้เกิดเครือข่ายอย่าง ต่อเนื่อง 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ถนอมและแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตร โครงการศูนย์ ศึกษาการพัฒนาอัน เนื่องมาจากพระราชด าริ 10,000 30 วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรบ้านร้องขี้เหล็ก ม.7 ต .เชิงดอ ย อ .ดอยส ะเก็ ด จ.เชียงใหม่ รวม 10,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ถนอมและแปรรูปผลผลิต ทางการเกษตร โครงการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอัน เนื่องมาจากพระราชด าริ เกษตรกร จ านวน 30 ราย ในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อัน เนื่องมาจากพระราชด าริ อ าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านร้องขี้เหล็ก ม.7 ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการถนอมและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร โครงการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด าริในห้วข้อ การแปรรูปข้าวแต๋นสมุน ไพร ตามหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากทางกลุ่มมีการแปรรูปสมุนไพร เช่น ขิงผง ฯลฯ และมีเกษตรกรในกลุ่มปลูกข้าว จึงมีแนวคิดอยากเพิ่มมูลค่าของผลผลิตเดิมที่ มีอยู่ โครงการที่ 26


74 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


75 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านสหกรณ์สันก าแพง อ าเภอแม่ออน ตามพระราชด าริ จังหวัดเชียงใหม่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื ่อสนองแนวพระราชด าริในการเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และส่งเสริมการประกอบอาชีพทางการ เกษตรของเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมายให้มั่นคงเพียงพอต่อการด าเนินชีวิต 2.2 เพื่อขยายผลการเรียนรู้สู่ชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาอาชีพ และมีรายได้เพิ่มขึ้นมี คุณภาพชีวิตที่ดี 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ดูแลรักษาพัฒนาแปลง เรียนรู้ภายในโครงการ 54,000 5 ไร่ แปลงเรียรู้ภายใน โครงการ 2. จ้างเหมาแรงงาน เกษตร 168,000 2 คน โครงการ รวม 222,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. ดูแลรักษาพัฒนาแปลง เรียนรู้ภายในโครงการ แปลงมีผลผลิตด้านต้นกล้า พืชผัก ไม้ผล และไม้ดอกไม้ประดับ ตลอดทั้งปี 2. จ้างเหมาแรงงาน เกษตร ดูแลรักษา และพัฒนาแปลงเรียรู้ภายในโครงการ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน โครงการที่ 27


76 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระพงศ์ ทาหล้า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8502 97573


77 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด าริสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อน าองค์ความรู้ ด้านการเกษตร ที่เหมาะสมไปส่งเสริมแก่เกษตรกรในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร 2.2 ขยายผลองค์ความรู้ตามแนวพระราชด าริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.3 พัฒนาและยกระดับเกษตรกรต้นแบบ ในการขยายผลองค์ความรู้สู่เกษตรกรรายอื่นให้เกิดเครือข่ายอย่าง ต่อเนื่อง 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน ดูแลแปลงเกษตรทฤษฎี ใหม่ภายในฟาร์ม 10,000 5 ไร่ บ้านขุนแตะ ต.ดอยแก้ว อ.จอมทอง รวม 10,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน สนับสนุนปัจจัยการผลิต ดูแลรักษาแปลง - แปลงเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ได้รับการดูแล บ ารุง รักษา อย่างต่อเนื่อง พร้อม ส ารับเป็นสถานที่ศึกษาดูงาน และถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชน 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ( โครงการที่ 28


78 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


79 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการรักษ์น้ าเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อให้ชุมชนสามารถด ารงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียงและมีความสมดุลกับสิ่งแวดล้อม 2.2 เพื่อให้เกษตรกรบนพื้นที่สูงมีการประกอบอาชีพการเกษตรอย่างถูกวิธีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถน าความรู้ไปปรับใช้ในการท าการเกษตรของตนเองได้อย่างเหมาะสม 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้ด้าน การเกษตรที่เหมาะสม ตามศักยภาพของพื้นที่ 25,000 100 อ.อมก๋อย อ.แม่แจ่ม 2. ส่งเสริมการจัดท า แปลงด้านการเกษตร 3,000 1 ไร่ อ.แม่แจ่ม 3. ถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการแปรรูปผลผลิต ทางการเกษตรและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ 6,500 1 กลุ่ม 30 ราย อ.อมก๋อย 4. สร้างเกษตรกรต้นแบบ ปีที่ 1 (2566) 5,000 1 ราย อ.อมก๋อย 5. พัฒนายกระดับ เกษตรกรต้นแบบปีที่ 2 (2565) 3,000 1 ราย อ.แม่แจ่ม 6. พัฒนายกระดับ เกษตรกรต้นแบบปีที่ 3 (2564) 2,000 1 ราย อ.อมก๋อย 7. สนับสนุนการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 2,000 อ.อมก๋อย อ.แม่แจ่ม รวม 46,500 โครงการที่ 29


80 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ถ่ า ย ท อ ด ค ว าม รู้ ด้ า น การเกษตรที่เหมาะสม ตามศักยภาพของพื้นที่ ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้าน การแปรรูปผลผลิตทาง การเกษต รและพัฒ น า ผลิตภัณฑ์ - เกษตรกรจ านวน 100 ราย สามารถน าความรู้การท าการเกษตรที่เหมาะสม น ามา ปรับใช้ในพื้นที่เหมาะสมได้ - กลุ่มเกษตรกรได้รับความรู้ด้านการแปรรูปผลผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถ ถ่ายทอดให้กับเกษตรกรรายอื่นๆได้ ส่งเสริมการจัดท าแปลง ด้านการเกษตร - เป็นแปลงสาธิต เกษตรกรสามารถเข้ามาเรียนรู้ภายในแปลงได้ สร้างเกษตรกรต้นแบบ ปี ที่ 1 (2566) พัฒนายกระดับเกษตรกร ต้นแบบปีที่ 2 (2565) พัฒนายกระดับเกษตรกร ต้นแบบปีที่ 3 (2564) - เกษตรกรต้นแบบ สามารถถ่ายทอดความรู้และเป็นที่ศึกษาดูงานในพื้นที่ สนับสนุนการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ - เจ้าหน้าที่ส่วนกลาง ติดตาม ประเมินผล การด าเนินการโครงการได้ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


81 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


82 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อสนองพระราชด าริ และเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว 28 กรกฎาคม 2566 2.2 เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ห่างไกลสามารถเข้าถึงการบริการทางการเกษตร และได้รับการแก้ไขปัญหา ด้านการเกษตรอย่างครบวงจรในคราวเดียวกัน 2.3 เพื่อบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานวิชาการ หน่วยงานส่งเสริม และศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ในการให้บริการและแก้ไขปัญหาทางการเกษตร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1.จัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชา นุเคราะห์ ฯ ไตรมาสที่ 1 20,000 100 อ าเภอแม่แตง 2.จัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชา นุเคราะห์ ฯ ไตรมาสที่ 2 20,000 100 อ าเภอดอยหล่อ 3.จัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชา นุเคราะห์ ฯ ไตรมาสที่ 3 20,000 100 อ าเภอไชยปราการ 4.จัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชา นุเคราะห์ ฯ ไตรมาสที่ 4 30,000 100 อ าเภอหางดง รวมทั้งสิ้น 90,000 400 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) ผลผลิต (Output) 1) เกษตรกร 400 ราย ได้รับบริการทางด้านการเกษตร และแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรอย่างครบวงจรในคราว เดียวกัน 2) เกิดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่บูรณาการให้บริการด้านการเกษตร และแก้ไขปัญหาทางการเกษตรให้กับเกษตรกร ผลลัพธ์(Outcome) เกษตรกรที่มีปัญหาการประกอบอาชีพด้านการเกษตรได้รับค าแนะน า การบริการ การแก้ไขปัญหาทางด้าน การเกษตรที่รวดเร็วและทันเวลา ซึ่งเป็นการน าความรู้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการทางการเกษตรไปปฏิบัติ ต่อพื้นที่ของตนเอง เกิดผลตอบแทนและรายได้จากการประกอบอาชีพที่มั่นคง ตัวชี้วัดกระบวนงาน 1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผน และให้บริการโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ฯ 2) จังหวัดมีการจัดโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ฯ โดยมีเกษตรกรเข้ารับบริการ จ านวน 400 ราย 3) มีการติดตามผลการให้บริการต่อเนื่อง โครงการที่ 30


83 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


84 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางนงคราญ ไชยพรมมา ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 9810 14563


85 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการเกษตรวิชญา 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อสนองงานโครงการพระราชด าริในพื้นที่ 2.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่โครงการให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตรบนพื้นที่สูง 2.3 เพื่อถ่ายทอดความรู้ในการปลูกพืชปลอดภัยจากสารพิษ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1.ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลโลยีด้าน การเกษตร 12,000 60 เกษตรกรภายใต้โครงการ 2.ส่งเสริมการผลิตพืชผัก ปลอดภัย 15,000 60 เกษตรกรภายใต้โครงการ 3. ดูแลแปลงสาธิต 8,000 4 ไร่ โครงการ 4. จ้างเหมาคนงาน เกษตร 1680,000 2 โครงการ 5. สนับสนุนการ ด าเนินงานของเจ้าหน้าที่ 10,000 โครงการ รวม 213,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1.ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลโลยีด้าน การเกษตร กิจกรรมการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีด้านการเกษตร หลักสูตรการผลิตพืช ปลอดภัยจากสารพิษ เกษตรกรเป้าหมาย 60 ราย 2.ส่งเสริมการผลิตพืชผัก ปลอดภัย สนับสนุนปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกรทั้ง 60 ราย 3. ดูแลแปลงสาธิต ผลิตพืชผัก ไม้ผล แปลงรวบรวมพันธุ์อาโวคาโด พื้นที่ 4 ไร่ 4 . จ้ าง เห ม า ค น ง า น เกษตร จ้างคนงานเกษตรจ านวน 2 คน โครงการที่ 31


86 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระพงศ์ ทาหล้า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8502 97573


87 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเกษตร และเกิดทักษะในการประกอบอาชีพ 2.2 เพื่อให้นักเรียนได้รับสารอาหารครบถ้วนตามหลักโภชนาการ และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้ด้าน การเกษตรให้กับครู นักเรียน และผู้ปกครอง 81,600 204 อมก๋อย แม่แจ่ม แม่อาย แม่แตง เชียงดาว ฝาง พ ร้าว เวียงแหง แม่ออน กัลยาณิวัฒนา ดอยหล่อ แม่วาง สะเมิง สันป่าตอง 2.ส่งเสริมการจัดท าแปลง ผลิตพื้นในโรงเรียน 1,466,000 179 (โรงเรียน) อมก๋อย แม่แจ่ม แม่อาย แม่แตง เชียงดาว ฝาง พ ร้าว เวียงแหง แม่ออน กัลยาณิวัฒนา ดอยหล่อ แม่วาง สะเมิง สันป่าตอง 3.ขยายผลการพัฒนาจาก โรงเรียนสู่ระดับครอบครัว ของหมู่บ้านที่โรงเรียน ตั้งอยู่ 170,000 17 หมู่บ้าน แม่แจ่ม อมก๋อย แม่อาย เชียงดาว แม่แตง ฝาง เวียงแหง 4. สนับสนุนการท างาน ของเจ้าหน้าที่ 50,000 จังหวัด และอ าเภอ รวม 1,767,600 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้ด้าน การเกษตรให้กับครู นักเรียน และผู้ปกครอง ด าเนินการฝึกอบรมด้านการปลูกพืชปลอดภัย ให้แก่ผู้ปกครอง ครู และ นักเรียน 2.ส่งเสริมการจัดท าแปลง ผลิตพื้นในโรงเรียน ส่งมอบปัจจัยการผลิตด้านการเกษตร เพื่อใช้ภายในแปลง เช่น เมล็ดพันธุ์ บัวรด น้ า จอบ เป็นต้น 3.ขยายผลการพัฒนาจาก โรงเรียนสู่ระดับครอบครัว ของหมู่บ้านที่โรงเรียน ตั้งอยู่ ส่งมอบวัสดุทางการเกษตรให้แก่ผู้ปกครองของนักเรียน ตามความต้องการเพื่อ น าไปพัฒนาแปลงเกษตรของผู้ปกครองต่อไป 4. สนับสนุนการท างาน ของเจ้าหน้าที่ เบิกจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยง และน้ ามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในการปฏิบัติติงานของเจ้าหน้าที่ ในระดับจังหวัดและอ าเภอ โครงการที่ 32


88 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน 1. รับมอบปัจจัยการผลิต จากส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ (เดือนมีนาคม 2566) 2. โรงเรียนน าวัสดุทางการเกษตรที่ได้รับไป จัดท าแปลงเกษตร


89 3. ฝึกอบรม ถ่ายทอดความรู้ด้านการเกษตรให้กับครู นักเรียน และผู้ปกครอง ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระพงศ์ ทาหล้า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8502 97573


Click to View FlipBook Version