The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มนี้เป็นการเขียนในช่วง พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2506 เท่านั้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supanut Nutmakul, 2020-01-17 02:16:55

การประชันวงปี่พาทย์บ้านดุริยประณีต

หนังสือเล่มนี้เป็นการเขียนในช่วง พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2506 เท่านั้น

Keywords: การประชัน , วงปี่พาทย์ , บ้านดุริยประณีต

เครือ่ งเปาไทย (ปใ น และปมอญ)

นายสมนกึ บญุ จาํ เริญ

ชอื่ ภาพ : สมนึก บุญจาํ เรญิ , นาย (พ.ศ. 2478 - 2515)
ที่มา : จา อากาศเอกกฤษดา จวนเจริญ, 2562

นายสมนึก บุญจําเริญ เปนบุตรของนายผวน และนางศิริ บุญจําเริญ เกิดท่ี ตําบลบานใหม
จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา เริ่มเรียนดนตรีปพาทย (ฆองวงใหญ) จากนายสังเวียน เกิดผล เรียนเครื่องเปา (ป) กับบิดา
และเรยี นเพลงเดย่ี วปในตาง ๆ จาก นายเทียบ คงลายทอง

รับราชการท่ีแรก คือ กองดรุ ิยางคท หารบก ติดยศสบิ โท ระหวางเขาทํางานไดพบเจอกับเพื่อนรวมงานมากหนา
หลายตา หนึ่งในน้ันมี นายสมชาย ดุริยประณีต และนายสุชาติ คลายจินดา ทั้ง 2 คนจึงชักชวนนายสมนึก บุญจําเริญ
มาเปาปใหท่ีบานดุริยประณีตระหวางท่ีมีงานบรรเลง หรืองานแสดงตามสถานท่ีตาง ๆ จากนั้นเม่ือมีการประชัน
นายสมชาย ดุรยิ ประณตี ผเู ปน สายตระกลู ไดวางผบู รรเลงปใ น คอื นายสมนึก บุญจําเริญ ดวยเหตุผลที่เปนคนเปาปลมนิ่ง
ชัดเจน และเขาใจความเปนดุริยประณีต เนื่องจากไดคลุกคลี สัมผัส และสนิทกับทุกคนในบานดุริยประณีต
เพราะไปงานกนั มาคอ นขางบอยคร้ัง เม่ือไมน านนายสมนึก บุญจําเริญ ไดโอนยายสังกัดจากกองดุริยางคทหารบกมาเปน
แผนกดุรยิ างคไ ทย เทศบาลกรุงเทพ สมยั ท่นี ายบญุ ยงค เกตุคง ดํารงตําแหนงหวั หนา แผนกดุรยิ างคไ ทย

นายสมนึก บญุ จาํ เรญิ ถึงแกก รรมเม่อื วันจนั ทร ท่ี 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 สริ ิอายุ 37 ป
48|ห น า

ชอื่ ภาพ : นายสมนกึ บญุ จาํ เริญ กําลงั บรรเลงปใ น
ทม่ี า : จาอากาศเอกกฤษดา จวนเจรญิ , 2562

ชอ่ื ภาพ : นายสมนกึ บญุ จําเรญิ รว มในวงดุริยประณตี (เสอื้ ขาวขา งฆอ งวงใหญหลงั ระนาดเอก)
ทีม่ า : นายพจนา ดรุ ิยพันธุ, 2562
49|ห น า

นายจาํ เนียร ศรไี ทยพันธุ

ชอ่ื ภาพ : จําเนยี ร ศรไี ทยพนั ธุ, นาย (พ.ศ. 2463 - 2540)
ทม่ี า : อนุสรณง านพระราชทานเพลิงศพ นายจําเนยี ร ศรีไทยพันธุ ศิลปน แหง ชาต,ิ 2540
นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ นามเดิมวา ผลัด เกิดวันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2463 อําเภอสามพราน
จังหวัดนครปฐม เปนบุตรของนายนาค และนางเปลี่ยน (สมัยนั้นยังไมมีนามสกุล) จบการศึกษาช้ันประถมปท่ี 4
จากโรงเรียนวัดดอนหวาย จังหวัดนครปฐม
ชีวิตการเรียนดนตรีไทยของ นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ เร่ิมจากการเรียนกับครูทองถิ่นในอําเภอสามพราน
ชื่อ นายทองดี เดชชาวนา โดยเร่ิมหัดจากฆองวงใหญตามธรรมเนียมดนตรีไทย จากนั้นจึงมาเรียนเพิ่มเติมจาก
นายสุม พูนโคกหวาย และนายทอง บางระจันทร เมื่อประสบการณของ นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ มีมากข้ึน จึงขอตัว
ไปอยูกับ นายผาด บางแกว หัวหนาวงดนตรีไทยช่ือดัง ในเมืองนครชัยศรี เมื่อคร้ังที่อยูวงของนายผาด บางแกว
ทําให นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ มีโอกาสไดพบกับ ขุนสําเนียงช้ันเชิง (มล โกมลรัตน) อดีตนักดนตรีไทยราชสํานัก
คนสาํ คัญของกรมมหรสพหลวง นายจําเนยี ร ศรีไทยพันธุ จึงไดรับการถา ยทอดวชิ าขั้นสงู จากทานมามาก ในขณะเดียวกัน
นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ ยังเปนลูกศิษยของ หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย) ท่ีขับรองออกอากาศ
ทางคลืน่ วิทยกุ ระจายเสยี งศาลาแดง โดยเรียนทางคลน่ื วทิ ยุ และจดบนั ทึกไว

50|ห น า

ในชวี ติ วัยรนุ ของ นายจําเนยี ร ศรไี ทยพันธุ ไดเขามาในกรุงเทพมหานคร มาขอศึกษาเพิ่มเติมกับสํานักปพาทย
นายหรั่ง พุมทองสุข ประตนู ํ้า ริมคลองภาษีเจริญ ในครั้งน้ีทําให นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ ไดพบเจอเพ่ือนรวมสํานัก คือ
นายบุญยงค –บุญยัง เกตุคง .นายสมาน ทองสุโชติ และนายราศี พุมทองสุข จนกระทั่งท้ังหมดมีความสนิทกันมาก
เมื่ออายุ 33 ป ในพ.ศ. 2496 นายจําเนยี ร ศรีไทยพนั ธุ ไดรับขาวเปดรับสมัครนักดนตรีไทยเขาทํางานท่ีแผนกดนตรีไทย
กรมประชาสัมพันธ นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ จึงตัดสินใจไปสมัคร ในการสมัครน้ันจําเปนตองสอบปฏิบัติ
นายจาํ เนียร ศรีไทยพันธุ จึงเลอื กสอบปใน ดวยความถนัดในเครื่องดนตรีชิ้นน้ีเปนท่ีสอบ โดยมีคณะกรรมการหลายทาน
หนึ่งในนั้นมี พลโทหมอมหลวงขาบ กุญชร อธิบดีกรมประชาสัมพันธ เปนประธานกรรมการในการสอบคร้ังน้ี
ผลเปนที่นาประทับใจ เพราะ นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ ไดรับการคัดเลือกจากพลโทหมอมหลวงขาบ กุญชร
อธิบดกี รมประชาสมั พันธ ใหเ ขาทํางาน ผลทไี่ ดน ัน้ ดวยความไพเราะ และทักษะท่ีดีเยี่ยมในการเปาปในเหมือนโดนมนตรา
สะกดไว ขณะที่ทํางานอยูที่กรมประชาสัมพันธ นายจําเนียร ศรีไทยพันธุ ไดพบเจอกับเพ่ือนรวมงานสรางสรรคผลงาน
เพลงตาง ๆ ฝากไวบ นแผนดนิ สยาม คือ นายสืบสดุ ดุรยิ ประณีต (นายไก) ,นายประสงค พิณพาทย ,นายบุญยงค เกตุคง
และนายสมาน ทองสุโชติ จากนั้นบุญวาสนาของนายจําเนียร ศรีไทยพันธุ ในขณะที่ทํางานอยูท่ีกรมประชาสัมพันธได
พบเจอเรียนรูรับการถายทอดกับครูผูเชี่ยวชาญทางดนตรีไทยท้ังภายใน ท่ีทํางาน และนอกสถานท่ีทํางาน คือ
นายพุม บาปุยะวาทย (เพลงตาง ๆ และเทคนิคการบรรเลงระนาดทุม) ,นายคงศักด์ิ คําศิริ (เพลงซอ)
,นายโชติ ดุริยประณตี (เพลงปฉุยฉาย และบัวลอย) ,นายเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล (สะระหมา) ,นายเทียบ คงลายทอง
(เทคนคิ การเปาป) ,หลวงบาํ รงุ จิตรเจรญิ (ธูป ศาสตรวไิ ล) ,นางแชมชอย ดุริยพันธุ (เพลงขับรอง) ,นางสุดา เขียววิจิตร
(เพ ลงละคร) , นางล ะม อม อิศ รางกูร ณ อ ยุธ ยา (เพล งร องหุนกระบอ ก) แ ละนายสอ น วงฆอ ง
(หนาพาทยพระพิราพเต็มองค) การทํางานของนายจําเนียร ศรีไทยพันธุ มิใชอยูแตเพียงในกรมประชาสัมพันธ
แตทานยังเผยแพรองคความรูท่ีไดรับจากครูดนตรีไทยที่ทานเรียนมาน้ัน สูรุนลูกศิษยอีกเปนจํานวนมาก
ทั้งในสถาบันการศึกษา เชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร เปนตน และ ยังสรางสรรคผลงานเพลงรวมกับ
วงดนตรีไทยท่ีชื่อวา “ฟองนํ้า” และ “กังสดาล” ในผลงานดนตรีไทย และดนตรีไทยรวมสมัย เพื่อนําผลงาน
ออกสูท้ังใน และนอกประเทศ เพ่ือใหความบันเทิงแกผูเสพงานศิลปอยางวิจิตรงดงามมาตลอดชีวิตการทํางานของ
นายจาํ เนียร ศรไี ทยพันธุ

นอกจากน้ัน นายจําเ นียร ศรีไ ทยพันธุ ไ ดรั บการยกย องเชิด ชูเ กียรติเ ปนศิล ปนแ หงชาติ
สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) พ.ศ. 2536 ดว ยผลงาน และคุณงามความดีทกุ ประการท้งั ปวง

51|ห น า

วาระสุดทายของ นายจําเ นี ยร ศ รี ไทยพั นธุ ศิ ลป นแ ห งชาติ ลมปวยดวยโรคมะเ ร็งป อ ด
เม่ือวันจันทรที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ทานไดนอนพักรักษาตัวอยูท่ีบานพักดอนหวาย จากนั้นอาการ ไดกําเริบข้ึน
จึงตองยายไปรักษาตัวท่ีโรงพยาบาลพญาไท 2 ในเวลากลางคืนวันอาทิตยที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2540
และในเวลาตอมาจึงยายมารักษาตัวที่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ ระยะหน่ึง และจึงยายตอมาอีกโรงพยาบาลหน่ึง
คือ โรงพยาบาลกรงุ เทพ ตัง้ แตว ันศกุ รท่ี 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 จนกระทง่ั นายจาํ เนียร ศรีไทยพันธุ ศิลปนแหงชาติ
ตอสูก ับโรครายนี้ไมไหว และถึงแกกรรมในทีส่ ดุ เมอ่ื วนั ศกุ ร ท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ. 2540 สริ ิอายไุ ด 77 ป

ชอ่ื ภาพ : เม่ือลมรูโรย ,นายจาํ เนียร ศรไี ทยพนั ธุ ศิลปน แหงชาติ
ทีม่ า : อนุสรณงานพระราชทานเพลงิ ศพ นายจาํ เนียร ศรีไทยพนั ธุ ศิลปนแหง ชาต,ิ 2540

52|ห น า

ระนาดเอก

นายสบื สุด ดรุ ยิ ประณตี

ชอ่ื ภาพ : สืบสดุ ดุรยิ ประณตี , นาย (พ.ศ. 2478 - 2506)
ท่ีมา : อนุสรณง านฌาปนกิจศพนายศขุ ดรุ ิยประณีต และนายสืบสดุ (ไก) ดุริยประณีต, 2507

นายสืบสุด ดุริยประณีต มีชื่อเรียกเลน ๆ วา “ไก” นายสืบสุด ดุริยประณีต เปนบุตรชายคนสุดทายของ
นายศขุ ดุริยประณีต และนางแถม ดุริยประณีต เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2478 ณ ตําบลสามพระยา อําเภอพระนคร
จังหวัดพระนคร เคยเขาศึกษาอยูในโรงเรียนนาฏศิลปของกรมศิลปากร เพ่ือนที่เรียนดวยกันในช้ันเรียนตอนนั้น คือ
ผศ.สงบศกึ ธรรมวิหาร ,นายสมชาย ดุริยประณตี เปนตน ตอมาไดล าออกจากโรงเรยี นเพอ่ื ไปประกอบอาชีพนกั ดนตรีไทย

นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) มีเลือดศิลปนมาตั้งแตเกิด เม่ืออายุได 8 ขวบชอบตีระนาดเอกเลนเสมอ
รูปรางเล็ก ตองใชไมตอเปนเกาอ้ีรองนั่ง โดยมากใชหีบใสลูกเหล็กรองนั่ง แลวก็ตีสับซอยไปตามเร่ืองยังไมเปนเพลง
แตทไ่ี ป เพราะนสิ ัยรัก และเพราะคนุ หูอยูทกุ วนั

เมื่ออายุได 11 ขวบ นายศุข ดุริยประณีต ผูเปนบิดา และเปนนักดนตรีช้ันครูผูใหญไดจับมือใหกับ
นายสืบสุด ดุรยิ ประณตี (นายไก) เพื่อจะไดเร่ิมเรียนเพลงสาธุการเปนปฐม และตอมาพวกพี่ ๆ ก็รักใคร เอ็นดู ไมมีใคร
หวงวิชา ยินดีถายทอดวิชาใหอยางไมอ้ัน ตอมาก็ไดไปรวมวงปพาทยจนมี ช่ือเสียงมาก ชื่อเสียงของไกกระจายไปไกล
มากทีเดียว พวกพ่ี ๆ ก็ย่ิงขวนขวายสอนนองชายคนเล็กใหมีวิชาสูงย่ิงข้ึน และถาหากเพลงใดเปนที่ขัดของ

53|ห น า

ก็ตองไปถามครูสอน วงฆอง และครพู ุม ปาปยุ วาทย ซงึ่ ครทู ง้ั สองไมรังเกียจ เพราะมีความเอ็นดู นายสืบสุด ดุริยประณีต
(นายไก) ทานก็กรุณาบอกให ทุกครั้ง ทําใหนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) มีชื่อเสียงอยูในวงการดนตรีไทย
ดูเหมอื นรุนเดียวกันก็จะหาท่ีมีฝมือในการตีระนาดเอก ระนาดทุม และฆองวงใหญ เหมือนอยางนายสืบสุด ดุริยประณีต
(นายไก) มไิ ด

นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) เขารับราชการในกรมประชาสัมพันธ เม่ือวันที่ 1 มกราคม 2496
แผนกดนตรไี ทย มีหนาท่ีเปนคนระนาดเอกประจําวง

ชีวิตครอบครัว ไดส มรสกบั นางเรณู มบี ุตร และบตุ รี รวมกันได 3 คน คือ ลูกชาย 2 คน และลูกหญิง 1 คน คอื
1. ด.ช. สบื ศักด์ิ ดุรยิ ประณตี
2. ด ญ. ศิริณา ดรุ ิยประณีต
3. ด.ช. พพิ ฒั น ดรุ ิยประณีต

นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) เปนคนท่ีมีอุปนิสัยรักความสนุก ความทาทาย และขยันหม่ันเพียร
เปนอยางมาก จากคําสัมภาษณของบุคลานุกรมทุกทานที่ทันเห็น และฟงเร่ืองเลามาจากบุคคลในเหตุการณแตละครั้ง
บอกตรงกนั วา นายสืบสดุ ดุริยประณีต (นายไก) เปนคนชอบตปี งปองมาก ชอบดูมวย ไมวา จะอยา งไรหากไปประชัน หรือ
บรรเลงที่ไหน เห็นคนเปรียบมวยกันไมได นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ตองลงไปเปรียบมวยกับเขาทุกครั้งไป
ชอบไลระนาดเอก วางไมไดวางคือตีระนาดเอก เวลาไลระนาดเอก ก็จะมีบุหร่ีคาบอยูเสมอ แตขี้เถาบุหรี่นั้นไมเคยหลน
หรือลว งลงจากพ้ืนแมแตคร้งั เดียว อีกเรื่องหนึ่งคือ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ไมยอมใหบุตรท้ัง 3 คนเรียนดนตรี
คอยสงเสรมิ ใหเรียนทางวชิ าการ เพราะมองวา อนาคตนั้นการเปน นักดนตรไี ทยไมสามารถประกอบอาชีพใหร ่ํารวยได

บั้นปลายชีวิตของนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) เปนเหตุการณเดียวกับ นายศุข ดุริยประณีต
ท่ีไดกลาวไปขางตน แตยังเหลืออีกสวนหน่ึงที่ผูวิจัยยังไมไดเขียน คือ จากท่ีเห็นนายศุข ดุริยประณีตเสียชีวิตแลวนั้น
นายสมชาย ดุริยประณีต และนายวิเชียร พรหมจรรย ไปทางดานหนาของรถ ทุกคนไดสติแลว เหลือแตเพียง
นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ท่ียังหมดสติอยู จึงอุมรางของ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ออกมาขางทาง
โบกรถขอความชวยเหลือแตก็ใชเวลานานกวาจะมีรถผานมา และจอดรับเพ่ือไปโรงพยาบาล เม่ือไดขึ้นรถ
ระหวางที่เดินทางไปโรงพยาบาลน้ัน นายวิเชียร พรหมจรรย ไดคอยนวด คอยเรียกนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
อยูตลอด สดุ ทา ยก็ไมทัน เพราะนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ไดจากไปแลว และขณะที่ส้ินชีวิต ก็ยังรับราชการอยู
สริ อิ ายไุ ด 28 ป

54|ห น า

ระนาดทมุ

นายสชุ าติ คลายจินดา

ชอื่ ภาพ : สุชาติ คลายจนิ ดา, นาย (พ.ศ. 2479 - 2555)
ทมี่ า : นายชัชวสั ส วกสดุ จิต, 2562

นายสชุ าติ คลายจินดา เกิดวันพุธ ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2479 พ้ืนเพเปนคนอําเภอสองพ่ีนอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ตระกูลนายสุชาติ คลายจินดา เปนนักดนตรีไทยปพาทย ซ่ึงปจจุบันยังมีวงปพาทยอยูที่สุพรรณบุรี บิดาช่ือ
นายแคลว คลา ยจินดา ซ่งึ เปน ลูกศิษยของนายปน บัวท่ัง ผูเปนบิดา ของนายเฉลิม บัวท่ัง มารดาชื่อเจียน นามสกุลเดิม
ปนแกว เน่ืองจากตระกูลของนายสุชาติ คลายจินดา เปนตระกูลดนตรี ทําใหนายสุชาติ คลายจินดา ไดยิน
และคนุ เคยกับดนตรี มาต้ังแตเ กิด

เรม่ิ เรียนดนตรีเม่ืออายุประมาณ 8 ขวบโดยเริ่มเรียนกับบิดา โดยตอเพลงโหมโรงเชา โหมโรงเย็น เพลงเรื่อง
จนสามารถบรรเลงออกงานได สว นมากบรรเลงฆอ งวงใหญ ฆองวงเลก็ ระนาดทุม และเคร่อื งหนงั เมือ่ อายุประมาณ 14 ป
นายสชุ าติ คลายจนิ ดาเคยไปอยทู ี่บาน นายเฉลมิ บวั ทั่ง ท่ีอาํ เภอบางใหญ จังหวดั นนทบุรี ประมาณ 8 เดอื น

คร้ังหน่ึงนายสุชาติ คลายจินดา เคยไปบรรเลงปพาทยท่ีวัดปาไผ (วัดเวฬุวรรณาราม) ท่ีอําเภอบางเลน
จังหวัดนครปฐม จึงไดพบกับนายช้ัน ดุริยประณีต และลุงเขยซึ่งเปนผูใหญบานไดฝากใหเปนศิษยบานดุริยประณีต
จากนัน้ จงึ ไดไปอยบู า นดรุ ยิ ประณตี

55|ห น า

ที่บานดุริยประณีต นายสุชาติ คลายจินดา ไดตอเพลงกับนายโชติ ดุริยประณีต นายขื้น ดุริยประณีต
ตอเพลงมอญกับนายชั้น ดุริยประณีต และตอเพลงเด่ียวระนาดทุมกับ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
ซึ่งนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ไดตอมาจากนายพุม บาปุยะวาทย และบางโอกาสไดตอเพลง ซอมเพลงในงาน
เม่ือมีเวลาวางจากการบรรเลง การซอมเพลงท่ีบานดุริยประณีตมิไดกําหนดเวลาซอมแนนอน ขึ้นอยูกับความสะดวก
การบรรเลงในงานสําคัญ ๆ เชน ออกรายการโทรทัศน หรือแสดงที่สังคีตศาลา สวนมากนายบุญยงค เกตุคง เปนผูดูแล
ปรบั วง โดยที่ นายสุชาติ คลายจนิ ดา ทาํ หนาท่ีบรรเลงระนาดทุม สวนการตอเพลงที่บานดุริยประณีตบางคร้ังถาตอเพลง
กับลุงอยูก็ตอคนเดียว และถาตอเพลงกับนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) นายโชติ ดุริยประณีต หรือ
นายขื้น ดุริยประณีต ก็มักตอเพลงกันหลายคนตอนตอเพลงก็มิไดมีการอธิบายทางทฤษฎีเทาไรนัก
ถานายชั้น ดุริยประณีต หรือนายเหนี่ยว ดุริยพันธุ อยูก็มักจะซอมอังกะลุง ซึ่งการอยูท่ีบานดุริยประณีตนั้น
นายสุชาติ คลายจินดา ตองชวยทํางานบาน และชวยดูแลรักษาเคร่ืองดนตรี สวนมากนายศุข ดุริยประณีต
จะเปน ผเู ทยี บเครือ่ งนายสชุ าติ คลา ยจินดา ตองคอยเปนผูช ว ยเหลอื

นายสชุ าติ คลายจนิ ดา รับราชการทหารที่กองดุริยางค กองทัพบกจนเกษียนราชการ หลังจาก และตอมาเม่ือ
พ.ศ. 2522 – 2535 นายสุชาติ คลายจินดา ไดรับเชิญใหเปนครูพิเศษสอนดนตรีไทยอยูที่ชมรมดนตรีไทย
โรงเรียนวัดบวรมงคล แขวงบางย่ีขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ในขณะที่นายสุชาติ คลายจินดา รับหนาที่
เปนครพู ิเศษนนั้ ทานไมเคยพูดกลาวถึงเรื่องราวใด ๆ เปนผูที่มีบุคลิกเงียบ ๆ น่ิง ๆ แตเวลาถายทอดเพลงใหกับลูกศิษย
ทานจะสอนอยางเต็มท่ไี มป ด บงั ใด ๆ

บ้นั ปลายชวี ติ ของ นายสุชาติ คลายจินดา ปวยดวยโรคชรา พักรักษาตัวอยูท่ีบานของตนเอง และเม่ือมีอาการ
ทรุดหนกั ลงจึงยา ยเขา ไปพกั รักษาตัวทโ่ี รงพยาบาล และนายสชุ าติ คลายจินดา ไดถึงแกกรรมลงในท่ีสุด เม่ือวันพฤหัสบดี
ท่ี 2 สงิ หาคม พ.ศ. 2555 สริ อิ ายุได 76 ป

56|ห น า

ชอ่ื ภาพ : นายสุชาติ คลายจินดา นั่งตรงระนาดทมุ
ทมี่ า : นายชัชวสั ส วกสดุ จิต, 2562

ชอ่ื ภาพ : งานฌาปนกิจศพนางแถม ดรุ ยิ ประณตี ณ วดั สงั เวช (ในภาพจากซาย) พ.อ.จุมพล(แมว) โตสงา
,สุชาติ คลา ยจนิ ดา ,สมบัติ สุทิม ,ชลอ ใจชื้น (เหน็ ครง่ึ ซีก) ,นฤพนธ ดุรยิ พันธุ ,สุพจน โตสงา
,จ.ส.อ.ปรชี า ชุมชศู าสตร (อุม เด็ก) ,มนู เขียววิจติ ร
ทีม่ า : นายพจนา ดุรยิ พันธ,ุ 2562

57|ห น า

ฆอ งวงใหญ

นายสมาน ทองสโุ ชติ

ชอื่ ภาพ : สมาน ทองสุโชต,ิ นาย (พ.ศ. 2462 - 2523)
ทีม่ า : อนสุ รณงานพระราชทานเพลิงศพ ครูสมาน ทองสุโชต,ิ 2554

นายสมาน ทองสุโชติ เกิดวันพุธที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2462 ณ ตําบลบางประทุน อําเภอบางขุนเทียน
จังหวัดธนบุรี บิดาชื่อนายแตม มารดาชื่อนางคลาย มีพ่ีนองรวมกัน 5 คน เร่ิมหัดตีฆองวงใหญกับนายหรั่ง พุมทองสุข
บริเวณเขตประตูน้ําภาษีเจริญ โดยนายหรั่ง พุมทองสุข คือผูจับมือฆองวงใหญเพลงสาธุการใหนายสมาน ทองสุโชติ
เมื่อหัดไดประมาณ 3 เดือน นายสมาน ทองสุโชติ ก็สามารถออกงานรวมวงกับเพ่ือน ๆ พ่ี ๆ ในวงได
เพราะเปนคนท่ีมปี ญญาดี ตอ เพลงไว จําเพลงแมน ครบถว นคุณสมบัตคิ นฆอ งวงใหญ

จากการหัดเบ้ืองตัน และออกงานบางตามความสามารถ นายสมาน ทองสุโชติ เริ่มเปนที่รูจักผูคนใน
วงการดนตรีไทยมากขึ้น ก็ไดมีการชักชวนจากเพ่ือน ๆ ใหไปงานตาง ๆ เชน งานที่วิกลิเกตลาดทุเรียน (บางลําพู)
วิกละครรองที่เวิ้งนครเกษม เปนตน หากมีเวลาวาง นายสมาน ทองสุโชติ จะพยายามแสวงหาความรูอยางตอเน่ือง
โดยเขาไปกราบฝากตัวเปนศิษยเพ่ือขอเรียนวิชาการทางดนตรีไทยเพ่ิมข้ึน เชน นายเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล
นายโองการ กลีบชื่น นายชื้น ดุริยประณีต นายชั้น ดุริยประณีต หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
ขุนสาํ เนียงชน้ั เชิง (มล โกมลรตั น) ฝกหดั จนสมบรู ณพ รอ มที่เปนนักดนตรไี ทยไดเตม็ ตวั

58|ห น า

วันหนึ่งนายสมาน ทองสุโชติ เขามาที่กรุงเทพมหานคร เพื่อไปเยี่ยมเยือนนายหรั่ง พุมทองสุข ครูคนแรก
และไดทราบขาววา พลโทหมอมหลวงขาบ กุญชร ณ อยุธยา อธิบดีกรมประชาสัมพันธเปดรับสมัครนักดนตรี โดยมี
นายพุม บาปุยะวาทย เปนหัวหนาแผนกดนตรีไทย นายสมาน ทองสุโชติ จึงไปสมัคร และก็สามารถสอบเขาบรรจุ
ขาราชการในตําแหนงนักดนตรีกรมประชาสมั พนั ธ เม่อื ไดร บั ราชการทีก่ รมประชาสัมพันธ นายสมาน ทองสุโชติ จึงไดพบ
กบั นายสบื สดุ ดรุ ยิ ประณีต (นายไก) และ นักดนตรไี ทยฝมือดีอีกมาก ชักชวนกันฝกซอมเพลงอยูตลอดเวลาที่วางจาก
เวลาราชการ ถึงคราวที่บานดุริยประณีตหาวงไปบรรเลง หาวงไปประชัน นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
กจ็ ะชวน นายสมาน ทองสโุ ชติ ไปบรรเลงฆอ งวงใหญอยูเปนประจํา

นายสมาน ทองสุโชติ เปน ผูที่มปี ญญาดี ประพันธเพลงไวเปนจํานวนมาก เชน เพลงนาคนิมิต เดี่ยวฆองวงใหญ
เพลงทยอยเดี่ยว เดี่ยวฆองวงใหญเพลงมายอง และอื่นๆ อีกมาก ทายที่สุดไดประพันธเดี่ยวจะเขเพลงสุดสงวน
เพลงอาถรรพ เพลงสุรินทราหู และเพลงนกขม้ิน หลังจากนั้น นายสมาน ทองสุโชติ ก็เริ่มมีอาการปวย ไมแข็งแรง
จงึ หยุดพักการประพนั ธเ พลงไวเพียงเทา น้ี

วาระสุดทา ยของนายสมาน ทองสโุ ชติ ปวยเปน โรคหัวใจ และโรคไตวาย เขา รับรักษาตัวอยูที่โรงพยาบาลธนบุรี
และถงึ แกก รรมเม่ือวนั จนั ทรท ี่ 8 กันยายน พ.ศ. 2523 กอนเกษยี ณอายุราชการเพยี ง 22 วนั สิริอายไุ ด 61 ป

ชอื่ ภาพ : หนังสอื ท่รี ะลกึ ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสมาน ทองสโุ ชติ
ท่ีมา : อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ นายสมาน ทองสุโชต,ิ 2523

59|ห น า

นายสมชาย ดุรยิ ประณตี

ชอื่ ภาพ : สมชาย ดรุ ิยประณตี , นาย (พ.ศ. 2479 – 2554)
ทีม่ า : อนุสรณงานพระราชทานเพลงิ ศพ ครสู มชาย ดรุ ิยประณตี , 2554

นายสมชาย ดุริยประณีต หรือ นายหมัด เปนบุตรของนายชั้น และนางจิตรา ดุริยประณีต
เกิดเมื่อวันพุธท่ี 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 เมื่ออายุ 13 ป สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาปที่ 4
ณ โ ร ง เ รี ย น วั ด ใ ห ม อ ม ต ร ส แ ล ะ เ ม่ื อ อ า ยุ 1 9 ป สํ า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที่ 3 ณ
โร งเ รี ยน น าฏ ศิล ป ก ร มศิ ล ป า กร เ พ่ื อ น รุ นเ ดี ยว กั น ที่ มี ช่ื อ เ สี ยง ใ นป จ จุ บั นใ น ขณ ะ ที่ เ รี ย น อ ยู ณ
โรงเรยี นนาฏศลิ ป กรมศิลปากร คอื ผศ.สงบศึก ธรรมวิหาร และนายสืบสุด ดุริยประณตี (นายไก)

ก า ร ศึ ก ษ า วิ ช า ด น ต รี ข อ ง น า ย ส ม ช า ย ดุ ริ ย ป ร ะ ณี ต ท่ี ไ ด รั บ ก า ร สื บ ท อ ด วิ ช า ด น ต รี
จากบรรพบุรุษมาต้ังแตยังเยาว นายสมชาย ดุริยประณีต เริ่มเรียนฆองวงใหญต้ังแตอายุ 8 ป
โ ด ย มี น า ย ศุ ข ดุ ริ ย ป ร ะ ณี ต ผู เ ป น ปู จั บ มื อ ต อ เ พ ล ง ส า ธุ ก า ร ใ ห น า ย ส ม ช า ย ดุ ริ ย ป ร ะ ณี ต
ศกึ ษาวิชาการดนตรอี ยางจรงิ จงั มคี วามสนใจใฝห าความรู ไดศกึ ษาวิชาการดนตรที ี่โรงเรยี นนาฏศลิ ป กรมศิลปากร และ
ทางบานยงั ใหการสนบั สนนุ สงเสรมิ โดยเฉพาะคณุ ยาแถม ดรุ ิยประณตี ครขู องนายสมชาย ดรุ ยิ ประณตี มดี ังน้ี

ครูศุข ดุริยประณีต (ปู) ,ครูโชติ ดุริยประณีต (ลุง) ,ครูข้ึน ดุริยประณีต (ลุง) ,ครูชั้น ดุริยประณีต (บิดา)
,ครูเหน่ียว ดุริยพันธ (อาเขย) ,ครูหงส (ไมทราบนามสกุล) ,ครูทองอยู (ไมทราบนามสกุล) ,ขุนสําเนียงชั้นเชิง
(มน โกมลรัตน) ,ครูหลวงบํารุงจิตรเจริญ (ธูป สารทวิลัย) ,พระประณีตวรศัพท (เขียน วรวาทิน) ,ครูถีร ปเพราะ

60|ห น า

,ครูสมพงษ นุชพิจารณ ,ครูหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ,ครูสืบสุด ดุริยประณีต ,ครูเชื่อ ดนตรีรส
,ครูมนตรี ตราโมท ,ครูบุญยงค เกตุคง ,พันโทเสนาะ หลวงสุนทร ,รอยเอกนพ ศรีเพชรดี และครูสอน วงฆอง
ซึง่ ทานไดถ า ยทอดงานเพลงของทา นใหกับ นายสมชาย ดรุ ิยประณตี จนหมดสน้ิ ทา นไดก ลา ววา “ยกฆอ งกลบั บา นไปเถดิ
ครูไมมีอะไรจะสอนเจาแลว” จึงไดช่ือวานายสมชาย ดุริยประณีต เปนลูกศิษยที่ถายทอดทางเพลงจาก
ครสู อน วงฆอ ง ไดม ากทสี่ ดุ

บั้นปลายชีวติ ของนายสมชาย ดุรยิ ประณตี ไดกลับมาอยูที่บา นสมุทรปราการกบั ภรรย นายสมชาย ดุริยประณีต
ไดลมปวยดวยโรคประจําตัว คือ โรคเบาหวาน และโรคเสนโลหิตในสมองตีบ ทางครอบครัวพาไปรักษาทุกวิถีทาง
แตส ดุ ทา ยก็สูกับโรคภัยไมไหว นายสมชาย ดุรยิ ประณีต จึงถึงแกก รรมดวยโรคประจาํ ตวั ดังกลาว สิรอิ ายุได 75ป

ชอื่ ภาพ : นายสมชาย ดรุ ิยประณตี (ผูที่ถือชอนตักอาหารเตรยี มรีบประทาน)
กําลังนั่งสงั สรรคกับเพ่อื น ๆ นกั ดนตรไี ทย
ที่มา : ครูสรุ ินทร สงคทอง, 2561

61|ห น า

ฆอ งวงเลก็

นายวเิ ชยี ร พรหมจรรย

ชอื่ ภาพ : วิเชยี ร พรหมจรรย, นาย (พ.ศ. 2481 – ปจ จุบัน)
ทม่ี า : นายศุภณฐั นุตมากลุ , 2562

นายวิเชียร พรหมจรรย เกิดวันพฤหัสบดี ท่ี 18 สิงหาคม พ.ศ. 2481 บิดาช่ือ ไว เปนศิษย
นายปน บัวทั่ง (บิดานายเฉลิม บัวท่ัง) นายวิเชียร พรหมจรรย ภูมิลําเนาเดิมเปนคนที่อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
แตเกิดที่จังหวัดสุพรรณบุรี ใกลกับบานนายแจง คลายสีทอง และนายสุชาติ คลายจินดา ซ่ึงนายสุชาติ คลายจินดา
มีศกั ด์เิ ปนอา บิดาของนายวิเชียร พรหมจรรย เปนนักดนตรีมีวงปพาทย จึงไดเริ่มเรียนดนตรี กับบิดาเม่ืออายุประมาณ
8 ป ซึ่งตอนน้ันบิดาบังคับใหเรียนดนตรีไทย จึงไดตอเพลงโหมโรงเชา โหมโรงเย็น และพระฉันเชา เนื่องจากพี่นอง
ทางมารดาของนายสมชาย ดุริยประณีต สนิทสนมกับบานของนายวิเชียร พรหมจรรย เม่ือนายวิเชียร พรหมจรรย
เรยี นจบประถมศกึ ษาชั้นปที่ 4 ในป พ.ศ. 2493 จึงไดเขามาอยทู ี่บานดุริยประณตี

ตอนที่อยูท่ีบานดุริยประณีตไดเลนเครื่องดนตรีหลายอยาง โดยไดตอเพลงกับ นายศุข ดุริยประณีต และ
ครูชื้น ดุริยประณีต ในบางคร้ังก็ตอเพลงเม่ือมีเวลาวางตอนไปบรรเลงตามงานตาง ๆ และจากการ ทีไดไปบรรเลง

62|ห น า

ตามงานบอย ๆ ทาํ ใหจ ําเพลงไดหลายเพลงโดยท่ไี มตอ งตอท่ีบา นดุริยประณีต นายวิเชยี ร พรหมจรรย ทําหนาท่ีประจําคือ
ตเี ปงมางคอก และฆองวงเล็ก ซึ่งในสมยั น้ันนบั วา นายวิเชยี ร พรหมจรรย เปนผทู ่มี ีฝมอื ในการตเี ปง มางคอกคนหน่งึ

การตอ เพลงท่บี านดุรยิ ประณีตมกี ารอธิบายวิชาการทางทฤษฎีดวย เชน ลูกเทา ลูกโยน การเขาเพลง การสวม
การสง นายวิเชียร พรหมจรรย อยูบานดุริยประณีตมาตลอดโดยท่ีมิไดกลับไปอยูนครปฐมบานเกิดเลย
เพยี งแตกลบั ไปเย่ยี มบิดา มารดา ญาติพี่นอง ไมก่ีวันแลวก็กลับมาท่ีบานดุริยประณีต กรุงเทพมหานคร ชวงที่ตอเพลงท่ี
บานดุริยประณีตก็มีโอกาสไดเรียนหนังสือดวย และมีโอกาสไดคลุกคลีกับวงการโทรทัศน ซึ่งภายหลัง
นายวิเชียร พรหมจรรย ไดทํางานกับสถานีโทรทัศน ชอง 4 บางขุนพรหม ซ่ึงตอมาเปนสถานีโทรทัศนชอง 9 และ
ทาํ งานท่สี ถานโี ทรทัศนม าตลอดชีวติ ของการทาํ งาน

ชอ่ื ภาพ : ภาพถา ยจากจอโทรทัศน เปนรายการคันธรรมพศาลา วงศลิ ปนอาวโุ สกรมศลิ ปากร เลน เพลง 12 ภาษา นายวิเชียร พรหมจรรย

(ขวาสดุ ) ไดร บั เชิญขบั รอ งรว มครูยอแสง ภกั ดเี ทวา ,ครูประเวช กมุ ุท ,ครเู สรี หวงั ในธรรม ,ครูแจง คลายสที อง

ท่มี า : นายพจนา ดุริยพนั ธุ, 2562

63|ห น า

นายแจง คลายสที อง

ชอื่ ภาพ : แจง คลายสที อง, นาย (พ.ศ. 2478 – 2552 )
ท่มี า : องคค วามรศู ลิ ปน แหง ชาติ : แจง คลา ยสีทอง, 2551

นายแจง คลายสีทอง เปนบุตรของนายหวัน และนางเพ้ียน คลายสีทอง เกิดวันอาทิตยท่ี 10 มีนาคม
พ.ศ. 2478 ณ. บานตําบลบางตาเถร อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี สาเหตุท่ีทานช่ือแจง น้ัน “พอบอกวาฉันเกิด
ตอนแจงพอดีกับพระอาทิตยขึ้นเขาเลยต้ังชื่อวาแจง ช่ือท่ีปรากฏในสูติบัตรจึงมีชื่อ เด็กชายแจง คลายสีทอง”
นายแจง คลา ยสที อง เปน บุตรคนที่ 3 ในจํานวนพีน่ อง 4 คน

นายแจง คลายสีทอง เกิดในตระกูลศิลปนโดยคุณตาเปนนักสวดโบราณ (สวดคฤหัสถ) บิดา
ของนายแจง คลายสีทอง เปนท้ังโขน และนักพากยโขนของคณะโขนวัดดอนกลาง สวนมารดาเปนนักรองเพลงไทยเดิม
ประจําอยูวงปพาทย นายแจง คลายสีทอง จึงมีความผูกพันกับดนตรีไทยอยางมาก เพราะติดตามบิดา มารดา
ไปตามงานตาง ๆ อยูเ ปนประจาํ นับไดวา มสี ายเลือดศลิ ปน ทีม่ ีอยูเตม็

เมือ่ ตอนวยั เยาวเ ม่อื ไดย นิ เสยี งปพ าทยดังทไ่ี หน นายแจง คลา ยสที อง กอ็ อ นมารดาใหอมุ ไปน่งั ฟง และเม่ือไดฟง
แลวจะไมยอมกลับไปงาย ๆ ตองฟงจนเลิกบรรเลงเสียกอนจึงยอมกลับบาน พอโตขึ้น นายแจง คลายสีทอง
ไมรอใหมารดาพาไปแตไปตามเพลงดวยตัวเอง ครั้นไปถึงบาน งานจะไปนั่งจองแถวหนา และจองมองวงดนตรีแบบ
ตาไมกระพริบ เม่ือกลับถึงบานก็นํากะลาผาซีก วางเปนวงกลมรอบตัวทําเปนลูกฆองใชไมตีไปตามกะลาตามทํานอง
ทีจ่ ํามาได อยางผิดบางถูกบา ง

64|ห น า

ในป พ.ศ. 2484 นายแจง คลายสีทอง เติบโตจนถึงวัยศึกษาเลาเรียน บิดาไดสงไปอยูกับ
คุณตาซึ่งบวชเปน “หลวงตา” อยูท่ีวัดโบสถคอนลําแพน และในป พ.ศ. 2489 นายแจง คลายสีทอง เรียนจบ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ซึง่ เปนช้ันสูงสุดของโรงเรียน โดยขณะนั้นมีอายุ 11 ปหลังจากที่เรียนจบมารดาไดรับมาอยูบาน
ตั้งแตนายแจง คลายสีทอง มาอยูกับหลวงตาที่วัด ระหวางเรียนและพักอาศัยอยู ท่ีวัดนั้น นายแจง คลายสีทอง
ยังคงติดตาม การบรรเลงดนตรีตามงานตาง ๆ จนทําใหเปนท่ีคุนตากับเหลานักดนตรีทั้งหลาย นายแคลว คลายจินดา
หัวหนาวงปพาทยเปนผูหนึ่งที่พบนายแจง คลายสีทอง เกือบทุกคร้ังท่ีมีการบรรเลงดนตรี หลังจากจบการศึกษาชั้น
ประถมศึกษาปท่ี 4 นายแคลว คลายจินดา ซึ่งถือวาเปนครูดนตรีไทย อาวุโสผูหน่ึงไดมาติดตอกับมารดาเพ่ือขอรับ
นายแจง คลายสที อง ไปเปน ลูกศิษยทกี่ รุงเทพมหานคร เพราะเห็นวา มีพรสวรรคทางดา นคนตรีไทย

เริ่มแรกนั้นนายแจง คลายสีทอง ไดฝกเรียนฆองวงใหญ จากเพลงสาธุการ เพลงโหมโรงเชา โหมโรงเย็น
ตามลําดับ และเพลงอื่น ๆ อีกมาก ตอมาเมื่อนายแจง คลายสีทอง สามารถบรรเลงดนตรี ไทยไดชํานาญ
นายแคลว คลา ยจินดา จึงพานายแจง คลา ยสที อง ออกงานบรรเลงตาง ๆ ระหวางที่ฝกทางเครื่อง นายแจง คลายสีทอง
ไดเรียนการขับรองเพลงไทยจากนายเฉลิม คลายจินดา ซึ่งเปนบุตรชายของนายแคลว คลายจินดา สาเหตุท่ี
นายแจง คลายสีทอง ตองเรยี นรอ งเพลงเนอื่ งมาจาก ขณะนั้นนักรองในวงนายแคลว คลายจินดา ขาดแคลนหายากเวลา
มีงานบรรเลงหลายงานทาํ ใหว งดนตรขี าดนกั รอง จนกระทงั่ อายุ 14 ป ในป พ.ศ. 2552 มารดาของนายแจง คลายสีทอง
ใหกลับบานไปชว ยทาํ นาทําให นายแจง คลา ยสที องตอ งลานายแคลว คลา ยจนิ ดา กลับไปอยบู านตามเดิม

ในระยะตอ มานายแจง คลายสที อง ไดร ูจกั กบั นักดนตรีบานดุริยประณีตหลายคน เชน นายสืบสุด ดุริยประณีต
(นายไก) คนระนาดเอกประจําบานดุริยประณีต นายสมชาย ดุริยประณีต คนฆองวงใหญประจําบานดุริยประณีต
เนือ่ งจากนกั ดนตรบี านดรุ ยิ ประณีตมาชวยงานบรรเลงของวงบา นครูแคลว คลายจนิ ดา อยูเปนประจํา

เม่ือป พ.ศ. 2499 นายแจง คลายสีทอง อายุครบ 21 ป ตองเขารับการเกณฑทหาร เปนทหารประจําหนวย
เสนารักษ เมื่อมีเวลาวางมักจะติดตามนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ไปในงานบรรเลงปพาทยของวงดุริยประณีต
เปนประจํา และเม่ือผูบรรเลงเคร่ืองดนตรีบางชิ้นวางลง หรือไมมา นายแจง คลายสีทอ จะบรรเลงเครื่องดนตรีนั้นแทน
และสามารถบรรเลงไดทุก ๆ หนาท่ี ตั้งแตการบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบจังหวะ จนถึงการบรรเลงระนาดเอก
ฆองวงใหญ ฆอ งวงเลก็ และระนาดทุม ถาเพลงใดนายแจง คลายสีทอง ยังเลนไมได นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
จะตอให

ปพ.ศ.2501 หลังจากนายแจง คลายสีทองปลดประจําการจากการเปนทหารกองหนุนแลว
นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ไดชักชวนนายแจง คลายสีทอง ใหเขามาเปนนักดนตรีบานดุริยประณีตดวยกัน

65|ห น า

จากนน้ั มานายแจง คลา ยสีทอง จึงเริ่มเขามามีบทบาทในวงการดนตรีอีกคร้ัง เม่ือใดท่ี นายแจง คลายสีทอง มีเวลาวาง
จากการบรรเลงดนตรี นายแจง คลายสีทอง จะตอเพลงตาง ๆ ที่ยังรองไมได กับนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
เพื่อเพ่ิมพูนความรูใหมากขึ้น และเม่ือมีการประชัน หรือมีการบรรเลงตามงานตาง ๆ นายแจง คลายสีทอง
รบั ตําแหนงฆองวงเล็กเปน ประจํา

ป พ.ศ. 2508 นายแจง คลายสีทอง เขารับราชการในตําแหนงคีตศิลปะจัตวา แผนกดุริยางคไทย
กองการสงั คตี กรมศลิ ปากร ระยะแรกที่เขาทํางานในกรมศิลปากรนายแจง คลายสีทอง รูสึกหนักใจมาก เพราะทานตอง
ปรับปรุงการรองเพลงใหม จะตองรองใหเขาบทบาทของตัวละคร ที่แสดงซ่ึงตางจากการขับรองเพลงประกอบดนตรีท่ี
นายแจง คลา ยสีทอง เคยรองในวงปพาทย รวมท้ังนายแจง คลายสีทอง ตองระมัดระวังการออกเสียงสําเนียงใหถูกตอง
ตามอักขรวิธี ตอมานายธนิต อยูโพธ์ิ อดีตอธิบดีรมศิลปากร ไดกรุณาแนะนําใหนางสุดา เขียววิจิตร และ
นางแชมชอ ย ดุรยิ พันธุ เปนผูตอ เพลงในบทละครเร่ืองตาง ๆ พรอมทั้งแนะนําวิธีการขับรองใหเขากับตัวละคร นอกจากน้ี
นายแจง คลายสีทอง ยงั พยายามฝกฝนหาความรูเพ่ิมเติมดวยตนเองดวยการฝกหัดรองเพลง และศึกษาการขับรองของ
ครูดนตรรี นุ เกา ทีม่ ีชอื่ เสียง เพอ่ื จะไดเ ปนแนวทางในการขบั รองใหด ียิ่งขนึ้ นายแจง คลายสีทอง ประสบความสําเร็จในชีวิต
ราชการเปนอยางมาก นอยคนนักท่ีจะไดรับคือนายแจง คลายสีทองไดรับราชการไดเพียง 1 ป ก็ไดรับพิจารณาความดี
ความชอบใหขึ้นข้ันเงินเดือนเปนพิเศษ 2 ข้ันอยูเสมอ นอกจากปฏิบัติหนาที่ในราชการกรมศิลปากรแลว
ถานายแจง คลายสที อง มีเวลาวางจะรบั งานแสดงท่ัวไปทั้งการขับรองบรรเลงและการขับเสภาทําใหเปนท่ีรูจักชื่นชมยินดี
ในหมูผสู นใจและเจานายหลายพระองค จนทรงมพี ระเมตตาเรยี กใชอ ยูเสมอ

นายแจง คลายสีทอง คลายสีทอง ศิลปนกรมศิลปากรท่ีมีความสามารถในการเหเรือ การขับรองเพลงไทย
บรรเลงเคร่อื งดนตรีไทยปพ าทยไดท ุกชนิด โดยเฉพาะความถนัด และประสบการณดานฆองวงเล็ก เปนครูเสภาที่ขับเสภา
ไดอ ยางไพเราะพรอ มท้ังขยับกรบั และรูเพลงกรับอยา งลึกซึ้ง นับไดวา นายแจง คลายสีทอง เปนนักรอง นักดนตรี และ
นักขับเสภาที่มีชื่อเสยี งจนหาผูอ่ืนเทียบไดยากในยุคสมัยนั้น ดวยความสามารถ และประสบการณ พรอมคุณงามความดี
ทัง้ ปวงทก่ี ลา วมาน้นั ทําให นายแจง คลายสีทอง ไดร บั การยกยองใหเปนศิลปนแหงชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป)
ประจาํ ป พ.ศ.2538 พรอ มกนั นนั้ ทานยังไดร ับสมญานามวา “ชา งขบั คําหอม”

วาระสุดทายของนายแจง คลายสีทอง ศิลปนแหงชาติ ลมปวยดวยโรคเสนเลือดในหัวใจตีบจนเปนอัมพฤกษ
ตองเขา รักษาตัวที่ โรงพยาบาลสพุ รรณบุรี ดว ยความไมพรอ มของเครอ่ื งมือแพทยจ งึ ตองยา ยมารกั ษาที่โรงพยาบาลศิริราช
ตั้งแตวันพุธ ที่ 4 กุมภาพันธ 2552 และไดรักษาตัวอยูที่โรงพยาบาลศิริราชเร่ือยมา จนกระทั่งรุงเชา

66|ห น า

วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เวลาประมาณ 5 นาฬิกา นายแจง คลายสีทอง ศิลปนแหงชาติ ไดถึงแกกรรม
อยางสงบ สริ อิ ายไุ ด 74 ป

ชอื่ ภาพ : บนั้ ปลายชวี ิตแหงความสขุ ของ นายแจง คลา ยสที อง ศิลปนแหงชาติ
ที่มา : องคค วามรูศลิ ปน แหง ชาติ : แจง คลา ยสีทอง, 2551

67|ห น า

นายสพุ จน โตสงา

ชอื่ ภาพ : สพุ จน โตสงา, นาย (พ.ศ. 2482 – 2536 )
ทมี่ า : สจู ิบตั ร “การประชันวงปพ าทยเฉลมิ พระเกยี รติ มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบณั ฑติ ย” , 2535

นายสุพจน โตสงา ชื่อเลน ปด เกิดวันจันทร ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2482 ณ บางลําพู กรุงเทพมหานคร
เปน บตุ รของนายพมุ และนางแมน โตสงา มีพ่นี อ งรว มบิดามารดา 8 คน นายสพุ จน โตสงา เปนบุตรลําดับที่ 7

นายสุพจน โตสงา เริ่มเรียนดนตรีไทยตอนอายุ 3 ป (พ.ศ. 2485) กับบิดา โดยเริ่มเรียนจากฆองวงใหญ
แลวจึงเรียนระนาดเอกเปนเคร่ืองมือถัดไป จนกระทั่งเรียนโหมโรงเชา โหมโรงเย็น เพลงประกอบพิธีสงฆตาง ๆ จนจบ
ตามแบบของนายพุม โตสงา ผูเปนบิดา แลวจึงเริ่มเรียนเพลงเสภา เพลงเดี่ยวพญาโศก เพลงเด่ียวเชิดนอก ตามลําดับ
เปน ตน เมื่อ พ.ศ. 2496 นายพุม โตสงา ถงึ แกก รรม ณ เวลาน้ัน นายสุพจน โตสงา อายไุ ด 14 ป

หลงั จากบดิ าถงึ แกก รรม นายสพุ จน โตสงา ไดไปกราบหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เพ่ือขอเรียน
ดนตรีเพิ่มเติมจากทาน ในเพลงเถา และเพลงเดี่ยว เปนหลัก แตดวยบุญวาสนาอันนอยน้ันจึงไดเรียนเพียงแค 2 ป
หลงั จากน้นั หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ก็ถึงแกกรรม จากน้ันไดขอเรียนระนาดเอก เพ่ิมเติมกับ นายเผือด
นักระนาด ลูกศิษยรุนโตของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เฉพาะเพลงเด่ียวในระยะเวลา 1 ป ก็สามารถ
เรียนไดมากหลายเพลง และยงั ไดเ รยี นเพลงมอญ จากนายพมิ นักระนาด ผเู ปนพช่ี ายของนายเผือด นกั ระนาด

จนกระท่ัง พ.ศ. 2500 นายสุพจน โตสงา ไดเขาบานดุริยประณีต โดยมีนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
เปนผูถายทอดวิชาตาง ๆ ในการบรรเลงระนาดเอกใหอ ยา งเต็มกําลัง เน่ืองจากเกิดความรัก เมตตาตอนายสุพจน โตสงา
ในก็เวลาเดียวกัน นายช้ืน ดุริยประณีต (พี่ชาย) ก็ถายทอดเพลงเดี่ยวตาง ๆ ไวใหกับ นายสุพจน โตสงา เชนกัน

68|ห น า

ไมนานนายสุพจน โตสงา ก็ไดลงบรรเลงรวมวงปพาทยประชันบานดุริยประณีตเต็มตัวในตําแหนงฆองวงเล็ก
ซึ่งเปนเวลาที่นายแจง คลายสีทอง เริ่มรับราชการที่กรมศิลปากร ดวยเหตุที่ไมคอยมีเวลามาซอม และออกงาน
นางแถม ดุริยประณีต จึงมอบหมายตําแหนงฆองวงเล็กนี้ให นายสุพจน โตสงา รับหนาที่น้ีแทนแตนั้นมา หากวันใด
มีงานชน หรอื งานซอ นตอ งแบงออกเปนหลายวง นายสพุ จน โตสงา กย็ งั ไดรับมอบหมายใหบ รรเลงระนาดเอกในบางคร้ัง

วาระสุดทายของชีวิต นายสุพจน โตสงา เปนโรคเบาหวาน และมะเร็งตับ แตดวยความคิดของตนเอง
วามไิ ดเ ปนอะไร ปวยธรรมดาจึงยังรับงาน และไปชวยงานปพาทยตามเดิม จนกระทั่งมีอาการที่หนักข้ึนจึงไปรักษาตัวท่ี
โรงพยาบาลมิชชัน่ และ โรงพยาบาลสงฆ เม่อื ตรวจอยางละเอียดจึงพบวาเปนมะเร็งที่ตับระยะสุดทาย จึงใหยายไปรักษา
ตัวท่ีโรงพยาบาลศิริราช เมื่อยายมาโรงพยาบาลศิริราช ไดไมนานก็ถึงแกกรรมดวยโรคมะเร็งตับระยะสุดทาย
เม่ือวันองั คาร ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2536 เวลา 2 นาฬิกา 2นาที สิรอิ ายไุ ด 54ป 9เดือน 25วนั

ชอ่ื ภาพ : งานศพนายเหนย่ี ว ดรุ ิยพนั ธุ ณ วัดสังเวช นายสุพจน โตสงา ระนาดเอก ,นายสมบตั ิ สุทิม ปม อญ ,
นายเผชญิ กองโชค ฆอ งมอญวงใหญ และนายอนันต ดุรยิ พันธุ ฆอ งมอญวงเลก็

ทมี่ า : อนุสรณงานพระราชทานเพลงิ ศพ สุพจน โตสงา “ระนาดนํ้าคาง” ลมหายใจไมย อมแพ ,2537

69|ห น า

นายเผชญิ กองโชค

ชอื่ ภาพ : เผชิญ กองโชค, นาย (พ.ศ. 2483 – 2559 )
ที่มา : นิตยสารศิลปากร, 2554

นายเผชิญ กองโชค เกิดวันอังคาร ท่ี 10 กันยายน พ.ศ. 2483 ที่ตําบลนํ้าเตา อําเภอมหาราช จังหวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา ไดเ ร่ิมหัดเรยี นดนตรีกบั ปู (นายผนั ) โดยเร่ิมจากหัดฆองวงใหญ เพลงสาธุการ นอกจากนี้ก็ยังไดฝกหัด
เพิม่ เติมจากบิดา (นายผวน) เม่อื นายเผชิญ กองโชค อายไุ ด 11 ป มารดาเสยี ชวี ิต บดิ าจึงพาเขามาอยทู กี่ รุงเทพมหานคร
ตีระนาดเอกประกอบลิเก อยูท่ีวิกลิเกของพระยาเพชรปาณี ครั้งหนึ่งหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เดินผาน
วิกลิเกนี้ เสยี งระนาดเอกแววดังเขาหู ทา นรสู กึ ไดถ ึงความสามารถที่ซอนอยูในตัวเด็กคนน้ีจึงใหศิษยคนสนิทที่เดินมาดวย
ไปตามคนตีระนาดเอกมาหา แตในขณะนั้น นายเผชิญ กองโชค ยังเด็กสนใจแตการตีระนาดเอกประกอบลิเก
จงึ ไมไดเขาไปหาหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ตามคําชักชวนท่ีทานสั่งใหศิษยไปตามตัวมา จากน้ันไมนาน
นายผวน ผูเปนบิดาไดนําตัวนายเผชิญ กองโชค ไปฝากตัวเปนศิษยกับหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
โดยเรียนวชิ าการตรี ะนาดเอกเปน หลัก ครน้ั เมื่อหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) นายเผชิญ กองโชค ไดฝากตัว
เปน ศิษยก บั นายเผือด นักระนาด ซึ่งเปน ศษิ ยเอกของ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ทางดานการตีระนาดเอก
ตอ มาในป พ.ศ. 2499 ไดม าอยกู ับ หมอ มหลวงขาบ กุญชร ซึ่งในตอนนัน้ ทา นดาํ รงตาํ แหนงอธิบดกี รมประชาสัมพันธ และ
ไดพบเจอกบั นายสบื สุด ดุริยประณีต (นายไก) เม่ือไดรวมงานกันจึงเกิดความสนิทกันมากขึ้น และไดรับการชักชวน
จากนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ใหมาเปนคนฆองวงเล็กประจําวงปพาทยบานดุริยประณีต และจากนั้น

70|ห น า

ก็ตีฆองวงเล็กใหวงปพาทยบานดุริยประณีต เรื่อยมา ยกเวนบางคร้ังมีงานแยกท่ีจําเปนตองแบงออกเปนหลายวง
นายเผชญิ กองโชค จึงตอ งไปบรรเลงระนาดเอกใหก ับบา นดุริยประณตี แทน นายสืบสุด ดรุ ยิ ประณตี (นายไก)

การทํางาน เริ่มรบั ราชการเมื่อ พ.ศ. 2512 ในตําแหนงดุริยางคศิลปน แผนกดุริยางคไทย เคร่ืองมือระนาดทุม
จากการชกั ชวนของ นายโชติ ดรุ ิยประณีต ซ่ึงในขณะนัน้ นายเสรี หวงั ในธรรม ดํารงตําแหนงหัวหนาแผนก ในเวลาตอมา
นายเผชญิ กองโชค ไดร บั หนา ท่บี รรเลงระนาดเอกเร่อื ยมา

บ้ันปลายชีวิตนายเผชิญ กองโชค (หลังเกษียณอายุราชการ) ยังคงทํางานตอท่ีกองการสังคีต กรมศิลปากร
ในตําแหนงผูเ ช่ียวชาญ และในวันพธุ ท่ี 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ชว งเวลาเย็น ๆ นายสุรพงศ โรหิตาจล ไดโทรศัพทหา
นายเผชิญ กองโชคเพ่ือชักชวนไปรวมงานสวดพระอภิธรรมศพมารดาของเพ่ือนรวมงานที่กองการสังคีต กรมศิลปากร
แตไมมีผูใดรับสายจึงโทรแจงญาติของ นายเผชิญ กองโชค ใหไปดูที่บาน เมื่อเปดประตูบานไป นายเผชิญ กองโชค
กส็ ิ้นลมหายใจเสียแลว ทเ่ี ตียงนอนของตนเอง สิรอิ ายุได 76ป

ชอ่ื ภาพ : นายเผชิญ กองโชค บรรเลงระนาดทุม
ทมี่ า : นายสุทธภพ ศรอี กั ขรกุล, 2562

71|ห น า

เครื่องหนังไทย – มอญ และเครือ่ งประกอบจงั หวะ

นายสมพงษ นุชพิจารณ

ชอื่ ภาพ : สมพงษ นชุ พจิ ารณ, นาย (พ.ศ. 2475 – 2535 )
ที่มา : นายพจนา ดุริยพนั ธุ, 2562

นายสมพงษ นุชพิจารณ เปนบุตรของนายบุญกิจ และนางผิว นุชพิจารณ ซึ่งบิดามารดาไมมีผูใด
เปนดนตรีมากอน เปนครอบครัวชาวนาอยูที่ อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกิดวันจันทรท่ี 1 สิงหาคม
พ.ศ. 2475 เมื่อบิดานําครอบครัวยายมาอยูอาศัยที่กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดสระเกศ บิดารับจางทํางานกอสราง
สวนมารดาทาํ อาชพี คาขายขนม เม่อื วัยเยาว นายสมพงษ นุชพิจารณ มีนิสัยซุกซน ชอบว่ิงเลนอยูแถวบริเวณวัดสระเกศ
บางครั้งก็ชวนเพ่ือนโดดนํ้าเลนกันตรงคลองขางวัดสระเกศ ระหวางท่ีเลนซนอยูนั้น นายสมพงษ นุชพิจารณ ไดยิน
เสียงปพาทยแววดังออกมาจากบานนายพร้ิง ดนตรีรส ซึ่งอาศัยอยูริมฝงคลองตรงขามกับวัดสระเกศ เวลาน้ันยังเด็ก
จึงไมนกึ อยากหดั ดนตรเี ทา ไร

ในสมัยที่ นายสมพงษ นุชพิจารณ อยูระแวกวัดสระเกศน้ันมีวงปพาทยอยูวงหน่ึง เปนวงของ
นายจา ง (ไมทราบนามสกุล) เปนสัปเหรออยูในวัด มีฝมือทางดานการขึ้นเครื่องหนังโดยเฉพาะกลองทัด วงปพาทยของ
นายจาง (ไมทราบนามสกุล) นั้นหากเทียบกับวงปพาทยอื่น ๆ ในบริเวณนั้น นับไดวาไมมีช่ือเสียงอันใดแมแตนอย
ลกู วงของ นายจาง (ไมท ราบนามสกลุ ) ก็ไมมี ลูกศิษย ก็ไมมี เวลารับงานครั้งหนึ่งตองอาศัยนักดนตรีที่อื่นมาชวยเสมอ
หน่ึงในที่เวียนมาชวยงาน วงปพาทยของ นายจาง (ไมทราบนามสกุล) คือ หลวงชาญเชิงระนาด (เงิน ผลารักษ)

72|ห น า

ลูกชายของนายจาง (ไมทราบนามสกุล) ชื่อ นายเอิบ เปนเพื่อนกับพ่ีขายของนายสมพงษ นุชพิจารณ ชื่อ นายชวย
ว่ิงเลนกันบอยจนสนิทสนมกัน เมื่ออายุถึงหัดดนตรีนายเอิบ และนายชวย จึงหัดดนตรีกับนายจาง (ไมทราบนามสกุล)
ในขั้นพื้นฐานแตดวยนายจาง (ไมทราบนามสกุล) เห็นวาตนเองไมสามารถถายทอดอะไรใหไดมากจึงพาเด็ก 2 คนน้ี
มากราบ นายพร้ิง ดนตรรี ส เพอื่ ฝากตัวเปนศษิ ย และเรียนเรอื่ ยมาจนสามารถรบั ออกงานบรรเลงทัว่ ไปได

นายสมพงษ นุชพิจารณ หัดเรียนฆองวงใหญกับ นายพริ้ง ดนตรีรสอยางจริงจังหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2
สงบลง เริ่มจากหัดเพลงสาธุการจนกระท่ังถึงโหมโรงเย็น (เชิดตัวที่ 7) เวลานั้นโรงเรียนนาฏดุริยางคเปดรับสมัคร
ขณะนั้นนายโองการ กลีบช่ืน ดํารงตําแหนงหัวหนาแผนก กองการสังคีต กรมศิลปากร ซึ่งมีความคุนชินกับพี่ชายของ
นายสมพงษ นุชพิจารณ จึงไดฝากมาบอกขาวใหพานายสมพงษ นุชพิจารณ ไปสมัครเรียนเปนศิลปนสํารอง ตอนนั้น
จมนื่ มานติ ยนเรศ (เฉลิม เศวตนนั ท) ดํารงตําแหนงหวั หนา กอง เนอื่ งจากเรียนฟรี มีเบี้ยเลย้ี งใหเ ดือนละ 15 บาท

“ศิลปนสํารอง” หมายถึง สํารองจากศิลปนรุนผูใหญ ซึ่งในสมัยนั้นศิลปนรุนผูใหญ เชน นายพร้ิง ดนตรีรส
,นายมิ ทรัพยเย็น ,นายถีร ปเพราะ ,นายโองการ กลีบชื่น ,นายโชติ ดุริยประณีต ,นายเหนี่ยว ดุริยพันธุ และทานอ่ืน ๆ
หากศลิ ปน รุนผูใหญเกษียณอายรุ าชการ หรอื ถงึ แกกรรมกอ นเกษยี ณอายุราชการ ศิลปนสํารองก็จะถูกเรียกตัวข้ึนไปบรรจุ
ใหเ ปนศลิ ปน

เมื่อครั้งที่เขามาอยูในโรงเรียนนาฏดุริยางค นายสมพงษ นุชพิจารณ ไดเรียนฆองวงใหญเพิ่มเติมจาก
หลวงบาํ รงุ จิตรเจรญิ (ธปู สารทวลิ ยั ) จนถงึ เดยี่ วกราวใน และทยอยเดีย่ ว หลวงบาํ รงุ จิตรเจริญ (ธูป สารทวิลัย) รัก และ
เมตตาตอ นายสมพงษ นุชพจิ ารณ มากเน่ืองจากเปนคนตอเพลงเร็ว จาํ แมน และมอื คลอง จึงรักเปนพิเศษกวาคนอ่ืน และ
ไดบ อกกลาวกับนายสมพงษ นชุ พจิ ารณ วา “วันเสาร – อาทติ ยโรงเรียนหยุด เอ็งขามไปหาขาท่ีบานิ ไปตอเพลงเด่ียว
ท่บี าน เดย๋ี วขาเลี้ยงกว ยเตี๋ยว”

ครั้งหน่ึงทางวิทยาลัยนาฏศิลป มีการแสดงโขนตอนนางลอย โดยใชนักเรียนแสดงท้ังหมด รวมถึงดนตรี
ประกอบการแสดงดวย แตขาดตําแหนงตะโพนไทย ทางครูที่วิทยาลัยนาฏศิลป ประชุมหารือกันไดขอสรุปวา
ใหนายสมพงษ นุชพิจารณ เปนผูบรรเลงตะโพนไทย จากนั้นเมอื่ มกี ารจัดพิธีไหวครูดนตรีไทยขึ้น นายสมพงษ นุชพิจารณ
จึงไดรับการครอบครูตะโพนไทยจากหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) และมีนายมนตรี ตราโมท เปนผูทําพิธี
ประกอบการไหวครูดนตรีไทย เมื่อไดจับมือถูกตองตามขนบประเพณีดนตรีไทยแลวจึงไดมาเรียนวิชาเครื่องหนังไทยกับ
พระประณีตวรศัพท (เขียน วรวาทิน) จนมีพื้นฐานทางเครื่องหนังไทยท่ีดีแลวเลยให นายสมพงษ นุชพิจารณ
ไปเรียนเพ่ิมเติมกับ นายโชติ ดุริยประณีต และนายมิ ทรัพยเย็น สวนงานแสดงโขนตอนนางลอยนั้น มีนักดนตรี
ประกอบดวย คือ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) บรรเลงระนาดเอก ,นายจิรัส อาจณรงค บรรเลงฆองวงใหญ

73|ห น า

,นายณรงค เขียววิจิตร บรรเลงระนาดทุม ,นายศิลป ตราโมท บรรเลงฆองวงเล็ก นายทวี คงลายทอง บรรเลงปใน
,นายสมพงษ นุชพจิ ารณ บรรเลงตะโพนไทย ,นายสวงิ (ไมทราบนามสกุล) บรรเลงกลองทัด ,นางทัศนีย ขุนทอง ขับรอง
,นายโองการ กลีบชื่น และนายโชติ ดุริยประณีต เปนผูควบคุมวง หลังจากงานคร้ังนี้ นายสมพงษ นุชพิจารณ
จึงกลายมาเปน คนเครอื่ งหนังไทยมาตลอด

เม่อื อายุครบเกณฑทหาร นายสมพงษ นุชพิจารณ ถูกเกณฑทหารในสังกัดหนวยทหารวิทยุสื่อสาร สะพานแดง
บางซื่อ ตลอดระยะเวลา 18 เดือน เมื่อถึงเวลาปลดประจําการแลว นายสมพงษ นุชพิจารณ จึงไปสมัครเขาทํางาน
ที่สถานีโทรทัศน ชอง 4 บางขุนพรหม ดวยการชักชวนของเพื่อน ๆ พี่ ๆ ที่ยอมรับในฝมือการตีเครื่องหนังไทยของ
นายสมพงษ นุชพิจารณ จากน้ันเมื่อทํางานที่สถานีโทรทัศน ชอง 4 บางขุนพรหม ไดไมนานก็ไดรับการแนะนําจาก
นายทวี คงลายทอง ใหเขาไปพบ พลโทหมอมหลวงขาบ กุญชร เพราะตอนน้ันทางกรมประชาสัมพันธมีตําแหนง
เคร่ืองหนังไทยวางอยูพอดี จึงไปสมัครและไดเขาทํางานที่กรมประชาสัมพันธในตําแหนงเครื่องหนังไทย ภายหลัง
พ.ศ. 2516 นายเสรี หวงั ในธรรม เปนหวั หนาแผนกกองการสงั คตี กรมศิลปากร ชักชวนให นายสมพงษ นุชพิจารณ
โอนยายมาทํางานที่กองการสังคีต กรมศิลปากร นายสมพงษ นุชพิจารณ จึงโอนยายราชการมาตาม
คําชกั ชวนของ นายเสรี หวังในธรรม

นายบุญยงค เกตุคง กลาวไววา “ฝมือกลองสองหนาของเขานี่เรียกวาหาตัวจับยากทีเดียว เพราะมีพ้ืนดี
ตีเครอื่ งไดห ลายอยา ง ไดเ พลงเดยี่ ว เรยี กวา รเู พลงจะไปจะมายงั ไง มอื ซา ยคลอ งมาก เสยี งกลองดี จังหวะดี ไหวพริบดี
ถา เวลาตเี ดย่ี วแลว เจา เล็กตีกลองใหไมต องหวงเรื่องจังหวะเลย คอยตปี ระคองไปเรื่อย ๆ พอถึงตอนสนุกเขากช็ ว ยตี
กระพือใสลูกเลนคลุกเขากับทางเครื่อง คนเดี่ยวก็ย่ิงสนุกใหญ เวลามีงานประชันถาไดเขาไปชวยตีกลองแลว
รับรองวา สนกุ ”

วาระสดุ ทายของ นายสมพงษ นุชพิจารณ กอนเกษียณอายุราชการ 1 ป นายสมพงษ นุชพิจารณ เคยลมปวย
ดวยโรคไต เขารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลศิริราช จนอาการทุเลาเปนปกติดีแลวกลับมาทํางานไดเหมือนเดิม ประมาณ
เดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2535 นายสมพงษ นุชพิจารณ เปนโรคปอด เขารับรักษาที่โรงพยาบาลศิริราชเชนเคย เมื่อออกจาก
โรงพยาบาลคร้ังนี้มีรางกายที่ผอมลง น้ําหนักลดไปถึง 10 กิโลกรัม เรี่ยวแรงถดถอย จึงพักรักษาตัวอยูท่ีบานดนตรีรส
เพราะเกษียณอายุราชการแลวไมจําเปนตองเขาไปทํางานอีก เชาวันอังคาร ท่ี 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535
นายสมพงษ นชุ พิจารณ ถึงแกกรรมอยางสงบ สริ อิ ายไุ ด 60 ป

74|ห น า

ชอ่ื ภาพ : หนังสอื ท่ีระลกึ ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสมพงษ นุชพจิ ารณ
ทมี่ า : อนสุ รณงานพระราชทานเพลงิ ศพ นายสมพงษ นุชพจิ ารณ, 2535

75|ห น า

หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกลุ

ชอื่ ภาพ : สรุ กั ษ สวสั ดิกลุ , หมอมหลวง (พ.ศ. 2479 – 2542 )
ทีม่ า : อนสุ รณง านพระราชทานเพลิงศพ หมอ มหลวงสรุ ักษ สวัสดิกลุ , 2542

หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล (ตู) เปนบุตรชายคนเดียวของ หมอมราชวงศสุมนขาติ สวัสดิกุล กับ
ทานผูหญิงสมโรจน สวัสดิกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ผลชีวิน) และมีนองสาวคนเดียว คือ หมอมหลวง (หญิง)ดารัตน
สวัสดิกุล เปนแพทยหญิงที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล เกิดวันจันทร ท่ี 3 กุมภาพันธ
พ.ศ. 2479 ในบานท่ีอุรุพงษ เรียนจบช้ันมูลประถมของโรงเรียนดรุโณทยาน และศึกษาตอในระดับช้ันมัธยมศึกษาที่
โรงเรยี นเทพศริ ินทร แตห มอ มหลวงสุรักษ สวสั ดิกุล ไมช อบทางสายวชิ าการ เพราะสนใจใสใจในวชิ าดนตรีปพาทยท้ังไทย
และมอญมาตั้งแตอายุ 8 ป บิดาเห็นความมุมานะของหมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล จึงสงเสริมใหไปเรียนพิเศษ
ทางสายดนตรีไทยในวันเสาร และอาทิตย ที่กรมศิลปากร (กองการสังคีต) เน่ืองจากบิดาชอบพอกับ นายธนิต อยูโพธิ์
(อดีตอธิบดี) ตอมาจึงไดไปเรียนที่บางลําพู กับ “คณะดุริยประณีต” ครูอาจารยที่น้ีรัก และเอ็นดู
หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล เปนอยางมาก เพราะเปนคนที่สอนงาย เขาใจงาย ความจําดีมาก ในเร่ืองของ ป ฆองวง
(ไทย – มอญ) กลอง และขับรอง โดยเฉพาะทางมอญ หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล มีความสนใจเอาใจใสเปนพิเศษ
เมื่อไดเขามาเรียนดนตรีปพาทยที่คณะดุริยประณีต หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล มักจะลาบิดา มารดา มาอาศัยอยูท่ี
บา นดรุ ิยประณีตทกุ วันเสาร และอาทิตย อยูเปนประจาํ

76|ห น า

หมอมหลวงสุรกั ษ สวสั ดกิ ุล เปน ผทู ่ีแสวงหาความรเู ปน อยางมากจึงไปหาเรียนปพาทยมอญ ตามจังหวัดตาง ๆ
ท่ีมีชื่อเสียงทางปพาทยมอญ เชน จังหวัดนนทบุรี ในชุมชนเกาะเกร็ดจนสามารถพูดภาษามอญได และมีความชํานาญ
ทางปมอญ ฆองมอญ และเคร่ืองหนังมอญ (ตะโพนมอญ และเปงมางคอก) เปนอยางมาก จากน้ัน หมอมหลวงสุรักษ
สวัสดิกุล เริ่มสะสมเคร่ืองดนตรีปพาทยไวเปนชุด ๆ ทําขึ้นเองบาง ซ้ือบาง โดยตกแตงจาก งาชาง และเปลือกหอยมุก
เปนจํานวนมาก เก็บไวในเรอื นเลก็ ๆ ท่มี ารดาปลูกไวให ในเรือนเล็ก ๆ หลังนี้เปนที่สําหรับเพ่ือน และลูกศิษยที่แวะเวียน
กันมาเยีย่ มหา และเรยี นวิชาการทางดนตรีไทย

เมื่ออายปุ ระมาณ 17 ป นายธนิต อยูโพธิ์ ชักชวนให หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล รับราชการ เปนลูกจางใน
กองการสังคีต กรมศิลปากร เพราะอายยุ ังไมถงึ เกณฑรับราชการจึงไมมีสิทธิ์ในการสอบเขาเปนขาราชการ จึงไดตอบรับ
ทาํ งานในตําแหนงลูกจา งกอน และไดร บั ราชการที่กองการสังคีต กรมศิลปากรนม้ี าจนถงึ วยั เกษียณราชการ

“ปา ตู ตูเพลงมอญ” เปนคําทที่ ุกคนในสมัยน้ันตองเคยไดยิน เพราะ หมอมหลวงสุรกั ษ สวัสดิกุล เปน ผทู แ่ี สวงหา
ความรูอยา งแทจ รงิ ดังทกี่ ลาวไวขา งตน บรรดาลกู ศิษย และมิตรสหายตางถามกัน ในสมยั นั้นวา “ตูอัดเทปเพลงที่หายาก
ไวบ างหรอื ไม” เพราะเพลงท้งั หมดที่ หมอ มหลวงสุรักษ สวัสดิกุล เรียนมาน้ันมีเพียงลูกศิษยไมก่ีคนท่ีไดรับการถายทอด
จาก หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล และมีเพลงปอยูเพลงหน่ึงท่ี หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล ไดมีโอกาสสนองพระคุณ
เปาปประโคมถวายแดสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชินีในพระราชพิธีออกพระเมรุ พระบรมศพแหงพระองคทาน คือ
“เพลงบวั ลอย”

วาระสุดทายของ หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล ทานปวยเปนโรคมะเร็งในลําไส ทานทรมานอยูนานนับเดือน
จนกระทั่งไดเขารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณซึ่งเปนท่ีท่ีนองสาวเปนแพทยหญิงทํางานอยู ทางคณะแพทย
ท่ีทําการรักษามีความเห็นวาใหกลับมาพักฟนรักษาตัวที่บานได หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล จึงไดกลับมาพักรักษาท่ี
บานอุรุพงษที่เปนบานเกิด แตกลับมาอยูไดไมนาน ในวันจันทรที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เวลาประมาณ 18 นาฬิกา
หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล มีอาการเหน่ือยมาก จนทุกคนที่อยูบริเวณนั้นตองรีบนําสงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณอีกครั้ง
สุดทาย ในเชาวันอังคาร ท่ี 31 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เวลารุงเชา 6 นาฬิกา 22 นาที หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล
ไดจากไปดว ยอาการสงบ สริ ิอายุได 63 ป

77|ห น า

ชอ่ื ภาพ : ความสุขของปาตู
ที่มา : อนุสรณงานพระราชทานเพลงิ ศพ หมอ มหลวงสรุ ักษ สวัสดกิ ลุ , 2542

ชอ่ื ภาพ : ปาตกู บั ฆองมอญทีร่ กั และหวงแหน : รําผี งาน 100 ป ดุริยประณีต
ท่ีมา : อนสุ รณง านพระราชทานเพลงิ ศพ หมอมหลวงสรุ ักษ สวัสดกิ ลุ , 2542

78|ห น า

นายมนู เขยี ววจิ ติ ร

ชอ่ื ภาพ : มนู เขยี ววิจติ ร, นาย (พ.ศ. 2481 – 2556)
ที่มา : นายพจนา ดรุ ิยพันธุ, 2562

นายมนู เขยี ววจิ ิตร เกิดวันเสาร ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ปขาล (ปเดียวกับนายชนะ ดุริยพันธุ บุตรชาย
นายเหนี่ยว ดรุ ิยพนั ธ)ุ กรงุ เทพมหานคร เปน บตุ รชายของ นายเริกส และนางสุดา เขยี ววิจิตร

เร่ิมหัดดนตรไี ทยตั้งแตอายุ 9 ป เม่ือ พ.ศ. 2490 นายศุข ดุริยประณีต (ปู) ทําพิธีมอบตัวกับครูในหองเคร่ือง
จับมือใหตีฆองเพลงสาธุการ และเรียนเพลงมอญในหลักสูตรเรงรัด (ออกงานไดเร็วสุด) ตอเพลงทางเครื่องจาก
นายโชติ นายชื้น และนายช้ัน ดุริยประณีต (ลุง) เปนหลัก แตทางบานดุริยประณีตในสมัยนั้นหาคนเคร่ืองหนังไทยยาก
จึงให นายมนู เขียววิจิตร เรียนเคร่ืองหนังเปนหลัก โดยเรียนคูมาพรอมกับ นายสมชาย ดุริยประณีต
(บุตรนายช้ัน ดรุ ิยประณต ) ตอ มานายมนู เขียววจิ ิตร มีโอกาสไดเรยี นตะโพนไทย หนาทับสาธุการ จากขุนสําเนียงช้ันเชิง
(มน โกมลรัตน) เปนมือท่ีวิเศษมาก หากไมรอนไมคลอง ก็จะไมสามารถตีได และยังมีโอกาสไดเรียนเพิ่มเติมจาก
นายถีร ปเพราะ นายมิ ทรัพยเย็น และนายสมพงษ นุชพิจารณ โดยวาดวยเร่ืองหลักการบรรเลงเครื่องหนังไทยทุกชนิด
แตทน่ี ายมนู เขยี ววจิ ติ ร รัก และมชี อื่ เสยี งมาก นน้ั คือ ตะโพนไทย และกลองแขก ตวั ผู

เมื่อคร้ังประชันงานตาง ๆ ของบานดุริยประณีต นายมนู เขียววิจิตร มีหนาท่ีบรรเลงเคร่ืองหนังไทย หากเปน
เคร่ืองมอญ ก็จะตี ตะโพนมอญ หากเสภา ก็ตีสองหนา หากเปนปพาทยนางหงส และวงบัวลอย จะตีกลองแขกตัวผู

79|ห น า

สวน เปงมาคอก มีผูบรรเลงหลายคน แตเวลาประช้ันแลวนายวิเชียร พรหมจรรย และนายสมชาย ดุริยประณีต จะเปน
ผรู บั ตาํ แหนง นี้ สว นกลองแขกตวั เมยี มแี ตน ายสมชาย ดรุ ิยประณตี เปน ผบู รรเลง

ภายหลังเมื่อนายอนันต ดุริยพันธุ (นายกอย) เรียนเครื่องหนังไทยไดในระดับออกงานได จึงไดมาเขาคูกับ
นายมนู เขียววิจิตร สวนนายสมชาย ดุริยประณีต ก็หันไปบรรเลงฆองวงใหญแทน จากน้ันในป พ.ศ. 2503
นายมนู เขียววิจิตร ไดเขารับการอุปสมบท ณ วัดสามพระยา เม่ือลาสิกขาแลวจึงออกมารับราชการ
ท่กี องดุรยิ างคท หารบก ในตําแหนงเครือ่ งหนังไทย

จากคําบอกเลาของ นายอนันต ดุริยพันธุ ท่ีกลาวถึง นายมนู เขียววิจิตร คูกลองแขกท่ียาวนานกวา 30 ป
“อาจารยหยาย เปน คนทม่ี ือรอนมาก ตกี ลองทกุ อยางไดด เี ยยี่ มเลยทีเดยี ว เปน ทัง้ พี่ เปนทง้ั ครู ใหกับเรา มอี ยูคร้ังหน่ึง
พ่ีพงษ (นายสมพงษ นุชพิจารณ) คนท่เี ปน สดุ ยอดในการตกี ลองสองหนา แกยังเอย ปากพดู ออกมาวา “ถาเจอหยายพ่ีไม
เอานะ มือเจาหยายรอ นจริงๆ” เราก็เห็นตรงกับพ่พี งษนะ”

นายมนู เขียววิจิตร จากไปอยางสงบ เม่ือวันอาทิตย ท่ี 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556 ตั้งบําเพ็ญกุศลศพ ณ
วดั สังเวช กรุงเทพมหานคร เปน เวลา 3 วันแลวจงึ ทาํ การฌาปนกิจศพ สริ อิ ายไุ ด 75 ป

ชอื่ ภาพ : งานวนั เกิด นางดลฤดี เขยี ววจิ ิตร (บ)๋ี หลานสาวของนายมนู เขยี ววจิ ิตร
ทีม่ า : นายพจนา ดรุ ยิ พนั ธุ, 2562

80|ห น า

นายชนะ ดรุ ยิ พนั ธุ

ช่อื ภาพชนะ ดรุ ยิ พันธ,ุ นาย (พ.ศ. 2481 – 2559)
ท่ีมา : นายพจนา ดรุ ิยพันธุ, 2562

นายชนะ คุริยพันธุ เปนทายาทคนที่ 2 ใน 6 คน ของนายเหนี่ยว และนางแชมชอย ดุริยพันธุ อดีตคีตศิลปน
กรมศิลปากร และสํานกั ดนตรีไทยสายสกลุ ดุรยิ ประณีต เกิดวันจันทรท่ี 13 มิถุนายน 2481 ที่บางลําพู เมื่ออายุได 9 ป
เร่ิมเรียนปพาทยกับคุณตา คือ นายศุข ดุริยประณีต เปนผูจับมือเพลงสาธุการ ตอเพลงโหมโรงเชา และโหมโรงเย็น
ให ตอมาเรียนฆองวงกับ นายชั้น ดุริยประณีต เรียนเพลงเรื่องกับ นายข้ึน ดุริยประณีต เรียนหนาทับเคร่ืองหนังจาก
นายโชติ ดุรยิ ประณีต จนมคี วามรู ความสามารถพอเปนนักปพ าทยผ ูส ืบทอดดนตรีไทยรนุ หลานของบานดรุ ยิ ประณีต

นายชนะ ดุริยพันธุ เปนผูมีสติปญญาเฉลียวฉลาด เรียนเกง สนใจงานชางทุกชนิดมาตั้งแตเด็ก โดยเฉพาะ
ชา งไฟฟามคี วามรคู วามชาํ นาญเปนพเิ ศษ ดังน้นั หลงั จากเรยี นจบชั้นมธั ยมศกึ ษา จากโรงเรยี นทวธี าภเิ ษกแลว ไดเขาเรียน
ตอที่โรงเรียนชางกลปทุมวัน และวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ มหาวิทยาลัยราชมงคลปจจุบัน จนจบวิชาเอก
ทางอิเลก็ ทรอนิกส

หลังจบการศึกษาไดเขาทํางานที่สถานีโทรทัศน ไทยทีวีชอง 4 บางขุนพรหม ฝายชางเคร่ืองสงโทรทัศน
แตยังคงชวยงานดนตรีไทยคณะดุริยประณีต พรอมกันตลอดมา มีผลงานอยูเบื้องหลังการบันทึกแผนเสียงใหกับ
คณะดุริยประณตี และรว มบรรเลงอยูในวงดนตรีไทยทแี่ สดงทางโทรทศั นอ กี มาก

81|ห น า

นายชนะ ดุรยิ พนั ธุ ไดรับเลือกเขาทํางานรัฐวิสาหกิจเมื่อมีการกอตั้ง องคการสื่อสารมวลชน แหงประเทศไทย
ปฏิบัติหนาที่ในฝายชางเชนเดียวกัน ตอมาดวยความซ่ือสัตยสุจริต ขยันขันแข็ง จนไดเลื่อนตําแหนงเปนหัวหนางาน
ซอ มบํารงุ เครือ่ งสงโทรทศั น และหัวหนางานเทปโทรทัศน จนกระท่งั เกษียณอายุเมื่อป 2541 ไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณ
เบญจาภรณมงกฎุ ไทย และเบญจมาภรณชางเผือก

วาระสุดทายของ นายชนะ ดุรยิ พันธุ ลมปวยดวยโรคถุงลมโปงพอง และรับการรักษาท่ี โรงพยาบาลหลายครั้ง
สุดทายในชวงเวลา 3 นาฬิกา ของวันพฤหัสบดี ท่ี 11 สิงหาคม 2559 ไดถึงแกกรรมอยางสงบท่ีบานดุริยพันธุ
ยานบางลาํ พู สิริยายไุ ด 78 ป 1 เดอื น 29 วนั

ชอื่ ภาพ : นายชนะ ดรุ ิยพันธุ นั่งตรงกลาง ดา นหลงั ของนางสรุ างค ดุริยพันธุ และนางสุดจติ ต ดุรยิ ประณตี
บรรเลงประกอบการแสดงละครคณะนาฏศลิ ปสัมพนั ธ ณ ไทยทีวีชอ ง 4 บางขุนพรหม พ.ศ.2515
ที่มา : นายพจนา ดุรยิ พนั ธุ, 2562

82|ห น า

นายอนันต ดรุ ยิ พนั ธุ

ชอ่ื ภาพ : อนนั ต ดุรยิ พันธุ, นาย (พ.ศ. 2484 – ปจจบุ ัน )
ท่มี า : นายศภุ ณฐั นตุ มากลุ , 2561

นายอนันต ดุริยพันธุ เกิดวันอาทิตย ท่ี 7 กันยายน พ.ศ. 2484 ที่กรุงเทพมหานคร เปนบุตรของ
นายเหนย่ี ว ดรุ ิยพันธุ และนางชม ดุรยิ พนั ธุ มีพีน่ อ งรว มบิดามารดา 6 คนคอื

1. นางสรุ างค ดรุ ิยพันธุ อาชพี อาจารยพิเศษ สอนวิชาขับรอ งไทย ที่ สาขาวิชาดนตรีศึกษา
คณะครศุ าสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั

2. นายชนะ ดรุ ิยพันธุ สถานโี ทรทศั น ชอ ง 4 (ถงึ แกก รรม)
3. นายดวงเนตร ดรุ ิยพันธุ อาชีพ นักดนตรี สํานกั การสังคตี กรมศลิ ปากร (ถงึ แกก รรม)
4. นายอนันต ดรุ ิยพนั ธุ อาชีพ อาจารยพิเศษ สอนวิชาเคร่ืองหนังไทย ที่ สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร
จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย
5. นายนฤพล ดุริยพันธุ อาชีพ พนักงานธนาคารกรงุ เทพ สาํ นกั งานใหญ
6. นางพจนา ดุริยพันธุ อาชพี พนกั งานธนาคารกรงุ เทพ
นายอนนั ต ดุริยพนั ธุ จบการศกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 และ 2 โรงเรียนทวธี าภเิ ศก หลังจากน้ันไดยายไปเรียน
ท่ีโรงเรียนพิทยศึกษา จนสําเร็จการศึกษาถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 และยังเคยเขาศึกษาอบรมเก่ียวกับงานชาง
งานซอมบาํ รงุ หลกั สตู รพิเศษ 1 ป ท่ีโรงเรียนชา งกลปทมุ วนั กรงุ เทพมหานคร

83|ห น า

นายอนนั ต ดุริยพันธุ เรมิ่ เรียนดนตรีไทยตัง้ แตอายุ 8 ป กับบดิ า และมารดา รวมถงึ เรียนกับคุณตา และคุณยาย
เพราะวา ทกุ ทานเปน นักดนตรที ม่ี ฝี มอื และมีคณะดนตรีไทยเปนของตัวเอง คือดนตรีไทยบานดุริยประณีต เนื่องจากไดอยู
ในบานท่ีเปนคณะดนตรีไทย จึงไดศึกษาเลาเรียนวิชาดนตรีไทยจากผูที่มีความรู ความเชี่ยวชาญโดยตรง
ศึกษากับครูหลาย ๆ ทานในบานดุริยประณีต เชน หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล ณ อยุธยา ,นายโชติ ดุริยประณีต
,นายชืน้ ดุรยิ ะประณตี ,นายสืบสุด ดุริประณีต (นายไก) และนายสมพงษ นุชพิจารณ รวมถึงยังไดศึกษาเพิ่มพูนใหฝมือ
มีความชํานาญขั้นสูงขึ้นอีก จากนายโองการ กลีบช้ืน หลังจากเขารับราชการทหารในกองดุริยางคทหารบทแลว
ยงั ไดเขา รับการศกึ ษาวชิ าดนตรไี ทยเพม่ิ เติม เพอ่ื เพิ่มความรใู นการสอบเลือ่ นขนั้ ตาง ๆ

นายอนันต ดุริยพันธุ เขารับราชการเม่ือวันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2504 ท่ีกองดุริยางคทหารบท
ในแผนกวงโยธวาธติ ทําหนา ท่ีเปนผูบรรเลงดนตรีไทย ตําแหนงพลทหารอาสา จนถึงข้ันจาสิบเอกจนเกษียณอายุราชการ
โดยนายอนนั ต ดุรยิ พนั ธุ ประจาํ ตาํ แหนง เครื่องหนัง คูกับ นายมนู เขียววิจิตร ปจจุบันนายอนันต ดุริยพันธุ เปนอาจารย
พเิ ศษสอนวิชาเครื่องหนังไทย ที่สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนครูสอนดนตรีไทย
ในมูลนิธิดุริยประณีต เปนอาจารยพิเศษที่บานอาจารยโสวัตร ฉุยฉาย และเปนวิทยากรใหความรูกับนิสิตนักศึกษา
ทีม่ ีความสนใจเครื่องดนตรีประเภทเคร่ืองหนัง เชน มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และทําหนาที่เปนผูบรรเลงเครื่องหนังประกอบพิธีไหวครู คํานับครู
และครอบครู ของศิลปะในทกุ แขนง

ชอื่ ภาพ : นายอนันต ดรุ ยิ พนั ธุ ไหวต ะโพนกอนตอเพลงหนาพาทยใ หนายศภุ ณัฐ นุตมากลุ (ผวู ิจัย)
ท่มี า : นายศุภณฐั นุตมากุล, 2562

84|ห น า

ชอ่ื ภาพ : อาจารยก อยทํากํานลไหวครูกอ นบรรเลงบัวลอย
ทีม่ า : นางธัญญาพร ทวฒั นอ ษั ฎางค, 2562

85|ห น า

ประวัติ และพฒั นาการดา นการประชนั วงปพ าทยบ า นดรุ ยิ ประณตี

จากการท่ีผูวิจัยสัมภาษณบุคคลขอมูล รวมทั้งสืบคนขอมูลจากเอกสารเพ่ือนํามาตรวจสอบ ความเท็จจริง
โดยอาศัยการสอบถามจากบุคคลขอมูลท่ีรวมเหตุการณน้ัน ๆ และลูกศิษย ทายาทที่ไดรับฟงจากผูรวมเหตุการณน้ัน ๆ
ปรากฏวา ไมสามารถยืนยันวันเดือนป และสถานท่ีไดแนชัด เพราะไมมีการจดบันทึกไว จึงทําใหการสืบคนขอมูล
ในสวนของวนั เวลา สถานท่ี นัน้ ไมช ัดเจน ผูวิจัยจึงเขยี นเหตุการณนั้น ๆ ตามท่ีไดทําการตรวจสอบขอมูล และเปนขอมูล
ที่เท็จจริงเทานั้น ตามท่ีขอบเขตการวิจัยไดกําหนดไวมีเพียงแคในชวง พ.ศ. 2489 – 2506 เปนยุคท่ี
นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) เปนผูบรรเลงระนาดเอก แตเน่ืองจากสวนนี้เปนประวัติ และพัฒนาการ
ดานการประชันวงปพาทยบานดุริยประณีต ผูวิจัยจึงขอนําเสนอต้ังแตการประชันวงปพาทยบานดุริยประณีตคร้ังแรก
จนกระทงั่ สน้ิ นายสบื สุด ดุรยิ ประณีต (นายไก)

ชอื่ ภาพ : นายศุภณัฐ นตุ มากุล สัมภาษณ พันโทเสนาะ หลวงสนุ ทร ศลิ ปน แหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย)
พทุ ธศักราช 2555

ทมี่ า : นายศุภณฐั นุตมากุล, 2562

86|ห น า

ประวตั กิ ารประชันวงปพ าทยบ า นดรุ ยิ ประณตี
กา รป ระ ชัน ว งป พ า ทย บ าน ดุริ ยป ร ะณี ต เ กิ ด ขึ้ น ครั้ งแ ร กจ าก กา ร ที่ น าย ชื้ น ดุ ริ ยป ระ ณี ต

ไ ด ร ว ม ว ง บ ร ร เ ล ง ใ น ก า ร ป ร ะ ชั น ค ร้ั ง ใ ห ญ ที่ วั ง ล ด า วั ล ย เ ม่ื อ พ . ศ . 2 4 7 3 ซ่ึ ง เ ห ตุ ก า ร ณ ค รั้ ง น้ั น
นายช้ืน ดุริยประณีต ไดบรรเลงในตาํ แหนงระนาดเอกจากการที่ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เปนผูควบคุม
และฝกซอมใหกบั วงวังหลวง ในคร้ังนี้ นายชืน้ ดุริยประณตี มเี วลาเพียง 7 วัน ในการฝก ซอม และตอเพลงเพื่อข้ึนประชัน
ทุกคนคาดหวังในตัวนายช้ืน ดุริยประณีต เปนอยางมาก หลังจากท่ี หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
แจงใหนายช้ืน ดุริยประณีต ทราบวาตองขึ้นประชัน ทานก็เมตตาตอเด่ียวระนาดเอกเพลงอาเฮีย 3ช้ัน ไวใหกับ
นายชื้น ดุริยประณีต เพื่อข้ึนประชันในคร้ังน้ี การประชันคร้ังนี้เปนการประชันในวาระฉลองพระชนมครบ 4 รอบ
สมเด็จฯ เจา ฟากรมหลวงลพบุรรี าเมศวร โดยเปนการประชันท่ีเรียกวา “การประชันหนาพระท่ีนั่ง” มีการจัดใหบรรเลง
ดวยกันท้ังหมด 3 วง ระหวางวงวังหลวง (หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ผูควบคุมวง)
,วงพาทยโกศล (จางวางท่ัว พาทยโกศล ผูควบคุมวง) และ วงวังบางคอแหลม (หลวงประดิษฐไพเราะ
(ศร ศิลปบรรเลง) ผูควบคุมวง) โดยมีการกําหนดเพลง คือ เพลงโหมโรงอิสระ เพลงพมาหาทอน เถา
(ทําทางใหมใ นสวนของทอน 1) เพลงบุหลันชกมวย เถา (บุหลัน) เพลงทะแย (เดี่ยวรอบวง) เพลงแขกลพบุรี 3ชั้น หรือ
เถา เพลงอาเฮีย (เด่ียวรอบวง) ทยอยใน เถา เพลงกราวใน (บรรเลงเดี่ยวเคร่ืองตอเคร่ืองรอบวง) และจบดวย
เพลงพระอาทติ ยชิงดวง 3ชนั้ (เพลงลา) และน้ีกค็ ือจุดเร่ิมตนของการประชันวงปพ าทยบ า นดุรยิ ประณีต

ชอื่ ภาพ : สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟายุคลทิฆมั พร กรมหลวงลพบุรรี าเมศวร
ที่มา : นายพจนา ดรุ ยิ พนั ธ,ุ 2562

87|ห น า

พ.ศ. 2478 นายศขุ และนางแถม ดุริยประณีต ใหกําเนิดบุตรชายคนสุดทายเปนผูที่เกิดมาพรอมกับพรสวรรค
อนั ล้ําคา นั้นก็คอื ด.ช.สืบสุด ดุรยิ ประณีต (ไก) คร้ังเม่ืออายุ 10 ป ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก) ไดเรียนระนาดเอกกับ
นายชื้น ดุริยประณีต (พี่ชาย) โดยเฉพาะเพลงเดี่ยว ในขณะน้ันอายุเพียง 10 ป แตสามารถจดจําเพลงไดมาก จนถึง
เดี่ยวขั้นสูงของระนาดเอก นั้นก็คือ เดี่ยวระนาดเอกเพลงกราวใน 3ชั้น และยังสามารถสรางสรรคทํานองเองในกรณีที่
ไมถูกใจในบางชวงทํานอง บางก็วางายไป จึงทําการปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับมือตนเอง ตอมาในชวง พ.ศ. 2489
นายชนื้ ดรุ ยิ ประณตี ถกู เชญิ ไปสอนทจ่ี งั หวัดใกลเ คียงหลายจงั หวัด แตหลกั ๆ ประจําอยูบ านครูตา ที่บานศาลเจาโรงทอง
อําเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอางทอง ในชวงนั้น ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก) ติดตามพี่ชายไปทุกท่ีเพ่ือเพิ่มพูน
ประสบการณ เพลงการตาง ๆ วันหนึ่งวงบานครูตา ไดรับเชิญใหประชันกับ นายสํารวย แกวสวาง ผูที่เปนลูกศิษย
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) แตดวยความที่ นายช้ืน ดุริยประณีต สอนอยู ประกอบกับวงบานครูตา
ยังไมมีคนระนาดท่ีสามารถจะออกประชันได ทางครูตา จึงขอความชวยเหลือจาก นายชื้น ดุริยประณต ใหลงประชัน
ในตําแหนง ระนาดเอก แตดวยความที่นายชื้น ดุริยประณีต อาวุโสกวา จึงใหนองชาย คือ ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก)
ที่ติดตามมาลงประชันแทน ในขณะนั้น ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก) ยังไมไดตอเพลงหมูมากจึงตั้งแตเพลงเดี่ยว
เปนสว นมาก ในครั้งนีไ้ มมีการตัดสินแตอยางใด และถือวา ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก) ไดประสบการณในการประชัน
อยางมาก เพราะเปนครั้งแรก ของ ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก) ที่ไดลงประชัน จากนั้น ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก)
ก็ไดกลับมาท่ีบานดุริยประณีต เร่ิมฝกฝนทักษะมากขึ้น ท้ังไลระนาดเอกใหไหวขึ้น ทนขึ้น ตอเพลงหมูทั้งเพลงไทย และ
เพลงมอญ ปรับเปล่ียน วิธีการบรรเลง จากพระยาเสนาะดุริยางค (แชม สุนทรวาทิน) และนายโชติ ดุริยประณีต
ผเู ปนพ่ีชาย

ชอ่ื ภาพ : นายศุภณัฐ นตุ มากุล สมั ภาษณ นายวเิ ชียร พรหมจรรย ผูบรรเลงในวงดรุ ยิ ประณีต รุนเล็ก
ที่มา : นางสาววีณา เรยี่ วแรง, 2562
88|ห น า

เม่ือ ด. ช. สืบสุด ดุริยป ระณีต (ไก) เ ติบ โต ข้ึ น (พ . ศ. 2 4 90) ผู ใหญ ในบานดุ ริ ยป ระณี ต
เห็นความอัจฉริยภาพในตัวของ ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก) จึงคิดกอต้ังวงปพาทยบานดุริยประณีต รุนเล็ก ข้ึน
โดยอาศัยรับงานตาง ๆ เพื่อเพิ่มประสบการณใหกับรุนเล็กนี้ มี ด.ช.สืบสุด ดุริยประณีต (ไก) บรรเลงระนาดเอก
หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล บรรเลงฆองวงใหญ ด.ช.สมชาย ดุริยประณีต บรรเลงเครื่องหนัง และฆองวงใหญ
ด.ช.อนันต ดุริยพันธุ บรรเลงเครื่องหนัง และฆองวงเล็ก ด.ช.ชูใจ ดุริยประณีต บรรเลงเคร่ืองประกอบจังหวะ
ด.ช.ชนะ ดุริยพันธุ บรรเลงเครื่องหนัง และเคร่ืองประกอบจังหวะ ด.ช.มนู เขียววิจิตร บรรเลงเครื่องหนัง
และเครอื่ งประกอบจังหวะ ด.ญ. สุดจิตต ดุริยประณีต ขับรอง เปนหลัก สวน นายโชติ ดุริยประณีต นายชื้น ดุริประณีต
นางสุดา (ดุริยประณีต) เขียววิจิตร นางชม (ดุริยประณีต) รุงเรือง นางแชมชอย (ดุริยประณีต) ดุริยพันธุ นางทัศนีย
(ดุริยประณตี ) พณิ พาทย คอยชวยเหลอื หรอื ลงบรรเลงในยามที่คนประจาํ วงไมอ ยู

จากนั้นก็พัฒนาทักษะต ลอดมาจนกระทั่ง พ. ศ.2493 วงป พาทยบ านดุริยประณีต รุนเล็ ก
จึงสมบรู ณ โดยมี นายสืบสุด ดรุ ิยประณตี (นายไก) บรรเลงระนาดเอก นายสมชาย ดุรยิ ประณีต บรรเลงฆองวงใหญ และ
เคร่ืองหนัง นายสุชาติ คลายจินดา บรรเลงระนาดทุม นายวิเชียร พรหมจรรย บรรเลงฆองวงเล็ก และเปงมางคอก
นายสมนึก บุญจําเริญ บรรเลงเครื่องเปา นายชนะ ดุริยประณีต บรรเลงเครื่องหนัง และเคร่ืองประกอบจังหวะ
นายมนู เขียววิจิตร บรรเลงเคร่ืองหนัง และเครื่องประกอบจังหวะ นายอนันต ดุริยพันธุ บรรเลงเคร่ืองหนัง
และเครื่องประกอบจังหวะ หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล บรรเลงเคร่ืองหนัง และเคร่ืองประกอบจังหวะ
นายชูใจ ดุริยประณีต บรรเลงฉ่ิง นายศิริ วิชเวช ขับรองชาย นางชม รุงเรือง ขับรองหญิง(เพลงมอญ)
นางสุดจิตต ดุริยประณีต ขับรองหญิง(เพลงไทย) ในปนี้ไดเร่ิมประชันเปนครั้งแรกในนามวงปพาทยบานดุริยประณีต
ซึ่งประชันกับวงของนายสกล แกวเพ็ญกาศ ในงานสวดพระอภิธรรมศพ งานนี้ต้ังเคร่ืองปพาทยมอญ ดวยเหตุ
ท่ีไดไปประชันเน่ืองจากเจาภาพไดหาวงของครูเฉลิม บัวทั่ง ไปประชัน แตดวยวงครูเฉลิม บัวทั่ง คนไมพรอม
ครูเฉลิม บัวทั่ง จึงชักชวนใหวงปพาทยบานดุริยประณีตมาประชันแทน ดวยความเปนมิตรไมตรีตอกัน
ทางบานดุริยประณีตจงึ ตอบตกลงรับคาํ เชญิ ในการประชนั คร้งั นีไ้ มม กี ารตัดสินใด ๆ

89|ห น า

ชอ่ื ภาพ : นายศุภณัฐ นุตมากุล สัมภาษณ นางบุญเย่ยี ม มีสาตร (นกั รองวงครูสกล แกวเพ็ญกาศ)
ท่มี า : นางสาววณี า เรีย่ วแรง, 2562

ความอัจฉริยภาพของ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) เพ่ิมมากข้ึนเรื่อย ๆ จนกระทั่งไดมาเจอกับ
นายบุญยงค เกตุคง ผูที่คอยชวยเหลือสนับสนุนให นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) พัฒนาศักยภาพใหไดตรงจุด
คอยแนะนาํ วธิ ีการไลร ะนาด การคดิ สรา งสรรคใ นทาํ นองเพลง การประดิษฐส าํ นวนกลอนระนาดเอก การแสดงทักษะขั้นสูง
ในเพลงเดี่ยวระนาดเอก และการแกเพลงในการประชันวงปพาทย อีกท้ังยังคอยเปนผูช้ีแนะตาง ๆ ใหกับบุคคลใน
วงดุริยประณีต รุนเล็ก น้ีอีกมาก เชน แนะเพลงใหกับ นายสมชาย ดุริยประณีต วาเพลงเดียวกัน แตเวลาบรรเลง
ใหเ ลือกรูปแบบวง หากเปน ไมนวมตองตง้ั แนวใหชา ไมแข็งก็ตอ งตั้งใหตงึ เพราะเปนคนฆองวงใหญ ตองคอยชวยสนับสนุน
คนระนาดเอกอยาง นายสืบสุด ดรุ ิยประณีต (นายไก)

ชอื่ ภาพ : นายศภุ ณัฐ นตุ มากลุ สมั ภาษณ ศาตราจารยเกยี รติคุณ นายแพทย พนู พศิ อมาตยกุล
ทมี่ า : นายกติ ติพล คลา ยมุข, 2562
90|ห น า

ในปเดียวกันนี้ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ไดบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกออกรายการวิทยุ
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) ทา นนั่งฟง วทิ ยอุ ยทู ี่บา นเกดิ ความสนใจในรสมอื และวิธีการบรรเลง ที่มีทักษะที่ดี
ทานนึกอยากไดคนน้ีเปนลูกศิษย แตในขณะน้ัน หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ทานยังไมทราบวา
ผูบรรเลงคือใคร จนกระทั่งในงานไหวครูบานบาตร เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2493 นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
นําวงปพาทยบานดุริยประณีตไปถวายมือในงานไหวครูที่บานบาตร เร่ิมตั้งแตรัวประลองเสภา โหมโรง เพลงเสภา
เพลงทยอย เพลงเด่ียว และเพลงลา ซึ่งในงานน้ีเปนการถวายมือ ที่ประชันกันอยางไมมีกรรมการตัดสินแตอยางใด
โดย หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ใหนายถุงเงิน ทองโต จัดวงบรรเลงสอดรับกับวงดุริยประณีต
ตามธรรมเนียมเจาบาน เพื่อใหเปนอรรถรสในงานไหวครู หลักจากท่ีวงดุริยประณีต รุนเล็ก กลับไปนั้น กอนจะหมดวัน
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ก็ไดเมตตาตอบรรดาลูกศิษยลงจากเรือนมาเด่ียวระนาดเอก
ใหลูกศิษยรับชมรับฟง ถือเปนการจบวันสุกดิบอยางสมบูรณกอนบรรดาลูกศิษยจะแยกยายกันไ ป
เตรียมงานไหวครูในรุงเชา และเขานอนกันตามอัธยาศัย และสุดทายหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
ทานจึงไดท ราบวาผูบ รรเลงระนาดเอกในวันกอ นที่ออกอากาศรายการวทิ ยุน้ัน คือ นายสบื สดุ ดุริยประณีต (นายไก)

ชอื่ ภาพ : นายศุภณฐั นุตมากลุ สัมภาษณ นายอัษฎาวธุ สาครกิ
ที่มา : เลขานุการของนายอษั ฎาวธุ สาคริก, 2562

91|ห น า

พ.ศ. 2494 นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) นักระนาดเอกประจําวงปพาทยบานดุริยประณีต
เร่ิมมีประสบการณในการประชันเพิ่มข้ึน พรอมกับทักษะที่พัฒนามากข้ึนทางผูใหญในบานดุริยประณีต
จึงล งความเ ห็นกั นรั บงานประชันคร้ั งน้ี แล ะในการประชันวงปพ าทยคร้ั งนี้ วงดุริ ยประณี ต รุนเล็ ก
ไดลงประชนั ครบทุกคน โดยไดชักชวนให ด.ญ.สรุ างค ดรุ ยิ พนั ธุ มาเปนผขู บั รองหญิง ใหในวงดุริยประณีต รนุ เลก็ การซอม
เพลงกันภายในบานดรุ ิยประณตี คร้ังนมี้ ีกลวธิ ีในการซอ มท่ีแยบยลยิ่งนัก คือ ในชวงเวลา 14.00 นาฬิกา จะใหผูบรรเลง
เคร่ืองประกอบจังหวะ หรือลูกศิษยภายในบานดุริยประณีต นั้นมาจัดวงซอมเพลง เริ่มตั้งแตเครื่องมอญ เพลงย่ําค่ํา
เพลงเกร็ด เพลงรอง ตาง ๆ และเปลี่ยนมาซอมเครื่องไทย ดวยเพลงเรื่องนางหงสตาง ๆ เพลงปรบไก เพลงทยอย
และจบดวยเพลงเด่ียวตามเครื่องมือตาง ๆ พอถึงเวลา 20.00 นาฬิกา บานดุริยประณีต จะเงียบสนิทเนื่องจาก
พักรับประทานอาหาร และสังสรรคดื่มกันตามปกติ แตพอถึงเวลา 22.00 นาฬิกาเปนตนไปน้ัน จะจัดวงดุริยประณีต
รนุ เล็ก มาซอ ม ตามลําดบั เพลงทเี่ ตรยี มไปประชัน กลวธิ ีนนี้ ายช้ืน ดุริยประณีต และนายโชติ ดุริยประณีต เปนผูวางแผน
ดวยเหตุที่ชอบ มีวงประชันน่ังเรือมาดักฟงอยูท่ีทาน้ําอยูบอยคร้ัง นายชื้น ดุริยประณีต และนายโชติ ดุริยประณีต
จงึ วางแผนเชนนี้ โดยการประชนั ครงั้ น้เี ปนการประชันกับวงของนายแสวง คลายทมิ (กาํ นันแสวงบานคลัง) ที่ยาวนานมาก
7 วัน 7 คืน ยันรุงเชา ซ่ึงการประชันคร้ังนี้ ด.ญ.สุรางค ดุริยพันธุ ขอให นางแชมชอย ดุริยพันธุ (มารดา) ตอขับรอง
เพลงตอ ยรูป 3ช้นั สําหรับไวร องให นายสบื สดุ ดุริยประณีต (นายไก) เดยี่ วระนาดเอก การประชนั ครงั้ นี้จดั ข้นึ ทวี่ ดั เจาเจ็ด
อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใชวิธีต้ังพาน จับวงต้ัง และวงประชัน จบเพลงจับใหมตางคนตางไมรูเพลงกัน
มากอ น แกเ พลงกนั ไมไดก็แพไป สวนมากในการประชันครั้งนี้วงปพาทยบานดุริยประณีต เลือกวิธีตีทับเพลง เพ่ือขมขวัญ
วงประชันใหเสียขวัญ เพราะไดเปรียบในเชิงระนาดเอก จึงใชวิธีแกเพลงตอเพลงในเพลงเดียวกันทุกเพลงต้ังแต
เพลงยา่ํ ค่ํา จนกระทั่งถงึ เดี่ยวกราวใน 3ชนั้ (รอบวง /ทกุ เครอ่ื งมือ)

ชอื่ ภาพ : นายศภุ ณัฐ นตุ มากลุ สัมภาษณ นายศิริ วชิ เวช ศลิ ปนแหงชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (คีตศิลป) พ.ศ. 2551
ทม่ี า : นางสาววีณา เรี่ยวแรง, 2562
92|ห น า

ในปเดยี วกนั น้ี (พ.ศ.2494) เดือนสิงหาคม ณ พิธีไหวครูที่บานบาตร จัดการประลองตอแนวการบรรเลงเด่ียว
ระนาดเอก เพลงแขกมอญ 3 ช้ัน ซ่ึงเปนทางที่ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เปนผูประพันธทางไว
โดยต้ังทั้งหมด 6 ราง ประกอบไปดวย รางท่ี 1 นายเผือด นักระนาด รางที่ 2 นายประสิทธ์ิ ถาวร
รา ง ท่ี 3 น า ย ถุ ง เ งิ น ท อ ง โ ต ร า ง ที่ 4 น า ย บุ ญ ย ง ค เ ก ตุ ค ง ร า ง ที่ 5 น า ย บุ ญ ธ ร ร ม ค ง ท รั พ ย
และรางท่ี 6 นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ในการประลองครั้งน้ี นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) รับแนวตอจาก
นายบุญธรรม คงทรพั ย ไมไ ดเ น่อื งจากตนเองอยูรางสดุ ทา ย และพยายามจะข้ึนแนวใหไดด่ังใจตน สุดทายดวยความไหว
ของนายบญุ ธรรม คงทรัพย จึงทําให นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) รับแนวตอไมไหวตามแนวท่ีต้ังมา เมื่อเสร็จงาน
นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) รูตัววาตนเองยังไมใชผูท่ีบรรเลงระนาดเอกไหวที่สุด ยังคงมีผูที่มีทักษะเหนือกวาตน
จึงเปนตนเหตทุ ่ที าํ ให นายสบื สดุ ดรุ ยิ ประณตี (นายไก) กลบั มาไลระนาดเอกหนกั มากขนึ้ กวาเดมิ

หลังจากการประลองตอแนวในครง้ั น้นั นายสบื สุด ดุรยิ ประณตี (นายไก) ตื่นนอน 04.00 นาฬกิ า ซึ่งตื่นเร็วกวา
ปกติ แตเดิมเคยตื่นเวลา 05.00 นาฬิกา น่ังไลระนาดอยูทางชานเรือนที่ตนเองพักอาศัย บริเวณรอบน้ันเปนที่อยูของ
เครือญาติ ทุกคนตื่นนอนมาจะไดยินเสียงไลระนาดเอกของ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ทุกวันไมเวนวันใด
แมจะปวยก็ตาม ผูท่ีมีสวนเก่ียวของในการไลระนาดเอกของ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) นั้นคือ
ด.ช.อนันต ดรุ ยิ พันธุ มีหนาทบ่ี รรเลงกลองสองหนา อยูตลอดจนกระทั่งเวลา 07.00 นาฬิกา โดยนายสืบสุด ดุริยประณีต
(นายไก) จะเร่ิมไลร ะนาดเอกดวยเพลงเด่ียวท้งั สิ้น โดยเฉพาะเด่ยี วระนาดเอกเพลงพญาโศก เถา และเพลงกราวใน 3 ช้ัน
ท้ัง 2 เพลงนี้ ไลท้ังหมดอยางละ 5 รอบ ตั้งแนวการไลดวยความเร็วกวาปกติท่ีบรรเลงทั่วไป วันใดมีเวลา
นายสบื สุด ดุริยประณีต (นายไก) ก็จะชักชวน นายสมชาย ดุริยประณีต (บรรเลงฆองวงใหญ) นายสุชาติ คลายจินดา
(บรรเลงระนาดทุม) ด.ช.อนันต ดรุ ิยพนั ธุ (บรรเลงกลองสองหนา) หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล (ควบคุมจังหวะ) ซอมกัน
ทบี่ านดรุ ยิ ประณตี เปน เวลาท้ังวัน จะหยดุ พกั ตอเมอ่ื ถึงเวลารบั ประทานอาหาร เร่ิมจาก เพลงโหมโรงไอยเรศ เพลงปรบไก
เพลงทยอย และเพลงเดี่ยว เวลาซอมเพลงเดี่ยวกันจะสลับกันตีตามเครื่องมือ นายอนันต ดุริยพันธุ กลาววา
“ครูนี้เสยี เปรยี บพวกพี่ ๆ นา ๆ เพราะครตู กี ลองสองหนา ไมไดห ยดุ พกั อยา งพวกเขาเลย (หัวเราะ) แตน ัน้ คอื ผลประโยชน
ท่คี รไู ดร ับจนทกุ วันนี้ เพราะไลข นาดนนั้ จงึ มกี ําลงั จนอายุ 78 น้ีแหละ สมยั น้นั นะ นาไกปลุก ตี 4 ทุกวันเลย ใหมาไล
สองหนา เวลาแกเดย่ี วไลมอื วันไหนวา งนะ ไลกันทง้ั วนั พวกพีห่ มัด นาไก ครตู ู โห....ไลกนั ไมไ ดพัก เจาหยายกม็ าบาง
ไมมาบา งเราก็เลย ตองไลสองหนาคนเดียวเลย แตท่ีไลบอยสุดเลยก็กราวในน้ีแหละ ทุกเคร่ืองมือ บางก็ 3 รอบ
บางก็ 5 รอบ”

93|ห น า

ชอ่ื ภาพ : ชานเรอื นที่ นายสบื สุด ดรุ ิยประณีต (นายไก) ไลระนาดเอก (ปจ จบุ ัน)
ท่มี า : นายศภุ ณฐั นตุ มากลุ , 2562

ชอื่ ภาพ : นายศภุ ณัฐ นตุ มากุล สมั ภาษณ นายอนันต ดุริยพันธุ
ท่มี า : นางสาววีณา เรี่ยวแรง, 2562

ตอ มา พ.ศ. 2495 ในเดือนสงิ หาคม นายสืบสดุ ดุรยิ ประณตี (นายไก) ตง้ั ใจไปบรรเลงเดี่ยวระนาดเอกถวายมือ
ในงานไหวครูสํานักบานบาตร (วันสุกดิบ) จึงชักชวน นายสมชาย ดุริยประณีต (กลองสองหนา) และ
หมอมหลวงสุรักษ สวัสดิกุล (ฉ่ิง) ใหไปชวยบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบจังหวะ โดยกติกาที่สํานักบานบาตรมีอยูวา

94|ห น า

ผูใดมาบรรเลงถวายมือ จะตองบรรเลงระนาดเอกที่ทางสํานักบานบาตรเตรียมไวให พรอมกับไมตีที่วางอยูบนระนาดเอก
เทานั้น แตดวยความคะนองในวัยนั้นของ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ใหนายสมชาย ดุริยประณีต (หลาน)
พกไมร ะนาดเอกสว นตัวซอนไวในแขนเส้ือ (เส้ือเชิ้ตแขนยาว) เมื่อถึงเวลาบรรเลงก็ทําการสับเปล่ียนไมโดยมิใหผูใดเห็น
โดยเลือกบรรเลงเดี่ยวระนาดเอก เพลงกราวใน 3ช้ัน เมื่อนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) บรรเลงเด่ียวระนาดเอก
เพลงกราวใน 3ช้ัน จบ ดวยมารยาททางนักดนตรีท่ีไดรับมาการสั่งสอนมาจากครอบครัวดุริยประณีต ทั้ง 3 คน
จึงคลานเขาเขาไปกราบ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) และลากลบั ทนั ที ดว ยการเดี่ยวระนาดเอกเพลงกราวใน
3ช้ัน และเปล่ียนไมตีไมทําตามกติกานั้นจึงทําใหผูคนภายในงานมองภาพลักษณวา นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
นนั้ เปนคนกาวรา ว ไมมมี ารยาท ดวยเหตผุ ลหลักของการเปลยี่ นไมต ีระนาดเอกน้ัน คือ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
ไมถ นัดบรรเลงระนาดเอก ดว ยกานไมท่ีแข็ง ซ่ึงไมสวนตัวที่นํามาเองน้ัน กานออน เรียวเล็ก เบามาก หลังจากท่ี 3 คนน้ี
ลากลับไป ก็ใกลเวลาจะเลิกงานวันสุกดิบ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ทานจึงลงมาเด่ียวระนาดเอก
เพลงกราวใน 3ชั้น เปนคร้ังสุดทายซึ่งนั้นคือ ธรรมเนียมของวันสุกดิบที่ทางสํานักบานบาตรยึดถือปฏิบัติกันสืบมา
กอนงานจะเลิกเพลงแตละครั้งก็จะแตกตางกันไป และน้ันเปนการลงมาบรรเลงคร้ังสุดทายของ หลวงประดิษฐไพเราะ
(ศร ศิลปบรรเลง) กอนท่ีทานจะลมปวย พันโทเสนาะ หลวงสุนทร ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย)
พุทธศกั ราช 2555 กลาวไววา “ในงานนี้ ฉันก็อยูนะ จําไดดีเลย ทานครู (หลวงประดิษฐไพเราะ ศร ศิลปบรรเลง)
ยงั เรียกใหฉันขนึ้ ไปตีตอ จากเจา ไกเ ลย แตฉนั รวู าฉนั ตีไดไ มเทาเขาหรอก เขาท้ังไหว ทั้งรอน ทั้งเสียงโต แตเสียดาย
เจาไกอะ เขาขี้เกียจ ฉันบอกเขาตลอดวาใหขยันไลใหมากขึ้นกวาน้ี และที่สําคัญนะ ไมระนาดเอกเขาน้ีไมธรรมดา
อยางคนอน่ื เขาหรอก เขายื่นใหฉนั ดกู อ นหนา นี้แลว ฉนั วา กา นอยา งกบั กานไมมะยม ออน เรียวเล็ก ฉันตีไมไดเลย
เขาบอกนแ้ี หละที่ชอบ พอเจาไกเ ขาไปกราบลา ก็กลบั บา นกันเลย ทานครู (หลวงประดิษฐไพเราะ ศร ศิลปบรรเลง)
กอ นเลิกทา นก็เด่ียวกราวใน 3ชั้น แลว ก็แยกยา ยกนั ตามอธั ยาศัยเตรียมรอเขาพิธีไหวครตู อนเชา”

95|ห น า

ชอ่ื ภาพ : พันโทเสนาะ หลวงสนุ ทร ศลิ ปนแหง ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) พทุ ธศกั ราช 2555
วาดภาพลักษณะไมระนาดเอกประจาํ ตวั นายสืบสุด ดรุ ิยประณีต (นายไก)
ท่มี า : นายศภุ ณัฐ นุตมากลุ , 2562

ตอมาในป พ.ศ.2498 วงปพาทยบานดุริยประณีต ไดรับเชิญใหไปประชันกันที่จังหวัดสุพรรณบุรี
เปนงานสวดพระอภิธรรมศพ โดยงานน้ีเปนการประชันกับวงของนายฮง (ไมทราบนามสกุล) มีนายอุทัย แกวละเอียด
ปจ จบุ นั เปน ศิลปนแหง ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) พทุ ธศักราช 2552 บรรเลงระนาดทุมใหกับวงของนายฮง
(ไมทราบนามสกุล) ในงานนี้วงปพาทยบานดุริยประณีตไดเลือกนักรองชายมารอง คือ นายศิริ วิชเวช ปจจุบัน
เปนศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป) พุทธศักราช 2551 โดยเลือกวงดุริยประณีต รุนเล็ก ลงประชัน
ในการประชันครั้งนี้มีเหตุการณไมคาดคิดเกิดข้ึน คือ นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ปลดผืนระนาดเอกออกจาก
รางระนาดเอก และใหผูรวมวง 2 คนถือผืนระนาดเอกเดินไปรอบ ๆ งาน สวน นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก)
ก็เดินตไี ปเรือ่ ย ๆ มกี ารหยดุ ย่วั ยคุ ปู ระชันอยูพกั หนงึ่ หนาวงคปู ระชัน ซงึ่ เปน ปรากฏการณใหมท่ีเกดิ ขน้ึ กบั วงการการประชัน
ดนตรีไทย สวนนายศิริ วิชเวช ก็รองประชันทับทุกเพลงไมวาจะเปนเพลงใดก็ตาม การประชันครั้งน้ีไมมีการตัดสินใด ๆ
เปน มหรสพประกอบงานสวดพระอภธิ รรมศพเทา นั้น พอจบการประชันตา งคนก็ตางเขาหากันเพื่อสรางสัมพันธไมตรีตอกัน
นายอุทัย แกวละเอียด ศลิ ปน แหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรไี ทย) พุทธศักราช 2552 กลาววา “ประชันคร้ังหนึ่ง
ที่จังหวัดสุพรรณบุรี ครูไปกบั วงนายฮง วงนีไ้ มไ ดด งั อะไรมากหรอก ไปเพราะครูสนิทกบั พวกเขา พอรูวา ตอ งประชันกับ
ดุริยประณตี นะ โอโห !! ครูตอ งไลร ะนาดทมุ อยา งหนกั เลย รวู า ฝงนนู พอ ชาตเิ ขาตี สวนไกห รอ เรารูอ ยแู ลว เขาดงั จะตาย

96|ห น า

ตีระนาดไมมีใครสูหรอก พอถงึ วนั งานไกเขาก็เลนแผลง ๆ ยกผืนระนาดเดินตีท่ัวศาลาเลย ครูยังนึกขําอยูทุกวันน้ีเลย
ทาํ ไปไดยงั ไง พอเลิกงานก็ไปกนิ ขาวกัน คยุ กนั สนกุ สนานเฮฮาแบบเพ่อื นรกั กันนแ้ี หละ”

ชอ่ื ภาพ : นายศภุ ณัฐ นตุ มากลุ สัมภาษณ นายอทุ ยั แกว ละเอียด ศลิ ปน แหง ชาติ
สาขาศลิ ปะการแสดง (ดนตรไี ทย) พุทธศกั ราช 2552
ทม่ี า : นางสาววณี า เร่ียวแรง, 2562

ใน ป ต อ ม า พ . ศ . 2 4 9 9 น า ย สื บ สุ ด ดุ ริ ย ป ร ะ ณี ต ( น า ย ไ ก ) เ ดิน ท า ง ไ ป จั ง ห วั ด ล พ บุ รี
กบั นายชืน้ ดุริยประณีต (พี่ชาย) แตไ มท ราบวา มีการประชัน เห็นวา ต้ัง 2 วง คือวงของ นายเบี่ยง บุญเพิ่ม และอีกวงเปน
วงของนายพินิจ ฉายสุวรรณ (สนม ระนาดเอก) ในเหตุการณคร้ังน้ีเกิดขึ้นจาก นายเบี่ยง บุญเพ่ิม เดี่ยวระนาดเอก
เพลงลาวแพน 2ชั้น อยูกอน และนายพินิจ ฉายสุวรรณ (สนม ระนาดเอก) ก็ไดเดี่ยวระนาดเอกเพลงลาวแพน 2ชั้น
เหมือนกัน พอนายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) เห็นเขาจึงไดบรรเลงเด่ียวระนาดเอกเพลงลาวแพน 2ชั้น
ทับนายพินิจ ฉายสุวรรณ (สนม ระนาดเอก) อีกที ดวยเหตุที่นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) มาดวยกันกับวงของ
นายเบี่ยง บุญเพ่ิม จึงเกิดการประชันในขณะน้ัน เม่ือถึงเวลาคํ่า นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ตั้งเด่ียวระนาดเอก
เพลงกราวใน 3ช้ัน ตอมาดวยเพลงสารถี 3ช้ัน จนถึงเพลงทยอยเด่ียว โดยวางอุบายการบรรเลงเพลงเดี่ยวยากสลับกับ
การบรรเลงเดี่ยวงายสลับกันไปมาจนถึงเวลาดึกกอนจะจบงาน นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) ก็ไดเดี่ยวระนาดเอก
เพลงพญาโศก 3ชั้น เพราะรูวายังไงแลวนักระนาดเอกที่สามารถขึ้นประชันตองบรรเลงเด่ียวระนาดเอก
เพลงพญาโศก 3 ช้ันได ตรงไปตามท่ี นายสืบสุด ดุริยประณีต (นายไก) วางอุบายไว นายพินิจ ฉายสุวรรณ

97|ห น า


Click to View FlipBook Version