The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nareekan suchaikam, 2023-12-11 22:55:18

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี-66

90 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ าแม่งอนอันเนื่องมาจากพระราชด าริ จังหวัดเชียงใหม่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อการพัฒนาอาชีพและส่งเสริมการผลิตพืช 2.2 เพื่อส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตการเกษตรในกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร หลักสูตรการเกษตรตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง 30,000 100 อ.ฝาง 2. ส่งเสริมการแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตร 20,000 2 กลุ่ม อ.ฝาง รวม 50,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร หลักสูตรการเกษตรตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกรมีความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง สามารถน าไปปฏิบัติในชีวิตประจ าวันได้ ส่ ง เส ริ ม ก า ร แ ป ร รู ป ผลผลิตทางการเกษตร เกษตรกรมีความรู้ด้านการแปรรูปอาหาร และผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน โครงการที่ 33


91 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


92 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการมูลนิธิสิริวัฒนา เชสเชียร์อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อสนองงานโครงการพระราชด าริในพื้นที่ 2.2 เพื่อสนับสนุนการฝึกอาชีพด้านการเกษตรให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. กิจกรรมการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีด้าน การเกษตร หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 10,000 1 กลุ่ม สมาชิกมูลนิธิ สิริวัฒนาเชสเชียร์ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (จ านวน 15 ราย) 2.กิจกรรมส่งเสริมการปลูกไม้ดอก - ไม้ประดับ และพืชผักสวนครัวในกระถาง 40,000 1 กลุ่ม สมาชิกมูลนิธิ สิริวัฒนาเชสเชียร์ อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (จ านวน 15 ราย) รวมทั้งสิ้น 50,000 1 กลุ่ม 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) ผลผลิต (Output) ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการถ่ายทอดความรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพื่อเลี้ยงชีพ พร้อมน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในการด าเนิน ชีวิต ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยี ด้านการเกษตร ในหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ ได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จ าเป็นในการปลูกไม้ดอก - ไม้ประดับ และพืชผักสวนครัวในกระถาง เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้พัฒนาอาชีพด้านการเกษตร พร้อมน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น แนวทางในการด ารงชีวิต สามารถพึ่งพาตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โครงการที่ 34


93 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


94 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางนงคราญ ไชยพรมมา ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 9810 14563


95 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการความร่วมมือในการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพการปลูกชาในพื้นที่โครงการตามพระราชด าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการปลูกชาอัสสัมแก่เกษตรกร ในพื้นที่โครงการตามพระราชด าริฯ ให้มีรายได้จากชาอัสสัม 2.2 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตชาคุณภาพและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาอัสสัมอย่างต่อเนื่อง ในลักษณะการปลูกชาอัสสัม ร่วมกับป่าและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. จัดประชุมคณะท างาน ขับเคลื่อนโครงการฯ (คณะท างานในพื้นที่) 2. ส่งเสริมและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชาอัสสัม คุณภาพ 3. สนับสนุนการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 2,000 20,000 2,500 1 ครั้ง 1 กลุ่ม 1 หน่วยงาน อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ รวม 24,500 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. จัดประชุมคณะท างาน ขับเคลื่อนโครงการฯ (คณะท างานในพื้นที่) 2. ส่งเสริมและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชาอัสสัม คุณภาพ 3. สนับสนุนการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ -จัดท าแนวทางการด าเนินงานในการขับเคลื่อยโครงการฯ ให้ประสบความส าเร็จ - พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความทันสมัย ได้มาตรฐาน และตรงกับความต้องการของตลาด - เจ้าหน้าที่สามารถติดตาม ให้ค าปรึกษา และประเมินผลการด าเนินงานโครงการฯ โครงการที่ 35


96 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระพงศ์ ทาหล้า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8502 97573


97 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้การพัฒนาอมก๋อยอันเนื่องมาจากพระราชด าริ อ าเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อสนองพระราชด าริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่โครงการ 2.2 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สาธิตและถ่ายทอดองค์ความรู้การพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร 2.3 เพื่อการส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสมกับศักยภาพของราษฎรเพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่ ท าลายทรัพยากรธรรมชาติ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. การถ่ายทอดความรู้ ด้านการเกษตร หลักสูตร ก ารเพ าะเห็ดฟ างและ เห็ดโคนน้อย 6,000 30 อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ 2 . พั ฒ น า เก ษ ต ร ก ร ต้นแบบการเพาะเห็ดฟาง และเห็ดโคนน้อย 12,500 5 อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ 3 . ส นั บ ส นุ น ก า ร ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 15,000 2 ครั้ง อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ รวม 33,500 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน การถ่ายทอดความรู้ด้าน การเกษตร หลักสูตรการ เพาะเห็ดฟางและเห็ดโคน น้อย เกษตรกรทั้ง 30 ราย มีความรู้ในการเพาะเห็ดฟางและเห็ดโคนน้อย พัฒนาเกษตรกรต้นแบบ การเพ าะเห็ดฟ างและ เห็ดโคนน้อย เกษตรกรต้นแบบ 5 ราย สามารถเป็นแบบอย่างและถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกร คนอื่นๆได้ สนับสนุนการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่สามารถติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานโครงการได้ โครงการที่ 36


98 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


99 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการสร้างป่าสร้างรายได้ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการให้กับเกษตรกรตามความเหมาะสมของพื้นที่ 2.2 เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือนสร้างรายได้เพิ่มให้ชุมชน 2.3 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้สมาชิกเกษตรกรกลุ่มสร้างป่าสร้างรายได้ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1 . ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร 6,000 30 ต าบลแม่วิน อ าเภอแม่วาง 2. สนับสนุนการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ 2,500 1 ต าบลแม่วิน อ าเภอแม่วาง รวม 8,500 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1 . ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร เชิงปริมาณ : เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีด้าน การเกษตร จ านวน 30 ราย เชิงคุณภาพ : 1. เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้และมีรายได้เลี้ยงชีพตนเอง 2. พื้นที่โครงการฯ ได้รับการฟื้นฟูท าให้คนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้ ช่วยกันดูแลป่าไม้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้คน รุ่นต่อไปได้ใช้อย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด : เกษตรกรมีความรู้เรื่องเทคโนโลยีด้านการเกษตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 . ส นั บ ส นุ น ก า ร ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เชิงปริมาณ : ติดตามผล ให้ค าแนะน า แก้ไขปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงาน 1 แห่ง เชิงคุณภาพ : สามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานได้ และสรุปผลการ ด าเนินงานให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบทันตามก าหนด ตัวชี้วัด : ติดตามผล ให้ค าแนะน า แก้ไขปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานและสรุปผล การด าเนินงานให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบร้อยละ100 โครงการที่ 37


100 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน กิจกรรมที่ 1 ถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีด้านการเกษตร ถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีด้านการเกษตรให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสร้างป่าสร้างรายได้ ณ ศูนย์ เรียนรู้สร้างป่าสร้างรายได้บ้านแม่สะป๊อก หมู่ที่ 5 ต าบลแม่วิน อ าเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรมที่ 2 สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ติดตามและเยี่ยมเยียนจุดเรียนรู้สร้างป่าสร้างรายได้ และเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสร้างป่าสร้างรายได้ ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


101 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ ส่งเสริมการผลิตพืชอาหารในศูนย์ฝึกอาชีพนักเรียนเก่าโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน 4 ภาค 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ สามารถช่วยเหลือตนเอง ครอบครัวและชุมชน ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างรู้คุณค่า 2.2 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร 2.3 เพื่อพัฒนาอาชีพเสริมให้สามารถน าไปพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ 2.4 เพื่อเป็นการปลูกจิตส านึกที่ดี มีคุณธรรม ส านึกในความเป็นไทย อันจะส่งผลให้น าไปสู่ความมั่นคงของชาติ 2.5 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่าง ตชด กับประชาชนในพื้นที่ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ส่งเสริมและสนับสนุน แปลงปลูกผัก สมุนไพร เห็ด และผลไม้ 24,000 4 ไร่ อ.แม่แตง 2. ดูแลแปลงไม้ผลแปลง เก่า 4,000 2 ไร่ อ.แม่แตง รวม 28,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน ส่งเสริมและสนับ สนุน แปลงปลูกผัก สมุนไพร เห็ด และผลไม้ ผลผลิตทางการเกษตรจากแปลง มีปริมาณ และคุณภาพ ที่เพียงพอในการบริโภค แปลงเกษตรได้รับการบ ารุง ดูแล รักษา ดูแลแปลงไม้ผลแปลงเก่า แปลงไม้ผล ได้รับการบ ารุง ดูแล รักษา 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน โครงการที่ 38


102 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระศักดิ์ ค าทอง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8999 92134


103 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการร้อยใจรักษ์ จังหวัดเชียงใหม่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1. เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชผักปลอดภัย และจัดท าแปลงเรียนรู้การปลูกพืชผักปลอดภัย 2.2. เพื่อส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1.ส่งเสริมการปลูกพืชผัก ปลอดภัย กิจกรรมย่อย ถ่ายทอด ความรู้เทคโนโลยีด้าน การเกษตร หลักสูตรปลูก พืชผักปลอดภัย 7,200 40 ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ 13 บ้านเมืองงามใต้ กิจกรรมย่อย การแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตร 9,400 30 โครงการร้อยใจรักษ์ กิจกรรม จัดท าแปลง เรียนรู้การปลูกผัก ปลอดภัย 40,000 40 หมู่ 13 บ้านเมืองงามใต้ 2.อบรมโครงการขยายผล โครงการร้อยใจรักษ์ 10,000 30 หมู่ 9 บ้านป่าเหียก ต. สันต้นหมื้อ รวม 66,600 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. กิจกรรมย่อย ถ่ายทอด ความ รู้เทคโนโลยีด้ าน การเกษตร หลักสูตรปลูก พืชผักปลอดภัย ด าเนินการอบรมตามโครงการก าหนด 2.กิจกรรมย่อย การแปร รูปผลผลิตทางการเกษตร ด าเนินการอบรมตามโครงการก าหนด ในการแปรรูป เครื่องดื่มจากมะม่วง 3.กิจกรรม จัดท าแปลง เรียนรู้การปลูกผัก ปลอดภัย ด าเนินการส่งมอบปัจจัย เมล็ดพันธุ์ ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง คะน้า ผักชี และ อุปกรณ์ปลูก โครงการที่ 39


104 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 4 .ก ารอบ รมโค รงก า ร ขยายผลโครงการร้อยใจ รักษ์ ด าเนินการอบรมตามโครงการก าหนด 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน 1. กิจกรรมย่อย ถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีด้านการเกษตร หลักสูตรปลูกพืชผักปลอดภัย 2.กิจกรรมย่อย การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร


105 3.กิจกรรม จัดท าแปลงเรียนรู้การปลูกผักปลอดภัย


106 4.การอบรมโครงการขยายผลโครงการร้อยใจรักษ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระพงศ์ ทาหล้า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8502 97573


107 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาตามพระราชด าริ อ าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื ่อสนองแนวพระราชด าริในการเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และส่งเสริมการประกอบอาชีพทางการ เกษตรของเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมายให้มั่นคงเพียงพอต่อการด าเนินชีวิต 2.2 เพื่อให้เกษตรกรรู้จักการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2.3 เพื่อขยายผลการเรียนรู้สู่ชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาอาชีพ และมีรายได้เพิ่มขึ้นมี คุณภาพชีวิตที่ดี 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร 10,000 50 เกษตรกรในพื้นที่ 2. จัดท าแปลงเรียนรู้ของ เกษตรกรต้นแบบ 25,000 5 เกษตรกรในพื้นที่ 3. ส่งเสริมการแปรรูป สินค้าเกษตร 20,000 1 กลุ่ม เกษตรกรในพื้นที่ 4. จัดท าแปลงเรียนรู้การ ผลิตผักปลอดสารพิษ 40,000 2 ไร่ พื้นที่โครงการ 5. สนับสนุนการ ขยายพันธุ์ไม้ใน โรงเรือนเพาะช าไม้ดอกไม้ ประดับ 50,000 1 โรงเรือน พื้นที่โครงการ 6. จ้างเหมาคนงาน เกษตร 168,000 2 คน พื้นที่โครงการ 2 ไร่ รวม 313,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1 . ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร ถ่ายถอดความรู้ด้านการผลิตพืชผักปลอดสารพิษให้แก่เกษตรในพื้นที่ๆโครงการ ตั้งอยู่ 2. จัดท าแปลงเรียนรู้ของ เกษตรกรต้นแบบ จัดซื้อวัสดุทางการเกษตรที่จ าเป็นมอบให้แก่เกษตรกรต้นแบบจ านวน 5 ราย 3. ส่งเสริมการแป รรูป สินค้าเกษตร ถ่ายถอดความรู้ด้านการแปลงรูปสินค้าทางการเกษตรของเกษตรในพื้นที่ให้แก่ เกษตรกร 1 กลุ่ม 4. จัดท าแปลงเรียนรู้การ ผลิตผักปลอดสารพิษ จัดซื้อวัสดุทางการเกษตรเพื่อใช้ในการเพาะปลูกพืชผักปลอดสารพิษในแปลงสาธิต โครงการที่ 40


108 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 5 . ส นั บ ส นุ น ก า ร ข ย า ย พั น ธุ์ ไ ม้ ใ น โรงเรือนเพาะช าไม้ดอกไม้ ประดับ จัดซื้อวัสดุทางการเกษตรเพื่อใช้ในการเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับในแปลงสาธิต 6 . จ้ าง เห ม า ค น ง า น เกษตร 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระพงศ์ ทาหล้า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8502 97573


109 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรเพื่อเป็นต้นแบบในด้านการเกษตร ตามแนวพระราชด าริ ต าบลออนใต้ อ าเภอสันก าแพง จังหวัดเชียงใหม่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื ่อสนองแนวพระราชด าริในการเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และส่งเสริมการประกอบอาชีพทางการ เกษตรของเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมายให้มั่นคงเพียงพอต่อการด าเนินชีวิต 2.2 เพื่อขยายผลการเรียนรู้สู่ชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาอาชีพ และมีรายได้เพิ่มขึ้นมี คุณภาพชีวิตที่ดี 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ดูแลรักษาพัฒนาแปลง เรียนรู้ภายในโครงการ 13,200 22 คน 2. ส่งเสริมการจัดท า แปลงเรียนรู้ 33,000 22 คน รวม 46,200 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร ตามแนวหลักเศรษฐกิจ พอเพียง อบรมเกษตรกรจ านวน 22 ราย 2. ส่งเสริมการจัดท า แปลงเรียนรู้ จัดซื้อวัสดุทางการเกษตรเพื่อจัดท าแปลงเรียนรู้ โครงการที่ 41


110 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายธีระพงศ์ ทาหล้า ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8502 97573


111 4.4 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประกอบด้วย 1 โครงการ ดังนี้ 4.4.1 โครงการส่งเสริมเคหกิจเกษตรในครัวเรือนเกษตรสูงวัย แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเคหกิจเกษตรในครัวเรือนเกษตรสูงวัย 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาด้านเคหกิจเกษตรในครัวเรือนเกษตรสูงวัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและเตรียมความ พร้อมในการเข้าสู่สังคมเกษตรสูงวัย 2.2 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของเกษตรกรสูงวัยในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ 2.3 เพื่อสร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างเกษตรสูงวัยกับเกษตรกรรุ่นใหม่ในการถ่ายทอดการแลกเปลี่ยนองค์ ความรู้ ประสบการณ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอาชีพ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1.ส่งเสริมเคหกิจเกษตรเพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตในครัวเรือนเกษตรสูงวัย - จัดเวทีถ่ายทอดความรู้และวิเคราะห์ ศักยภาพตนเอง /ชุมชน เพื่อร่วมกัน จัดท าแผน ก า รจั ดก า รบ้ าน เกษ ต ร สมบูรณ์ 2.ส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อสร้างรายได้ เสริมจากการประกอบอาชีพในกลุ่ม เกษตรสูงวัย - จัดเวทีถ่ายทอดความรู้และวิเคราะห์ ศักยภาพกลุ่ม/พื้นที่ /ชุมชน จัดตั้งกลุ่ม และจัดท าแผนการสร้างรายได้เสริมจาก การประกอบอาชีพในกลุ่มเกษตรสูงวัย 3.สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการด าเนิน กิจก รรมสร้างรายได้เสริม จาก าก ร ประกอบอาชีพในกลุ่มเกษตรสูงวัย 4.สร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่าง เกษตรสูงวัยกับเกษตรกรรุ่นใหม่ เพื่อ การพัฒนาอาชีพการเกษตร - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ด าเนิน กิจก ร รมกลุ่ม และเชื่อ มโยง เครือข่ายกับสถาบันเกษตรกร 2,800 5,600 30,000 5,600 14 14 1 กลุ่ม 14 กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกรเกษตรสูง วัยต าบลสันก าแพง อ .สันก าแพง จ.เชียงใหม่ รวม 44,000 14 ราย 1 กลุ่ม โครงการที่ 42


112 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1.ส่งเสริมเคหกิจเกษตรเพื่อ ก ารพั ฒ น าคุณ ภ าพ ชี วิตใน ครัวเรือนเกษตรสูงวัย 2.ส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อ ส ร้ าง ร ายได้ เส ริม จ าก ก า ร ประกอบอาชีพในกลุ่มเกษตรสูง วัย 3.สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการ ด าเนินกิจกรรมสร้างรายได้ เสริมจากากรประกอบอาชีพใน กลุ่มเกษตรสูงวัย 4.สร้างและเชื่อมโยงเครือข่าย ร ะ ห ว่ าง เก ษ ต ร สูงวั ย กั บ เกษ ต รก ร รุ่นใหม่ เพื่ อก า ร พัฒนาอาชีพการเกษตร เชิงปริมาณ จ านวนเกษตรกรสูงวัย 14 ราย ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านเคหกิจ เกษตรเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมเกษตรสูงวัย เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของเกษตรกรกรสูงวัยที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ผลที่ได้รับ ครัวเรือนเกษตรสูงวัยน าความรู้ด้านเคหกิจเกษตรไปปรับใช้ในการ ด าเนินชีวิต และการประกอบอาชีพ ท าให้มีรายได้ที่มั่นคง และมีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนมีการถ่ายทอดการแลกเปลี่ยนองค์ ความรู้ ประสบการณ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ส าคัญการไปสู่เกษตรกรรุ่นใหม่ เพื่อใช้การพัฒนาอาชีพการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวเกษราภรณ์ นิราศชล ต าแหน่ง เจ้าพนักงานเคหกิจเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 8198 00992


113 4.5 แผนงานบุรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ประกอบด้วย 4 โครงการ ดังนี้ 4.5.1 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร 4.5.2 โครงการสร้างความเข้มแข็งกลุ่มการผลิตด้านการเกษตร 1) เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร 2) เสริมสร้างแลพัฒนาศักยภาพกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร และการส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหารระดับ ชุมชน 3) เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลุ่มยุวเกษตรกร 4.5.3 โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 1) โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 2) พัฒนาศักยภาพการด าเนินงานและการให้บริการของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) 3) พัฒนาศูนย์เครือข่ายและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการจัดการดินและปุ๋ย (ศดปช.) 4.5.4 โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)


114 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อให้ผู้ยากไร้ไม่มีที่ดินท ากินที่ได้รับสิทธิการท ากินและการเข้าอยู่อาศัยในที่ดินของรัฐได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาอาชีพทางการเกษตร สามารถลดรายจ่าย สร้างรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร ที่เหมาะสมตามศักยภาพ ของพื้นที่ 130,000 650 ในพื้ น ที่ 5 อ าเภ อ ได้ แก่ อ าเภอฝาง อ าเภอไชยปราการ อ าเภอแม่แจ่ม อ าเภอฮอด และอ าเภอจอมทอง 2 . ส่ ง เส ริ ม ก า ร ท า การเกษตรที่เหมาะสมตาม ศักยภาพของพื้นที่ - สนับสนุนปัจจัยการผลิต ที่จ าเป็น เหมาะสมและ สอดคล้องกับลักษณะการ จัดที่ดินท ากิน - ติดตามเยี่ยมเยียนและให้ ค าแนะน าแก่เกษตรกรใน การด าเนินกิจกรรมทาง การเกษตร 559,000 221,000 650 650 รวม 910,000 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีด้านการเกษตร ที่เหมาะสมตามศักยภาพ ของพื้นที่ เกษตรกร จ านวน 650 ราย ในพื้นที่ 5 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอฝาง อ าเภอไชย ปราการ อ าเภอแม่แจ่ม อ าเภอฮอด และอ าเภอจอมทอง ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ที่สอดคล้องกับแผนความต้องการของเกษตรกรและ ตามความเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ ได้แก่ การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การปลูก และดูแลรักษาไม้ผล การปลูกผักสวนครัวในครัวเรือน การจัดการศัตรูพืช การขยายพันธุ์ พืช ระดมความเห็นตามศักยภาพ สอบถามความต้องการของเกษตรกรพร้อม สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จ าเป็นและเหมาะสม ในพื้นที่ที่ได้รับการจัดที่ดินท ากิน รับทราบปัญหาและความต้องการของเกษตรกร ตลอดจนวางแผนและก าหนด หลักสูตรการฝึกอบรม และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการที่ 43


115 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 2 . ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ท า การเกษตรที่เหมาะสม ตามศักยภาพของพื้นที่ - สนับสนุนปัจจัยการผลิต ที่จ าเป็นเหมาะสมและ สอดคล้องกับลักษณะการ จัดที่ดินท ากิน - ติดตามเยี่ยมเยียนและ ให้ค าแนะน าแก่เกษตรกร ในการด าเนินกิจกรรมทาง การเกษตร ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ด าเนินการจัดซื้อวัสดุการเกษตร โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ตามความต้องการของเกษตรกรพร้อมสนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จ าเป็น และเหมาะสม ในพื้นที่ที่ได้รับการจัดที่ดินท ากิน รับทราบปัญหาและความต้องการ ของเกษตรกร โดยจัดซื้อวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) มีการเสนอ ราคาที่โปร่งใส ซึ่งผู้ประกอบการที่ชนะในการประกวดราคา ครั้งนี้ ที่ราคา 277,166 บาท (สองแสนเจ็ดหมื่นเจ็ดพันหนึ่งร้อยหกสิบหกบาทถ้วน) และได้จัดส่ง ปัจจัยการผลิตที่จ าเป็นเหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะการจัดที่ดินท ากิน เรียบร้อย ครบถ้วน ทุกอ าเภอ จัดท าแผนออกติดตามให้ค าปรึกษาแนะน าเกษตรกร, เอกสารสนับสนุนตาม เอกสารที่เกี่ยวข้อง ท าการนัดหมายเกษตรกรเป้าหมายครบทุกราย เพื่อออกติดตาม เยี่ยมเยียนและให้ค าแนะน าแก่เกษตรกรในการด าเนินกิจกรรมทางการเกษตร จ านวนรายละ 2 ครั้ง 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายเรวัต แก้วเลิศตระกูล ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8985 28781


116 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการสร้างความเข้มแข็งกลุ่มการผลิตด้านการเกษตร กิจกรรม เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 ยกระดับ กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร ที่มีศักยภาพ ให้มีทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตร เบื้องต้น รวมถึงสนับสนุนการสร้างและใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารในชุมชน ส าหรับสร้างรายได้ หรือลดรายจ่าย ให้ครัวเรือนและชุมชน 2.2 เสริมสร้างและพัฒนา กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร ให้มีความเข้มแข็งสู่การเป็น Smart Group มีความสามารถในการบริหารจัดการกลุ่มเพิ่มขึ้น น าไปสู่การเป็นต้นแบบขยายผลต่อไปได้ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน พัฒนากลุ่มส่งเสริมอาชีพ การเกษตร สู่ Smart Group 1. กิจกรรมจัดกระบวน การเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะการบริหารจัดการ กลุ่มสู่ Smart Group ฯ 4,000 10 กลุ่มผ้าปกาเกอะญอบ้าน แม่หอย (โขล่เหม่โกล๊ะ) หมู่ที่ 12 ต.แม่นาจร อ. แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ พัฒนากลุ่มส่งเสริมอาชีพ การเกษตร สู่ Smart Group 2. กิจกรรมสนับสนุน ค่าใช้จ่ายด าเนินงานตาม แผนฯ 5,000 10 (รายเดิม) พัฒนาศักยภาพกลุ่ม ส่งเสริมอาชีพการเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการ เกษตรเบื้องต้น 1. จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการ บริหารจัดการกลุ่ม สู่ Smart Group และ วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม/ พื้นที่/ชุมชน ด้วยแผนการ ผลิตรายบุคคล (IFPP) 4,000 10 กลุ่มส่งเสริมอาชีพ การเกษตรกลุ่มกาแฟดอย ม่อนจิ้ง ต าบลโป่งแยง อ าเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ โครงการที่ 44


117 กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน พัฒนาศักยภาพกลุ่ม ส่งเสริมอาชีพการเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการ เกษตรเบื้องต้น 2. สนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อ การพัฒนากลุ่มส่งเสริม อาชีพการเกษตรสู่ ผู้ประกอบการเกษตร เบื้องต้น ตามแผนการ ผลิตรายบุคคล (IFPP) 10,000 10 (รายเดิม) กลุ่มส่งเสริมอาชีพ การเกษตรกลุ่มกาแฟดอย ม่อนจิ้ง ต าบลโป่งแยง อ าเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ พัฒนาศักยภาพกลุ่ม ส่งเสริมอาชีพการเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการ เกษตรเบื้องต้น 3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้และเชื่อมโยง เครือข่ายกับ ผู้ประกอบการเกษตร 4,000 10 (รายเดิม) รวม 9,000 20 ราย 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน พัฒนากลุ่มส่งเสริม อาชีพการเกษตร สู่ Smart Group 1. กิจกรรมจัดกระบวน ก ารเรียน รู้เพื่ อพั ฒ น า ทักษะการบริหารจัดการ กลุ่มสู่ Smart Group ฯ ท าการประชาสัมพันธ์เกษตรกรขึ้นทะเบียน ทบก. , จัดท าแบบประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer (ก่อน) และ บันทึกผลในระบบฐานข้อมูล Smart Farmer, จัดท า แบบประเมินศักยภาพองค์กรเกษตรกร (3ก.) (ครั้งที่ 1) และ บันทึกในระบบ ฐานข้อมูลงานองค์การเกษตรกร (3ก), เก็บข้อมูลรายได้เฉลี่ยเป็นภาพรวมของกลุ่ม , จัดท าแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP), ส่งแบบ กสอ.1 , จัดเตรียมเนื้อหาและ หลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการบริหารจัดการกลุ่ม สู่ Smart Group และวิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม/พื้นที่/ชุมชน ด้วยแผนการผลิต รายบุคคล (IFPP) ด าเนินการเมื่อวันที่ 6-7 ธันวาคม 2566 ณ ที่ท าการกลุ่มผ้าปกา เกอะญอบ้านแม่หอย (โขล่เหม่โกล๊ะ) หมู่ที่ 12 ต.แม่นาจร อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ พัฒนากลุ่มส่งเสริม อาชีพการเกษตร สู่ Smart Group 2. กิ จก ร รม สนั บ สนุ น ค่าใช้จ่ายด าเนินงานตาม แผนฯ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานตามแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) เพื่อการ พัฒนากลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร สู่ Smart Group จัดซื้อเครื่องมือ/อุปกรณ์/ ปัจจัยการผลิต/วัสดุสาธิต และปัจจัย อื่น ๆ ตามความต้องการของกลุ่มภายใต้ งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน และมอบให้กลุ่มด าเนินการตามแผนการพัฒนา ต่อไป จ านวน 5,000 บาท


118 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน พัฒนาศักยภาพกลุ่ม ส่งเสริมอาชีพการเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการ เกษตรเบื้องต้น 1. จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพั ฒ น าทั กษ ะก า ร บ ริห า รจั ดก า รก ลุ่ม สู่ Smart Group แ ล ะ วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม/ พื้นที่/ชุมชน ด้วยแผนการ ผลิตรายบุคคล (IFPP) ท าการประชาสัมพันธ์เกษตรกรขึ้นทะเบียน ทบก. , จัดท าแบบประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer (ก่อน) และ บันทึกผลในระบบฐานข้อมูล Smart Farmer, จัดท า แบบประเมินศักยภาพองค์กรเกษตรกร (3ก.) (ครั้งที่ 1) และ บันทึกในระบบ ฐานข้อมูลงานองค์การเกษตรกร (3ก), เก็บข้อมูลรายได้เฉลี่ยเป็นภาพรวมของกลุ่ม , จัดท าแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP), ส่งแบบ กสอ.1 , จัดเตรียมเนื้อหาและ หลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้ และจัดท าแผนการจัดซื้อปัจจัยและรายการ จัดซื้อปัจจัยฯ เพื่อพัฒนาทักษะการบริหารจัดการกลุ่ม สู่ Smart Group และ วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม/พื้นที่/ชุมชน ด้วยแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) ด าเนินการ เมื่อวันที่ 1-2 ธันวาคม 2566 ณ องค์การบริหารส่วนต าบลโป่งแยง ต.โป่งแยง อ. แม่ริม จ.เชียงใหม่ พัฒนาศักยภาพกลุ่ม ส่งเสริมอาชีพการเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการ เกษตรเบื้องต้น 2. สนับสนุน ค่ าใช้จ่ าย เพื่ อ ก า ร พั ฒ น า ก ลุ่ ม ส่งเสริมอาชีพการเกษตรสู่ ผู้ป ระก อบก ารเกษ ต ร เบื้องต้น ต ามแผนก าร ผลิตรายบุคคล (IFPP) สนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อการพัฒนากลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรสู่ผู้ประกอบการ เกษตรเบื้องต้น ตามแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP)จัดซื้อเครื่องมือ/อุปกรณ์/ปัจจัย การผลิต/วัสดุสาธิต และปัจจัย อื่น ๆ ตามความต้องการของกลุ่มภายใต้งบประมาณ ที่ได้รับการสนับสนุน และมอบให้กลุ่มด าเนินการตามแผนการพัฒนาต่อไป จ านวน 10,000 บาท พัฒนาศักยภาพกลุ่ม ส่งเสริมอาชีพการเกษตร สู่การเป็นผู้ประกอบการ เกษตรเบื้องต้น 3. จั ด กิ จ ก ร ร ม แลกเปลี่ยนเรียน รู้และ เชื่ อมโยงเค รือ ข่ าย กับ ผู้ประกอบการเกษตร จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างสมาชิกของกลุ่มส่งเสริม อาชีพการเกษตร (กลุ่มละ 10 ราย) กับผู้ประกอบการเกษตรในด้านที่ตรงตามความ ต้องการของกลุ่มฯ จ านวน 1 ครั้ง จ านวน 1 วัน โดยมีเนื้อหา/ประเด็นเกี่ยวกับ การแลกเปลี่ยนเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้น ตามประเด็นในแผน IFPP และแผนกิจกรรมกลุ่มที่ได้วิเคราะห์จากการจัด กระบวนการเรียนรู้ด าเนินการเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2566 ณ ที่ท าการกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกกาแฟบ้านป๊อก ต.ห้วยแก้ว อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่


119 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายศราวุฒิ ปิงเขียว ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8955 96034


120 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการสร้างความเข้มแข็งกลุ่มการผลิตด้านการเกษตร กิจกรรม เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร และการส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหารระดับชุมชน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 ยกระดับกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่มีศักยภาพ ให้มีทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตรเบื้องต้น รวมถึงสนับสนุนการสร้างและใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารในชุมชน ส าหรับสร้างรายได้ หรือลดรายจ่ายให้ ครัวเรือนและชุมชน 2.2 เสริมสร้างและพัฒนาองค์กรเกษตรกร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งสู่การเป็น Smart Group มีความสามารถในการบริหารจัดการกลุ่มเพิ่ม น าไปสู่การเป็นต้นแบบขยายผลต่อไปได้ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลุ่ม แม่บ้านเกษตรกร 1.เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลุ่ม แม่บ้านเกษตรกร สู่ Smart Group - จั ด เว ที ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม/พื้นที่/ชุมชน และจัดท าแผนพัฒนาศักยภาพกลุ่ม แม่บ้านเกษตรกร สู่ Smart Group - สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ศักยภ าพกลุ่มแม่บ้ านเกษตรกร สู่ Smart Group 2 .พั ฒ น าศั ก ย ภ าพ ก ลุ่ ม แ ม่ บ้ าน เกษตรกรสู่การเป็นผู้ประกอบการ เกษตรเบื้องต้น - จั ด อ บ รม ห ลั ก สู ต รก า รพั ฒ น า ศักยภาพกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรสู่การ ประกอบการเกษตรเบื้องต้น - สนับสนุนค่าใช่จ่ายเพื่อการพัฒนา ก ลุ่ม แม่ บ้ าน เกษ ต รก รสู่ก า รเป็ น ผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้นตามแผน ธุรกิจ - แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเชื่อมโยง เครือข่ายกับผู้ประกอบการเกษตร 4,000 5,000 4,000 10,000 4,000 10 1 กลุ่ม 10 1 กลุ่ม 10 กลุ่มผลิตภัณฑ์สร้างอาชีพ บ้านเหมืองผ่า ต.ริมเหนือ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ กลุ่มผลิตภัณฑ์สร้างอาชีพ บ้านเหมืองผ่า ต.ริมเหนือ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้าน ส า ร ภี ต .ทุ่ ง ร วง ท อ ง อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้าน สารภี ต.ทุ่งรวงทอง อ.แม่ วาง จ.เชียงใหม่ รวม 52,000 45 ราย ( 4 กลุ่ม) โครงการที่ 45 และโครงการที่ 46


121 กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน การส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร ระดับชุมชน 1.ส่งเสริมการสร้างความมั่นคงด้าน อาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือนและ ชุมชน - จัดเวทีถ่ายทอดความรู้และพัฒนา ทักษะการสร้างความมั่นคงด้านอาหาร วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่ม/พื้นที่/ชุมชน และจัดท าแผนการสร้างความมั่นคง ด้านอาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือน และชุมชน - สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการสร้างแหล่ง อาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือนและ ชุมชน 2.ส่งเสริมการสร้างแหล่งผลิตอาหาร คุณภาพเพื่อสร้างรายได้ระดับชุมชน - จัดเวทีถ่ายทอดความรู้และพัฒนา ทักษะการบริหารจัดการแหล่งผลิต อาหารคุณภาพ วิเคราะห์ศักยภาพ กลุ่ม/พื้นที่/ชุมชน และจัดท าแผนการ สร้างแหล่งผลิตอาหารคุณภาพเพื่อ สร้างรายได้ระดับชุมชน - สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการสร้างและ บ ริห า รจั ดก า รแห ล่งผลิ ตอ าห า ร คุณภาพเพื่อสร้างรายได้ระดับชุมชน 4,000 5,000 6,000 10,000 10 1 กลุ่ม 15 1 กลุ่ม กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้าน แ ม่ ข อ ต .แ ม่ น าจ ร อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้าน แ ม่ ข อ ต .แ ม่ น า จ ร อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้าน จะนะ ต.แม่อาย อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้าน จะนะ ต.แม่อาย อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ รวม 52,000 45 ราย ( 4 กลุ่ม) 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน เสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพกลุ่มแม่บ้าน เกษตรกร เชิงปริมาณ 1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จ านวน 1 กลุ่ม ได้รับการพัฒนาทักษะการเป็น ผู้ประกอบการด้านการเกษตรเบื้องต้น 2. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จ านวน 1 กลุ่ม ได้รับการพัฒนาทักษะด้านการบริหาร จัดการกลุ่มให้มีความเข้มแข็งสู่การเป็น Smart Group


122 กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1 .เส ริม ส ร้ างแ ล ะ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ก ลุ่ ม แ ม่ บ้ า น เกษตรกร สู่ Smart Group 2 .พั ฒ น า ศั ก ย ภ าพ ก ลุ่ ม แม่บ้านเกษตรกรสู่การเป็น ผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้น การส่งเสริมความมั่นคงด้าน อาหารระดับชุมชน 1 .ส่งเสริมก ารสร้างค วาม มั่นคงด้านอ าห ารเพื่อการ บริโภคในครัวเรือนและชุมชน 2.ส่งเสริมการสร้างแหล่งผลิต อ าห า รคุณ ภ าพ เพื่ อ สร้ าง รายได้ระดับชุมชน 3. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จ านวน 1 กลุ่ม มีความมั่นคงด้านอาหารและมีแหล่ง ผลิตอาหารที่มีคุณภาพ เชิงคุณภาพ 1. ร้อยละ 60 ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 2. ร้อยละ 70 ขององค์กรเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ มีผลการประเมิน ศักยภาพองค์กรเกษตรกร เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ ผลที่ได้รับ 1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรได้รับการพัฒนากลุ่มสู่การเป็น Smart Group 1. ยกระดับกลุ่มกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่มีศักยภาพให้มีทักษะการเป็น ผู้ประกอบการด้านการเกษตรเบื้องต้น 2. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรมีความสามารถบริหารจัดการกับทรัพยากรในท้องถิ่น รวมทั้งการน าองค์ความรู้ ภูมิปัญญ าท้องถิ่น เทคโนโลยี และนวัตกรรม บนพื้นฐานความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มาใช้ในการเพิ่มมูลค่าสินค้าและผลิตภัณฑ์ เกษตร 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน 1. ภาพกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร สู่ Smart Group 2. ภาพกิจกรรมพัฒนาศักยภาพกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรสู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้น 3. ส่งเสริมการสร้างความมั่นคงด้านอาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือนและชุมชน


123 4. ส่งเสริมการสร้างแหล่งผลิตอาหารคุณภาพเพื่อสร้างรายได้ระดับชุมชน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวเกษราภรณ์ นิราศชล ต าแหน่ง เจ้าพนักงานเคหกิจเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 8198 00992


124 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการสร้างความเข้มแข็งกลุ่มการผลิตด้านการเกษตร กิจกรรม เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลุ่มยุวเกษตรกร 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้กลุ่มยุวเกษตรกร มีการรวมกลุ่มโดยมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน โดยเน้นให้กลุ่มยุวเกษตรกรเป็นศูนย์กลางและออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2.2 ส่งเสริม สนับสนุนให้สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกรในระดับอุดมศึกษา มีความสามารถในทักษะการบริหารจัดการ ธุรกิจเกษตร เพื่อการเป็นผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้น การจัดท าแผนธุรกิจกลุ่ม การตลาดรวมทั้งการเสริมสร้าง และพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจของครัวเรือนและชุมชน อันจะน าไปสู่ความเข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้ของกลุ่มยุวเกษตรกร 2.3 พัฒนากลุ่มยุวเกษตรกรที่มีศักยภาพให้เป็นกลุ่มยุวเกษตรกรต้นแบบ (Smart Group Model) เพื่อเป็น กลไกในการจัดการเรียนรู้รวมถึงการถ่ายทอดองค์ความรู้ขยายผลสู่ชุมชน และสร้างเครือข่ายในการด าเนิน กิจกรรม รวมถึงพัฒนาให้กลุ่มยุวเกษตรกรมีความเข้มแข็ง และมีความสามารถในการบริหารจัดการกลุ่ม อย่างยั่งยืน 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินงาน 1. การพัฒนาศักยภาพกลุ่มยุวเกษตรกรเพื่อเตรียม ความพร้อมสู่กลุ่มเข้มแข็ง (Smart Group) 1 .1 อบ ร ม ถ่ าย ท อ ดค ว าม รู้แ ล ะ ฝึ กทั ก ษ ะ กระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร 6,000 30 ราย 1. อ าเภอฝาง (15 ราย) 2. อ าเภอสันก าแพง (15 ราย) 1.2 สนับสนุนวัสดุการเกษตรเพื่อพัฒนาทักษะ การเกษตรและเคหกิจเกษตร 10,000 2 กลุ่ม 1. อ าเภอฝาง 2. อ าเภอสันก าแพง 2 . พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ เย า ว ช น เก ษ ต รใน ระดับอุดมศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็น เกษตรกรรุ่นใหม่ 2.1 อบรมถ่ายทอดความรู้ และทักษะการเป็น ผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้นให้กลุ่มยุวเกษตรกรใน ระดับอุดมศึกษา 32,000 40 ราย 1. กลุ่มยุวเกษตรกร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (20 ราย) 2. กลุ่มยุวเกษตรกร มหาวิทยาลัยแม่โจ้(20 ราย) โครงการที่ 47


125 กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินงาน 2.2 สนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อด าเนินการตาม แผนธุรกิจของกลุ่มยุวเกษตรกรในระดับอุดมศึกษา 10,000 2 กลุ่ม 1. กลุ่มยุวเกษตรกร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. กลุ่มยุวเกษตรกร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รวม 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1. การพัฒนาศักยภาพกลุ่ม ยุ วเกษตรกรเพื่ อเตรียม ความพร้อมสู่กลุ่มเข้มแข็ง (Smart Group) เชิงปริมาณ 1) สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกร มีความสามารถในการด าเนินกิจกรรมกลุ่ม ใน 5 ด้าน ต่อไปนี้ - ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ร้อยละ 75 - ด้านการบริหารทุนและทรัพยากร ร้อยละ 75 - ด้านการพัฒนาความรู้และความสามารถของสมาชิก ร้อยละ 75 - ด้านกระบวนการพัฒนาสินค้าและบริการ ร้อยละ 75 - ด้านสาธารณะประโยชน์/การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 75 2) จ านวนกลุ่มยุวเกษตรกรที่เข้มแข็ง (Smart Group) จ านวน 2 กลุ่ม เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการกลุ่ม การบริหารจัดการกลุ่ม การวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่ม การจัดท าแผนการเรียนรู้ แผนการด าเนินกิจกรรมของกลุ่ม การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร การ ฝึกทักษะด้านการเกษตร เคหกิจเกษตร กิจกรรมการตลาด รวมถึงการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น และกลุ่มถูกพัฒนาศักยภาพจนเป็น กลุ่มที่เข้มแข็ง (Smart Group) 2 . พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ เย า ว ช น เ ก ษ ต ร ใ น ระดั บ อุ ดมศึ กษ าเพื่ อ เตรียมความพร้อมสู่การ เป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ กลุ่มยุวเกษตรกรในระดับอุดมศึกษาจ านวน 2 กลุ่มๆ ละ 20 ราย ได้รับการพัฒนา ความรู้และทักษะการเป็นเป็นผู้ประกอบการเกษตรเบื้องต้น เพื่อต่อยอดในการ เป็นเกษตรกร รุ่นใหม่ในอนาคต รวมถึงการจัดท าแผนธุรกิจของกลุ่ม เชิงคุณภาพ 2) สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกรในระดับอุดมศึกษา มีความเข้าใจในเรื่องของการ บริหารจัดการ ธุรกิจเกษตร การจัดท าแผนธุรกิจกลุ่ม การตลาดเพิ่มมากขึ้น พร้อมสู่ การเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ในอนาคตต่อไป


126 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน 1. การพัฒนาศักยภาพกลุ่มยุวเกษตรกรเพื่อเตรียมความพร้อมสู่กลุ่มเข้มแข็ง (Smart Group) 1.1 อ าเภอฝาง 1.2 อ าเภอสันก าแพง 2. พัฒนาศักยภาพเยาวชนเกษตรในระดับอุดมศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายณัชพล อยู่เย็น ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ เบอร์โทรศัพท์0 8012 23644


127 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดแก่เกษตรกร รวมทั้งการ ให้บริการทางการเกษตร และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่ 2.2 เพื่อเป็นกลไกในการบูรณาการการท างานของหน่วยงานต่างๆ ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการเกษตร ในพื้นที่ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1. การพัฒนาศักยภาพของ ศพก. และศูนย์ เครือข่าย 1.1 พัฒนา ศพก. 1.2 พัฒนาศูนย์เครือข่ายอื่นๆ (ยกเว้น ศจช., ศดปช.) 107,500 215,000 25 ราย 50 ราย 25 อ าเภอ 25 อ าเภอ 2. พัฒนาเกษตรกร 2.1 พัฒนาประธานศูนย์เครือข่าย 2.2 จัดกระบวนการเรียนรู้กับเกษตรกรผู้น า 3 ครั้ง 50,000 450,000 250 ราย 750 ราย จังหวัดด าเนินการ 25 อ าเภอ 3. สนับสนุนการให้บริการของ ศพก. และศูนย์ เครือข่าย 3.1 การจัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อ เริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) 3.2 ประกวด ศพก. ดีเด่น 225,000 15,000 750 ราย 1 ครั้ง 25 อ าเภอ จังหวัดด าเนินการ 4. บริหารจัดการเพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงาน 4.1 ประชุมคณะกรรมการเครือข่าย ศพก. ระดับอ าเภอ 4.2 ประชุมคณะกรรมการเครือข่าย ศพก. ระดับจังหวัด 4.2 ติดตามและรายงานผลการด าเนินงาน ศพก. 100,000 72,000 18,900 250 ราย 50 ราย 25 อ าเภอ จังหวัดด าเนินการ จังหวัดด าเนินการ รวม 1,253,400 790 25 อ าเภอ โครงการที่ 48


128 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) ผลผลิต (Output) 1) เกษตรกรผู้น า จ านวน 250 ราย ได้รับการถ่ายทอดความรู้จาก ศพก. 2) ศพก. หลัก จ านวน 25 ศูนย์ ได้รับการพัฒนา 3) ศูนย์เครือข่าย จ านวน 50 ศูนย์ ได้รับการพัฒนา (ศดปช., ศจช. และศูนย์เครือข่ายอื่นๆ) ผลลัพธ์ (Outcome) 1) เกษตรกรไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้จาก ศพก. สามารถน าความรู้ไปปฏิบัติได้ 2) เกษตรกรที่ได้รับความรู้จาก ศพก. มีรายได้เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ 1) ศพก. จ านวน 25 ศูนย์ ได้รับการพัฒนา 2) เกษตรกรผู้น า จ านวน 250 ราย ได้รับการพัฒนา เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 ของ ศพก. และศูนย์เครือข่าย มีความพร้อมในการให้บริการและเป็นจุดเรียนรู้ให้กับเกษตรกร 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


129


130


131 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นางสาวพรรณี วันชัย ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร เบอร์โทรศัพท์0 9795 49426


132 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) กิจกรรม พัฒนาศักยภาพการด าเนินงานและการให้บริการของศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดแก่เกษตรกร รวมทั้งการ ให้บริการทางการเกษตร และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่ 2.2 เพื่อเป็นกลไกในการบูรณาการการท างานของหน่วยงานต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการเกษตรใน พื้นที่ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน 1) การด าเนินกิจกรรม ก ร ะบ วน ก า รโรงเรีย น เกษตรกร 20,000 10 ราย อ.สันป่าตอง 2) จัดกระบวนการเรียนรู้ แก่เกษตรกร เพื่อพัฒนา แ ล ะ ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ าพ ศจช. 150,000 750 ราย 25 อ าเภอ 3 ) สนั บ สนุ น วัสดุ ผลิ ต ปัจจัยควบคุมศัตรูพืช 125,000 25 ศูนย์ 25 อ าเภอ 4) สนับสนุนการส ารวจ และติดตามสถานการณ์ ศัตรูพืช 24,800 62 แปลง 25 อ าเภอ 5) ประชุมคณะกรรมการ ขับ เค ลื่อน ศูน ย์ จั ดก า ร ศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) และ แปลงใหญ่ ระดับจังหวัด 5,000 20 ราย จังหวัดด าเนินการ 6) ประกวด ศจช. ดีเด่น 5,000 5 ศูนย์ จังหวัดด าเนินการ 7) พัฒน าศักยภาพการ ให้ บ ริ ก า ร ค ลิ นิ ก พื ช สนับสนุนการด าเนินงาน ศูนย์เครือข่าย 13,000 26 คลินิก จังหวัดด าเนินการ รวม 342,800 750 ราย โครงการที่ 49


133 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน 1) การด าเนินกิจกรรม ก ระบ วน ก ารโรงเรียน เกษตรกร 1.1 ด าเนินการ จัดกระบวนการเรียนรู้ จ านวน 1 ศูนย์ 1.2 จัดท าแปลงเรียนรู้ จ านวน 1 แปลง 1.3 เกษตรกรเข้าร่วม จ านวน 5 ครั้ง ๆ ละ 10 ราย 2) จัดกระบวนการเรียนรู้ แก่เกษตรกร เพื่อพัฒนา และยก ระดับคุณ ภ าพ ศจช. 2.1 ด าเนินการ จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อยกระดับ ศจช. จ านวน 25 ศูนย๋ 2.2 เกษตรกรเข้าร่วม ศูนย์ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 15 ราย 3 ) สนับ สนุน วัสดุผลิต ปัจจัยควบคุมศัตรูพืช 3.1 สนับสนุนวัสดุให้กับ ศจช. จ านวน 25 ศูนย์ 4) สนับสนุนการส ารวจ และติดตามสถานการณ์ ศัตรูพืช 4.1 สนับสนุนวัสดุ ให้ แปลง ศจช. จ านวน 50 แปลง 4.2 สนับสนุนวัสดุ ให้ แปลง พื้นที่เสี่ยง จ านวน 12 แปลง 5) ประชุมคณะกรรมการ ขับเคลื่อน ศูนย์จัดก าร ศัต รูพื ชชุม ชน (ศ จช .) และแป ลงใหญ่ ระดับ จังหวัด 5.1 มีการประชุมเชื่อมโยงเครือข่าย จ านวน 1 ครั้ง 5.2 คณะกรรมการ ศจช.เข้าร่วม จ านวน 10 ราย 5.3 คณะกรรมการ แปลงใหญ่ เข้าร่วม จ านวน 10 ราย 6) ประกวด ศจช. ดีเด่น 6.1 มีการประกวด ศจช. เพื่อเป็นขวัญและก าลังใจ จ านวน 1 ครั้ง 6.2 มี ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) ได้รับรางวัล จ านวน 5 ศูนย์ 7) พัฒนาศักยภาพการ ให้ บ ริ ก า ร ค ลิ นิ ก พื ช สนับสนุนการด าเนินงาน ศูนย์เครือข่าย 7.1 มีการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะให้กับหมอพืช จ านวน 1 ครั้ง 7.2 มีเจ้าหน้าที่หมอพืช ระดับอ าเภอเข้าร่วม จ านวน 25 คน 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน


134 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายสัญชัย ปัญจะเรือง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 9922 44999


135 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) กิจกรรม พัฒนาศูนย์เครือข่ายและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการจัดการดินและปุ๋ย (ศดปช.) 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 .เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดแก่เกษตรกร รวมทั้ง การให้บริการทางการเกษตร และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่ 2.2 เพื่อเป็นกลไกในการบูรณาการการท างานของหน่วยงานต่างๆ ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการเกษตรใน พื้นที่ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เพื่ อ ขับเคลื่อนการด าเนินงาน ของศูน ย์ จัดก ารดินปุ๋ ย ชุมชน (ศดปช.) 15,000 50 1 จังหวัดด าเนินการ พัฒนาศูนย์จัดการดินปุ๋ย ชุมชน (ศดปช.) 60,000 240 8 อ าเภอ ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้าน การจัดการดินและปุ๋ยเพื่อ ลดต้นทุนการผลิต 252,500 500 25 อ าเภอ รวม 327,500 790 25 อ าเภอ 4. ผลการด าเนินงาน (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่บรรลุวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัด) กิจกรรม ผลการด าเนินงาน บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เพื่ อ ขับเคลื่อนการด าเนินงาน ของศูนย์จัดก ารดินปุ๋ย ชุมชน (ศดปช.) จากการด าเนินงานเกิดการขับเคลื่อนการด าเนินงานศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนและการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการจัดการดินและปุ๋ยชุมชน พัฒนาศูนย์จัดการดินปุ๋ย ชุมชน (ศดปช.) เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการจัดการดินและปุ๋ยแก่สมาชิกศูนย์จัดการดินปุ๋ย ชุมชน ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้าน การจัดการดินและปุ๋ยเพื่อ ลดต้นทุนการผลิต เกิดแปลงเรียนรู้ด้านการจัดการดินและปุ๋ยในศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนเพื่อเป็นแหล่ง เรียนรู้ให้กับสมาชิกศูนย์และเกษตรกรทั่วไป โครงการที่ 50


136 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายนพพล ฟูแสง ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8571 11247


137 แบบรายงานสรุปผลการด าเนินโครงการ (Final Report) โครงการตามตัวชี้วัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการโครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อเตรียมความพร้อม ส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรให้เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 2.2 เพื่อสร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกรและเกษตรกรต้นแบบ ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเกษตรกรรายอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. กิจกรรมของโครงการ กิจกรรม งบประมาณ (บาท) เป้าหมาย (ราย) พื้นที่ด าเนินงาน การพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 1) อบรมพัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้เป็น เกษตรกร ปราดเปรื่อง Smart Farmer 100,000 250 พื้นที่ 25 อ าเภอ ๆ ละ 10 ราย 2) จัดท าแปลงเรียนรู้ต้นแบบเพื่อการขยายผลการ พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (SF) ระดับพื้นที่ 20,000 1 แปลง อ าเภอสันก าแพง (ชื่อเกษ ตรก ร น ายนพ นคร งามปฏิรูป) 3) ถอดองค์ความรู้เกษตรกรปราดเปรื่องต้นแบบ (SFM) ระดับจังหวัด 5,000 1 ราย อ าเภอสันก าแพง (ชื่อเกษ ตรก ร น ายนพ นคร งามปฏิรูป) การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ 1) อบรมหลักสูตรพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer 80,000 50 พื้นที่ 25 อ าเภอ ส ถ า น ที่ อ บ ร ม ศู น ย์ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ก า ร เ ก ษ ต ร จั ง ห วั ด เชียงใหม่ และส านักงาน เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ 2) ขับเคลื่อนการด าเนินงานศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่น ใหม่ 2.1) พัฒนาศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ 20,000 1 จังหวัด อ าเภอสันก าแพง รวม 225,000 300 โครงการที่ 51


138 4. ผลการด าเนินงาน กิจกรรม ผลการด าเนินงาน การพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 1) อบรมพัฒนาศักยภาพ เ ก ษ ต ร ก ร ใ ห้ เ ป็ น เกษ ตรก รป ราดเป รื่อง Smart Farmer เกษตรกรได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพให้เป็น Smart Farmer จ านวน 25 อ าเภอ อ าเภอ ละ 10 ราย รวมทั้งสิ้น 250 ราย โดยเกษตรกรที่เข้าร่วมการอบรมฯ ได้รับ การยกระดับเป็น Smart Farmer จ านวน 242 ราย คิดเป็น ร้อยละ 96.8 (ข้อมูล จากระบบสารสนเทศเกษตรกรปราดเปรื่อง (SF/YSF/3ก)) 2 ) จัดท าแป ลงเรียน รู้ ต้นแบบเพื่อการขยายผล ก า รพั ฒ น าเก ษ ต ร ก ร ปราดเปรื่อง (SF) ระดับ พื้นที่ ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่คัดเลือกแปลงเรียนรู้ต้นแบบของเกษตรปราดเปรื่อง ต้นแบบ (Smart Farmer Model) นายนพนคร งามปฏิรูป ที่ปลูกล าไยและผสาน การปลูกพืชในโรงเรือน ที่อาศัยระบบโรงเรือนอัจฉริยะ ซึ่งจะสามารถเป็นต้นแบบ ให้แก่เกษตรกรรายอื่นเพื่ออ านวยประโยชน์ในขั้นตอนการผลิต และอาจเพิ่มคุณภาพ ให้สินค้าเกษตรจากการดูแลพืชอย่างแม่นย า โดยสนับสนุนวัสดุเพื่อปรับปรุงและ พัฒนาโรงเรือนซึ่งจะสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบด้านการปลูกพืชในโรงเรือน แบบอัจฉริยะแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ 3 ) ถ อ ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ เกษ ตรก รป ราดเป รื่อง ต้ น แ บ บ (SFM) ร ะ ดั บ จังหวัด ส านักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ด าเนินการถอดองค์ความรู้ของเกษตรกร ปราดเปรื่องต้นแบบ (Smart Farmer Model) เจ้าของแปลงเรียนรู้ต้นแบบเพื่อการ ขยายผลการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ระดับพื้นที่ นายนพนคร งามปฏิรูป ในด้านข้อมูลกิจกรรม การบริหารจัดการ การจัดการและช่องทางด้าน การตลาด การใช้เทคโนโลยี และปัจจัยของความส าเร็จ โดยจัดท าเป็นป้ายข้อมูลเพื่อใช้ประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ที่สนใจต่อไป การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ 1) อบรมหลักสูตรพัฒนา เกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer เกษตรกรรุ่นใหม่ได้รับการอบรมพัฒนาให้เป็น Young Smart Farmer จ านวน 50 ราย (ประกอบไปด้วย เกษตรกรรุ่นใหม่ ปี 2566 จ านวน 33 ราย และคณะพี่เลี้ยง (YSF รุ่นพี่) จ านวน 17 ราย) โดยมีเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ผ่านการประเมินคุณสมบัติ ของ Young Smart Farmer จ านวน 31 ราย คิดเป็น 93.9 ของเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ เข้าร่วมโครงการ (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศเกษตรกรปราดเปรื่อง (SF/YSF/3ก)) 2 ) ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ด าเนินงานศูนย์บ่มเพาะ เกษตรกรรุ่นใหม่ 2.1) พัฒนาศูนย์บ่มเพาะ เกษตรกรรุ่นใหม่ ส านักงานเกษตรจังหวัด ร่วมกับศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ และเครือข่าย Young Smart Farmer จังหวัดเชียงใหม่ จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดท า แผนการด าเนินงานศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ เพื่อวางแผนการปฏิบัติงานเพื่อ พัฒนากิจกรรมการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ในปีงบประมาณถัดไป และสนับสนุนวัสดุ ทางการเกษตรเพื่อปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมภายในศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่


139 5. ภาพกิจกรรมการด าเนินงาน ภาพกิจกรรมการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ภาพกิจกรรมการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม นายกอบลาภ แสงสุวรรณ ต าแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรช านาญการ เบอร์โทรศัพท์0 8480 3977 0


Click to View FlipBook Version