The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 61100140201, 2023-01-26 20:23:12

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต

84


85


86


87 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัสวิชา ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต ภาคเรียนที่ 1/2565 เรื่องอินเตอร์เซกชันของเซต เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวมณันยา พินะสา โรงเรียนอุดรพัฒนาการ 1. มาตรฐานและตัวชี้วัด สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.4/1 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการ สื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. สาระสำคัญ ถ้า A และ B เป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์ แล้วจะได้ว่า อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือ เซตของสมาชิกที่ซ้ำกันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A B นั่นคือ A B = {x | x A และ x | x B} 3. จุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว นักเรียนสามารถ 3.1 ด้านความรู้ (K) หาอินเตอร์เซกชันของเซตได้ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขียนเซตที่เกิดจากการอินเตอร์เซกชันของเซตได้ 3.3 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ อินเตอร์เซกชันของเซต 5. สมรรถนะของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด


88 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนเรื่องแผนภาพเวนน์ 2. ครูใช้power point เรื่องอินเตอร์เซกชันยกตัวอย่างแผนภาพเวนน์ 3. ครูถามนักเรียนว่าในรูปมีกี่เซต (2 เซต) 4. แล้วเซตA กับ เซต B มีสมาชิกอะไรที่ซ้ำกัน (3,5) ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 5. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า พื้นที่ที่มีสมาชิกเหมือนกัน คือ ส่วนอินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B ซึ่งเขียนแทนด้วย A B 6. ครูสรุปความหมายอินเตอร์เซกชันของเซตโดยครูถามนักเรียน ดังนี้ - อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คืออะไร (เซตของสมาชิกที่ซ้ำกันของเซต A และ เซต B เขียนแทนด้วย A B นั่นคือ A B = {x | x A และ x | x B} 7. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่ (ข้อ 2 ย่อย) 2 ใหญ่ (ข้อ 1,3,4 ย่อย) หน้า 36 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดและสรุปเรื่องอินเตอร์เซกชัน


89 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.2 สื่อการเรียนรู้ - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 1 เซต ของ สสวท. - PowerPoint เรื่องอินเตอร์เซกชัน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของโรงเรียนอุดรพัฒนาการ - google : อินเตอร์เซกชันของเซต 8. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการ เกณฑ์การ ประเมิน 1. ด้านความรู้(K) 1.1 หาอินเตอร์เซกชันของเซตได้ แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่ (ข้อ 2 ย่อย) 2 ใหญ่ (ข้อ 1,3,4 ย่อย) ตรวจแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่ (ข้อ 2 ย่อย) 2 ใหญ่ (ข้อ 1,3,4 ย่อย) ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 เขียนเซตที่เกิดจากการอินเตอร์ เซกชันของเซตได้ แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่ (ข้อ 2 ย่อย) 2 ใหญ่ (ข้อ 1,3,4 ย่อย) ตรวจแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่ (ข้อ 2 ย่อย) 2 ใหญ่ (ข้อ 1,3,4 ย่อย) ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (A) 3.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ ได้รับมอบหมาย แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม อยู่ใน ระดับดี ขึ้นไป


90 แบบประเมินด้านความรู้ (K) และด้านทักษะกระบวนการ (P) ประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง เซต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2565 ด้านความรู้ ประเมินจากแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่ (ข้อ 2 ย่อย) 2 ใหญ่ (ข้อ 1,3,4 ย่อย) ด้านทักษะกระบวนการ ประเมินจากแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่ (ข้อ 2 ย่อย) 2 ใหญ่ (ข้อ 1,3,4 ย่อย)


91


92


93


94


95


96 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัสวิชา ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต ภาคเรียนที่ 1/2565 เรื่อง ยูเนียนของเซต เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวมณันยา พินะสา โรงเรียนอุดรพัฒนาการ 1. มาตรฐานและตัวชี้วัด สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.4/1 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการ สื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. สาระสำคัญ ยูเนียนของเซต A และเซต B คือ เซตของสมาชิกที่อยู่ในเซต A หรือเซต B หรือทั้งสองเซต เขียนแทนด้วย A B นั่นคือ A B = {x | x A หรือ x | x B } 3. จุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว นักเรียนสามารถ 3.1 ด้านความรู้ (K) หายูเนียนของเซตได้ 3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) เขียนเซตที่เกิดจากการยูเนียนของเซตได้ 3.3 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ ยูเนียนของเซต 5. สมรรถนะของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด


97 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทบทวน ดังนี้ - อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือ เซตของสมาชิกที่ซ้ำกันของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A B นั่นคือ A B = {x | x A และ x | x B} 2. ครูใช้powerpoint เรื่องยูเนียน ยกตัวอย่างแผนภาพเวนน์ 3. ครูถามนักเรียนว่าในรูปมีกี่เซต (2 เซต) 4. สมาชิกที่อยู่ในเซตA หรืออยู่ในเซตB มีอะไรบ้าง(1,2,3,4,5) ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 5. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่าสมาชิกที่อยู่ในเซตA หรืออยู่ในเซตB คือ ส่วนยูเนียนของเซต A และเซต B ซึ่งเขียนแทนด้วย A B 6. ครูยกตัวอย่างการยูเนียน โดยใช้powerpoint เรื่องยูเนียน 7. ครูสรุปความหมายยูเนียนของเซตโดยครูถามนักเรียน ดังนี้ - ยูเนียนของเซต A และเซต B คืออะไร (เซตของสมาชิกที่อยู่ในเซต A หรือเซต B หรือทั้ง สองเซต เขียนแทนด้วย A B นั่นคือ A B นั่นคือ A B = {x | x A หรือ x | x B } 8. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 4 (4-6 ย่อย) หน้า 37 ในหนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และใบงานเรื่อง การยูเนียนของเซต ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป 9. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด และสรุปเรื่องยูเนียน


98 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 1 เซต ของ สสวท. - Powerpoin เรื่อง ยูเนียนของเซต - ใบงานเรื่อง การยูเนียนของเซต 2. แหล่งการเรียนรู้ 2.1 ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของโรงเรียนอุดรพัฒนาการ 2.2 google : ยูเนียนของเซต 8. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการ เกณฑ์การ ประเมิน 1. ด้านความรู้(K) 1.1 หายูเนียนของเซตได้ แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 4 (4-6 ย่อย) ใบงานเรื่อง การยูเนียนของเซต ตรวจ แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 4 (4-6 ย่อย) ใบงานเรื่อง การยูเนียนของเซต ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 เขียนเซตที่เกิดจากการยูเนียน ของเซตได้ แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 4 (4-6 ย่อย) ใบงานเรื่อง การยูเนียนของเซต ตรวจ แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 4 (4-6 ย่อย) ใบงานเรื่อง การยูเนียนของเซต ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) 3.1 แสดงพฤติกรรมความมุมานะ ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) แบบสังเกต พฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม อยู่ใน ระดับดี ขึ้นไป


99 แบบประเมินด้านความรู้ (K) และด้านทักษะกระบวนการ (P) ประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง เซต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2565 ด้านความรู้ ประเมินจากแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 4 (4-6 ย่อย), ใบงานเรื่อง การยูเนียนของเซต ด้านทักษะกระบวนการ ประเมินจากแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 4 (4-6 ย่อย), ใบงานเรื่อง การยูเนียนของเซต


100


101


102


103


104


105 เฉลย 1. B U C = {10,11,12,13,45,67} 2. A U C = {1,2,5,7,9,23,45,67} 3. A U B U C = {1,2,5,7,9,23,10,11,12,13,45,67}


106 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัสวิชา ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต ภาคเรียนที่ 1/2565 เรื่อง คอมพลีเมนต์ของเซต เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวมณันยา พินะสา โรงเรียนอุดรพัฒนาการ 1. มาตรฐานและตัวชี้วัด สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.4/1 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการ สื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. สาระสำคัญ ถ้า A เป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์แล้ว จะได้ว่า คอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตของทุก สมาชิกในเซต U แต่ไม่อยู่ในเซต A เขียนแทนด้วย A นั่นคือ A = {x | x U และ x A} 3. จุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว นักเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้ (K) 1.1 หาคอมพลีเมนต์ของเซตได้ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 เขียนเซตที่เกิดจากการคอมพลีเมนต์ของเซตได้ 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) 3.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ คอมพลีเมนต์ของเซต 5. สมรรถนะของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


107 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนการอินเตอร์เซกชันและการยูเนียนของเซต 2. ครูยกตัวอย่างแผนภาพเวนน์ใน power point 3. ครูถามนักเรียนว่าเซต A มีสมาชิกคืออะไรบ้าง (1,3,5) 4. ครูถามนักเรียนว่ามีสมาชิกใดที่อยู่ในเซต U แต่ไม่อยู่ในเซต A (7,9,10) ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 5. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่าส่วนที่อยู่ใน U แต่ไม่อยู่ใน A คือ ส่วนคอมพลีเมนต์ของเซต A ซึ่งเขียนแทนด้วย A 6. ครูยกตัวอย่างการคอมพลีเมนต์ โดยใช้powerpoint เรื่องคอมพลีเมนต์ของเซต 7. ครูสรุปความหมายคอมพลีเมนต์ของเซตโดยครูถามนักเรียน ดังนี้ - คอมพลีเมนต์ของเซต A คืออะไร (เซตของทุกสมาชิกในเซต U แต่ไม่อยู่ในเซต A เขียน แทนด้วย A นั่นคือ A = {x | x U และ x A} ) 8. ครูให้นักเรียนจับคู่ หรือคนเดียว เพื่อเล่น wordwall คอมพลีเมนต์ของเซต ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป 9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความหมายและการหาคอมพลีเมนต์ของเซต 10. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่(5-8 ย่อย) ข้อ 3 ใหญ่ (1-4 ย่อย) เป็นการบ้าน


108 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 1 เซต ของ สสวท. 2) wordwall คอมพลีเมนต์ของเซต 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของโรงเรียนอุดรพัฒนาการ 2) google : คอมพลีเมนต์ของเซต 8. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการ เกณฑ์การ ประเมิน 1. ด้านความรู้(K) 1.1 หาคอมพลีเมนต์ของเซตได้ 1) wordwall คอมพลีเมนต์ของเซต 2) แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่(5-8 ย่อย) ข้อ 3 ใหญ่ (1-4 ย่อย) ตรวจ 1) wordwall คอมพลีเมนต์ของเซต 2) แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่(5-8 ย่อย) ข้อ 3 ใหญ่ (1-4 ย่อย) ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 เขียนเซตที่เกิดจากการคอมพลี เมนต์ของเซตได้ 1) wordwall คอมพลีเมนต์ของเซต 2) แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่(5-8 ย่อย) ข้อ 3 ใหญ่ (1-4 ย่อย) ตรวจ 1) wordwall คอมพลีเมนต์ของเซต 2) แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่(5-8 ย่อย) ข้อ 3 ใหญ่ (1-4 ย่อย) ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) 3.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ ได้รับมอบหมาย แบบสังเกต พฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม อยู่ใน ระดับดี ขึ้นไป


109 แบบประเมินด้านความรู้ (K) และด้านทักษะกระบวนการ (P) ประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง เซต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2565 ด้านความรู้ ประเมินจาก wordwallคอมพลีเมนต์ของเซต, แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่(5-8 ย่อย) ข้อ 3 ใหญ่ (1-4 ย่อย) ด้านทักษะกระบวนการ ประเมินจาก wordwallคอมพลีเมนต์ของเซต, แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่(5-8 ย่อย) ข้อ 3 ใหญ่ (1-4 ย่อย) เลขที่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ กระบวนการ ผลการประเมิน คะแนนเต็ม (10) คะแนนเต็ม (10) ได้ ร้อยละ ได้ ร้อยละ ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16


110 เลขที่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ กระบวนการ ผลการประเมิน คะแนนเต็ม (10) คะแนนเต็ม (10) ได้ ร้อยละ ได้ ร้อยละ ผ่าน ไม่ผ่าน 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 เกณฑ์การประเมิน นักเรียนได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ สรุปผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์ จำนวน....................คน ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน....................คน ลงชื่อ……………………………………………..…ผู้ประเมิน (นางสาวมณันยา พินะสา)


111


112


113


114


115 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัสวิชา ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต ภาคเรียนที่ 1/2565 เรื่อง ผลต่างระหว่างเซต เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวมณันยา พินะสา โรงเรียนอุดรพัฒนาการ 1. มาตรฐานและตัวชี้วัด สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.4/1 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการ สื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. สาระสำคัญ ผลต่างระหว่างเซต A และเซต B คือ เซตที่มีสมาชิกอยู่ในเซต A แต่ไม่อยู่ในเซต B เขียนแทน ด้วย A - B นั่นคือ A - B = {x | x A และ x B} 3. จุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว นักเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้ (K) 1.1 หาผลต่างระหว่างเซตได้ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 เขียนเซตที่เกิดจากการหาผลต่างระหว่างเซตได้ 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) 3.1 แสดงพฤติกรรมความมุมานะในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 4. สาระการเรียนรู้ ผลต่างระหว่างเซต 5. สมรรถนะของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด


116 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทบทวน ดังนี้ - คอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตของทุกสมาชิกในเซต U แต่ไม่อยู่ในเซต A เขียนแทน ด้วย A นั่นคือ A = {x | x U และ x A} 2. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 1 ใหญ่(5-8 ย่อย) ข้อ 3 ใหญ่ (1-4 ย่อย) ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 3. ครูใช้powerpoint เรื่องผลต่างระหว่างเซต ยกตัวอย่างแผนภาพเวนน์ 4. ครูถามนักเรียนว่าในรูปมีกี่เซต (2 เซต) 5. สมาชิกที่อยู่ในเซตA แต่ไม่อยู่ในเซตB มีอะไรบ้าง (1,2) 6. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า สมาชิกที่อยู่ใน A แต่ไม่อยู่ใน B คือ ส่วนผลต่างระหว่างเซต A และเซต B ซึ่งเขียนแทนด้วย A - B นั่นคือ A - B = {x | x A และ x B} 7. ครูยกตัวอย่างการคอมพลีเมนต์ โดยใช้powerpoint เรื่องผลต่างระหว่างเซต 8. ครูให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง ผลต่างระหว่างเซต ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป 9. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานเรื่อง ผลต่างระหว่างเซต 10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า สมาชิกที่อยู่ใน A แต่ไม่อยู่ใน B คือ ส่วนผลต่างระหว่าง เซต A และเซต B ซึ่งเขียนแทนด้วย A - B นั่นคือ A - B = {x | x A และ x B}


117 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.2 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 1 เซต ของ สสวท. 2) ใบงานเรื่อง ผลต่างระหว่างเซต 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของโรงเรียนอุดรพัฒนาการ 2) google : ผลต่างระหว่างเซต 8. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการ เกณฑ์การ ประเมิน 1. ด้านความรู้(K) 1.1 หาผลต่างระหว่างเซตได้ ใบงานเรื่อง ผลต่างระหว่างเซต ตรวจใบงานเรื่อง ผลต่างระหว่างเซต ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 เขียนเซตที่เกิดจากการหา ผลต่างระหว่างเซตได้ ใบงานเรื่อง ผลต่างระหว่างเซต ตรวจใบงานเรื่อง ผลต่างระหว่างเซต ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) 3.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ ได้รับมอบหมาย แบบสังเกต พฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม อยู่ใน ระดับดี ขึ้นไป


118 แบบประเมินด้านความรู้ (K) และด้านทักษะกระบวนการ (P) ประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง เซต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2565 ด้านความรู้ ประเมินจากใบงานเรื่องผลต่างระหว่างเซต ด้านทักษะกระบวนการ ประเมินจากใบงานเรื่องผลต่างระหว่างเซต


119


120


121


122


123


124 เฉลย 1) A – (B U C) = {1,2,5,7} 2) B – A = {10} 3) U – (AUBUC) = {1,2,3,7,11}


125 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัสวิชา ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต ภาคเรียนที่ 1/2565 เรื่อง การหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวมณันยา พินะสา โรงเรียนอุดรพัฒนาการ 1. มาตรฐานและตัวชี้วัด สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ ของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.4/1 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการ สื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. สาระสำคัญ การหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป คือ การนำเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไปมา อินเตอร์เซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต์ หรือหาผลต่างระหว่างเซต จากนั้นเขียนคำตอบในรูปเซตหรือ เขียนแผนภาพแทนเซตคำตอบนั้น 3. จุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว นักเรียนสามารถ 1. ด้านความรู้ (K) 1.1 หาเซตที่เกิดจากผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไปได้ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 เขียนเซตที่เกิดจากผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไปได้ 2.2 เขียนแผนภาพแทนเซตที่เกิดจากผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซต ขึ้นไปได้ 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) 3.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ การหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป


126 5. สมรรถนะของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับเรื่อง อินเตอร์เซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต์ของเซต และผลต่าง ระหว่างเซต โดยยกตัวอย่างเซต เช่น ให้U = {a, b, c, d, e, f, g}, A = {a, b, c} และ B = {b, d, e} 2. ครูสุ่มให้นักเรียน 4 คน ออกมาเขียนแผนภาพแทนเซต A B , A B , A และ A – B ขั้นที่ 2 ขั้นสอน 3. ครูอธิบายเรื่องสมบัติการดำเนินการของเซตผ่าน power point เรื่องการหาผลการ ดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป 4. ครูสุ่มถามนักเรียน แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบ ดังนี้ - ให้ตรวจสอบว่าข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือเป็นเท็จ 1) (X Y) มีค่าเท่ากับ X Y และ X Y (เป็นเท็จ เพราะ (X Y) ≠ X Y แต่ (X Y) = X Y ) 2) (X Y) มีค่าเท่ากับ X Y และ X Y (เป็นเท็จ เพราะ (X Y) ≠ X Y แต่ (X Y) = X Y ) 5. ครูและนักเรียนร่วมกันทำใบงาน เรื่องการหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้น ไป โดยให้นักเรียนทุกคนในกลุ่มช่วยกันหาคำตอบ 6. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบของใบงาน พร้อมกันหาความสัมพันธ์ของ การดำเนินการของเซตที่มีคำตอบเหมือนกันจากแผนภาพ โดยครูตรวจสอบความถูกต้อง 7. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 5 (โดยให้นักเรียนเขียนเซตคำตอบของ การดำเนินการระหว่างเซตด้วย) หน้า 37 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและอภิปราย เรื่อง การหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สอง เซตขึ้นไป


127 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 1 เซต ของ สสวท. 2) ใบงาน เรื่อง การหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของโรงเรียนอุดรพัฒนาการ 2) google : การหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป 8. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ เครื่องมือ วิธีการ เกณฑ์การ ประเมิน 1. ด้านความรู้(K) 1.1 หาเซตที่เกิดจากผลการ ดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป ได้ 1) ใบงานเรื่อง การหาผลการ ดำเนินการของเซต ตั้งแต่สองเซตขึ้นไป 2)แบบฝึกหัด1.2 ข้อ 5 ตรวจ 1) ใบงานเรื่อง การหาผลการ ดำเนินการของเซต ตั้งแต่สองเซตขึ้นไป 2)แบบฝึกหัด1.2 ข้อ 5 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 เขียนเซตที่เกิดจากผลการ ดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป ได้ 2.2 เขียนแผนภาพแทนเซตที่เกิด จากผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่ สองเซตขึ้นไปได้ 1)ใบงานเรื่อง การหาผลการ ดำเนินการของเซต ตั้งแต่สองเซตขึ้นไป 2)แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 5 ตรวจ 1)ใบงานเรื่อง การหาผลการ ดำเนินการของเซต ตั้งแต่สองเซตขึ้นไป 2)แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 5 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์(A) 3.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่ ได้รับมอบหมาย แบบสังเกต พฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม อยู่ใน ระดับดี ขึ้นไป


128 แบบประเมินด้านความรู้ (K) และด้านทักษะกระบวนการ (P) ประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง เซต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2565 ด้านความรู้ ประเมินจากใบงานเรื่องการหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป, แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 5 ด้านทักษะกระบวนการ ประเมินจากใบงานเรื่องการหาผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซต ขึ้นไป, แบบฝึกหัด 1.2 ข้อ 5


129


130


131


132


133


Click to View FlipBook Version