The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Charee Kinju, 2022-12-12 03:26:54

หลักสูตรประถม

หลักสูตรประถม

การอนมุ ตั หิ ลกั สตู รสถานศกึ ษาศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสไุ หงโก-ลก (ฉบบั พัฒนา
พุทธศักราช 2563) ระดับประถมศกึ ษา ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช

2551
ที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอสไุ หงโก-ลก
ครัง้ ที่ 2 ปีงบประมาณ 2563 เมอ่ื วนั ที่ 4 เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. 2563 ได้พิจารณาหลักสตู รสถานศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสไุ หงโก-ลก (ฉบบั พัฒนา พุทธศักราช 2563) ระดับประถมศึกษา ตาม
หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เรยี บรอ้ ยแลว้
เห็นชอบให้ใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษาศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงโก-ลก
(ฉบบั พฒั นา พุทธศักราช 2563) ระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 ได้ ต้ังแต่ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เป็นตน้ ไป

ลงชอื่ ...................................................... ผเู้ หน็ ชอบ
( นายล้อม ต้นิ หนู)

ประธานกรรมการสถานศกึ ษา

ลงชือ่ ......................................................ผอู้ นุมตั ิ
( นางสาวพรี ภาว์ ทองแดง )

ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสไุ หงโก-ลก

คำนำ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใชห้ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช
2551 เม่ือวนั ที่ 18 กนั ยายน เป็นหลกั สตู รท่ีมุ่งจัดการศกึ ษาเพือ่ ตอบสนองอุดมการณ์ การจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ
และสร้างสงั คมไทยให้เปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้ ตามปรัชญา “คิดเป็น”เพอ่ื สร้างคุณภาพชีวติ และสังคม โดยให้
สอดคลอ้ งกับความต้องการของกล่มุ ผู้เรยี น และความเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกจิ และสังคม เพือ่ สร้างให้ผ้เู รยี นมี
คุณธรรม จริยธรรม มีสตปิ ัญญา มศี ักยภาพในการประกอบอาชีพ ดารงชีวติ อยู่ในครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ไดอ้ ย่างมี
ความสขุ
ดงั น้นั เพื่อให้การนาหลักสูตรไปสูก่ ารจดั การเรียนรู้ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ กศน.อาเภอสไุ หงโก-ลก จึงได้
พัฒนาและจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ
เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยตอ่ ไป

นางสาวพีรภาว์ ทองแดง
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสไุ หงโก-ลก

1 พฤษภาคม 2565

สารบัญ

เรอ่ื ง หนา้
คานา
สารบัญ 1
บริบทพ้ืนฐาน 1
ประวตั ิความเป็นมาจงั หวดั นราธวิ าส 2
นโยบายพฒั นาของจังหวดั นราธวิ าส 2
ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั นราธิวาส 3-7
ขอ้ มลู อาเภอสไุ หงโก-ลก 8-11
ขอ้ มูลสถานศกึ ษา 12-14
สรุปข้อมูลสถานศึกษา 15-18
เปา้ หมายการจัดการศกึ ษา 18-19
สาระการเรยี นรู้ 20-35
สาระทกั ษะการเรยี นรู้ 36-71
สาระความร้พู ้นื ฐาน 72-87
สาระการประกอบอาชีพ 88-102
สาระการดาเนนิ ชีวติ 103-117
สาระการพฒั นาสังคม 118-119
เอกสารอา้ งองิ

1

บริบทพื้นฐาน

ประวตั คิ วามเป็นมาจงั หวดั นราธวิ าส

จงั หวดั นราธวิ าส เดมิ เป็นเพียงหมบู่ า้ นชาวประมง ซ่ึงตง้ั อยปู่ ากแม่น้าบางนราติดชายทะเลอา่ วไทย ในสมยั
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช บา้ นบางนราถกู จดั ใหอ้ ย่ใู นเขตปกครองของเมืองสายบรุ ี ตอ่ มา
ถกู ย้ายมาอยใู่ นปกครองของเมอื งระแงะ ซง่ึ เป็น เมืองหนงึ่ ในมณฑลปัตตานี ปี พ.ศ. 2355 เกิดมี โจรรา้ ย
ปล้นสะดมมากมายในมณฑลปตั ตานี เหลอื กาลงั ท่ีพระยาปัตตานจี ะจดั การลงได้ จงึ ขอความชว่ ยเหลือ ไปยงั พระยา
สงขลา ให้ช่วยมาปราบปรามจนสาเร็จ พรอ้ มท้งั วางนโยบายแบ่งแยกเมืองปตั ตานอี อกเป็น ๗ หัวเมอื ง คอื เมอื ง
ปัตตานี เมอื งหนองจกิ เมืองยะลา เมืองรามัน เมืองระแงะ เมืองสายบรุ ี และเมืองยะหริง่

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัวเกดิ กบฏใน 4 หัวเมืองปักษใ์ ต้ โดยมีพระยาปัตตานี พระยา
หนองจกิ พระยายะลา และพระยาระแงะ สมคบร่วมกัน พระยาสงขลา จงึ ยกกาลังมาปราบปรามโดยมี พระยายะ
หริง่ เป็นกาลังสาคัญชว่ ยทาการปราบปรามจนสาเร็จ ภายหลงั ได้รบั การแตง่ ตั้งให้เปน็ ผรู้ ักษาราชการ เมืองระแงะ
สบื ต่อจากพระยาระแงะท่ีหลบหนไี ป และไดย้ ้ายทว่ี า่ ราชการจาก บา้ นระแงะมาตงั้ ใหม่ ท่ีตาบลตันหยงมสั หรือ
อาเภอระแงะ ในปจั จบุ นั

ปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ วั ทรงยกเลกิ การปกครองแบบเกา่ ขณะเดยี วกับ
บ้านบางนราได้เจริญข้ึนเป็นชุมชนใหญ่ จนกลายเป็น เมืองศนู ยก์ ลางทางการค้าขายท้งั ทางบก และทางทะเล และ
เพื่อใหก้ ารดูแลและขยายเมอื งเปน็ ไปด้วยดี ในวันที่ 27 กรกฎาคมปเี ดยี วกัน จึงมีประกาศ พระบรมราชโองการให้
แยก ๗ หวั เมือง ออกจากมณฑลเทศาภิบาล เรยี กวา่ มณฑลปัตตานี ในช่วงน้ีไดย้ ้าย ทว่ี ่าการจากเมืองระแงะมาตง้ั
ทบ่ี ้านมะนาลอ

ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หวั เสด็จประพาสมณฑลปกั ษ์ใต้ ไดเ้ สด็จ พระราช
ดาเนินยังบ้านบางนราในวนั ที่ 10 มถิ ุนายน และพระราชทานชือ่ ว่า นราธวิ าส อนั มคี วามหมายว่า ที่อยู่ของคนดี ถดั
มาในปี พ.ศ. 2465 มกี ารปรบั ปรงุ ระเบียบบริหารราชการสว่ นภมู ภิ าคครงั้ ใหญ่โดยการ เปลย่ี นช่ือเมอื งมาเปน็
จังหวัด เมืองนราธิวาส จึงเปล่ียนมาเป็น จังหวัดนราธวิ าส นับแตน่ ้นั เป็นต้นมา

นโยบายพัฒนาของจงั หวัดนราธวิ าส

วสิ ยั ทัศน์ “เศรษฐกจิ มัน่ คง การค้าเฟ่ืองฟู นราน่าอยู่ มงุ่ สสู่ ันติสขุ อย่างยงั่ ยืน”

2

พันธกิจ

(1)พัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพเศรษฐกจิ ภาคการเกษตร การค้า การลงทนุ การบริการ การท่องเทยี่ ว
และอุตสาหกรรมให้เข้มแข็งและยงั่ ยนื บนพืน้ ฐานเศรษฐกิจพอเพียงภายใตก้ ระแส โลกาภวิ ัฒน์
(2) ยกระดบั คุณภาพชวี ิตของประชาชนให้ไดม้ าตรฐานและเท่าเทียมกนั ภายใตส้ ังคมพหุวฒั นธรรม
(3) เสริมสรา้ งความมั่นคงของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
(4) สร้างความเช่ือม่นั ด้านความปลอดภยั ในชีวิต ทรพั ยส์ ินแก่ประชาชนและเจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐที่ ปฏบิ ัติงาน
ในพ้นื ท่ี

ยุทธศาสตรจ์ งั หวดั นราธิวาสยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 เสรมิ สรา้ งความม่นั คงทางเศรษฐกิจ ส่งเสรมิ การคา้ การลงทนุ และ
การค้าชายแดน

ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ลดความเหล่อื มลา้ พัฒนาและเสรมิ สร้างคุณภาพชีวติ ประชาชนบนพื้นฐานหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 จัดการทรัพยากรธรรมชาติให้มคี วามอดุ มสมบูรณ์ ใช้ประโยชน์อยา่ งยงั่ ยนื และมสี ่งิ แวดลอ้ มท่ีดี

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 เสริมสร้างสนั ติสุขและความมัน่ คงภายในพ้นื ทแ่ี บบมีส่วนรว่ ม อยา่ งเข้าใจ เขา้ ถึงและพฒั นา

ขอ้ มูลอาเภอสไุ หงโก-ลก

สุไหงโก-ลกเดมิ เปน็ ป่าดงดิบรกรา้ งว่างเปล่าในเขตตาบลปโู ยะ อาเภอสไุ หงปาดี ความเปน็ ป่าทบึ ทาให้ชาวบ้าน
เรียกวา่ "ปา่ จนั ตุหลี" หมายความว่า ทึบจนเรยี กไม่ได้ยิน เหมอื นหหู นวก เมื่อเร่ิมมผี ูเ้ ข้ามาหักรา้ งถางพง จากช่อื ปา่
จันตุหลีเปล่ยี นเปน็ "สุไหงโก-ลก" ซึ่งเปน็ ภาษามลายู มาจากคาวา่ "สุไหง" แปลว่า แมน่ า้ ลาคลอง และคาว่า "โก-
ลก" แปลวา่ คดเคีย้ ว ถา้ เปน็ คานามหมายถงึ มีดพร้า (ทคี่ นพ้ืนเมืองนยิ มใช)้ เม่ือนาคาว่าสไุ หงรวมกับโก-ลก จงึ
หมายถึง แม่น้าทค่ี ดเคีย้ ว หรือ แม่น้ามีดอีโต้ ชาวบ้านคงเรียกชื่อเมืองตามแมน่ ้าทไ่ี หลผา่ นพ้ืนที่ ปัจจุบันแม่นา้ สาย
น้ีเป็นเสน้ กั้นพรมแดนประเทศไทยกบั รัฐกลนั ตัน ประเทศมาเลเซยี

เมื่อปี พ.ศ. 2460 ไดม้ ีการกรุยทางเพือ่ ก่อสรา้ งทางรถไฟเชอ่ื มไปรัฐกลนั ตันโดยกาหนดต้ังสถานีรถไฟในเขตปา่ จันตุ
หลี ซึง่ ตอ่ มาก็คือสถานีรถไฟสไุ หงโก-ลก ซึ่งเป็นสถานรี ถไฟสถานีสุดทา้ ยของประเทศไทยที่มีระยะทางไกลที่สุด
ชาวบา้ นปูโยะทเ่ี หน็ การณ์ไกลได้เริ่มเข้ามาจับจองท่ดี นิ บา้ งกข็ ออนุญาตทาสวนยางพาราแต่ยังไมม่ ีการปลูกสรา้ ง
บ้านเรอื น ชมุ ชนท่ีชาวปโู ยะตดิ ต่อค้าขายมเี ฉพาะรนั ตปู นั ยังของกลนั ตันซึง่ มรี าษฎรอยูอ่ าศยั และประกอบอาชีพ
ค้าขายเป็นหลักแหล่งแล้ว

3

แม้ว่าจะเปดิ การเดนิ รถไฟเป็นรถรวมจากหาดใหญ่ไปส้ินระยะทส่ี ุไหงโกลกเมอื่ วันที่ 17 กนั ยายน พ.ศ. 2464 แต่
ราษฎรกย็ งั ไมไ่ ด้รบั ความสะดวก เน่อื งจากป่าถูกจับจองไว้โดยมไิ ด้ก่อประโยชน์ ดงั น้ัน ในปี พ.ศ. 2468 นายวงศ์
ไชยสวุ รรณ อาศยั ที่ดินของนายฉ่าทหี่ ลังสถานีรถไฟ พรอ้ มนายฮวด นายซั้ว นายกวาซอ่ ง นายเจ๊ะหมดั นายหลหี ลง
และนายหวัง รวม 7 คน เปน็ เพ่ือนบ้านใกลเ้ รือนเคียงซงึ่ มที ัง้ คนไทย คนมสุ ลมิ และคนจีนร่วมกนั พฒั นาเมือง
(สุนทรธรรมพาท:ี 2501) นบั เปน็ ตน้ แบบแห่งสังคมพหุลกั ษณ์ทม่ี ีเสน่ห์ย่งิ ปี พ.ศ. 2472 กานันตาบลปโู ยะถึงแก่
กรรม นายวงศ์ ไชยสุวรรณจึงไดร้ บั แตง่ ต้ังเปน็ กานันได้พฒั นาจนเร่ิมกลายเปน็ เมือง ไดอ้ าศัยเงินจากเพื่อน 5 คน ได้
500 บาท ตดั ถนนถงึ 31 สาย ลักษณะถนนตัดพาดผ่านกันเป็นตาหมากรุก จึงมีส่แี ยกจานวนมาก แตเ่ ชือ่ ว่านั่นคอื
แนวคิดการปอ้ งกันการลกุ ลามของไฟเมอ่ื เกิดอคั คภี ยั ดงั นนั้ จงึ มผี ู้คนอพยพเขา้ มาต้งั ถ่ินฐานและประกอบอาชีพ
มากมาย ตาบลปโู ยะมีประชากรถึง 12,300 คน ทางราชการจึงแยกเป็น 2 ตาบล คือ ตาบลปโู ยะและตาบลสุไหง
โก-ลก

ต่อมาเม่ือจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ลอ่ งใต้มาตรวจราชการทตี่ าบลสุไหงโก-ลก นายวงศ์ ไชยสวุ รรณได้รอ้ งขอให้
ตงั้ ทอ้ งถิ่นนขี้ ้ึนเป็นเทศบาล ฯพณฯ นายกรฐั มนตรีเหน็ ด้วย จึงได้มีพระราชกฤษฎกี าจัดตง้ั เทศบาลตาบลสไุ หงโก-
ลก เมอ่ื วนั ท่ี 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2483 มนี ายวงศ์ ไชยสวุ รรณ เป็นนายกเทศมนตรีคนแรก เหตุการณ์น้ีพระครูสุนทร
ธรรมภาณไี ด้เขียนคากลอนบนั ทกึ ไวว้ า่

ใน พ.ศ. สองสีแ่ ปดสบิ สาม นายกนามจอมพล ป. พบิ ูลยศ์ รี ออกเที่ยวตรวจราชการงานที่มี มาถึงแดนโก-ลกโชคดี
แรง กานนั วงศ์รอ้ งขอต่อ ฯพณฯ ท่าน ขอเปิดการเทศบาลขนึ้ ในแขวง จอมพล ป. เหน็ ตามความช้แี จง คณุ วงศแ์ ต่ง
เปิดเขตเทศบาล ฯลฯ ในเจด็ ปที คี่ ุณวงศเ์ ป็นนายก สร้างโก-ลกใหส้ ง่าหรหู ราแสน ทาประโยชนม์ ากมายเมือง
ชายแดน ตามแบบแปลนทจ่ี ะเล่ากล่าวต่อไป หน่ึงขอต้งั ไปรษณยี ์โทรเลข งานชิ้นเอกสร้างสรรคท์ นั สมัย เร่ืองทีส่ อง
รอ้ งขอต้งั ตอ่ ไป โรงเรียนใหม่ถึงขน้ั ชัน้ มธั ยม ทางกระทรวงศึกษาอนุญาต ความมงุ่ มาตรม่ันหมายก็ไดผ้ ล ฯลฯ
ประการส่มี ขี อ้ ขอเสนอ ตง้ั เปน็ อาเภอปรารถนา เพราะโก-ลกคนมากหากเปน็ ปา่ กจิ ธรุ ะตอ้ งไปตดิ ตอ่ สไุ หงปาดี
รฐั บาลเหน็ พอ้ งอนญุ าต แจ้งประกาศบอกกระบวนมาถว้ นถ่ี ให้ตงั้ ก่อนเปน็ กงิ่ จึงจะดี แตบ่ ัดน้ีเปน็ อาเภอเสมอกัน

หลงั จากต้งั เทศบาลแลว้ 7 ปี ตาบลสุไหงโก-ลกจึงได้ยกฐานะเปน็ ก่ิงอาเภอสไุ หงโก-ลก[1] ขึน้ กับอาเภอสุไหงปา
ดี โดยมเี ขตปกครอง 4 ตาบล คือ ตาบลสไุ หงโก-ลก ตาบลปูโยะ ตาบลปาเสมัส ของอาเภอสุไหงปาดี และตาบลมู
โนะ (รับโอนมาจากอาเภอตากใบ) ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวนั ท่ี 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 โดยให้มี
ผลตัง้ แต่วันที่ 9 ธันวาคม ปีเดียวกนั

4

กระท่ังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2496 ก่งิ อาเภอสไุ หงโก-ลก อาเภอสไุ หงปาดี จงั หวดั นราธวิ าส จึงได้รับการยกฐานะ
เป็น อาเภอสไุ หงโก-ลก[2] ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2496 โดยให้มีผลตัง้ แต่
วนั ที่ 10 มนี าคม ปเี ดียวกัน มีนายนอบ นพสงศ์ เป็นนายอาเภอคนแรก เขตการปกครอง 4 ตาบลเท่าเดมิ

ส่วนตาบลสไุ หงโก-ลกอยูใ่ นเขตเทศบาล ความนา่ ภมู ิใจของเทศบาลน้คี อื เปน็ เทศบาลเดยี วในประเทศไทยท่ีจดั ตั้ง
ก่อนอาเภอถึง 13 ปีและเกิดจากความตอ้ งการของประชาชน ปจั จุบนั เทศบาลตาบลสุไหงโก-ลกไดร้ ับการยกฐานะ
เป็นเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกเม่อื ปี พ.ศ. 2545 เปน็ ตน้ มา ปจั จบุ นั อาเภอสไุ หงโก-ลกมคี วามเจริญและเป็น
ศูนยก์ ลางทางเศรษฐกิจของภาคใต้ตอนล่าง มีด่านการคา้ ชายแดนทใ่ี หญ่ทีส่ ุดของฝ่ังตะวันออก เปน็ ศูนยก์ ลางของ
การค้าขายสง่ สนิ ค้าทั้งพืชผกั ผลไม้ ตลอดจนไม้ สนิ ค้าอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เครื่องใชไ้ ฟฟ้า และขนมนมเนยจากประเทศ
เพือ่ นบา้ น และเป็นศูนย์กลางทางการท่องเทยี่ วของนักท่องเทย่ี วจากประเทศมาเลเซยี สงิ คโปร์ และอินโดนเี ซยี ท่ี
ผา่ นเขา้ ออกดา่ นสุไหงโก-ลกกวา่ ปลี ะหลายแสนคน

ทตี่ ง้ั และอาณาเขต

อาเภอสไุ หงโก-ลกตงั้ อยูท่ างทิศตะวนั ออกเฉียงใตข้ องจังหวัด มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั เขตการปกครองข้างเคียง
ดงั ต่อไปน้ี

 ทิศเหนอื ติดต่อกบั อาเภอสไุ หงปาดีและอาเภอตากใบ

 ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับรัฐกลนั ตัน (ประเทศมาเลเซยี )

 ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับรัฐกลันตัน (ประเทศมาเลเซีย) และอาเภอแวง้

 ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อาเภอสไุ หงปาดี

การปกครองสว่ นภมู ิภาค

การปกครองของอาเภอสุไหงโก-ลกมี 4 ตาบล 19 หมบู่ า้ น ได้แก่

1. สไุ หงโก-ลก (Su-ngai Kolok) -

2. ปาเสมสั (Pase Mat) 8 หมบู่ า้ น

3. มโู นะ (Muno) 5 หมูบ่ า้ น

4. ปูโยะ (Puyo) 6 หมบู่ า้ น

5

การปกครองส่วนท้องถน่ิ

ทอ้ งทอี่ าเภอสุไหงโก-ลกประกอบดว้ ยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 4 แหง่ ได้แก่

 เทศบาลเมอื งสไุ หงโก-ลก ครอบคลุมพน้ื ที่ตาบลสไุ หงโก-ลกทงั้ ตาบล

 เทศบาลตาบลปาเสมสั ครอบคลมุ พื้นทตี่ าบลปาเสมัสท้ังตาบล

 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลมโู นะ ครอบคลุมพน้ื ท่ีตาบลมโู นะท้ังตาบล

 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลปโู ยะ ครอบคลุมพื้นทีต่ าบลปูโยะทงั้ ตาบล

สถานท่ที อ่ งเทย่ี ว

 ดา่ นการค้าชายแดนสไุ หงโก-ลก (ไทย-มาเลเซยี ) โดยมีศูนยก์ ลางการคา้ ขายอยใู่ นตัวเมอื งสไุ หงโก-ลกที่
ศูนย์พาณิชกรรมเก็นต่ิงหลังโรงแรมเก็นต่ิงเยื้องสถานรี ถไฟสไุ หงโก-ลก

 ศาลเจา้ แมโ่ ตะ๊ โมะ สง่ิ ศกั ดส์ิ ิทธค์ิ ู่บ้านคเู่ มืองของชายไทยเชื้อสายจีน จะมีพิธสี มโภชองค์เจา้ แม่โตะ๊ โมะ ใน
ระหวา่ งวันที่ 3 เดอื น 3 ตามปฏทิ ินจีนของทกุ ปี ซ่งึ จะมนี ักท่องเท่ียวทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศเข้ามา
ท่องเที่ยวมาก

6

 ป่าพรสุ ิรินธร ปา่ พรธุ รรมชาตผิ ืนสุดทา้ ยทีใ่ หญท่ ่สี ดุ ในประเทศไทยและแถบเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ตง้ั อยู่
นอกเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกอีกไปประมาณ 6 กิโลเมตร มีศูนยพ์ ฒั นาและวจิ ยั ปา่ พรสุ ริ นิ ธรซง่ึ สมเดจ็
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เปดิ ดว้ ยพระองค์เอง

 สวนสริ ินธร สวนภมู นิ ทร์ สวนร่นื อรณุ สวนมงิ่ ขวญั ประชา และสวนสาธารณะเทศบาลเมอื งสุไหงโก-ลก
ทั้งหมดเป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ตงั้ อยู่ในหลายพ้ืนท่ขี องอาเภอสุไหงโก-ลก มีความสวยงามและนา่
ท่องเทีย่ วพักผ่อนมาก

7

 พระบรมราชานุสาวรยี ์พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ประดษิ ฐานอยู่ ณ บรเิ วณ
กลางสวนภูมินทร์ เป็นท่ีเคารพและสักการะของชาวเมอื งและจังหวัดใกล้

8

ขอ้ มูลสถานศกึ ษา

1.1 ชอ่ื สถานศกึ ษา และสถานที่ตัง้
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสไุ หงโก-ลก ตงั้ อยทู่ ่ี 52/2 ถนนทรายทอง2

ตาบลสุไหงโก-ลก อาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธวิ าส รหสั ไปรษณยี ์ 96120 โทรศพั ท์ 073-616403 โทรสาร
073-616403 E-mail: http://narathiwat.nfe.go.th/ampsungaikolok
1.2 สังกดั

สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดนราธิวาส สานักงานส่งเสรมิ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
1.3 ประวตั ศิ ูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสไุ หงโก-ลก

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสุไหงโก-ลก เดิมชอ่ื ศนู ย์บริการการศกึ ษานอก
โรงเรยี นอาเภอสุไหงโก-ลก ไดจ้ ดั ต้ังขนึ้ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรื่องการจดั ตงั้ ศูนย์การศกึ ษานอกโรงเรียน
อาเภอ/กงิ่ อาเภอ วนั ท่ี 27 สงิ หาคม พ.ศ.2536 ตามบญั ชีรายชื่อศูนย์การศกึ ษานอกโรงเรยี นอาเภอ/กงิ่ อาเภอ
สงั กดั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจังหวดั นราธวิ าส

ปัจจบุ นั ได้เปลยี่ นช่ือเป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอสุไหงโก-ลก ตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร ลงวนั ท่ี 10 มนี าคม 2551 สงั กดั สานักส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั สานักปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมีนางสาวพีรภาว์ ทองแดง ตาแหน่งผ้อู านวยการศนู ย์การศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสไุ หงโก-ลก ไดด้ าเนินการตา่ งๆต่อเนอื่ งมาดว้ ยดยี ่งิ เป็นทปี่ ระจักษ์ต่อ
ผเู้ รียนและผู้รับบรกิ าร เชน่ ส่งเสริมการรหู้ นังสือ การจดั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง การจดั การศกึ ษา
ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ กิจกรรมภาษาสันตสิ ุข กิจกรรมสง่ เสริมกระบวนการ
เรยี นรู้ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ กิจกรรมเปดิ โลกเรียนรูใ้ หผ้ ู้สงู อายุ เป็นตน้ การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการ
สร้างภาคเี ครอื ข่ายเพอื่ สนับสนนุ กิจกรรม กศน ฯลฯ
อาณาเขตท่ีตัง้ ท่ตี ง้ั สถานศึกษา

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสไุ หงโก-ลก ใช้ร่วมกบั ห้องสมดุ ประชาชน
อาเภอสุไหงโก-ลก ตั้งทส่ี วนสาธารณะสวนรื่นอรณุ เขตเทศบาลเมืองสไุ หงโก-ลก ประกอบดว้ ย 4 ตาบล คอื ตาบลสุ
ไหงโก-ลก ตาบลปาเสมสั ตาบลปูโยะ ตาบลมโู นะ มพี ื้นทีร่ วมประมาณ 139,439 ตร.กม. ระยะทางห่างจาก
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดนราธิวาส ประมาณ 68 กิโลเมตร มี

9

อาณาเขตติดตอ่ กับเขตตดิ ตอ่ กับเขตการปกครองขา้ งขา้ งเคยี งดังต่อไปนี้

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั อาเภอสไุ หงโก-ลก และอาเภอตากใบ จงั หวัดนราธวิ าส

ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับอาเภอแว้ง จังหวัดนราธวิ าส

ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับรฐั กลันตนั ประเทศมาเลเซีย

ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั อาเภอสุไหงปาดี

1.4 ทาเนยี บผบู้ ริหาร

ท่ี ชื่อ – สกลุ ตาแหนง่ ระยะเวลาดารง
ตาแหนง่

1 นายพงศกั ดิ์ ศรเี วชนนั ท์ ผ้อู านวยการศูนย์บรกิ ารการศกึ ษา นอก พ.ศ.2534-2535

โรงเรียนอาเภอสุไหงโก-ลก

2 นายสมบรู ณ์ คงฤทธิ์ ผู้อานวยการศนู ยบ์ รกิ ารการศึกษา นอก พ.ศ.2535-2537

โรงเรียนอาเภอสไุ หงโก-ลก

3 นายตว่ นอับดลุ เลาะ ดาโอ๊ะมารี ผอู้ านวยการศูนย์บริการการศกึ ษา นอก พ.ศ.2537-2544

ยอ โรงเรยี นอาเภอสไุ หงโก-ลก

4 นางลินจง รังสิโกสยั ผู้อานวยการศนู ยบ์ รกิ ารการศึกษา นอก พ.ศ.2544-2545

โรงเรยี นอาเภอสุไหงโก-ลก

5 นายไพศาล ฝอยทอง ผอู้ านวยการศนู ย์บรกิ ารการศึกษา นอก พ.ศ.2545-2546

โรงเรยี นอาเภอสไุ หงโก-ลก

6 นายเกษม เจ๊ะโซะ๊ ผอู้ านวยการศนู ย์บรกิ ารการศึกษา นอก พ.ศ.2546-2551

โรงเรียนอาเภอสุไหงโก-ลก

7 นายรังสรรค์ เลง็ ฮะ ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ พ.ศ.2551-2556

การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสุไหงโก-ลก

8 นายสุชาติ ถาวระ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ พ.ศ.2556-2557

การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสไุ หงโก-ลก

9 นางธนณภัทร ศรรี ะนา ผูอ้ านวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและ พ.ศ.2557-2558

การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสุไหงโก-ลก

10 นางสิริกาญจน์ จนั ทรสงค์ ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและ พ.ศ.2558-2560

การศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสไุ หงโก-ลก

11 วา่ ท่ีร้อยโทประวิตร จินตประสาท ผู้อานวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ พ.ศ.2560-2563

การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสไุ หงโก-ลก

12 นางสาวพีรภาว์ ทองแดง ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ พ.ศ.2563-ปัจจุบัน

การศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสไุ หงโก-ลก

10

1.5 โครงสรา้ งการบรหิ ารของสถานศกึ ษา
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสไุ หงโก-ลก แบ่งโครงสร้างการบรหิ ารออกเป็น 3 กลุ่ม
งาน คอื กลมุ่ งานอานวยการ กลุ่มจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และกลุ่มภาคเี ครือข่ายและ
กิจการพเิ ศษ ดงั แผนภมู ิ

ผ้อู านวยการ

คณะกรรมการสถานศกึ ษา

กล่มุ อานวยการ กลมุ่ การศึกษานอกระบบและ งานภาคเี ครอื ข่ายและกจิ การ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย พิเศษ

- งานธรุ การและสารบรรณ - งานส่งเสรมิ การรู้หนังสือ - งานสง่ เสรมิ สนบั สนุน ภาคี
- งานการเงินและบัญชี - งานการศกึ ษาพืน้ ฐานนอก เครอื ขา่ ย - สือ่ เทคโนโลยแี ละ
- งานงบประมาณและระดม ระบบ สารสนเทศ
ทรพั ยากร - งานการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง - งานกิจการในเขตพฒั นา
- งานพัสดุ - งานการศึกษาเพ่ือพฒั นา พเิ ศษจังหวัดชายแดนใต้
- งานบคุ ลากร อาชพี - งานโครงการผสู้ งู อายุ

- งานอาคารสถานท่แี ละ - งานการศึกษาเพือ่ พฒั นา - งานป้องกนั แก้ไขปัญหายา
ยานพาหนะ ทักษะชีวติ เสพตดิ / โรคเอดส์
- งานแผนงานและโครงการ - งานการศึกษาเพื่อพัฒนา - งานส่งเสริมกิจกรรม
- งานประชาสมั พันธ์ สงั คมและชมุ ชน ฯลฯ ประชาธปิ ไตย
- งานข้อมลู สารสนเทศและ - งานการศึกษาตามอัธยาศยั - งานสนบั สนนุ ส่งเสรมิ
การรายงาน - งานจัดและพฒั นาแหลง่ นโยบาย
- ศนู ย์ราชการใสสะอาด เรยี นรแู้ ละ จังหวัด/อาเภอ ฯลฯ
- งานควบคุมภายใน ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ - งานกจิ การลูกเสือและยุว
- งานนเิ ทศภายใน ติดตามและ - งานจดั และพัฒนาศูนยก์ าร
กาชาด
ประเมินผล เรียน ชมุ ชน
- งานเลขานกุ าร - งานการศึกษาเคลอื่ นที่
คณะกรรมการสถานศกึ ษา - งานการศึกษาทาง
- งานประกันคณุ ภาพภายใน สอ่ื สารมวลชน
- งานแนะแนวฯลฯ
สถานศึกษา - งานพัฒนาหลักสตู ร สื่อ
นวัตกรรม และ เทคโนโลยี
ทางการศึกษา
- งานทะเบียนและวดั ผล
- งานศนู ยบ์ รกิ ารให้คาปรึกษา

แนะนา

11

บทบาทหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของกลมุ่ งาน ดงั น้ี

1. กลุ่มงานอานวยการ มหี น้าท่ีและความรบั ผิดชอบเกี่ยวกับงานธรุ การ / งานสารบรรณ งานการเงินการ
บัญชี งานพัสดุ งานบุคลากร งานประชาสัมพันธ์ งานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะ งานแผนงานและโครงการ
งานข้อมูลสารสนเทศและการรายงาน งานควบคุมภายใน งานนิเทศภายใน ติดตามและประเมนิ ผล งานเลขานกุ าร
คณะกรรมการสถานศกึ ษา รวมทงั้ งานประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา

2. กลมุ่ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มีหนา้ ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบเกย่ี วกับงาน
ส่งเสรมิ การรหู้ นงั สอื งานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานนอกระบบ งานการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง งานการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะ
ชวี ิต งานการศึกษาเพ่อื พฒั นาสังคมและชุมชน งานการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ) งานการศึกษาตามอธั ยาศยั (งาน
จดั พัฒนาแหลง่ เรยี นรู้และภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ งานจัดพัฒนาศูนย์การเรยี นชุมชน งานห้องสมุดประชาชน) งานพฒั นา
หลักสูตร สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา งานทะเบยี นและวัดผล งานศนู ย์ใหค้ าปรกึ ษาแนะนา งาน
กิจการนักศกึ ษา

3. กลุ่มภาคเี ครอื ข่ายและกจิ การพเิ ศษ มหี น้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบเก่ียวกับงานส่งเสริมสนับสนนุ ภาคี
เครอื ขา่ ย สือ่ เทคโนโลยีและสารสนเทศ งานกิจการในเขตพฒั นาพเิ ศษจังหวดั ชายแดนใต้ ไดแ้ ก่ งานการศกึ ษาใน
สถาบันศึกษาปอเนาะ งานปอ้ งกนั แก้ไขปญั หายาเสพตดิ งานสง่ เสริมกจิ กรรมประชาธิปไตย งานสนบั สนนุ ส่งเสริม
นโยบายจงั หวัด / อาเภอ งานกิจการลกู เสอื และยุวกาชาด

12

2. สรุปขอ้ มลู สถานศกึ ษา

2.1. ผูบ้ รหิ าร ครูและบุคลากร ข้อมลู บคุ ลากร ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสไุ หง

โก-ลก

ท่ี ช่อื – สกุล ตาแหนง่ วุฒิการศกึ ษา วชิ าเอก

1 นางสาวพรี ภาว์ ทองแดง ผ้อู านวยการ ศึกษาศาสตร์ การบริหารการศึกษา
มหาบัณฑิต

2 นายอบั ดุลรอแม สะมะแอ ครผู ชู้ ว่ ย เทคโนโลยี เทคโนโลยกี ารศึกษา
การศกึ ษา

3 นายโมฮัมมัดซฟั ฟรยี ์ นารอเอง็ ครผู ้ชู ว่ ย ครศุ าสตร์บัณฑติ ฟสิ กิ ส์

4 นายบุญสม ทองคุปต์ พนง.บริการ ส.2 ประกาศนยี บัตร ช่างอตุ สาหกรรม
วิชาชีพ
5 นายรอพีองิ อมุ า ครูอาสาฯ
6 นางสาวนันทิมา ดาราแม ครอู าสาฯ บริหารธรุ กจิ บณั ฑิต บริหารธรุ กจิ
ครุศาสตร์บัณฑติ จติ วิทยาแนะแนว

7 นางอัศนยี ์ หมาดสตูล ครูอาสาฯ ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา
8 นายอาดอื นา เจะ๊ อาแซ ครอู าสาฯ รฐั ศาสตร์ บรหิ ารรฐั กิจ

9 นายมาหะมะเพาซี สะแลแม ครอู าสาฯ ครศุ าสตรบ์ ณั ฑติ คอมพิวเตอรศ์ กึ ษา

10 นางสาวพชิ ามญชุ์ เรืองโรจน์ ครูอาสาฯปอเนาะ บริหารธุรกจิ บณั ฑิต การจัดการท่ัวไป

11 นางสาวนอร์อาสมะห์ บินเจ๊ะอาแว ครอู าสาฯปอเนาะ ครศุ าสตร์บณั ฑติ ศลิ ปศึกษา

12 นางสาวซาพวู านี บินแวบอื ราเฮง ครอู าสาฯปอเนาะ ครศุ าสตร์บัณฑติ สงั คมศกึ ษา

13 นางซูไฮดา มามะ ครูอาสาฯปอเนาะ ครศุ าสตร์บัณฑิต บรรณารักษ์
14 นายซาฮารี บนิ มะแอ ครอู าสาฯปอเนาะ ศิลปศาสตรบ์ ัณฑติ การพฒั นาชุมชน

15 นางสาวสไุ วบะห์ มะมงิ ครอู าสาฯปอเนาะ บรหิ ารธุรกิจบัณฑติ คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ

16 นางสาวรอฮานา อาแว ครู กศน.ตาบล ศิลปศาสตร์บณั ฑิต รัฐศาสตร์

17 นายนิพนธ์ วาโมง ครู กศน.ตาบล วทิ ยาศาสตร์บณั ฑิต เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม

18 นายมุสลมี ันห์ แวะสะมะแอ ครู กศน.ตาบล ศิลปศาสตรบ์ ัณฑิต การพฒั นาชุมชน

19 นางจริ ชั ยา มามะ ครู กศน.ตาบล ครศุ าสตร์บณั ฑติ การศึกษาพิเศษ

20 นางฟารีดา เจ๊ะอุบง ครู ศรช. ศกึ ษาศาสตร์ เทคโนโลยีการศึกษา

21 นางสาวมารียานี ยามาอาโง ครู ศรช. บรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ การตลาด

22 นางสาวรอกเี ยาะ อบั ดลุ มานะ บรรณารกั ษ์ ศิลปศาสตรบ์ ณั ฑติ บรรณารักษ์ศาสตร์
23 นางสาวยูรีนา ยโู ซะ
เจา้ หนา้ ที่บรกิ ารสอ่ื วิทยาศาสตร์บัณฑิต คอมพิวเตอรป์ ระยกุ ต์

24 นางสาวต่วนฟาดีละห์ โตะกบู าฮา เจา้ หนา้ ทีบ่ รกิ ารสอื่ บริหารธรุ กจิ บณั ฑิต การจดั การทวั่ ไป

13

คณะกรรมการสถานศกึ ษา จานวน 8 คน ประธานกรรมการสถานศึกษา
1.นายลอ้ ม ต้นิ หนู กรรมการสถานศกึ ษา
2.นายแสงทอง ปรชี าวฒุ เิ ดช กรรมการสถานศกึ ษา
3 นายปฏวิ ตั ิ เด่นอร่ามคาน กรรมการสถานศกึ ษา
4.นายมะยูอา มามะ กรรมการสถานศกึ ษา
5.นายรอปา อซี อ กรรมการสถานศกึ ษา
6.นายมฮู มั มัด สาแลแม กรรมการสถานศกึ ษา
7.นายเจ๊ะซู ตาเหย็บ กรรมการสถานศกึ ษา
8.นายกติ ติศักดิ์ เกดิ เอยี ด
กศน.ตาบล/สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ

ที่ ช่อื กศน.ตาบล/สถาบันศึกษาปอเนาะ ทตี่ ้ัง ผ้รู ับผดิ ชอบ เบอร์โทรศพั ท์
นางจริ ัชยา มามะ
1 กศน.ตาบลสไุ หงโก-ลก ที่ว่าการอาเภอสุไหงโก-ลก นายนิพนธ์ วาโมง
นางสาวรอฮานา อาแว
2 กศน.ตาบลปาเสมัส ม.1 บ้านซรายอ ต.ปาเสมสั นายมสุ ลมี นั ห์ แวสะมะแอ
นางฟารีดาห์ เจ๊ะอบุ ง
3 กศน.ตาบลปูโยะ ม.1 บา้ นลาแล ต.ปูโยะ
น.ส.มารยี าณี ยามาอาโง
4 กศน.ตาบลมูโนะ ม.5 บ้านบูเก๊ะ ต.มโู นะ นายอาดือนา เจ๊ะอาแซ
นายซาฮารี บนิ มะแอ
5 ศูนยก์ ารเรียนชุมชนศรีอามาน ชุมชนศรีอามาน ต.สไุ หงโก-ลก

6 ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนจือแรตูลี ชุมชนจือแรตลู ี ต.สไุ หงโก-ลก

7 ศูนย์การเรียนชุมชนโปฮงยามู ชมุ ชนโปฮงยามู ต.สุไหงโก-ลก

8 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะฮายาตซุ ซอ ม.2 บา้ นปโู ยะ ต.ปโู ยะ

ฮาบะห์

9 สถาบนั ศึกษาปอเนาะมัรดยี ะห์ ม.5 บา้ นน้าตก ต.ปาเสมสั น.ส.พิชามญช์ เรอื งโรจน์
นางนอรอ์ าสมะ บินเจะอาแว
10 สถาบันศึกษาปอเนาะอสั สาอีดะห์ ม.7 บา้ นกวารอซรี า ต.ปาเสมัส นางซไู ฮดา มามะ
น.ส.ซาพวู าณี บนิ แวบือราเฮง
11 สถาบนั ศึกษาปอเนาะดารุสลาม ม.6 บ้านซรายอ ต.ปาเสมัส น.ส.สไุ วบะห์ มะมิง

12 สถาบนั ศึกษาปอเนาะนรู ลู ฮูดา ม.1 บา้ นมูโนะ ต.มูโนะ

13 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะเราเฎาะห์ ม.1 บ้านมโู นะ ต.มูโนะ

อลั ฆอซาลี

14 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะดารุลอาบดี ีน ม.4 บา้ นปูโปะ ต.มโู นะ นายโมฮัมมัดซฟั ฟรีย์ นารอเอ็ง
นายอบั ดลุ รอแม สะมะแอ
15 สถาบนั ศึกษาปอเนาะอลั อุรวาตลุ วุ ม.3 บา้ นโคกกูโน ต.ปูโยะ

ซกอย์

14

แหล่งเรยี นรู้ทส่ี าคญั ในชมุ ชน

ท่ี แหล่งเรียนรู้ ทตี่ ั้ง – สถานทต่ี ดิ ต่อ ประเภทองค์ความรู้

1 สวนรวยสขุ ชุมชนเจริญสุข ถนนเจรญิ สวนเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพยี งเน้นเร่อื งการ

นางสาวดวงพร มีสุข เขต ซอย 12 ตาบลสไุ หงโก- ปลกู ผกั สวนครวั การปลกู ผักไฮโดรบลอ็ ก

ลก การปลูกมะนาวในวงบอ่ การตอนก่งิ

มะนาว การเพาะพนั ธุ์พืชขาย

2 สวนคณุ เมธี บุญรักษ์ ชุมชนโต๊ะลอื เบ ตาบลสไุ หง เรยี นรู้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ น

โก-ลก การดาเนนิ ชวี ติ

3 แหล่งเรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง หมู่ 7 ตาบลปาเสมสั แหล่งเรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง

ต้นแบบตาบลปาเสมสั

4 สะพานเจาะบากง หมู่ที่ 3 บา้ นเจาะบากง ตาบล ตามรอยพระราชา

ปูโยะ

5 ปา่ พรสุ ริ นิ ธร ตาบลปโู ยะ แหลง่ เรยี นรู้ธรรมชาติ

6 เขอื่ นตาบลมโู นะ ตาบลมูโนะ แหลง่ เรียนรธู้ รรมชาติ

15

เป้าหมายการจดั การศกึ ษา
1. ผ้เู รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมที่ดงี าม นาไปใช้ในการอยรู่ ว่ มกับผอู้ ่นื ในสังคมอย่างสนั ติสขุ
2. ผู้เรยี นมคี วามรูพ้ น้ื ฐานสาหรบั การดารงชีวิต และศกึ ษาตอ่ ในระดับท่ีสูงขน้ึ
3. ผเู้ รียนนาความร้ไู ปใชใ้ นการประสอบสมั มาชพี
4. ผเู้ รยี นมีทักษะการดาเนนิ ชีวติ ท่ดี ี และสามารถจัดการกับชวี ิต ชมุ ชน สงั คม ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
5. ผู้เรียนมคี วามเขา้ ใจประวัตศิ าสตรช์ าติไทย ภูมใิ จในความเปน็ ไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม

ประเพณี กฬี า ภมู ิปญั ญาไทย ความเปน็ พลเมืองดี ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมของศาสนา ยดึ มัน่ ในวถิ ีชีวติ และการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

6. ผู้เรียนมจี ิตสานกึ ในการอนรุ กั ษ์และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
7. ผู้เรียนเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ และประยุกต์ใช้ความร้ใู นการพัฒนา
ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ
ปรชั ญา “คิดเปน็ ”
ปรชั ญา “คิดเป็น” มแี นวคดิ ภายใต้ความเชือ่ ทวี่ า่ “คนเราสามารถพัฒนาการคิด การตดั สินใจ” ใหม้ ี
ประสิทธิภาพสูงขน้ึ ได้ ด้วยการฝึกทักษะ การใชข้ ้อมลู ที่หลากหลายทง้ั ดา้ นตนเอง สงั คม ส่ิงแวดล้อม และ วชิ าการ
มาวิเคราะห์ เชอ่ื มโยง สมั พันธ์ สรา้ งสรรค์ เปน็ แนวทาง วธิ กี าร สาหรับตนเอง แล้วประเมินตีค่า ตัดสนิ ใจเพื่อ
ตนเอง และชุมชน สังคม ซ่งึ เป็นลกั ษณะของคน “คิดเปน็ ”
วิสัยทศั น์
“ประชาชนในอาเภอสไุ หงโก-ลก ไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งมี
คณุ ภาพ สามารถดารงชีวติ ทเ่ี หมาะสมกบั ชว่ งวยั สอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทกั ษะท่ี
จาเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21”
พันธกิจ
1.จดั และส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคณุ ภาพ สอดคล้องกบั หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพือ่ ยกระดบั การศึกษา พัฒนาทกั ษะการเรยี นรขู้ องประชาชนในอาเภอสุไหงโก-ลก ทกุ
กลมุ่ เปา้ หมายใหเ้ หมาะสมทุกชว่ งวัย พร้อมรับการเปลย่ี นแปลงบริบททางสงั คมและกา้ วสกู่ ารเป็นสังคมแห่งการ
เรยี นรู้ตลอดชวี ติ อย่างย่งั ยนื
2.ส่งเสริม สนบั สนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครอื ข่ายให้เขา้ มามสี ่วนร่วมในการ
สนบั สนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ในรูปแบบต่าง ๆ
ใหก้ บั ประชาชนในอาเภอสุไหงโก-ลก

16

3.ส่งเสริมและพฒั นาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใชพ้ ัฒนาประสิทธภิ าพในการจัด
และให้บริการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชนในอาเภอสุไหงโก-ลกอยา่ งทั่วถึง

4.พฒั นาหลักสตู ร รปู แบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และนวตั กรรม การวัดและประเมินผลในทุก
รปู แบบให้มคี ณุ ภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับบรบิ ทในปจั จุบัน

5.พฒั นาบคุ ลากร กศน.อาเภอสไุ หงโก-ลก และระบบการบรหิ ารจัดการองคก์ รให้มปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ มุ่ง
จดั การศึกษาและการเรยี นรทู้ ี่มีคณุ ภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล
หลักการ

1.เปน็ หลกั สูตรท่ีมี'โครงสร้างยืดหยุ่นดา้ นสาระการเรียน! เวลาเรยี น และการจดั การเรยี น! โดยเน้นการบูร
ณาการเน้อื หาใหส้ อดคล้องกับวถิ ีชีวิต ความแตกต่างของบคุ คล และชุมชน สังคม

2.ส่งเสริมให้มกี ารเทยี บโอนผลการเรียนจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตาม
อัธยาศยั

3.ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาและเรียน!อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิตโดยตระหนกั ว่าผู้เรียนมคี วามสาคัญ
สามารถพฒั นาตนเองได้ตามธรรมชาตแิ ละเต็มศักยภาพ

4.สง่ เสริมให้ภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา
จุดหมาย

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ่ พฒั นาให้ผเู้ รียน มี
คณุ ธรรม จริยธรรม มีสติปญั ญา มีคุณภาพชวี ิตท่ีดี มศี กั ยภาพในการประกอบอาชพี และการเรยี นรอู้ ย่าง ตอ่ เน่ือง
ซง่ึ เป็นคณุ ลักษณะอันพึงประสงคท์ ่ีตอ้ งการ จึงกาหนดจุดหมาย ดงั ต่อไปน้ี

1.มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทีด่ งี าม และสามารถอยู่ร่วมกันในสงั คมอย่างสันติสุข
2.มคี วาม!พนื้ ฐานสาหรับการดารงชวี ิต และการเรยี น!ตอ่ เนื่อง
3.มีความสามารถในการประกอบสมั มาอาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนัด และตามทนั
ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง
4.มีทกั ษะการดาเนินชีวิตทีด่ ี และสามารถจดั การกับชีวิต ชุมชน สังคม ได้อย่างมคี วามสุข ตามปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง
5.มคี วามเข้าใจประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย ภมู ใิ จในความเปน็ ไทย โดยเฉพาะภาษา ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี
กฬี า ภมู ปิ ัญญาไทย ความเป็นพลเมอื งดี ปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา ยดึ มน่ั ในวถิ ชี วี ติ และการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
6.มจี ติ สานกึ ในการอนรุ ักษ์ และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
7.เปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี น มที กั ษะในการแสวงหาความ สามารถเขา้ ถึงแหล่งเรียน และบูรณาการ
ความ!มาใชใ้ นการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

17

กล่มุ เปา้ หมาย
ประชาชนทวั่ ไป เกษตรกร ผู้ใชแ้ รงงาน ผปู้ ระกอบอาชพี รบั จา้ ง ผปู้ ระกอบอาชีพหตั ถกรรม ฯลฯ

กรอบโครงสรา้ ง
1.ระดบั การศึกษา

ระดับประถมศึกษา
2.สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้ประกอบด้วย 5 สาระ ดังนี้

1.สาระทักษะการเรยี นรู้ เป็นสาระเก่ยี วกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ การจัดการ ความรู้
การคิดเป็น และการวิชัยอยา่ งงา่ ย

2.สาระความรพู้ ื้นฐาน เป็นสาระเกี่ยวกบั ภาษาและการส่ือสาร คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี
3.สาระการประกอบอาชพี เปน็ สาระเกีย่ วกบั การมองเหน็ ชอ่ งทาง และการตดั สนิ ใจประกอบ อาชีพ
ทักษะในอาชพี การชดั การอาชพี อยา่ งมีคุณธรรม และการพฒั นาอาชีพใหม้ ่ันคง
4.สาระทกั ษะการดาเนินชีวิต เป็นสาระเก่ยี วกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สุขภาพอนามัยและ ความ
ปลอดภยั ในการดาเนินชวี ิต ศิลปะและสนุ ทรียภาพ
5.สาระการพฒั นาสังคม เปน็ สาระท่เี ก่ยี วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การ
ปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี หนา้ ที่พลเมอื ง และการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม
3.กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิตเป็นกจิ กรรมทจี่ ัดขึน้ เพื่อให้ผ้เู รยี นพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม
4.มาตรฐานการเรยี นรู้
หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดมาตรฐาน การเรยี นรู้ ตาม
สาระการเรียนรทู้ ั้ง 5 สาระ ทเ่ี ป็นขอ้ กาหนดคณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดังนี้
1.มาตรฐานการเรยี นร้กู ารศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เปน็ มาตรฐานการเรียนรู้ ในแต่ละ
สาระการเรียนรู้ เมือ่ ผู้เรยี นเรียนจบหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
2.มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ เป็นมาตรฐานการเรยี นรใู้ นแตล่ ะสาระการเรยี นรู้ เมื่อผู้เรียน เรียนจบในแต่
ละระดับ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
3.เวลาเรยี น
ในแต่ละระดับใช้เวลาเรียน 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณที ่ีมีการเทยี บโอนผลการเรียน ท้ังน้ี ผ้เู รียน ต้อง
ลงทะเบยี นเรียนในสถานศกึ ษาอยา่ งหอ้ ย 1 ภาคเรียน
4.หน่วยกติ
ใช้เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง มีคา่ เท่ากบั 1 หนว่ ยกติ

18

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา

จานวนหน่วยกิต

ที่ สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา

1 ทักษะการเรียนรู้ วิชาบงั คับ วชิ าเลือก
2 ความรู้พืน้ ฐาน 5 4
3 การประกอบอาชีพ
4 ทกั ษะการดาเนินชวี ิต 12 3
5 การพฒั นาสังคม
82
กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ 52

61

รวม 36 12
48 หนว่ ยกิต

100 ขัว้ โมง

หมายเหตุ วิชาเลอื กในแต่ละระดับสถานศกึ ษาตอ้ งชดั ให้ผู้เรียนเรียนรจู้ ากการทาโครงงาน จานวน อยา่ ง
น้อย 3 หนว่ ยกติ
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551 ประกอบด้วยสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ดงั น้ี
1.สาระทักษะการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 มาตรฐาน ดงั นี้

มาตรฐานท่ี 1.1 มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติท่ีดตี ่อการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง
มาตรฐานที่ 1.2 มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ การใช้แหล่งเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี 1.3 มคี วามรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ีตอ่ การจดั การความรู้
มาตรฐานท่ี 1.4 มคี วามรู้ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การคิดเปน็
มาตรฐานท่ี 1.5 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดตี ่อการวิชยั อยา่ งงา่ ย

2.สาระความรพู้ น้ื ฐาน ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดงั นี้
มาตรฐานที่ 2.1 มีความรคู้ วามเข้าใจ และทักษะพืน้ ฐานเกยี่ วกับภาษาและการสอ่ื สาร
มาตรฐานที่ 2.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะพ้นื ฐานเก่ียวกบั คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี
3.สาระการประกอบอาชพี ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดงั นี้

มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคตทิ ีด่ ใี นงานอาชพี มองเห็นชอ่ งทางและตัดสนิ ใจ

19

ประกอบอาชพี ได้ตามความตอ้ งการ และศักยภาพของตนเอง
มาตรฐานที่ 3.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในอาชีพทตี่ ัดสินใจเลือก
มาตรฐานที่ 3.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการชัดการอาชีพอย่างมคี ณุ ธรรม
มาตรฐานที่ 3.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการพฒั นาอาชีพใหม้ คี วามมั่นคง
4.สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวิต ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน ดงั น้ี
มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคตทิ ี่ดเี ก่ยี วกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถ
ประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
มาตรฐานที่ 4.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคตทิ ดี่ ีเก่ยี วกับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ
อนามยั และความปลอดภยั ในการดาเนนิ ชีวิต
มาตรฐานที่ 4.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติทด่ี ีเก่ียวกับศิลปะและสนุ ทรียภาพ
5.สาระการพฒั นาสังคม ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดงั นี้
มาตรฐานที่ 5.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถงึ ความสาคัญเกย่ี วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์
เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนามาปรบั ใช้ในการดารงชีวิต
มาตรฐานท่ี 5.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ เห็นคณุ ค่า และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรมประเพณี เพ่อื
การอยู,รว่ มกนั อยา่ งสันติสุข
มาตรฐานท่ี 5.3 ปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธิปไตย มจี ติ สาธารณะเพอื่ ความสงบสุข ของสังคม
มาตรฐานที่ 5.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ ความสาคัญของหลกั การพฒั นา และสามารถพฒั นา ตนเอง
ครอบครัว ชุมชน/สังคม
หมายเหตุ สาระการเรียนรคู้ วามร้พู ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี 2.1 มีความร้คู วามเข้าใจทกั ษะพืน้ ฐานเกีย่ วคบั
ภาษาและการสอื่ สาร ซ่งึ ภาษาในมาตรฐานนีห้ มายถึง ภาษาไทย และภาษาตา่ งประเทศ

20

สาระทกั ษะการเรยี นรู้
สาระทกั ษะการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5 มาตรฐาน ดังนี้

มาตรฐานท่ี 1.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ีดตี ่อการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูค้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดตี ่อการใชแ้ หลง่ เรียนรู้
มาตรฐานที่ 1.3 มีความร้คู วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทีด่ ีตอ่ การชัดการความรู้
มาตรฐานที่ 1.4 มีความรู้ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทดี่ ีต่อการคิดเป็น
มาตรฐานท่ี 1.5 มคี วามร้คู วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ีดตี ่อการวิชัยอยา่ งงา่ ย
มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั ประถมศึกษา และผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั ในแต่ละมาตรฐาน

มาตรฐานที่ 1.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

มาตรฐาน การ ความสามารถในการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง
เรียนรรู้ ะดับ

ผลการเรียนรู้ ท่ี 1.อธิบายความหมายของการเรียนรดู้ ้วยตนเองและวธิ กี ารแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
คาดหวัง 2.ปฏิบัตติ นตามขั้นตอนการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
3.เหน็ คณุ ค่าของกจิ กรรมการแสวงหาความรู้

มาตรฐานที่ 1.2 มีความรคู้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทด่ี ีตอ่ การใช้แหล่งเรียนรู้

มาตรฐาน การ รจู้ ัก เห็นคุณค่า และใช้แหล่งเรียนรู้ถูกต้อง
เรียนรูร้ ะดบั

ผลการเรียนรู้ ที่ 1.บอกประเภท คุณลกั ษณะของแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน และเลอื กใชแ้ หลง่ เรียนรู้ไตต้ าม ความ

คาดหวัง เหมาะสม

2.ใช้แหลง่ เรยี นร้อู ยา่ งเหน็ คณุ ค่า
3.ทาตามกฎ กตกิ า และขัน้ ตอนการใช้แหลง่ เรียนรู้

21

มาตรฐานที 1.3 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติทดี่ ีตอ่ การจัดการความรู้

มาตรฐาน การ เขา้ ใจความหมายกระบวนการชุมชนปฏิบัติการ และทาตามกระบวนการชดั การความรู้ ชุมชน

เรียนรู้ระดับ

ผลการเรยี นรู้ ที่ 1.อธิบายความหมาย กระบวนการชมุ ชนปฏบิ ัตกิ าร กาหนดขอบเขตความรู้จากความ

คาดหวงั สามารถหลกั ของชมุ ชน และวธิ ีการยกระดับขอบเขตความร้ใู หส้ ูงขึ้น

2.ร่วมกนั แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และสรุปผลการเรยี นรทู้ ่ีบ่งชี้ถงึ คุณค่าของกระบวนการ จดั การ

ความรู้

3.สามารถสังเกต และทาตามกระบวนการการชดั การความรู้ชมุ ชน

มาตรฐานที่ 1.4 มคี วามรู้ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีตอ่ การคิดเป็น

มาตรฐาน การ ความสามารถในการอธิบายปรัชญาคดิ เปน็ และทักษะในการใช้กระบวนการคดิ เป็น ในการ
เรียนรรู้ ะดบั แก้ปัญหา

ผลการเรยี นรู้ ท่ี 1.อธิบาย และเชื่อมโยงความเชอื่ พ้ืนฐานทางการศึกษาผูใ้ หญ่ การศกึ ษานอกระบบ สปู่ รัชญา
คาดหวัง คดิ เปน็
2.เข้าใจความหมายและความสาคัญของปรัชญาคิดเป็น สามารถอธิบายถงึ ข้นั ตอนและ
กระบวนการแก้ปญั หาของคนคิดเป็น
3.เข้าใจลักษณะของข้อมลู ด้านวิชาการ ตนเอง และสังคม ส่ิงแวดล้อม และสามารถ
เปรยี บเทยี บความแตกต่างของข้อมลู ทง้ั สามด้าน

มาตรฐานที่ 1.5 มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การวชิ ัยอยา่ งงา่ ย

มาตรฐาน การ เขา้ ใจความหมาย เหน็ ความสาคัญ และปฏบิ ตั กิ ารรวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์ขอ้ มูล และสรุปผล
เรยี นรรู้ ะดบั การหาความรู้ ความจรงิ

ผลการเรยี นรู้ ท่ี 1.อธิบายความหมาย ความสาคญั และขัน้ ตอนในการทาวิชัยอยา่ งง่าย ดน้ หาความรู้ ความ
คาดหวงั จริง
2.เหน็ ความสาคญั ของการคน้ หาความรู้ ความจริง
3.ปฏิบัติการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมลู และสรปุ ผลการหาความรคู้ วามจริง

22

สาระทกั ษะการเรยี นรู้
รายวชิ าบงั คับ

มาตรฐานที่ ระดบั ประถมศกึ ษา
1.1-1.5
สาระ รหัสรายวิชา รายวิชาบังคับ หน่วยกิต
ทกั ษะการเรยี นรู้ 5
ทร11001 ทกั ษะการเรยี นรู้ 5

รวม

รายวชิ าเลอื ก

มาตรฐานที่ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น หน่วยกิต
1.1 สาระ รหัสรายวชิ า รายวชิ าเลอื ก 1
ทักษะการเรยี นรู้ 3
ทร02005 การรู้จกั ตนเอง
4
ทร02006 โครงงาน เพ่ือพฒั นาทักษะการ

เรยี นรู้

รวม

23

คาอธิบายรายวชิ าบงั คับ
และรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ าบงั คบั

24

คาอธบิ ายรายวชิ า ทร11001 ทกั ษะการเรียนรู้ จานวน 5 หน่วยกติ
ระดับประถมศึกษา

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
1.ความสามารถในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง
2.รูจ้ ัก เห็นคุณคา่ และใชแ้ หลง่ เรยี นร้ถู ูกตอ้ ง
3.เข้าใจความหมาย กระบวนการชมุ ชนปฏบิ ตั ิการและทาตามกระบวนการชัดการความร้ชู ุมชน
4.ความสามารถในการอธิบายปรัชญาคิดเปน็ และทักษะในการใชก้ ระบวนการคดิ เป็นในการแกป้ ัญหา
5.เข้าใจความหมาย เหน็ ความสาคัญ และปฏบิ ัตกิ ารรวบรวมขอ้ มูล วิเคราะหข์ อ้ มูล และสรุปผล การหา

ความรู้ ความจรงิ
ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้
1.การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง

ความหมาย ความสาคัญของการเรียนร้ดู ้วยตนเอง
ฝกึ ทักษะพน้ื ฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแกป้ ญั หาและเทคนคิ ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ดา้ น
การอา่ น การปงั การสังเกต การจา และการจดบนั ทึก
เจตคติ/ปัจจยั ท่ีทาใหก้ ารเรยี นร้ดู ้วยตนเองประสบความสาเร็จ การเปิดรับโอกาสการเรียนรู้ การคิดริเริ่ม
และเรียนรดู้ ้วยตนเอง การสร้างแรงจูงใจ การสรา้ งวินยั ในตนเอง การคดิ เชิงบวก ความคิดสร้างสรรค์ ความรกั ใน
การเรียน การใฝร่ ู้ใฝ่เรียน และความรับผดิ ชอบ
2.การใชแ้ หล่งเรียนรู้
ศกึ ษาความหมาย ความสาคญั ของแหล่งเรียนรโู้ ดยท่วั ไป เช่น กลุ่มบริการขอ้ มูล กล่มุ สิลปวฒั นธรรม
ประวตั ศิ าสตร์ กลุม่ ขอ้ มลู ท้องถน่ิ กลุ่มส่อื กลุ่มสนั ทนาการศึกษา สารวจแหล่งเรียนรภู้ ายในชมุ ชน ชัดกลมุ่
ประเภท และความสาคัญ ศึกษาเรยี นรกู้ ับภมู ิปญั ญา ปราชญ์ ผู้รู้ในท้องถิน่
การเขา้ ถงึ และเลอื กใชแ้ หลง่ เรียนรู้ หอ้ งสมุดประชาชน สถานศึกษา และศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน (ศรช.) ศึกษาบทบาท
หน้าท่ีและการบริการของแหล่งเรยี นรดู้ า้ นต่าง ๆ กฎ กตกิ า เง่อื นไขต่าง ๆ ในการไปขอ ใชบ้ ริการ ฟิกทักษะการใช้
ขอ้ มูลสารสนเทศจากหอ้ งสมุดประชาชนให้สอดคล้องกับความต้องการ ความจาเปน็ เพอ่ื นาไปใช้ในการเรยี นรู้ของ
ตนเอง
3.การจดั การความรู้
ศกึ ษาความหมาย ความสาคญั หลกั การของการชดั การความรู้ กระบวนการชัดการความรู้ การรวมกลุ่ม
เพอ่ื ตอ่ ยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรขู้ องกลุม่ การชดั ทาสารสนเทศเผยแพร่ความรู้
ฟกิ ทกั ษะกระบวนการชัดการความรดู้ ้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการโดยการกาหนด เปา้ หมายการ
เรียนรู้ ระบุความรูท้ ตี่ ้องใช้ การแสวงหาความรู้ สรุปองค์ความรู้ ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ แลกเปลย่ี น ความรู้ การ
รวมกลมุ่ ปฏบิ ตั กิ ารเพือ่ ต่อยอดความรู้ การพฒั นาขอบข่ายความรขู้ องกลุ่ม สรปุ องค์ความร้ขู องกลมุ่ ชดั ทา
สารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว

25

4.การคิดเปน็
ศกึ ษาทาความเขา้ ใจกบั ความเชอ่ื พืน้ ฐานทางการศกึ ษาผใู้ หญ่ การศกึ ษานอกระบบ และเช่ือมโยง ไปสกู่ าร

เรียนร้เู รอ่ื งความหมายและความสาคญั ของการคิดเป็น โดยใช้ขอ้ มลู ด้านวิชาการ ตนเอง สงั คม สิ่งแวดลอ้ มอยา่ ง
พอเพยี ง มาวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ เพ่อื กาหนดทางเลือกในการคิด การตัดสินใจ แลป้ ัญหา ท่ีเหมาะสมอยา่ งคน
คดิ เป็น ฟิกทักษะในการทาความเขา้ ใจในลกั ษณะของข้อมลู ดา้ นวชิ าการ ตนเอง และสังคม สงิ่ แวดลอ้ ม และฟิก
การใช้ข้อมลู ทง้ั 3 ดา้ น ในการประกอบการคดิ และการสัดสันใจแล้ปัญหาท่ีหลากหลาย ตามกระบวนการแลป้ ัญหา
อย่างคนคดิ เป็น
5.การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย

ศกึ ษาฝึกทกั ษะ ความหมาย ความสาคัญของการวิจัยอย่างงา่ ย กระบวนการและข้ันตอนของ การ
ดาเนินงาน ไดแ้ ก่ การระบุ/กาหนดปัญหา ทีต่ อ้ งการหาความรู้ ความจรงิ หรอื สิง่ ตอ้ งการพัฒนา การแสวงหา
ความรจู้ ากการศึกษาเอกสาร ผทู้ รงคุณวุฒิ ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ แหล่งความรู้ตา่ ง ๆ เพ่อื กาหนด แนวคาตอบเบอื้ งต้น
การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการ สอบถาม สารวจ/สัมภาษณ์/ทดลอง การนาขอ้ มลู ท่ีไดม้ าวเิ คราะห์หาคาตอบที่
ตอ้ งการ การเขียนรายงานสรุปผล และการนาความรูไ้ ปปฏิบัตจิ รงิ
การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
1.การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง

ควรจดั ในลกั ษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมคับการสร้างสถานการณใ์ นการเรยี นรู้ อย่าง
สรา้ งสรรค์ เพือ่ 1) ฟิกให้ผู้เรียนได้กาหนดเปา้ หมาย และวางแผนการเรียนรู้ 2) เพิ่มพนู ให้มที กั ษะ พ้ืนฐานในการ
อา่ น ฟ้ง สังเกต จา จดบันทกึ 3) มเี จตคติท่ีดตี อ่ การเรยี นรู้ด้วยตนเองท่ีทาให้การเรยี นรูด้ ว้ ย ตนเองประสบ
ผลสาเรจ็ และนาความรู้ไปใชใ้ นวถิ ชี วี ิตให้เหมาะสมกับตนเอง และชมุ ชน/สังคม
2.การใชแ้ หลง่ เรียนรู้

ต้องให้ผู้เรยี นทกุ คนไปศกึ ษาห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ ทาความเขา้ ใจบทบาท หนา้ ที่ กฎ กติกา เงอื่ นไข
การให้บรกิ าร เพอ่ื ใช้หอ้ งสมดุ ประชาชนให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ความจาเป็นในการนาไปใช้ ในการเรยี นรู้
ของตนเอง รวมท้งั มอบหมายให้ผ้เู รียนไปศึกษาจากแหล่งเรยี นรูอ้ ่นื ๆ เชน่ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ แหลง่ เรียนรชู้ มุ ชน
3.การจดั การความรู้

ศกึ ษาด้นควา้ หลักการ และกระบวนการของการชัดการความรู้ การฟิกปฏิบัตจิ ริงโดยการรวมกลมุ่
ปฏบิ ัติการ/ชมุ ชนปฏบิ ตั กิ าร (Community of Practice = CoPs) สรุปองค์ความรู้ของกล่มุ และชดั ทาสารสนเทศ
เผยแพรค่ วามรู้
4.การคดิ เป็น

ให้ผ้เู รยี นได้ศึกษาทาความเขา้ ใจกับความเช่อื พืน้ ฐานทางการศกึ ษาผใู้ หญ่/การศึกษานอกระบบดว้ ย
กระบวนการอภิปรายกลุ่มและรว่ มสรุปสาระสาคญั ที่เช่อื มโยงไปสู่การคดิ เปน็ ด้วยการวเิ คราะหข์ อ้ มูลท้งั ด้าน
วิชาการ ตนเอง สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม และนาไปสูก่ ารคดิ และการแล้ปัญหาตามกระบวนการคิดเปน็ ทมี่ ี คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และมคี วามสุข จากใบงานและใบความรตู้ ่าง ๆ ท่ีมีการชดั เตรยี มไว้ให้ผู้เรียนมีโอกาส ฟิกทักษะในการคดิ

26

การให้เหตผุ ลในการแก้ปัญหาหลากหลายชนิดทีเ่ สนอข้นึ มาเป็นกรณตี วั อยา่ ง และสรปุ ใหเ้ ห็นวา่ การแกป้ ัญหาตาม
กระบวนการคดิ เปน็ นัน้ ต้องใช้ขอ้ มูลประกอบอยา่ งนอ้ ย 3 ประการดงั กล่าว
5.การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย

จดั ให้ผเู้ รยี นได้ศึกษา คน้ ควา้ เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง ฟิกทักษะการสงั เกตและคน้ หาปญั หาทพี่ บ ใน
ชีวติ ประจาวัน/ในสาระที่เรียน การตง้ั คาถาม การแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั เพือ่ น/ผู้รู้ การคาดเดาคาตอบ อยา่ งมี
เหตุผล การฟิกปฏบิ ัติการเขียนโครงการวิชยั ง่าย ๆ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การสรปุ ขอ้ มลู และเขยี น รายงานผล
อย่างง่าย ๆ
การวดั และประเมนิ ผล
1.การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

ใช้การประเมนิ จากสภาพจรงิ ของผู้เรียนท่แี สดงออกเกย่ี วกับการกาหนดเปา้ หมาย และวางแผน การ
เรียนรู้ รวมทักษะพ้ืนฐานและเทคนิคในการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ตลอดจนปจั จัยทีท่ าใหก้ ารเรียนรปู้ ระสบความสาเรจ็
2.การใช้แหลง่ เรียนรู้

ข้อมลู จากการนาเสนอ ซึ่งเปน็ ผลจากการศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นร้ใู นรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ การเขยี น รายงาน
การรว่ มกันอภปิ ราย การนาในการพบกลุ่ม เปน็ ตน้
3.การจัดการความรู้

จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเหน็ การมีส่วนรว่ ม การให้ความร่วมมอื ในกลมุ่ ปฏิบตั กิ าร
ผลงาน/ชน้ิ งานจากการรวมกลมุ่ ปฏิบัตกิ าร ใชว้ ธิ ีการประเมนิ แบบมีส่วนร่วมระหวา่ งครู ผเู้ รียน และผูเ้ กี่ยวขอ้ ง
รว่ มกันประเมินตคี า่ ความสามารถ ความสาเรจ็ กับเป้าหมายท่วี างไว้ และระบุขอ้ บกพร่องที่ต้อง แก้ไข ส่วนท่ีทาได้ดี
แล้วก็พฒั นาใหด้ ีย่ิงข้ึนต่อไป
4.การคดิ เป็น

ประเมนิ จากการร่วมอภปิ รายของผเู้ รียน และจากการใชข้ อ้ มูลทางวชิ าการ ตนเอง และสงั คม สิ่งแวดลอ้ ม
มาประมวลใชป้ ระกอบการคิด การตดั สินใจแก้ปัญหาอย่างเหมาะสมและพอเพียงของผู้เรยี น
5.การวจิ ยั อย่างง่าย

จากการสังเกต ความสนใจ การมสี ่วนรว่ ม ความร่วมมอื จากผลงาน/ชิ้นงานที่มอบหมายให้ ฝึกปฏิบตั ิ ใน
ระหวา่ งเรยี นและการสอบปลายภาคเรยี น

27

รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา ทร11001 ทกั ษะการเรียนรู้ จานวน 5 หนว่ ยกิต

ระดบั ประถมศึกษา

มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั

1.ความสามารถในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง

2.ร้จู ัก เหน็ คณุ ค่า และใชแ้ หล่งเรยี นรถู้ ูกต้อง

3.เข้าใจความหมาย กระบวนการชุมชนปฏิบตั ิการและทาตามกระบวนการชดั การความรู้ชมุ ชน

4.ความสามารถในการอธบิ ายปรชั ญาคิดเปน็ และทักษะในการใช้กระบวนการคดิ เปน็ ในการแกป้ ญั หา

5.เข้าใจความหมาย เห็นความสาคัญ และปฏบิ ตั ิการรวบรวมข้อมลู วเิ คราะหข์ ้อมลู และสรุปผล การหา

ความรู้ ความจริง

ท่ี หวั เร่อื ง ตัวชี้วัด เน้อื หา จานวน
(ชัว่ โมง)

1 การเรียนรู้ 1.รู้ เขา้ ใจความหมาย ตระหนกั และ 1.ความหมาย ความสาคญั ของการ 3

ด้วยตนเอง เหน็ ความสาคัญของการ เรียนรู้ด้วย เรยี นร้ดู ้วยตนเอง 6
ตนเอง 2.การกาหนดเปา้ หมายและวางแผน การ

2.สามารถกาหนดเปา้ หมายและ วาง เรียนรดู้ ้วยตนเอง

แผนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง 3.ทกั ษะพื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู้ 25

3.มีทักษะพน้ื ฐานทางการศึกษา หา ทกั ษะการแกป้ ัญหา และ เทคนคิ ในการ

ความรู้ ทักษะการแก้ปญั หา และ เรียนรู้ด้วยตนเอง (การอ่าน การปงั การ

เทคนิคในการเรยี นรดู้ ้วย ตนเอง สงั เกต การจา และการจดบันทกึ )

4.สามารถอธิบายปัจจัยทีท่ าให้ การ 4.เจตคติ/ปัจจัย ที่ทาให้การเรียนรู้ ดว้ ย 6

เรียนรดู้ ว้ ยตนเองประสบ ความสาเร็จ ตนเองประสบความสาเร็จ (การเปิดรบั

โอกาสการเรยี นรู้ การคิดริเริม่ และเรยี นรู้

ด้วยตนเอง การสรา้ งแรงจูงใจ การสรา้ ง

วินยั ในตนเอง การคดิ เชงิ บวก ความคิด

สรา้ งสรรค์ ความรกั ในการเรียน การใฝร่ ู้

ใฝเ่ รยี น และความรับผดิ ชอบ)

28

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวชี้วดั เนอ้ื หา จานวน
(ชั่วโมง)
2 การใช้ แหลง่ 1.รู้ เขา้ ใจความหมาย ตระหนกั และ 1.ความหมาย ความสาคญั ของแหลง่
เรยี นรู้ เห็นความสาคญั ของ แหล่งเรียนรู้ เรียนรโู้ ดยท่ัวไป (กลมุ่ บริการข้อมูล กล่มุ 3

โดยทวั่ ไป ศิลปวัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ กลมุ่ 12
6
2.อธิบายถงึ ความสาคัญของการ ใช้ ขอ้ มลู ท้องถิ่น กลุม่ สื่อ กลมุ่ สันทนาการ) 3
16
แหล่งเรยี นรู้ 2.การเขา้ ถึงและเลอื กใช้แหลง่ เรียนรู้
5
3.สามารถบอกและยกตวั อย่าง (หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอของ 5
ประเภทของแหล่งเรียนรู้ สถานศกึ ษา และ ศรช.)

4.สามารถเลอื กและบอกวธิ กี าร 3.บทบาทหนา้ ทแี่ ละการบรกิ ารของ

เข้าถึงแหล่งเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ดา้ นตา่ ง ๆ

ยกตัวอยา่ งการใช้แหล่งเรยี นรู้ ของ 4.กฎ กติกา เงื่อนไขตา่ ง ๆ ในการ ไปขอ

ตนเอง ใช้บริการแหล่งเรยี นรู้
5.สามารถอธิบายหรือยกตัวอย่าง 4.ทกั ษะการใชข้ ้อมูลสารสนเทศจาก
การใชข้ อ้ มลู สารสนเทศจาก หอ้ งสมดุ หอ้ งสมุดประชาชนทส่ี อดคลอ้ งกับ ความ

ประชาชนทีส่ อดคลอ้ ง กับความ ตอ้ งการ ความจาเป็นเพื่อนา ไปใชใ้ นการ
ตอ้ งการ ความจาเป็น เพอื่ นาไปใช้ใน เรยี นรขู้ องตนเอง
การเรยี นรู้ของ

ตนเอง

3 การจัดการ 1.รู้ เข้าใจ ความหมาย ความสาคญั 1.ความหมาย ความสาคญั หลกั การ ของ

ความรู้ ประโยชน์หลักการของการจัดการ การชดั การความรู้
ความรู้ 2.กระบวนการชดั การความรู้ (กาหนด
2.รู้ เข้าใจกระบวนการจัดการความรู้ เปา้ หมายการเรียนรู้/ระบคุ วามรู้/

กาหนดความร้ทู ตี่ อ้ งการใช้/การ แสวงหา
ความรู้/สรปุ องคค์ วามรู้ ปรับปรุง
ดดั แปลงใหเ้ หมาะสมตอ่ การใชง้ าน/

ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรูใ้ น กจิ การงานของตน/
แลกเปลย่ี นความรู้/ รวมกลมุ่ ปฏิบตั กิ าร
ตอ่ ยอดความรู้ พัฒนาขอบข่ายความรู้

ของกลมุ่ / สรปุ องคค์ วามร้ขู องกลุม่ /ชัด
ทา สารสนเทศ เผยแพรค่ วามรู้)

29

ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชวี้ ดั เน้ือหา จานวน
(ชว่ั โมง)

3.สามารถใชก้ ารจดั การความรู้ เป็น 3. กระบวนการจัดการความรดู้ ้วยตนเอง 10
เคร่อื งมือในการเรียนรู้ดว้ ย (ระดบั ปัจเจก)

ตนเอง 3.1กาหนดความรูห้ ลกั ทจ่ี าเปน็ หรอื

4.สามารถชดั การความรู้โดย สาคญั ต่องานหรือกจิ กรรม

กระบวนการกลุ่ม 3.2เสาะแสวงหาความรู้

5.สามารถสรา้ ง พฒั นาความรู้ 3.3ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้

(นวัตกรรม) 3.4แลกเปล่ยี นความรู้

6.สามารถใชส้ ารสนเทศเป็นเคร่อื งมอื 3.5พฒั นาความรู้/ยกระดบั ความรู้/ ต่อ

ในการเผยแพรอ่ งค์ความรู้ ยอดความรู้

3.6สรุปองค์ความรู้

3.7จัดทาสารสนเทศองคค์ วามรู้ ในการ

พัฒนาตนเอง

กระบวนการจัดการความรดู้ ้วยการ 10
ปฏบิ ัติการกลุ่ม (ชุมชนนกั ปฏิบัติหรือ

ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ :CoPs)

1.รปู แบบของ CoPs ทใ่ี ช้ในการ ชัดการ

ความรู้

2.การทา CoPs เพอ่ื ชัดการความรู้

2.1บนั ทึกการเล่าเรอื่ ง

2.2บนั ทึกขมุ ความรู้

2.3บนั ทกึ แกน่ ความรู้

3.บันทึก ชดั เกบ็ เปน็ องค์ความรู้ ของ

กล่มุ เพ่ือใช้ประโยชนใ์ หผ้ อู้ ่นื ไดเ้ รยี นรู้

ตอ่ ไป

การสร้างองคค์ วามรู้ พฒั นา ตอ่ ยอด 5
ยกระดบั ความรู้

1.การใชค้ วามรูแ้ ละประสบการณใ์ น

ตวั บคุ คลให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ กลุม่ /

หน่วยงาน/ชมุ ชน

2.การทางานแบบต่อยอดความรู้

3.วิธปี ฏบิ ัติที่เปน็ เลิศ (Best Practice)

30

ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชว้ี ดั เนือ้ หา จานวน
4 การคิดเป็น (ชัว่ โมง)
การจัดทาสารสนเทศเผยแพร่
5
องค์ความรู้
15
1.การถ่ายทอดความรู้ รปู แบบ วิธกี าร

2.การประสานความรู้

3.การถอดองค์ความรู้

4.การแลกเปล่ยี นเรียนรู้

5.การจัดเกบ็ ความรขู้ องกลมุ่ /องค์กร

การสรา้ งคลังความรู้ การประยุกต์ ใช้

ICT

1.เข้าใจและเช่ือม่นั ในความเช่ือ 1. ความเช่อื พ้นื ฐานทางการศกึ ษาผ้ใู หญ่/

พื้นฐานทางการศกึ ษาผู้ใหญ่/ การศกึ ษานอกระบบ 5 ประการ

การศึกษานอกระบบทีเ่ ป็นพ้ืนฐาน 1.1คนทกุ คนมคี วามแตกตา่ งคนั แตท่ ุก

เบื้องต้นของการเข้าถงึ ปรชั ญา คิด คนต้องการความสุขของแตล่ ะคนจงึ

เป็น แตกต่างกนั

2.รูแ้ ละเข้าใจปรัชญาคดิ เป็น สามารถ 1.2ความสขุ ของคนจะเกิดขน้ึ กต็ ่อเมื่อ

อธบิ ายไตถ้ ึงความหมาย และ มกี ารปรบั ตวั เองและ สิ่งแวดลอ้ มให้เขา้

ความสาคญั ของการคิดเปน็ ท่ี หากนั อย่าง ผสมกลมกลนื จนเกิดความ

เชอื่ มโยงจากความเชอื่ พน้ื ฐาน ทาง พอดี

การศึกษาผู้ใหญแ่ ละการ ศึกษานอก 1.3สภาวะแวดล้อมในสังคม

ระบบ/การศึกษาตาม อธั ยาศัย เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา จึง ทาให้เกิด

3.เขยี นผงั กระบวนการคิดแก้ปัญหา ปญั หา เกดิ ความทุกข์ ความไม,สบายกาย

ตามแนวทางของคนคิดเปน็ ไม,สบายใจ อยตู่ ลอด

4.อธบิ ายเสนอแนวทางการแก้ปญั หา 1.4เม่ือเกดิ ปัญหาหรอื เกิดทกุ ข์ กต็ อ้ ง

ตามกระบวนการคิดเปน็ จาก กรณี หาวธิ แี ก้ปญั หา ซงึ่ การ แกป้ ัญหาท่ี

ตวั อยา่ งท่ีกาหนดไต้อยา่ งมี ขอ้ มลู เหมาะสมตอ้ งมี ข้อมลู ประกอบการคิด

เพียงพอ การ ตดั สนิ ใจ อยา่ งน้อย 3 ประการ คอื

5.ทาแบบฟกิ หัดการแกป้ ญั หาต้าน ข้อมูลต้านวชิ าการ ข้อมลู ต้านตนเอง

กระบวนการคิดเป็นทก่ี าหนด ให้ไต้ ข้อมลู ต้านสังคม สง่ิ แวดลอ้ ม

คล่อง

31

ที่ หวั เร่ือง ตวั ช้วี ัด เนื้อหา จานวน
(ชั่วโมง)
4 การคิดเป็น
(ต่อ) 1.5 เมอื่ ได้ใชว้ ิธแี ก้ปญั หาดว้ ยการ

วิเคราะหข์ ้อมลู และไตร่ตรอง ข้อมูลอย่าง

รอบคอบ ท้งั 3 ดา้ น จนมคี วามพอใจ

แล้วก็พร้อม ทจ่ี ะรับผิดชอบการตัดสนิ ใจ

ท่ี เกดิ ความพอดี ความสมดลุ ระหวา่ ง

ชวี ติ กับธรรมชาติอยา่ ง สนั ติสขุ

2.ปรัชญาคดิ เป็น 10

2.1ความหมาย

2.2ความสาคัญ

2.3คาที่เกย่ี วขอ้ ง

2.4การเชือ่ มโยงความเชอ่ื พื้นฐาน ทาง

การศึกษาผู้ใหญ่การศกึ ษา นอกระบบ

กบั ปรชั ญาคดิ เป็น

3.กระบวนการและขน้ั ตอนการแกป้ ญั หา 10

อยา่ งคนคิดเปน็

3.1ทกุ ข์/ปญั หาที่ปรากฏ

3.2ศกึ ษาสาเหตขุ องทุกข์ ปัญหา โดยการ

วเิ คราะหข์ ้อมลู ท่เี ก่ียวขอ้ ง ท้ังข้อมลู

วชิ าการ ขอ้ มูลตนเอง และขอ้ มูลทาง

สังคม ส่ิงแวดล้อม ใหร้ ู้ลักษณะเบอ้ื งดน้

ของข้อมลู ทง้ั 3 ประการ และ

เปรยี บเทยี บ ความแตกตา่ งของขอ้ มลู

ตา่ ง ๆ อยา่ งงา่ ย ๆ ได้

3.3กาหนดทางเลอื กในการดับทุกข์/

ปัญหา และเลือกแนวทางที่ เหมาะสม

3.4ดาเนนิ การแกป้ ัญหาเพื่อการ ลับทกุ ข์

32

ที่ หวั เร่อื ง ตวั ช้วี ดั เนือ้ หา จานวน
(ชว่ั โมง)

3.5 ประเมินผลการดาเนนิ งาน หากมีผล 5

เปน็ ทพี่ อใจก็จะเกิด สนั ติสุข ถา้ ยังไม,

พอใจกจ็ ะ ย้อนกลับไปพจิ ารณาสาเหตุ

ทุกข์หรอื ปัญหาใหมแ่ ละ แสวงหาขอ้ มูล

เพิ่มเติมอยา่ ง พอเพยี งจนพอใจกับการ

ตัดสินใจของตนเอง

4. กรณตี วั อย่างท่หี ลากหลายเพอ่ื ฟกิ

ทักษะการคิดเปน็ ดว้ ยกระบวนการ

แก้ปัญหาอยา่ งคนคิดเปน็

5 การวิชยั รูเ้ ขา้ ใจความหมายและตระหนกั ถึง 1.วจิ ยั คอื อะไร ทาไมต้องรเู้ รื่องการวิจัย 2
อยา่ งงาย 30
ความสาคัญของการวิจัย (ความหมายและความสาคัญของ การ

วเิ คราะห์และกาหนดปัญหา หรือสงิ่ ท่ี วิจยั )

อยากรู้/ตอ้ งการทราบ คาตอบ 1.1ความหมายของการวิจัย

1.2ความสาคญั และประโยชน์ ของการ

วิจยั

2.ทาวจิ ัยอยา่ งไร

(กระบวนการและขั้นตอนการวิจยั )

2.1คาถามที่ตอ้ งการคาตอบคือ อะไร

ปญั หาทต่ี อ้ งการทราบ จากการวิจยั คอื

อะไร (การระบุ ปัญหาการวิจัย)

2.2คาดเดาคาตอบวา่ อยา่ งไร กาหนด

แนวคาตอบเบอ้ื งต้น (สมมติฐาน)

2.3วิธกี ารหาคาตอบท่ีต้องการรู้/ แหลง่

คาตอบ/การรวบรวม คาตอบ (การเก็บ

รวบรวมข้อมลู / เคร่ืองมือการวิจยั )

33

ท่ี หัวเร่ือง ตวั ชวี้ ัด เน้อื หา จานวน
(ชว่ั โมง)

รู้เข้าใจกระบวนการและข้นั ตอน การ 2.4 ตอบคาถามทสี่ งสัยว่าอย่างไร (การ 8

วจิ ัย วิเคราะหข์ อ้ มูล/สรุปผล การวิจัย)

ฟิกปฏิบตั ิการสงั เกตปญั หา การระบุ 3. เขยี นอย่างไร ใหค้ นอ่านเขา้ ใจ (การ

ปัญหา การต้ังสมมติฐาน การเกบ็ เขยี นรายงานการวิจยั อยา่ งงา่ ย)

รวบรวมข้อมลู การสรปุ ขอ้ มลู และ 3.1ความเป็นมา/ความสาคญั ของ เร่อื งท่ี

การเขยี นรายงาน การวชิ ัยอยา่ งง่าย ทาวจิ ยั

3.2วัตถุประสงคก์ ารวิจยั

3.3ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการวิจัย

3.4เอกสารที่เก่ียวข้อง

3.5วธิ ดี าเนนิ การวิจยั

3.6การวิเคราะห์ขอ้ มูล

3.7สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ

3.8เอกสารอา้ งอิง

34

คาอธิบายรายวิชาเลือก
และรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ าเลือก

35

รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา ทร02006 โครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรียนรู้ จานวน 3 หนว่ ยกติ
ระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมธั ยมศึกษาตอนปลาย

มาตรฐานท่ี 1.1 มีความรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ่ีดีตอ่ การเรียนรูด้ ้วยตนเอง

ที่ หวั เรือ่ ง ตัวชว้ี ดั เน้ือหา จานวน
(ชวั่ โมง)
1 โครงงานเพ่อื 1.มีความรคู้ วามเข้าใจ หลักการ และ 1.หลักการและแนวคดิ ของโครงงาน เพือ่
120

พัฒนาทักษะ แนวคิดโครงงาน ความหมาย ของ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้

การเรยี นรู้ โครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะ การเรยี นรู้ 2.ความหมายของโครงงานเพ่ือพฒั นา

ประเภทของโครงงาน การเตรยี มการ ทักษะการเรยี นรู้

ทาโครงงาน ทักษะและกระบวนการ 3.การเตรียมการทาโครงงานเพ่อื พัฒนา

ในการ ทาโครงงาน การดาเนินการใน ทกั ษะการเรยี นรู้

การทาโครงงาน 4.ทกั ษะและกระบวนการท่ีจาเป็นใน

2.มีความสามารถในการดาเนนิ การ การทาโครงงานเพอ่ื พฒั นาทักษะ การ

ทาโครงงาน และสะท้อนความ เรียนรู้ (การหาข้อมลู การเลอื กใช้ ข้อมูล

คิดเหน็ ตอ่ โครงงาน การจัดทาข้อมลู การนาเสนอ ข้อมลู การ

3.มเี จตคตทิ ด่ี ีต่อการทาโครงงาน และ พัฒนาต่อยอดความรู้)

เห็นคุณคา่ ของโครงงาน 5.การดาเนินการในการทาโครงงาน เช่น

การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ การทา ไดอาร่ี

ออนไลน์

6.การสะทอ้ นความคดิ เหน็ ต่อโครงงาน

36

สาระความร้พู ้ืนฐาน
สาระความรพู้ ื้นฐาน เปน็ สาระเก่ียวกับภาษาและการสอ่ื สาร คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สาระความรูพ้ น้ื ฐาน ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานท่ี 2.1 มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ และทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกบั ภาษาและการสือ่ สาร
มาตรฐานที่ 2.2 มคี วามรู้ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกยี่ วกับคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ และผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง ในแตล่ ะมาตรฐาน
มาตรฐานท่ี 2.1 มีความรู้ความเขา้ ใจ และทักษะพื้นฐานเกย่ี วกับภาษาและการสอ่ื สาร
รายวชิ า ภาษาไทย
มาตรฐาน การ การฟงั การดู
เรยี นรรู้ ะดบั 1.เหน็ ความสาคญั ของการฟัง และดู

2.สามารถจับใจความ และสรปุ ความจากเรื่องท่ีฟังและดู
3.มีมารยาทในการฟัง และดู
ผลการเรียนรู้ ท่ี 1.รแู้ ละเข้าใจหลกั การ ความสาคัญและจุดมงุ่ หมายของการฟังและดู
คาดหวัง 2.จับใจความสาคญั และสรปุ ความจากเร่ืองทีฟ่ ังและดู
3.ปฏิบัตติ นเป็นผู้มีมารยาทในการฟังและดู

มาตรฐาน การ การพูด
เรยี นร้รู ะดับ 1.เห็นความสาคัญ และลักษณะการพดู ท่ีดี

2.สามารถพูดแสดงความรู้ ความคดิ ความรูส้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
3.มมี ารยาทในการพูด
ผลการเรยี นรู้ ที่ 1.เข้าใจความสาคัญ และลกั ษณะการพูดทด่ี ี
คาดหวัง 2.พูดแสดงความรู้ ความคดิ ความรสู้ ึก ได้อยา่ งเหมาะสม
3.ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้มมี ารยาทในการพูด

37

มาตรฐาน การ การอ่าน
เรยี นร้รู ะดบั 1.เหน็ ความสาคัญของการอา่ น ท้ังการอ่านออกเสียงและอ่านในใจ

2.สามารถอ่านได้อย่างถกู ต้อง และอา่ นได้เร็ว เขา้ ใจความหมายของถอ้ ยคา ข้อความ เน้อื
เร่ืองทอี่ ่าน
3.มมี ารยาทในการอ่านและนิสยั รักการอ่าน

ผลการเรียนรู้ ท่ี 1.เขา้ ใจความสาคัญ หลกั การ และจุดมุ่งหมายของการอ่านท้ังอา่ นออกเสียงและอ่านในใจ
คาดหวงั 2.อ่านออกเสยี งคา ข้อความ บทสนทนา เรอื่ งสั้น บทรอ้ ยกรอง และบทร้องเลน่ บทกล่อมเด็ก
3.อธิบายความหมายของคาและขอ้ ความท่ีอ่าน
4.ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผ้มู มี ารยาทในการอา่ นและมนี ิสัยรกั การอา่ น

มาตรฐาน การ การเขยี น
เรียนรูร้ ะดบั 1.เหน็ ความสาคญั ของการเขยี นและประโยชนข์ องการคดั ลายมอื

2.สามารถเขยี นคา คาคลอ้ งจอง ประโยค และเขยี นบนั ทกึ เร่ืองราว สอื่ สาร เหตกุ ารณ์ ใน
ชวี ิตประจาวนั ได้
3.มมี ารยาทในการเขยี นและนิสยั รักการเขยี น

ผลการเรียนรู้ ท่ี 1.เข้าใจหลักการเขียน และเห็นความสาคัญของการเขยี น
คาดหวัง 2.รู้จกั อักษรไทย เขียนสะกดคา และรคู้ วามหมายของคา คาคลอ้ งจอง และประโยค
3.เขยี นส่อื สารในชีวิตประจาวนั จดบนั ทึก โดยใชค้ าถกู ต้อง ชัดเจน
4.เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ จดหมาย ได้ตามรูปแบบ
5.เขียนรายงาน การคน้ คว้า สามารถล้างอิงแหลง่ ความรู้
6.กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ
7.ปฏบิ ตั ติ นเป็นผมู้ ีมารยาทในการเขยี นและมกี ารจดบันทกึ อย่างสมาเสมอ

38

มาตรฐาน การ หลักการใช้ภาษา
เรียนรรู้ ะดบั 1.สามารถสะกดคา โดยนาเสียงและรูปอักษรไทยประสมเป็นคาอ่านและเขียนได้ถูกต้อง ตาม

หลกั การใช้ภาษา
2.สามารถใช้เครื่องหมายวรรคตอนไต้ถกู ตอ้ งและเหมาะสม
3.เข้าใจลกั ษณะของคาไทย คาภาษาถิ่น และคาภาษาต่างประเทศทีใ่ ชใ้ นภาษาไทย
ผลการเรียนรู้ ที่ 1.อธิบายการใชเ้ สียง และรปู อักษรไทย อักษร 3 หมู, และการผันวรรณยุกต์ไต้
คาดหวงั 2.อธบิ ายเกีย่ วกับคา การสะกดคา พยางค์ และประโยคได้ถกู ต้อง
ใชเ้ ครอื่ งหมายวรรคตอนและอักษรย่อได้ถกู ตอ้ ง
3.บอกประโยชน์การใชพ้ จนานกุ รม
4.บอกความหมายของสานวน คาพังเพย สุภาษิต คาราชาศัพท์ คาสุภาพ และ นาไปใช้ได้
ถูกตอ้ ง เหมาะสม
5.บอกลกั ษณะคาไทย คาภาษาถนิ่ และคาภาษาต่างประเทศทีม่ ใี ช้ในภาษาไทย

มาตรฐาน การ วรรณคดี วรรณกรรม
เรียนร้รู ะดบั 1. สามารถดน้ คว้าเรื่องราว ประโยชน์และคุณคา่ ของนทิ าน นทิ านพ้ืนบ้าน วรรณกรรม และ

วรรณกรรมบอ้ งถน่ิ
ผลการเรียนรู้ ที่ 1. อธบิ ายถงึ ประโยชน์ และคุณคา่ ของนิทาน นิทานพ้ืนบา้ น วรรณกรรมและ วรรณกรรมใน

คาดหวงั ท้องถิน่

39

รายวชิ า ภาษาตา่ งประเทศ
มาตรฐาน การ มีความรคู้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคติ เกีย่ วกบั การฟัง พูด อ่าน เขยี น ภาษาตา่ งประเทศ
เรยี นรู้ระดับ เพอื่ การส่อื สารในชีวิตประจาวันได้ถูกต้องตามหลักภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
ผลการเรยี นรู้ ท่ี 1.เข้าใจเกย่ี วกับการฟัง พดู อ่าน เขยี น เพอ่ื การสือ่ สารในชีวติ ประจาวัน
คาดหวัง 2.ยอมรับ และเหน็ คุณคา่ ภาษาตา่ งประเทศ เพอื่ การส่อื สารในชีวติ ประจาวัน
3.มที กั ษะท่ีถูกตอ้ งในการสอ่ื สารตามหลกั ภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา

มาตรฐานที่ 2.2 มีความรูค้ วามเขา้ ใจ และทักษะพน้ื ฐานเกี่ยวกบั คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
รายวชิ า คณติ ศาสตร์

มาตรฐาน การ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั จานวนและตวั เลข เศษส่วน ทศนยิ มและร้อยละ การวดั
เรยี นรู้ระดับ เรขาคณติ สถติ ิและความนา่ จะเป็นเบ้ืองต้น
ผลการเรียนรู้ ที่ 1.ระบหุ รอื ยกตวั อย่างเกย่ี วกับจานวนและการดาเนินการ เศษสว่ น ทศนยิ มและร้อยละ การ
คาดหวงั วดั เรขาคณติ สถติ ิ และความน่าจะเป็นเบื้องต้นได้

2.สามารถคิดคานวณและแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ียวกบั จานวนนับ เศษส่วน ทศนิยม ร้อยละ การวดั
เรขาคณิตได้
รายวชิ า วิทยาศาสตร์
มาตรฐาน การ มีความรู้ ความเขา้ ใจทักษะและเห็นคุณค่าเกี่ยวกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
เรยี นรูร้ ะดบั สง่ิ มีชวี ิต ระบบนเิ วศ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมในท้องถิ่น สาร แรง พลังงาน
กระบวนการเปลย่ี นแปลงของโลก และดาราศาสตร์ มจี ติ วทิ ยาศาสตร์และนาความรู้ ไปใช้
ประโยชน์ในการดาเนนิ ชีวติ
ผลการเรยี นรู้ ที่ 1.ใชค้ วามรแู้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการดารงชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
คาดหวัง 2.จาแนกส่งิ มีชวี ิตในแหล่งทีอ่ ยู่ อธบิ ายความสมั พันธ์ของกลมุ่ สิ่งมชี ีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสภาพแวดล้อมกับการดารงชีวติ ของส่ิงมีชวี ิตในชุมชนและ ท้องถ่นิ
3.อธบิ ายความหมาย ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ การใช้และการดแู ลรกั ษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมในชมุ ชนและทอ้ งถ่ินได้
4.อธิบายเกีย่ วกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และการพยากรณท์ างอากาศ
5.อธบิ ายเกยี่ วกบั สมบตั ิของสาร การแยกสารในชีวติ ประจาวนั และการเลอื กใช้สาร ได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย
6.อธบิ ายเกีย่ วกับประเภทของแรง ผลท่เี กิดจากการกระทาของแรง ความดัน แรงลอยตัว แรง
ดึงดดู ของโลก แรงเสียดทาน และการนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั
7.อธบิ ายเก่ยี วกบั พลังงานในชีวติ ประจาวัน
8.อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างดวงอาทติ ย์ โลก และดวงจันทรไ์ ด้

สาระความรพู้ ื้นฐาน 40

รายวิชาบังคบั หน่วยกิต
3
มาตรฐานที่ ระดับประถมศึกษา 3
2.1 3
2.1 สาระ รหสั รายวิชา รายวชิ าบังคับ 3
2.2 ความรพู ืน้ ฐาน 12
2.2 พท11001 ภาษาไทย
สาระ หน่วยกติ
รายวชิ าเลือก ความรูพ้ น้ื ฐาน พต11001 ภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน 2
2
มาตรฐานท่ี พค11001 คณติ ศาสตร์ 4
2.1
2.1 พว11001 วิทยาศาสตร์

รวม

ระดบั ประถมศกึ ษา

รหัสรายวชิ า รายวชิ าเลอื ก

พต12004 ภาษาองั กฤษอา่ น-เขียน

พค12004 ปญั หาพาเพลนิ

รวม

41

คาอธิบายรายวชิ าบงั คับ
และรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ าบงั คบั

42

คาอธบิ ายรายวชิ า พท1001 ภาษาไทย จานวน 3 หน่วยกิต
ระดบั ประถมศึกษา

มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั
การฟงั การดู

1.เหน็ ความสาคัญของการฟังและดู
2.สามารถจบั ใจความ และสรุปความจากเรอ่ื งทีฟ่ ังและดู
3.มมี ารยาทในการฟังและดู
การพดู
1.เหน็ ความสาคญั และลกั ษณะการพูดท่ดี ี
2.สามารถพูดแสดงความรู้ ความคิด ความร้สู กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
3.มมี ารยาทในการพูด
การอา่ น
1.เหน็ ความสาคญั ของการอ่าน ท้งั การอ่านออกเสียงและอา่ นในใจ
2.สามารถอา่ นไดอ้ ย่างถกู ต้อง และอา่ นไดเ้ รว็ เข้าใจความหมายของถอ้ ยคา ข้อความ เน้ือเรื่องที่อา่ น
3.มีมารยาทในการอา่ นและนสิ ยั รกั การอา่ น
การเขยี น
1.เห็นความสาคัญของการเขยี นและประโยชน์ของการคัดลายมอื
2.สามารถเขียนคา คาคลอ้ งจอง ประโยค และเขียนบันทึกเรอื่ งราว ส่ือสาร เหตุการณใ์ นชวี ิต ประจาวันได้
3.มีมารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรกั การเขยี น
หลักการใชภ้ าษา
1.สามารถสะกดคา โดยนาเสยี งและรูปอักษรไทยประสมเปน็ คาอา่ นและเขียนได้ถกู ต้องตามหลัก การใช้
ภาษา
2.สามารถใช้เครือ่ งหมายวรรคตอนได้ถกู ต้องและเหมาะสม
3.เขา้ ใจลกั ษณะของคาไทย คาภาษาถิ่น และคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย
วรรณคดี วรรณกรรม
สามารถคน้ คว้าเรอ่ื งราว ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของนทิ าน นทิ านพนื้ บา้ น วรรณกรรมและวรรณกรรม
ท้องถิน่
ศึกษาและฝกึ ทกั ษะเกยี่ วกบั เรอ่ื งดงั ตอ่ ไปนี้
การฟงั การดู
หลักการ ความสาคญั จุดมงุ่ หมาย การสรุปความ และมารยาทของการฟังและดู
การพดู
ความสาคญั ลักษณะการพดู ทด่ี ี และมารยาทในการพูด
การอา่ น

43

หลกั การ ความสาคญั จดุ มุ่งหมาย ของการอ่านออกเสยี งและอ่านในใจ บทรอ้ ยแกว้ บทร้อยกรองและ
มารยาทของการอา่ น
การเขยี น

หลักการ ความสาคญั ของการเขยี น การคดั ลายมือ การเขยี นส่ือสารในชีวติ ประจาวันดว้ ยวิธกี ารเขยี น
ประเภทต่าง ๆ และการกรอกแบบรายการตา่ ง ๆ ตลอดจนมีมารยาทในการเขยี น
หลกั การใชภ้ าษา

การใชเ้ สียงและรปู อักษรไทย อกั ษร 3 หมู, การผันวรรณยุกต์ ความหมายของคา คาไทย คาภาษาถิน่ คา
ภาษาต่างประเทศทใี่ ช้ในภาษาไทย การสะกดคา พยางคแ์ ละประโยค การใชเ้ ครื่องหมายวรรคตอน พจนานุกรม
และความหมายของสานวน คาพังเพย สุภาษติ คาราชาศพั ท์ คาสภุ าพ
วรรณคดี และวรรณกรรม

ประโยชน์และคณุ คา่ ของนทิ าน นทิ านพ้นื บา้ น และวรรณกรรมในท้องถิ่น
การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้

จดั ประสบการณ์หรือสถานการณใ์ นชวี ิตประจาวันให้ผู้เรยี นไดศ้ กึ ษา ด้นคว้าโดยการปฏิบัตจิ ริงเปน็
รายบคุ คลหรือใชก้ ระบวนการกลมุ่ เก่ยี วกับทักษะการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขยี น และหลกั การ ใชภ้ าษา
การวดั และประเมินผล

การสงั เกต การฝึกปฏบิ ัติ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมินชินงานในแต่ละกิจกรรม

44

รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา พท11001 ภาษาไทย จานวน 3 หน่วยกิต
ระดบั ประถมศึกษา

มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั
การฟงั การดู

1.เห็นความสาคญั ของการฟังและดู
2.สามารถจบั ใจความ และสรุปความจากเรอื่ งทีฟ่ ังและดู
3.มมี ารยาทในการฟังและดู
การพดู
1.เห็นความสาคัญ และลักษณะการพดู ท่ีดี
2.สามารถพูดแสดงความรู้ ความคดิ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
3.มมี ารยาทในการพูด
การอา่ น
1.เห็นความสาคัญของการอ่าน ทง้ั การอ่านออกเสียงและอ่านในใจ
2.สามารถอ่านไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และอ่านไดเ้ รว็ เข้าใจความหมายของถ้อยคา ขอ้ ความ เนือ้ เรือ่ งทอี่ า่ น
3.มีมารยาทในการอ่านและนิสยั รักการอา่ น
การเขยี น
1.เห็นความสาคญั ของการเขียนและประโยชน์ของการคดั ลายมอื
2.สามารถเขียนคา คาคลอ้ งจอง ประโยค และเขียนบันทกึ เรอื่ งราว สอ่ื สาร เหตุการณ์ในชวี ติ ประจาวันได้
3.มีมารยาทในการเขยี นและนสิ ยั รกั การเขยี น
หลกั การใชภ้ าษา
1.สามารถสะกดคา โดยนาเสียงและรปู อกั ษรไทยประสมเป็นคาอา่ นและเขยี นได้ถกู ต้องตามหลัก การใช้
ภาษา
2.สามารถใชเ้ คร่อื งหมายวรรคตอนได้ถูกตอ้ งและเหมาะสม
3.เขา้ ใจลักษณะของคาไทย คาภาษาถ่ิน และคาภาษาตา่ งประเทศทีใ่ ชใ้ นภาษาไทย
วรรณคดี วรรณกรรม
สามารถคน้ ควา้ เรือ่ งราว ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของนิทาน นิทานพ้นื บา้ น วรรณกรรมและวรรณกรรม
ท้องถิ่น

45

ที่ หัวเรื่อง ตัวชวี้ ดั เน้ือหา จานวน
(ชว่ั โมง)
1. การฟัง การดู 1. รู้และเข้าใจหลกั การ ความสาคญั 1. หลกั การ ความสาคญั และจุดม่งุ หมาย
2
และจดุ มงุ่ หมายของการฟงั และดู ของการฟังและดู 3
3
2. จบั ใจความสาคญั และสรุปความ 2. การจบั ใจความสาคญั จากการฟัง 2
2
จากเรอื่ งที่ฟังและดู และดู
3. การสรปุ ความจากการฟังและดู 2
5
3. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผมู้ มี ารยาทใน การ 4. มารยาทในการฟังและดู
1
ฟงั และดู 4

2. การพดู 1. เข้าใจหลกั การ ความสาคัญ และ 1. หลกั การ ความสาคญั และจุดม่งุ หมาย 16

จดุ มงุ่ หมายของลกั ษณะการพูด ของการพดู
ทีด่ ี

2. การเตรียมการ และพูดแสดง 2. การเตรยี มการพูดและลักษณะการพดู

ความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ที่ดี
ไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. การพูดในโอกาสต่างๆ

การพดู อวยพร

การพูดขอบคณุ

การพดู แสดงความเสียใจ ดีใจ

การพูดต้อนรับ

การพดู รายงาน
3. ปฏิบัตติ นเปน็ ผูม้ มี ารยาทใน 4. มารยาทในการพูด

การพดู 1. ความสาคญั หลกั การ และ
3. การอ่าน 1. เขา้ ใจความสาคญั

และจดุ มงุ่หหลมกั ากยาขรองการอา่ นทัง้ จขอุดมงกงุ่ หารมอาา่ยนออกเสียงและการอา่ น

อา่ นออกเสยี งและอา่ นในใจ ในใจ

2. อ่านออกเสยี งคา ขอ้ ความ 2. การอ่านรอ้ ยแกว้

บทความ บทสนทนา เรือ่ งส้นั บท 2.1การอา่ นออกเสียง

ร้อยกรองและบทรอ้ งเลน่ บท 2.2การอ่านข้อความ บทความ บท

กลอ่ มเดก็ สนทนา เร่ืองสน้ั และ

3. อธบิ ายความหมายของคาและ บทกลอ่ มเดก็
ขอ้ ความทีอ่ ่าน 2.3การอ่านจับใจความสาคัญ

2.4การอา่ นเพอ่ื แสดงความคดิ เห็น

และสรุปความ

46

ที่ หัวเร่อื ง ตวั ชวี้ ัด เนื้อหา จานวน
4 การเขยี น (ชัว่ โมง)
3.การอา่ นร้อยกรอง
12
การอา่ นคาคล้องจอง บทกล่อม เดก็
4
นิทาน เพลงพ้นื บา้ นการอา่ นกลอนสภุ าพ 4

4.การเลอื กอา่ นหนงั สอื และประโยชน์ 2
2
ของการอ่าน
2
5.การสรา้ งนิสัยรักการอา่ น และมารยาท 4
4. ปฏิบัตติ นเป็นผมู้ มี ารยาทใน การ ในการอ่านทด่ี ี 4
อ่านและมีนสิ ัยรักการอา่ น
2
1.เข้าใจหลักการเขยี น และเหน็ 1.หลักการเขียน ความสาคญั ของ 4

ความสาคัญของการเขยี น การเขยี น

2.รจู้ ักอักษรไทย เขียนสะกดคา และรู้ 2.การเขียนอกั ษรไทย (พยญั ชนะ สระ

ความหมายของคา คาคลอ้ งจอง และ วรรณยุกต์ ตัวเลขไทย)

ประโยค การเขยี นสะกดคาและความหมาย ของ

3.เขียนส่ือสารในชวี ติ ประจาวัน จด คา

บนั ทึก โดยใชค้ าถูกต้อง ชัดเจน 3.การเขียนสื่อสาร

4.เขียนเรียงความ ยอ่ ความ จดหมาย 4.การเขยี นประวัติตนเอง

ไตต้ ามรูปแบบ 5.การเขยี นบนั ทกึ ประจาวนั

5.เขยี นรายงานการคน้ ควา้ สามารถ -การเขียนเลา่ เรอ่ื ง ข่าว เหตกุ ารณ์

อ้างอิงแหล่งความรู้ -การเขียนตามรปู แบบ

6.กรอกแบบรายการต่าง ๆ -การเขียนเรยี งความ

7.ปฏบิ ัติตนเป็นผมู้ ีมารยาทใน การ -การเขียนยอ่ ความ

เขียนและมีการจดบันทึก อย่างสมา -การเขียนจดหมาย

เสมอ (การใชจ้ ดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์)

6.การเขยี นรายงานการค้นคว้าและ

อ้างองิ ความรู้

7.การเขียนกรอกรายการ (แบบฟอรม์ )

การปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผมู้ มี ารยาทใน การ

เขยี นและมนี สิ ัยรักการเขียน

47

ที่ หัวเรอื่ ง ตวั ชี้วัด เนือ้ หา จานวน
(ช่ัวโมง)
5 หลกั การใช้ 1.อธิบายการใชเ้ สยี ง และรปู 1.เสยี งและรูปอกั ษรไทย (พยัญชนะ สระ
ภาษา 1
อกั ษรไทย อักษร 3 หมู, และ การผัน และวรรณยุกต์)
3
วรรณยกุ ต์ 2.การผันอกั ษร 3 หมู, (ไตรยางค์) 1
2
2.อธบิ ายเก่ียวกับคา การสะกด 3.พยางค์และคา 3
2
พยางค์ คา และประโยค ได้ถูกตอ้ ง 4.คาในมาตราตัวสะกด 9 มาตรา 1
1
3.ใช้เครือ่ งหมายวรรคตอนและ 5.ชนดิ และหน้าท่ขี องคา 7 ชนดิ 3

อักษรย่อไดถ้ กู ต้อง 6.โครงสรา้ งและชนิดของประโยค 1

4.บอกวิธีการใช้ และประโยชน์ ของ 7.เครอ่ื งหมายวรรคตอน 2

การใชพ้ จนานกุ รม 8.การใช้พจนานกุ รม

5.บอกความหมายของสานวน คา 9.ความหมายและการใช้สานวน คา

พังเพย สภุ าษติ คาราชาศพั ท์ คา พงั เพย สุภาษิต คาราชาศพั ท์ และคา

สุภาพ และนาไปใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง สุภาพ

เหมาะสม 10.การใช้ภาษาทเ่ี หมาะสมกับบุคคล

6.บอกลักษณะคาไทย คาภาษาถ่ิน สถานการณ์ วัฒนธรรม ประเพณี

และคาภาษาตา่ งประเทศทีม่ ใี ช้ ใน 11.ลกั ษณะของคาไทย คาภาษาถน่ิ คา

ภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศที่มีใช้ใน ภาษาไทย

6 วรรณคดี 1.อธบิ ายถึงประโยชน์และคุณคา่ ของ 1.เรื่องราว นทิ าน นทิ านพ้นื บา้ น และ 5
วรรณกรรม 15
2.นิทานนิทานพน้ื บ้าน วรรณกรรม วรรณกรรมบอ้ งถ่ิน

และวรรณกรรมในบ้องถน่ิ 2.เรื่องราววรรณคดีทม่ี คี วาม

หลากหลาย

-กลอนบทละคร (สังข์ทอง)

-กลอนนิทาน (พระอภัยมณี)

-กลอนเสภา (ขุนชา้ ง ขุนแผน)


Click to View FlipBook Version