The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มนี้เป็นการเขียนในช่วง พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2506 เท่านั้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supanut Nutmakul, 2020-01-17 02:16:55

การประชันวงปี่พาทย์บ้านดุริยประณีต

หนังสือเล่มนี้เป็นการเขียนในช่วง พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2506 เท่านั้น

Keywords: การประชัน , วงปี่พาทย์ , บ้านดุริยประณีต

คาํ นาํ

หนังสือเรื่อง “การประชันวงปพาทยบานดุริยประณีต” มีวัตถุประสงค คือ 1) เพ่ือศึกษาประวัติ และ
พัฒนาการดานการประชันวงปพาทยบานดุริยประณีต 2) เพื่อศึกษาคุณคา และปรากฏการณดานการประชัน
วงปพาทยบ า นดุริยประณีต กําหนดขอบเขตการเขียนเนื้อหาไวในชวง พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2506 โดยหวังวาทาน
ผอู า นจะไดรบั ประโยชนอ นั สงู สุด ดงั นี้ 1) ประโยชนต อดา นประวัติศาสตรดนตรีไทย คือขอมูลดังท่ีปรากฏในหนังสือ
เลมน้ี สามารถเปน หลกั ฐานสําคัญทางประวตั ิศาสตรดนตรไี ทย และสามารถนําไปสูการสรางรากฐานสําคัญทางดาน
วิชาดนตรีไทย เปนขอมูลท่ีเปนความรูตอการศึกษาของนักเรียน นิสิต นักศึกษา หรือบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจจะศึกษา
ดนตรีไทย 2) ประโยชนตอดานการศึกษาของชาติ คือการประชัน วงปพาทยบานดุริยประณีต เปนรูปแบบ และ
วิธีการของการประชันในอดีตท่ีมีความแตกตางจากปจจุบัน การประชันในอดีตสะทอนใหเห็นถึงความฉลาด
ทางดานดนตรีไทยของผูเปนหัวหนาวง อีกท้ังบริบทที่ทําใหบานดุริยประณีตมีช่ือเสียงในการประชันนั้นเปนความลับ
ทีใ่ นอดีตไมสามารถเปดเผยได เนอื่ งจากการวางแผนผูบรรเลง การเลือกเพลง แนวคดิ ทเี่ ก่ียวของกับการประชัน และ
วธิ ีการบรหิ ารวงปพาทยบานดุริยประณีตน้ัน เปนขอมูลเฉพาะ และเปล่ียนแปลงตามการประชันในแตละคร้ัง ดังน้ัน
การประชันวงปพาทยบานดุริยประณีต จึงสมควรอยางยิ่งที่จะนําเขาสูในระบบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยสืบไป
3) ประโยชนตอ ดา นการอนุรักษวัฒนธรรมของประเทศชาติ คือสิ่งสําคัญของนักปพาทยไมแพการเขารวมพิธีไหวครู
ดนตรีไทย เพราะในการประชันนัน้ เต็มไปดวยคําวา “ประสบการณ” มีคณุ คา และมีความหมายตอประเทศชาติอยาง
มาก เน่ืองจากการประชันวงปพาทยนั้นทําใหคนไทยไดฟงเพลงไทย และรับชมดนตรีไทย เมื่อคร้ังสมัยท่ีแตละวัง
ประชันกนั ผูที่เปนเจา ของวงั เปนนกั ดนตรี หรอื ชาวบา น สามารถฟง เปนวิจารณได ดว ยเหตุนี้การวิจัยคร้ังนี้จึงมุงเนน
ใหเกิดประโยชนการฟง และเขาใจเพลงไทยมากข้ึน หากฟงเพลงไทยไมเปน ไมเขาใจเพลงไทย
แลว จะอนรุ ักษดนตรีไทยทีเ่ ปนเอกลักษณวฒั นธรรมชองประเทศชาติไดอ ยางไร

นายศภุ ณฐั นตุ มากลุ
16 มกราคม 2563

สารบญั หนา

เรอ่ื ง 1
ประวตั ิ และพฒั นาการดา นการประชนั วงปพ าทยบ า นดรุ ยิ ประณตี 14
86
- ประวัติ และพฒั นาการบา นดุรยิ ประณตี
- ประวตั ินกั ดนตรปี ระจาํ วงปพาทยบ า นดุริยประณตี 106
- ประวตั ิ และพฒั นาการดา นการประชนั วงปพ าทยบานดุรยิ ประณตี 116
คณุ คา และปรากฏการณด า นการประชนั วงปพ าทยบ า นดรุ ยิ ประณตี 122
- คณุ คา ดานการประชันวงปพ าทยบา นดรุ ยิ ประณตี 128
- ปรากฏการณดา นการประชันวงปพาทยบ านดุริยประณีต
บรรณานกุ รม
บคุ ลานกุ รม

ประวตั ิ และพฒั นาการดา นการประชนั วงปพ าทยบ า นดรุ ยิ ประณตี

ประวตั ิ และพฒั นาการบา นดรุ ยิ ประณตี

ในการศึกษาประวตั ิ และพัฒนาการบานดุริยประณีต ผูวิจัยนําเสนอขอมูลเพียงพอสังเขป เนื่องจากไดกําหนด
ขอบเขตการวิจัยไวเ พียง พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2506 ดังน้ันการวิเคราะหประวัติ และพัฒนาการบานดุริยประณีต ผูวิจัย
วิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณบุคคลขอมูล หนังสืออนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพของบุคคลในสายตระกูล
ดุริยประณตี หนงั สอื อนสุ รณง านพระราชทานเพลงิ ศพของผทู ีม่ สี วนเกี่ยวของกับบานดุริยประณีต และงานวิจัยที่เก่ียวของ
กบั ดุริยประณตี ดงั นนั้ ขอ มลู ตอไปน้จี ะเปนการเขยี นจากการวเิ คราะหผลของผวู จิ ัย สังเคราะหขอมูลใหมเพื่อเปนการเขียน
ในเชิงวิชาการ ภาพประกอบตาง ๆ เปนภาพถายที่มีการตกแตงภาพเพื่อใหอยูในลักษณะสมบูรณ ซ่ึงการอนุเคราะห
ภาพถายตาง ๆ ผูวิจัยไดรับจากทายาท คือ นางชยันตี อนันตกุล ประธานมูลนิธิดุริยประณีต ผูท่ีเปนบุตรีของ
นางสดุ จติ ต ดรุ ยิ ประณีต ศลิ ปนแหงชาติ พ.ศ. 2536 (สาขาคตี ศลิ ปไ ทย)

ชอ่ื ภาพ : พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6
ที่มา : แฟม ภาพถา ยทายาทดุริยประณีต (นางชยันตี อนันตกุล) เปนผูมอบให, 2562

1|ห น า

“บานดุริยประณีต” เปนบานดนตรีไทยที่มีตนตระกูลมาจาก นายศุข ผูท่ีเปนขาราชการในกรมมหรสพ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชการท่ี 6 ในตําแหนงมหาดเล็ก (ขาราชการ) และตําแหนง
ระนาดทุมเหลก็ (วงดนตรีไทย)

ชอ่ื ภาพ : ปูศ ุข และยา แถม
ท่มี า : นางชยันตี อนนั ตกลุ , 2562
ป พ.ศ.2448 นายศุข อายุ 20 ป ไดสมรสกับนางแถม ที่พบกันในขณะท่ีนายศุข รับงานพิเศษ
(ตีระนาดเอกประกอบการแสดง) หลังจากหมดเวลาราชการ เน่ืองจากนางแถม ไดมาเรียนรําอยูที่วังเจาเจก
แลวในขณะท่ีนางแถม ไดรับโอกาสขึ้นแสดงเปนตัวเอกของเรื่อง จึงทําใหนายศุข ไดพบเจอกับนางแถม และ
จากนั้นก็ไดสมรสกันในทีส่ ุด

2|ห น า

ชอ่ื ภาพ : นางชบุ (ดุรยิ ประณีต) ชุม ชศู าสตร
ท่ีมา : นางชยันตี อนันตกุล, 2562

ป พ.ศ. 2450 นายศุข และนางแถม มีบุตรีดวยกัน 1 คน ช่ือวา ชุบ ซึ่งนางชุบ ถือเปนบุตรีคนที่ 1
ของนายศขุ และนางแถม แตเ ดิมนางชบุ เรียนซอดวง และซออู จนบรรเลงไดดีเย่ียม จนกระท่ังนางชุบ แตงงานก็เลิกเลน
ดนตรีไทย หาหนทางประกอบอาชีพอื่นจนไดมาเรียนวิชาการทําอาหาร และขนมจาก ปาหวล ผูเปนแมครัวในวังของ
พระเจาบรมวงศเธอกรมหม่ืนมเหศวรศิววิลาศ (วังเจาเจก) แลวทําขนมกลีบลําดวนสงขายท่ีตลาดบางลําพู
จนเปน ทเ่ี รือ่ งลือวา รสชาตดิ เี ย่ยี ม

3|ห น า

ชอื่ ภาพ : นายโชติ ดุรยิ ประณีต
ท่มี า : นางชยันตี อนนั ตกลุ , 2562
ป พ.ศ. 2452 มบี ุตร 1 คน ช่อื โชติ เมอื่ นายโชติ อายุ 54ป ไดรบั หนาที่อันสําคัญที่เปรียบเสมือนเสาหลักของ
บานดุริยประณีต น้ันคือผูดูแลบานดุริยประณีต และตองคอยบริหารวงดุริยประณีตตอจาก นายศุข ผูเปนบิดา
ในป พ.ศ. 2506 เน่ืองจากในป พ.ศ. 2506 นายศุข ไดรับอุบัติเหตุรถยนตพลิกควํ่าที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อําเภอวังนอย ขณะที่นําวงดนตรีไทยเดินทางไปทําหนาที่บรรเลงดนตรีไทยที่จังหวัดลพบุรี และเกิดเหตุการณ
ทไี่ มค าดคดิ ขนึ้ คือ เคร่อื งดนตรไี ทยท่วี างมาบนรถหลนทบั จนเสยี ชวี ิต

4|ห น า

ชอื่ ภาพ : นายชืน้ ดุรยิ ประณีต
ท่ีมา : นางชยันตี อนันตกุล, 2562
ป พ.ศ. 2454 มีบุตรเพิ่มอีก 1 คน ช่ือ ช้ืน ซึ่งนายช้ืน เปนบุตรคนสําคัญอีกคนหนึ่งในบานดุริยประณีต
เนอื่ งจากเปน นกั ระนาดเอกประจําบา น มีปฏิภาณไหวพรบิ ทักษะ ความฉลาด และ การขดขํา ที่ถือไดวาเปนพรสวรรคติด
ตวั ออกมาแตก ําเนิด จนทําใหถ ูกบันทึกไวใ นตาํ นานนักระนาด ในเรอื่ งราวของการประชันที่วังลดาวัลย ในเหตุการณคร้ังน้ัน
นายชื้น อายุเพียง 19ป ก็สามารถบรรเลงระนาดเอกไดในระดับที่สามารถข้ึนประชัน จึงไดรับการชักชวนจาก นายโชติ
ผเู ปน พช่ี าย ซึ่งไดขออนญุ าตจาก นายศขุ ผเู ปน บดิ า และไดรบั การอนุญาตใหไปประชันในตําแหนงระนาดเอก ครั้งนั้นเปน
การประชันในงาน “ประชันปพาทยฉลองพระชนมครบ 4 รอบ” สมเด็จฯ เจาฟากรมหลวงลพบุรีราเมศวร โดยเปนการ
ประชันรูปแบบที่เรียกวา “การประชันหนาพระท่ีนั่ง” ในวังลดาวัลย มีการจัดใหบรรเลงท้ังหมด 3 วง ระหวาง
วงหลวง (พระยาเสนาะดุริยางค ผูควบคุมวง) ซึ่งวงนี้เปนวงที่นายชื้น ดุริยประณีต ข้ึนประชันหนาพระที่น่ังเปนคร้ังแรก
ในตําแหนงระนาดเอก ,วงพาทยโกศล (จางวางทั่ว พาทยโกศล ผูควบคุมวง) และวงวังบางคอแหลม
(หลวงประดิษฐไพเราะ ผูควบคุมวง) ซ่ึงในการประชัน คร้ังนี้ไมมีผลการตัดสินใด ๆ หลังจากนั้น นายช้ืน ดุริยประณีต
เร่ิมมีชื่อเสียงโดงดัง และไดเปนท่ียอมรับในวงการดนตรีไทยยุคสมัยนั้น หลังจากเสร็จส้ินการประชันครั้งนี้ทําให
วงดุริยประณตี มีงานมากข้ึน เชญิ ไปบรรเลงประกอบพิธีตาง ๆ และเชญิ ไปบรรเลงเพือ่ การแสดงตา ง ๆ

5|ห น า

ชอื่ ภาพ : หลักฐานอักขรานุกรมพระราชทานนามสกุล “ดูรยปรณีต”
ที่มา : นางชยันตี อนันตกุล, 2562

ป พ.ศ. 2457 มีเหตุการณคร้ังสําคัญของตระกูลบานดุริยประณีต พระบามสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลท่ี6 ไดโปรดเกลาฯ ใหพระราชบัญญัติการใชนามสกุล นายศุขจึงไดรับพระราชทานนามสกุลวา “ดูรยปรณีต”
(เปน คําเขียนตามราชกิจจานุเบกษา) ซึ่งในขณะนั้นนายศุข รับราชการอยกู รมมหรสพในรชั กาลที่ 6

ชอ่ื ภาพ : นายช้ัน ดรุ ยิ ประณีต
ทม่ี า : นางชยันตี อนันตกุล, 2562
พรอมกันนั้นเร่ืองที่นายินดีก็ยังเกิดขึ้นอีก คือในปเดียวกัน พ.ศ. 2457 นายศุขมีบุตรเพ่ิมอีก 1 คน ชื่อ ช้ัน
ถือไดวา นายช้ัน เกิดขึ้นมาพรอมกับนามสกุลพระราชทาน “ดูรยปรณีต” นายชั้น เปนคนท่ีมีพรสรรคมาก

6|ห น า

เพราะสามารถบรรเลงปพาทยไ ดร อบวง ยกเวน ป จนมโี อกาสไดเ ขา รบั ราชการในสงั กดั วงปพ าทย และมหรสพหลวงประจํา
ทายวังหลวงตลอดรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 โดยมีพระยาเสนาะดุริยางค
(แชม สุนทรวาทิน) เปนผูคอยสอนวิชาความรูทางดานดนตรีไทย จนนายชั้น แตกฉานทางดานปพาทย ท่ีสําคัญอีกหน่ึง
นายชัน้ คอื คนฆอ งวงใหญ ประจาํ ใหกบั วงดรุ ิยประณตี ในยุคสมัยนัน้

ชอื่ ภาพ : วงมโหรีขาหลวง ในพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูหัว รชั กาลท่ี 7
ทีม่ า : นางชยันตี อนันตกุล, 2562

ชอื่ ภาพ : นางสุดา (ดรุ ยิ ประณีต) เขียววจิ ิตร
ที่มา : นางชยันตี อนนั ตกลุ , 2562

หลังจากทีไ่ ดร บั พระราชทานนามสกลุ 3 ป พ.ศ. 2460 นายศุข ก็มบี ุตรี อีก 1 คน ช่ือ สุดา (เช่ือม) ถือวาเปน
บตุ รคี นท่ี 2 ของตระกลู ดุรยิ ประณีต ในสมยั ท่จี ะเกดิ การเปลยี่ นแปลงการปกครอง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลที่ 7 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) จัดตั้งวงมโหรีหลวงขึ้น เรียกวา

7|ห น า

วงมโหรีขาหลวง เปนขาฯ ในพระองคโดยเฉพาะ ซ่ึงไดคัดเลือกนักรอง และนักดนตรีท่ีเปนสตรีเพศทั้งวง นางสุดา
จึงมโี อกาสไดเ ขา รวมใน “วงมโหรีขาหลวง” นนั้ เอง

ชอ่ื ภาพ : นางแชม (แชม ชอ ย) (ดรุ ิยประณีต) ดรุ ิยพันธุ
ที่มา : นางชยันตี อนนั ตกลุ , 2562

ป พ.ศ. 2461 นายศุข ก็ออกจากราชการเนื่องจาก มีบุตร – ธิดา รวมกันมาก และมีความตองการ
จะเปล่ียนอาชีพ จึงลาออกจากกรมมหรสพ มาตั้งวงดนตรีไทยข้ึนท่ีบานของตนเองโดยใชช่ือวา “วงดุริยประณีต”
ตามทีไ่ ดรับพระราชทานนามสกุล ในการนี้ที่ไดลาออกมาจากขาราชการนายศุข ไดเร่ิมทําธุรกิจคาขายเครื่องดนตรีไทย
และรับงานบรรเลงท่ัวไป หลังจากตั้งวงไดเพียง 1 ป พ.ศ. 2462 ก็มีบุตรีเพ่ิมมาอีก 1 คน ช่ือ แชม (แชมชอย)
ผูท่ไี ดร ับราชการถวายตัวเปนขา หลวงอยูวงมโหรหี ญิง ในสมเด็จพระนางเจา รําไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7

8|ห น า

ชอ่ื ภาพ : นางชม (ดุริยประณีต) รุงเรือง
ทมี่ า : นางชยันตี อนนั ตกลุ , 2562

ป พ.ศ. 2464 ไดเกิดบุตรี ชื่อ ชม ซึ่ง นางชม เปนบุตรีคนที่ 3 ของตระกูลดุริยประณีต นางชมไดรับราชการ
สอนขบั รองอยูท ่โี รงเรยี นสตรสี ดั ระฆัง และไดเ รยี นขบั รองจากพระยาเสนาะดรุ ิยางค (แชม สุนทรวาทนิ )

ป พ.ศ. 2466 มีบุตรี ชอื่ ตกุ ตา แตเ ปน เรื่องทโ่ี ศกเศราของตระกูลดุริยประณีต เพราะเด็กหญิงตุกตา เสียชีวิต
ตงั้ แตยงั เดก็ และยังไมทันไดเลาเรยี นวชิ าการทางดนตรีไทยจากตระกลู

ชอ่ื ภาพ : นางทัศนยี  (ดุริยประณีต) พณิ พาทย
ท่มี า : นางชยันตี อนันตกลุ , 2562

ถัดมาอกี 2 ป พ.ศ. 2468 มบี ุตรีเพม่ิ อกี 1 คน ช่อื ทัศนยี  (หรั่ง) นางทศั นยี  เปนผูท่ีมีพรสวรรคดานขับรองเปน
อยางมาก และไดสรา งคุณประโยชนไวหลายประการ เชน ทางดานการศกึ ษา คือ การบันทึกสื่อการสอนเพลงสําหรับสอน
ขับรอ งเพลงไทยของกระทรวงศึกษาธกิ าร เปนตน

9|ห น า

ชอ่ื ภาพ : นางสุดจติ ต (ดรุ ยิ ประณตี ) อนันตกลุ
ที่มา : นางชยันตี อนันตกุล, 2562

ป พ.ศ. 2471 นายศุขมีบุตรี อกี 1 คน ชอื่ สุดจิตต เปนบุตรีคนสุดทายของตระกูลดุริยประณีต มีผลงาน และ
คุณงามความดีมากมายจนถึงปจจุบัน ที่เปนประจักษที่สุด คือ รางวัลยกยองเชิดชูเกียรติจากสํานักงานคณะกรรมการ
วฒั นธรรมแหงชาติ ใหเ ปนศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลปไทย) ไดรับเมื่อป พ.ศ. 2536 นับเปนคนแรก
ในสายตระกลู ดุรยิ ประณีตท่ไี ดรับตาํ แหนง อนั ทรงเกียรติน้ี

ชอ่ื ภาพ : นายสบื สดุ ดุรยิ ประณตี (ไก)
ที่มา : นางชยันตี อนันตกลุ , 2562
ป พ.ศ. 2478 นายศขุ กม็ ีบตุ ร อีก 1 คน ชื่อ สืบสุด (ไก) ซ่ึงเปนบุตรชายคนสุดทาย และเปนบุตรคนสุดทอง
ของตระกูลดุริยประณีตที่เกิดจาก นายศุข และนางแถม นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) เปนผูที่เรียกวา

10|ห น า

ตํานานนกั ระนาดเอกของวงการดนตรไี ทย เปนผูท่ีมีพรสวรรคมากท่ีสุด และบรรเลงระนาดเอกไดเร็ว ชัด หนักแนน ท่ีสุด
ของนักระนาดเอกในประเทศไทย นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) เดี่ยวระนาดเอก 5ราง ออกอากาศทางรายการ
โทรทัศนชอง 4 บางขุนพรหม ถือวาในยุคสมัยนั้นเปนการเดี่ยวระนาดเอกไดมากรางที่สุด จึงทําให
นายสบื สุด ดุริยประณีต (นายไก) มีชอ่ื เสียงตอ สาธารณชนต้งั แตนั้นมา

จากประวตั ิบา นดรุ ิยประณตี จดั ลาํ ดบั บุตร และธิดา ท่ีเกิดจากนายศุข ดุริยประณีต และนางแถม ดุริยประณีต
รวมกนั 11 คน ดังน้ี

ลาํ ดบั ชอ่ื นามสกลุ เดมิ นามสกลุ ใหม ชาตะ – มรณะ (ป พ.ศ.)
1 นางชบุ ดรุ ิยประณตี ชุม ชูศาสตร 2450 – 2538
2 นายโชติ ดรุ ยิ ประณตี - 2452 – 2516
3 นายชื้น ดรุ ยิ ประณีต - 2454 – 2507
4 นายชนั้ ดรุ ิยประณีต - 2457 – 2496
5 นางเช่อื ม (สุดา) ดรุ ิยประณตี เขยี ววจิ ิตร 2460 – 2540
6 นางแชม (แชม ชอ ย) ดุริยประณีต ดุริยพันธุ 2462 – 2526
7 นางชม ดรุ ิยประณีต รุงเรือง 2464 – 2556
8 ด.ญ.ตุกตา ดุริยประณีต - 2466 – ไมทราบปมรณะ
9 นางทัศนยี  ดรุ ิยประณีต พิณพาทย 2468 – 2500
10 นางสดุ จิตต ดรุ ิยประณีต อนันตกลุ 2471 – 2555
11 นายสบื สดุ ดุรยิ ประณตี - 2478 – 2506

11|ห น า

จากการจดั ลําดับบตุ ร และธิดา ทเ่ี กิดจากนายศุข ดุรยิ ประณีต และนางแถม ดุรยิ ประณีต สามารถลําดับขนั้
พัฒนาการบา นดุรยิ ประณีตได ดังนี้

ลาํ ดับ ป พ.ศ. เหตกุ ารณ

1. 2428 เกดิ นายศขุ จากนายอิน และนางสมุ

2. 2438 นายศุข เริ่มหดั ปพ าทยกับ ครูหงส ที่วัดลมุ

3. 2445 รับราชการช้นั แรกในกรมมหาดเลก็ วรฤทธ์ิ ในตําแหนง คนระนาดเอก โดยเปนการบรรจุราชการ

ของเจาพระยาเทเวศว งศว ิวฒั น (หมอมราลวงศห ลาน กญุ ชร)

4. 2448 สมรสกับนางแถม เชยเกษ

5. 2457 นายศุข ไดรับพระราชทานนามสกลุ วา “ดรู ยปรณีต” (เขยี นตามราชกจิ จานเุ บกษา)

6. 2461 นายศุข ไดลาออกจากขาราชการ และเริ่มกอต้ังวงดุริยประณีตข้ึน เร่ิมทําธุรกิจการคาขาย

เครือ่ งดนตรี และรับงานบรรเลงตาง ๆ

7. 2464 นายชน้ื ดุริยประณตี เริม่ เรยี นดนตรีไทยกบั บิดา (นายศขุ )

8. 2467 นายชั้น ดุริยประณีต เขาฝกหัดดนตรีปพาทยในกรมปพาทย และโขนหลวง เนื่องจาก

เจา พระยาวรพงศพพิ ฒั น เสนาบดีกระทรวงวัง ใหรับเยาวชนเขา ฝก หัดโขน ละคร และดนตรไี ทย

9. 2469 นายโชติ ดุริยประณีต ไดถวายตัวเขารับราชการเปนมหาดเล็กฝายมหรสพในพระบาทสมเด็จ

พระปกเกลาเจา อยหู วั รชั กาลที่ 7

10. 2469 นายช้ืน ดุริยประณีต เร่ิมตีระนาดไดคลองแคลว ถึงข้ันชํานาญ และไดเขารับราชการจาก

การแนะนําของพระศลุ สี วามภิ กั ด์ิ โดยเขาถวายตวั เปนมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระปกเกลา

เจา อยหู ัว รัชกาลที่ 7

11. 2473 นายช้ืน ดุริยประณีต ไดลงประชันในตําแหนงคนระนาดเอก ใหกับวงวังหลวง ในงาน

“ประชันปพาทยฉลองพระชนมค รบ 4 รอบ” สมเด็จฯ เจา ฟา กรมหลวงลพบุรีราเมศวร

12. 2475 เปล่ียนแปลงการปกครอง และยกเลิกการอปุ ถัมภน ักดนตรไี ทยประจาํ วังตาง ๆ

13. 2476 นางแชม ชอ ย ดุรยิ ประณตี เขา รับราชการทีก่ รมศิลปากร ในตําแหนงคตี ศิลปไทย

14. 2477 นางสุดา ดรุ ยิ ประณตี เขา มารบั ราชการทกี่ รมศิลปากร ในตาํ แหนงคีตศิลปไ ทย

12|ห น า

ลําดับ ป พ.ศ. เหตกุ ารณ

15. 2478 ทางสํานักพระราชวังไดโอนงานการชาง ละมหรสพใหมาข้ึนอยูในกรมศิลปากร

นายชืน้ ดรุ ยิ ประณีต ยังคงอยใู นราชการตอ หลังจากโอนยายสงั กดั

16. 2484 เกดิ สงครามโลกครงั้ ที่ 2 (สงครามมหาเอเชยี บูรพา)

17. 2485 นายชนื้ ดรุ ยิ ประณตี ลาออกจากราชการ และมารบั งานอิสระ

18. 2487 ครอบครัวดุริยประณีตยายท่ีอยูอาศัยมาอยูท่ี บริเวณคลองบางขุนกลอง ใกลวัดจําปา

จังหวัดนนทบุรี ดวยเหตุการณสงครามโลกจากการหนีระเบิด และสงครามโลกคร้ังที่ 2

(สงครามมหาเอเชยี บูรพา) ก็จบลง

19. 2489 นายสืบสุด ดรุ ิยประณตึ จับมอื สาธุการจากบดิ า หัดเรยี นดนตรไี ทยปพาทยอ ยา งจริงจัง

20. 2492 นายสืบสุด ดุริยประณีต สามารถตีระนาดเอกถึงข้ันชํานาญ และสามารถเริ่มรับหนาที่

ตีระนาดเอกใหกับวงดุริยประณีต ดวยพรสวรรคท่ีติดมาแตกําเนิดจึงทําใหมีการพัฒนาการท่ี

รวดเรว็

21. 2493 นายวิเชียร พรหมจรรย ไดรับการฝากตัวเปนศิษยจากผูเปนบิดา ใหมากราบ

นายศขุ ดรุ ยิ ประณตี และเริม่ เรียนดนตรีไทยในบา นดุริยประณตี

22. 2496 นายสืบสุด ดุริยประณีต เขารับราชการที่กรมประชาสัมพันธ แผนกดนตรีไทย ตําแหนงระนาด

เอก

23. 2497 นายสบื สดุ ดรุ ิยประณีต เรมิ่ ประชันกับกาํ นนั แสวง คลา ยทิม ทจ่ี ังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

24. 2506 นายศุข ดุริยประณีต และนายสืบสุด ดุรยิ ประณตี เสยี ชวี ิตลงจากอุบัตเิ หตทุ างรถยนต

จากประวตั ิ และพัฒนาการบา นดรุ ยิ ประณีตท้งั หมดท่ผี ูวิจัยไดนําเสนอนนั้ เปน ขอ มลู ที่ไดจากการคนควาเอกสาร
ตํารา หนังสือที่เก่ียวของตาง ๆ การสัมภาษณซํ้าจากการคนพบขอมูลทางเอกสาร ตํารา หนังสือ เพ่ือการยืนยันขอมูล
ท่ีเท็จจริง และสัมภาษณเพ่ิมเติมจากขอมูลที่ไมสามารถคนควาจากเอกสาร ตํารา หนังสือ ผูวิจัยจึงสรุปประวัติ และ
พฒั นาการบานดุรยิ ประณตี ไดต ามตารางขา งตน

13|ห น า

ประวัตินักดนตรีประจําวงปพ าทยบ านดรุ ิยประณตี (พ.ศ.2489 – พ.ศ.2506)

จากการที่ผูวิจัยไดศึกษาคนควา สืบคนขอมูล จากตํารา และการสัมภาษณบุคคลขอมูลผูวิจัย
ไดขอมูลชวี ประวตั ขิ องผทู รี่ วมวงบรรเลง และมีสวนเกี่ยวของกับการประชันวงปพาทยบานดุริยประณีต ทราบวามีจํานวน
ท้ังสิ้น 28 คน โดยผูวิจัยไดจําแนกผูนําวงทางฝายดนตรีไทยออกเปน 4 ยุค ไดแกยุคท่ี 1 นายศุข ดุริยประณีต
(พ.ศ.2461 – พ.ศ.2506) ยุคที่ 2 นายโชติ ดุริยประณีต (พ.ศ.2506 – 2516) ยุคที่ 3 นางสุดจิตต ดุริยประณีต
(พ.ศ.2516 – พ.ศ.2555) และยุคที่ 4 นายสืบศักดิ์ ดุริยประณีต (พ.ศ.2555 – ปจจุบัน) ซึ่งในงานวิจัยเลมน้ี
ผวู จิ ยั ไดกาํ หนดขอบเขตการศกึ ษาทางดานเวลาไวใ นชว ง พ.ศ. 2489 – พ.ศ.2506 ดงั นั้นงานวิจยั เลม น้ีจะกลาวถึงเพียง
ระยะเวลาน้ีเทานั้น โดยผูวิจัยนําเสนอประวัตินักดนตรีไทยประจําวงปพาทยประชันบานดุริยประณีต
ประวัติครูผูทําการสอนในชวงการประชันท่ีบา นดุริยประณตี และประวตั ผิ ูควบคุมวงปพาทยป ระชันบานดุริยประณีต

รายนามครูผูสอน ผคู วบคมุ วง และผูบรรเลงในการประชันของวงปพาทยบานดุริยประณีต พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2506

ลาํ ดบั ชอ่ื นามสกลุ เครอ่ื งมอื / หนา ท่ี
ครหู ลกั ของบา นดุรยิ ประณตี
1. พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทนิ )
ผคู วบคุมวง
2. นายศุข ดรุ ยิ ประณตี ผคู วบคมุ วง
ครผู สู อน
3. นางแถม ดุริยประณีต ผคู วบคุมวง / ปรับวง / เคร่อื งหนัง /
เครอ่ื งเปา
4. นายสอน วงฆอง และเคร่อื งประกอบจงั หวะ
ผฝู ก สอน / ปรบั วง
5. นายโชติ ดรุ ยิ ประณีต ผูฝ ก สอน / ปรับวง
ผฝู กสอน / ปรับวง
6. นายชืน้ ดรุ ยิ ประณตี
7. นายชั้น ดุริยประณตี ขับรอ ง
8. นายบุญยงค เกตคุ ง
9. นางเชื่อม (สดุ า) ดรุ ยิ ประณีต (เขียววิจติ ร)

14|ห น า

ลาํ ดบั ชอ่ื นามสกลุ เครอื่ งมอื / หนา ที่
10. นางชมช่ืน (ชม) ดุรยิ ประณตี (รุงเรอื ง) ขบั รอ ง
11. นางสุดจิตต ดรุ ิยประณตี (อนนั ตกลุ ) ขบั รอ ง
12. นายศิริ วิชเวช ขบั รอง
13. นายสืบสุด ดุริยประณีต ระนาดเอก
14. นายสมนกึ บุญจาํ เริญ
15. นายจาํ เนียร ศรีไทยพันธุ เคร่อื งเปาไทย
16. นายสมาน ทองสุโชติ เคร่ืองเปาไทย
17. นายสมชาย ดรุ ยิ ประณตี ฆองวงใหญ
ฆอ งวงใหญ /
18. นายวเิ ชียร พรหมจรรย เคร่อื งหนงั ไทย – มอญ
ฆอ งวงเลก็ /
19. นายแจง คลายสีทอง เครอ่ื งหนงั ไทย – มอญ
20. นายสุพจน โตสงา ฆอ งวงเล็ก
21. นายเผชญิ กองโชค ฆอ งวงเลก็
22. นายสชุ าติ คลายจินดา ฆอ งวงเลก็
23. นายสมพงษ นุชพิจารณ ระนาดทุม
24. หมอมหลวงสุรักษ สวสั ดิกุล ณ อยุธยา เคร่ืองหนังไทย – มอญ
เครื่องหนังไทย – มอญ / เคร่อื ง
25. นายมนู เขยี ววิจติ ร ประกอบจังหวะ
27. นายชนะ ดรุ ยิ พนั ธุ เครื่องหนังไทย – มอญ
28. นายอนันต ดรุ ิยพนั ธุ เครอ่ื งหนังไทย – มอญ
เครอ่ื งหนงั ไทย – มอญ

จากตารางขางตน เปนรายชื่อ นามสกุล และหนาที่ สําหรับผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับการประชันวงปพาทย
บานดุริยประณีต ในชว ง พ.ศ. 2489 – พ.ศ.2506 ตามขอบเขตงานวจิ ยั ท่กี ําหนดไว

15|ห น า

ครูผสู อนหลักของบา นดรุ ิยประณตี

พระยาเสนาะดุรยิ างค (แชม สนุ ทรวาทิน)

ชอื่ ภาพ : แชม สนุ ทรวาทิน, พระยาเสนาะดรุ ิยางค (พ.ศ. 2409 - 2492)
ทีม่ า : ราชบณั ฑติ ยสถาน “ภาคประวัตินักดนตรแี ละนักรอง ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน”, 2542

พระยาเสนาะดุริยางค นามเดิม แชม นามสกุล สุนทรวาทิน เปนบุตรคนหัวปของครูชอย และ
นางไผ สุนทรวาทิน เกิดเม่ือเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2409 ตรงกับเดือน 9 ปขาลท่ีตําบลสวนมะลิใกลวัดเทพศิรินทราวาส
เรียนวิชาดนตรีจากครูชอย สุนทรวาทิน ผูเปนบิดา จนมีความแตกฉาน ตอมาเจาพระยาเทเวศรวงศวิวัฒน
(ม.ร.ว. หลาน กุญชร) ผูบัญชาการกรมโขนตั้งคณะละครข้ึนที่บานจึงไดขอตัวมาเปนนักดนตรีในวงปพาทยของทาน
ก็ยิง่ ทาํ ใหพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สนุ ทรวาทิน) มีความเชียวชาญในการขบั รอ ง และดรุ ิยางคศิลปเปนอยางมาก

นายแชม สุนทรวาทิน เร่ิมเขารับราชการเม่ือพุทธศักราช 2422 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 ตอมาไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน "ขุนเสนาะดุริยางค" เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2446
ในตําแหนงเจา กรมพณิ พาทยหลวง และโปรดเลื่อนเปน "หลวงเสนาะดุริยางค" เม่ือ พ.ศ. 2453 ในตําแหนงเดิม คร้ันถึง
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 โปรดใหเลื่อนเปน "พระเสนาะดุริยางค" รับราชการ
ในกรมมหรสพหลวง และไดรบั พระราชทานเหรียญดษุ ฎมี าลาเขม็ ศิลปวิทยา ดวยความซื่อตรงตอ หนาท่ีราชการ จงรักภักดี
ในพระมหากษัต ริย แล ะความสามารถในดุริ ยางคศิล ป ทานจึงไดรั บพระราชทานบรรดาศักด์ิเป น

16|ห น า

"พระยาเสนาะดุริยางค" เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2468 นับเปนหนึ่งในสอง “พระยา” ทางดุริยางคไทยของ
กรุงรัตนโกสินทร แมภายหลังจะเกษียณอายุราชการแลว พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7
ก็ยังทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ เรียกเขารับราชการตอไปอีกจนส้ินรัชกาลจึงไดออกรับบํานาญ นับไดวาเปนที่ไววาง
พระราชหฤทัยย่งิ

หนา ท่ีการงานของพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) น้ันมีมาตลอดต้ังแตเริ่มรับราชการ จนสิ้นอายุขัย
แบงตามรชั สมัยไดดังนี้

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 นอกจากงานประจําควบคุมฝกสอน
และการบรรเลงในงานพระราชพิธีตาง ๆ ยังโปรดใหเปนครูสอนดนตรีถวายพระราชวงศฝายใน
เจาจอมในพระบรมมหาราชวัง เปนประจําเจาจอม ม.ร.ว.สดับ ลดาวัลย เลาวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 โปรดใหต้ังมโหรีหญิงวงหลวงข้ึนเปนวงแรก อยูในพระอนุเคราะหของพระวิมาดาเธอกรม
พระสุทธาสินีนาฎ และไดทรงพระราชนิพนธกลอนบทละครเรื่องเงาะปาข้ึน เมื่อทรงจบตอนใดก็โปรดใหเจาจอมสดับ
เชญิ พระราชนพิ นธต อนนัน้ มาใหทา นพระยาเสนาะดรุ ิยางค (แชม สนุ ทรวาทนิ ) บรรจเุ พลงรอง และเพลงหนาพาทยแลวจึง
ฝกสอนวงมโหรีฝายในขับรอง และบรรเลงปพาทยถวายใหทรงฟงแตละตอน เพื่อทรงพระราชวิจารณแกไข
เปนอยางนี้จนทรงพระราชนิพนธจบเร่ือง พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) รับราชการสนอง
พระยุคลบาทใกลชิดตลอดรัชกาล ไดรับพระมหากรุณา พระราชทานรางวัล เปนพิเศษหลายคร้ัง อาทิ
ดุมเสอื้ พระปรมาภไิ ธยยอ จปร. นาฬกิ ายอ จปร.

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน)
ไดรับมอบหมายใหควบคุมวงพิณพาทยของเจาพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (ม.ร.ว.ปุม มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวัง
ซึ่งมีนักดนตรีสวนใหญเปนทหารรักษาวัง วงพิณพาทยน้ี นับไดวารวบรวมผูมีฝมือ ซึ่งตอมาไดเปนครูผูหลักผูใหญ
เปนท่ีรูจักนับถือโดยท่ัวไป ในวงการดุริยางคศิลป เชน นายเทียบ คงลายทอง ,นายพร้ิง ดนตรีรส ,นายสอน วงฆอง
,นายมิ ทรัพยเย็น ,นายแสวง โสภา ,นายผิว ใบไม ,นายเช้ือ นักรอง และนายทองสุข (คงศกด์ิ) คําศิริ เปนตน
ปลายรชั กาลท่ี 6 พระยาเสนาะดรุ ยิ างค (แชม สุนทรวาทิน) ไดรับพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหฝกสอนควบคุม
วงมโหรีหญิงซ่ึงมีนางพระกํานัลเปนนักดนตรี คร้ันเม่ือพระนางเจาสุวัทนาพระวรราชเทวี ใกลจะครบกําหนด
มีพระประสูติกาล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6 ทรงพระราชนิพนธเนื้อรองเพลงปลาทอง
ไวสมโภชพระราชทานสมเด็จพระเจาลูกเธอ จึงโปรดใหพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) ฝกมโหรีหญิงวงนี้
ไวบ รรเลงถวายเม่ือมีพระประสตู กิ าล

17|ห น า

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน)
ยังไดสนองพระกรุณาธิคุณฝกซอมมโหรีหญิงท่ีตําหนักพระวิมาดาเธอกรมพระสุทธาสินีนาฎ ในวังสุนันทาลัย
และบรรเลงถวายทุกคืนวันพุธ ตราบจนเสด็จพระราชดําเนนิ สปู ระเทศองั กฤษ

นอกจากน้ีพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) ยังไดรับเชิญจากนายศุข ดุริยประณีต
ผทู ่ีเคยเปนผรู วมงานกันในวังเจาพระยาเทเวศรวงศวิวัฒน (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) ใหทานมาเปนครูของบานดุริยประณีต
เพื่อตอเพลงการตาง ๆ ท้ังทางรอง และทางเครื่อง รูปแบบท่ีทานตอเพลง ทางรอง คือมีการปรับเปล่ียนจากเดิมที่รอง
ตรง ๆ หรือการรอ ง ซา้ํ คํา ใหมีการเอือ้ นอยางสละสลวย งดงาม และวรรคคําใหมีชองไฟ สวนทางเคร่ือง รูปแบบน้ัน คือ
ตอจาก โหมโรงเชา โหมโรงเย็น เพลงเร่ือง (เร่ืองตะโพน) จนหมดกระบวนความของทานแลว จึงตอเพลงตาง ๆ เชน
พมาหาทอ น ส่ีบท บหุ ลัน จระเขหางยาว เปน ตน

ในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี 9 เม่ือกรมศิลปากรบันทึก
โนตเพลงไทยในป พ.ศ. 2479 ก็ไดเชิญพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) เปนผูบอกเพลง และทานไดเปน
กรรมการของราชบณั ฑิตยสถานอยูจนตลอดชวี ติ

พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) เปนนักดนตรีท่ีมีฝมือเปนเลิศถึงท่ีสุด ท้ังทางเครื่องและทางขับรอง
โดยจะสังเกตไดจากบรรดาศิษยท้ังหลายของทาน ซ่ึงในระยะตอมาไดกลายเปนเอตทัคคะในแตละแขนง
ของดุริยางคศาสตร จนเปนท่ียอมรับนับถือกันโดยท่ัวไป ทั้งน้ีเปนผลมาจากฉันทะวิริยะของทานพระยาเสนาะดุริยางค
(แชม สุนทรวาทิน) ที่ไดพร่ําสอนอบรม ดวยความละเมียดละไมรวมทั้งเต็มเปยมในความรูแจงเห็นจริงโดยแท
อน่งึ อจั ฉรยิ ภาพสวนตวั ของพระยาเสนาะดรุ ยิ างค (แชม สนุ ทรวาทนิ ) กม็ ีหลายประการ เชน

นายมิ ทรัพยเย็น ศิษยใกลชิดของทานเลาวา “พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) มีโสตประสาท
แมน ยาํ ยงิ่ นกั แมไ ดย นิ เสยี งเคาะระนาดเพยี งครงั้ เดยี ว ทา นก็สามารถบอกไดถกู ตอ งวา เปน ลกู ท่ีเทา ไร เพลงการทัง้ หลาย
นน้ั ทา นไดย นิ เพยี งคร้งั เดียวก็จาํ ไดไ มขาดตกบกพรอง”

นายสอน วงฆอง เลาวา “เมอ่ื ตอนเดก็ ทา นเลน ปลากดั อยใู ตถุนเรอื น ในขณะทีน่ กั ดนตรอี น่ื ๆ กาํ ลงั เรยี นดนตรี
กับครชู อ ย สุนทรวาทนิ ผเู ปน บดิ าอยูบนบาน ทานกลบั จําเพลงที่พอกําลังตอ ใหแกนกั ดนตรเี หลา นัน้ ไดก อนเสียอีก”

จริยาวัตรของพระยาเสนาะดุริยางค(แชม สุนทรวาทิน) ก็เต็มไปดวยความเมตตากรุณา นายสอน วงฆอง
เลาวา ทานมักจะกลาวแกศิษยเปนเนือง ๆ วา “ยามขัดสนไมจําเปนตองลําบากไปงานปลีก ใหมาเอาสตางค
ท่ที านไดเสมอ”

18|ห น า

นอกจากความสามารถในทางปพ าทยแ ลว นายมิ ทรัพยเ ยน็ เคยพูดถึงวา “คร้ังหนึ่งมีการบรรเลงซอมเปนการ
ลําลองในหมพู นักงานดนตรีของหลวงแหง หนึง่ พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทนิ ) ผานมาพอดนี กึ สนุกจึงนั่งลง
ดีดจะเขด ว ยนว้ิ เปลา มไิ ดใ ชไ มดดี กระแสเสียงนัน้ กงั วาน และไหวจดั จนคนระนาดวางไมกมลงกราบดวยความเสอื่ มใส”

ผลงานทางดนตรีของทานนั้นเปนแนวอนุรักษนิยม ทานพรํ่าสอนแกบรรดาศิษยท้ังหลายเสมอวา เรียนรูรักษา
ของเกาใหหมดสิ้นกอนจึงคอยแตงของใหม ตลอดชีวิตของทานจึงมิไดแตงเพลงใด ๆ ข้ึนใหม นอกจากทางเด่ียว
ของเคร่ืองมือตาง ๆ และการเรียบเรียงตับมอญกละ นอกจากน้ีแลวเปนการปรับปรุงรักษาทั้งสิ้น กลาวไดวาทาน
เปนคนแรกท่ีปรับปรุงการขับรองของสยามประเทศใหละเมียดละไม นุมนวลจะแจง มีชีวิตจิตใจ และไพเราะตองหูผูฟง
โดยทั่วไป สมเปนศิลปะการดนตรีช้ันสูงตางจากการขับรองท่ีมีมาแตเดิม หลักฐานน้ีจะเห็นไดจากความสําเร็จของ
นายโชติ ดุริยประณีต นางสุดา เขียววิจิตร นายเหนี่ยว ดุริยพันธุ ผูเปนศิษย และนางเจริญใจ สุนทรวาทิน ผูเปนบุตรี
ไดอ ยา งชัดเจน

เมื่อครั้งที่ นายศุข ดุริยประณีต ลาออกจากราชการ มากอต้ังวงดุริยประณีต ไดเชิญ พระยาเสนาะดุริยางค
(แชม สนุ ทรวาทนิ ) ใหม าเปนครูผสู อน ตอเพลงใหก บั ลูก ๆ ที่บาน โดยทา นจะเดินทางมาทางเร่ือ มารับประทานอาหารเชา
ทีบ่ า นดรุ ิยประณตี กอ นทีจ่ ะไปรับราชการทุกวัน เมื่อมาถึง นางแถม ดุริยประณีต จะคอยเตรียมสํารับอาหารใหทาน และ
ทานก็จะสอ นดนตรีให กับบานดุริ ยประณีตกอ นท่ีจะไปรั บราชการ แบบแผนการเรียนการสอนขอ ง
พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) ที่บานดุริยประณีตไดรับนั้น จะตองเริ่มจากเพลงเร่ืองตะโพนไทยกอน
อยางนอย 4 – 5 เรื่อง หนึ่งในนั้น จําเปนตองไดเพลงเร่ืองฉิ่งพระฉันเชา แลวจึงตอเพลงพิธีกรรมตาง ๆ เพิ่มเพื่อใช
ออกงานประกอบอาชีพเลี้ยงตนตอไป สวนเพลงเด่ียว พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) ทานไดตอไวใหกับ
นายช้ืน ดุริยประณีต เพียงไมก่ีเดี่ยว เน่ืองจากทานไมชอบการประชันขันแขง และอยางในชวงเวลาน้ัน
พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) ถือเปนครูผูใหญในวงการดนตรีไทย จึงสอนส่ังบานดุริยประณีตเพียงแต
เพลงการ เพื่อประกอบเลี้ยงชีพก็เทานั้น วันหนึ่ง นายช้ืน ดุริยประณีต จะตองไปประชันจึงมาเดี่ยวให
พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) ฟงเพ่ือปรับแก แตทายสุด พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน)
ทานฟง จบ แลวทานกล็ ุกออกจากบา น โดยไมบ อกกลา ว แตแสดงกิริยานัน้ เปน นยั วา ทานไมพอใจที่ตีทางแบบน้ัน เพราะดู
ไมเรียบรอย กาวราว นายชื่น ดุริยประณีต เปนคนฉลาด มีไหวพริบ จึงทราบดีวาส่ิงท่ี พระยาเสนาะดุริยางค
(แชม สุนทรวาทิน) ทานกระทําน้ันหมายถึงอะไร จึงเปลี่ยนใหม และตีใหฟงในวันรุงขึ้น จึงถูกใจพระยาเสนาะดุริยางค
(แชม สุนทรวาทิน) และทานก็ปรับแตงแกไขใหเพียงแตนิด เพื่อให นายช้ืน ดุริยประณีต น้ันบรรเลงออกไปอยางคําท่ีวา
“คมในฝก”

19|ห น า

พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สนุ ทรวาทนิ ) เกดิ มาเพอื่ ดนตรี อยูก ับดนตรี และส้ินชีวิตลงดวยความรักใครหวงใย
ในดนตรียิ่งนัก นายสอน วงฆอง เลาวา เม่ือทานปวยดวยโรคมะเร็งกอนจะส้ินลมยังเรียกนายสอน วงฆอง
เขาไปหา และพยายามรองทํานองเชิดฝร่ัง เพื่อใหนายสอน วงฆอง จดจําไวใหได จนกระทั่งถึงแกอนิจกรรม
เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2492 ณ บานเลขท่ี 1561 หนาโรงเรียนบานสมเด็จเจาพระยา
จังหวัดธนบรุ ี สิริอายุได 83 ป

ชอื่ ภาพ : ปพ าทยเ ครื่องหา : พระยาเสนาะดุรยิ างค (แชม สุนทรวาทิน) เปาป ,หลวงบาํ รุงจิตเจริญ (ธปู สารทวิลยั ) ตีฆองวง

,หมน่ื คนธรรพประสิทธสิ าร (แตะ กาญจนผลนิ ) ตีกลองทดั ,พระพาทยบ รรเลงรมย (พิมพ พมิ พวาทนิ ) ตกี ลองสองหนา และตะโพนไทย
,พระเพลงไพเราะ (โสม สุตวาทิน) ตรี ะนาด และหม่ืนขบั คาํ หวาน (เจิม นาคมาลัย) ตกี รับขบั เสภา

ที่มา : นางชยันตี อนนั ตกุล, 2562

20|ห น า

ผูควบคุมวง

นายศขุ ดุรยิ ประณตี

ชอ่ื ภาพ : ศุข ดุริยประณีต, นาย (พ.ศ. 2428 - 2506)
ท่มี า : อนสุ รณงานฌาปนกิจศพนายศขุ ดุรยิ ประณตี และนายสบื สุด (ไก) ดุรยิ ประณีต, 2507
เกิดเมื่อวันจันทรที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2428 เปนบุตรนายอิน กับนางสุม ชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ตําบลกบเจา อําเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีภรรยาช่ือ แถม (สกุลเดิม เชยเกษ) ซึ่งมีความสามารถ
ในการขับรอง และแสดงละคร
นายศุข ดุริ ยป ระณีต เ ร่ิมเ รี ยนด นต รี กั บ ครู หงส (ไ มท ราบ นามส กุล ) แ ล ะพ่ี ชาย ตอ ม า
เจา พระยาเทเวศรว งศวิวัฒน (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) ขณะนั้นดํารงตําแหนงเปนผูบัญชาการกรมโขน และต้ังคณะละครที่
บานของทานเอง ตอนนั้นทานผูบัญชาการกําลังตองการนักดนตรี นายศุข ดุริยประณีต จึงไดถูกเรียกเขาอยูเปน
นกั ดนตรีไทยประจาํ วังเจา พระยาเทเวศรฯ แตนน้ั มา
ครน้ั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรงตั้งกรมมหรสพข้ึน โปรดเกลาฯ
ใหโอนขาราชการในกรมโขน และกรมปพาทยจากบานเจาพระยาเทเวศรฯ มารวมในกรมมหรสพที่ต้ังข้ึนใหม
นายศุข ดุรยิ ประณีต กไ็ ดเ ขารบั ราชการในกรมมหรสพ จัดเปน พวกมหาดเลก็ พวกหนง่ึ และทรงโปรดเกลาโปรดกระหมอม

21|ห น า

พระราชทานนามสกุล ดุริยประณีต เมื่อ พ.ศ. 2457 นายศุข ดุริยประณีต ไดลาออกจากราชการเพ่ือเปลี่ยนอาชีพ
เม่ือ พ.ศ. 2461

นายศุข ดุริยประณีต มีบุตร และธิดารวม 10 คน เปนหญิง 6 คน ชาย 4 คน ซ่ึงเกิดจาก
นางแถม ดุรยิ ประณตี ภรยิ าคชู ีวติ คือ

1. นางชุบ ดุริยประณตี
2. นายโชติ ดรุ ิยประณตี
3. นายช้นื ดุรยิ ประณตี
4. นายชัน้ ดุรยิ ประณตี
5. นางเช่อื ม ดุริยประณีต
6. นางแชม ชอย ดรุ ยิ ประณีต
7. นางชมชนื่ ดรุ ยิ ประณตี
8. ด.ญ. ตกุ ตา ดรุ ยิ ประณีต
9. นางทัศนีย ดุริยประณตี
10. นางสดุ จิตต ดุริยประณีต
11. นายสืบสุด ดุรยิ ประณีต
รวม 10 คนที่กลาวมานี้ ลวนเปนศิลปนทุกคน สันนิษฐานวาเปนพันธุกรรมจากบิดา และมารดา โดยการ
สืบสายโลหิตศิลปนโดยตรง เพราะนางแถมภริยาคูชีวิตน้ัน ทั้งปู และพอก็เปนศิลปนแท มีช่ือเสียงเปนครูอยูวังหนา
(วทิ ยาลัยนาฏศลิ ป ในปจ จุบัน) คือปูชื่อคลาย พอชื่อคลอย ทั้งปู และพอของนางแถม เปนครูสอนกลองแขกปชวา และ
กระบี่กระบองในสมัยพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัวในรัชกาลท่ี 4 และหลานเหลนท้ัง 10 คน ของทาน
ก็เปนศลิ ปน ทุกคน
บ้ันปลายชีวิตของนายศุข ดุริยประณีต นั้นเปนเร่ืองที่นาสลดใจย่ิง เพราะการจากไปของนายศุข ดุริยประณีต
นั้น ไมไดจากไปอยางคนชราทั่วไป หรือเปนโรคภัยใด ๆ แตการจากไปน้ันเกิดขึ้น เพราะอุบัติเหตุ จากการสัมภาษณ
นายวิเชียร พรหมจรรย (บุคคลในตุการณคร้ังนั้น) ผูวิจัยจะส่ือประโยคจากการสังเคราะหแลว มิใชเปนคําพูดตาม
นายวิเชียร พรหมจรรย คือ วันหน่ึงในเดือนกุมภาพันธ นายศุข ดุริยประณีต ไดรับการวาจางใหไปทําปพาทยประกอบ
การแสดงลิเก ที่จังหวัดลพบุรี ในคายทหาร เวลา 19.00 น. ในวันน้ันมีรถจากคายทหารมารับ รถนั้นมีลักษณะคันใหญ
น่ังหนาได 3 คน (รวมคนขับ) ดานหลังไวใสเครื่องดนตรี และน่ังไปดวยได (รถ JEEP ทหาร) พลขับ ช่ือวา

22|ห น า

สิบโทเฉลี่ยว (ไมทราบนามสกุล) ตองการจะขับเรงเพ่ือแซงรถคันหนา แตดวยเคราะหกรรมอันใด รถยนตเสียหลัก
พลิกควํ่า (ในขณะที่อยูอําเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ทุกคนบนรถหมดสติ แตแลว นายวิเชียร พรหมจรรย
ไดส ตเิ ปน คนแรก จึงรีบลุกไปปลุกนายสมชาย ดุริยประณีต (นายหมัด) ใหชวยกันไปปลุก และตรวจสอบสภาพรางกาย
ของแตละคนที่เดินทางมาดวยกัน สิ่งท่ี นายวิเชียร พรหมจรรย เห็นส่ิงแรก คือรางของนายศุข ดุริยประณีต
กระเด็นออกจากรถ นอนนิ่งอยูริมทางท่ีเปนดินโคลน และถูกกลองทัดใบใหญทับศีรษะ มีเลือดออกตามใบหนา
พอเขาไปเรียก เขยา ตวั กไ็ มท ันการเสยี แลว เนอ่ื งจาก นายศขุ ดุรยิ ประณตี ไดจากไปแลว

ชีวิต ข อ งน ายศุข ดุริ ยป ระ ณี ต น้ั นคร้ั งมี ชี วิ ต คื อ ศิ ล ป น เ ว ล าจ ากไ ป ก็ จา กไ ป อ ย าง ศิล ป น
เมอื่ วันพฤหัสบดี 28 กมุ ภาพนั ธ 2506 สริ ิรวม อายุได 78ป

ชอ่ื ภาพ : หนังสืออนสุ รณงานฌาปนกิจศพนายศุข ดรุ ยิ ประณีต และนายสบื สดุ (ไก) ดุริยประณีต
ที่มา : อนุสรณงานฌาปนกิจศพนายศขุ ดุรยิ ประณตี และนายสบื สุด (ไก) ดรุ ิยประณีต, 2507

23|ห น า

นางแถม ดรุ ิยประณตี

ชอื่ ภาพ : แถม ดรุ ิยประณีต, นาง (พ.ศ. 2433 - 2515)
ที่มา : อนสุ รณใ นการฌาปนกิจศพคุณแมแถม ดุรยิ ประณตี , 2516
นางแถม นามสกุลเดิม คือ เชยเกตุ เกิดวันศุกรท่ี 24 มกราคม พ.ศ. 2433 ตําบลตาคลี
จังหวดั นครสวรรค เปนบตุ รคนโตของนายคลอย กับนางลิ้นจ่ี สกลุ เชยเกตุ เม่ือ พ.ศ. 2448 อายุได 15 ป ก็ยายถิ่นฐาน
มาอยูท่กี รุงเทพมหานครกับคุณลุง (คุณพระภิรมยราชชาสุทธภิ าค) ท่หี ลงั วัดแจงขางกุฎีเจา เซ็น ตอมานางแถมไดหัดละคร
อยูใ นวงั เจาเจก (หลงั ตลาดนานา) จนกระทั่งมีชอื่ เสยี งเปนท่รี ูจักกันดีในบทบาทตัวละคร “พระสงั ขทอง”
จากน้ันไดยายมาอยูกับคุณปา (คุณหญิงผาด ภริยาพระยาโยธาไพจิตร) ท่ีคลองบางหลวง
จนไดม าเจอกับ นายศุข และไดสมรสกัน มีบุตร – ธิดา ท้ังหมด 11 คน (ดังท่ีกลาวไวในประวัติ นายศุข ดุริยประณีต)
แมนางแถม จะเปน นกั ละคร แตเมอื่ ไดสมรสมคี รอบครวั กไ็ ดร ิเริ่มธรุ กจิ คือ การคา ขายเคร่ืองดนตรีปพาทย เนื่องจากรูจัก
กบั ชา งไมช าวจนี ที่มีความประณีตในการสรา งงานไม นางแถม จึงวา จางใหมาประกอบเครื่องดนตรีปพาทยเพ่ือจําหนาย
สมัยน้ันถือไดวา บานดุริยประณีตเปนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก และเปนรานจําหนายเคร่ืองดนตรีไทยรานแรก
โดยอาศัยความชํานาญทางเสียงจากนายศุข ดุริยประณีต (สามี) จนกระท่ังมีช่ือเสียงเปนที่ลํ่าลือกันท่ัวไป
แมจะสรา งโรงงานคา ขายเคร่ืองดนตรไี ทย

24|ห น า

นางแถมมีความตองการไดบุตรที่สามารถขับรองได จึงเกิดการบนบานศาลกลาวในขณะที่
เกดิ นางชุบ ดรุ ยิ ประณตี (บตุ รีคนแรก) จงึ บนบานวา “หากขามีลูกสาว ขอใหลูกสาวทุกคนที่เกิดมานั้นเปนนักรองทุกคน)
สุดทายเปนจริงอยางเชนการบนบานศาลกลาวทุกประการ เม่ือถึงยามวางก็ไดตอทารํา ทางรอง และการแสดงตาง ๆ
ใหก บั บุตรีของตน ซ่ึงบุตรีของนางแถมมีความรูแตกฉานทางคีตศิลปมาก และมีชื่อเสียงเปนท่ีรูจักกันอยางแพรหลายใน
นาม “คณะดุรยิ ประณีต”

ในวัย 70ปเศษ ๆ นางแถมเริ่มปวยโดยโรคภัยตาง ๆ จึงไมสามารถเดินทางไปไหนได และไดรับความกรุณา
เยยี วยาจากแพทยผ เู ชีย่ วชาญ คือ ศาสตราจารย นายแพทยสเุ อ็ด คชเสนี ,รองศาสตราจารย นายแพทยสพุ จน อางแกว ,
นายแพทยพนู พิศ อมาตยกุล ,นายแพทยส ุขุม พันธเุ พ็ง และแพทยห ญงิ อัญชลี ยาตรมงคราญ ดว ยความเอาใจใสตลอดมา
จนกระท่ังวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2515 เวลา 10 นาฬิกาเศษ ๆ นางแถม ไดถึงแกกรรมดวยอาการสงบ ณ
บานดุรยิ ประณตี รวมอายุ 82 ป 7 เดือน 23 วนั

ชอื่ ภาพ : ตง้ั บาํ เพญ็ กุศลศพนางแถม ดรุ ิยประณีต ณ บา นดุริยประณตี
ทมี่ า : อนุสรณในการฌาปนกิจศพคณุ แมแ ถม ดรุ ิยประณีต, 2516

25|ห น า

นายสอน วงฆอ ง

ชอ่ื ภาพ : สอน วงฆอง, นาย (พ.ศ. 2445 - 2518)
ท่มี า : นายชูเกียรต์ิ วงฆอง, 2556

นายสอน วงฆอง เกิดวันจันทรที่ 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2445 ตําบลเจาเจ็ด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เร่ิมเรียนดนตรีกับนายทอง ฤทธิรณ ซึ่งเปนครูปพาทยใกลบาน จากน้ันไดเขามาเรียนกับกับพระยาเสนาะดุริยางค
(แชม สนุ ทรวาทนิ ) ขณะท่ดี าํ รงตาํ แหนง เจากรมปพาทยห ลวงในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาล
ที่ 5

นายสอน วงฆอง เปนคนมีไหวพริบปฏิภาณ และความเฉลียวฉลาดแมนยํา สามารถบรรเลงเคร่ืองปพาทย
ไดดีเยี่ยมทกุ เคร่ืองมือยกเวนป แตท ีด่ เี ปน พเิ ศษ คือฆอ งวงใหญ ถึงกับพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว รชั กาลท่ี 6
ตรัสประทางนามสกลุ ใหว า "วงฆอง" เพราะตฆี อ งดีเลศิ นายสอน วงฆอง มคี วามแมนยําดเี ปน ทสี่ ุด ซ่ึงเปนคุณสมบัติหลัก
ของผูบรรเลงฆองวงใหญ คือ แมนเพลง แมนปุม และแมนจังหวะ ท่ีวาแมนปุม คือแมนคูแปด และตีลงถูกปุมฆอง
ทกุ ครง้ั ไมพ ลาดไปโดนฉัตร หรอื ทอ่ี ืน่ ๆ สําหรับการแมนจังหวะน้ันเปนคณุ สมบัตขิ องคนฆองวงใหญ ซ่ึงจะตอ งยืนจังหวะไว
ใหมั่นคง ไมร ุกหนา หรือลาหลัง ไมว า จะถกู เหลื่อมถูกลอ ก็ตาม คุณสมบตั ทิ ั้งหมดนนี้ ายสอน วงฆอง มีครบถวนอยางดีเลิศ
ดวยเหตุนนี้ ายสอน วงฆอ ง จึงสามารถรบั วิชาความรจู ากพระยาเสนาะดรุ ิยางค (แชม สนุ ทรวาทิน) มากกวาศิษยคนอื่น ๆ
นายพริ้ง ดนตรีรส คนระนาดฝมือเลิศ ผูเปนศิษยของพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) เคยกลาวไววา
"มีสอนไปดวย ผมไมกลัวใคร" เพราะนายสอน วงฆอง เปนที่อุนใจ และเปนหลักของวงไดวิเศษมาก นอกจากนี้

26|ห น า

นายสอน วงฆอง ยังไดสมญานามวาเปน "ตูเพลงของวงการดุริยางคไทย” เพราะไมวาจะเรียกถามเพลงใด
นายสอน วงฆอง สามารถบรรเลงไดค รบถวนไมมพี ลาด เปรยี บเสมือนคน หาหนังสือในตเู ก็บ หรอื จอ เขม็ ลงบนแผนเสียง

หนา ท่ีการงานของนายสอน วงฆอง เร่มิ จากเจาพระยาธรรมธกิ รณาธิบดี (หมอมราชวงศปุม มาลากุล) เสนาบดี
กระทรวงวังในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6 ไปขอตัวมาเปนคนฆองวงใหญประจําวงปพาทย
ของทา น เมือ่ อายคุ รบเกณฑท หารไดเ ขารบั ราชการเปน ทหารรักษาวังรนุ เดยี วกบั นายเทียบ คงลายทอง ,นายมิ ทรัพยเย็น
เปนตน เม่ือพนราชการทหารแลวจึงเขาถวายตัวเปนมหาดเล็กในกรมปพาทย และโขนหลวง
เม่อื วนั เสาร ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2470 หลังเปล่ียนแปลงการปกครองแลวจึงไดโอนมาสังกัดกรมศิลปากรจนเกษียณอายุ
ราชการ และไดร ับการจา งตอ ใหเปน ครพู เิ ศษในวทิ ยาลยั นาฎศิลป จนถึงแกกรรมเมื่อวันศุกร ท่ี 10 มกราคม พ.ศ. 2518
ดว ยโรคหวั ใจลม เหลว สริ อิ ายไุ ด 73 ป กอ นจะถงึ แกก รรมนั้นถอื เปน ครง้ั สุดทายท่ี นายสอน วงฆอ ง ไดบรรเลงฆอ งวงใหญ
เน่ืองจากทางกรมศิลปากรไดเชิญนายสอน วงฆอง บรรเลงฆองวงใหญ ประเภทเพลงเด่ียว จํานวนหลายเพลง
เพ่ือเก็บรักษาไวเปนสมบัติของชาติ นายสอน วงฆอง ก็ใหความรวมมือดวยดี โดยมิไดปดบังความรูแตอยางใด
ครั้งที่ไปบันทึกเสียงน้ัน นายสอน วงฆอง พูดความดังกลาวไวในระหวางท่ีบันทึกเสียงไปไดเกือบแลวเสร็จวา
"เหนอ่ื ยเหลือเกินอยากใหเสร็จเสียที" ส่ิงที่ไมคาดคิดก็เกิดขึ้นฉับพลันไมมีใครทราบไดวาการบันทึกเสียงครั้งนี้จะเปน
การบรรเลงฆองวงใหญครัง้ สดุ ทา ยของ นายสอน วงฆอง ณ หองอัดเสียงของพลตํารวจตรีวิลาส หงสเวส ซอยนวลนอย
เอกมัย เม่ืออัดถึงเด่ียวเพลงกราวใน 3ช้ัน ซ่ึงเปนเพลงท่ียาว และใชกําลังอยางมาก ยังไมทันบรรเลงจบ
นายสอน วงฆอง เกิดอาการมือสั่น และหมดสติลงกลางวงฆองที่บรรเลงอยู ผูท่ีอยู ณ ตรงน้ัน รีบนํานายสอน วงฆอง
ไปรักษาที่โรงพยาบาล แตไมทันการ นายสอน วงฆอง ก็สิ้นใจที่โรงพยาบาลเมื่อขาวการเสียชีวิตของนายสอน วงฆอง
ถึงหู นายพริง้ ดนตรีรส ก็เกดิ คาํ ปรารภข้ึนวา "หมดสอนเสยี คนหนง่ึ ผมไมอ ยากตรี ะนาด"

ดานชีวิตครอบครัว สมรสกับนางเยื้อน มีบุตรธิดา 3 คน คือ สายหยุด (หญิง) พรทิพย (หญิง)
และชูเกียรติ (ชาย)

27|ห น า

นายโชติ ดุริยประณีต

ชอื่ ภาพ : โชติ ดรุ ิยประณีต, นาย (พ.ศ. 2452 - 2516)
ท่ีมา : อนุสรณง านพระราชทานเพลิงศพ โชติ ดุริยประณีต, 2517

นายโชติ ดุริยประณีต เปนบุตรคนท่ี 2 ของ นายศุข และนางแถม ดุริยประณีต เกิดเม่ือวันอาทิตยท่ี
6 กุมภาพันธ พ.ศ. 2452 เม่ือวัยเยาวเรียนหนังสืออยูที่วัดสามพระยา สมัยน้ันเจาอาวาสเปนครูผูสอนหนังสือ
นายโชติ ดรุ ิยประณีต เรียนจบช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 จากน้ันจึงประกอบอาชีพนักดนตรีไทยมาตลอด เน่ืองจากทางบาน
มอี าชีพเปนนกั ดนตรีไทยกนั ทง้ั หมด และนายโชติ ดรุ ยิ ประณตี ถอื ไดวาเปนกําลงั สาํ คัญของครอบครัวทจ่ี ะมาชวยตีปพาทย
ประกอบเปนอาชีพหลักเพ่ือเลี้ยงดูครอบครัว และนอง ๆ ที่ยังไมสามารถชวยเหลือตนเองได เพราะบิดา และมารดา
มีบุตรกนั มาก

ชีวิตนักดนตรีของ นายโชติ ดุริยประณีต เริ่มตนจากการที่ นายศุข ดุริยประณีต ผูเปนบิดาจับมือฆองวงใหญ
เพลงสาธุการใหเปนปฐมตามขนบธรรมเนยี มของดนตรีไทย จากน้ันเมื่อมีความรูพ้ืนฐานมากพอ บิดาผูเปนเพ่ือนรวมงาน
กบั พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) จึงฝากนายโชติ ดุริยประณีต ใหกราบเปนศิษยกับพระยาเสนาะดุริยางค
(แชม สนุ ทรวาทิน) เพ่ือเรยี นป โดยเฉพาะ พาไปกราบเปน ศิษยก ับพระพาทยบ รรเลงรมย (พิม วาทิน) เพอื่ เรียนเครื่องหนัง
โดยเฉพาะ เรยี นขับรองกับ ขนุ ระทึก ,แมส ม แปน และครูก่ิง เรียนเพลงมอญพรอมท้ังรําเจารําผี และหนาทับตะโพนมอญ
เปงมางคอก กับครูจําปา นับไดวาเปนมอญแท ๆ ซึ่งทานเปนครูปพาทยมอญ อยูที่ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี นับไดวา
นายโชติ ดุริยประณีตเปนผูท่ีมีความรูแตกฉาน และเพียบพรอมไปดวยสรรพวิชาการทางดนตรีไทยเปนอยางมาก
สมกบั เกยี รติที่ไดรีบเปน ผสู บื ทอดในตาํ แหนง หวั หนา วงบา นดรุ ิยประณตี ตอ จากบดิ า

28|ห น า

นายโชติ ดุริยประณีต เขารับราชการเปนมหาดเล็กฝายมหรสพในพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลที่ 7 เมื่อ พ.ศ. 2469 – พ.ศ. 2478 จากน้ันทางราชการโอนแผนกปพาทย และโขนหลวงมาเปนแผนก
ดุริยางคไทย และนาฏศิลปไทย ขึ้นกับกองการสังคีต กรมศิลปากร ในระหวาง พ.ศ. 2500 – 2510
นายโชติ ดุริยประณีต ไดรบั หนาทีอ่ ันทรงเกยี รตแิ ตง ตงั้ ใหด าํ รงตําแหนง หวั หนาแผนกดรุ ยิ างคไทย เปนคนที่ 4 ตั้งแตกอต้ัง
แผนกดุริยางคไทยขึ้น ตอจากนายโองการ กลีบชื่น ผูท่ีดํารงตําแหนงหัวหนาแผนกดุริยางคไทย คนที่ 3 สวนผูที่ดํารง
ตําแหนงหัวหนาแผนกดุริยางคไทย คนท่ี 2 คือ นายมนตรี ตราโมท และท่ีดํารงตําแหนงหัวหนาแผนกดุริยางคไทย
คนท่ี 1 คอื หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

นายโชติ ดุริยประณีต ถึงแกกรรมดวยอาการสงบ เมื่อวันอาทิตย ท่ี 10 มิถุนายน พ.ศ. 2516
สิริรวมอายุได 64ป

ชอื่ ภาพ : บทกลอนทปี่ ระพนั ธถึงเสนทางชวี ติ นักดนตรีของ นายโชติ ดุรยิ ประณตี
ทีม่ า : อนุสรณง านพระราชทานเพลิงศพ โชติ ดุรยิ ประณตี , 2517

29|ห น า

นายชื้น ดรุ ยิ ประณตี

ชอ่ื ภาพ : ชน้ื ดรุ ิยประณตี , นาย (พ.ศ. 2454 - 2507)
ที่มา : อนุสรณงานฌาปนกจิ ศพ นางชน้ื ดุรยิ ประณีต, 2509

นายชั้น ดุริยประณีต เปนบุตรคนที่ 3 ของนายศุข และนางแถม ดุริยประณีต เกิดวันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม
พ.ศ. 2454 ไดเขา ศกึ ษาวิชาการสามัญท่ีโรงเรียนพานิชการสามพระยา เม่ืออายุ 10 ป พรอมกับเรียนวิชาการทางดาน
ดนตรีไทย โดยมีนายศุข ดุริยประณีต ผูเปนบิดาเปนผูจับมือฆองวงใหญเพลงสาธุการใหตามขนบธรรมเนียมดนตรีไทย
จนกระทั่งอายุ 15 ป นายชื้น ดุริยประณีต มีความแตกฉานอยางรวดเร็วในดานปพาทย บิดาเห็นถึงความพรอม
จึงมอบหมายใหน ายชนื้ ดุรยิ ประณีต บุตรคนท่ี 3 นี้รับหนาที่บรรเลงระนาดเอกประจําวงดุริยประณีต ต้ังแตน้ันมา ตอมา
เมือ่ มีทักษะที่ดีขน้ึ เรอื่ ย ๆ บดิ าจงึ นาํ นายชื้น ดุริยประณีต ไปกราบพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) เพ่ือฝากตัว
เปนศิษยเม่ือคร้ังที่เรียนอยูกับพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) นายช้ืน ดุริยประณีต เปนที่รักของ
พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) มาก เพราะนายช้ัน ดุริยประณีต เปนผูท่ีมีความจําดี ทักษะดี รสมือเย่ียม
มคี วามไหวมาก พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน)ทานสอนอะไร นายชื้น ดุริยประณีต ก็สามารถปฏิบัติตามได
ถกู ตอ งตามคําสอน คําแนะนาํ ทง้ั สน้ิ

ครั้งประชันในแตละคราว นายชื้น ดุริยประณีต สามารถเอาตัวรอดไดไมวาจะไดเพลง หรือไมไดก็ตาม
ดวยปฏิภาณไหวพริบที่เปนเลิศจากพรสวรรค และประสบการณตาง ๆ ท่ีไดผานมา ท้ังการประชันแบบบังเอิญ

30|ห น า

หรือเจตนาประชัน นายช้นื ดรุ ยิ ประณตี กส็ ามารถนําชัยชนะมาใหก ับวงดรุ ยิ ประณีตไดทุกครั้งไป ถอื ไดวาเปนคนธงประจํา
บา นดรุ ยิ ประณีต

เมื่อ พ.ศ. 2469 เขารบั ราชการเขาถวายตัวเปนมหาดเลก็ ในพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7
และในระหวางรับราชการอยนู น้ั มีการประชนั คร้งั สาํ คญั ข้นึ น้นั คือ การประชันท่ีวังลดาวัลย มีวงปพาทยอยูดวยกัน 3 วง
ไดแก วงบางคอแหลม (สมเด็จเจาฟากรมหลวงสงขลานัครินทร) วงบางขุนพรหม (สมเด็จเจาฟากรมพระนครสวรรค
วรพินิจ) และวงหลวง (พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 7) ซ่ึงการประชันครั้งน้ี นายชื้น ดุริยประณีต
อยใู นวงหลวง ทสี่ ําคัญคอื รับหนา ที่บรรเลงระนาดเอก ดวยเหตุการณคร้ังนี้ นายชื้น ดุริยประณีต จึงไดครูเพ่ิมมา 1 ทาน
คือ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ซึ่งทานรับหนาที่ในการปรับวง และตอเพลงเด่ียวอาเฮีย โดยเหลือเวลา
การตอ เพลง และปรับเพลงอยูเพียงแค 7 วันเทาน้ัน แตอยางใดนายช้ืน ดุริยประณีต ก็ไมทําใหผิดหวัง เพราะงานคร้ังน้ี
ผานไปไดอยางเรียบรอยดี ตอมาใน พ.ศ. 2478 ทางสํานักพระราชวังไดโอนงานการชาง และมหรสพใหมาข้ึนอยูใน
กรมศลิ ปากร นายช้ืน ดุริยประณีต ก็ยังคงรับราชการตอมา ดวยความรักอิสระของนายช้ืน ดุริยประณีต ทําใหตัดสินใจ
ลาออกจากขา ราชการ เมื่อ พ.ศ. 2485 และกลายมาเปนครูสอนปพาทยในสถานที่ตาง ๆ อีกหลายจังหวัดจนเปนที่รูจัก
กนั มากขึน้ ในหมูนกั ดนตรไี ทย

ชวงสุดทายของชีวิตไดยายมาอาศัยท่ี จังหวัดลพบุรี และลมปวยดวยโรคมะเร็งท่ีคอ จึงยายกลับมายัง
บานดุริยประณีตซ่ึงเปนบานเกิดเดิม โดยมีแพทยคอยใหความชวยเหลือดูแลรักษาอยางใกลชิด แตอาการนั้นก็ไมมี
การทเุ ลาลงแตอ ยา ง แมจะเปน มะเร็งท่คี อ นายชื้น ดรุ ิยประณีต ก็ยังคงเปนครูอยูในสายเลือด คอยตรวจเพลงที่ลูกหลาน
หัดเพลงกันอยูในช้ันลาง สวนนายช้ืน ดุริยประณีต นอนอยูบนช้ัน 2 หากบรรเลงผิด หรือตอเพลงกันผิด
นายชน้ื ดรุ ิยประณีต จะอาศยั การหยบิ สง่ิ ของใกลต วั กระแทกลงกับพน้ื บา นที่เปนไม ใหทราบทว่ั กันวา เพลงที่ตออยูตรงน้ัน
ผดิ ไมถ ูกตอง ในที่สดุ ก็ถึงแกก รรมดวยโรคมะเร็งทค่ี อ ในวนั พฤหสั บดี ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2507 สิริรวมได 53ป

31|ห น า

นายชั้น ดุรยิ ประณีต

ชอื่ ภาพ : ชัน้ ดรุ ิยประณีต, นาย (พ.ศ. 2457 - 2496)
ท่ีมา : อนสุ รณง านฌาปนกิจศพ นางชัน้ ดุรยิ ประณีต, 2597
นายช้ัน ดุริยประณีต เปนบุตรคนที่ 4 ของนายศุข และนางแถม ดุริยประณีต เกิดวันจันทรที่ 4 พฤษภาคม
พ.ศ. 2457 เมื่อถงึ วยั ทตี่ อ งเรียนหนงั สอื บิดา และมารดา สง ใหไ ปเรยี นหนังสือท่โี รงเรยี นแนบวิทยา สว นวิชาการดนตรีนั้น
ก็เรียนอยูกับบาน เพราะในบานเปนครอบครัวนักดนตรีไทย เมื่ออายุ 12 ป ใน พ.ศ. 2469 เจาพระยาวรพงศพิพัฒน
เสนาบดกี ระทรวงวงั รบั สมัครเยาวชนเขาฝกหดั โขน ละคร ดนตรปี พ าทย ในกรมปพาทย และโขนหลวง สังกัดกระทรวงวัง
เพิ่มเติมจากขา ราชการทร่ี บั ทอดมาจากกรมมหรสพ นายช้ัน ดุริยประณีต ไดรับราชการในกรมน้ีดวย เมื่อป พ.ศ. 2480
ไดโอนมาอยูในกรมศิลปากร นายช้ัน ดุริยประณีต จึงโอนยายมาอยูในแผนกดุริยางคไทย กรมศิลปากร และ
รบั ราชการในแผนกดรุ ยิ างคไ ทย กรมศลิ ปากร มาตลอดชีวิต
นายชน้ั ดุรยิ ประณตี เปน ผทู ีม่ ีจติ ใจดี มีเมตา เคารพผมู ีพระคุณ และกตญั ูเปนอยางมาก เปนผูที่เพียรพยายาม
ในการแสวงหาความรูอยูเสมอ จนแตกฉานในสรรพวิชาการทางดานปพาทยทุกแขนง และยังเปนผูท่ีเปดกวาง
เปน อยางมาก เพอ่ื ใหด นตรไี ทยนั้นพัฒนาไปตลอดไมหยุดนิ่ง คร้ังเม่ือการกระจายเสียงเจริญย่ิงข้ึน นายชั้น ดุริยประณีต
ไดรวบรวมคนดนตรไี ทยต้ังเปนคณะทาํ การสง กระจายเสียง ชื่อคณะวา “ศิลปะดรุ ิยางค”

32|ห น า

ชว งสุดทา ยของชีวติ น้ัน นายช้นั ปวยเปน โรคตบั พิการ ต้ังแตเ ดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2496 อาการปวยน้ันทรุดลง
เร่ือย ๆ ตามลําดับ จนกระทั่งวันพุธ ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2496 นายช้ัน ดุริยประณีต ถึงแกกรรมลงดวยโรงตับพิการ
สริ ิรวมได 39ป

ชอื่ ภาพ : หนงั สอื ที่ระลกึ ในงานฌาปนกจิ ศพ นายช้นั ดุริยประณีต
ทมี่ า : อนสุ รณงานฌาปนกจิ ศพ นางชน้ั ดุรยิ ประณตี , 2597

33|ห น า

นายบญุ ยงค เกตคุ ง

ชอื่ ภาพ : บญุ ยงค เกตคุ ง, นาย (พ.ศ. 2463 - 2539)
ที่มา : อนสุ รณงานพระราชทานเพลิงศพ นายบุญยงค เกตคุ ง ศิลปน แหง ชาต,ิ 2539

นายบุญยงค เกตุคง เปน บุตรชายชองนายเท่ียง และนางเขียน เกตคุ ง เกดิ วนั อังคาร เดือน 4 ปว อก พ.ศ. 2463
ตําบลวัดสิงห กรุงเทพมหานคร บิดา และมารดามีอาชีพเปนนักแสดงจําเปนตองยายสถานที่ประกอบอาชีพอยูบอยคร้ัง
นายบุญยงค เกตุคง จึงตอ งอาศัยอยูกบั ตา และยาย ทีจ่ ังหวัดสมทุ รสาคร เรยี นหนังสือท่วี ดั ชองลม จนจบการศึกษาช้ันตน
เริ่มหัดดนตรีไทยกับ ครูละมาย (ไมทราบนามสกุล) ซ่ึงเปนครูอยูท่ีจังหวัดสมุทรสาคร บานครูละมาย
อยูตดิ กับวดั หวั แหลม

เมื่ออายุ 10 ป นายบุญยงค เกตุคง สามารถบรรเลงฆองวงใหญไดจนจบโหมโรงเชา และโหมโรงเย็น
เม่ือบดิ าเห็นวาบรรเลงในขน้ั พืน้ ฐานไดแลว จึงนําไปฝากเปนศิษยกับ ครูหร่ัง พุมทองสุข ซ่ึงเปนครูดนตรีไทยท่ีมีช่ือเสียง
ในปากนํ้าภาษีเจริญ ตอนนั้น นายบุญยงค เกตุคง อายุได 11 ป โดยมีนองชาย (นายบุญยัง เกตุคง) ติดตามไปเรียน
ดวยเสมอ ในขณะที่ นายบุญยงค เกตุคง เรียนดนตรีไทยที่บานครูหรั่ง พุมทองสุข น้ันไดพบเพ่ือนใหม 1 คน
ชื่อ นายสมาน ทองสุโชติ แตอยูไดเพียง 2 ป เพราะนายบุญยงค เกตุคง เปนผูที่มีความจําดี และทักษะที่พัฒนา
อยางรวดเร็ว จงึ ยา ยไปเรียนกบั พระอาจารยเ ท้มิ (ไมทราบนามสกลุ ) ท่วี ัดชอ งลม จังหวัดสมุทรสาคร นับวาในยุคสมัยนั้น
สถานทเ่ี รียนนีม้ ีชือ่ เสียงมาก เมื่อ นายบุญยงค เกตคุ ง อายุ 16 ป บดิ าเห็นวาสามารถรับงานดนตรีไดแล จึงชักชวนใหมา
บรรเลงดนตรีในคณะนาฏดนตรีของบิดา บรรเลงประจําท่ีวิกลิเกบางลําพู กรุงเทพมหานคร เริ่มจากตําแหนงฆองวงใหญ
แลวจึงพัฒนามาเปนตําแหนงระนาดเอก ทั้งนี้ไดรับการฝกฝน ส่ังสอนจากนายประสิทธิ์ เกตุคง (อา)

34|ห น า

ใหมีความรูทางดานเพลง 2 ชั้น ตามท่ีลิเกใชรองเปนประจํา จึงทําให นายบุญยงค เกตุคง เปนผูที่มีไหวพริบดีเยี่ยม
ในดา นการบรรเลงระนาดประกอบลเิ ก

ในยานบางลําพูท่ี นายบุญยงค เกตุคง อยูน้ันเปนที่ใกลชิดกับบานดนตรีบานหน่ึงท่ีมีช่ือเสียงมาก คือ
“บานดรุ ยิ ประณีต” ซง่ึ มนี ายชนื้ ดุริยประณตี และนายช้ัน ดุรยิ ประณีต บุตรชายของ นายศุข ดุริยประณีต มาชวยบรรเลง
ดนตรีใหกับบิดาของ นายบุญยงค เกตุคง ที่วิกลิเกน้ีบอยครั้งจึงเปนเหตุให นายบุญยงค เกตุคง มีความสนิทสนมกับ
สายตระกูลดรุ ยิ ประณตี

ในสมัยที่พลโทหมอมหลวงขาบ กุญชร เปนอธิบดีกรมประชาสัมพันธ นายบุญยงค เกตุคง ไดสมัครเขาเปน
นกั ดนตรีไทยประจําวงดนตรีไทยกรมประชาสัมพนั ธ และไดร ับการคัดเลือก ดวยเหตุนี้นับเปนเหตุการณคร้ังสําคัญท่ีทําให
นายบุญยงค เกตุคง มีความรู ความสามารถมากเพ่ิมข้ึนไปอยางย่ิง เพราะเหตุท่ีไดเจอกับ ครูพุม บาปุยะวาทย
หวั หนาแผนกดนตรไี ทยกรมประชาสมั พนั ธ ทา นจงึ คอยเพิ่มเตมิ ความรู ประสบการณอีกหลายดา น ไมวาจะเปนการปรับวง
การบรรเลงเครือ่ งดนตรีไทยในแตล ะช้ิน หรือการคดิ เพลงเดี่ยวกต็ าม

“ตระนาฏราช”เปนเพลงหนาพาทยท่ี นายบุญยงค เกตุคง เปนผูประพันธไว เกิดขึ้นจากเหตุจําเปนท่ี
นายบุญยงค เกตุคง เปนนักดนตรีไทยประกอบละครของคณะนาฏราช ท่ีอยูในความควบคุมของ พระเจาวรวงศเธอ
พระองคเจาภาณุพันธยุคล รับสั่งใหประพันธเพลงหนาพาทยน้ีเพื่อประกอบละครที่ออกแสดงทางโทรทัศนขาวดํา
ชอง 4 บางขนุ พรหม

หลังจากเกษยี ณอายรุ าชการ นายบญุ ยงค เกตุคง ไดรวมมือกับ นายบรูซ แกสตัน กอตั้งวงดนตรีไทยรวมสมัย
ชื่อวา “วงฟองน้ํา” เพื่อบรรเลงเพลงไทยแทในรูปแบบดนตรีรวมสมัย คือดนตรีไทย ประสมกับดนตรีสากล ในป
พ.ศ. 2531 นายบุญยงค เกตุคง ไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติเปนศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย)
ดว ยผลงาน และคุณงามความดีทกุ ประการท้งั ปวง

บ้ันปลายชีวิตของ นายบุญยงค เกตุคง ศิลปนแหงชาติ ลมปวยดวยโรคสมองเส่ือม ไดรับการรักษาตัว ณ
โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี และเมื่อวันพฤหัสบดี ท่ี 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 นายบุญยงค เกตุคง ศิลปนแหงชาติ
ไดถงึ แกกรรมในที่สุด สิริอายไุ ด 76 ป

35|ห น า

ขบั รอ ง

นางสดุ า เขียววจิ ติ ร

ชอ่ื ภาพ : สุดา เขียววิจิตร, นาง (พ.ศ. 2460 - 2540)
ทม่ี า : อนสุ รณง านพระราชทานเพลิงศพ นางสดุ า เขยี ววิจติ ร, 2540

นามเดิมวา เช่ือม สกุลเดิม ดุริยประณีต เกิดวันอาทิตยที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 เปนบุตรี ลําดับที่ 2
ตอจาก นางชุบ ดรุ ิยประณีต แตเปนบตุ รลาํ ดบั ที่ 5 ของนายศุข ดุรยิ ประณตี กับนางแถม ดรุ ิยประณตี

เม่อื วยั เยาวศ ึกษาทโ่ี รงเรยี นแนบวทิ ยา และหัดขับรองจากมารดา (นางแถม ดุริยประณีต) ตอมาเม่ือมีพ้ืนฐาน
พอสมควรมารดาจึงใหไปเรียนกับ พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) นับไดวาเปนการวางรากฐานการขับรอง
ทสี่ ําคญั ที่สุดของชวี ติ กอ นการเปล่ียนแปลงการปกครองพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยูห วั รัชกาลที่ 7 ทรงโปรดเกลา
ใหพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) จัดตั้งวงมโหรีขาหลวง เปนขาในพระองคโดยเฉพาะ
ซ่ึงพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) คัดเลือกเฉพาะสตรีเพศเทาน้ัน นางสุดา เขียววิจิตร ไดรับการคัดเลือก
ในคร้ังนี้ใหเปนนักรองประจําวงมโหรีขาหลวง ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง และยุบกรมมหรสพ
นางสุดา เขียววิจิตร ไดยายเขามา รับราชการในกรมศิลปากร เม่ือเสาร ท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ.2477 จากการไดเขามา
รับราชการที่กรมศิลปากร ทําใหนางสุดา เขียววิจิตร พบเจอครูอีกหลายทาน และไดเรียนขับรองเพ่ิมเติมจากครูที่
กรมศิลปากร คอื หลวงเสยี งเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย) ,หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ,นายมนตรี ตราโมท

36|ห น า

,คุณหญิงเทศนฏั กานรุ กั ษ ,หมอ มจนั ทร กุญชร ณ อยุธยา และหมอมหลวงตวน วรวรรณ นางสุดา เขียววิจิตร สามารถตี
ระนาดเอก และฆองวงใหญไดดี เน่ืองจากเปนนองสาวของ นายโชติ นายชื้น และนายช้ัน ดุริยประณีต ผูเปนพ่ี
ท่ีไดประสทิ ธิประสาทวชิ าการทางดา นปพ าทยไห

บั้นปลายชีวิตของนางสุดา เขียววิจิตร ปวยเปนโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง แตดวยความที่
นางสุดา เขียววิจิตร เปนผูท่ีชอบเดิน ทํางานบาน นางสุดา เขียววิจิตร จึงสูกับโรคภัยนี้ไดมาเปนระยะเวลานาน
แตดวยอาการท่ีกําเริบหนักข้ึนเร่ือย ๆ จึงทําใหมีอาการออนเพลีย และเบ่ืออาหาร จนกระท่ังเที่ยงคืนเศษของ
วนั เสาร ท่ี 19 เมษายน พ.ศ. 2540 นางสดุ า เขยี ววจิ ติ ร กถ็ งึ แกกรรมอยา งสงบท่ี โรงพยาบาลธนบุรี รวมอายได 80ป

ชอื่ ภาพ : นางสุดา เขียววิจติ ร บรรเลงฆอ งวงใหญ ออกรายการโทรทัศน ชอ ง 4 บางขนุ พรหม
วงมโหรคี รอู าวุโส รายการคันธรรพศาลา

ที่มา : อนุสรณง านพระราชทานเพลิงศพ นางสุดา เขียววิจิตร, 2540

37|ห น า

นางชม รงุ เรือง

ชอ่ื ภาพ : ชม รงุ เรอื ง, นาง (พ.ศ. 2463 - 2556)
ทม่ี า : อนสุ รณง านพระราชทานเพลิงศพ ครชู ม ดุริยประณีต รุงเรอื ง, 2556

นางชม ดุรยิ ประณตี รุง เรอื ง หรอื ท่ีรจู ักกันวา “ครชู ม ยายชม หรือยายเขียว” เปน บตุ รขี องนายศขุ และนางแถม
ดุริยประณีต เกิดวันศุกร ท่ี 2 มกราคม พ.ศ. 2463 เม่ือวัยเยาวไดเรียนหนังสือที่โรงเรียนแนบวิทยา
จนจบช้ันประถมศึกษาปที่ 4 บิดาจึงใหลาออกจากโรงเรียนเพ่ือมาชวยกิจการคาขายเครื่องดนตรีไทยอยูที่บาน และ
เปน นกั รอ งประจําวงดรุ ิยประณีต

เมื่อ พ.ศ. 2470 อายุได 7 ป นางชม ดุริยประณีต รุงเรือง ไดติดตามนายช้ัน ดุริยประณีต
ผูเปน พ่ีชาย ไปยงั เกาะเกรด็ จังหวัดนนทบุรี เพ่ือเรียนขับรองเพลงมอญกับ คุณปามณเฑียร ซ่ึงเปนพี่สะใภ และสามารถ
พูดภาษามอญได อีกท้ังยังจดจําทารํามอญของเกากลับมาอีกดวย ตอจากนั้นเม่ือโตข้ึนบิดาไดพาไปกราบ
พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) เพื่อฝากตัวเปนศิษยเรียนวิชาการขับรองจนสามารถขับรอง
เพลงตับลาวเจริญศรี 2ชัน้ ไดเ ปนทพ่ี อใจของ พระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) เมื่อรองเพลงไดมากระดับหน่ึง
พรอ มกับรับหนาที่เปนผูขับรองประจําวงดุริยประณีต จึงจําเปนตองแสวงหาวิชาความรูเพ่ิม จึงไดขอใหพี่สาว 2 คน คือ
นางสุดา เขียววิจิตร ,นางแชมชอย ดุริยพันธุ และนายเหนี่ยว ดุริยพันธุ (พ่ีเขย) สอนเพ่ิมเติมใหจนสามารถขับรอง
เพลงไทยทกุ ประเภท (เพลงเถา ,เพลงตบั ,เพลงประกอบละคร และเพลงเด่ียว) รวมถึงเพลงมอญอีกดว ย

38|ห น า

เมอ่ื พ.ศ. 2493 – พ.ศ. 2496 นางชม ดรุ ยิ ประณตี รุงเรือง ไดเขารับราชการเปนครูสอนขับรองเพลงไทย ณ
โรงเรียนวรวุฒิ และไดยายไปสอนที่โรงเรียนโฆษิตระยะหน่ึง จากน้ันอาจารยใหญโรงเรียนสตรัดระฆัง
(อาจารยบุญฉวี พรหมปกรณกิจ) ไดเชิญใหไปสอนขับรองเพลงไทยที่น่ัน จึงไดยายไปรับราชการตอท่ี
โรงเรยี นสตรีวัดระฆงั จนกระทัง่ เกษยี ณอายุราชการ

บ้ันปลายชีวิต นางชม ดุริยประณีต รุงเรือง ไดเขารับการรักษาตัว ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา
ดวยอาการน้ําทวมปอด จนถึงแกกรรม เม่ือวันอาทิตย ท่ี 31 มีนาคม พ.ศ. 2556 เวลาประมาณ
23 นาฬิกา สิริอายุได 93ป

ชอื่ ภาพ : กอ ยรักแมน ะ
ทีม่ า : อนุสรณง านพระราชทานเพลงิ ศพครชู ม ดรุ ิยประณีต รงุ เรือง ,2556

39|ห น า

นางสุดจติ ต ดรุ ิยประณีต

ชอื่ ภาพ : สุดจิตต ดุรยิ ประณตี , นาง (พ.ศ. 2471 - 2555)
ท่มี า : อนุสรณง านพระราชทานเพลงิ ศพ นางสดุ จิตต ดรุ ยิ ประณตี อนันตกุล ศิลปนแหง ชาติ

สาขาศลิ ปการแสดง (คีตศิลป) , 2556

น า ง สุ ด จิ ต ต ดุ ริ ย ป ร ะ ณี ต เ ป น บุ ต รี ค น สุ ด ท า ย ข อ ง น า ย ศุ ข แ ล ะ น า ง แ ถ ม ดุ ริ ย ป ร ะ ณี ต
เกดิ วนั จันทรท่ี 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 เปนครอบครัวนักดนตรีไทย เกิดมาก็อยูกับเสียงเพลงเสียงดนตรีเมื่อตอนอายุ
8 ป เริ่มหัดรองเพลงกับ มารดา และพี่ ๆ (นางแถม ดุริยประณีต ,นายโชติ ดุริยประณีต ,นางสุดา ดุริยประณีต
,นางแชมชอย ดรุ ิยประณีต ,นางชม ดุริยประณีต ,นางทัศนีย ดุริยประณีต และนายเหน่ียว ดุริยพันธุ) วางจากการเรียน
ขับรอง ก็ไดเรียนฆองวงใหญ ระนาดเอก จาก บิดา และพี่ ๆ (นายศุข ดุริยประณีต ,นายช้ืน ดุริยประณีต
และนายช้ัน ดุริยประณีต) ตอมาเมื่อมีพ้ืนฐานทางการขับรองท่ีมั่นคง นายศุข ดุริยประณีต ผูเปนบิดาไดพา
นางสุดจติ ต ดุรยิ ประณตี ไปกราบพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) เพ่ือฝากตัวเปนศิษย เรียนขับรองเพลงไทย
กับ พระยาภูมีเสวนิ (จิตร จิตตเสว)ี หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ครูมนตรี ตราโมท และเมื่อมารับราชการ
ท่ีกรมประชาสัมพันธจึงไดมีโอกาสเรียนกับครูพุม บาปุยะวาทย และครูคงศักด์ิ คําสิริ เรียนเพลงละครรอง
จากครูเยื้อน สีไกวิน ,แมชมอย (ไมทราบนามสกุล) และแมบุนนาก (ไมทราบนามสกุล) เรียนเพลงหุนกระบอกกับ
แมละมอ ม อสิ รางกรู ณ อยธุ ยา เรยี นนาฏศลิ ปกับ ครเู ฉลย ศุขะวนชิ และครูละมุล ยมะคุปต

40|ห น า

เมื่ออายุครบ 19 ป กรมโฆษณาการไดจัดการประกวดขับรองเพลงไทยขึ้นเปนครั้งแรก และ
ถือเปน การประกวดครั้งแรกของ นางสุดจิตต ดุริยประณีต ผลประกาศออกมาไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 นับเปน
การเริ่มตนท่ีดียิ่งของการประกวดครั้งแรก ตอมาเมื่ออายุ 22 ป เขารับราชการที่โรงเรียนทวีธาภิเษก ตําแหนง
ครูสอนขับรองเพลงไทย เปนเวลา 7 ป จึงโอนยายจากขาราชการครู มารับราชการอยูที่สถานีวิทยุกระจายเสียง
แหงประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ ฝายกระจายเสียงในประเทศ หนวยงานบันเทิง จนกระท่ังดํารงตําแหนงหัวหนา
งานดนตรีไทย ฝา ยกระจายเสยี งในประเทศ และไดเ กษยี ณอายรุ าชการ

นางสุดจิตต ดุริยประณีต เปนผูที่มีคุณูปการอยูมากในวงการดนตรีไทย และการขับรองเพลงไทย เนื่องจาก
เปนผูที่มีจติ ใจเมตตา และสอนลกู ศษิ ยหมดทกุ อยางไมม ีการปกปด แตอยางใดท้งั ยังเปนผูรเิ ริ่มกอ ต้ัง “มลู นธิ ิดรุ ิยประณีต”
ขนึ้ และคงอยูมาจนปจ จบุ นั (พ.ศ. 2562) ดวยความเพียรของ นางสุดจิตต ดุริยประณีต พยายามฝกฝนพากเพียรเรียน
ขบั รอง และหาประสบการณตา ง ๆ อยเู สมอ ทาํ ให นางสุดจิตต ดุริยประณีต มีผลงานทางดานดนตรีไทยเปนจํานวนมาก
จนไดรบั การยกยองเชดิ ชูเกียรตเิ ปนศิลปนแหงชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (คตี ศลิ ป) ในปพ ทุ ธศักราช 2536

วาระสุดทายของ นางสดุ จิตต ดุริยประณตี ศิลปนแหง ชาติ ลมปว ยดว ยโรคเลอื ดออกในสมอง เม่ือ พ.ศ. 2553
โดยไดรับการผาตัดจากแพทยผูเชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศิริราช จากนั้นเมื่อป พ.ศ. 2555 ไดเขารับการรักษาอีกคร้ังท่ี
โรงพยาบาลศิริราช จากโรคปอดอักเสบ สุดทายแลวนางสุดจิตต ดุริยประณีต ศิลปนแหงชาติ ไดถึงแกกรรม
ในวันเสาร ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 สริ ิอายุ 84 ป

41|ห น า

ชอื่ ภาพ : นางสุดจติ ต ดุรยิ ประณตี ศิลปนแหง ชาติ ตีระนาดเอก
ท่มี า : อนสุ รณง านพระราชทานเพลิงศพ นางสดุ จิตต ดุริยประณตี อนันตกลุ ศลิ ปน แหงชาติ

สาขาศิลปการแสดง (คตี ศิลป) , 2556

ชอื่ ภาพ : สญั ลกั ษณม ลู นิธดิ ุริยประณีต
ที่มา : ประธานมลู นิธดิ รุ ยิ ประณีต นางชยันตี อนันตกลุ , 2562

42|ห น า

นางสุรางค ดรุ ิยพนั ธุ

ชอื่ ภาพ : สุรางค ดุริยพันธุ ,นาง ( พ.ศ. 2480 – ปจ จบุ นั )
ทมี่ า : นายศุภณัฐ นตุ มากุล, 2557

นางสรุ างค ดรุ ิยพนั ธุ เกิดเม่ือวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2480 ที่บานดุริยประณีต กรุงเทพมหานคร เปนบุตรีของ
นายเหน่ียว ดุริยพันธุ และนางแชมชอย ดุริยพันธุ สําเร็จการการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ท่ีโรงเรียนเขมะสิริอนุสรณ
กรุงเทพฯ เริ่มตนทํางานเปนครูสอนขับรองเพลงไทยท่ีโรงเรียนราชินี ตั้งแต พ.ศ. 2502 ตอมา พ.ศ. 2505 ไดบรรจุ
เขาทํางาน ในฝายจัดรายการโทรทัศนท่ีสถานีโทรทัศนไทยทีวีชอง 4 บางขุนพรหม จนกระทั่งเกษียณอายุในฝายผลิต
รายการโทรทัศน ไทยทีวีสชี อ ง 9 องคก ารสือ่ สารมวลชนแหงประเทศไทย และเปน อาจารยสอนพเิ ศษวิชาขับรองเพลงไทย
ในสถาบันการศึกษาหลายแหง จนถงึ ปจจุบนั

เริ่มเรียนขับรองเพลงไทยตั้งแตอายุ 8 ขวบ จนมีความสามารถในการขับรองออกงานกับ วงดุริยประณีตได
อยางดี เม่ือเขาศึกษาที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย ไดเขาประกวดขับรองเพลงไทยในงานกาชาดและงานศิลปหัตถกรรม
ไดรับรางวัลชนะเลิศทั้งเพลงเดี่ยว และเพลงหมูตอเนื่องกันหลายป ไดรับพระราชทานรางวัลจากพระหัตถสมเด็จ
พระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จนบิดา และมารดาเห็นถึงความพรอมที่จะถายทอดกลวิธีการขับรองเพลงไทย

43|ห น า

อยางจริงจัง รวมทั้งไดศึกษาเพิ่มเติมจากครูดนตรีหลายทาน นางสุรางค ดุริยพันธุ ไดรับการสนับสนุนจาก
นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ผูเปนนา ใหเปนนักรองประจําวงประชันปพาทยดุริยประณีต มีความเชี่ยวชาญ
การขับรองเพลงไทยหลายประเภท ไมวาจะเปนเพลงเกร็ด เพลงเถา เพลงละคร ขับเสภา หรือเพลงหุนกระบอก
มีผลงานในการบันทึกเสียง เร่ิมตนตั้งแตครั้งท่ีเรียนอยู ณ โรงเรียนเขมะสิริอนุสรณ ไดรับความกรุณาจาก
หมอ มเจา พูนศรเี กษม เกษมศรี ซ่งึ โปรดนํา้ เสียง และการขับรองของนางสรุ างค ดุริยพนั ธุ เปนอยางมาก

ความภาคภูมิใจในเกียรติประวัติของนางสุรางค ดุริยพันธุ คือการไดรับรางวัลอันทรงเกียรตินั้นคือ
“ศลิ ปนแหง ชาต”ิ เมอ่ื พ.ศ. 2560 สาขาศิลปะการแสดง (คีตศลิ ป)

ชอ่ื ภาพ : ครสู ุรางค ดุริยพนั ธุ ศิลปนแหง ชาติ ใหเ กียรตถิ ายภาพรวมกบั ผูวจิ ยั
เมอื่ ครั้งสําเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรี ณ จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั
ทม่ี า : นางธิราดา นตุ มากลุ , 2557

44|ห น า

นายศิริ วชิ เวช

ชอื่ ภาพ : ศิริ วิชเวช ,นาย ( พ.ศ. 2475 – ปจ จุบนั )
ทีม่ า : นายศุภณฐั นตุ มากลุ , 2562

นายศิริ วิชเวช เกิดวันอังคาร ท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2475 เปนบุตรของนายฟุง และนางโป วิชเวช
เกิดที่ตาํ บลบางโคล อาํ เภอยานนาวา กรุงเทพมหานคร ซึ่งนามสกุลเดิมของนายศิริ วิชเวช คอื พรหมบุปผา แตเน่ืองจากปู
ของนายศิริ วชิ เวช คอื แพทยแผนไทย ชือ่ วา “ชุม” เปนแพทยแผนไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลท่ี 6 พระองคทานพระราชทานนามสกุล วิชเวช ซ่ึงหมายถึงวิชาแหงการแพทย ใหแทนนามสกุลเดิม
(พรหมบุปผา) จากเหตุการณที่ คร้ังหนึ่งในเวลา 13 นาฬิกา บุตรชายของนายชุม วิ่งตัดหนารถยนตพระท่ีนั่งของ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 จนเกิดอุบัติเหตุรถยนตทับหนาอกจนยุบลงไป
เจา พระยารามราฆพรบี นาํ เด็กคนนนี้ าํ สง แพทยห ลวง (แพทยฝ รัง่ ) แตทางคณะแพทยห ลวงลงความเห็นกันวารักษาไมได
เนือ่ งจากอวยั วะภายในไดรับบาดเจ็บสาหสั ไมเ กิน 18 นาฬิกา ก็คงเสยี ชวี ิต นายชุม จงึ ขอตัวบุตรกลับมารักษาเองท่ีบาน
และทําการรักษามาตลอด 3 เดือน จนหายดีเปนปกติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6
รับสั่งใหเจาพระยารามราฆพนําเงินไปมอบใหกับ นายชุม เพราะคิดวาเด็กที่โดนรถทับนั้นเสียชีวิตแลว แตนายชุม
มิไดรบั เงนิ นนั้ และกราบบังคมทลู ให พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6 ทราบวา บุตรชายยังมีชีวิตอยู
จากน้ันเมื่อ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ทราบวาเด็กชายคนนั้นยังมีชีวิตอยูจึงรับส่ังให
นายชุมเขา เผาฯ และจะให นายชมุ เปนแพทยหลวง แตนายชมุ กลวั หวาย จงึ ปฏเิ สธการเปน แพทยห ลวงไปในครั้งนั้น และ

45|ห น า

ในท่ีสุดพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 พระราชทานนามสกุลใหกับ นายชุม พรหมบุปผา วา
“วิชเวช” แปลวา วิชาแหงการแพทย จากนั้นนายชุม พรหมบุปผา จึงเปล่ียนมาใชเปน นายชุม วิชเวช
นบั เปนประวัตคิ วามเปน มาของนามสกลพุ ระราชทานท่ีวา “วิชเวช”

นายศิริ วิชเวช เรียนดนตรีในชวงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เม่ือปพ.ศ. 2486 ซ่ึงเปนชวงสงครามโลกครั้งท่ี 2
ซึ่งไดเรียนท้ังขับรอง และปพาทย เพลงแรกที่นายศิริ วิชเวช หัดขับรอง กับนายฟุง วิชเวช ผูเปนบิดา คือ ตับนางลอย
หัดปพาทยทางฆองวงใหญ เพลงโหมโรงเชากับบิดาเปนเพลงแรกเชนกัน และไดมีโอกาสออกงานกับวงของครูกลํ้า
ท่บี างโคล โดยทาํ หนา ท่เี ปน นกั รอ ง และตีระนาดทมุ เม่อื นายศิริ วิชเวช มคี วามสามารถในการขับรอง และบรรเลงปพาทย
ระดบั หนง่ึ แลว จงึ ไดเ ขา ไปกราบ นายเหน่ียว ดุริยพนั ธุ ในป พ.ศ. 2498 ในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2498 เพื่อขอเปนศิษย
ในการเรียนขับรองเพลงไทย นายเหนี่ยว ดุริยพันธุ รับนายศิริ วิชเวช เปนศิษย และถายทอดเพลงครอบจักรวาล 2 ชั้น
ในละครเรื่องพระไวยแตกทัพ ใหเปนเพลงแรก และเปนเพลงสุดทาย เนื่องจากนายเหนี่ยว ดุริยพันธุ เสียชีวิตลง
ในวันองั คาร ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498

หลังจากนายเหน่ียว ดุริยพันธุ เสียชีวิตลง หมอสวรรค วรรณบูรณ ไดนิมิต ถึง นายเหนี่ยว ดุริยพันธุ วา
“คณุ หมอ ซอ มแผงเพชรใหห นอย (เพชรนัน้ มีลักษณะหมองขนุ )” ในนมิ ติ น้ัน หมอสวรรค วรรณบูรณ ไดทําการขัดเพชร
ที่หมองขุนใหกลับมาเงางามอีกคร้ัง เมื่อขัดเสร็จก็น่ังรอ นายเหนี่ยว ดุริยพันธุ ใหมารับจนกระท่ังตอนเชา 7 นาฬิกา
ไดตื่นข้ึนจากนิมิต ก็รีบตาม นายศิริ วิชเวช มาหาที่บาน และเลานิมิตนั้นใหฟง หลังจากท่ีเลานิมิตจบ
หมอสวรรค วรรณบูรณ หยิบหีบที่เก็บเพลงท้ังหมดของนายเหนี่ยว ดุริยพันธุ มาเปด และพานายศิริ วิชเวช จุดธูป
บอกกลาวกับรูปของ นายเหนี่ยว ดุริยพันธุ วาจะสอน และมอบสมบัติอันล้ําคา (เพลงท้ังหมด) น้ีไวกับนายศิริ วิชเวช
โดยทาํ การตอเพลงทั้งหมด 7 วนั 7 คืน ไมหยุดพักแตอ ยา งใด หลงั จากสาํ เร็จการเรยี นในครั้งนี้กับหมอสวรรค วรรณบูรณ
นายศิริ วิชเวช จึงสามารถรับงานตาง ๆ ได และนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ก็เร่ิมรับการประชันมากข้ึน
จึงไดชักชวนให นายศิริ วิชเวช มาเปนผูขับรองใหกับวงปพาทยประชันบานดุริยประณีต เพราะเห็นวาเปนลูกศิษย
นายเหน่ียว ดรุ ิยพนั ธุ

หลังจากที่บิดายอมรับการเรียนขับรองเพลงของนายศิริ วิชเวช แลวจึงเห็นวา นายศิริ วิชเวช นาจะไดเรียน
วิชาการขับเสภา ซึ่งเปนวิชาที่นักรอง และนายเหนี่ยว ดุริยพันธุ ก็เคยขับเสภาไวเปนที่เลื่องลือ จึงพานายศิริ วิชเวช
ไปฝากตวั เรียนขยับกรับกับ นายเจอื นาคมาลยั หลานของหม่นื ขับคําหวาน (เจมิ นาคมาลยั ) ซง่ึ นายศริ ิ วิชเวช ก็สามารถ
เรียนไดอยางแตกฉาน เรียกไดว าเปนศิษยคนเดียวที่สามารถเรียนรูกระบวนกรับของ หม่ืนขับคําหวาน (เจิม นาคมาลัย)

46|ห น า

ไดอยางครบถวน ภายหลังนายเจือ นาคมาลัย ไดทําพินัยกรรมยกกรับเสภาของ หมื่นขับคําหวาน (เจิม นาคมาลัย)
ใหนายศรฺ ิ วิชเวช รักษาไว

นอกจากการเรียนขับรอง ปพาทย และกรับเสภาแลว อาจารยศิริ วิชเวช ยังไดฝกหัดทางเคร่ืองสาย
โดยหดั การบรรเลงซออู และซอดว งจากบดิ า ซง่ึ บิดาอออกปากชมกบั มารดาวา “นายศริ ิ วิชเวช นั้นนิ้วมพี ษิ ไมว าจะเรยี น
จับเสน หรือเรียนวิชาที่ตองใชน้ิวจะดีนัก” หลังจากน้ันนายศิริ วิชเวช จึงมาเรียนกับ นายลาภ มณีลดา ท่ีคุรุสภา
โดยเรียนซอดวง และกอ ตง้ั วงดนตรไี ทยบรรเลงออกวทิ ยุในสมัยน้ัน นายศริ ิ วชิ เวช ไดคิดคนนวัตกรรมดานการสอนดนตรี
ใหมีงายตอการเรียนการสอน เปนผูท่ีอุทิศแรงกายแรงใจในการสอน และมีความสามารถในการแยกแยะทางเพลง
ของครูทานตาง ๆ อยางชัดเจน นอกจากนั้น นายศิริ วิชเวช ยังเปนผูรักษาทางเพลงของครูทานตาง ๆ ไวเปนอยางดี
ดวยเหตุน้ี นายศิริ วิชเวช จึงไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติเปนศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป)
พ.ศ. 2551 ดวยผลงาน และคณุ งามความดที กุ ประการท้ังปวง

ชอื่ ภาพ : นายศิริ วชิ เวช พบศษิ ย ในงาน “ศษิ ยพบครู เชิดชศู ิริ วชิ เวช”
ทีม่ า : หนังสือที่ระลกึ ในงาน “ศิษยพบครู เชดิ ชูศริ ิ วิชเวช”, 2551

47|ห น า


Click to View FlipBook Version