ค่มู ือนกั เรียน ผูป้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
นายกิตติศักด์ิ ศรคี ำเบ้า นายศภุ วัฒน์ มาศรี ว่าที่ ร.ต.หญงิ เคลอื วัลย์ เพชรเป่ียม
หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รองหัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รองหวั หนา้ กลุ่มสาระฯ หัวหนา้ งานยานพาหนะ
ผชู้ ว่ ยรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ
50
นางพนมพร เมลืองศิลป์ นายกฤษณะ โสนามยั นายปยิ วัชร์ สุทธวิ นชิ
หวั หน้างานธรรมศึกษา ผู้ชว่ ยรองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ
หวั หนา้ งานวจิ ยั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพ
การศกึ ษา
นายณัฐวัฒน์ จรงิ สนั เทียะ นางสาวภทั รศยา วอ่ งไว นางสริ กิ ร นามนวด
ผู้ช่วยรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป หวั หนา้ งานโภชนาการ
คมู่ อื นักเรยี น ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
นายภาคภูมิ ภมิ าลย์ นางสาวจฑุ ารตั น์ วงศ์ชมพู นางสาววิสทุ ธิดา ศศธิ ร
หวั หน้างาน IS ม.ตน้
หวั หนา้ งานพฒั นาวนิ ยั และความประพฤตนิ ักเรยี น หวั หน้างานชมรม To be number one
หัวหนา้ ลูกเสอื -เนตรนารี ระดบั ชน้ั ม.3 หัวหนา้ งานพฒั นาแหล่งเรยี นรู้
51
นางสาวพมิ พพ์ ร สขี าว นางสาวจริ สภุ รณ์ ทองคำดี นางสาวพิราวรรณ ยนื ยง
นายกฤษฎา ฉนั ทะโส นางสาววรญั ญาภทั ร์ วรัญญ์วฒั นชัย นายยุทธพล สะและหมดั
หวั หนา้ งานรกั ษาความปลอดภัย
หัวหน้างานวิทยสุ ื่อสารและจราจร
คมู่ อื นกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
นางสาวชุลพี ร สุขขี นายธนวฒั น์ กระแจะจันทร์ นายณฐั พงษ์ สุขประจำ
52
คมู่ อื นักเรยี น ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา
นายสทิ ธพิ งษ์ ปานนาค นางเทวี พรหมรนิ ทร์ นายเจนรงค์ สอนบาล
หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษา รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ รองหัวหนา้ กลุม่ สาระฯ
และพลศึกษา /งานป้องกนั และแกไ้ ข หัวหน้างานสง่ เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
สง่ิ เสพตดิ โรคเอดส์ และอบายมขุ หัวหนา้ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
53
นางสาวสนุ ภิ า ยวุ กจิ นกุ ลู นางสาวทศั นยี ์ ธรรมโชดก นางสาวกูอารีดา ตแู วดอเลา๊ ะ
หวั หนา้ ลูกเสือ-เนตรนารี ระดบั ชน้ั ม.2 หัวหนา้ งานอนามัยโรงเรยี น
หัวหน้างานสำนกั งานกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
นางสาวธดิ ารตั น์ ไพรวลั ย์ นายสุขพัชร ทตั วิ งษ์ นายอรรถกร จงเกษม
หัวหนา้ งานชุมนุม
คู่มอื นกั เรียน ผูป้ กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
นางสาวจติ รลดา สุขสวัสด์ิรัตนา นายทนงศักดิ์ ตาปู่ นายดนัย ถ่ินจนั ทร์
หวั หนา้ งานสมั พันธช์ ุมชนและ
หัวหนา้ ลกู เสอื -เนตรนารี ระดับชนั้ ม.1
บริการชุมชน
54
นางสาวนติ ยา เปาปวง นายศุกรยี ์ ยอหนั นางสาวพนติ นาฏ อัครนติ ย์
ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
นายสห ณ สงขลา นายวสิ ุทธิ์ เสาวรส นายสทุ ธิพงษ์ นนทธ์ นารักษา
หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ รองหัวหนา้ กลุ่มสาระฯ
55
นางสาวกันติกา กลา้ หาญ นางสาวกรี ติ จลุ กรานต์ นางสาวปวีณา โรจน์จนิ ดางาม
นายรวภิ าส พยงุ วงษ์ นางสาวอัญชสิ า ศรีสมุทร นายไกรเวท หาญกลับ
คู่มือนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
นางสาววชริ ภรณ์ เลิศศรี นางสาวสุภาพร สงั ขแ์ ก้ว นางบษุ บา ชูแสง
หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ผชู้ ว่ ยรองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บริหารงบประมาณ รองหวั หนา้ กลุม่ สาระฯ
หวั หนา้ งานสง่ิ แวดลอ้ ม หวั หน้างานบรหิ ารการเงนิ และการบญั ชี หวั หน้างานบรหิ ารการบญั ชี
หวั หน้างานเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทป่ี รึกษากลมุ่ สาระฯ
56
นางสาวจริ าพร สร้อยอำภา นางภาวดี กีรตอิ งั กรู นายธนู เมลอื งศิลป์
รองหวั หนา้ กล่มุ สาระฯ
หวั หน้างานสวัสดกิ ารท่ัวไป ผชู้ ่วยรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป ผ้ชู ว่ ยรองผูอ้ ำนวยการกลุม่ บรหิ ารท่วั ไป
นางประภาวดี สวุ รรณวฒั น์ นางสาวกนกรัชต์ ภู่ภมู ิรัตน์ นางสาวประภาพร บญุ ประเสรฐิ
คูม่ อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565
นางภทั รา เมฆานิมติ ดี นางสาวสธุ าสินี คำทะเนตร นางสาวศภุ รตั น์ กว้างขวาง
หัวหนา้ งานสำนักงาน
กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ
57
นางสาวฐิติมา แทนกลาง นายปารวิ ัช เก้าอดุ ม นายหาญณรงค์ บญุ ชอบ
หัวหนา้ งานอาคารสถานท่ี หัวหน้างานระดมทรพั ยากรและ
การลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา
คมู่ ือนกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
นางสาวนภาพร เสรสี วสั ด์ิพชิ ยั นางสาวจนั ทรแ์ รม บญุ ตือ นางสาวกณิกนนั ต์ โยธานะ
รองหวั หน้ากลุม่ สาระฯ รองหวั หน้ากลุ่มสาระฯ
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาต่างประเทศ หวั หนา้ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 หวั หนา้ งานวิเทศสัมพันธ์
58
นายสายันต์ จุปะมัดถา นางสุภทั รยี า นิ่มเจรญิ นายภมู ิมาส รักษ์วงศ์
หัวหนา้ โครงการ หวั หนา้ งานทะเบยี นและเทยี บโอนผลการเรยี นรู้,
Intensive English Courses หวั หนา้ งานพฒั นาระบบและเครอื ขา่ ย
ขอ้ มลู วิชาการ
นายวีระยศ ชาลีกลุ นายต้ัม ทองสทุ ธ์ิ นางสาววรานนท์ กำแพงแก้ว
หวั หนา้ งานโครงการ
English Program หัวหน้างานโครงการพิเศษกลุ่มงานนโยบาย
และแผน
คมู่ ือนกั เรยี น ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
นางสาวนิตยา ธงสนี าค นางบญุ ญามา พงษส์ ุวรรณ นางสาววีรนชุ จนั ดาวงษ์
59
นางสาวนภาพร กิจกระจา่ ง นางสาวโศภดิ า คลา้ ยหนองสรวง นางสาวรัชนีวรรณ เผ่าวณิชย์
หวั หน้าสำนักงานกลมุ่ บรหิ ารท่ัวไป
นายนรภัทร โอทาตะวงค์ วา่ ที่ ร.ต.นวนนั ท์ พิบูลยป์ ราชญา นางสาวจริยา เอิบบญุ
หัวหน้างานบรหิ ารพัสดุและสินทรพั ย์
ค่มู อื นักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
นายมนญู ศักดิ์ กลน่ิ หอม นายวุฒชิ ัยพงษอ์ ดัม จันทรด์ ก นายจิณณวตั ร ปานจีน
60
นางสาวกรองกาญจน์ ช่นื ชม นางสาววรี ะยา พาวงั นางสาวกออญั ชัญ ตยิ ะสญั
หวั หน้าโครงสรา้ งหลกั สตู ร
ภาษาต่างประเทศทส่ี องเขม้ ขน้
นางสาวกสุ ุมา รยิ าพันธ์ นางสาวปวณี า ลาสงยาง นางสาวจุฑามาศ ศรีปัน้
หวั หน้างานโรงเรยี นมาตรฐานสากล
ค่มู อื นกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565
นางสาวนาเดยี เจะบือราเฮง นางสาวสิรกิ าญจน์ ระฆังทอง นางสาวณฐั วรรณ โกวิทจินดาชยั
61
นายปฏิพทั ธ์ พลศักดิ์ซ้าย
คู่มอื นักเรยี น ผูป้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
กลุ่มงาน
งานโสตทศั นศึกษา งานอนามัย
โรงเรียน
นางสาวภารดี พิทยาวงศ์ฤกษ์ นางภัทรพร วงษถ์ าวร นางสาวกอู ารดี า ตแู วดอเลา๊ ะ
หัวหน้างานโสตทัศนศึกษา ผู้ชว่ ยรองผูอ้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารทั่วไป หัวหน้างานอนามยั โรงเรียน
งานห้องสมุด 62
นางสาวชมพนู ทุ สนุ ทรมนูกิจ นางสาวเรณกุ า มีสขุ นางสาวปญั ชญาณ์ภสั ส์ ม่นั คุณากร
หัวหน้างานห้องสมุด
งานทะเบยี น ค่มู ือนกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565
งานวดั และประเมินผล
นายภูมมิ าส รักษว์ งศ์ นายรกั พันธุ์ เทพปนั นายจิตรภาณุ พชรปกรณพ์ งศ์
หวั หนา้ งานทะเบียนและเทยี บโอนผลการเรียนรู้, หัวหน้างานวัดและประเมินผล
หัวหน้างานพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูล
วิชาการ
งานกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 63
นางเทวี พรหมรนิ ทร์ นายปกรกาญจน์ ลานรอบ นางอนันตญา สนธินรากลุ
หวั หน้างานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น หัวหน้างานรักษาดนิ แดน หัวหนา้ งานแนะแนว
หัวหนา้ ลกู เสือ-เนตรนารี
คมู่ อื นักเรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
งานแนะแนว
นางอนนั ตญา สนธินรากุล นางสาวอนสุ รา หาพิพฒั น์ นางสาวศรินณา อ่องแชม่
หวั หนา้ งานแนะแนว
หัวหน้างานหลกั สตู รนักเรยี นเรยี นรว่ ม
หัวหน้างานคลินิกทักษะการดำรงชีวิต
64
นางสาวอัญชิษฐา ว่องไวพสิ ฐิ กุล นางสาวฟาตหี ะห์ ยโู ซ๊ะ นางสาวสิรวิ รรณ หวานสนทิ
หัวหน้างานระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น
คมู่ อื นักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
พนักงานอัตราจา้ ง
งานสำนักงานผู้อำนวยการ งานการเงิน
นางจิราพร ฐานบำรุง นายวาธี กองราชา
นายปรรณวจั น์ พชั รธญั สทิ ธิ์ นางสาวสภุ าภรณ์ จำนงศลิ ป์
งานสารบรรณ งานโสตทศั นศึกษา
นางสาวเบญญาภา ขวญั ยนื นายธวัชชัย ธงเงนิ
นายชัยรัตน์ เลา้ ธนเมธี
งานพัสดุ นางสาวทวิ าพร สุรยิ วงศ์
นางสาวภาวิณี ริดมดั งานพยาบาล
นางสาวสกุ ญั ญา อนิ วรรณะ นางสาวปรารถนา โพธ์ิงาม
งานสำนักงานกลุ่มบริหารท่วั ไป งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 65
นางสาวไฉน มะเลง็ ลอย นางสาวสุพัชรนนั ท์ ชมมี
งานสำนกั งานกล่มุ บริหารงานบคุ คล งานประชาสมั พันธ์
นางสาวศริ ิพร เทา้ เฮา้
นางชนญั ชิดา ระด่งิ หิน
นางสาวชาคริยา บุตรดี งานทะเบียน/วัดผล
นางสาวจริ าภรณ์ แกว้ สีสด
นางสาวศภุ าภรณ์ ฝงู กลิน่
งานสำนกั งานกลุ่มบริหารวิชาการ นางสาวสรุ รี ัตน์ เนอื้ นมิ่ ถาวร
นางสาวนารีมาน ดูมแี ด
นายนบบุญ เถยี รทอง
โครงการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (EP)
นางสาวคณสั วรรณ สมคิดสรรพ์
งานสำนกั งานกลุ่มงานนโยบายและแผน นายชลัท พันธ์ุยิม้
ว่าทร่ี .ต.วรท รูปสมศรี
(ขอ้ มูล ณ วันท่ี 10 มถิ นุ ายน 2565)
คมู่ ือนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2565
กลุม่ บรหิ ารงบประมาณ
66
นางสาวกมลทพิ ย์ สรุ สนิ ธ์ุ
รองผ้อู านวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ
ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2565
67
คู่มือนกั เรียน ผูป้ กครอง และครู ประจำปกี ำรศึกษำ 2565
บุคลากรกลมุ่ บริหารงบประมาณ
1.นำงสำวกมลทพิ ย์ สุรสนิ ธ์ุ รองผอู้ ำนวยกำรกลุ่มบรหิ ำรงบประมำณ
2.นำงสำวสุภำพร สังข์แกว้ ผ้ชู ่วยรองผอู้ ำนวยกำรกลมุ่ บรหิ ำรงบประมำณ
/หวั หนำ้ งำนบรหิ ำรกำรเงนิ
3. นำงศิริพร เนำวร์ งุ่ โรจน์ ผู้ช่วยรองผูอ้ ำนวยกำรกลมุ่ บริหำรงบประมำณ
4.ว่ำท่ี ร.ต.ชัยศำสตร์ คเชนทร์สุวรรณ ผชู้ ว่ ยรองผู้อำนวยกำรกลมุ่ บริหำรงบประมำณ
หัวหนำ้ งำนวเิ ครำะหแ์ ละจัดทำแผนของสถำนศึกษำ/
หวั หน้ำงำนประกันคุณภำพกำรศึกษำ/
หวั หน้ำงำนวจิ ยั และพฒั นำ
5. นำงบุษบำ ชแู สง หัวหน้ำงำนบรหิ ำรกำรบญั ชี
6.นำงสำวสธุ ำสนิ ี คำทะเนตร หวั หนำ้ งำนสำนกั งำนกลุ่มบริหำรงบประมำณ
7.ว่ำที่ ร.ต.นวนนั ท์ พิบูลย์ปรำชญำ หวั หน้ำงำนบรหิ ำรพสั ดุและสินทรัพย์
8.นำงนติ ยิ ำ กอ่ เกยี รติสิริ หวั หน้ำงำนจัดระบบควบคุมภำยใน
9.นำงสำวธนิกำ ณรสทุ ธิภทั ร หัวหนำ้ งำนตรวจสอบภำยใน
10. นำยปำรวิ ัช เกำ้ อุดม หหัววั หหนน้ำ้ำงงำำนนรยะำดนมพทรำัพหยนำะกรและกำรลงทุนเพือ่ กำรศึกษำ68
11. วำ่ ที่ ร.ต.หญงิ เคลอื วัลย์ เพชรเปีย่ ม
12. นำงสำวนสิ ำรัตน์ ไชยชนะ หวั หนำ้ งำนศูนยป์ ระสำนงำนโครงกำรพิเศษ
13. นำงสำวปำริชำต จันทรว์ บิ ลู ย์ หัวหนำ้ งำนโครงกำรพิเศษ“ธนำคำรโรงเรยี น”
14. นำงสำวอำพรพรรณ ด่ำงพล้อย หวั หนำ้ งำนสำนักงำนกลมุ่ งำนนโยบำยและแผน
15. นำงสำววรำนนท์ กำแพงแก้ว หัวหนำ้ งำนโครงกำรพิเศษกลมุ่ งำนนโยบำยและแผน
16. นำงสำววิสำร์ สำลรี ปู หัวหน้ำงำนจัดตั้ง เสนอขอ และจัดสรรงบประมำณ
17. นำงสำวรัตตกิ ร จิตปรดี ำ หวั หนำ้ งำนตรวจสอบ ติดตำม ประเมินผล
18. นำงสำวฐิตนิ ันท์ กัณหวงศ์ หวั หนำ้ งำนสำรสนเทศ
19. นำยวำธี กองรำชำ งำนบรหิ ำรกำรเงิน/งำนบรหิ ำรกำรบัญช/ี
งำนระดมทรัพยำกรและกำรลงทุนเพือ่ กำรศกึ ษำ
20. นำงสำวสภุ ำภรณ์ จำนงศิลป์ งำนบรหิ ำรกำรเงนิ /งำนบริหำรกำรบัญชี/
งำนระดมทรัพยำกรและกำรลงทุนเพือ่ กำรศกึ ษำ
21. นำงสำวภำวิณี รดิ มัด งำนบรหิ ำรพัสดุและสินทรพั ย์
22. นำงสำวสกุ ัญญำ อนิ วรรณะ งำนบรหิ ำรพัสดแุ ละสนิ ทรพั ย์
23. นำงจริ ำพร ฐำนบำรุง งำนศูนยป์ ระสำนงำนโครงกำรพิเศษ
24. นำยปรรณวัจน์ พัชรธญั สิทธ์ิ งำนศนู ยป์ ระสำนงำนโครงกำรพิเศษ
คมู่ ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีกำรศกึ ษำ 2565
หลักเกณฑ์เงินบารงุ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
ตามหนังสอื สพฐ. ดว่ นทส่ี ดุ ที่ ศธ 04006/พิเศษ 22 ลงวันท่ี 4 พฤศจกิ ายน 2554
ด้วยปัจจุบันสถำนศึกษำได้รับเงินสนับสนุนจำกรัฐบำล เพ่ือเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำ
ขั้นพ้ืนฐำน ได้แก่ ค่ำจัดกำรเรียนกำรสอน ค่ำหนังสือเรียน ค่ำเคร่ืองแบบนักเรียนค่ำอุปกรณ์กำรเรียนและ
ค่ำกิจกรรมพัฒนำคุณภำพผู้เรียน เป็นต้น แต่ในกำรจัดกำรศึกษำสำหรับสถำนศึกษำที่มีควำมพร้อมและ
ศักยภำพเป็นสถำนศึกษำที่มีช่ือเสียงต้องกำรจะเพิ่มพูนประสิทธิภำพและคุณภำพกำรศึกษำของผู้เรียนด้วย
รูปแบบวิธีกำร สื่ออุปกรณ์และบุคคลำกรท่ีทำกำรสอนเพิ่มเติมจำกเกณฑ์มำตรฐำนท่ัวไปของหลักสูตร
แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน เป็นกรณีพิเศษ โดยมีค่ำใช้จ่ำยนอกเหนือจำกค่ำใช้จ่ำยท่ีรัฐจัดสรรให้กอปร
กับกำรตอบข้อหำรือ ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำเห็นว่ำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ัน
พน้ื ฐำนสำมำรถประกำศให้สถำนศึกษำของรัฐในสงั กัดเก็บค่ำใช้จำ่ ยเพ่ือจัดกำรศึกษำนอกหลักสูตรแกนกลำง
กำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำนได้
ในกำรจัดกำรศึกษำที่ผ่ำนมำ สถำนศึกษำจำนวนมำกได้จัดกำรศึกษำโดยไม่เก็บค่ำใช้จ่ำยตำม
มำตรำ 49 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2550 แล้วแต่ยังมีสถำนศึกษำบำงแห่งเก็บ 69
คำ่ ใชจ้ ำ่ ยเพอ่ื จดั กำรศึกษำเพ่มิ เติมจำกเกณฑม์ ำตรฐำนทวั่ ไปของหลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนเป็น
กรณพี ิเศษ ดงั น้นั เพือ่ ให้กำรขอรับกำรสนับสนุนค่ำใช้จำ่ ยเป็นไปในทำงเดียวกันและกำรมีส่วนร่วมสนับสนุน
ให้สถำนศึกษำมีควำมพร้อมในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำรวมท้ังเป็นกำรคุ้มครองผู้ปกครอง มิให้เกิดผล
กระทบต่อภำระค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำของนักเรียนสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนจึง
กำหนดหลกั เกณฑใ์ หส้ ถำนศึกษำถอื ปฏบิ ัตดิ งั นี้
ก. สถำนศึกษำทีจ่ ัดกำรเรยี นกำรสอนตำมหลกั สตู รกำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำนไมส่ ำมำรถเรียกเก็บเงิน
สนบั สนนุ จำกนกั เรียนหรอื ผูป้ กครองได้ เน่ืองจำกรัฐบำลไดจ้ ำ่ ยเงนิ งบประมำณเพ่ืออดุ หนุนใหแ้ ล้ว ดงั นี้
1. ค่ำเลำ่ เรียน
2. คำ่ หนังสอื เรียน
3. ค่ำอุปกรณก์ ำรเรยี น
4. ค่ำเครื่องแบบนกั เรยี น
5. ค่ำใช้จำ่ ยในกำรจัดกจิ กรรมวิชำกำร ปีละ 1 คร้ัง
6. คำ่ ใช้จ่ำยในกำรจัดกจิ กรรมคณุ ธรรม/ชุมนุมลูกเสอื /เนตรนำรี/ยุวกำชำด ปีละ 1 คร้งั
7. คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรไปทัศนศกึ ษำ ปลี ะ 1 ครั้ง
8. ค่ำใช้จำ่ ยในกำรใหบ้ ริกำรอินเทอร์เนต็ ตำมหลกั สตู ร ปีละ 40 ช่ัวโมง
9. คำ่ วสั ดฝุ กึ สอน สอบ พ้ืนฐำน
คมู่ อื นักเรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2565
10. ค่ำสมุดรำยงำนประจำตวั นักเรยี น
11. ค่ำบรกิ ำรห้องสมดุ ขนั้ พ้นื ฐำน
12. คำ่ บริกำรหอ้ งพยำบำล
13. คำ่ วัสดสุ ำนักงำน
14. ค่ำวัสดเุ ช้ือเพลงิ และหล่อลนื่
15. ค่ำวสั ดุงำนบ้ำนงำนครวั
16. ค่ำอุปกรณ์กำรรกั ษำ
17. ค่ำซ่อมแซมครุภณั ฑแ์ ละอุปกรณก์ ำรเรยี นกำรสอน
18. ค่ำใชจ้ ่ำยในกำรดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
19. คำ่ คู่มือนักเรียน
20. คำ่ บตั รประจำตวั นกั เรยี น
21. คำ่ ปฐมนเิ ทศนกั เรยี น
22. ค่ำวำรสำรโรงเรยี น
สำหรับรำยกำรที่ 19,20,21 และ 22 หำกโรงเรียนได้จัดทำเป็นลักษณะพิเศษอย่ำงมีคุณภำพ
สำมำรถขอรบั กำรสนบั สนุนได้โดยประหยัด ตำมควำมจำเปน็ เหมำะสมกับสภำพเศรษฐกจิ ของท้องถิ่น 70
ข. สถำนศึกษำที่จัดกำรเรียนกำรสอนนอกหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน เพื่อส่งเสริมและ
พัฒนำคุณภำพกำรศึกษำให้นักเรียนเกินมำตรฐำนที่รัฐจัดให้ สำมำรถขอรับกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยได้ตำม
ควำมสมคั รใจของผปู้ กครอง และนกั เรียน ดังน้ี
ท่ี รำยกำร อัตรำกำรเก็บ/คน/ภำคเรียน
1 หอ้ งเรยี นพเิ ศษ EP (English Program)
- ระดับก่อนปฐมศกึ ษำถงึ มธั ยมศึกษำตอนตน้ ไม่เกิน 35,000.- บำท
- ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนปลำย ไม่เกนิ 40,000.- บำท
2 หอ้ งเรียนพเิ ศษ MEP (Mini English Program)
- ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษำตอนตน้ ไม่เกนิ 17,500.- บำท
- ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย ไม่เกิน 20,000.- บำท
3 ห้องเรียนพิเศษด้ำนภำษำต่ำงประเทศด้ำน เท่ำท่ีจ่ำยจริง ตำมควำมจำเป็นและเหมำะสมกับ
วิชำกำร และด้ำนอื่นๆ เช่น ห้องเรียนพิเศษ สภำพฐำนะทำงเศรษฐกิจของท้องถิ่น ยกเว้น
วิทยำศำสตร์ ห้องเรียนพิเศษคณิตศำสตร์ เป็น ค่ำใชจ้ ำ่ ยห้องเรียนพิเศษด้ำนภำษำอังกฤษใหเ้ ก็บ
ตน้ ได้ไมเ่ กนิ คร่ึงหน่งึ ของห้องเรยี น MEP
คมู่ อื นักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ำรศึกษำ 2565
กำรเปิดหอ้ งเรียนพิเศษต้องได้รับอนุมัติจำกสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนหรือ
สำนักงำนเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำ แลว้ แต่กรณี
ค. สถำนกำรศึกษำท่ีจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อเพิ่มศักยภำพ และควำมสำมำรถของนักเรียนท่ี
นอกเหนือหลักสูตรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนสำมำรถขอรับกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยได้ ตำมควำมสมัครใจของ
ผ้ปู กครองและนักเรยี น โดยไมร่ อนสทิ ธินกั เรียนท่ดี อ้ ยโอกำส ดังน้ี
ท่ี รายการ อัตราการเก็บ/คน/ภาคเรียน
1 โครงกำรพัฒนำทักษะตำมควำมถนัดของนักเรียน เท่ำที่จ่ำยจริงตำมควำมจำเป็นและเหมำะสมกับ
นอกเวลำเรยี น สภำพฐำนะทำงเศรษฐกิจของท้องถิ่นทุกรำยกำร
รวมกนั ไมเ่ กนิ 1,250.- บำทต่อภำคเรียน
2 คำ่ จ้ำงครชู ำวตำ่ งประเทศ
3 ค่ำตอบแทนวทิ ยำกรภำยนอก
4 คำ่ เรียนปรับพนื้ ฐำนควำมรู้
ง. สถำนศึกษำที่จัดกำรเรยี นกำรสอนเสรมิ เพ่ิมเติม ใหก้ ับนักเรียนนอกเหนือจำกเกณฑ์มำตรฐำน
ทั่วไปที่ได้รับงบประมำณจำกรัฐ อำจขอรับกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยได้เท่ำที่จ่ำยจริง โดยประหยัดตำมควำม 71
จำเป็นและเหมำะสมกับสภำพฐำนะทำงเศรษฐกิจของท้องถิ่น ตำมควำมสมัครใจของผู้ปกครองและนักเรียน
ดังน้ี
1. ค่ำจำ้ งครทู ีม่ คี วำมเชย่ี วชำญในสำขำเฉพำะ
2. คำ่ สำธำรณปู โภคสำหรับห้องเรียนปรับอำกำศ
3. ค่ำสอนคอมพิวเตอร์ กรณีโรงเรียนจัดคอมพิวเตอร์ให้นักเรียนเกินมำตรฐำน ที่รัฐจัดให้
( 1 เครอ่ื ง : นักเรยี น 20 คน )
4. คำ่ ใช้จ่ำยในกำรจดั ร่วมโครงกำร โครงงำน และกิจกรรมพัฒนำผู้เรียนเกนิ มำตรฐำนท่ีรฐั จัดให้
5. คำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรไปทศั นศึกษำตำมแหลง่ เรยี นรขู้ องนักเรยี นเกินมำตรฐำนท่รี ฐั จัดให้
จ. สถำนศึกษำท่ีจัดให้มีกำรดูแลด้ำนสวัสดิกำรและสวัสดิภำพนักเรียนอำจขอรับกำรสนับสนุน
ค่ำใช้จ่ำยได้เท่ำท่ีจ่ำยจริงโดยประหยัด ตำมควำมจำเป็น และเหมำะสมกับสภำพฐำนะทำงเศรษฐกิจของ
ทอ้ งถิ่น ตำมควำมสมัครใจของผู้ปกครอง และนกั เรียนดังนี้
1. คำ่ ประกนั ชีวิตนกั เรยี น/ค่ำประกันอบุ ัติเหตุนักเรยี น
2. คำ่ จำ้ งบคุ ลำกรท่ีปฏิบตั งิ ำนในสถำนศึกษำ
3. คำ่ ตรวจสขุ ภำพนักเรียนเปน็ กรณพี เิ ศษ นอกเหนอื จำกกำรใหบ้ ริกำร สำธำรณสขุ ของรฐั
คูม่ ือนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ำรศึกษำ 2565
4. คำ่ อำหำรนกั เรยี น
5. ค่ำหอพัก
6. ค่ำซักรดี
สำหรับสถำนศึกษำที่จดั ใหน้ ักเรียนอยู่ประจำ สำมำรถขอรับกำรสนับสนุนค่ำใช้จำ่ ยตำมข้อ 1, 2,
3, 4, 5 และ 6 ได้เท่ำท่ีจ่ำยโดยประหยัดตำมควำมจำเป็นและเหมำะสมกับสภำพฐำนะทำงเศรษฐกิจของ
ท้องถ่ิน
ฉ. สถำนศกึ ษำต้องพิจำรณำใหก้ ำรดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้อยโอกำสใหไ้ ด้เรยี น โดยไม่รอนสิทธิ์ที่
จะได้รบั ดังนี้
1. กำรเรยี นกับครชู ำวต่ำงประเทศ หำกสถำนศึกษำมีกำรจัดใหน้ ักเรียนทุกคน ควรจดั ใหน้ ักเรยี น
ดอ้ ยโอกำสไดเ้ รยี นสัปดำห์ละไมน่ อ้ ยกวำ่ 2 ช่ัวโมง
2. กำรเรยี นกำรสอนโดยครทู ี่สถำนศกึ ษำจ้ำงหรอื โดยวทิ ยำกรภำยนอก
3. ค่ำสำธำรณูปโภคสำหรบั หอ้ งเรยี นปรบั อำกำศ
4. คำ่ ตรวจสุขภำพนักเรียนเป็นกรณพี เิ ศษ นอกเหนือจำกกำรใหบ้ รกิ ำรสำธำรณสขุ ของรัฐ
5. คำ่ เรียนปรบั พื้นฐำนควำมรู้
6. ค่ำอำหำรนกั เรียน 72
7. กำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมวิชำกำร/ คุณธรรม/ ชมุ นมุ ลูกเสือ/ เนตรนำร/ี ยุวกำชำด และกำรไป
ทัศนศึกษำ
8. กำรเรียน กำรฝึกใชค้ อมพวิ เตอร์ และกำรใชบ้ รหิ ำรอนิ เตอร์เนต็ ปีละ 40 ช่วั โมง
อน่ึง กำรเก็บเงินบำรุงกำรศึกษำของสถำนศึกษำ สังกัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ
ขั้นพื้นฐำน ตำม ข้อ ข, ค, ง, จ และ ฉ ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนและ
ได้รับอนุมัติจำกสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำก่อน จึงจะดำเนินกำรขอรับกำรสนับสนุนได้โดยให้มีกำร
ประกำศประชำสัมพนั ธใ์ ห้กบั ผู้ปกครองและนักเรียนทรำบลว่ งหน้ำ
นโยบายโครงการสนับสนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษาตั้งแต่อนุบาลจนถงึ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
- มุ่งลดค่ำใช้จ่ำยผู้ปกครอง
- เพ่มิ โอกำสทำงกำรศึกษำ
- พัฒนำคุณภำพผเู้ รยี น
- ประชำชนมีส่วนรว่ มในกำรจดั กำรศึกษำ
ค่มู ือนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ำรศึกษำ 2565
สำนักงำนคณะกรรมกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำรไดจ้ ัดสรรเงินให้นกั เรียนแต่ละคนดังนี้
1. หนงั สือเรียน
2. ค่ำเคร่อื งแบบนักเรียน คนละ 2 ชดุ / ปี
- ม.ตน้ 450 บำท
- ม.ปลำย 500 บำท
3. ค่ำอปุ กรณ์กำรเรยี น
- ม.ตน้ 210 บำท / ภำคเรยี น (420 บำท/ปี)
- ม.ปลำย 230 บำท / ภำคเรยี น (460 บำท/ป)ี
4. ค่ำกิจกรรมพัฒนำคุณภำพผู้เรียน ประกอบด้วยกิจกรรมวิชำกำร / กิจกรรมคุณธรรม
ลูกเสอื / เนตรนำรี / กิจกรรมทศั นศกึ ษำ / กจิ กรรมบริกำรสำรสนเทศ / ICT
- ม.ต้น 440 บำท / ภำคเรยี น (880 บำท / ป)ี
- ม.ปลำย 475 บำท / ภำคเรียน (950 บำท / ปี)
73
ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2565
74
คู่มือนกั เรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปีกำรศกึ ษำ 2565
โครงการทข่ี อความร่วมมอื โดยสมาคมผู้ปกครองและครโู รงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ
ประจาปีการศึกษา 2565
ลาดบั รายการ จานวนเงนิ หมายเหตุ
1 ค่ำสมคั รเปน็ สมำชกิ 500
(สำหรับผูป้ กครองนักเรียน ม.1 และ ม.4)
2 ค่ำบำรุงสมำชิกสมำคมผปู้ กครองและครู รำยปี 500
3 โครงกำรแขง่ กีฬำระหวำ่ งคณะสี 300
4 โครงกำรพัฒนำอำคำรสถำนท่ีและสง่ิ แวดลอ้ ม
5 อืน่ ๆ ...........................................
75
คมู่ ือนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
กลุม่ บริหารวชิ าการ
76
นางสาวสายพิณ พทุ ธสิ าร
รองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
77
คมู่ อื นักเรยี น ผูป้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
บคุ ลากรกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ
1.นางสาวสายพณิ พุทธิสาร รองผูอ้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
2.นางสาวอจั ฉรา แดงอินทวฒั น์ ผู้ช่วยรองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ
3.นางอลิสา สงิ ห์เจริญ ผชู้ ่วยรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
/หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์
4.นายปิยวชั ร์ สทุ ธิวนิช ผู้ชว่ ยรองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ
/หัวหน้างานวจิ ัยเพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
5.นายศภุ วัฒน์ มาศรี ผ้ชู ่วยรองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
6.นายรกั พนั ธ์ุ เทพปนั ผูช้ ว่ ยรองผูอ้ ำนวยการกลุม่ บริหารวิชาการ
/หวั หน้างานวดั ผลและประเมนิ ผล
7.นางสาวธษิ ณาวดี ดิษฐวเิ ศษ หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
8.นางสาวศิริพร มณขี าว หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
9.นายกติ ติศกั ด์ิ ศรคี ำเบา้ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา
10. นายสิทธพิ งษ์ ปานนาค และวัฒนธรรม 78
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
11. นายสห ณ สงขลา หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
12. นางสาววชริ าภรณ์ เลิศศรี หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
/หัวหน้างานเศรษฐกิจพอเพียง
13. นางสาวนภาพร เสรีสวสั ด์พิ ิชยั หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
14. นางเทวี พรหมรนิ ทร์ หวั หนา้ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
15. นายวรี ะยศ ชาลีกุล หัวหน้างาน English Program
16. นายภูมมิ าส รกั ษว์ งศ์ หวั หนา้ งานทะเบยี น / หัวหนา้ ระบบฐานขอ้ มลู
17. นางธนั ยธร ตวงวาสนา หวั หน้างานพฒั นาสื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยี
/หัวหน้าโครงการ ITP / หัวหนา้ ศูนยค์ อมพิวเตอร์
18. นางสาวกมลวดี เจรญิ กุล หวั หน้างานหลักสูตรสถานศึกษา
19. นางสาวมยุรา ททิ า หัวหนา้ งานนเิ ทศการศกึ ษา
20. นางสาวชมพูนุท สนุ ทรมนูกจิ หัวหนา้ งานหอ้ งสมุด
21. นายศรัณพงษ์ เทศเวช หัวหนา้ งานตารางสอน
ค่มู ือนกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
22. นางสาวกนกกาญจน์ เซยี่ งจง หัวหนา้ งานการอ่านคดิ วเิ คราะห์ / คุณลักษณะ
23. นางสาวอนสุ รา หาพิพัฒน์ อันพึงประสงค์
24. นางสาวกนกิ นันต์ โยธานะ
25. นางสาวจฑุ ารตั น์ วงคช์ มพู หัวหน้างานหลกั สูตรนักเรยี นเรียนรวม
26. นางธิดารตั น์ ทองตะโก
27. นายสรุ ศกั ด์ิ สวุ รรณ หวั หน้างานวิเทศสมั พนั ธ์
28. นางนิติยา ก่อเกียรตสิ ริ ิ
29. นายภาวตั โชติสภุ าพณ หวั หน้างาน IS ม.ต้น / หวั หน้างานพฒั นาแหล่งเรียนรู้
30. นายกฤษณะ โสนามยั
31. นางสาวสนุ ภิ า ยวุ กจิ นุกลู หวั หนา้ งาน IS ม.ปลาย
32. นางสาวญาติมา ล้มิ สิทธิกลู
33. นางสาวนภาพร เสรสี วสั ดิ์ หัวหน้างานโครงงาน
34. นายสมคดิ บญุ วเิ ศษ
35. นายนบบญุ เถียรทอง หัวหนา้ งานยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
หัวหนา้ งานเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษา
หัวหน้างานธรรมศกึ ษา
หวั หนา้ งานสำนกั งานกล่มุ บรหิ ารวิชาการ
หวั หนา้ งานสารสนเทศกลมุ่ บริหารวิชาการ
หัวหน้างานแผนงานกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ
หัวหนา้ งานเลขานกุ ารคณะกรรมการวชิ าการ 79
งานสำนักงานวิชาการ
ค่มู ือนกั เรยี น ผูป้ กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
ความนำ
กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตรใ์ นกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช
2551 ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ.1239/2560 ลงวันที่ 7 สงิ หาคม 2560 และคำสั่ง
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐานท่ี 30/2561 ลงวันท่ี 5 มกราคม 2561
ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยมีคำสั่งให้โรงเรียนดำเนินการใช้หลักสูตรในปี
การศกึ ษา 2561 โดยให้ใชใ้ นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ตั้งแต่ปีการศกึ ษา 2561 เป็นต้นมา
ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็น
เป้าหมาย และกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีพั ฒนาการเต็มตามศักยภาพ
มคี ุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมาย
ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตร ตามหลักสูตร 80
แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560 ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใชป้ ระโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพฒั นาหลักสตู ร
ของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒน าคุณภาพผู้เรียน ให้มี
กระบวนการนำหลักสตู รไปส่กู ารปฏบิ ัติ โดยมกี ารกำหนดวสิ ยั ทัศนจ์ ุดหมายสมรรถนะสำคญั ของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน
ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้อง กับมาตรฐานการเรียนรู้ โดยโรงเรียน
กำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับช้ันตามความพร้อมและ
จุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชดั เจนในการจัดการเรียนรู้ เพื่อตอบสนองนโยบาย
Thailand 4.0 เพื่อให้นักเรยี นมีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง
และมที ักษะในศตวรรษท่ี 21
คมู่ อื นกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
การปรับปรุงหลักสูตรครั้งน้ี ยังคงหลักการและโครงสร้างเดิมของหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 คือ ประกอบด้วย 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ไดแ้ ก่
1. กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
2. กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
3. กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
4. กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
5. กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา
6. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
7. กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ
8. กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ
โดยมุ่งเน้นการปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันต่อการเปล่ียนแปลงและความ
เจริญก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ คำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียน มีทักษะจำเป็นสำหรับการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี
ทกั ษะชีวติ และอาชีพ)เปน็ สำคัญเตรียมผู้เรยี นให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมท่ีจะ 81
ประกอบอาชีพ เม่อื จบการศึกษาหรอื สามารถศึกษาตอ่ ในระดบั ที่สูงขน้ึ สามารถแข่งขันและอยู่
ร่วมกับประชาคมโลกได้
กรอบในการปรับปรงุ คือ ปรับมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้วี ดั ตามคำสงั่ กระทรวงศึกษาธกิ าร
ท่ี สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐานที่30/2561 ลงวันท่ี 5 มกราคม 2561 ให้เปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชว้ี ัด กลุ่ม
สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซึ่งสาระสำคัญของการปรับ
หลักสูตรมี ดังน้ี
1. กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.1 จัดกล่มุ ความร้ใู หม่และนำทักษะกระบวนการไปบรู ณาการกับตวั ชวี้ ดั เน้น
ใหผ้ เู้ รียนเกดิ การคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และมีทกั ษะในศตวรรษที่ 21
1.2 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดสำหรับ
ผูเ้ รียนทุกคนท่ีเป็นพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับชีวติ ประจำวนั และเป็นพ้ืนฐานสำคัญในการศึกษาต่อ
ระดบั ทส่ี ูงข้ึน
คูม่ อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
1.3 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด
เฉพาะเจาะจงแยกส่วนระหว่างผู้เรียนท่ีเลือกเรียนในแผนการเรียนท่ีไม่เน้นวทิ ยาศาสตร์ และ
แผนการเรยี นท่ีเน้นวทิ ยาศาสตร์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดในส่วนของแผนการเรียนทีไ่ ม่
เน้นวิทยาศาสตร์ เปน็ พนื้ ฐานท่ีเกี่ยวข้องกับชีวติ ประจำวัน และการศึกษาตอ่ ระดับท่ีสูงขน้ึ สว่ น
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของแผนการเรียนท่เี น้นวิทยาศาสตร์ผู้เรียนจะได้รบั การพัฒนา
สง่ เสริมให้มคี วามรู้ ทักษะและประสบการณ์ ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ท่ีถูกต้องลึกซึ้ง
และกว้างขวางตามศักยภาพของตนเองให้มากท่ีสุดอันจะเป็นพ้ืนฐานสู่ความเป็นเลิศทางด้าน
วทิ ยาศาสตร์ ศกึ ษาตอ่ ในวชิ าชพี ที่ตอ้ งใช้วทิ ยาศาสตร์
1.4 ปรบั จากตัวช้วี ดั ชว่ งชนั้ ในระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เป็นตวั ชว้ี ัดช้นั ปี
2. กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ได้เพ่ิมสาระเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบด้วย
การออกแบบและเทคโนโลยี และวทิ ยาการคำนวณ ทั้งน้ี เพื่อเออื้ ต่อการจดั การเรียนรู้บรู ณาการ
สาระทางคณิตศาสตร์วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กบั กระบวนการเชงิ วิศวกรรม ตามแนวคดิ สะ
เต็มศกึ ษา
3. สาระภูมิศาสตร์ ซ่ึงเป็นสาระหน่ึงในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา 82
ศาสนา และวฒั นธรรม ยังคงมาตรฐานการเรยี นรู้เดมิ แต่ปรับมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชวี้ ัดให้
มคี วามชดั เจน สอดคล้องกบั พัฒนาการตามชว่ งวัย มอี งคค์ วามรทู้ ่ีเป็นสากล เพิ่มความสามารถ
ทกั ษะ และกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ที่ชัดเจนขน้ึ หลกั สตู รสถานศกึ ษาเล่มนีจ้ ดั ทำข้ึน สำหรับ
นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพดา้ น
ความรู้ และทักษะทจ่ี ำเปน็ สำหรับการดำรงชีวติ ในสังคมทม่ี กี ารเปล่ียนแปลงในยุคปจั จุบนั ตอ่ ไป
คู่มอื นักเรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
หลกั สูตรโรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการ พุทธศกั ราช 2560
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
วิสยั ทศั น์ของโรงเรยี น : มุ่งส่งเสริมและพัฒนาผเู้ รียนตามศกั ยภาพใหม้ ีความรูค้ วามสามารถสู่
มาตรฐาน สากล มีคุณธรรม จริยธรรม รักความเป็นไทย มีคุณลักษณะเป็นพลโลก และอยู่ใน
สงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
หลักการ : หลักสูตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ พุทธศักราช 2560 ยึดหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 และเพิ่มเติมสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร
มาตรฐานสากลโดยจัดบูรณาการกับสาระการเรียนรู้พื้นฐานและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยมี
หลักการสำคัญดังนี้
1. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลเมืองและเป็นพลโลกเทียบเคียง
มาตรฐานสากลโดยเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
2. ส่งเสริมผเู้ รียนปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3. สง่ เสรมิ พฒั นาใหน้ ำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 83
4. สง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรม มจี ิตสาธารณะ ร่วมกันรบั ผดิ ชอบต่อ
สังคมโลก
5. เสรมิ สร้างภาคเี ครอื ข่ายให้เขม้ แข็ง
จุดมุ่งหมาย : หลกั สตู รโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ พุทธศกั ราช 2560 ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และเพ่ิมเติมสาระการเรียนรู้สากลเพ่ือให้
เทยี บเคยี งมาตรฐานสากล มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ให้เกดิ กบั ผู้เรียนดงั นี้
1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ัยแลปฏิบัติ
ตน ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีนับถือ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. มีความร้อู ันเป็นสากลและมีความสามารถในการคิดทางแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยแี ละ
ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์
3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทดี่ ี มีสุขนสิ ัยและรักการออกกำลงั กาย
4. มคี วามรักชาติ มีจิตสำนึกในการเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถชี ีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมขุ
ค่มู อื นักเรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มงุ่ ทำประโยชนแ์ ละสร้างสงิ่ ที่ดงี ามในสังคมและอยู่ร่วมกัน
อยา่ งมีความสขุ
6. มีความรคู้ วามสามารถและทกั ษะในการสือ่ สารอยา่ งน้อยสองภาษา
7. นำความร้คู วามสามารถและทักษะมาใชใ้ นการแลกเปลีย่ นเรียนร้ทู ัง้ ภายในและภายนอก
และสังคมโลก
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน : โรงเรียนมงุ่ มน่ั ในการพัฒนาผเู้ รยี นให้มีความสามารถในการดำรง
ตนอยใู่ นสังคมอยา่ งมีความสุขทั้งในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลกโดยมสี มรรถนะสำคัญ ดงั น้ี
1. ความสามารถในการส่อื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ 84
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ : มงุ่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่อื ให้สามารถอยู่
รว่ มกบั ผู้อ่ืนในสงั คมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่อื สัตย์สุจรติ
3. มวี ินัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ
9. กตญั ญู
คู่มือนกั เรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
มาตรฐานการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน : มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพในการอ่านหนังสือ
เอกสาร วารสาร ตำราเรยี นและสอื่ ตา่ ง ๆ แลว้ นำข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นมาคดิ วิเคราะห์ นำไปสู่
การแสดงความคิดเห็น การแก้ปัญหาในเรื่องราวต่าง ๆ รวมถึงสามารถถ่ายทอดความคิดด้วย
การเขียนท่ีมีสำนวนภาษาถูกต้อง ชัดเจน มีข้อมูลสนับสนุนอย่างเพียงพอและมีเหตุผลโดย
ลำดบั ความคิดอย่างมขี ั้นตอนเปน็ ระบบเป็นไปตามระดับศักยภาพของผูเ้ รยี นในแต่ละระดับช้ัน
คุณลกั ษณะของนกั เรียนทเ่ี ป็นพลโลก (World citizens)
1. เป็นเลิศทางวชิ าการ (Smart)
2. สอ่ื สารสองภาษา
3. ลำ้ หนา้ ทางความคดิ
4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์
5. รว่ มกนั รบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก
85
คมู่ อื นกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565
โครงสร้างเวลาเรยี น
โครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
(แก้ไขเพ่ิมเติม ตามคำสั่ง สพฐ. ที่ 922/2561 เร่ือง การปรบั ปรุงโครงสรา้ งเวลาเรียนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551) กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี น ดงั นี้
86
คมู่ อื นักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565
เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1. การตัดสิน การใหร้ ะดับคะแนนและการรายงานผลการเรียน
1.1 การตดั สินผลการเรียน
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดหลักเกณฑ์การวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ เพ่ือตดั สินผลการเรยี นของผเู้ รียน ดงั นี้
1) ตัดสนิ ผลการเรียนเปน็ รายวชิ า ผู้เรยี นต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของ
เวลาเรียนทั้งหมดในรายวชิ าน้ัน ๆ
2) ผ้เู รียนต้องได้รบั การประเมินทกุ ตวั ช้วี ัด และผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากำหนด
3) ผเู้ รียนต้องได้รับการตดั สนิ ผลการเรียนทกุ รายวิชา
4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา
กำหนดในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
1.2 การให้ระดบั ผลการเรยี น
การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใช้ระบบผ่านและไม่ผ่าน โดย
กำหนดเกณฑ์การตัดสินผ่านแต่ละรายวิชาท่ีร้อยละ 50 จากน้ันจึงให้ระดับผลการเรียนที่ผ่าน 87
สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ
แนวการให้ระดบั ผลการเรียน 8 ระดบั และความหมายของแต่ละระดบั ดงั แสดงในตาราง ดังน้ี
ระดบั ผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเป็นรอ้ ยละ
4 ดเี ยยี่ ม 80 – 100
3.5 ดีมาก 75 – 79
3 ดี 70 – 74
2.5 ค่อนขา้ งดี 65 – 69
2 น่าพอใช้ 60 – 64
1.5 พอใช้ 55 – 59
1 ผา่ นเกณฑ์ 50 – 54
0 0 - 49
ตำ่ กว่าเกณฑ์ข้ันต่ำ
คูม่ ือนักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
ในกรณีทไ่ี ม่สามารถให้ระดับคะแนนผลการเรยี น 8 ระดับได้ ให้ใช้ตัวอักษรแสดงผลการ
เรียนท่รี ะบเุ งือ่ นไขในแต่ของผลการเรยี นดงั น้ี
“มส” หมายถึง ผูเ้ รียนไม่มีสิทธิเข้ารับการประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น โดยผู้เรยี นท่ีมีเวลา
เรียนไม่ถงึ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาและไม่ได้รบั การผ่อนผันให้เข้ารับการวัดและ
ประเมินผลปลายภาคเรียน
“ร” หมายถงึ รอการตัดสินและยงั ตัดสินผลการเรยี นไม่ได้ เนอื่ งจากผู้เรยี นไม่มขี ้อมูลผล
การเรยี นรายวิชานั้นครบถว้ น ได้แก่ ไม่ไดว้ ัดผลระหว่างภาคเรียน / ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่
มอบหมายให้ทำ ซึ่งงานน้ันเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยทำให้
ประเมินผลไมไ่ ด้
การประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ันให้ผล
การประเมนิ ผา่ นและไมผ่ ่าน กรณที ี่ผา่ นให้ระดบั ผลการเรียนเปน็ ดเี ยยี่ ม ดี และผา่ น
การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้ารว่ มกิจกรรม การ
ปฏิบัตกิ ิจกรรมและผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเรียนเป็น 88
ผา่ นและไม่ผา่ น
1.3 การเปลี่ยนผลการเรียน
1) การเปล่ยี นผลการเรยี น “0”
สถานศึกษาจดั ใหม้ ีการซอ่ มเสริมในมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัดท่ผี ู้เรียนสอบไม่ผ่าน
แล้วจึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน 2 คร้ัง ถ้าผู้เรียนไม่ได้ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่สถานศึกษา
กำหนด ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก 1 ภาคเรียน สำหรบั ภาค
เรียนท่ี 2 จะต้องดำเนินการใหแ้ ล้วเสรจ็ ในปกี ารศกึ ษานัน้ การสอบแกต้ ัวให้ไดร้ ะดับผลการเรยี นไม่เกิน
“1”
2) การเปลยี่ นผลการเรยี น “ร”
การเปลยี่ นผลการเรียน “ร” ให้ดำเนินการ ดังน้ี
ให้ผู้เรยี นดำเนินการแกไ้ ข “ร” ตามสาเหตุ เม่ือผูเ้ รยี นแก้ไขปัญหาเสรจ็ แล้วให้ได้
ระดับผลการเรยี นตามปกติ (ต้ังแต่ 0 – 4 ) ถ้าผู้เรียนไม่ได้ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาท่ี
สถานศึกษากำหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก 1 ภาค
เรียน สำหรบั ภาคเรียนท่ี 2 จะต้องดำเนินการให้แล้วเสรจ็ ในปีการศึกษาน้นั
คมู่ ือนักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
3) การเปลีย่ นผลการเรียน “มส”
การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี 2 กรณี ดงั นี้
3.1 กรณีผู้เรยี นได้ผลการเรยี น “มส” เพราะมีเวลาเรยี นไมถ่ ึงร้อยละ 80 แต่มี
เวลาเรยี น ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ของเวลาเรียน ดำเนินการดังนี้
(1) ถา้ เปน็ รายวิชาพนื้ ฐานให้เรยี นซำ้ รายวชิ านัน้
(2) ถ้าเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ให้เรียนซ้ำ
รายวชิ าหรือเปลยี่ นรายวชิ าใหม่
3.2 กรณีกรณีผู้เรียนไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมีเวลาเรยี นน้อยกว่าร้อยละ
60 ของเวลาเรียนทั้งหมด ดำเนนิ การดงั น้ี
(1) ถา้ เปน็ รายวชิ าพื้นฐานให้เรยี นซำ้ รายวชิ าน้ัน
(2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ให้เรียนซ้ำ
รายวชิ าหรอื เปล่ียนรายวิชาใหม่
4) การเปลี่ยนผล “มผ” 89
กรณีท่ีผู้เรียนได้ผล “มผ” ผู้เรียนต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนน้ันๆ
ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1
ภาคเรียน สำหรับภาคเรียนท่ี 2 ต้องดำเนินการใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในปกี ารศึกษานัน้
1.4 การเลือ่ นชน้ั ใหม่
เม่ือสิน้ ปกี ารศกึ ษา ผู้เรยี นจะได้รับการเลือ่ นชั้น เมอ่ื มคี ุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
1) รายวชิ าพื้นฐานและรายวชิ าเพิม่ เติมได้รับการตัดสินผลการเรยี นผา่ นตามเกณฑท์ ่ี
สถานศึกษากำหนด
2) ผ้เู รยี นต้องได้รบั การประเมนิ และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ทส่ี ถานกำหนด
ในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
3) ระดับผลการเรยี นเฉลี่ยในปกี ารศึกษานน้ั ควรไดไ้ มต่ ำ่ กว่า 1.00
ท้ังนี้ รายวิชาใดท่ีไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผ้เู รียนให้ได้รับ
การแกไ้ ขในภาคเรยี นถัดไป ท้งั น้ีสำหรับภาคเรียนท่ี 2 ตอ้ งดำเนนิ การให้เสร็จสิน้ ภายในปกี ารศึกษา
นั้น
คมู่ ือนกั เรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
1.5 การเรียนซำ้ ชนั้
ผู้เรียนท่ีไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน
ระดบั ทสี่ ูงข้ึน สถานศกึ ษาอาจต้งั กรรมการพิจารณาให้เรยี นซำ้ การซำ้ ชนั้ มี 2 กรณี ดังนี้
1) ผ้เู รยี นมีระดบั ผลการเรียนเฉล่ยี ในปกี ารศึกษานั้นต่ำกวา่ 1.00 และมีแนวโนม้ ว่า
จะเป็นปัญหาตอ่ การเรยี นในระดับท่สี งู ขึ้น
2) ผู้เรียนมีผลการเรียน 0, ร, มส เกินครึง่ หนงึ่ ของรายวิชาทล่ี งทะเบียนเรียนในปี
การศึกษานน้ั
ท้ังน้ี หากเกิดลักษณะใดลักษณะหน่ึง หรือทั้ง 2 ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้ง
คณะกรรมการพจิ ารณา หากเห็นวา่ ไม่มีเหตุผลอนั สมควรก็ให้ซ้ำชั้น โดยยกเลกิ ผลการเรียนเดิม
และใหใ้ ชผ้ ลการเรยี นใหม่แทน
1.6 การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรยี นเป็นการส่อื สารให้ผู้ปกครองและผู้เรยี นทราบความก้าวหน้า
ในการเรียนของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ 90
ผู้ปกครองทราบเปน็ ระยะๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครงั้
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนท่ี
สะทอ้ นมาตรฐานการเรยี นรูข้ องกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. เกณฑก์ ารจบการศึกษา
2.1 เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
1) ผู้เรยี นเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเติม โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน 66 หน่วยกิต
และรายวชิ าเพมิ่ ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด
2) ผ้เู รียนต้องได้หนว่ ยกิตตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกวา่ 77 หนว่ ยกิต โดยเป็นรายวิชา
พนื้ ฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพมิ่ เติมไมน่ ้อยกวา่ 11 หนว่ ยกิต
3) ผู้เรียนมผี ลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณ ฑ์การ
ประเมินตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
คู่มอื นกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
5) ผูเ้ รียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นและมีผลการประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมิน
ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด
2.2 เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
1) ผูเ้ รยี นเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน 41 หน่วยกิต
และรายวชิ าเพ่มิ ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด
2) ผ้เู รยี นตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเปน็ รายวชิ า
พ้ืนฐาน 41
91
ค่มู อื นักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
การประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
1) การประเมนิ การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ม.1 – ม. 6
ประเมนิ เป็นรายภาค
ประเมนิ ก่อนเรยี น ประเมนิ ระหว่างเรียน ประเมินหลงั เรยี น
สรปุ การประเมนิ ผลการเรียนรเู้ ป็นรายภาค 92
ได้ “0” ซอ่ มเสริม ปรังปรุง พฒั นา ได้ “1-4”
ไมผ่ ่าน
ผา่ น
หมายเหตุ
1.1 การประเมนิ ผลการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรเู้ น้นการประเมนิ ระหว่างเรยี นมากกว่าการ
ประเมินหลังเรยี น
1.2 ผู้เรียนต้องมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมแตล่ ะสาระครบตามที่โรงเรียนกำหนดจงึ จะได้รับการ
ตัดสนิ
คู่มอื นกั เรยี น ผูป้ กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
2) การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
ผู้เรียนต้องเขา้ ร่วมกจิ กรรมดงั น้ี
1. กจิ กรรมแนะแนว
2. กจิ กรรมนักเรยี น
3. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์
ม.1 – ม. 6
เป็นรายภาค
สรปุ เวลาเขา้ รว่ มกิจกรรม การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 93
อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 80
ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนด
สรุปการประเมนิ ผลการเรียนรเู้ ปน็ รายภาค
ไม่ผ่าน ผ่าน
ซ่อมเสรมิ ปรังปรุง พฒั นา
คูม่ อื นักเรยี น ผูป้ กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
3) การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
นกั เรยี นทต่ี อ้ งผา่ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ทัง้ 8 ประการคอื
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซ่อื สัตย์สจุ รติ
3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย 8. มจี ติ สาธารณะ
ม.1 – ม.6
ประเมนิ เปน็ รายภาค
คณะกรรมการพฒั นาและประเมินคณุ ลกั ษณอ์ ันพงึ 94
ประสงค์ กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมิน
ครผู สู้ อนทกุ รายวิชา
ประเมนิ นกั เรยี น
ประเมนิ ผลจากครูผสู้ อน
ทกุ รายวชิ า โดยใช้ฐานนยิ ม
พจิ ารณาการตดั สนิ
ซ่อมเสรมิ ปรงั ปรุง พัฒนา
ไม่ผา่ น
ดเี ย่ยี ม
ดี ผ่าน
คู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565
4) การประเมินการอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ และการเขยี นสื่อความ
ผเู้ รียนจะได้รับการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขยี นส่ือ
ความเปน็ รายปีเพ่ือดูพฒั นาการในการอ่าน การคิดวิเคราะห์และการเขียนสอ่ื ความ โดยครูผสู้ อนใน
รายวิชาพ้นื ฐานทกุ รายวชิ าและทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ หากผลการประเมินไม่ผา่ น ผู้เรียนตอ้ งได้รับ
การปรับปรงุ แก้ไข และพฒั นาโดยครผู ู้สอนและคณะกรรมการประเมินความสามารถในการอ่าน
การคิดวิเคราะห์และการเขียนส่ือความของโรงเรยี นจนกว่าจะผ่าน จึงสามารถผ่านช่วงชั้นหรือจบ
การศึกษาภาคบังคับและการศกึ ษาข้ันพื้นฐานเช่นเดยี วกับการประเมินรูปแบบอ่นื
ม.1 – ม.6
ประเมินเป็นรายภาค
คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลกั ษณ์อนั พงึ 95
ประสงค์ กำหนดตวั ช้ีวัดและเกณฑก์ ารประเมนิ
ครูผสู้ อนทกุ รายวิชา
ประเมนิ นกั เรียน
ประเมนิ ผลจากครผู ู้สอน
ทกุ รายวิชา โดยใชฐ้ านนิยม
พจิ ารณาการตดั สนิ
ไมผ่ า่ น ซ่อมเสรมิ ปรงั ปรุง พัฒนา ดีเย่ยี ม
ดี ผา่ น
คมู่ ือนักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
การประเมินผลกิจกรรมชมุ นุม
การประเมินผลการจดั กจิ กรรมชุมนุม เป็นเง่ือนไขสำคญั ประการหนึง่ สำหรับการผา่ นช่วง
ชั้นหรอื จบหลักสูตร นกั เรียนตอ้ งเข้ารว่ มและปฏิบัตกิ จิ กรรมชุมนมุ ตลอดจนผา่ นการประเมินตาม
เกณฑท์ ี่โรงเรยี นกำหนดตามแนวประเมนิ ดังนี้
1. ประเมินการร่วมกิจกรรมชมุ นุมตามวตั ถปุ ระสงคข์ องชุมนุม ด้วยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย
ตามสภาพจริงใหไ้ ด้ผลการประเมินท่ีถกู ต้อง ครบถว้ น
2. ครูทีป่ รึกษากจิ กรรมชุมนมุ และนักเรยี นจะมบี ทบาทในการประเมินดงั น้ี
2.1 ครทู ปี่ รึกษากิจกรรมชุมนมุ
(1) ตอ้ งดูแลและพฒั นานกั เรียนใหเ้ กิดคุณลกั ษณะตามวัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรม
(2) ตอ้ งรายงานเวลา และพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนักเรียน
(3) ตอ้ งศึกษาตดิ ตาม และพัฒนานกั เรียนในที่กรณนี ักเรียนไมเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม
2.2 นักเรยี น
(1) ปฏิบัติกิจกรรมใหบ้ รรลุผลตามวตั ถุประสงค์
(2) มีหลกั ฐานแสดงการเขา้ ร่วมกิจกรรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ80 ของเวลาเรยี น 96
ท้ังหมด พร้อมท้งั แสดงผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม และพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ
(3) ถ้าไม่เกดิ คุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ ตอ้ งปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพิม่ เติมตามท่ี
ครทู ี่ปรกึ ษากจิ กรรมมอบหมาย
3. เกณฑก์ ารผ่านกจิ กรรมชุมนมุ
3.1 นักเรียนเขา้ รว่ มกิจกรรมชุมนุมไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
3.2 นกั เรยี นผา่ นจดุ ประสงคท์ ส่ี ำคัญของแต่ละกิจกรรม
3.3 นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑ์ประเมนิ ตามเกณฑ์ จึงไดผ้ ลการเรียน “ผ” ในกจิ กรรม
ชุมนุม
ในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลของกิจกรรมเป็น “มผ” สถานศึกษาจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทำ
กิจกรรมในสว่ นท่ีผู้เรยี นไมไ่ ด้เขา้ ร่วมหรือไมไ่ ด้ทำจนครบถ้วน แลว้ จึงเปล่ียนผลจาก “มผ” เปน็ “ผ”
ได้ ท้ังนี้ ตอ้ งดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศกึ ษานน้ั ยกเวน้ มเี หตุสดุ วิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของ
สถานศึกษา
คู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565
แนวปฏิบัตใิ นการเรียนซอ่ มเสรมิ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนซำ้ รายวชิ าและ
การเรยี นซ้ำชั้นฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2561
1) การเรียนซ่อมเสริมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ในกรณีท่ีผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ข้ันต่ำของแต่ละ
รายวชิ าแตล่ ะภาคเรียน
1.1 จดั ให้ผูเ้ รยี นเรียนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัวได้ภาคเรียนละ 2 ครัง้ ตามวันเวลาท่ี
โรงเรียนกำหนด
1.2 หากผูเ้ รยี นไมไ่ ดม้ าเรียนซ่อมเสรมิ และสอบแกต้ ัวตามวันและเวลาท่ีโรงเรียนกำหนด
โรงเรียนจะจดั ให้ผเู้ รียนเรยี นซำ้ รายวชิ านนั้ ๆในภาคเรียนถัดไป
2) การเปล่ียน “ร”
ในกรณีผู้เรียนได้ “ร” ไม่สามารถตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนในบางรายวิชาได้
เน่ืองจากผูเ้ รยี นขาดสอบกลางภาค/ปลายภาค และผู้เรยี นไมไ่ ดต้ ดิ ตอ่ กับโรงเรียนเพอ่ื ขอปรบั ปรงุ ผล
การเรียนตามวัน เวลาทกี่ ำหนด โรงเรยี นจะจัดให้ผูเ้ รยี นเรียนซ้ำรายวิชานนั้ ๆในภาคเรียนถดั ไป
3) กรณีเปล่ยี น “มส”
3.1 ในกรณีท่ีผู้เรยี นได้ “มส” และมเี วลาเรียนที่ขาดหายไปไม่เกินร้อยละ 30 ให้ผู้เรียน 97
ดำเนินการซอ่ มเสริมและพฒั นาผ้เู รยี นไดภ้ ายในเวลาทกี่ ำหนด
3.2 ในกรณที ผี่ ู้เรียนผ่านการซ่อมเสรมิ ตามข้อ 3.1 แลว้ ยงั ได้ “มส” ไมเ่ กนิ 4 รายวชิ าตอ่ ปี
หรอื ผู้เรยี นทไี่ ด้ มส เน่ืองจากขาดเรียน มากกว่ารอ้ ยละ 30 ของเวลาเรยี นทงั้ หมด โรงเรยี นจะจัดให้
ผู้เรียน เรียนซ้ำรายวิชาน้ันในปกี ารศกึ ษาถดั ไป
3.3 ในกรณีทผี่ ู้เรยี นได้ “มส” ตงั้ แต่ 5 รายวิชาขึ้นไปต่อปี โรงเรยี นจะจัดใหผ้ ู้เรียน เรยี นซ้ำ
รายวิชานั้นในปีการศึกษาถัดไป ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับดุลพินิจของคณะกรรมการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่ง
ประกอบดว้ ยครูผู้สอนและผู้เกย่ี วข้องในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรยี น ท้ังนเี้ พ่ือไม่ใหเ้ กิดปัญหาตอ่ ผู้เรยี น
ในการเรยี นระดบั สงู ขึ้น
4) การเรียนซำ้ รายวชิ า โรงเรียนจะจัดให้ผเู้ รยี นเรยี นซำ้ เป็นรายวชิ าในกรณีต่อไปน้ี
4.1 ผู้เรียนไม่มาทำการซ่อมเสริมและสอบแก้ตัวเพื่อพัฒนาผู้เรียน ตามวันเวลาที่กำหนดทั้ง
2 คร้งั
4.2 ผู้เรียนมาทำการซ่อมเสริมและสอบแก้ตัวเพื่อพัฒนาผู้เรียน ตามวันเวลาที่กำหนด
ทั้ง 2 คร้ังแล้วแตย่ งั ไมผ่ า่ นเกณฑ์ขน้ั ตำ่
คมู่ อื นกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565
4.3 ผูเ้ รียนติด “ร” เนื่องจากขาดสอบกลางภาค/ปลายภาคโดยไม่แจง้ สาเหตุ และไม่มา
ติดต่อขอปรับปรุงผลการเรียนภายในเวลาทีก่ ำหนด
4.4 ผู้เรียนตดิ “มส” ไม่เกนิ 4 รายวิชาตอ่ ปี
5) การเรยี นซ้ำชนั้
5.1 ในกรณที ่ีผ้เู รยี นมีผลการเรียนเฉลีย่ ของปกี ารศึกษาท่ีผา่ นมาตำ่ กว่า 1.00 โรงเรียน จะ
จัดให้มีการเรยี นซ้ำชน้ั ในปกี ารศึกษาถดั ไป และใหย้ กเลิกผลการเรยี นเดิม
5.2 ในกรณีที่ผู้เรียนติด “มส” ตั้งแต่ 5 รายวิชาขึ้นไปต่อปีและคณะกรรมการจัดการ
เรียนรขู้ องผู้เรียนเห็นว่าจะเกิดปัญหาตอ่ ผู้เรียนในการเรียนระดับสูงข้ึน โรงเรียนจะจัดใหม้ กี ารเรยี น
ซ้ำช้ันในปีการศึกษาถัดไป และใหย้ กเลกิ ผลการเรียนเดมิ
98
คมู่ ือนักเรยี น ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ว่าด้วยการปฏบิ ตั ขิ องผูเ้ ข้าสอบ พ.ศ. 2548
โดยท่ีเห็นสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการปฏิบัติของผู้เข้าสอบให้
เหมาะสมยิ่งข้ึนอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ วางระเบยี บไวด้ งั ตอ่ ไปนี้
ขอ้ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยการปฏิบัติของผู้เข้าสอบ
พ.ศ. 2548”
ขอ้ 2 ระเบยี บน้ีใชบ้ งั คับต้ังแตว่ ันถัดจากวนั ประกาศเป็นตน้ ไป
ข้อ 3 ใหย้ กเลิกระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ด้วยการปฏบิ ัติของผู้เขา้ สอบ พ.ศ. 2506
ระ เบี ย บ น้ี ใช้ บั ง คั บ แ ก่ ผู้ เข้ าส อ บ ส ำห รับ ก า รส อ บ ทุ ก ป ระ เภ ท ใน ส่ ว น ร าช ก า รแ ล ะ
สถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และให้หมายความรวมถึงผู้เข้าสอบในสถานศึกษาท่ีอยู่ใน
กำกับดแู ลหรอื สถานศึกษาที่อยู่ในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ ยกเว้นสถาบันอุดมศกึ ษา
ของรัฐและสถาบันการศกึ ษาเอกชน 99
ขอ้ 4 ผ้เู ขา้ สอบต้องปฏบิ ัติดงั ต่อไปน้ี
4.1 การแต่งกาย ถ้าเป็นนักเรียนหรือนักศึกษาต้องแต่งเครื่องแบบนักเรียนหรือ
นักศกึ ษาแล้วแต่กรณี ถ้าเปน็ ผูส้ มัครสอบตอ้ งแตง่ กายใหส้ ภุ าพเรียบรอ้ ยตามประเพณีนิยม
4.2 ผู้เข้าสอบจะต้องถือเป็นหน้าท่ีที่จะต้องตรวจสอบให้ทราบว่าสถานท่ีสอบอยู่
ณ ที่ใด ห้องใด
4.3 ไปถึงสถานที่สอบก่อนเวลาเร่ิมสอบตามสมควร ผู้ใดไปไม่ทันเวลาลงมือสอบ
วชิ าใด ไม่มีสิทธิ์เข้าสอบวิชานั้น แต่สำหรบั การสอบวิชาแรกในตอนเช้าของแต่ละวัน ผู้ใดเข้าห้อง
สอบจากเวลาลงมือสอบแล้ว 15 นาที จะไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตให้สอบวชิ าน้นั เวน้ แต่มีเหตคุ วามจำเป็นให้
อยู่ในดลุ พนิ ิจของประธานดำเนินการสอบพจิ ารณาอนญุ าต
4.4 ไม่เข้าห้องสอบกอ่ นไดร้ ับอนญุ าต
4.5 ไมน่ ำเอกสาร หรือเครื่องอเิ ล็กทรอนกิ ส์หรอื เคร่ืองสอื่ สารใดๆ เข้าไปในหอ้ งสอบ
4.6 นงั่ ตามทก่ี ำหนดให้ จะเปลย่ี นที่นั่งกอ่ นได้รับอนุญาตไมไ่ ด้
4.7 ปฏิบัติตามระเบยี บเกยี่ วกบั การสอบและคำสั่งของผกู้ ำกับการสอบโดยไมท่ ุจริต
ในการสอบ