The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chakriya.bd, 2022-09-05 04:38:01

Student Manual book TUP 2022

คู่มือนักเรียน ปีการศึกษา 2565

คู่มอื นักเรียน ผูป้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

4.8 มใิ หผ้ เู้ ข้าสอบคนอนื่ คัดลอกคำตอบของตน รวมทั้งไมพ่ ดู คยุ กับผู้ใดในเวลาสอบ

หรอื มีขอ้ สงสยั หรอื มีความจำเปน็ ใหแ้ จง้ ตอ่ ผกู้ ำกับการสอบ

4.9 ประพฤติตนเป็นสภุ าพชน

4.10 ผู้ใดสอบเสร็จก่อน ผู้น้นั ตอ้ งออกไปห่างจากห้องสอบ และไม่กระทำการใดๆ

อันเป็นการรบกวนแก่ผู้ทีย่ ังสอบอยู่ แต่ทั้งน้ผี ู้เขา้ สอบทุกคนจะออกจากห้องสอบก่อนเวลา 20 นาที

หลงั จากเรมิ่ สอบวิชาน้ันไมไ่ ด้

4.11 ไมน่ ำกระดาษสำหรบั เขยี นคำตอบทผี่ กู้ ำกับการสอบแจกให้ ออกไปจากห้องสอบ

ข้อ 5 ผู้เข้าสอบผู้ใดกระทำฝ่าฝืนระเบียบข้อ 4 หรือพยายามกระทำการทุจริตในการ

สอบวิชาใดให้ผู้กำกับการสอบวา่ กล่าวตักเตอื น

ถ้าการกระทำดังกล่าวในวรรคแรกเข้าลักษณะร้ายแรง เม่ือได้สอบสวนแล้วประธาน

กรรมการหรอื ผู้มีอำนาจหน้าท่ีในการจัดการสอบมีอำนาจส่ังไม่ให้ผู้น้ันเข้าสอบวิชานั้น หรือส่ังไม่

ตรวจคำตอบวชิ านัน้ ของผู้นน้ั โดยถอื ว่าสอบไมผ่ ่านเฉพาะวชิ าก็ได้

ขอ้ 6 ผเู้ ข้าสอบผใู้ ดกระทำการทุจริตในการสอบวิชาใด เมื่อได้สอบสวนแลว้ ให้ประธาน 100
กรรมการหรือผู้มีอำนาจหน้าท่ีในการจัดการสอบ สั่งไมต่ รวจคำตอบและถือว่าผนู้ ั้นสอบไม่ผ่านวชิ า

นน้ั ในการสอบคราวนน้ั

ข้อ 7 ในกรณีทุจริตในการสอบด้วยวิธีคัดลอกคำตอบระหว่างผู้เข้าสอบด้วยกันให้

สนั นษิ ฐานไว้กอ่ นวา่ ผู้เข้าสอบนัน้ ได้สมคบกนั กระทำการทุจรติ

ข้อ 8 ใหป้ ลัดกระทรวงศึกษาธิการรกั ษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันท่ี 30 กนั ยายน พ.ศ. 2548

(นายจาตุรนต์ ฉายแสง)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

101

ค่มู ือนกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

กล่มุ บริหารงานบคุ คล

102
นางสาวภรณ์กมนส์ ดวงสุวรรณ์
รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล

ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

103

คมู่ ือนกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

บุคลากรกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล

1.นางสาวภรณก์ มนส์ ดวงสุวรรณ์ รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารงานบุคคล
2.นางพศิ สมัย
บญุ สวัสดิ์ ผชู้ ่วยรองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล
3. นายประมวล
งานสำนักงานกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล
4. นายภาวัต
แสงสทิ ธธิ์ รี กลุ ผ้ชู ว่ ยรองผูอ้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล
5. นายปกรกาญจน์
งานสง่ เสรมิ กจิ กรรมนักเรยี น
6. นายกีรติ
7. นางสาวดวงดี โชตสิ ภุ าพณ ผู้ชว่ ยรองผอู้ ำนวยการกลุม่ บริหารงานบุคคล
8. นายธีรพล
9. นางสาวอัฉรา งานคณะสี
10. นางสาวจนั ทรแ์ รม
11. นางสาวพฤษภา ลานรอบ ผชู้ ่วยรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล
12. นางสุนยี ์
13. นางธดิ ารตั น์ งานระดบั ช้นั และครทู ป่ี รกึ ษา
14. นายอภวิ ัฒน์
15. นางสาวอดุ มพร หัวหนา้ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6
16. นางสาวสุวรณณา
17. นายสวุ ัฒน์ โกบุตร หวั หนา้ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
18. นายสมคดิ
19. นายภาณมุ าศ จานลาน หวั หนา้ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
20. นางสาวชลิดา
21. นางสาวปิยะพร เรืองทองดี หวั หน้าระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2
22. นายจกั รพงศ์
23. นางสาวอัญชิษฐา แสงสี หัวหนา้ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 104

บญุ ตอื หัวหน้าระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3

บุญสุข หวั หน้าระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

อดลุ พงศพ์ ันธุ์ หวั หน้าระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

ทองตะโก หวั หนา้ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4

ขุนสูงเนิน หวั หนา้ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5

พรมมา หวั หนา้ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5

รกั เสนาะ หวั หน้าระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6

ตามสันเทยี ะ หวั หนา้ คณะรักชาติ (สีแดง)

บุญวิเศษ หวั หน้าคณะผดุงศาสน์ (สเี หลือง)

หมุนเกตุ หวั หนา้ คณะเทิดกษัตรยิ ์ (สฟี ้า)

สิงคิรัตน์ หวั หนา้ คณะพฒั นาไทย (สเี ขียว)

ศรเี จรญิ หัวหน้าคณะใฝค่ ณุ ธรรม (สีม่วง)

หมนื่ แก้ว หัวหน้างานโครงการพิเศษกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล

ว่องไวพสิ ิฐกุล หัวหน้างานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

คู่มือนกั เรียน ผูป้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

24. นายวรรณธวชั ศรีโกมลศิลป์ หัวหนา้ งานเทคโนโลยสี ารสนเทศนักเรียน
25. นายภานุเดช คา้ ขาย
26. นายชิงชัย เตยี เจริญ หวั หนา้ งานบคุ ลากร
27. นางสาวกนกวรรณ มะลลิ า
หวั หนา้ งานพฒั นาบุคลากร

หวั หนา้ งานสภานักเรยี นและส่งเสริมประชาธปิ ไตย

งานหนังสอื อนุสรณ์

28. นายสิทธิพงษ์ ปานนาค หวั หน้างานป้องกนั แกไ้ ข สง่ิ เสพติด โรคเอดส์

และอบายมขุ

29. นายภูวนาท ชมพฒั น์ หวั หน้างานสารวัตรนักเรียน
30. นางสาววสิ ทุ ธิดา ศศธิ ร
31. นายกฤษฎา ฉนั ทะโส หัวหนา้ งานชมรม To Be Number One
32. นางเทวี พรหมรนิ ทร์
33. นางสาวธษิ ณาวดี ดิษฐวเิ ศษ หัวหนา้ งานรกั ษาความปลอดภยั
34. นางสาวประภาพร บุญประเสริฐ
35. นางสาวอภิญญา บ้านใหม่ หัวหนา้ งานสง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม
36. นางสาวชนญั ชิดา ระด่ิงหิน
37. นางสาวชาครยิ า บตุ รดี งานระดบั ช้ันและครทู ป่ี รกึ ษา
38. นางสาวจิราภรณ์ แกว้ สสี ด
งานพัสดุกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

งานแผนงานกลมุ่ บริหารงานบคุ คล

งานสำนักงาน/งานบุคลากร 105
งานสำนกั งานกลุ่มบริหารงานบคุ คล

งานสำนกั งานกลมุ่ บริหารงานบุคคล

คมู่ อื นักเรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

กฎกระทรวง

กำหนดความประพฤตขิ องนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 64 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก

พ.ศ. 2546 อันเปน็ กฎหมายท่ีมีกฎบญั ญตั ิบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสทิ ธิและเสรภี าพของบุคคล

ซ่ึงมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 31 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 39 มาตรา 48 และ

มาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตาม

บทบัญญตั ิแห่งกฎหมายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 นกั เรียนและนักศึกษาตอ้ งไม่ประพฤตติ น ดงั ต่อไปน้ี

(1) หนเี รียนหรอื อกนอกสถานศึกษาโดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตในชว่ งเวลาเรียน

(2) เลน่ การพนัน จัดให้มกี ารเลน่ การพนัน หรือมว่ั สมุ ในวงการพนนั

(3) พกพาอาวุธหรอื วตั ถุระเบิด

(4) ซ้ือ จำหน่าย แลกเปล่ียน เสพสุราหรือเคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ สิ่งมึนเมา บุหรี่

หรือยาเสพตดิ

(5) ลกั ทรพั ย์ กรรโชกทรพั ย์ ข่มขู่ หรือบงั คบั ขืนใจเพือ่ เอาทรพั ย์บุคคลอ่นื 106

(6) ก่อเหตุทะเลาะววิ าท ทำรา้ ยรา่ งกายผอู้ ื่น เตรียมการหรือกระทำการใดๆ อันน่าจะ

กอ่ ให้เกดิ ความไม่สงบเรยี บร้อยหรือขัดต่อศลี ธรรมอันดขี องประชาชน

(7) แสดงพฤตกิ รรมทางชสู้ าวซงึ่ ไมเ่ หมาะสมในพน้ื ท่สี าธารณะ

(8) เกีย่ วข้องกับการค้าประเวณี

(9) ออกนอกสถานท่ีพกั เวลากลางคนื เพือ่ เที่ยวเตรห่ รอื รวมกลมุ่ อนั เปน็ การสร้างความ

เดอื ดรอ้ นใหแ้ กต่ นเองหรือผูอ้ ่นื

ขอ้ 2 ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษากำหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและ

นักศกึ ษาได้เทา่ ทไ่ี มข่ ดั แย้งกบั กฎกระทรวงน้ี

ให้ไว้ ณ วันท่ี 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548

จาตุรนต์ ฉายแสง
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

107

คู่มอื นักเรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

ระเบียบโรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการ พ.ศ. 2564

เพ่ือให้การปกครองนักเรียนสามารถสร้างวินัย ส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรมเกิดความ
เรยี บร้อยภายในโรงเรยี น จงึ วางระเบยี บไว้ดังตอ่ ไปนี้

1. บททวั่ ไป
1.1 ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ว่าด้วยข้อบังคับและ

แนวทางปฏบิ ตั สิ ำหรับนักเรียน พ.ศ. 2564
1.2 ระเบียบน้ีให้ใช้บังคับแก่นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการทุกคนตั้งแต่

วนั ท่ี 1 เมษายน 2564 เปน็ ต้นไป
1.3 ใหร้ องผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารงานบุคคล รักษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บนี้

2. การมาโรงเรียนของนกั เรยี น

2.1 นักเรียนต้องมาถึงโรงเรียนก่อนเวลา 07.20 น. เพื่อทำกิจกรรมตอนเช้าบริเวณลานอเนกประสงค์

/หน้าชั้นเรียน และเม่ือนักเรียนเข้ามาในโรงเรียนแล้วไม่ว่ากรณีใดๆ จะออกจากโรงเรียนไม่ได้

จนกว่าจะถงึ เวลาเลิกเรยี นหรอื มผี ้ปู กครองมารับ หรอื ไดร้ ับการอนุญาตใหอ้ อกนอกบริเวณโรงเรยี น

2.2 นกั เรียนทุกคนตอ้ งปฏิบัติกิจกรรมตอนเชา้ ดังน้ี 108
2.2.1 เข้าแถวเคารพธงชาติท่ลี านอเนกประสงค์ และบริเวณโดยรอบที่จัดไวใ้ ห้ทุกคน

2.2.2 พบครูท่ปี รึกษาเพือ่ โฮมรมู ในห้องเรียนหรอื บรเิ วณท่ีโรงเรียนกำหนดหลังกิจกรรม

ทง้ั น้ใี ห้เปน็ ไปตามท่ีโรงเรยี นกำหนดนักเรียนคนใดไมใ่ ห้ความรว่ มมอื ถือวา่ มีความผิด

2.3 นักเรียนต้องหยุดทำความเคารพครูท่ีปฏิบัติเวรที่ประตูทางเข้าและนักเรียนต้อง

พกบตั รประจำตวั นกั เรียนมาโรงเรยี นทุกวนั การไมม่ บี ัตรประจำตวั นกั เรียนถือว่ามคี วามผดิ

2.4 นักเรียนที่มาโรงเรียนหลังเวลา 07 .30 น. ถือว่ามาสายไม่ทันเข้าแถว ครูเวรประตู

สนามเทนนิสดูแลนักเรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมตอนเช้าท่บี ริเวณสนามเทนนิส ให้ครูเวรดแู ลการแตง่ กาย

และข้อปฏิบัติเก่ียวกับนักเรียนอย่างเข้มงวด นกั เรียนท่ีมาถงึ โรงเรยี นหลังเวลา 08.10 น. ถือวา่ มา

โรงเรียนสายถ้านักเรียนมคี วามผิดอ่ืนเพ่ิมเติม ให้บันทึกความผิดในแบบบันทึกของกลุ่มบรหิ ารงาน

บุคคล นักเรียนท่มี าโรงเรียนระหว่างเวลา 07.30 – 07.45 น. ตดั 1 คะแนน เวลา 07.45 – 08.10

น. ตัด 2 คะแนน เวลา 08.11 – 09.00 น.ตัด 3 คะแนน และนักเรียนที่มาโรงเรียนต้ังแต่เวลา

09.01 น. เป็นตน้ ไป จะถกู บันทกึ “มาสาย” และตัด 5 คะแนน

2.5 การเข้าเรียนแต่ละคาบ นักเรียนต้องไปตามเวลาและสถานท่ีท่ีกำหนดไว้ในตารางสอน

ถ้านักเรียนเขา้ หอ้ งเรียนช้าหลงั การสอนไปแลว้ 10 นาที ถอื ว่า “เข้าเรียนช้า” ถา้ ไมเ่ ขา้ เรียนในคาบ

ใดทเ่ี ปน็ คาบเรยี นใหถ้ อื วา่ หนเี รียน

คมู่ ือนกั เรยี น ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

- นักเรียนที่เป็นเวรประจำวันต้องดูแลความสะอาดห้องเรียนให้สะอาดตลอดเวลา
โดยเฉพาะ การเปิดปดิ ไฟ พดั ลม และต้คู วบคมุ สื่ออิเลคทรอนคิ

- ครูผู้สอนต้องรายงานนักเรียนที่เข้าเรียนช้า และหนีเรียนให้ครูท่ีปรึกษาทราบ
ดว้ ยการบันทึกหลังจากเลิกเรยี นทกุ คาบ

2.6 นักเรียนต้องมีกระเป๋านักเรยี นตามแบบที่โรงเรียนกำหนดเพื่อใส่หนงั สือและอุปกรณ์การเรียน
การไมม่ กี ระเปา๋ ถือว่ามีความผดิ

3. การขาดเรยี นและการลา

3.1 เมื่อนักเรียนไม่มาโรงเรียนโดยไม่ทราบสาเหตุ ถือว่านักเรียนมีความผิดฐาน “หนีเรียน”

และมีเจตนาปกปดิ ไม่ให้ผ้ปู กครองหรอื โรงเรยี นทราบ

3.2 ทุกครงั้ ท่นี ักเรียนไม่มาโรงเรียนให้รีบแจ้งครูท่ปี รึกษาทางเบอรโ์ ทรศพั ท์ และต้องสง่ ใบลา

ทันทีที่มาโรงเรียน เพื่อป้องกันการ “ออกจากบ้าน” แต่ “ไม่ถึงโรงเรียน”แล้วกลับบ้านให้

“ตรงเวลา”

3.3 ใบลาเป็นแบบท่ีถูกตอ้ งตามหลักการเขียนจดหมาย และต้องลงนาม โดยบิดามารดา หรือ

ผูป้ กครองท่ีมามอบตัวนักเรียนเม่ือวันแรกเข้าเรียน ซึ่งมีลายเซ็นตวั อย่างไว้ท่ีโรงเรียนเท่านั้น และ 109
โรงเรยี นถือวา่ เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของผู้ปกครองเม่ือนักเรยี นไม่มาโรงเรียน

3.4 กรณีนกั เรยี นเขา้ มาในบริเวณโรงเรียนแลว้ ตอ้ งการออกไปนอกบริเวณโรงเรียนต้องปฏิบัติ

ดังนี้

3.4.1 ต้องมีผู้ปกครองที่มามอบตัวนักเรียนเมื่อวันแรกเข้าเรียน เป็นผู้มารับนักเรียนด้วย

ตนเอง

3.4.2 กรณีท่ีผู้ปกครองไม่สามารถมารับนักเรียนได้ ต้องมีหนังสือมอบอำนาจพร้อม

สำเนาบัตรประชาชน หรอื สำเนาบตั รที่ทางราชการออกให้ของผู้ปกครองมายืนยันเปน็ หลักฐาน

3.4.3 โรงเรียนมอบหมายให้รองผู้อำนวยการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายลงนามอนุญาต

ในบัตรขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น

3.4.4. กรณีนักเรียนเจ็บป่วยระหว่างเรียนให้แจ้งครูประจำห้องพยาบาล ซ่ึงเป็นผู้

พิจารณาว่าควรให้นักเรยี นลากลับบ้านหรือถ้าเห็นสมควรครูประจำห้องพยาบาลจะบันทึกส่งกลุ่ม

บรหิ ารงานบุคคล เพื่อทำบัตรอนุญาต (ต.อ.พ.ป.6) ต่อไป

3.5 โรงเรยี นไมอ่ นญุ าตใหน้ ักเรียนออกนอกบริเวณโรงเรียนในกรณี ดังนี้

3.5.1 ผูป้ กครองขออนุญาตทางโทรศพั ท์

3.5.2 ผู้ปกครองให้บุคคลอ่ืนมารับตัวนักเรียนโดยมีใบลาที่ถูกต้อง และขัดต่อ

ข้อ 3.4.2

คู่มอื นกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

3.5.3 นกั เรยี นอา้ งวา่ ผูป้ กครองไมอ่ ยหู่ รอื ไม่สามารถลงช่ือในใบลาได้

3.6 กรณที ีน่ ักเรียนขาดเรยี นโดยไม่ทราบสาเหตโุ รงเรยี นจะดำเนนิ การดงั น้ี

3.6.1 มอบให้ครทู ่ีปรึกษาแจ้งผูป้ กครองตามความเหมาะสม เช่น โทรศพั ท์จดหมาย

ไปรษณียบตั ร เมื่อนกั เรยี นขาดการติดต่อ 2-3 วนั และเป็นการแจ้งคร้งั ที่ 1

3.6.2 มอบให้ครูท่ีปรึกษาร่วมกับหัวหน้าระดับแจ้งผู้ปกครองในนามกลุ่มบริหาร

งานบุคคลโดยทางจดหมายหรือทางโทรศัพท์ เม่ือนกั เรียนขาดเรียนติดตอ่ กนั 5 วนั และถือว่าเป็น

การแจง้ ครั้งที่ 2

3.6.3 มอบใหค้ รูท่ีปรกึ ษากับหัวหน้าระดับเชิญผู้ปกครองมาโรงเรียน เพื่อปรกึ ษาใน

นามกลุ่มบริหารงานบุคคล โดยจัดทำหนังสือเชิญส่งไป ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับเม่ือ

นักเรยี นขาดติดต่อกนั เกนิ 7 วัน และถอื เปน็ การแจง้ ครง้ั ท่ี 3

3.6.4 กรณีท่ีนักเรียนขาดเรียนติดต่อกัน 15 วัน โดยผู้ปกครองไม่แจ้งสาเหตุเป็นลาย

ลักษณ์อักษร และครูที่ปรึกษาได้ดำเนินตามข้อ 3.6.1 ถึง 3.6.3 แล้ว ครูท่ีปรึกษาแจ้งต่อฝ่าย

ทะเบียนประกอบคำเสนอ ต่อรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล ( เป็นไปตามระเบียบ

กระทรวงศึกษาธกิ าร ) เพือ่ ดำเนินการติดตามตอ่ ไป

4. การเรยี นในคาบเรียน 110

4.1 ในระหวา่ งเวลาเรยี น นักเรียนต้องอย่ใู นห้องเรียนเท่านน้ั เว้นแต่ได้รบั อนญุ าตจากครูผ้สู อน

4.2 ห้ามใช้โทรศัพทห์ รือเครอื่ งมือสือ่ สารอืน่ ใดระหวา่ งเวลาเรียน

4.3 หา้ มนำวชิ าอ่ืนมาทำโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

4.4 ต้องตั้งใจเรียน ฟังคำสั่งสอนและคำอธบิ ายของครู ดว้ ยความสงบเรยี บร้อย ไมล่ ุกออกจาก

ที่นั่งโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

4.5 ในกรณีที่ครูไม่อยู่ในห้องเรียน ให้นักเรียนทุกคนอยู่ในห้องเรียนด้วยความเป็นระเบียบ

เรียบร้อย ไม่กระทำการใดๆ รบกวนห้องใกล้เคียงให้เป็นท่ีเดือดร้อน เม่ือเวลาผ่านไป 10 นาที

แล้วครยู ังไม่เข้าห้องสอนให้หัวหนา้ หอ้ งไปแจง้ ท่ีสำนักงานกลุม่ บรหิ ารวิชาการ

4.6 เม่ือมีการเปล่ียนท่ีเรียน ให้นักเรียนเก็บอุปกรณ์การเรียนของตนเข้ากระเปา๋ และนำติดตัว

ไปเดินเข้าแถวอย่างเป็นระเบยี บด้วยความสงบ ไมร่ บกวนหอ้ งต่างๆ ที่เดินผา่ น

4.7 กรณีเปลี่ยนคาบเรยี นหรอื เปลี่ยนครูผู้สอนโดยไมเ่ ปล่ียนท่ีเรียนในช่วงเวลานี้ห้ามนักเรียน

ออกนอกห้องเรียน ใหอ้ ยู่ในหอ้ งเรยี นดว้ ยความสงบเรยี บร้อย เตรียมสมุดหนังสอื หรอื อุปกรณ์การ

เรยี นให้พร้อมที่จะเรยี นวชิ าต่อไป

4.8 กรณีเรียนนอกห้องเรียนหรือสนาม หรือห้องประชุม หรือที่อื่นใด รวมท้ังการพบครูท่ี

ปรึกษาในคาบโฮมรูมให้ปฏบิ ัตเิ สมอื นกับอยูใ่ นห้องเรยี น

คมู่ ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

5. การขออนญุ าตออกนอกหอ้ งเรียนหรอื เขา้ หอ้ งเรียนในขณะเรยี น
5.1 เม่ือมธี ุระต้องออกนอกหอ้ งเรียนให้นักเรยี นขออนญุ าตครผู ู้สอนและกอ่ นเข้าห้องเรียนตอ้ ง

ขออนุญาตทุกครั้งเชน่ กัน
5.2 การขออนุญาตเข้าห้องเรยี นต้องขออนุญาตเข้าท่ีประตหู นา้ ห้องเรยี น ห้ามขออนญุ าตหรือ

เขา้ ห้องเรยี นทางประตหู ลังหอ้ งเรียน
5.3 เมือ่ นักเรียนต้องการพบนกั เรียนคนใด ในระหวา่ งทค่ี รูกำลงั สอนต้องขออนญุ าตครผู สู้ อนก่อน

6. ส่ิงของตอ้ งห้ามมใิ หน้ ำมาโรงเรยี น

6.1 ห้ามนักเรยี นนำส่งิ ของต่อไปนี้เข้ามาในโรงเรยี นโดยเดด็ ขาด

6.1.1 บุหรี่ สรุ า ของมนึ เมาหรอื ยาเสพติดทกุ ประเภท

6.1.2 อปุ กรณก์ ารเลน่ พนันทุกประเภท

6.1.3 อาวธุ วัตถรุ ะเบดิ ส่ิงของทีส่ ามารถใช้เป็นอาวธุ ไม่ใชอ่ ุปกรณก์ ารเรียนทกุ

ประเภท

6.1.4 ของผิดกฎหมายทุกชนดิ

6.2 หา้ มนกั เรียนใช้หรือนำมาในโรงเรยี นเพ่ือใชใ้ นขณะแต่งเครื่องแบบนักเรยี น

6.2.1 เครอื่ งประดบั ทุกประเภท 111
6.2.2 เครื่องสำอางทกุ ประเภท

6.3 ห้ามนกั เรยี นนำสงิ่ ตอ่ ไปนเ้ี ขา้ มาในโรงเรยี น เวน้ แต่ไดร้ บั อนญุ าตล่วงหน้าแลว้ หรอื เปน็

รายกรณี

6.3.1 รถยนต์ รถจักรยานยนต์

6.3.2 เครอ่ื งดนตรี เครอ่ื งเสียง

6.3.3 ของเล่นทุกประเภทท่ีอาจก่อให้เกดิ อนั ตรายแก่ตนเองและผ้อู ื่น เชน่ ธนู ลกู ดอก

รองเทา้ สเกต็

6.3.4 สินค้าทกุ ประเภททนี่ ำมาเพอื่ จำหน่ายในโรงเรียน

6.4 กรณที ี่นักเรียนนำสิง่ ของต้องห้ามตามระเบยี บมาโรงเรียน โรงเรยี นจะไม่รับผิดชอบ ถ้ามกี าร

สญู หาย ทัง้ ท่ีถูกยึดไวห้ รือมไิ ดถ้ ูกยึดไว้ เพราะถือวา่ นักเรยี นทำผิดกฎระเบียบและได้ห้ามไว้แลว้

6.5 กรณีที่นักเรียนทำผิดเก่ียวกับทรัพย์สิน โรงเรียนมอบหมายให้ครูยึดสิ่งของนั้น

ไวก้ อ่ นแลว้ เชิญผู้ปกครองมารบั คนื

6.6 ผ้ปู กครองต้องมารับของด้วยตัวเองภายใน 7 วัน นับต้งั แตว่ นั ทถี่ ูกยึดของ ณ สำนกั งานกลุ่ม

บริหารงานบุคคล มฉิ ะนั้นโรงเรียนจะถือวา่ นักเรยี นและผู้ปกครองไม่ประสงค์จะมารับของคืน

คูม่ อื นักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

7. การรับประทานอาหารในโรงเรยี น

7.1 นักเรียนรับประทานอาหารในบริเวณโรงอาหารเท่านั้น และห้ามนำอาหารหรือภาชนะ

ตา่ งๆ ออกนอกโรงอาหาร

7.2 นกั เรียนรับประทานอาหารไดเ้ ฉพาะเวลาที่กำหนดเทา่ นัน้ คือ

7.2.1 ก่อน 07.15 น.

7.2.2 คาบพักกลางวนั คอื รอบแรก ม.1, ม.2, ม.3 (11.30 น. - 12.20 น.)

รอบสอง ม.4, ม.5, ม.6 (12.20 น. - 13.10 น.)

7.3 การเปิดขายอาหารในโรงอาหาร นักเรียนสามารถซ้ือได้และรับประทานได้ตามเวลาที่

กำหนดในข้อ 7.2 เท่าน้นั

7.4 ในระหว่างเวลาเรียน เวลาสอน ห้ามนักเรียนออกไปซ้ือหรือส่ังอาหารจากภายนอกมา

รบั ประทาน

7.5 อนุญาตให้นักเรียนนำอาหารมาจากบ้านได้ เฉพาะเพื่อนำมารับประทานในโรงอาหาร

เท่าน้ัน และรบั ประทานตามเวลาทกี่ ำหนดในขอ้ 7.2 เท่าน้นั

7.6 นักเรยี นต้องรับประทานอาหารอย่างมีมารยาท ห้ามนั่งบนโต๊ะอาหาร หรอื ทิ้งเศษอาหารไว้

บนโต๊ะ โต๊ะ ม้าน่ัง รวมท้ังพ้ืนและฝาผนัง ล้วนเป็นของใช้ร่วมกัน 112
7.7 วัสดุโรงอาหารหรือภาชนะ

นักเรียนต้องช่วยกันรักษาความสะอาดและรักษาสภาพของวัตถุเหล่าน้ัน รวมท้ังปฏิบัติตาม

สุขลักษณะท่ถี ูกตอ้ ง

7.8 เมอื่ รับประทานอาหารเสรจ็ แลว้ ให้เกบ็ ภาชนะและท้ิงเศษอาหารในท่ีทีก่ ำหนดให้เทา่ นัน้

8. การแสดงความเคารพของนักเรียน
8.1 การแสดงความเคารพของนักเรียน อาจทำได้หลายวิธีเช่น ยืนตรง คำนับ ไหว้กราบ

วันทยาหัตถ์ วันทยาวุธ รวมทั้ง การแสดงกิริยาวาจาอย่างสำรวม อย่างสงบนิ่งหรือนอบน้อม
หรือการแสดงความเคารพตามแบบของศาสนาต่างๆ ด้วย ซึ่งนักเรียนต้ องใช้ตามกาลเทศะท่ี
เหมาะสมตามเวลาในชวี ิตประจำวันทงั้ ในและนอกโรงเรยี น

8.2 ผู้ท่ีนักเรียนต้องแสดงความเคารพตามขนบธรรมเนียมเสมอคือ บิดา มารดา ครู
ญาติผู้ใหญ่หรือผู้ท่ีควรเคารพอื่นๆ พร้อมท้ังใช้กิริยาวาจาที่สุภาพกับท่านเสมอทั้งในและนอก
โรงเรียน

8.3 นักเรยี นต้องทำความเคารพครู ตามขนบธรรมเนยี มประเพณีไทยทั้งในและนอกโรงเรียน

คมู่ อื นักเรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

8.4 การทำความเคารพในห้องเรยี น ให้ทำดงั นี้
8.4.1 เม่ือผู้ท่ีควรเคารพเข้ามาในห้องเรียน ให้หัวหน้าห้องเป็นผู้บอกทำ

ความเคารพด้วย คำว่า “นักเรียนเตรียม” ให้นักเรียนหยุดทำงานทันทีแล้วหัวหน้าบอกต่อทันทีว่า
“ทำความเคารพ” ให้นักเรยี นทกุ คนทำความเคารพพร้อมกนั

8.4.2 เมอ่ื นักเรยี นจะพูดกบั ครูให้ “ยนื ตรง”
8.4.3 เมอ่ื จะพบครหู รือจะกลับให้ “ไหว”้
8.5 การทำความเคารพครนู อกหอ้ งเรียน
8.5.1 เมอื่ อย่ใู นแถว ใหห้ วั หน้าสงั่ วา่ “แถว...ตรง” นกั เรียนทุกคน “ยืนตรง”
8.5.2 ขณะครเู ดนิ ผา่ นให้นักเรียนหยุดยนื ตรงแลว้ “ไหว”้
8.5.3 เมื่อนักเรียนยืนอยู่กับที่นักเรียนจะเดินผ่าน หรือครูจะเดินนำหน้านักเรียน
จะเดินแซงไปให้นกั เรียน “ไหว”้ แลว้ เดินกม้ ตวั เลก็ น้อยคอ่ ยเดินผ่านหรอื แซงไป
8.5.4 นอกโรงเรยี น นักเรยี นทำความเคารพตามความเหมาะสมแก่กาลเทศะ
8.6 การทำความเคารพกรณี อ่ืนๆ ให้ถือระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการ
เคารพของนักเรยี นนกั ศกึ ษา พ.ศ.2530 ประกาศ ณ วันท่ี 24 เมษายน 2530

8.7 นักเรียนต้องสุภาพอ่อนโยนต่อบุคคลทั่วไปรู้จักคำว่า “สวัสดี” “ขอโทษ” และ 113

“ขอบคุณ” ตามโอกาสท่ีเหมาะสมอยเู่ สมอ
8.8 นักเรียนต้องเข้าแถวในพิธีเชิญธงชาติเพ่ือแสดงความเคารพสถาบันชาติ ศาสนา

พระมหากษัตริย์ และสถาบันโรงเรยี น รวมทง้ั ฟงั โอวาทคำช้ีแจงจากครดู ้วยความสงบและสำรวม
งดภารกจิ อ่ืนๆ เป็นการชว่ั คราว

8.9 ขณะท่ีนักเรียนอยู่ในแถวหรือที่ประชุม เมื่อประธานหรือวิทยากรข้ึนพูดพิธีกร
หรอื หวั หนา้ จะสั่ง “นักเรียนทำความเคารพ” นักเรยี นทำความเคารพโดยการ “ไหว้” พร้อมกบั คำ
กล่าวว่า “สวัสดคี รับ/ค่ะ”

8.10 แต่งกายใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบของโรงเรียนท่นี กั เรยี นเข้ามาเรียน
8.10.1 แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน เมื่ออยู่นอกเครื่องแบบนักเรียน
กต็ อ้ งแต่งกายสุภาพ
8.10.2 แนะนำผู้ปกครองหรือผูอ้ น่ื ทีเ่ ขา้ มาในโรงเรยี นใหแ้ ตง่ กายสุภาพ
8.10.3 ไม่ขดี เขยี นหรอื พน่ สตี ามสถานทีแ่ ละวัตถตุ า่ งๆ ในโรงเรยี น
8.10.4 ไม่ทำลายต้นไม้หรือทรัพย์สินของโรงเรียน
8.10.5 ไม่แสดงกิริยา วาจาหยาบคาย และก้าวรา้ วต่อบคุ คลทว่ั ไป
8.10.6 ไม่เล่นในทที่ โ่ี รงเรยี นห้ามเล่น

คู่มอื นักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

8.10.7 ไม่นำสิ่งท่ีครู และนักเรียนคนอ่ืนๆ เคารพ เช่น พระพุ ทธรูปในโรงเรียน
ธงชาติ ธงประจำโรงเรียนเป็นต้น ไปทำให้เส่ือมเสียหรอื เสยี หาย

8.10.8 เคารพโรงเรียนโดยปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บข้อบังคบั ของโรงเรยี น

9. การอยู่ในโรงเรยี นนอกเวลาเรยี น

9.1 นอกเวลาเรียนในที่น้ีหมายถงึ เวลาก่อนพิธีเคารพธงชาติ และหลังเลิกเรียนคาบสุดท้าย

9.2 เมื่อนักเรียนมาก่อนพิธีเคารพธงชาติ นักเรียนควรใช้เวลาในการเตรียมการเรียน

หรือค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งต่างๆ ในโรงเรียน เช่น ห้องสมุด ที่อ่านหนังสือพิมพ์

ป้ายประกาศป้ายประชาสัมพันธ์ ป้ายนิเทศ หรือพบครู เพ่ือปรึกษาหรือฝึกงานต่างๆ โดยให้

นกั เรยี นข้ึนอาคารเรยี นไดเ้ วลา 06.30 น.

9.3 หลังเลิกเรยี นจะอยู่บนอาคารเรียนได้ถงึ เวลา 16.00 น. และจะอยู่ในโรงเรียนไดจ้ นถงึ เวลา

17.00 น. ยกเวน้ นักเรียนท่ีมีกิจกรรมซึ่งครูควบคุมดูแลอยู่ และถ้าจำเป็นต้องอยู่รอผู้ปกครองให้

นกั เรยี นอยรู่ อบริเวณสวนศรพี ฒั นาเฉลมิ พระเกยี รติ หรือหน้าห้องศูนย์ความเปน็ เลศิ

9.4 กรณเี กิดเหตุด่วน เหตุร้าย อุบัตภิ ัย หรือภยั ธรรมชาตใิ ดๆ ท่ีนักเรียนไม่สามารถกลับบ้านได้

หลัง 18.00 น. ใหน้ ักเรียนรายงานครูเวรทันที 114
10. การเดนิ ทางและการจราจร

10.1 ห้ามนักเรยี นขบั ขี่รถยนต์ หรือจกั รยานยนต์ มาโรงเรยี น

10.2 นกั เรยี นตอ้ งแจง้ ใหผ้ ้ปู กครองรว่ มมือในการปฏิบัตติ ามกฎจราจรดงั นี้

10.2.1 จอดรถรับ – ส่ง นักเรยี นท่ีหน้าโรงเรยี น บริเวณทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตให้จอดเทา่ นนั้

10.2.2 ไม่จอดรถรอนักเรียนในโรงเรียน ในท่ีห้ามจอด หรือจอดกีดขวางการจราจร

ภายในโรงเรียน หรอื จอดรถโดยไม่ดับเครอ่ื งยนต์

10.2.3 หา้ มใชส้ ัญญาณแตรรถหรือเร่งเคร่อื งรถใหเ้ กิดเสยี งดังเกินกว่าปกตใิ นโรงเรียน

10.2.4 หา้ มเดก็ และผูท้ ี่ไมไ่ ด้รับอนุญาตขบั ข่ี ขับรถในโรงเรียน

10.2.5 เชื่อฟงั การปฏิบัตงิ านของครูเวร ยามรกั ษาการณ์หรอื ลกู เสือสัญจร ซ่ึงอำนวย

ความสะดวกเร่ืองจราจรของโรงเรยี น

10.3 การเดินบนถนนท้ังในและนอกโรงเรียน นักเรียนตอ้ งเดินบนทางเทา้ เสมอ กรณีทไ่ี ม่มีทาง

เท้าใหเ้ ดนิ ชิดขอบทางด้านขวา

10.4 ไมเ่ ล่นบนถนนทง้ั ในและนอกโรงเรยี น

10.5 เมื่อเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง ห้ามห้อยโหนหรือยืนบนบันได หรือช่องทางข้ึนลง

และต้องเออ้ื เฟือ้ ผอู้ อ่ นแอกวา่ เช่น คนพิการ สตรมี ีครรภ์ คนชรา คนป่วยเป็นต้น

คมู่ อื นกั เรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

10.6 ขา้ มถนนในทางขา้ ม ใชส้ ะพานข้ามถนน และชว่ ยเหลือเอ้ือเฟอ้ื คนพิการด้วย
10.7 ระหว่างทางไม่ว่าโดยการเดินเท้าหรือโดยสารรถ นักเรียนต้องรักษาชื่อเสียงของโรงเรียน
เสมอโดย

10.7.1 แตง่ กายให้เรยี บรอ้ ย
10.7.2 ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นหรือ ไม่แสดงกิริยา วาจาหยาบคาย ก้าวร้าวท้ังต่อ
เพื่อน และบุคคลอื่น
10.8 ก่อนออกจากบ้านและกลับถึงบ้าน ต้องทำความเคารพบิดา มารดาและผู้ปกครองเมื่อ
มาถึงโรงเรยี นและก่อนออกจากโรงเรยี นต้องทำความเคารพครูผ้ปู ฏิบตั ิหน้าท่เี วรประตู

11. บตั รประจำตวั นักเรียน

11.1 นกั เรียนทเี่ ขา้ ใหมโ่ รงเรยี นจะดำเนนิ การทำบตั รประจำตวั นักเรยี นให้

11.2 ในกรณีท่ีนักเรียนทำบัตรหาย หรือบตั รชำรุด นักเรยี นทเี่ ปน็ เจ้าของบัตรจะต้องรีบขอทำ

บตั รใหม่ พรอ้ มทั้งชำระเงนิ ค่าบตั ร ครั้งละ 100 บาท และจะตอ้ งเซ็นช่ือรับบัตรด้วยตนเอง

11.3 นักเรียนคนใดที่ขอทำบัตรใหม่แล้ว บัตรเก่าถือว่าเป็นโมฆะ จะนำมาใช้แสดงเพื่อทำ

กจิ กรรมใดๆ ของโรงเรียนไม่ได้ ถา้ ฝ่าฝืนและตรวจพบนักเรยี นจะไดร้ บั โทษสถานหนัก 115
11.4 สิทธิการใช้บัตรนักเรียนจะส้ินสุดเม่ือจบหลักสูตร หรือพ้นสถานภาพการเป็นนักเรียน

โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการ

12. ระเบยี บข้อบงั คับและกฎหมายต่างๆ ท่ีต้องปฏิบตั ิตาม
12.1 กฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนกั เรียนและนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548
12.2 ระเบยี บโรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ พ.ศ. 2564
12.3 ระเบยี บโรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพฒั นาการ วา่ ดว้ ยคะแนนความประพฤตินกั เรยี น พ.ศ.

2564
12.4 ระเบยี บโรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ ว่าดว้ ยการแตง่ กาย และทรงผมนักเรียน

พ.ศ.2564
12.5 ระเบียบโรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการ ว่าด้วยกจิ กรรมคณะสี พ.ศ. 2550

ค่มู ือนักเรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

ระเบียบโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการ
วา่ ดว้ ยคะแนนความประพฤตินกั เรียน พ.ศ. 2564

เพื่อให้การดูแลแก้ไขพฤติกรรมนักเรียน มีหลักเกณฑ์ในการดำเนินการลงโทษอย่างเป็น
ขั้นตอนสามารถปฏิบตั ิได้เป็นแบบเดียวกันอย่างมีประสิทธภิ าพ และเพื่อให้คะแนนความประพฤติ
สอดคลอ้ งกับกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมและเป็นเกณฑ์การพจิ ารณาดำเนินการลงโทษหรือ
แก้ไขความประพฤตินักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
ตลอดจนเป็นกำลังใจแก่นักเรียนท่ีประพฤติดี ประพฤติชอบ จึงวางระเบียบว่าด้วยคะแนนความ
ประพฤตินักเรียนไวด้ ังนี้

1. ระเบียบน้เี รียกวา่ “ระเบียบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ” ว่าดว้ ยคะแนนความ
ประพฤตนิ กั เรยี น พ.ศ. 2564

2. ในระเบียบนี้
คำวา่ “นักเรียน” หมายถงึ นักเรยี นปัจจบุ นั ของโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ
คำวา่ “ครู” หมายถงึ ครปู ัจจบุ ันของโรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการ

คำว่า “ผู้อำนวยการ” หมายถึง ผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการของโรงเรียนเตรียม 116

อดุ มศกึ ษาพฒั นาการ
คำวา่ “รองผู้อำนวยการ” หมายถึง ผดู้ ำรงตำแหน่งรองผูอ้ ำนวยการของโรงเรียนเตรยี ม

อุดมศึกษาพฒั นาการ
คำว่า “ผู้ช่วยผู้อำนวยการ” หมายถึง ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยผู้อำนวยการ

ของโรงเรยี น
คำว่า “โรงเรยี น” หมายถึง โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ
คำว่า “คะแนน” หมายถึง คะแนนความประพฤตินกั เรียน

3. กำหนดให้นักเรียนทุกคนมีคะแนนความประพฤติคนละ 100 คะแนนทันทีที่เข้าเป็น
นกั เรยี น และนักเรยี นทุกคนต้องรกั ษาคะแนนน้ไี วไ้ ม่ให้ต่ำกวา่ 70 คะแนนตลอดช่วงช้นั ถา้ นกั เรียน
มคี ะแนนความประพฤติ ตำ่ กว่า 70 คะแนน ถือว่าไมผ่ ่านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

4. นักเรียนจะถูกตัดคะแนนตามระเบียบน้ี เมื่อกระทำการใดๆ อนั เป็นการฝ่าฝืนระเบียบ
แบบแผน และขอ้ บงั คบั ของโรงเรยี น

5. ครูทุกคนมสี ทิ ธ์ิ “เพิ่มคะแนน” ตามความเหมาะสมของความดขี องนักเรียนตามเกณฑท์ ่ี
กำหนด ไวใ้ นระเบียบน้ี

คมู่ อื นักเรยี น ผูป้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

6. ครูทุกคนมีสิทธิ์ “ตัดคะแนน” ตามความเหมาะสมของความผิดของนักเรียนตาม

ระเบียบนีโ้ ดยเมื่อรวมคะแนนแต่ละครัง้ แล้วไมเ่ กินเกณฑ์ต่อไปน้ี

6.1 ครูทุกคนมีสิทธติ์ ดั คะแนนได้คร้ังละไมเ่ กิน 10 คะแนน

6.2 หัวหน้าระดับ รองหัวหน้าระดับ หัวหน้าคณะ รองหัวหน้าคณะ และหัวหน้างานใน

กลุ่มบริหารงานบคุ คล หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้มีสิทธ์ติ ดั คะแนนนักเรียนคนใด คนหน่งึ ได้ครั้งละ

ไม่เกิน 30 คะแนน

6.3 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการโรงเรยี นมสี ิทธ์ิตัดคะแนนนักเรียนคนใดคนหน่ึงไดค้ ร้งั ละไมเ่ กิน

40 คะแนน

6.4 รองผู้อำนวยการมีสทิ ธิ์ตัดคะแนนนักเรยี นคนใดคนหน่ึงได้ครง้ั ละไม่เกิน 50 คะแนน

6.5 การตัดคะแนนเกิน 40 ให้เป็นหน้าท่ีของคณะกรรมการกลุ่มบริหารงานบุคคล

พิจารณาคะแนนความประพฤตติ ามข้อ 8

7. การตัดคะแนนตามข้อ 6.1 – 6.5 จะมีผลเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรองผู้อำนวยการ

กล่มุ บริหารงานบุคคล 117
8. ใหค้ ณะกรรมการกลุม่ บริหารงานบุคคลพิจารณาคะแนนความประพฤติประกอบดว้ ย

8.1 รองผู้อำนวยการกลุม่ บริหารงานบคุ คล ประธาน

8.2 ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรยี น รองประธาน

8.3 หัวหน้าระดบั ทุกระดบั กรรมการ

8.4 หัวหน้าคณะทกุ คณะ กรรมการ

8.5 ครูทป่ี รกึ ษา กรรมการ

8.6 คณะกรรมการท่โี รงเรยี นแตง่ ต้ัง กรรมการ

9. นกั เรยี นจะถกู พิจารณาลงโทษ เมื่อรวมคะแนนทถ่ี กู ตดั เป็นไปตามกฎเกณฑด์ งั น้ี

9.1 20 – 30 คะแนน แจง้ ผ้ปู กครองรบั ทราบคร้งั ที่ 1

9.2 30 – 39 คะแนน เชญิ ผูป้ กครองมารบั ทราบครั้งท่ี 2 ขอความร่วมมอื ควบคมุ ดูแล

แกไ้ ข ปรงั ปรุงพฤตกิ รรมของนักเรียน

9.3 40 – 49 คะแนน เชิญผปู้ กครองพบและทำทัณฑ์บน

9.4 50 คะแนนขนึ้ ไป หยุดปรับปรงุ พฤตกิ รรรม ทำกิจกรรมตามที่โรงเรยี นไดร้ ับมอบหมาย

9.5 หากนักเรยี นกระทำความผิดอีกไม่ว่าจะเป็นความผิดใดๆ ให้เชญิ ผปู้ กครองมาร่วม

แก้ปญั หา และใหน้ กั เรยี นเปลยี่ นสถานศกึ ษา

คู่มือนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

9.6 สำหรับนกั เรยี นช้นั ม. 3 ผู้ทถ่ี กู ตัดคะแนนตั้งแต่ 50 คะแนนขึน้ ไปของชว่ งช้นั หรือ

ถูกลงโทษทำทัณฑ์บน 2 ครั้งขึ้นไป จะไมไ่ ด้รบั การพิจารณาใหเ้ ข้าเรยี นต่อชน้ั ม. 4

10. ผู้อำนวยการมีสิทธิ์ยับย้ัง ลด เพ่ิม การตัดคะแนน การเพ่ิมคะแนน การลงโทษ

ทกุ ประเภท ทกุ กรณีตามที่เห็นสมควร

11. โรงเรียนมอบหมายการลงโทษนักเรียนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย

การลงโทษนกั เรยี นและนักศกึ ษา พ.ศ. 2548 ตามความเหมาะสมดังนี้

11.1 มอบหมายครูทุกคนว่ากล่าวตักเตือน หรอื ตัดคะแนนด้วยก็ได้ ท้ังน้ีให้เป็นไปตาม

ระเบียบนี้ โดยประสานงานกับครูทปี่ รึกษาและหัวหนา้ ระดบั เชิญผู้ปกครองร่วมแก้ปัญหา

11.2 มอบหมายรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารงานบุคคล ลงโทษนกั เรียนโดยทำทัณฑ์บน

เป็นหนังสือ และเชิญบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมาบันทกึ รับทราบความผดิ และรบั รองการทำทัณฑ์

บนไว้ดว้ ย

11.3 มอบหมายให้หัวหน้าระดับหรือผู้ช่วยผู้อำนวยการ หรือรองผู้อำนวยการกลุ่ม

บริหารงานบุคคลลงโทษนักเรียน โดยมอบหมายให้ทำกิจกรรมเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทั้งน้ี 118

การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด

คูม่ อื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

12. เกณฑ์การตัดคะแนน

กรณีความผดิ ไม่เกิน หมายเหตุ
(คะแนน/คร้งั )

1.การแต่งกาย 5 ใหโ้ อกาสแกไ้ ขไมเ่ กนิ 1 วนั
1.1 ทรงผมผิดระเบยี บแกไ้ ขโดยเร็ว รายงานตวั เป็นประจำ
1.2 ทรงผมผิดระเบยี บแก้ไขไมไ่ ดโ้ ดยเร็ว 20
1.3 ไวห้ นวดเครา จอน 5 ใหโ้ อกาสแก้ไขไมเ่ กิน 1 วัน
1.4 เสื้อ กางเกง กระโปรง เขม็ ขดั ถุงเทา้ 20 ใหโ้ อกาสแกไ้ ขไม่เกนิ 1 วนั
รองเทา้ คอซอง ผดิ ระเบยี บ (ทุกกรณี)
1.4.1 เสือ้ 5 ให้โอกาสแกไ้ ขไมเ่ กนิ 1 วัน
1.4.2 กางเกง/กระโปรง 5 ใหโ้ อกาสแกไ้ ขไม่เกนิ 1 วนั
1.4.3 เข็มขัด 5 ให้โอกาสแก้ไขไมเ่ กนิ 1 วัน
1.4.4 ถุงเทา้ /รองเท้า 5 ใหโ้ อกาสแก้ไขไม่เกิน 1 วัน
1.4.5 คอซองผดิ ระเบียบ 5 ให้โอกาสแก้ไขไม่เกิน 1 วัน
1.5 ไมป่ กั จุด (แห่งละ) 5 ใหโ้ อกาสแกไ้ ขไม่เกิน 1 วัน
1.6 มีหรอื ใช้เครื่องประดับมคี า่ หรอื ไม่ 5 ยึดและเชญิ ผู้ปกครองมารบั 119
เหมาะสมตอ่ การเปน็ นักเรียน ด้วยตนเองภายใน 7 วัน
1.7 มีหรือใชเ้ ครอ่ื งสำอางเสริมแตง่ 10
1.8 ไว้เลบ็ ยาว , เคลอื บเล็บ , ทาสีเล็บ 10 ให้แก้ไขทันที
1.9 ตกแต่งทรงผม เชน่ ทำสี ถัก โกน ต่อผม 20 ใหแ้ กไ้ ขทนั ที
ใหแ้ ก้ไขทนั ที
โบวท์ ่คี าดผม
1.10 สวมหมวก 5 ยดึ และเชิญผู้ปกครองมารบั
1.11 สวมแวน่ ตาท่ไี ม่ใชแ่ ว่นสายตาหรือกรอบสี 10 ยดึ และเชิญผปู้ กครองมารบั
10
ฉดู ฉาด , สวมคอนแทคเลนสส์ ีสนั แฟช่ัน อบรมแกไ้ ขตามกรณี
1.12 สวมชดุ พลศึกษาในวันท่ไี ม่มีการเรียน
เชิญผ้ปู กครองแกไ้ ขตามกรณี
พลศึกษา และวนั ท่มี ีการสอบ
1.13 เจาะหู ใส่ต้มุ หู ผิดระเบียบหรือเจาะอวยั วะ 10
อ่ืนตามแฟชนั่ และห้ามนักเรยี นชายเจาะหู
1.14 สกั , เขยี นลาย ตดิ สตกิ๊ เกอร์ตามอวัยวะอนื่ ๆ 20 เชญิ ผปู้ กครองแกไ้ ขตามกรณี
1.15 นกั เรยี นหญิงไม่สวมเสอื้ ซับใน 5 อบรมแก้ไขตามกรณี
1.16 สวมเสอื้ ซบั ในสีฉดู ฉาดหรือมลี วดลาย 10 อบรมแก้ไขตามกรณี
1.17 นกั เรียนกนั ค้วิ , เขียนค้ิว, แต่งหน้า, ทาปาก 5 อบรมแกไ้ ขตามกรณี

คู่มือนกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

กรณีความผดิ ไม่เกนิ หมายเหตุ
1.18 ไมต่ ิดเข็มพระเกี้ยว (ระดับม.ปลาย) ให้แก้ไขทนั ที
1.19 ไมม่ โี บว์ผูกผม (คะแนน/ครั้ง) ใหแ้ ก้ไขทนั ที
1.20 นักเรียนชายไมอ่ นุญาตใหใ้ ส่เสื้อยดื คอ 5 อบรมแก้ไขตามกรณี
5
กลมภายในเสอ้ื นกั เรยี น 5 เชิญผปู้ กครองรว่ มแก้ไข

2. การเรียนและการร่วมกจิ กรรมในโรงเรยี น 5 เชญิ ผู้ปกครองรว่ มแก้ไข
2.1 มาโรงเรยี นสาย (อ้างอิงข้อมลู ในระบบ เชิญผปู้ กครองรว่ มแกไ้ ข
1
Checker) 2 120
2.1.1 มาโรงเรียนเวลา 07.31 – 07.45 น. 3
2.1.2 มาโรงเรียนเวลา 07.46 – 08.10 น. 5 เชิญผปู้ กครองร่วมแกไ้ ข
2.1.3 มาโรงเรยี นเวลา 08.11 – 09.00 น. 5 เชญิ ผปู้ กครองร่วมแกไ้ ข
2.1.4 มาโรงเรยี นเวลา 09.01 – 16.00 น. 10 เชญิ ผปู้ กครองรว่ มแก้ไข
2.2 เขา้ เรยี น / เขา้ แถว / เข้าประชุมชา้ กว่าที่ 30 เชญิ ผปู้ กครองรว่ มแก้ไข
โรงเรียนกำหนด 5 เชญิ ผปู้ กครองรว่ มแก้ไข
2.3 หนเี รยี น / หนีแถว / หนีประชมุ / ไม่เข้า 5 เชญิ ผปู้ กครองร่วมแกไ้ ข
ร่วมกิจกรรมทโ่ี รงเรียนจัด 5 เชญิ ผปู้ กครองร่วมแก้ไข
2.4 หนโี รงเรยี น หรือขาดเรียนโดยไมม่ ีเหตุผล 10 เชิญผู้ปกครองรว่ มแก้ไข
อนั ควร 10 เชญิ ผู้ปกครองร่วมแกไ้ ข
2.5 ไม่เข้าร่วมกิจกรรมโฮมรมู 5 ให้โอกาสอีกไมเ่ กนิ 1 วนั
2.6 ไม่บนั ทึกขอ้ มลู การมาโรงเรยี น 5 พจิ ารณาให้รบั โทษข้นั สูง
2.7 รบกวนผู้อื่นขณะมีการเรียนหรอื ไมส่ นใจ 10
การเรยี นหรอื ทำกิจกรรมอนื่ 5
2.8 ไม่นำกระเปา๋ นักเรียนมาโรงเรยี น 30
(ในวนั ทมี่ กี ารเรียนการสอน)
2.9 ใชก้ ระเปา๋ นกั เรยี นผดิ ระเบียบ
2.10 ไม่มสี มุด หรอื อปุ กรณ์การเรียน
2.11 ไม่ทำการบ้าน หรือไม่ส่งงานครู
2.12 ไม่ไปรายงานตัวตามทค่ี รูนัดหมายหรือฝ่าฝนื
คำสัง่ ครู
2.13 ไม่สง่ ใบลา
2.14 ทจุ ริตในการสอบ

คมู่ อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

กรณคี วามผิด ไมเ่ กิน หมายเหตุ
3. พฤติกรรมทางเพศและพฤติกรรมกา้ วรา้ ว (คะแนน/ครั้ง) พิจารณาให้รับโทษข้ันสูงสดุ
3.1 กระทำอนาจาร เชญิ ผู้ปกครองมารับทราบและ
3.2 แสดงอาการของความพอใจทางเพศ เชน่ 50
30 หาทางแกไ้ ข
โอบกอด จบั มือถอื แขน พิจารณาโทษขัน้ สูงสุด
3.3 ชายหญิงอยู่ในทีล่ ับตาสองตอ่ สอง 30 เชญิ ผู้ปกครองมารับทราบและ
3.4 มี / เผยแพร่ / พกพาสอื่ ลามกทุกชนดิ 20
หาทางแก้ไข
3.5 ประพฤตติ ัวไมเ่ หมาะสมตามจารตี ประเพณี 10 เชิญผู้ปกครองมารับทราบและ

4. พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว ทะเลาะวิวาท 10 หาทางแกไ้ ข
4.1 กลน่ั แกลง้ ลอ้ เลยี นผู้อ่นื เชิญผปู้ กครองมารบั ทราบและ

4.2 กลา่ วคำหยาบ ส่อเสยี ด ด่าทอ เหนบ็ แนม 10 หาทางแกไ้ ข 121
นินทา 20 เชญิ ผู้ปกครองมารับทราบและ

4.3 หม่ินประมาท หาทางแก้ไข
เชิญผู้ปกครองมารบั ทราบและ
4.4 ก้าวร้าวต่อบคุ คลอ่นื หรอื บพุ การี ผอู้ น่ื 30
ด้วยกริ ิยาทา่ ทาง วาจาไมส่ ุภาพ หรือดว้ ย 30 หาทางแก้ไข
ลายลกั ษณอ์ ักษร 30 พจิ ารณาให้รบั โทษขั้นสูง
50 พิจารณาให้รับโทษขั้นสงู
4.5 กา้ วรา้ วตอ่ ครูหรอื กระดา้ งกระเดอื่ งตอ่ ครู 50 พิจารณาให้รบั โทษข้นั สงู
4.6 ทะเลาะวิวาท 50 พิจารณาให้รบั โทษขน้ั สูง
4.7 ก่อเหตุทะเลาะววิ าทหรอื ยุยงสง่ เสริมให้ 30 พจิ ารณาให้รบั โทษข้ันสงู
พจิ ารณาให้รบั โทษขนั้ สงู
ก่อเหตทุ ะเลาะววิ าท หรือทะเลาะวิวาท เชิญผปู้ กครองมารบั ทราบและ
เป็นกลุ่ม
4.8 พกอาวุธ หรือเจตนาใช้วัสดอุ ืน่ เปน็ อาวธุ หาทางแกไ้ ข
4.9 ทำร้ายร่างกาย
4.10 ข่มขู่นกั เรยี นด้วยกัน

คมู่ ือนักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

กรณคี วามผดิ ไม่เกิน หมายเหตุ
5. อบายมขุ ตา่ งๆ (คะแนน/คร้งั )
5.1 เข้าไปแหล่งอบายมุขหรือสถานท่ีที่ไม่
30 พิจารณาให้รับโทษขั้นสงู
เหมาะสมกบั สภาพนกั เรยี น
5.2 สบู บหุ ร่ี/บหุ ร่ีไฟฟ้าหรอื มีบุหรใ่ี นครอบครอง 50 พจิ ารณาให้รับโทษขน้ั สงู
และส่งไปเสยี ค่าปรบั ตาม
5.3 ดม่ื หรอื มีสุราหรือของมึนเมา กฎหมาย
5.4 มีหรือเสพหรอื จำหนา่ ยสงิ่ เสพติด
50 พจิ ารณาให้รบั โทษขัน้ สงู
5.5 เลน่ หรอื มีอปุ กรณก์ ารพนันทกุ ชนิด 50 พจิ ารณาให้รับโทษข้นั สูง
6. ความผิดเกยี่ วกับทรพั ย์สิน
6.1 ลกั ทรพั ย์ ฉ้อโกง กรรโชกทรัพย์ และส่งไปเสยี คา่ ปรับตาม
กฎหมาย
6.2 เปดิ ไฟ เปดิ พัดลม เปดิ น้ำทง้ิ ไว้ โดยไม่มี
เหตผุ ลอนั สมควร 30 พิจารณาให้รบั โทษขั้นสงู

6.3 ขดี เขียน พน่ สตี า่ งๆ ขว้างปา หรือทำให้ 30 พจิ ารณาให้รบั โทษขั้นสูง
ทรัพย์สนิ ของผ้อู ่นื ได้รับความเสยี หาย และส่งไปเสียค่าปรบั ตาม
กฎหมาย 122
6.4 การนำอปุ กรณ์สอ่ื สารมาใช้ไม่ถกู กาลเทศะ 5 อบรม ชดใชค้ า่ เสียหายและ
6.6 การนำเงินจำนวนมากมาโรงเรียนโดยไมม่ ี พิจารณาให้รบั โทษขั้นสงู
30 ชดใชค้ ่าเสยี หายและพิจารณา
เหตจุ ำเปน็ ใหร้ ับโทษขั้นสงู
6.7 เลน่ กฬี าในที่ห้ามเล่น 10 ยึดและเชิญผูป้ กครองมารับ
ด้วยตนเองภายใน 7 วัน
10 อบรม

10 อบรม

7. การรักษาความสะอาด 5 อบรม
7.1 สัง่ นำ้ มูกหรือถม่ น้ำลายไม่เปน็ ท่ี 10 อบรม
7.2 ท้ิงขยะไมเ่ ป็นท่ี

คมู่ อื นกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

กรณคี วามผิด ไม่เกิน หมายเหตุ
7.3 ไม่ทำเวรรักษาความสะอาดหอ้ งเรยี น อบรม
7.4 รับประทานอาหารหรอื นำอาหารข้นึ ไปบน (คะแนน/คร้งั ) อบรม
10
อาคาร 10
7.5 นำอาหารออกจากบรเิ วณโรงอาหารโดย
10 อบรม
ไม่ไดร้ บั อนญุ าต
7.6 เดนิ รับประทานอาหาร 10 อบรม
7.7 รับประทานอาหารในเวลาเรียน 10 อบรมและยดึ อาหารไว้จนกวา่ จะ

7.8 นำอุปกรณก์ ารรับประทานอาหารออกจาก ถงึ คาบพักรบั ประทานจงึ ให้
บรเิ วณโรงอาหารโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต นกั เรยี นรบั คืน

7.9 ไมเ่ ก็บภาชนะท่ใี ช้รับประทานใหเ้ รียบรอ้ ย 10 อบรม
7.10 ทำใหเ้ กดิ ความสกปรกภายในโรงเรียน อบรม

ดว้ ยวธิ ีตา่ งๆ 10 อบรม
10 อบรมและให้แกไ้ ข/ทำให้เปน็ ปกติ

8. ความปลอดภยั 123
8.1 นำรถยนต์ รถจกั รยานยนต์มาโรงเรียน
8.2 ข้ามถนนหนา้ โรงเรียนในทหี่ ้ามขา้ ม 30 อบรมและเชิญผปู้ กครองรว่ ม
8.3 นำพาบคุ คลภายนอกเขา้ มาโดยไม่ได้รับ แกไ้ ข

อนญุ าต 10 อบรม
8.4 ให้บคุ คลภายนอกแตง่ ชดุ นักเรยี น แล้วนำ 20 อบรม พจิ ารณาให้รบั โทษ

เข้ามาในโรงเรยี น 30 อบรม พจิ ารณาให้รบั โทษ
8.5 ให้ผูป้ กครองเขา้ มารบั – ส่งบุตรหลาน เชิญผู้ปกครองรว่ มแก้ไข

ภายในโรงเรยี นโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต 5 เชิญผูป้ กครองร่วมแกไ้ ข
8.6 สั่งซ้ืออาหาร/ส่งิ ของจากภายนอกโรงเรยี น
10 เชิญผู้ปกครองร่วมแก้ไข
และนำเข้ามาโดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต

คูม่ อื นักเรียน ผูป้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

กรณคี วามผดิ ไม่เกิน หมายเหตุ
(คะแนน/ครงั้ )
อบรม
9. เอกสารและความผิดอืน่ ๆ 5 พจิ ารณาให้รับโทษขั้นสงู
9.1 ไมพ่ กบตั รประจำตัวนักเรียน พจิ ารณาให้รับโทษขั้นสูง
9.2 ปลอมลายเซน็ ผู้ปกครอง และบคุ คลอ่ืน 30 พิจารณาให้รับโทษข้ันสูง
9.3 แก้ไขเอกสารของโรงเรยี น ของผปู้ กครอง 30 พิจารณาให้รับโทษข้นั สงู
หรอื บุคคลอน่ื หรือทำเอกสารปลอม เชญิ ผปู้ กครองรว่ มแก้ไข
9.4 นำบคุ คลอ่ืนมาแอบอา้ งเป็นผปู้ กครอง 30 เชญิ ผู้ปกครองรว่ มแก้ไข
9.5 แอบอ้างชอื่ บคุ คลอ่ืนมาเปน็ ชอ่ื ตน 30 เชญิ ผปู้ กครองรว่ มแกไ้ ข
9.6 กลา่ วเท็จ ใหก้ ารเท็จ 20 พิจารณาให้รับโทษขนั้ สูง
9.7 นำเอกสารของโรงเรียนไปใช้แอบอ้าง 20
หรือไมเ่ ป็นไปตามทีโ่ รงเรียนมอบหมาย
9.8 ไมน่ ำหนงั สอื เชญิ ผู้ปกครองไปให้ผู้ปกครอง 10
ตามท่ีได้รับมอบหมาย
9.9 ประพฤตผิ ิดนอกโรงเรียน โดยแต่งกาย 50
เครื่องแบบนกั เรยี นหรือโดยประกาศตนเปน็
นกั เรียนโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการ
หรือกระทำการใดอันทำให้โรงเรียนเส่อื มเสยี 124

หมายเหตุ โทษขน้ั สงู
1. ทำทณั ฑ์บน
2. ตดั คะแนนความประพฤติ
3. ทำกจิ กรรมเพอื่ ปรับเปล่ียนพฤติกรรม

13. ความผิดอื่นท่ีมไิ ดร้ ะบไุ ว้ในข้อ 12 หรือจำเปน็ ต้องตีความให้คณะกรรมการกลุ่มบรหิ าร
งานบุคคล ตามขอ้ 8 พิจารณาคะแนนความประพฤตินักเรียนและตีความ

คมู่ อื นกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

14. การเพม่ิ คะแนนความประพฤตดิ ี และประพฤตชิ อบดังตอ่ ไปนี้

กรณคี วามดี ไมเ่ กนิ หมายเหตุ
14.1 แต่งกายถูกต้องเรียบรอ้ ยและประพฤติตน (คะแนน/คร้ัง)

ตามระเบียบของโรงเรียน 10 พิจารณาเมอ่ื สน้ิ ปี แตล่ ะชัน้ ปี
14.2 ได้รบั รางวัลจากการประกวด การแขง่ ขัน ปีละ 10 คะแนน
10 กิจกรรมท่ีนอกเหนือจาก
หรือกจิ กรรมระหวา่ งโรงเรียนระดับชาติ ด้านวชิ าการ
ประเภทตา่ งๆ
14.3 เกบ็ เงินหรอื สิง่ ของมีค่าของผู้อ่ืนได้และนำส่ง 5-10 อยใู่ นดุลยพินจิ ของ
14.4 หารายได้พิเศษชว่ ยเหลือจุนเจอื ครอบครวั 5-10 คณะกรรมการ
เปน็ ประจำจนถอื วา่ เปน็ แบบอย่างได้
14.5 เป็นนักเรยี นผู้นำหรอื ปฏิบตั หิ นา้ ที่สมำ่ เสมอ อยู่ในดลุ ยพนิ ิจของ
โดยไม่มขี อ้ บกพร่อง 5-10 คณะกรรมการ
14.6 เปน็ กรรมการนักเรยี นและปฏิบตั หิ นา้ ท่ี
สมำ่ เสมอโดยไมม่ ขี อ้ บกพรอ่ ง 5-10 อยใู่ นดุลยพนิ ิจของ
14.7 เป็นกรรมการคณะสแี ละปฏิบัตหิ นา้ ที่ คณะกรรมการ
สม่ำเสมอโดยไม่มขี ้อบกพร่อง 5-10 อย่ใู นดุลยพนิ จิ ของ
14.8 เปน็ สารวัตรนักเรียนและปฏิบัตหิ นา้ ที่ คณะกรรมการ 125
สมำ่ เสมอโดยไมม่ ีขอ้ บกพร่อง
14.9 แจง้ เหตหุ รือแจง้ ขา่ วให้ครทู ราบจนเปน็ ผลดี 5-10 อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของ
ต่อการปกครองนักเรียน คณะกรรมการ
14.10 เตม็ ใจชว่ ยเหลืองานโรงเรียนหรอื ช่วยครู 5-10 อยู่ในดลุ ยพินจิ ของ
ทำงานโรงเรยี นอยา่ งสมำ่ เสมอ คณะกรรมการ
14.11 เปน็ ผู้มีมนษุ ย์สัมพันธ์ดีเปน็ ทปี่ ระจักษ์ 5-10 อยู่ในดุลยพนิ จิ ของ
14.12 เป็นผมู้ คี วามความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ คณะกรรมการ
14.13 เปน็ ผู้มีความขยนั หมนั่ เพียรทางการเรยี น 5 อยู่ในดุลยพนิ ิจของ
และกจิ กรรม 5 คณะกรรมการ
14.14 เป็นผมู้ คี วามประพฤติดีและชกั จูงเพือ่ น 5 อยู่ในดุลยพนิ ิจของ
ไมใ่ ห้มว่ั สมุ กบั อบายมขุ คณะกรรมการ
5-10 อยใู่ นดลุ ยพินิจของ
คณะกรรมการ

คูม่ อื นกั เรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

กรณีความดี ไม่เกิน หมายเหตุ
14.15 บำเพญ็ ตนให้เป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม (คะแนน/ครั้ง)

อยเู่ สมอ 5-10 อยใู่ นดุลยพินิจของคณะกรรมการ
14.16 เปน็ ผู้มคี วามอ่อนน้อม ถ่อมตน จรรยา
5-10 อยใู่ นดุลยพินิจของคณะกรรมการ
มารยาทงดงาม
14.17 ชกั จงู เพ่อื นเข้าร่วมกจิ กรรมท่ีเปน็ 5-10 อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการ

ประโยชนต์ ่อโรงเรียนและชุมชน

การกระทำความดีความชอบตามข้อ 14 นี้ ต้องมีหลกั ฐานชดั เจน หรอื มีผู้รับรองทีเ่ ชื่อถอื ได้
ประกอบการเสนอเพ่ิมเตมิ

15. ครูทกุ คนมีสิทธ์ิเสนอเพ่ิมคะแนนได้ไม่เกนิ คร้ังละ 10 คะแนน ให้นักเรียน โดยเสนอต่อ
หวั หนา้ ระดับ หรอื หัวหน้าคณะ เพ่อื เสนอรองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล และนักเรียนผูน้ ั้น
จะได้คะแนนเพ่ิมเมอื่ รองผอู้ ำนวยการเหน็ ชอบแล้ว

16. คะแนนที่นักเรยี นไดเ้ พ่มิ ไม่สามารถนำไปหักลา้ งท่ีถูกตัด แต่ให้นำไปเป็นเหตผุ ลในการ 126

ขอลดโทษได้ตามสมควรแก่กรณี
17. ผู้ท่ีได้คะแนนเพิม่ จะไดร้ ับการยกยอ่ ง ชมเชยดว้ ยวิธีการอ่ืนๆ อีก ตามทโ่ี รงเรยี นจัดข้ึน

เพ่อื เปน็ เกียรติแกน่ ักเรียนผู้นัน้
18. ให้ยกเลิกระเบียบหรือข้อบังคับอื่นใดของโรงเรียนที่ขัดตอ่ ระเบียบนี้ และให้ใชร้ ะเบียบ

นี้แทน
19. ใหร้ องผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานกลุ่มบคุ คล รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี
20. ให้ใช้ระเบียบนี้ ต้งั แต่วนั ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2564

(นางสาวจนิ ตนา ศรสี ารคาม)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ

คมู่ อื นักเรยี น ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

ระเบยี บโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาพฒั นาการ
วา่ ด้วยการแต่งกาย และทรงผมนกั เรยี น พ.ศ. 2564

1. เคร่ืองแบบนกั เรยี นหญิงช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น
1.1 เส้ือ ใช้ผ้าสีขาว ห้ามใช้ผ้าแพรหรือผ้าไหม เป็นเสื้อแบบปกคอทหารเรือ ความหนา

ของผ้าให้หนาพอท่ีจะมองไม่เห็นเส้ือชั้นใน ที่อกเสื้อทำสาบตลบเข้าข้างในกว้าง 3 ซม. แขนสั้น
ต้นแขนไม่มีจีบ มีจบี รดั ทป่ี ลายแขน 6 จีบ ขอบแขนกวา้ ง 3 ซม.แขนเส้อื ยาวเหนือศอก มีกระเปา๋ ติด
ริมขอบเสื้อด้านล่างขวา ผูกคอซองสีเดียวกับกระโปรง ขนาดของตัวเส้ือจะต้องพอเหมาะกับตัว
ทั้งความกว้างและความยาวปักตัวอักษร ต.อ.พ.สีน้ำเงินด้านขวาอกเส้ือต่ำจากไหล่ประมาณ
12 - 13 ซม. และตอ้ งสวมเสื้อซับในสีขาวเตม็ ตัว

1.2 กระโปรง ใช้ผ้าสีกรมท่าไม่มีลวดลาย ไม่ใช้ผ้ามัน ผ้ายีนส์ ผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบ มีจีบ
ด้านหน้า ด้านละ 6 จบี หันจบี ออกด้านขา้ งด้านละ 3 จีบ เย็บทบั บนจีบจากใต้ขอบกระโปรงลงมา
ประมาณ 7 ซม. ความยาวชายกระโปรงคลุมเข่าเลยอออกมา 5 ซม. ความกว้างของชายกระโปรงวัด

จากเข่าทยี่ ืนชิดขา้ ง ข้างละประมาณ 1 ฟุต ขอบเอวกวา้ งประมาณ 2 ซม. ความยาวของขอบเอว 127

จะตอ้ งพอเหมาะและขอบเอวต้องอยู่ที่เอว
1.3 ถงุ เทา้ ใช้ถุงเทา้ สีขาว/สีขาวพื้นดำความยาวเหนือข้อเท้าอยา่ งน้อย 2 น้ิว ไมม่ ีลวดลาย

หา้ มใชถ้ งุ เท้าบางใสหรือถุงเท้าหนา สำหรบั เล่นกฬี า
1.4 รองเท้า ใช้รองเท้าหนังสีดำแบบนักเรียนหัวมน (ห้ามใช้ชนิดท่ีมีรัดข้างหลังเท้า)

ไมม่ ีลวดลาย สงู ไมเ่ กิน 3 ซม. หา้ มสวมรองเทา้ หัวแหลม
1.5 คอซอง ให้ใช้สีเดียวกับกระโปรง ผูกปมทับเหนือหรือรอยผ่าของคอเส้ือประมาณ

ครงึ่ หน่งึ ของความยาวท้ังหมด และชายของคอซองแยกออกข้างละประมาณ 6 - 7 ซม.

2. เคร่อื งแบบนักเรยี นหญิงชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย
2.1 เสื้อ ใช้ผ้าสีขาว ห้ามใช้ผ้าแพรหรือผ้าไหม เป็นเส้ือแบบปกคอเชิ้ตผ่าตลอด ห้ามใช้

แบบคอฮาวาย ความหนาของผา้ ให้หนาพอท่ีจะมองไม่เห็นเสอ้ื ชั้นใน ที่อกเสื้อทำสาบตลบเข้าข้างใน
กวา้ ง 3 ซม. ใช้กระดุมสีขาว 5 เมด็ ไม่รดั รูป แขนสน้ั แขนเสือ้ ยาวเหนือศอกปลายแขนจบี เลก็ นอ้ ย
ข้างละ 6 จีบขอบแขนประกอบด้วยผ้า 2 ชั้น กว้าง 3 ซม. ชายเสื้ออยใู่ นกระโปรงและมองเห็นเข็ม
ขัดปกั อกั ษร ต.อ.พ. สีน้ำเงินทางด้านขวาของอกเสอ้ื ตำ่ จากไหล่ประมาณ 12 - 13 ซม.และต้องสวม
เส้อื ซับในสขี าวเต็มตวั

คู่มือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

2.2 กระโปรง ถงุ เท้า รองเทา้ ใชเ้ ช่นเดยี วกบั ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้
2.3 เขม็ ขดั ใช้เขม็ ขัดหนงั สีดำ กว้างประมาณ 3 – 4 ซม. หัวเข็มขดั เป็นรูปสี่เหลีย่ ม

3. เคร่ืองแบบพลศึกษาและกีฬานักเรียนหญงิ
3.1 เสอ้ื เปน็ เสื้อแขนส้ัน คอโปโล สกี รมท่า มีกระเปา๋ ขา้ งซา้ ย 1 ใบ ที่กระเป๋ามีเคร่ืองหมายพระ

เก้ียว ใต้เคร่อื งหมายพระเกี้ยวปักอกั ษรย่อ ต.อ.พ. สีขาว
3.2 กางเกงเปน็ กางเกงวอรม์ ขายาว สีกรมทา่ เขม้ เอวรดั
3.3 รองเท้าผ้าใบหุ้มส้นสีขาวล้วน ไม่มีลวดลาย (หมายเหตุ เส้ือและกางเกงพลศึกษามี

จำหน่ายทรี่ า้ นสหกรณ์ของโรงเรียน)

4. เคร่ืองแบบนกั เรยี นชายชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้นและชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย
4.1 เสอ้ื ใช้เปน็ ผ้าสีขาว ห้ามใชผ้ ้าดิบ ความหนาของผา้ ไม่บางเกินควร เปน็ เสอ้ื แบบเชิต้ คอ

ตัง้ สาบที่อกตลบออกด้านนอกกวา้ ง 4 ซม. ใช้กระดมุ สีขาวกลมแบน ขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลางไม่เกิน
1 ซม. มีกระเป๋าอกซ้ายปักตัวย่อ ต.อ.พ. สีน้ำเงินทางขวาของอกเส้ืออยู่สูงจากแนวกระเป๋าซ้าย
ประมาณ 4 ซม. ขนาดของตัวเสื้อจะต้องพอเหมาะกับตัว เวลาสวมเสื้อชายเส้ืออยู่ในกางเกงและ

มองเห็นเข็มขดั สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลายประดับเคร่ืองหมายตราพระเก้ียวโลหะสี 128

ทองอยูเ่ หนอื อกั ษรยอ่ ต.อ.พ. โดยเหนือตัว อ.ประมาณ 1 ซม.
4.2 กางเกง ใช้เปน็ สดี ำ หา้ มใช้ผา้ ยนี ส์ หรอื ผา้ ดิบ และผา้ ทุกชนิดท่สี ีตกจางออกง่าย ขนาด

ของกางเกงไมใ่ หญ่หรือเล็กจนเกินไป ขาส้นั เพียงถึงกลางเขา่ เมื่อยนื ตรง ปลายขาพับชายเขา้ ข้างใน
กว้าง 5 ซม.ผา่ ตรงสว่ นหน้า ขา้ งละ 2 จีบ ห้ามมกี ระเปา๋ ด้านหลัง ขอบกางเกงจะต้องอยู่ทเี่ อว

4.3 เข็มขัดเป็นหนังสีน้ำตาลแบบนักเรียน หัวเข็มให้มีเข็มสำหรับสอดรูเข็มขัดเพียง
เข็มเดยี วบนเข็มขดั จะต้องเรยี บไมม่ ลี ายใดๆ

4.4 ถุงเท้า เป็นถุงเท้าสขี าวแบบเรียบ/สีขาวพื้นดำความยาวเหนือข้อเท้าอยา่ งน้อย 2 นิ้ว
แตไ่ ม่เกนิ ครึ่งน่อง และไม่พบั ขอ้ ห้ามใชถ้ ุงเทา้ ท่ที ำด้วยผ้าลูกฟูกชนิดหนา

4.5 รองเท้าเป็นรองเท้าหุ้มส้นสีดำ ชนิดผูก ทำด้วยหนังหรือผ้าใบ ห้ามสวมรองเท้า
ส้นสงู หรอื ไม่มีลวดลาย ถา้ เป็นรองเท้าผ้าใบขอบรองเทา้ เป็นขอบสีดำ ตาไก่รอ้ ยเชือกและเชอื กรอ้ ย
ตอ้ งเปน็ สดี ำ

คู่มือนกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

5. เครอ่ื งแบบพลศึกษาและกีฬานกั เรียนชาย
5.1 เส้ือ เป็นเสื้อยืดคอปก แขนสั้น สีกรมท่า มีกระเป๋าข้างซ้าย 1 ใบ ท่ีกระเป๋ามี

เคร่ืองหมายพระเกยี้ ว ใตเ้ ครื่องหมายพระเก้ียวปักอกั ษรย่อ ต.อ.พ. สขี าว
5.2 กางเกง เปน็ กางเกงวอร์มขายาวสีกรมท่าเขม้ เอวรดั (อนุโลมใหใ้ สก่ างเกงนกั เรียนหรือ

กางเกงลูกเสอื )
5.3 รองเทา้ ผา้ ใบสดี ำ (ใช้เหมือนกับรองเท้านักเรียน)

6. การปกั เคร่ืองหมายต่างๆ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 , 2, 3) ปักอักษรของโรงเรียน (ต.อ.พ.) ตามแบบที่

โรงเรียนกำหนดท่ีอกเบอื้ งขวาให้ปัก ต.อ.พ. ตรงกับแนวระดับกระดมุ เมด็ ท่ี 2 และใหป้ กั เครอ่ื งหมาย
แสดงระดบั ชั้นเป็นรูปวงกลมสีนำ้ เงนิ เส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 0.5 เซนตเิ มตรบรเิ วณมมุ ของปกเสื้อดา้ นซ้าย
ดังน้ี ม.1 ปกั 1 จดุ , ม. 2 ปกั 2 จดุ , ม. 3 ปกั 3 จดุ

นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 , 5, 6) ปักอกั ษรของโรงเรียน (ต.อ.พ.) ตามแบบที่
โรงเรียนกำหนดท่ีอกเบ้ืองขวาให้ปัก ต.อ.พ. ตรงกับแนวระดับกระดุมเม็ดท่ี 2 นักเรียนหญิง

นักเรียนชายกลัดเข็มพระเกี้ยวสีทอง ให้ข็มพระเก้ียวอยู่เหนือ ต.อ.พ. ประมาณ 1 ซม. ให้ปัก 129

เคร่ืองหมายแสดงระดบั ชั้นเปน็ รปู วงกลม สีชมพูเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 เซนตเิ มตร บรเิ วณมมุ ของปก
เส้ือดา้ นซ้าย ดังน้ี ม.4 ปัก 1 จดุ , ม. 5 ปัก 2 จุด , ม. 6 ปกั 3 จุด

อกั ษรยอ่ ของโรงเรียน (ต.อ.พ.) ให้ใชต้ รายางทโ่ี รงเรียนประทบั เปน็ แบบเท่านัน้

7. กระเป๋านักเรียน
7.1 นักเรียนทุกคนต้องใช้กระเปา๋ หลกั แบบของโรงเรียน หรอื ใช้กระเป๋าถือแบบนักเรียนสี

ดำ สำหรับใส่หนงั สือมาโรงเรียน
7.2 ในกรณีทต่ี อ้ งใช้กระเป๋าเคียง ให้ใชก้ ระเปา๋ เคียงของโรงเรยี นเท่าน้ัน
7.3 ห้ามขีดเขียน หรือติดรูปต่างๆ บนกระเป๋านอกจากช่ือของเจ้าของ ซึ่งจะต้องมี

ความเป็นระเบียบและไม่มีลวดลายเกินไป

8. การใช้เครอื่ งประดับ
8.1 แว่นสายตาให้ใชก้ รอบเป็นสีสุภาพ และรปู ทรงสภุ าพ
8.2 นาฬกิ าขอ้ มือให้ใช้แบบและราคาที่เหมาะสมกบั สภาพของนักเรียน

คู่มือนักเรยี น ผูป้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

8.3 สร้อยคอ ต้องมีความยาวและขนาดพอเหมาะ เก็บไว้ในเสื้อได้อย่างมิดชิดไม่ให้อยู่
นอกเสอื้ ใชว้ ตั ถุทีท่ ำด้วยโลหะสเี งนิ และใชเ้ ฉพาะห้อยสิ่งศักดิ์สทิ ธ์ิทเี่ คารพบชู า

8.4 ที่ตดิ ผม ใหใ้ ช้กิ๊บธรรมดาสีเดยี วกบั ผม ห้ามใชก้ ๊ิบปากเป็ด หรอื ทค่ี าดผม นกั เรียนหญิง
ที่ไว้ผมยาวให้มัดผมและผูกโบว์ นักเรียนชั้น ม.ต้น ให้ผูกโบว์สีขาว นักเรียนม.ปลาย ให้ผูกโบว์สี
กรมทา่ ขนาดโบว์มขี นาดไม่เกนิ 1 นิ้ว

8.5 ห้ามสวมแหวน สร้อยหรอื กำไล (ขอ้ มือ-ข้อเท้า) สายสิญจน์ ลกู ประคำ หนิ ประดบั และ
เชอื กถักทุกชนดิ

8.6 นักเรียนชายห้ามเจาะหู ห้ามใส่ต่างหู สำหรับนักเรียนหญิงให้ใส่ต่างหูได้ข้างละ
1 ที่ ติ่งหูและเป็นต่างหูท่ีทำด้วยโลหะเงินหรือทองหรือนากมีลักษณะเป็นห่วงกลมขนาดวงกลม
เสน้ ผา่ ศูนย์กลางประมาณ 1 มม. หรือเปน็ เมด็ เทา่ เมด็ พรกิ ไทย

8.7 เครื่องประดับที่ผิดระเบียบของโรงเรียนหากพบและถูกยึดไว้ให้ผู้ปกครองมารับได้ท่ี
กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคลภายใน 7 วนั

9. ทรงผมนกั เรียนชาย

9.1 นักเรียนชายจะไว้ผมส้นั หรือผมยาวกไ็ ด้ กรณไี วผ้ มยาวด้านขา้ ง ดา้ นหลงั ตอ้ งยาวไมเ่ ลย 130

ตีนผม ด้านหน้าและกลางศีรษะให้เป็นไปตามความเหมาะสมและมีความเรียบร้อย โดยมคี วามยาว
ดา้ นบนและด้านหน้าไมเ่ กิน 7 ซม.

9.2 ห้ามนักเรยี น ดดั ผม ย้อมสีผมให้ผดิ ไปจากเดมิ
9.3 หา้ มนกั เรียนไวห้ นวดหรอื เครา
9.4 การกระทำอนื่ ใดซึ่งไมเ่ หมาะสมกบั สภาพการเป็นนักเรยี น เช่น การตัดแต่งทรงผม เป็น
รปู ทรงสญั ลักษณห์ รอื เป็นลวดลาย

10. ทรงผมนกั เรียนหญงิ และแตง่ หนา้
10.1 นักเรียนหญิงจะไว้ผมสั้นหรอื ผมยาวก็ได้ กรณีไวผ้ มยาวใหเ้ ป็นไปตามความเหมาะสม

และรวบให้เรยี บร้อย
10.2 นกั เรียนหญิงท่ีไว้ผมส้นั ปลายผมตอ้ งตัดตรง และใหย้ าวเลยต่งิ หลู งมาไม่เกิน 2 นิว้
10.3 นักเรยี นหญิงช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้นหรือตอนปลาย ไวผ้ มยาวปลายต้องตดั ตรง ต้อง

รวบผมและมัดผมเสมอใบหูตอนบนผูกโบวใ์ ห้เรยี บรอ้ ย โดยมีความยาววดั จากโบว์ถึงปลายผมไม่เกิน
30 ซม. นักเรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้ผูกโบว์สขี าว และนกั เรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

ค่มู ือนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565
ให้ผูกโบวส์ กี รมท่า โบว์มีความกว้าง 1 นว้ิ การตกแต่งทรงผมไม่อนุญาตให้ซอย, เซ็ท, ดัด, เปลีย่ นสี
ผม, ต่อผม, โกนผม, หรือตกแตง่ เป็นทรงต่างๆ

10.4 หา้ มนักเรียนแต่งหน้า, ทาปาก, เขยี นคว้ิ , กันค้วิ
ประกาศ ณ วนั ท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2564

(นางสาวจนิ ตนา ศรีสารคาม)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษาพฒั นาการ

131

ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

132

ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

133

ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

134

ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

135

คู่มือนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

ระเบียบโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการ
ว่าด้วยกจิ กรรมคณะสี พ.ศ. 2550

เพื่อให้การดำเนินงานดูแลนักเรียนและกิจกรรมคณะนักเรียนมีระเบียบท่ีเหมาะสม
สอดคล้อง กับภาวะสงั คมและสภาพการณ์ปจั จุบัน กอ่ ให้เกิดผลดีต่อนักเรียนตามวัตถปุ ระสงค์ของ
โรงเรียน จงึ วางระเบียบไว้ดงั ตอ่ ไปนี้

หมวดที่ 1 บททว่ั ไป 136
ขอ้ 1 ระเบยี บน้เี รียกว่า “ระเบียบโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ ว่าดว้ ยกจิ กรรมคณะสี

พ.ศ.2550”
ข้อ 2 ในระเบียบน้ี
“นกั เรียน” หมายถงึ นกั เรยี นโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการ
“คร”ู หมายถึง ครโู รงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการ
“คณะสี” หมายถึง คณะสีซงึ่ กำหนดขน้ึ ตามระเบียบน้ี
“ครูท่ปี รกึ ษา” หมายถึง ครทู ปี่ รึกษาของคณะสีของนกั เรยี น
“ฝ่ายบรหิ าร” หมายถึง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นและรองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน
เตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการ

หมวดท่ี 2 วตั ถปุ ระสงค์
ขอ้ ที่ 3 โรงเรยี นกำหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องคณะสีของนักเรยี นดังน้ี
3.1 เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักทำงานเป็นหมู่คณะ และทำกิจกรรมอันเป็น

ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม
3.2 เพ่ือแบ่งความรับผิดชอบของครูที่มีต่อนักเรียนเป็นคณะสี และแต่ละคณะสี

สามารถบรหิ ารงานของตนโดยไมข่ ดั ต่อระเบยี บและนโยบายของโรงเรยี น

หมวดที่ 3 การจัดตงั้ คณะสี

ข้อ 4 ให้กลมุ่ บริหารงานบุคคลแบง่ นกั เรียนออกเปน็ คณะสีและใชส้ ีประจำคณะดงั น้ี

4.1 คณะรักชาติ สแี ดง

4.2 คณะผดงุ ศาสน์ สเี หลอื ง

4.3 คณะเทิดกษัตริย์ สีฟา้

คู่มือนกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

4.4 คณะพัฒนาไทย สีเขยี ว
4.5 คณะใฝ่คุณธรรม สีมว่ ง

ข้อ 5 ให้กลุ่มบริหารงานบุคคลแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 คณะสี เป็นครูที่ปรึกษาของ

แตล่ ะคณะสี ยกเวน้ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการและรองผู้อำนวยการโรงเรยี น

เตรยี มอดุ มศึกษาพัฒนาการ

ข้อ 6 ให้นกั เรยี นทกุ คนอย่ภู ายใตก้ ารควบคมุ ดูแลของครูท่ีปรึกษาในคณะทีต่ นสงั กัดอยู่

หมวดท่ี 4 ครูคณะสี

ขอ้ 7 ครคู ณะสมี ีหน้าทด่ี ังน้ี

7.1 ฝึกอบรมส่ังสอนให้นักเรียนมีวินัย มีคุณธรรมใฝ่เรียน รักษาสิ่งแวดล้อม

ปฏบิ ัตติ นตามระเบียบคำสัง่ โรงเรยี นและระเบยี บคณะสี

7.2 จัดกิจกรรมหรอื งานคณะสตี ามนโยบายของโรงเรยี น

7.3 ประสานงานกับผู้ปกครองและบุคคลอ่ืนที่เป็นประโยชน์ต่อการดูแลนักเรียน

และ ประสานงานกบั คณะสี

7.4 กรณีได้รับมอบหมายเป็นเวรประจำวัน มีหนา้ ทีเ่ พิม่ ขน้ึ ดังนี้ 137

7.4.1 ควบคุมดูแลนักเรียนด้านการแต่งกายระเบียบวินัยและความ

ประพฤติอื่น ตามวัน เวลา สถานทีท่ ่กี ำหนด

7.4.2 ดูแลใหน้ ักเรียนรกั ษาความสะอาดบริเวณท่รี ับผดิ ชอบ

7.4.3 ดูแลอาคารสถานที่ และทรัพยส์ นิ ของโรงเรียนตามระเบียบราชการ

7.4.4 ป้องกันอบุ ัตภิ ัยอื่นๆ

7.5 เป็นครูกลุ่มบรหิ ารงานบุคคลโดยตำแหน่ง

7.6 ร่วมมือและปฏบิ ัติตามคำสง่ั และโครงการของคณะสหี รอื กลมุ่ บริหารงานบคุ คล

หมวดที่ 5 หัวหน้าคณะสี
ขอ้ 8 หัวหนา้ คณะสมี คี ุณสมบตั ิดงั น้ี
8.1 เปน็ ครูในคณะสี
8.2 เป็นผู้มีความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์
8.3 มลี ักษณะเปน็ ผูน้ ำท่ีดี
8.4 เปน็ ผเู้ สียสละเวลาเพอื่ ราชการ
8.5 เป็นผมู้ ีทศั นคตทิ ดี่ ตี ่องานของคณะสีและโรงเรียน

คู่มอื นกั เรียน ผูป้ กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

ข้อ 9 การดำรงตำแหน่งหวั หน้าคณะสี

9.1 หวั หนา้ คณะดำรงตำแหน่งและเรมิ่ ปฏิบัติหน้าทีต่ งั้ แตไ่ ดร้ บั คำส่ังแตง่ ตง้ั จากโรงเรยี น

9.2 ใหด้ ำรงตำแหน่งได้คราวละ 2 ปี และมสี ิทธิดำรงตำแหนง่ ตดิ ต่อกันได้ไม่เกนิ 2

สมยั (หรือตามความเหมาะสม)

ขอ้ 10 การพ้นจากตำแหนง่ ของหัวหนา้ คณะสี

10.1 ตาย

10.2 ลาออก ยา้ ย ลาศึกษาต่อ

10.3 ครบวาระ

10.4 ขาดคุณสมบตั ิตามขอ้ 8

10.5 ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นเหน็ สมควรใหอ้ อกจากตำแหนง่

ข้อ 11 เม่ือดำรงตำแหน่งหัวหน้าคณะสีว่างลงก่อนกำหนด ให้รองผู้อำนวยการกลุ่ม

บริหารงานบุคคลดำเนินการสรรหาหัวหน้าคณะสีจากครูในคณะสีภายใน 7 วัน และให้ดำรง

ตำแหน่งจนครบวาระ

ขอ้ 12 อำนาจหน้าท่ีของหัวหน้าคณะสี 138
12.1 เปน็ กรรมการกลุม่ บริหารงานบคุ คลโดยตำแหนง่

12.2 จัดประชุมคณะสี

12.3 จัดต้ังคณะกรรมการฝา่ ยครแู ละฝา่ ยนกั เรียนคณะสี

12.4 จดั ครูเป็นเวรประจำวนั

12.5 เป็นผู้นำกจิ กรรมหน้าเสาธงตอนเช้า

12.6 จดั และสง่ เสรมิ กิจกรรมนอกหลกั สูตรตามนโยบายของโรงเรยี น

12.8 ประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของครใู นคณะสีเสนอในโรงเรียน เพ่ือปรับปรุงและ

พจิ ารณาความดีความชอบเป็นพเิ ศษ

12.9 รบั ขอ้ คดิ เห็นของครูและนกั เรียนในคณะสีเสนอโรงเรยี น

12.10 ควบคุม ดูแล ตกั เตือน และลงโทษนกั เรยี นท่ีหัวหนา้ คณะสีเห็นวา่ ไมส่ ามารถ

แก้ไขได้และเสนอต่อกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล

12.11 รายงานความประพฤตินักเรยี นท่หี วั หน้าคณะสเี ห็นวา่ ไม่สามารถแก้ไขได้ตอ่

กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

คู่มือนกั เรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศกึ ษา 2565

12.12 บริหารงานคณะสแี ละออกระเบียบของคณะสไี ดโ้ ดยไมข่ ัดตอ่ ระเบียบของ
โรงเรียน และโดยความเหน็ ชอบของผ้อู ำนวยการโรงเรยี น

12.13 ปฏบิ ัตหิ น้าทอ่ี ื่นๆ ตามทไี่ ด้รับมอบหมาย

หมวดท่ี 6 คณะกรรมการบริหารคณะสี

ข้อ 13 ให้หัวหน้าคณะสีเสนอคณะกรรมการบรหิ ารจากครใู นคณะสีต่อโรงเรยี น เพื่อขอ

แตง่ ตงั้ ให้ดำรงตำแหนง่ ตอ่ ไปนี้

13.1 รองหวั หน้าคณะสี 2-3 คน

13.2 กรรมการฝ่ายพฒั นา 1 คน

13.3 กรรมการฝา่ ยสวสั ดกิ าร 1 คน

13.4 กรรมการฝ่ายสง่ เสริมวชิ าการ 1 คน

13.5 กรรมการฝ่ายระเบียบวินัย 1 คน

13.6 กรรมการฝา่ ยสาระสนเทศและประชาสัมพันธ์ 1 คน

13.7 กรรมการฝ่ายเหรญั ญกิ 1 คน

13.8 กรรมการฝ่ายกีฬาและนันทนาการ 1 คน 139
13.9 กรรมการฝา่ ยเลขา 1 คน

ข้อ 14 คณะกรรมการบริหารครบวาระตามตำแหน่งหัวหน้าคณะสี แต่การเปล่ียนแปลง

ผู้ดำรงตำแหนง่ กอ่ นครบวาระให้เสนอโรงเรยี นเพ่ือถอดถอนและแต่งตงั้

ข้อ 15 หนา้ ที่ของรองหวั หนา้ คณะสี

15.1 ปฏิบัติหน้าที่แทนหัวหน้าคณะสีเม่อื ได้รับมอบหมาย หรือเมื่อหัวหน้าคณะสีไม่อยู่

หรอื ไมป่ ฏิบตั หิ นา้ ทไ่ี ด้

15.2 ควบคุม ดแู ลการปฏบิ ัติหน้าของคณะกรรมการนักเรียนคณะสี

15.3 ประสานงานกับฝ่ายตา่ งๆ หรอื คณะสตี า่ งๆ

15.4 ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีอื่นตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

ขอ้ 16 หนา้ ทข่ี องกรรมการฝ่ายพัฒนา

16.1 ประสานงานกบั ฝ่ายบรหิ าร

16.2 จดั และดำเนนิ การให้นกั เรียนดูแลรักษาความสะอาด

16.3 ปรบั ปรงุ บรเิ วณอาคารสถานท่ขี องคณะสีให้สวยงาม

คู่มือนกั เรยี น ผูป้ กครอง และครู ประจำปีการศึกษา 2565

16.4 พัฒนาคณุ ธรรมนักเรยี น 140
16.5 ป้องกันแกไ้ ขการใช้ยาในทางท่ผี ดิ ของนกั เรียน
16.6 บันทกึ รายงานการปฏบิ ัตงิ าน
ขอ้ 17 หนา้ ที่ของคณะกรรมการฝา่ ยสวัสดิการ
17.1 จดั เวรดูแลรกั ษาความปลอดภัยของบุคคลและทรพั ย์สนิ
17.2 จัดสถานที่และสวสั ดกิ ารอื่นๆ เม่ือมีกิจกรรมของคณะสี
17.3 ปอ้ งกนั อุบตั ิภัยในบรเิ วณรับผิดชอบของคณะสี
17.4 จดั เวรดแู ลความเรยี บรอ้ ยในโรงเรียน
17.5 จัดสวัสดกิ ารอ่นื ๆแก่ครู
17.6 ประสานงานกับฝ่ายบริหาร
ข้อ 18 หนา้ ทีข่ องคณะกรรมการฝา่ ยสง่ เสริมวิชาการ
18.1 ประสานงานกับฝา่ ยวชิ าการและหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นร้ตู ่างๆ
18.2 จัดใหม้ ีการแขง่ ขันตอบปัญหาวชิ าการ และประสานงานการแข่งขันวชิ าการ

ภายใน-ภายนอกโรงเรยี น
18.3 สนบั สนนุ การเรยี นการสอนของครูให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
18.4 สง่ เสริมการเรยี นรทู้ างวิชาการทุกประเภทท้ังในหลกั สตู รและนอกหลักสูตร
18.5 ดูแลและตรวจสอบการจัดทำเอกสารของคณะสี

ข้อ 19 หนา้ ที่ของคณะกรรมการฝ่ายระเบียบวนิ ัย
19.1 ควบคุมดูแลการแสดงความเคารพ การแต่งกาย การใช้เครื่องประดับและ
มารยาทของนกั เรียนให้ถกู ตอ้ งตามระเบียบ
19.2 ตรวจบัตรประจำตัว กระเป๋าใส่หนังสือ อุปกรณ์อ่ืนๆ ของนักเรียนและการ
มาโรงเรยี นสาย
19.3 ตักเตอื นลงโทษนักเรียนตามระเบยี บ
19.4 บนั ทกึ รายชือ่ นักเรยี นทำผดิ ระเบียบ
19.5 บันทกึ รายงานการปฏบิ ัติงาน

ขอ้ 20 หน้าท่ขี องคณะกรรมการฝ่ายสารสนเทศและประชาสัมพันธ์
20.1 รวบรวมขอ้ มูลต่างๆ
20.2 ควบคมุ ดูแลทรัพยส์ นิ ของคณะสี

คมู่ ือนกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

20.3 ประกาศเกียรตคิ ุณนกั เรยี นของคณะสี

ขอ้ 21 หน้าทข่ี องคณะกรรมการฝา่ ยเหรัญญกิ

21.1 รบั -จา่ ยเงนิ ของคณะสี

21.2 ควบคมุ ดแู ลทรพั ยส์ ินของคณะสี

21.3 จัดทำบญั ชกี ารเงินของคณะสี

ขอ้ 22 หน้าท่ขี องคณะกรรมการฝ่ายกีฬาและนันทนาการ

22.1 คัดเลอื กและฝึกซอ้ มนกั กีฬา

22.2 รว่ มจัดกีฬาภายในโรงเรียนและนนั ทนาการ

22.3 จัดและดำเนินการเก่ยี วกบั การเชียรแ์ ละขบวนพาเหรด

ขอ้ 23 หน้าท่ขี องคณะกรรมการฝา่ ยเลขานุการ

23.1 จัดข้อมูลและเอกสารการประชมุ

23.2 บนั ทึกการประชุม

23.3 จัดทำปฏิทนิ การปฏบิ ตั ิงานของคณะสี

23.4 ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีอน่ื ตามท่หี วั หนา้ คณะสมี อบหมาย 141
ข้อ 24 ให้รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคลรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้

ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 พฤษภาคม 2550 เป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2550

คมู่ อื นักเรยี น ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

งานส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

การจดั กิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม มีจดุ ประสงค์ ดงั นี้

1. เพื่อใหน้ กั เรยี นมีความรบั ผิดชอบ พรอ้ มซื่อสตั ย์ และมวี นิ ัยในตนเอง

2. เพือ่ ให้นกั เรียนรวมพลังทำประโยชนเ์ พอ่ื สว่ นรวม

3. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิตนตามกฎและระเบียบวินัยของโรงเรยี น

แนวทางการจัดกจิ กรรม สง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม

1. กจิ กรรมอบรมคาบจรยิ ธรรมของระดบั ช้ัน

2. กิจกรรมตอนเช้า

- กิจกรรมหน้าเสาธง

- กิจกรรมพบครทู ่ปี รกึ ษา

- กจิ กรรมรักษาความสะอาด

- กจิ กรรมห้องเรียน

3. กจิ กรรมสร้างความรบั ผดิ ชอบ พรอ้ มซอ่ื สตั ย์ และมีวนิ ยั ในตัวเอง

4. กิจกรรมรวมพลงั ทำประโยชนเ์ พอ่ื สว่ นรวม

5. กิจกรรมการปฏบิ ัติตนเปน็ คนดี ปฏิบตั ติ นตามกฎและระเบยี บของโรงเรียน 142
การประเมนิ กจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

รายการประเมิน

1. การเขา้ ร่วมกจิ กรรมอบรมคาบจริยธรรม

2. กจิ กรรมตอนเช้า

3. กิจกรรมสรา้ งความรับผิดชอบ พร้อมซ่ือสัตย์ และมีวินัยในตัวเอง และปฏิบัตติ ามกฎ

และระเบยี บของโรงเรียน

เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ

1. เขา้ รว่ มกิจกรรมอย่างน้อยรอ้ ยละ 80

2. ถกู ตัดคะแนนนอ้ ยกวา่ 30 คะแนน

นกั เรยี นท่ไี มผ่ ่านการประเมินกิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1. ศึกษาหาความรู้และจดั ทำรายงาน เร่อื งหลกั ธรรม คำสอน ในศาสนาของนักเรยี น

2. วิเคราะห์ขอ้ ดีและขอ้ ควรปรบั ปรงุ ของนักเรียน

3. ทำกิจกรรมช่วยเหลอื ครอบครวั

4. เข้าร่วมโครงการเยาวชนคนดี เพอ่ื ทำความดภี ายในและภายนอกโรงเรยี น หรอื ทำ

ความดตี ามที่ไดร้ ับมอบหมาย

5. ทำกิจกรรมท่ไี ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการกลมุ่ บริหารงานบุคคล

คูม่ ือนักเรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ารศึกษา 2565

ระเบยี บโรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพฒั นาการ
วา่ ด้วยคณะกรรมการนกั เรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษาพฒั นาการ พ.ศ. 2557

คณะกรรมการนกั เรยี นมีผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนในทุกดา้ น เป็นผู้ประสานงานและ
อำนวยความสะดวกในกจิ กรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ทงั้ การแกป้ ัญหาและพัฒนาใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของ
โรงเรียนมกี ระบวนการท่ีส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และทักษะความเปน็ ประชาธิปไตยอยา่ งสมบรู ณ์ จึง
ให้ระเบยี บโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ว่าด้วยคณะกรรมการนักเรียนโรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา
พฒั นาการ พ.ศ. 2557 ไว้ดังต่อไปนี้
1) โครงสรา้ งการบรหิ ารของคณะกรรมการนักเรียน โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการ

โครงสร้างคณะกรรมการนักเรยี น

ประธานนักเรียน

ท่ีปรกึ ษา : สมาคมนกั เรียนเก่า---------------------------------ทป่ี รึกษา : หวั หน้างานคณะกรรมการ

นกั เรยี นและงานสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย 143

รองประธาน รองประธาน
(จากกลุ่มกิจการพเิ ศษ)

ฝ่ายวชิ าการ ฝ่ายวินยั และคุณธรรม ฝ่ายกิจกรรมภายใน ฝา่ ยกจิ กรรม เพอ่ื น สารวตั ร กองรอ้ ย โสตทศั นศกึ ษา
นกั เรียนหัวหน้าคณะสี ภายนอกและ
นักเรยี นหวั หน้าระดับ เลขานกุ าร เพ่ือ นักเรยี น พิเศษ
ม.1
ม.2 เพื่อน
ม.3
ม.4 คณะรักชาติ (สีแดง)
ม.5
ม.6 คณะผดุงศาสน์ (สเี หลอื ง)

คณะเทิดกษัตริย์ (สีฟา้ )

คณะพฒั นาไทย (สีเขยี ว)

คณะใฝค่ ณุ ธรรม (สมี ว่ ง)

ค่มู อื นกั เรียน ผู้ปกครอง และครู ประจำปีการศกึ ษา 2565

2) ขอบเขตงานและบทบาทหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการนักเรยี น
คณะกรรมการนักเรยี น ประกอบดว้ ย คณะกรรมการจำนวนท้ังสน้ิ 20 คน ดังต่อไปน้ี

(1) ประธานนักเรียน หมายความว่า เป็นตัวแทนของนักเรียนในการสอื่ สารกับอาจารย์
ดแู ลบรหิ ารงานสว่ นรวม และให้ความชว่ ยเหลอื ให้ทกุ โครงการสำเร็จได้ด้วยดี

(2) รองประธานนักเรียน (ฝ่ายวิชาการ) รับผดิ ชอบในการพัฒนาและสง่ เสริมกิจกรรม
ทางด้านวชิ าการ

(3) รองประธานนักเรียน (ฝ่ายวินัยและคุณธรรม) ดูแลความเรียบร้อย พิทักษ์รักษา
กฎและระเบยี บวนิ ัยของโรงเรียน

(4) รองประธานนักเรียน (ฝ่ายกิจกรรมภายใน) ดูแลควบคุมกิจกรรมภายในโรงเรียน
ชว่ ยอาจารย์ทำกิจกรรมตา่ ง ๆ รวมทัง้ งานประชาสัมพนั ธข์ องโรงเรยี น

(5) รองประธานนักเรียน ฝ่ายกิจกรรมภายนอกและเลขานุการ เข้าร่วมกิจกรรมกับ
หน่วยงานภายนอก เชื่อมความสัมพันธ์กับผู้มาเยือนจากต่างโรงเรียน เป็นเลขานุการในการออก
หนังสือเชญิ ประชุมและ จัดทำรายงานการประชุมประสานงานกับกรรมการในทุกๆ เร่ือง รวมถึง
รกั ษาภาพลกั ษณข์ องนกั เรยี นในโรงเรียนดว้ ย

(6) นักเรียนหัวหน้าคณะสี ทุกคณะสี เป็นไปตามระเบียบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

พัฒนาการว่าด้วยกิจกรรมคณะสี พ.ศ. 2550 รวมถึงการดูแลส่ิงแวดล้อมภายในโรงเรียน 144

ทง้ั ส่วนกลางแต่ละพ้ืนท่ีที่รับผดิ ชอบความสะอาดในห้องเรยี น และความเรียบร้อยของการเข้าแถว
เคารพธงชาติ

(7) นักเรียนหัวหน้าระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เป็นผู้แทน
ของนกั เรียนทุกคนในระดับชนั้ ดูแลกจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์ในระดับชน้ั ที่ได้รบั มอบหมาย และทำ
หน้าท่ีรวบรวมคะแนน ความสะอาดของห้องเรียนรวมถงึ ดำเนินโครงการพเิ ศษของระดบั ชั้นดำเนิน
โครงการพเิ ศษของระดับชั้น

(8) ผู้แทนกลุ่มสารวตั รนักเรียน ลดพืน้ ที่เชิงลบท่จี ะนำไปสู่อบายมุขในโรงเรยี น ออกตรวจ
อาคารในช่วงเชา้ รวมถงึ ชว่ ยงานของโรงเรียนตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

(9) ผู้แทนกลุ่มเพ่ือนเพื่อเพื่อน เพิ่มพ้ืนท่ีเชิงบวกภายในโรงเรียน จัดโครงการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาอบายมุขรวมถึงชว่ ยงานอาจารยก์ ลมุ่ บริหารงานบคุ คล

(10) ผู้แทนกลุ่มกองรอ้ ยพิเศษ ดูแลกิจกรรมด้านการจราจรของโรงเรียน และกิจกรรม
ของลูกเสอื

(11) ผู้แทนกลุ่มโสตทัศนศึกษา ให้คำปรึกษาและให้การสนับสนุนการทำสื่อประชาสัมพันธ์
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรียน

คมู่ ือนกั เรียน ผปู้ กครอง และครู ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2565

กลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป

145
นางอรทัย พรโกศลสิรเิ ลศิ
รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงบประมาณ

ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2565

146

คูม่ อื นักเรียน ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีกำรศกึ ษำ 2565

บุคลากรกลุ่มบริหารทัว่ ไป

1. นำงอรทัย พรโกศลสิริเลศิ รองผ้อู ำนวยกำรกลุ่มบรหิ ำรทัว่ ไป

2. นำยธนู เมลืองศลิ ป์ ผู้ช่วยรองผู้อำนวยกำรกลุ่มบริหำรทวั่ ไป

3. นำงภำวดี กรี ติอังกูร ผูช้ ่วยรองผู้อำนวยกำรกลุ่มบรหิ ำรทว่ั ไป

4.นำยณัฐวฒั น์ จริงสันเทียะ ผู้ช่วยรองผูอ้ ำนวยกำรกลมุ่ บริหำรทว่ั ไป

5. นำงภัทรพร วงษ์ถำวร ผ้ชู ่วยรองผู้อำนวยกำรกลุ่มบรหิ ำรทวั่ ไป

6.นำงสำวภำรดี พทิ ยำวงศ์ฤกษ์ หวั หน้ำงำนโสตทัศนศกึ ษำ

7. นำยดนยั ถ่ินจันทร์ หัวหน้ำงำนสัมพนั ธ์ชุมชนและบริกำรชุมชน

8.นำงสำวเพญ็ ประภำ พฒุ ซ้อน หวั หนำ้ งำนประชำสัมพนั ธ์

9.นำงสำวกอู ำรดี ำ ตูแวดอเล๊ำะ หวั หนำ้ งำนอนำมัยโรงเรียน

10. นำงสิริกร นำมนวด หัวหน้ำงำนโภชนำกำร

11. นำยสุรศกั ด์ิ สุวรรณ หัวหนำ้ งำนเครื่องปรับอำกำศ

12. นำงสำววชริ ำภรณ์ เลศิ ศรี หวั หน้ำงำนส่งิ แวดล้อม

13. นำงสำวณรำวดี เสอื พรกิ หัวหน้ำงำนสำรบรรณ

14. นำงสำวจิรำพร สร้อยอำภำ หัวหน้ำงำนสวสั ดิกำรทวั่ ไป 147

15. นำงสำวฐิติมำ แทนกลำง หัวหน้ำงำนอำคำรสถำนที่
16. นำงสำวรัชนีวรรณ เผ่ำวนิชย์ หัวหนำ้ งำนสำนกั งำนกล่มุ บรหิ ำรท่วั ไป

17. นำงสำวไฉน มะเลง็ ลอย งำนสำนักงำนกลุ่มบรหิ ำรทวั่ ไป

18. นำงสำวเบญญำภำ ขวญั ยืน งำนสำรบรรณ
19. นำงสำวปรำรถนำ โพธ์งิ ำม งำนพยำบำล

20. นำยธวัชชยั ธงเงิน งำนโสตทัศนศึกษำ

21. นำยชยั รัตน์ เลำ้ ธนเมธี งำนโสตทศั นศกึ ษำ

คู่มือนกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู ประจำปีกำรศกึ ษำ 2565

กลมุ่ งานอาคารสถานที่
หวั หน้ำงำน นำงสำวฐติ มิ ำ แทนกลำง
แผนผงั บรเิ วณโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำพัฒนำกำร

148

หมายเลข ชื่ออาคาร หมายเลข ชอ่ื อาคาร
1 ห้องแนะแนว 15 - 11 หอ้ งกลมุ่ บริหำรวิชำกำร
2 ห้องกลุ่มบริหำรทวั่ ไป 16 - 12 ห้องงำนนโยบำยและแผน
3 หอ้ งงำนบุคลำกร ห้องงำนอนำมัยโรงเรยี น
4 ห้องโสตทัศนศกึ ษำ 17 ร้ำนคำ้ สวัสดกิ ำรสมำคมผปู้ กครอง
5 หอ้ งสมดุ เทคโนโลยีสำรสนเทศ 18 และครฯู
6 ห้องศูนยโ์ ทรทัศน์ 19 ห้องกลมุ่ บริหำรงำนบุคคล
7 หอ้ งโสตทศั นศกึ ษำ 20 หอ้ งกลุ่มสำระฯสังคมฯ
หอ้ งพัสดุ 23 ห้องปฏบิ ตั ิงำนไม้
8-9 ห้องเอกสำร 24 ห้องพักครภู ำษำต่ำงประเทศ
10 หอ้ งกำรเงิน บญั ชีและบรหิ ำร 25 หอ้ งมลั ติมีเดีย
13 สินทรัพย์ 26 หอ้ งปฏิบตั ิงำนโลหะ
14 ห้องงำนทะเบียนและวดั ผล 27 หอ้ งเกียรติยศ

ค่มู อื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง และครู ประจำปีกำรศึกษำ 2565

งานโภชนาการ
หวั หนา้ งาน นางสิรกิ ร นามนวด

ระเบยี บการใชโ้ รงอาหาร
1. ซ้ือและรบั ประทำนอำหำรตำมเวลำทโี่ รงเรยี นกำหนดไวด้ ังน้ี
2. เช้ำ 06.00 น. - 07.15 น.

(ร้ำนคำ้ จำหนำ่ ยอำหำร – เคร่ืองด่ืมให้แก่นักเรยี นถงึ เวลำ 07.10 น.)
พกั กลำงวัน

รอบ ม.ต้น 11.30 น. - 12.20 น.
(ร้ำนคำ้ จำหนำ่ ยอำหำร – เครื่องด่ืมใหแ้ ก่นกั เรียนถงึ เวลำ 12.10 น.)
รอบ ม.ปลำย 12.20 – 13.10 น.
( รำ้ นคำ้ จำหนำ่ ยอำหำร – เคร่ืองดม่ื ใหแ้ ก่นกั เรยี นถึงเวลำ 13.00 น. )
3. ระยะเวลำในกำรรบั ประทำนอำหำรแต่ละรอบ ใหน้ ักเรยี นรบั ประทำนอำหำรใหเ้ สรจ็ ภำยใน
เวลำ 45 นำที ของทุกรอบ ทงั้ น้ีเพื่อใหเ้ วลำแก่พนกั งำนได้ทำควำมสะอำด

4. ขณะทีร่ บั ประทำนอำหำรจะต้องสำรวม กริ ิยำมำรยำท และเวน้ ระยะหำ่ งตำมมำตรกำรปอ้ งกนั 149

และควบคมุ โรคในสถำนกำรณ์โรคระบำด
5. นกั เรียนตอ้ งรับประทำนอำหำร เครอื่ งดืม่ ขนม ภำยในโรงอำหำรเท่ำนั้น
6. ไม่นำภำชนะใสอ่ ำหำร ออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น โดยเดด็ ขำด
7. เมื่อรบั ประทำนอำหำรเสรจ็ เรยี บรอ้ ย โปรดชว่ ยกนั เก็บภำชนะทีใ่ ชแ้ ล้วไปใส่ในท่รี องรับที่

โรงเรยี นจดั เตรยี มไวใ้ ห้ถกู ตอ้ ง
8. แยกเศษขยะประเภทกระดำษ พลำสตกิ ขวดนำ้ และอ่นื ๆ ทง้ิ ลงในถงั ขยะท่โี รงเรยี นจัดเตรยี ม

ไว้ให้
9. นักเรยี นต้องชว่ ยกนั รกั ษำควำมสะอำด ควำมเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยในกำรใชโ้ รงอำหำร และ

ช่วยกนั ดูแลรกั ษำภำชนะ โตะ๊ ทน่ี ่งั รบั ประทำนอำหำร มิให้ชำรดุ เสียหำย
10. พน้ื ทน่ี งั่ รับประทำนอำหำรกลำงวันโรงเรยี นจัดใหน้ ักเรยี นนั่ง ดงั นี้

10.1 ม.1 และ ม.6 น่งั ทโี่ รงอำหำรเล็ก
10.2 ม.2, ม.3, ม.4 และ ม.5 นั่งท่ีโรงอำหำรใหญ่


Click to View FlipBook Version