The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธาณณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-21 05:00:35

รายงานประจำปี2558

สำนักงานสาธาณณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

รายงานประจาปี พ.ศ.๒๕๕๘
สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

สารบัญ

คานา
สารบญั
ขอ้ มลู ทัว่ ไป
สถานะสุขภาพ
การบรหิ ารจดั การดา้ นสาธารณสุข
ทศิ ทางการพฒั นาสาธารณสขุ
การประเมินผล
โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน
ทรพั ยากรสุขภาพ จงั หวดั สพุ รรณบุรี
การเฝาู ระวังโรคทางระบาดวิทยา
วิเคราะหผ์ ลการดาเนนิ งานสถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยตา่ ง ๆ
ทเ่ี ก่ียวข้องและมผี ลกระทบกับสขุ ภาพ
การวิเคราะห์การเงิน และประสทิ ธภิ าพทางการเงิน
การวเิ คราะห์ตามกลุ่มอายุ
ปญั หาสขุ ภาพทส่ี าคัญในพน้ื ท่ี
การพฒั นาคณุ ภาพระบบบริการจังหวัดสุพรรณบรุ ี
งานคุ้มครองผู้บรโิ ภคและงานแพทย์แผนไทย
งานคุม้ ครองผบู้ รโิ ภค
งานแพทย์แผนไทย
งานอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม
การเตรยี มความพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสขุ เพื่อตอบโตก้ ารเกิดภาวะฉกุ เฉนิ และสาธารณภัย
การมสี ่วนร่วมรับผิดชอบตอ่ สังคม
ผลงานแดน่ ดา้ นวชิ าการและงานวิจัย

อาณาเขต ขอ้ มูลทวั่ ไป

ทศิ เหนอื ติดจังหวัดอทุ ยั ธานี และจังหวดั ชัยนาท
ทศิ ตะวันออก ติดจงั หวัดสิงห์บุรี จังหวดั อา่ งทอง และจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
ทิศใต้ ติดจังหวดั นครปฐม และจังหวัดกาญจนบรุ ี
ทิศตะวนั ตก ติดจังหวัดกาญจนบุรี

แผนทีจ่ ังหวดั สพุ รรณบุรี

เขตการปกครอง

การบรหิ ารราชการส่วนภมู ภิ าคของจังหวดั สพุ รรณบรุ ิ แบง่ เขตการปกครองออกเป็น 10 อาเภอ 110

ตาบล 258 ชุมชน และ 1,008 หมูบ่ ้าน โดยมอี าเภอดังนี้

1. อาเภอเมอื งสพุ รรณบรุ ี 2. อาเภอเดมิ บางนางบวช

3. อาเภอดา่ นช้าง 4. อาเภอบางปลาม้า

5. อาเภอศรปี ระจันต์ 6. อาเภอดอนเจดยี ์
7. อาเภอสองพีน่ ้อง 8. อาเภอสามชกุ
9. อาเภออทู่ อง 10. อาเภอหนองหญา้ ไซ

การบริหารราชการส่วนทอ้ งถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด 1 แห่ง เทศบาลเมอื ง 2
แหง่ เทศบาลตาบล 41 แห่ง และองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 83 แห่ง (ตารางที่ 1)
ตารางท่ี 1 เขตการปกครอง จังหวัดสุพรรณบรุ ี จาแนกรายอาเภอ สาหรับใช้กาหนด

เปูาหมายในปีงบประมาณ 2558

เทศบาล จานวนชุมชน/หมูบ่ ้าน

อาเภอ ตาบล เมือง ตาบล อบต. ตามเขตการปกครอง
(มหาดไทย)

ชมุ ชน หม่บู ้าน

เมอื งสุพรรณบุรี 20 17 14 72 124
เดิมบางนางบวช
ด่านชา้ ง 14 - 8 8 42 121

7 -1 7 5 93

บางปลามา้ 14 - 7 11 30 127
ศรีประจันต์
ดอนเจดยี ์ 9 - 4 6 24 64

5 -2 5 8 50

สองพนี่ ้อง 15 11 14 25 140
สามชุก
อทู่ อง 7 - 1 6 20 68

13 - 9 6 30 155

หนองหญา้ ไซ 6 -1 6 2 66

รวม 110 2 41 83 258 1,008

ทม่ี า : 1) สานักงานสง่ เสริมการปกครองท้องถน่ิ จงั หวัดสุพรรณบุร(ี ข้อมลู ณ มกราคม 2558)
2) ขอ้ มูลจานวนเทศบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ (อบต.) จากกลุ่มงานอนามัย
สิ่งแวดล้อม สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ณ เดอื นกันยายน 2557

ประชากรจังหวดั สุพรรณบุรี

จานวนประชากรจังหวัดสุพรรณบุรีสาหรับใช้กาหนดเปูาหมายในปีงบประมาณ 2558 มีจานวน

ทั้งส้นิ 868,098 คน เปน็ ชาย 418,890 คน คิดเป็นร้อยละ 48.25 และหญิง 449,208 คน คิด

เป็นร้อยละ 51.76 อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 1:1.07 อาเภอท่ีมีสัดส่วนประชากรมาก

ที่สุด 3 ลาดับแรก คือ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี รองลงมาคือ และอาเภออู่ทอง อาเภอสองพี่น้อง ความ

หนาแน่นของประชากรในภาพรวมทั้งจังหวัด เท่ากับ 157.91 คนต่อตารางกิโลเมตร (พ้ืนท่ีจังหวัด

สุพรรณบุรีมีท้ังหมด 5358.01 ตารางกิโลเมตร) มีจานวนหลังคาเรือนรวมทั้งส้ิน 272,653 หลังคา

เรือน (ตารางท่ี 2)

ตารางที่ 2 จานวนประชากรและหลงั คาเรือน ใช้กาหนดเปูาหมายปีงบประมาณ 2558

จาแนกตามเพศและรายอาเภอ จังหวัดสุพรรณบรุ ี

อาเภอ ชาย หญงิ รวม รอ้ ยละ อตั ราสว่ น หลงั คาเรอื น
ชาย:หญิง

เมอื ง 96,544 105,451 201,995 23.26 1:1.09 56,355

เดมิ บางนางบวช 33,450 36,580 70,030 8.06 1:1.09 24,668

ด่านช้าง 31,803 32,955 64,758 7.45 1:1.03 24,076

บางปลามา้ 35,605 37,287 72,892 8.39 1:1.04 24,485

ศรีประจนั ต์ 27,478 30,147 57,625 6.63 1:1.09 20,563

ดอนเจดีย์ 21,428 22,542 43,970 5.06 1:1.05 14,508

สองพ่ีน้อง 64,969 69,208 134,177 15.45 1:1.06 37,776

สามชุก 24,694 27,217 51,911 5.97 1:1.10 19,275

อทู่ อง 60,547 64,079 124,626 19.35 1:1.05 35,420
หนองหญ้าไซ 22,372 23,742 46,114 5.31 1:1.06 15,527

รวม 418,890 449,208 868,098 100.0 1:1.07 272,653

ทม่ี า : 1. ฐานขอ้ มูลประชากรหลักประกันสุขภาพ ณ วันท่ี 30 กันยายน 2557
๒. ข้อมูลจานวนหลังคาเรือนจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
(http://www.dopa.go.th/stat_m.htm)

โครงสร้างประชากรตามกลุม่ อายแุ ละเพศ

รปู ที่ 1 ปริ ามดิ ประชากร จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2535 รูปที่ 2 ปริ ามดิ ประชากร จ.สุพรรณบรุ ี ปี .2545 รปู ที่ 3 ปริ ามิดประชากร จ.สพุ รรณบรุ ี ปี .2558
ที่มา กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ท่มี า กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ทม่ี า กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

เมื่อพิจารณาโครงสร้างประชากรตามกลุ่มอายุและเพศของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรีในรอบ
24 ปที ผ่ี ่านมา (ปี พ.ศ.2535 – 2558) พบวา่ มีการเปล่ยี นแปลงทางโครงสร้างกลุ่มอายุที่ชัดเจนมาก กล่าวคือ
สัดสว่ นของประชากรวัยเด็ก (0-14 ปี) ลดลง ในขณะเดียวกันสัดส่วนประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีข้ึนไป) เพ่ิมมาก
ขึ้น ( รูปที่ 1-3) เมื่อพิจารณาจากจานวนประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไป 146,285 คน คิดเป็นร้อยละ 17.29
ของประชากรทั้งหมด (จานวน 849,053 คน ข้อมูลจากกรมการปกครอง ณ เดือนธันวาคม 2557) น่ัน
หมายถงึ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ีได้ก้าวสสู่ งั คมผูส้ ูงอายุ

ตารางที่ ๓ สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ จาแนกตามอาเภอจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี ๒๕๕๘

อาเภอ โรงพยาบาล(แห่ง/เตียง) สถานอี นามัย สถานบรกิ ารสาธารณสุขชมุ ชน

เมอื งสุพรรณบรุ ี 1/680 29 2

เดมิ บางนางบวช 1/120 20 -
บางปลาม้า 1/62 17 -
ศรีประจนั ต์ 1/46 14 -

สองพี่น้อง 1/262 25 1
สามชุก 1/59 13 -
อ่ทู อง 1/144 22 -

ดอนเจดีย์ 1/68 9 -

ดา่ นชา้ ง 1/106 16 -
หนองหญา้ ไซ 1/60 9 -
10/1,607 174 3
รวม

ตารางที่ ๔ สถานบริการสาธารณสขุ ภาคเอกชน จาแนกตามอาเภอจังหวัดสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๘

อาเภอ รพ. คลนิ กิ คลนิ กิ ทันต สถานผดุง ขายยาแผน ขายยาแผน
เมืองสุพรรณบุรี 2 ปจั จุบัน โบราณ
แพทย์ กรรม ครรภ์ 21
82 5
47 16 7 3
3
เดิมบางนางบวช 1 2 1 9 17 4
3
บางปลาม้า 1 10 12 5

ศรปี ระจันต์ 32 9 14 3

สองพ่นี ้อง 15 2 7 23 47

สามชุก 10 2 15 17

อทู่ อง 2 7 3 16 22

ดอนเจดีย์ 2 4 16

ดา่ นช้าง 63 12 15

หนองหญ้าไซ 3 88

รวม 5 96 29 97 226

ตารางที่ ๕ บคุ ลากรของโรงพยาบาลและสาธารณสุข ปี ๒๕๕๘

บคุ ลากรประเภท จานวน อตั รา ๑ คน:ประชากร

แพทย์ 282 3,011

ทนั ตแพทย์ 88 9,648

เภสัชกร 137 6,197

พยาบาลวชิ าชพี 1,658 512

พยาบาลเทคนิค 22 38,593

พนักงานวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ 38 22,344

เทคนิคการแพทย์ 63 13,477

พนักงานสาธารณสุขชมุ ชน 317 2,678

นกั กายภาพบาบัด 42 20,216

นักโภชนาการ 12 70,754

เจ้าหน้าท่ีอนื่ ๆ 1,326 640

รวม 3,985

สถานะสขุ ภาพ

สถติ ิชีพ

จังหวัดสุพรรณบรุ ี พบการตายของมารดา (การตายเน่ืองจากการคลอดและภาวะแทรกในการมีครรภ์และ
ระยะอยู่ไฟ ( ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด) ในระหว่างปี 2546-2549 ปีละ 1 ราย และในปี 2551-2557 พบ
มารดาตาย ปีละ 1-3 ราย พบมารดาตาย 3 รายในปี 2552 ทาํ ใหอ้ ัตราตายของมารดาเพ่ิมเป็น 32.06 ต่อการเกิด
มีชีพ 100,000 คน เกินเกณฑ์ท่ีกระทรวงสาธารณสุขกําหนดไว้ คืออัตราตายของมารดาไม่เกิน 18 คนต่อการ
เกิดมีชีพ 100,000 คน ในปี 2554 ไม่พบมารดาตาย และในปี 2558 พบมารดาตาย 2 ราย คิดเป็นอัตรา
มารดาตายเทา่ กับ 28.12 สูงกวา่ ค่าคาดการณร์ ะดับประเทศ สาํ หรบั อัตราทารกตายมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง
จาก 7.98 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน ในปี 2546 ลดลงเป็น 2.91 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน ในปี 2558
(ตารางที่ ๖) และเม่ือเปรียบเทียบสถิติชีพของจังหวัดสุพรรณบุรีกับประเทศไทยในช่วงเวลาเดียวกัน พบว่า อัตรา
ทารกตายตํ่ากว่าค่าคาดประมาณของระดับประเทศประมาณ 2 เท่า อัตราเพ่ิมตามธรรมชาติมีแนวโน้มลดลง
อยา่ งต่อเน่อื งและตํ่ากว่าคา่ เฉลี่ยของระดบั ประเทศ (ปี 2557) (ตารางท่ี ๗)

ตารางที่ ๖ จานวนและอตั รา ของการเกิด การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดัชนชี พี

จงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ. 2546 – 2558

จาํ นวน อตั รา

ปี เกิดมี ตาย ทารก มารดา เกดิ มีชพี ตาย ทารก มารดา อัตราเพม่ิ ดัชนชี ีพ
ตาย ตาม
ชพี ตาย ตาย ตาย 148.52
151.03
ธรรมชาติ 133.07
149.61
(ร้อยละ) 139.86
137.04
2546 8,898 5,991 71 1 10.24 6.90 7.98 11.24 0.33 143.01
126.62
2547 9,536 6,314 65 1 11.35 7.52 6.82 10.49 .038 137.00
135.86
2548 9,202 6,915 72 1 10.92 8.21 7.82 10.87 .027 126.62
125.12
2549 9,174 6,132 72 1 10.87 7.27 7.85 10.90 0.36 111.08

2550 9,333 6,673 66 0 11.08 7.92 7.07 0.00 0.32

2551 9,049 6,603 56 2 10.72 7.82 6.19 22.10 0.29

2552 9,356 6,542 47 3 11.08 7.75 5.02 32.06 0.33

2553 8,891 7,022 54 2 10.51 8.30 6.09 22.99 0.22

2554 9,147 6,697 58 0 10.81 7.92 6.34 0.00 0.29

2555 9,242 6,806 39 1 10.91 8.03 4.22 10.82 0.28

2556 8739 6817 24 2 10.07 7.85 2.75 11.44 0.22

2557 8586 6862 21 1 9.89 7.90 2.45 14.57 0.20

2558 7900 7112 23 2 9.30 8.38 2.91 28.12 0.09

ท่ีมา : กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html)

หมายเหตุ : 1. มารดาตาย คือการตายเนอ่ื งจากการคลอดและภาวะแทรกในการมคี รรภ์และระยะอยไู่ ฟ ( ภายใน 6
สัปดาห์หลังคลอด)

2. อัตราเกดิ มีชีพและตายตอ่ ประชากร 1,000 คน
3. อตั ราทารกตายต่อเกิดมชี ีพ 1,000 คน และมารดาตายตอ่ เกดิ มชี พี 100,000 คน
4. อัตราเพิม่ ตามธรรมชาติ (ร้อยละ) : จํานวนเกดิ ลบด้วย จํานวนตาย หารด้วยจาํ นวนประชากรกลางปี

คณู ดว้ ย 100
5. ดัชนีชพี หรือ อัตราส่วนเกดิ ตาย เปน็ จํานวนเกดิ มชี พี ตอ่ ตาย 100 คน

ตารางท่ี ๗ สถิตชิ พี จังหวัดสพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2558 และ ประเทศไทย พ.ศ. 2557

สถติ ิชีพ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ประเทศไทย
พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557
1. อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน) 9.31
2. อตั ราตาย (ต่อประชากรพันคน) 8.41 11.9
3. อัตราเพิม่ ตามธรรมชาติ (ร้อยละ) 0.11 6.8
4. อตั ราทารกตาย (ต่อการเกิดมีชพี พันราย) 2.91 0.5
5. อัตรามารดาตาย (ตอ่ การเกดิ มีชีพ 100,000 คน) 28.11 7.7
6. อายคุ าดเฉล่ยี เมือ่ แรกเกิด ( จํานวนปเี ฉลยี่ ที่คาดว่า 14.9
72.2
บคุ คลท่เี กดิ มาแล้วจะมชี วี ิตอยู่ต่อไปอีกก่ปี )ี 79.2 71.9
ชาย 78.8
หญิง 20.2
19.4
7. อายุคาดเฉลี่ยทอ่ี ายุ 60 ปี (จํานวนปเี ฉลย่ี ที่คาดวา่
ผู้ทม่ี อี ายุ 60 ปี จะมชี วี ติ อย่ตู ่อไปอีกกปี่ ี)
ชาย

หญงิ 23.4 21.9

ทมี่ า 1 กลมุ่ งานพัฒนายทุ ธศาสตรฯ์ สํานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2558
สถติ สิ าธารณสขุ พ.ศ.2557 สาํ นักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
ขอ้ มลู เบ้ืองต้นของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

อายุคาดเฉลี่ย ตารางท่ี ๘ อายคุ าดเฉล่ยี ของประชากร จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2558

อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด (ความยืนยาวของ กลมุ่ อายุ อายคุ าดเฉลย่ี (Expectation of Life)
ชีวิตตั้งแต่แรกเกิดตาย) ของประชากรสุพรรณบุรี ในปี
255๘ อายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดแยกตามเพศ พบว่า หญิง ชาย รวม
เพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่าเพศชาย กล่าวคือ เพศหญิง
มีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 79 ปี เพศชายมีอายุคาด < 1 79.22 72.15 75.70
เฉล่ียเม่ือแรกเกิดสั้นกว่า คือ 72 ปี ในภาพรวมท้ัง 2
เพศมอี ายุ คาดเฉลีย่ เมอ่ื แรกเกิดเท่ากับ 75 ปี 1 - 4 78.59 71.56 75.09

อายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี (อายุที่คาดว่า 5 - 9 74.71 67.70 71.22
จะยืนยาวต่อไปหลังจากอายุ 60 ปี) พบว่า เพศหญิง
จะมีอายุยืนยาวต่อไปอีกประมาณ 23 ปี ขณะท่ีผู้ชาย 10 - 14 69.80 62.76 66.30
จะมีอายุยืนยาวหลังอายุ 60 ปี ต่อไปอีก 20 ปี
(ตารางที่ ๘) 15 - 19 64.88 58.02 61.48

เม่ือพิจารณาอายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดของ 20 - 24 60.03 53.66 56.89
ป ร ะ ช า ก ร จั ง ห วั ด สุ พ ร ร ณ บุ รี เ ม่ื อ เ ที ย บ กั บ
ระดับประเทศในช่วงเวลาท่ีใกล้เคียงกัน พบว่าอายุ 25 - 29 55.16 49.16 52.22
คาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดของประช ากรจังหวัด
สุพรรณบรุ ีสูงกว่าอายุคาดเฉลี่ยของระดับประเทศท้ัง 30 - 34 50.36 44.62 47.56
เพศชายและเพศหญงิ ดังรปู ที่ ๔ และ ๕
35 - 39 45.64 40.07 42.93

40 - 44 40.97 35.84 38.50

45 - 49 36.44 31.61 34.13

50 - 54 31.99 27.63 29.93

55 - 59 27.60 23.76 25.81

60 - 64 23.37 20.24 21.94

65 - 69 19.39 16.76 18.21

70 - 74 15.72 13.52 14.75

75 - 79 12.45 10.62 11.67

80 - 84 9.64 8.32 9.10

85 - 89 7.18 6.73 7.01

90 - 94 รูปท่ี ๕ จอ.าสยุพคุ45ร..า51รด10ณเฉบลรุ ่ยีี แเมลือ่ ะอปายระุ 6เท540ศ..57ไป71ที ยขอพง.ปศร.ะ2ช5า5กร7เพ54..ศ53ช41าย
95 - 99

100+ 2.50 2.50 2.50

รปู ท่ี ๔ อายุคาดเฉลย่ี เมื่อแรกเกดิ ของประชากรเพศชาย เพศหญงิ รปู ท่ี ๕ อายุคาดเฉลยี่ เมื่ออายคุ รบ ๖๐ ปี ของประชากรเพศชาย เพศหญงิ
จ.สพุ รรณบรุ ี พ.ศ.๒๕๕๘ และ ประเทศไทย พ.ศ. 2557
จ.สุพรรณบุรี พ.ศ.๒๕๕๘ และ ประเทศไทย พ.ศ. 2557

80 79.2 40 20.2 19.4 23.4 21.9
78.8
75 20
72.2 71.9
ที่มา 70 0
1) ชาย หญงิ
สพุ รรณบุรี ประเทศ
65
ชาย หญงิ
สพุ รรณบรุ ี ประเทศ

ท่ีมา 1)สถติ ิสาธารณสขุ พ.ศ.2557 สานักนโยบายและยทุ ธศ่าสตร์
2)http://ipsr.mahidol.ac.th/ipsr-th/PublicationGazette.html

การบรหิ ารจดั การ ทศิ ทางการพฒั นา และการประเมนิ ผลดา้ นสาธารณสขุ





โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน

ขอ้ มลู ทรพั ยากรสขุ ภาพ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

สถานบริการสาธารณสขุ ของรฐั จงั หวดั สุพรรณบุรี มีสถานบริการสาธารณสขุ ของรัฐบาล ดังน้ี

โรงพยาบาล ระดบั A (โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช) จานวน 1 แหง่
จานวน 1 แห่ง
 โรงพยาบาล ระดับ M1 (โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ี่ 17) จานวน 1 แห่ง
จานวน 1 แหง่
 โรงพยาบาล ระดบั M2 (โรงพยาบาลอู่ทอง) จานวน 6 แห่ง

 โรงพยาบาล ระดับ F1 (โรงพยาบาลด่านชา้ ง) จานวน 174 แหง่
จานวน 8 แหง่
 โรงพยาบาล ระดบั F2 (โรงพยาบาลสามชกุ ,เดิมบางนางบวช, จานวน 166 แห่ง
ศรีประจนั ต์,ดอนเจดีย,์ บางปลาม้า,หนองหญ้าไซ จานวน 3 แห่ง
จานวน 5 แหง่
 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล
o โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลขนาดใหญ่
o โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลขนาดเล็ก

 ศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ ของเทศบาล

 ศูนย์สุขภาพชมุ ชนเมือง

ตารางที่ ๙ จานวนสถานบริการสาธารณสุขของรัฐบาล จาแนกรายอาเภอ จังหวดั สพุ รรณบุรี

โรงพยาบาล โรงพยาบาล ศนู ยบ์ ริการ

อาเภอ ประเภท/แห่ง จานวน จานวนเตยี ง สง่ เสรมิ สาธารณสุข
เตยี ง ตามกรอบ สขุ ภาพตาบล (แหง่ )

เมอื งฯ รพ. ระดับ A 1 จร6งิ 80 666 29 2
เดิมบางฯ แรพห.่งระดับ F2 1 120 120 20 -
ด่านชา้ ง แรพห.ง่ ระดับ F1 1 106 90 16 -
บางปลามา้ แรพห.่งระดบั F2 1 62 60 17 -
ศรปี ระจันต์ รแพห.ง่ ระดบั F2 1 46 60 14 -
ดอนเจดีย์ แรพห.่งระดบั F2 1 68 60 9 -
สองพี่น้อง รแพห.่งระดับ M1 1 262 210 25 1
สามชกุ รแพห.ง่ ระดบั F2 1 59 60 13 -
อู่ทอง รแพห.ง่ ระดับ M2 1 144 150 22 -
หนองหญ้า แรพห.ง่ ระดบั F2 1 60 60 9 -
ไซ รวม แหง่ 10 1,607 1,506 174 3

ทมี่ า : ขอ้ มูลทรัพยากรสาธารณสุข กลมุ่ งานพัฒนายทุ ธศาสตร์สาธารณสุข สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั
สุพรรณบรุ ี ขอ้ มูล ณ เดอื นกนั ยายน 2557
ข้อมลู พน้ื ฐานโรงพยาบาลในสงั กัดสานกั ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ปี ๒๕๕๘
สานักบริหารการสาธารณสขุ

สถานบริการสาธารณสขุ ของเอกชน

 สถานพยาบาลประเภททรี่ ับผปู้ วุ ยไวค้ า้ งคืน จานวน 5 แห่ง

o โรงพยาบาล จานวน 4 แหง่

o สถานพยาบาล (มีเตยี ง) จานวน 1 แหง่

 สถานพยาบาลประเภทท่ีไมร่ ับผปู้ ุวยไวค้ ้างคนื จานวน 242 แห่ง

o คลนิ ิกเวชกรรม/เวชกรรมเฉพาะทาง (คลินกิ แพทย์) จานวน 93 แห่ง

o คลนิ กิ ทนั ตกรรม จานวน 28 แหง่

o คลินกิ การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ จานวน 93 แหง่

o คลนิ กิ เทคนิคการแพทย์ จานวน 7 แห่ง

o คลนิ ิกการแพทย์แผนไทย จานวน 12 แหง่

o สหคลินกิ จานวน 4 แห่ง

o คลนิ กิ กายภาพบาบดั จานวน 5 แห่ง

 สถานประกอบการรา้ นขายยาและผลติ ยาแผนโบราณ จานวน 276 แห่ง

oร้านขายยาแผนปจั จบุ ัน/แผนปัจจุบันบรรจเุ สรจ็ จานวน 226 แห่ง

oร้านขายยาแผนโบราณ จานวน 50 แห่ง

oสถานทผี่ ลติ ยาแผนโบราณ จานวน 16 แห่ง

oรา้ นขายยาแผนปจั จบุ นั บรรจเุ สร็จสาหรับสัตว์ จานวน 11 แห่ง

ท่มี า : กล่มุ งานคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2558

ตารางที่ ๑๐ จานวนอาสาสมัครสาธารณสขุ จาแนกรายอาเภอ จังหวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2558

อาเภอ จานวน อสม. (คน) อัตราสว่ น อสม./ อัตราสว่ น อสม./

ประชากร หลังคาเรอื น

เมืองสุพรรณบุรี 2,340 1 : 86 1 : 24

เดิมบางนางบวช 1,660 1 : 42 1 : 15

ดา่ นช้าง 1,184 1 : 55 1 : 20

บางปลาม้า 1,518 1 : 48 1 : 16

ศรีประจันต์ 1,280 1 : 45 1 : 16

ดอนเจดีย์ 844 1 : 52 1 : 17

สองพี่น้อง 1,636 1 : 87 1 : 23

สามชกุ 1,097 1 : 47 1 : 18

อทู่ อง 2,444 1 : 51 1 : 14

หนองหญา้ ไซ 1,239 1 : 37 1 : 13

รวม 15,242 1 : 57 1 : 18

ท่มี า : กลุม่ งานสุขภาพภาคประชาชน สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ณ วนั ที่ 31 มกราคม 2558

การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา

การเจ็บปุวยด้วยกลุ่มโรคท่ีต้องเฝูาระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี 10 ลาดับแรก
ของปี พ.ศ.2558 ได้แก่ Diarrhea, Pyrexia, Pneumonia, Food Poisoning, D.H.F Total, H.conjuntivitis,
Chickenpox, D.H.F, Influenza และ Hand foot mouth disease ตามลาดับ จากการพิจารณา 10 ลาดับ
โรคทางระบาดวิทยา พบว่า โรคอุจจาระร่วง มีอัตราปุวยต่อแสนประชากร สูงสุดอย่างต่อเน่ือง เป็นลาดับ 1
ตั้งแต่ พ.ศ.2553 – 2558 และใน พ.ศ.2558 Food Poisoning มีการระบาดเพ่ิมขึ้น โดยมีอัตราปุวย เท่ากับ
115.75 ต่อแสนประชากร (ตารางท่ี ๑๑)

ตารางที่ ๑๑ จานวนและอตั ราปุวย ด้วยโรคท่ตี อ้ งเฝาู ระวังทางระบาดวิทยา 10 ลาดับแรก

ของปี พ.ศ. 2557 - 2558 จังหวดั สุพรรณบุรี

ลา โรคเฝูาระวงั ทาง พ.ศ. 2557 ลา โรคเฝาู ระวังทาง พ.ศ. 2558

ดับ ระบาดวิทยา จานวน อตั ราปุวย/ ดบั ระบาดวิทยา จานวนปุวย อัตราปุวย/

ปุวย(ราย) แสน (ราย) แสน

1. Diarrhea 9,363 1,103.61 1. Diarrhea 9,067 1,068.72

2. Pyrexia 3,066 361.39 2. Pyrexia 3,332 392.74

3. Pneumonia 1,617 190.59 3. Pneumonia 1,676 197.55

4. H.conjunctivitis 1,540 181.52 4. Food Poisoning 982 115.75

5. Chickenpox 903 106.44 5. D.H.F,Total 705 83.10

Food

6. Poisoning 778 91.70 6. H.conjunctivitis 511 60.23

7. Hand foot 504 59.41 7. Chickenpox 501 59.05

mouth disease 8. D.H.F, 402 47.38

8. Influenza 371 43.73 9. Influenza Hand 379 44.67

9. D.H.F,Total 194 22.87 10. foot mouth 377 44.44

10. Sexual 96 11.32 disease

transmitted

ท่มี า : รายงาน 506 กลมุ่ งานควบคมุ โรคตดิ ต่อ สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี
ประจาปี พ.ศ.2557- 2558

วิเคราะหผ์ ลการดาเนินงานสถานการณแ์ ละแนวโนม้ ของปจั จยั ตา่ ง ๆ
ทเี่ ก่ยี วขอ้ งและมีผลกระทบกบั สุขภาพ

การใหบ้ รกิ ารสุขภาพในระดับโรงพยาบาล

ผูป้ ุวยนอก
การให้บริการผู้ปุวยนอกในระดับโรงพยาบาล จากคลังข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ.2558 จานวนผู้มารับบริการผู้ปุวยนอกใน
โรงพยาบาล เมื่อพิจารณาอัตราส่วนของการมารับบริการ (คร้ังต่อคน) ตามประเภทสิทธิ จะเห็นว่ากลุ่มสิทธิ
ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เบิกต้นสังกัดมาใช้บริการเฉลี่ยจานวนครั้งต่อคนมากกว่ากลุ่มสิทธิอื่นๆ คือ 6.59 คร้ัง/คน
กลุ่มสิทธิ UC และกลุ่มสิทธิประกันสังคม มีอัตราส่วนของการมารับบริการใกล้เคียงกัน คือ 4.48 และ 4.26
ครั้ง/คน กลมุ่ สิทธิแรงงานต่างด้าว มอี ัตราส่วนของการมารบั บริการตอ่ คนน้อยท่ีสุดคือ 1.73 คร้ัง/คน แต่มีการใช้
บริการกลุ่มสิทธิแรงงานต่างดา้ ว จานวนเพ่ิมขึ้นเป็นเท่าตัวเมื่อเปรียบเทียบปี พ.ศ.2557 โดยค่าเฉล่ียของการมารับ
บริการผู้ปุวยนอกในโรงพยาบาลในภาพรวมของประชากรท้ังจังหวัดในปี พ.ศ.2558 เท่ากับ 2.31 ครั้ง/คน/ปี
(ตารางที่ 12) และเมื่อพิจารณาจานวนคร้ังจากปีงบประมาณ พ.ศ.2558 พบมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน ในกลุ่มสิทธิ
แรงงานตา่ งด้าว กลมุ่ สทิ ธิ UC และกล่มุ สิทธปิ ระกันสงั คม ส่วนกล่มุ สทิ ธิขา้ ราชการ/รัฐวสิ าหกิจ มีแนวโนม้ ลดลง

ตารางที่ 12 จานวนคน/คร้งั ของผู้รบั บริการประเภทผู้ปุวยนอกในระดบั โรงพยาบาล จังหวดั สุพรรณบรุ ี

จาแนกตามประเภทสทิ ธิ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557-2558

ประเภทสิทธิ ปี 2557 ปี 2558

(ผ้ปู ุวยนอก) คน ครั้ง ครงั้ :คน คน ครงั้ คร้งั :คน

1.ขา้ ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ /เบิกต้น

สงั กัด 63,921 412,966 6.46 61,597 406,081 6.59

2.ประกันสงั คม 34,003 143,454 4.22 35,145 149,658 4.26

3.UC บตั รทองไมม่ ี ท/มี ท 289,683 1,317,337 4.55 299,906 1,342,971 4.48

4.แรงงานต่างดา้ ว 5,241 11,849 2.26 11,626 20,108 1.73

รวมผ้มู ารบั บริการ 431,976 2,006,175 4.64 448,217 2,044,354 4.56

ประมาณการอตั ราสว่ นการใช้

บรกิ ารผู้ปุวยนอก 1 ปี ตอ่ 2.36 ครง้ั /คน/ปี 2.35 คร้งั /คน/ปี

ประชากรท้งั หมด

ทีม่ า : คลังข้อมูลสานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี (Data Center) ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2558

เม่ือจาแนกจานวนผู้มารับบริการผู้ปุวยนอกในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสุพรรณบุรี ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2558 เป็นรายโรงพยาบาล พบว่า รพศ.เจ้าพระยายมราช มีจานวนผู้ปุวยนอกเฉล่ียต่อเดือนมากท่ีสุด
รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ รพช.อู่ทอง รพช.เดิมบางนางบวช รพช.ด่านช้าง รพช.สามชุก รพช.ศรี
ประจันต์ รพช.บางปลาม้า รพช.ดอนเจดีย์ และรพช.หนองหญ้าไซ ตามลาดับ แต่อัตราส่วนของการมารับ
บริการผู้ปุวยนอกจานวนครั้งต่อคนต่อปีของรพช.สามชุกสูงกว่าโรงพยาบาลอ่ืนๆ คือเฉล่ียเท่ากับ 5.30 คร้ัง/คน/ปี
โดยค่าเฉล่ยี ท้งั จงั หวัดเทา่ กับ 4.56 คร้งั /คน/ปี (ตารางที่ 13)

ตารางที่ 13 จานวนคนและครงั้ ของผรู้ ับบริการประเภทผู้ปวุ ยนอกจาแนกตามรายโรงพยาบาล(รพ.ของรฐั ฯ)

จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2557-2558

โรงพยาบาล ปี 2557 ปี 2558

คน คร้ัง ครัง้ :คน คร้งั :เดือน คน ครงั้ ครง้ั :คน ครัง้ :เดอื น

รพศ.เจา้ พระยาฯ 128,539 619,730 4.82 51,644 141,151 639,366 4.53 53,281

รพท.สมเดจ็ ฯ 54,189 238,484 4.40 19,874 55,478 247,250 4.46 20,604

รพช.เดมิ บางฯ 39,054 184,865 4.73 15,405 39,699 189,427 4.77 15,786

รพช.ดา่ นช้าง 33,938 141,366 4.17 11,781 34,669 141,848 4.09 11,821

รพช.บางปลามา้ 28,641 130,123 4.54 10,844 28,721 129,796 4.52 10,816

รพช.ศรปี ระจันต์ 26,104 129,711 4.97 10,805 26,833 131,686 4.91 10,974

รพช.ดอนเจดยี ์ 24,099 114,836 4.77 9,570 25,201 118,290 4.69 9,858

รพช.สามชุก 27,606 143,329 5.19 11,944 26,399 139,827 5.30 11,652

รพช.อ่ทู อง 52,443 217,011 4.14 18,084 52,597 219,027 4.16 18,252

รพช.หนองหญา้ ไซ 17,363 86,720 4.99 7,227 17,469 87,837 5.03 7,320

รวม 431,976 2,006,175 4.64 167,181 448,217 2,044,354 4.56 1,170,363

ทมี่ า : คลงั ข้อมลู สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี (Data Center) ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2558

ผู้ปุวยใน

การให้บริการผู้ปุวยในของโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี จากคลังข้อมูลสานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ในภาพรวมของจังหวัด พบว่า ในปีงบประมาณ 2558 ในกลุ่มสิทธิแรงงานต่าง
ดา้ ว จานวนผู้ปุวยในมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เม่ือพิจารณาตามจานวนวันนอนเฉลี่ยต่อราย พบว่าจานวนวันนอนเฉลี่ย
ผู้ปุวยใน 1 ราย มีวันนอนเฉลี่ย 4.37 วัน ลดลงเล็กน้อยจากปี 2557 ซ่ึงมีวันนอนเฉล่ีย 4.50 วัน/ราย เม่ือ
แยกตามประเภทสิทธิ พบว่าผู้ปุวยสิทธิข้าราชการ มีวันนอนเฉล่ียสูงกว่าผู้ปุวยสิทธิอื่นๆ คือมีวันนอนเฉลี่ย
5.61 วันต่อผู้ปุวยใน 1 ราย ผู้ปุวยสิทธิ UC มีวันนอนเฉลี่ย 4.24 วัน แรงงานต่างด้าว มีวันนอนเฉล่ีย 3.95
วนั สว่ นสทิ ธิประกันสงั คมมวี นั นอนเฉลี่ยต่อคนน้อยที่สุดคอื 3.90 วนั รายละเอียดตามตารางที่ 14
ตารางท่ี 14 จานวนผูร้ บั บรกิ าร จานวนวนั นอน และจานวนวันนอนเฉลย่ี ของผู้ปุวยใน

จาแนกตามประเภทสิทธิ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2557 – 2558

ประเภทสิทธิ ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2558

จานวน(ราย) รวมวนั นอน วันนอน จานวน(ราย) รวมวนั นอน วนั นอน

เฉลีย่ /ราย เฉล่ีย/ราย
1.ขา้ ราชการ/รฐั วิสาหกจิ 10,691 63,756 5.96 10,836 60,834 5.61

2.ประกนั สังคม 4,944 19,143 3.87 5,161 20,121 3.90

3.UC บัตรทองม/ี ไม่มี 74,612 324,657 4.35 74,941 317,448 4.24

4.แรงงานต่างดา้ ว 1,617 6,080 3.76 1,900 7,511 3.95

รวมผมู้ ารบั บรกิ าร 101,500 456,261 4.50 101,952 445,157 4.37

ท่มี า : คลังข้อมลู สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี (Data Center) ณ วันท่ี 13 พฤศจกิ ายน 2558

เมอื่ จาแนกวนั นอนเฉลี่ยผู้ปุวยในตามรายโรงพยาบาล พบว่า รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ มีวันนอน

เฉลี่ยผู้ปุวยในสูงสุด คือ 5.30 วัน/ราย รองลงมาคือ รพศ.เจ้าพระยายมราช มีวันนอนเฉลี่ยผู้ปุวยใน 4.99 วัน/

ราย ในระดับโรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลที่มีจานวนวันนอนเฉลี่ยผู้ปุวยในสูงสุดคือ รพช.ด่านช้าง (3.88 วัน/

ราย) รองลงมาไดแ้ ก่ รพช.อูท่ อง (3.82 วนั /ราย) รพช.สามชุก (3.54 วัน/ราย) รพช.หนองหญ้าไซ (3.42 วัน/

ราย) รพช.ศรปี ระจันต์ (3.40 วนั /ราย) รพช.เดิมบางนางบวช (3.27 วัน/ราย) รพช.บางปลาม้า (3.23 วัน/ราย)

รพช.ดอนเจดีย์ (3.22 วัน/ราย) ตามลาดบั (ตารางท่ี 15)

เม่ือเปรียบเทียบวันนอนเฉล่ียของผู้ปุวยในกับค่าเฉลี่ยของประเทศในช่วงเวลาเดียวกันคือในปี

2558 จาแนกตามประเภทของโรงพยาบาล จะเห็นว่าวันนอนเฉล่ียของผู้ปุวยในระดับ โรงพยาบาลศูนย์ มี

ค่าเฉลี่ยต่ากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ โรงพยาบาลท่ัวไป และโรงพยาบาลชุมชนมีค่าเฉล่ียสูงกว่าค่าเฉลี่ยของ

ประเทศ (ตารางที่ 15)

อตั ราการครองเตยี ง (อัตราวันนอนผู้ปุวยใน 1 ปี) ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ

76.37 ซ่ึงถือว่ามีการใช้ประโยชน์จากเตียงผู้ปุวยในระดับปานกลาง แต่เม่ือพิจารณาตามประเภทโรงพยาบาล

พบว่า อัตราการครองเตียงของโรงพยาบาลศูนย์สูงที่สุด ร้อยละ 87.89 รองลงมาได้แก่ โรงพยาบาลท่ัวไปมีอัตรา

ครองเตียง ร้อยละ 80.17 กลุ่มโรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 64.05 โดยทั้ง 3 กลุ่ม มีอัตราครองเตียงสูงกว่า

ค่าเฉลยี่ ของประเทศ และอย่ใู นเกณฑท์ ี่เหมาะสม (ตารางท่ี 15)

อัตราการใช้เตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate) พบว่าในระดับโรงพยาบาลศูนย์มีอัตราการใช้เตียง 1 ปี

เท่ากับ 64.23 สูงกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มโรงพยาบาลศูนย์ท่ัวประเทศในปี พ.ศ.2557(ค่าเฉล่ียของประเทศเท่ากับ

49.67) โรงพยาบาลทั่วไปมีอัตราการใช้เตียง 1 ปี เท่ากับ 55.19 สูงกว่าค่าเฉล่ียของกลุ่มโรงพยาบาลท่ัวไป

ของประเทศในปี พ.ศ.2557 (ค่าเฉลี่ยของประเทศเท่ากับ 49.29) กลุ่มโรงพยาบาลชุมชนในภาพรวมมีอัตรา

การใช้เตียง 1 ปี เท่ากับ 67.54 สูงกว่าค่าเฉล่ียของกลุ่มโรงพยาบาลชุมชนทั่วประเทศในปี พ.ศ.2557

(ค่าเฉล่ียของประเทศเท่ากับ 60.60) โรงพยาบาลท้ัง ๓ ระดับ มีอัตราการใช้เตียงเฉล่ียสูงกว่าค่าเฉลี่ย

ระดบั ประเทศ นั่นหมายความว่า มีการใช้เตียงมากหรือมีการหมุนเวียนเตียงมาก โรคมีความรุนแรงมาก เป็นโรค

เรื้อรังลดลงหรอื คุณภาพในการให้การรกั ษามาก ใหว้ นั นอนน้อยกว่าหรือเท่ากบั เกณฑเ์ ฉลย่ี (ตารางท่ี 15)

ตารางที่ 15 จานวนผู้รับบรกิ ารผ้ปู วุ ยใน จานวนวนั นอน จานวนเตียง อตั ราการครองเตยี ง

อตั ราการใชเ้ ตียง 1 ปี ของผปู้ ุวยใน จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2558

โรงพยาบาล ผู้ปวุ ยในที่ รวมวันนอน วันนอน จานวน อัตราการครอง อตั ราการใช้

จาหน่าย เฉลี่ย เตยี ง เตียง (อัตราวัน เตยี ง 1 ปี

ทง้ั หมด ผู้ปุวยใน (ตาม นอนผปู้ วุ ยใน

จริง) 1 ป)ี

รพศ.เจา้ พระยายมราช 38,668 193,121 4.99 602 87.89 64.23

รพท.สมเดจ็ พระสงั ฆราชฯ 16,668 88,371 5.30 302 80.17 55.19

รพช.เดมิ บางนางบวช 8,569 27,990 3.27 120 63.90 71.41

รพช.ดา่ นช้าง 6,671 25,876 3.88 106 66.88 62.93

รพช.บางปลามา้ 5,164 16,684 3.23 62 73.73 83.29

รพช.ศรปี ระจันต์ 4,453 15,119 3.40 67 61.82 66.46

รพช.ดอนเจดยี ์ 4,081 13,135 3.22 68 52.92 60.01

รพช.สามชกุ 3,890 13,757 3.54 60 62.82 64.83

รพช.อูท่ อง 9,839 37,616 3.82 150 68.71 65.59

รพช.หนองหญา้ ไซ 3,949 13,488 3.42 60 61.59 65.82

รวม 101,952 445,157 4.37 1,597 76.37 63.84

สรปุ ตามประเภทโรงพยาบาล จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2558 4.99 602 87.89 64.23
5.30 302 80.17 55.19
รพศ. (1 แหง่ ) 38,668 193,121

รพท. (1 แหง่ ) 16,668 88,371

รพช. (8 แห่ง) 46,616 163,665 3.47 693 64.05 67.54

คา่ เฉลี่ยระดับประเทศ ปี 2557

รพศ. - - 5.06 - 70.54 49.67

รพท.น้อยกว่า 300 เตียง - - 4.45 - 52.07 49.29

รพช. มากกวา่ 30 เตียง - - 2.84 - 49.15 60.60

ที่มา : คลังขอ้ มูลสานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี (Data Center) ณ วนั ที่ 13 พฤศจิกายน 2558

เมอ่ื เปรยี บเทียบคา่ CMI ในโรงพยาบาลจังหวดั สุพรรณบรุ ีจาแนกตามระดับ Service Plan ทั้ง 10 แหง่

มีคา่ มากกว่าค่าเปาู หมายทงั้ หมดยกเวน้ รพศ.เจ้าพระยายมราช ตา่ กว่าคา่ เปูาหมายเล็กน้อย(ตารางที่ 16)

ตารางท่ี 16 สรุปคา่ ผลรวม AdjRW และเปรยี บเทยี บค่าCMI ในโรงพยาบาลจงั หวดั สุพรรณบรุ ี จาแนกตาม

ระดบั Service Plan กบั จานวนคา่ เปาู หมายระดับประเทศ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2558

รหัส โรงพยาบาล ระดบั Service Plan จานวน ผลรวม AdjRW CMI คา่ เปา้ หมาย

10678 รพ.เจ้าพระยายมราช A 39,275 59,890.45 1.5249 1.6

10733 รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ี่17 M1 16,640 20,069.50 1.2061 1

11295 รพ.อทู่ อง M2 9,996 8,007.80 0.8011 0.8

11290 รพ.ดา่ นช้าง F1 6,971 5,477.11 0.7857 0.6

11289 รพ.เดมิ บางนางบวช F2 8,553 8,594.91 1.0049 0.6

11291 รพ.บางปลามา้ F2 5,095 3,355.57 0.6586 0.6

11292 รพ.ศรีประจันต์ F2 4,449 3,319.40 0.7461 0.6

11294 รพ.สามชกุ F2 3,869 2,853.77 0.7376 0.6

11296 รพ.หนองหญ้าไซ F2 3,948 2,518.82 0.638 0.6

11293 รพ.ดอนเจดยี ์ F2 4,042 2,717.44 0.6723 0.6

ทม่ี า: สานักบริหารการสาธารณสขุ (http://phdb.moph.go.th/hssd1/)

สาเหตุการปวุ ย

จากการเก็บข้อมูลกลุ่มผู้ปุวยนอก ประมวลผลจากคลังข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีใน
รอบ 3 ปที ผ่ี า่ นมา พบว่า 5 ลาดับแรกของกลุม่ โรคทเ่ี ป็นสาเหตกุ ารเจบ็ ปวุ ยที่สาคญั ของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี
คือ โรคระบบไหลเวียนเลือด โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลิซึม โรคระบบกล้ามเน้ือรวมโครงร่าง
และเน้ือยึดเสริม โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในช่องปาก กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจและอาการ,อาการแสดง
และสง่ิ ผิดปกตทิ ่พี บได้จากการตรวจทางคลินิกและทางห้องปฏบิ ตั กิ ารฯ (ตารางที่ ๑๗)

ตารางที่ ๑๗ จานวนและอตั ราปุวยต่อประชากร 1,000 คน ของผู้ปวุ ยนอก จาแนกตามกลมุ่ สาเหตกุ ารปุวย

จังหวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.2556-2558

กล่มุ สาเหตุ พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558

โรค จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อัตรา

1 โรคตดิ เชอื้ และปรสติ 84,716 100.0 93,693 107.9 96,574 113.74

2 เนือ้ งอก (รวมมะเรง็ ) 17,030 20.0 28,908 33.3 32,672 38.48

3 โรคเลือดและอวยั วะสร้างเลือด และความ 22,902 27.0 26,985 31.1 28,290 33.32
620,714 715.0(2) 643,186 757.53(2)
ผิดปกตเิ กีย่ วกับภมู ิคุ้มกัน 66,546 76.7 71,172 83.83

4 โรคเก่ียวกับต่อมไร้ทอ่ โภชนาการ และ 515,875 608.8(2)

เมตะบอลซิ มึ

5 ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤตกิ รรม 51,414 60.7

6 โรคระบบประสาท 69,354 81.9 71,882 82.8 72,545 85.44

7 โรคตารวมสว่ นประกอบของตา 73,551 86.8 91,734 105.7 89,648 105.59
26,281
8 โรคหแู ละปุมกกหู 18,377 21.7 23,244 26.8 661,285 30.95
635,186 731.7(1) 364,088 778.85(1)
9 โรคระบบไหลเวยี นเลอื ด 533,837 630.0(1) 384,409 442.8(5) 460,347 428.82(5)
390,194 449.5(4) 109,588 542.19(4)
10 โรคระบบหายใจ 399,375 471.4(5) 520,530
112,167 129.2 129.07
11 โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในชอ่ งปาก 353,575 417.3 524,398 604.1(3) 613.07(3)

12 โรคผวิ หนังและเน้ือเยื้อใตผ้ ิวหนงั 117,394 138.5

13 โรคระบบกลา้ มเนื้อ รวมโครงรา่ ง และเน้อื 484,514 571.8(3)

ยดึ เสริม

14 โรคระบบสบื พันธุ์ รวมทางเดินปสั สาวะ ๑๐๒,๐๐๖ 109.1 132,177 152.3 157,549 185.56

15 ภาวะแทรกในการต้ังครรภ์ การคลอด 9,901 116.9 14,783 17.0 14,210 16.74
และระยะหลงั คลอด

16 ภาวะผดิ ปกตขิ องทารกทเี่ กดิ ข้ึนในระยะ 2,500 3.0 3,584 4.1 3,833 4.51

ปรกิ าํ เนดิ (อายุครรภ์ 22 สปั ดาหข์ นึ้ ไป

จนถึง 7วันหลงั คลอด)

17 รูปรา่ งผดิ ปกตแิ ต่กาํ เนดิ การพกิ ารจนผดิ 1,780 2.1 2,432 2.8 2,752 3.24
384,432 442.8(5) 368,922 434.51(5)
รูปแต่กาํ เนดิ และโครโมโซม ผิดปกติ

18 อาการ, อาการแสดงและสิ่งผดิ ปกตทิ ่ีพบ 425,562 502.2(4)

ไดจ้ ากการตรวจทางคลนิ ิกและทาง

ห้องปฏิบัตกิ ารฯ

19 การเปน็ พิษและผลทต่ี ามมา 694 0.8 828 1.0 827 0.97
16,154 18.6 16,868 19.87
20 อุบตั เิ หตจุ ากการขนสง่ และผลทีต่ ามมา 12,540 14.8 56,447 65.0 58,213 68.56

21 สาเหตุจากภายนอกอ่นื ๆ ทท่ี ําให้ปุวยหรือตาย 50,994 60.2

ท่ีมา : คลงั ข้อมลู สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี (Data Center) ณ วันที่ 29 ธนั วาคม 2558

สาหรับกลุ่มผู้ปุวยใน กลุ่มสาเหตุการเจ็บปุวยท่ีสาคัญ 10 ลาดับแรกในปี พ.ศ.2558 ได้แก่ กลุ่มโรค
ความผิดปกติของตอ่ มไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลิซึม ,โรคความดนั โลหิตสูง, โรคเบาหวาน, โรคเลือดและอวัยวะ
สร้างเลือด ,โรคตาและส่วนผนวก ,โรคอื่นๆของระบบย่อยอาหาร ,โรคอ่ืนๆของระบบหายใจ ,โรคติดเช้ืออ่ืนๆของ
ลาไส้ ,โรคหัวใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผา่ นปอดความผิดปกติอื่นๆท่ีเกิดข้ึนในระยะปริกาเนิด อื่นๆ (ตาราง
ท่ี ๑๘, รูปท่ี ๖)

ตารางท่ี 1๘ สาเหตกุ ารปวุ ยของกลมุ่ ผู้ปวุ ยในต่อประชากร 100,000 คน จงั หวดั สุพรรณบรุ ี พ.ศ.2556-2558

กลมุ่ สาเหตกุ ารปุวย พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558
โรค อตั รา อัตรา อัตรา
858.0(7) 882.96(8)
2 โรคตดิ เชือ้ อน่ื ๆของลาไส้ 702.08(8)
15 โรคเลอื ด,อวยั วะสร้างเลือดและความผิดปกติบางชนิดท่เี กีย่ วกบั 1287.9(3) 1587.38(3) 1109.94(4)

ระบบภมู ิคุ้มกนั 1163.3(4) 1410.90(4) 1167.42(3)
18 โรคเบาหวาน 3825.5(1) 4595.91(1) 3302.86(1)

ความผิดปกติเกีย่ วกบั ต่อมไร้ทอ่ โภชนาการและเมตะบอลซิ มึ 952.6(5) 1278.31(5) 968.02(5)
19 อ่นื ๆ 1868.5(2) 2318.29(2) 1933.92(2)
28 โรคตาและส่วนผนวก 651.8(10) 792.19(10) 626.46(9)
32 โรคความดนั โลหติ สงู 790.7(8) 934.34(7) 713.38(7)
34 โรคหัวใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผา่ นปอดอ่นื ๆ 934.5(6) 1067.62(6) 853.89(6)
42 โรคอืน่ ๆของระบบหายใจ 674.1(9) 834.70(9) 560.62(10)
50 โรคอ่นื ๆของระบบย่อยอาหาร
65 ความผิดปกตอิ ่นื ๆที่เกดิ ขน้ึ ในระยะปริกาเนดิ

หมายเหตุ ไม่นากลุม่ โรคที่ 62, 63 และ 67 มาจดั ลาดับใน 10 ลาดับแรก
ทมี่ า : คลงั ขอ้ มูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี (Data Center) ณ วนั ท่ี 29 ธนั วาคม 2558

ความผดิ ปกตเิ กยี่ วกบั ตอ่ มไรท้ อ่ โภชนาการและเม 3302.86
ตะบอลซิ มึ อนื่ ๆ
โรคความดนั โลหติ สงู 1 1933.92
1167.42
โรคเบาหวาน 1109.94
968.02
โรคเลอื ด,อวยั วะสรา้ งเลอื ดและความผดิ ปกตบิ าง 853.89
ชนดิ ทเ่ี กย่ี วกบั ระบบภมู คิ มุ ้ กนั 713.38
โรคตาและสว่ นผนวก 702.08
626.46
โรคอน่ื ๆของระบบยอ่ ยอาหาร 560.62

โรคอน่ื ๆของระบบหายใจ

โรคตดิ เชอื้ อนื่ ๆของลาไส ้

โรคหวั ใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผา่ นปอด
อนื่ ๆ
ความผดิ ปกตอิ นื่ ๆทเ่ี กดิ ขนึ้ ในระยะปรกิ าเนดิ

รูปท่ี ๖ ลาดับอัตราผู้ปุวยในต่อประชากร 100,000 คน 10 ลาดับแรก จังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2558

สภาวการณเ์ จบ็ ปวุ ยจากกลุ่มโรคไมต่ ิดต่อ

ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ และโรคหัวใจขาดเลือด
จงั หวดั สุพรรณบรุ ีมีแนวโน้มเพมิ่ ข้ึนอยา่ งต่อเนอ่ื ง ต้งั แต่ พ.ศ.2548 – 2557 แต่ในพ.ศ.2558 มแี นวโน้มลดลงท้ัง
๕ โรคเมอ่ื เปรียบเทียบปีพ.ศ.2557 (ตารางท่ี ๑๙,รปู ที่ ๗)

ตารางท่ี ๑๙ อตั ราปวุ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผูป้ วุ ยในกลุ่มโรคไมต่ ิดตอ่ จ.สพุ รรณบรุ ี

ปี พ.ศ. 2548 – 2558

กล่มุ โรคไม่ตดิ ตอ่ 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

โรคเบาหวาน 1031.0 1070.5 1187.6 1076.9 1018.9 1163.3 1410.90. 1167.42

โรคความดันโลหติ สูง 1443.0 1509.4 1775.7 1691.9 1636.2 1868.5 2318.29 1933.92

โรคหวั ใจขาดเลือด 457.0 463.4 485.3 468.0 438.1 449.5 487.96 430.01

โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ 365.0 368.2 421.9 383.1 334.6 394.5 528.86 414.58

ไตวายเร้อื รัง 318.0 358.8 393.1 386.6 348.8 414.9 570.44 564.28

อัตราตอ่ แสนปชก.

รปู ที่ ๗ อัตราปวุ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ปวุ ยในดว้ ยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
โรคหัวใจขาดเลอื ด โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ และไตวายเร้ือรัง จ.สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2548– 2558
ทมี่ า : 1) รายงานผปู้ วุ ยใน รง.505 จ.สพุ รรณบุรี พ.ศ. 2548 – 2558
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี พ.ศ.2554 - 2558

เมื่อพิจารณาการปุวยด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ในกลุ่มเนื้องอกร้ายในอวัยวะต่าง ๆ และโรคตับจาก
แอลกอฮอล์ พบว่าโรคตับจากแอลกอฮอล์ กลุ่มโรคเน้ืองอกร้ายท่ีปอด ตับ มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ืองตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา โดยในปี พ.ศ.2558 มีอัตราปุวยผู้ปุวยในลดลงเล็กน้อยจากปี พ.ศ.2557 ในขณะที่กลุ่ม
โรคเนื้องอกรา้ ยทเ่ี ต้านมและปากมดลูกมีแนวโน้มลดลงอยา่ งต่อเน่ืองตัง้ แต่ปีพ.ศ.2557 (รปู ที่ ๘)

อตั ราตอ่ แสนปชก.

รปู ท่ี ๘ อตั ราปวุ ยตอ่ ประชากร 100,000 คน ของผ้ปู วุ ยในด้วยโรคตบั จากแอลกอฮอล์ เน้อื งอกร้ายทป่ี อด เนอื้ งอกร้ายทต่ี ับ เนื้อ
งอกรา้ ยท่ีเตา้ นม เน้อื งอกรา้ ยทป่ี ากมดลูก จ.สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2548-2558
ที่มา : 1) รายงานผู้ปุวยใน รง.505 จ.สุพรรณบรุ ี พ.ศ. 2546 – 2558

2) ประมวลผลจากระบบ Data Center สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี พ.ศ.2554 - 2558

สถานการณก์ ารเจบ็ ปุวยดว้ ยกลมุ่ โรคตดิ ต่อที่สาคัญ

การเจ็บปุวยด้วยกลุ่มโรคติดต่อท่ีสาคัญของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า กลุ่มโรคติดต่อท่ีมีแนวโน้ ม
สูงข้ึนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ.2546-พ.ศ.2553 คือกลุ่มโรคติดเช้ืออื่นๆของลาไส้, โรคติดเช้ือและปรสิตอ่ืนๆ
และมีแนวโน้มคงท่ีและลดลง ปี พ.ศ.2554-พ.ศ.2558 (รปู ท่ี ๙)

สาหรับกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคปอดอักเสบมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะท่ีกลุ่มโรค
ระบบหายใจส่วนบนติดเชื้อเฉียบพลันและโรคอื่น ๆ ของระบบหายใจส่วนบน และไข้หวัดใหญ่ มีอัตราปุวยผู้ปุวยใน
เพิ่มขน้ึ เลก็ น้อย โรคเร้อื รงั ของระบบหายใจส่วนล่างมีอัตราปุวยผู้ปุวยในลดลงในปีพ.ศ 2558 เม่ือเปรียบเทียบกับปีพ.ศ.
2557 (รปู ที่ 1๐)

กลุ่มโรคไข้เลือดออกจากเชื้อเด็งก่ี และไข้เลือดออกจากเช้ือไวรัส มีการระบาดตามฤดูกาลซึ่งมีอัตราปุวยสูง
ในปี พ.ศ.2551 และ 2554 และมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในปีพ.ศ.2558 เมื่อเปรียบเทียบกับปีพ.ศ.2557 ในขณะที่โรค
วัณโรคมอี ตั ราปวุ ยในผปู้ วุ ยในค่อนขา้ งคงที่ (รูปท่ี 1๑)

สาหรับโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องจากเช้ือไวรัส (เอชไอวี) มีแนวโน้มลดลง โรคมาลาเรีย มีอัตราปุวยในผู้ปุวยใน
คอ่ นข้างคงท่ีและลดลง โรคตับอกั เสบจากเชื้อไวรสั และไข้หวัดใหญ่มแี นวโน้มมีอัตราผู้ปุวยในค่อนข้างเพิ่มข้ึน (รปู ท่ี 1๒)

รปู ที่ ๙ อตั ราปุวยตอ่ ประชากร 100,000 คน ด้วยโรคตดิ เชื้ออื่นๆ รูปที่ 1๐ อัตราปุวยต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคปอดอกั เสบ
ของลาไส้ และโรคตดิ เช้อื และปรสติ อืน่ ๆ ในกลุ่มผูป้ ุวยใน ระบบหายใจสว่ นบนตเิ ช้ือเฉียบพลัน,โรคเรื้อรงั ของระบบหายใจ
จ.สุพรรณบรุ ี ปี 2546 -2558 สว่ นลา่ ง และไข้หวัดใหญ่ จ.สุพรรณบุรี ปี 2546 - 2558

350 อัตราต่อแสน วณั โรค 200 อัตราต่อแสน ตบั อกั เสบจากเชือ้ ไวรัส
300 ไข้เลอื ดออก 180 มาลาเรีย
250 160 ไข้หวดั ใหญ่
200 พ.ศ. 140 เอชไอวี
150 120
100 100 พ.ศ.
50 80
60
0 40
20

0

รปู ที่ 1๑ อตั ราปุวยตอ่ ประชากร 100,000 คน ดว้ ยวัณโรค และโรค รปู ท่ี 1๒ อัตราปวุ ยตอ่ ประชากร 100,000 คน ดว้ ย ตับอกั เสบจากเชอื้
ไข้เลือดออก ในกลุ่มผู้ปวุ ยใน จ.สุพรรณบุรี ปี 2546 – 2558 ไวรัส มาลาเรีย ไข้หวัดใหญ่และเอชไอวี ในกลุ่มผปู้ วุ ยใน
จ.สุพรรณบุรี ปี 2546 – 2558

สาเหตุการตาย

การตายของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2558 มีจํานวนประมาณ 7,112 คนต่อปี เม่ือจําแนกตามเพศพบว่า
จํานวนและอัตราตายของเพศชายสูงกว่าเพศหญิงมาตลอด โดยสัดส่วนเพศชายคิดเป็นร้อยละ 53.97 และเพศหญิงคิด
เปน็ รอ้ ยละ 46.03 ของจํานวนการตายท้ังหมด (รปู ที่ 1๓ – 1๔)

คน
8,000 ชาย หญิง รวม

7,000

6,000

5,000

4,000

3,000

2,000

1,000

- พ.ศ.

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รปู ที่ 1๓ จานวนการตายของประชากร จาแนกตามเพศ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 25๕๐-255๘

อัตรา/แสนปชก.

1000 911.9 885.6 863.7 855.9 912.7 905.0 913.8 906.0 897.4 933.9
900 803.2
800 806.1 815.2 754.3 813.7 781.4 766.3 781.9 769.1 830.2 791.6 803.4 837.6
790.3 796.2
704.7 708.7 672.6 688.5 699.3
700 752.3 706.9 690.5
600 720.8 683.0 704.6 687.3
684.9

500 608.4 608.0 595.4 615.0

400

300 ชาย
หญิง
200 รวม

100 พ.ศ.

0

รปู ท่ี 1๔ อัตราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร จาแนกตามเพศ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2545 – 255๘

ตารางท่ี 2๐ จานวนและอตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน จาแนกตามกลุ่มสาเหตุก

ICD-10 สาเหตุการตาย 2552 2553

จานวน อตั รา จานวน อัต

R00-R99 Systems, signs and abnormal clinical and 3002 355.44 3000 354.6

laboratory finding,not elsewhere classified

V01-Y89 External causes of morbidity and mortality 736 87.14 690 81.5

C00-D48 Neoplasms 697 82.53 753 89.0

I00-I99 Diseases of the circulatory system 587 69.50 755 89.2

A00-B99 Certain infectious and parasitic diseases 519 61.45 630 74.4
J00-J98 Diseases of the respiratory system 395 46.77 538 63.6
K00-K92 Diseases of the digestive system 175 20.72 212 25.0
N00-N98 Diseases of the genitourinary system 156 18.47 152 17.9
E00-E88 81 9.59 110 13.0
G00-G98 Endocrine, nutritional and metabolic diseases 78 9.24 85 10.0
L00-L98 Diseases of the nervous system 19 2.25 17 2.01
P00-P96 19 2.25 33 3.90
Diseases of the skin and subcutaneous tissue
Q00-Q99 Certain conditions orginating in the perinatal 15 1.78 11 1.30

M00-M99 period 6 0.71 19 2.25
Congenital malformations, deformations and
F01-F99 5 0.59 6 0.71
D50-D89 chromosomal abnormalities 4 0.47 10 1.18
Diseases of the musculoskeletal system and
O00-O99 2 0.237 1 0.12
connective tissue 6496 769.13 7022 83
Mental and behavioural disorders
Diseases of the blood and blood-forming
organs and certain disorders involving the

immune mechanism
Pregnancy, childbirth and the puerperium

ทม่ี า : ข้อมูลการตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2552 - 2558

การตาย ของประชากรจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 255๒– 255๘ 2558
จานวน อตั รา
2554 2555 2556 2557 1991 234.50

ตรา จานวน อัตรา จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อตั รา

67 2866 338.75 2839 334.92 2850 336.94 2298 271.68

57 740 87.46 725 85.53 675 79.80 584 69.04 639 75.26(3)
02 745 88.06 757 89.31 842 99.54 938 110.89 1007 118.60(2)

26 706 83.45 715 84.35 784 92.69 894 105.69 1124 132.38(1)

48 566 66.90 608 71.73 623 73.65 601 71.05 608 71.61(5)
60 466 55.08 506 59.69 573 67.74 606 71.64 627 73.85(4)
06 169 19.98 197 23.24 234 27.66 216 25.54 266 31.33(7)
97 176 20.80 171 20.17 207 24.47 199 23.53 243 28.62(8)
00 89 10.52 120 14.16 132 15.61 165 19.51 274 32.27(6)
05 70 8.27 54 6.37 56 6.62 250 29.56 194 22.85(9)
1 27 3.19 29 3.42 35 4.14 30 3.55) 35 4.12(10)

0 27 3.19 37 4.36 20 2.36 22 2.60 23 2.71

0 22 2.60 21 2.48 17 0.24 20 0.24 18 2.12

5 3 0.35 13 1.53 16 1.89 19 2.25 34 4.00

1 8 0.95 2 0.23 9 1.06 6 0.71 17 2.00
8 17 2.01 11 1.30 8 0.95 11 1.30 10 1.18

2 0 0.00 1 0.11 2 0.24 2 0.24 2 0.24
30.17 6697 791.55 6806 802.92 7083 837.38 6861 811.14 7112 840.81

เมื่อพิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี จะพบว่ากลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการตายท่ี
สาคัญโดยไม่นับการตายท่ีระบุว่าชราภาพหรือไม่ทราบสาเหตุ ได้แก่ อันดับที่ ๑ กลุ่มโรคระบบไหลเวียนโลหิต
(Diseases of the circulatory system) อันดับท่ี ๒ กลุ่มโรคมะเร็ง (Neoplasms) อันดับที่ ๓ กลุ่มการตาย
จากสาเหตุภายนอก (External causes of morbidity and mortality) อันดับท่ี ๔ กลุ่มโรคติดเชื้อและปรสิต
(Certain infectious and parasitic diseases) และอันดับที่ ๕ กลุ่มโรคของระบบทางเดินหายใจ (Diseases of
the respiratory system) (ตารางที่ 2๐, รูปที่ 1๗)

อัตรา/100,000 Diseases of the circulatory system
Neoplasms
140 External causes of morbidity and mortality
120 Certain infectious and parasitic diseases
100 Diseases of the respiratory system
80

60

40

20

0 พ.ศ.
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รูปท่ี 17 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยโรคกลุม่ โรคโรคระบบไหลเวยี นโลหติ ,กลุ่มโรคมะเรง็ ,
กลุม่ การตายจากสาเหตภุ ายนอก,กลมุ่ โรคติดเชอ้ื และปรสติ และกลุ่มโรคของระบบทางเดินหายใจ จงั หวัดสพุ รรณบุรี

ปี พ.ศ.2545 – 255๘

อัตรา/100,000

80 Diabetes mellitus Hypertensive diseases
70 Ischaemic heart diseases Cerebrovascular diseases

60

50

40

30

20

10

0 พ.ศ.
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รูปท่ี 18 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คน ด้วยกลุ่มโรค Cerebrovascular diseases, Ischemic heart diseases,
Diabetes mellitus และ Hypertensive diseases จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2545 – 255๘

การตายด้วยกลุ่มโรคเน้ืองอกและมะเร็ง
เมอื่ จาแนกสาเหตกุ ารตายตามกลุ่มโรคเน้ืองอกและมะเร็ง พบวา่ กลุม่ โรคที่กาลังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ไดแ้ ก่

กลุ่มโรคเนือ้ งอกร้ายที่ตบั และท่อนา้ ดใี นตบั (Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts)
กลุ่มโรคเนอื้ งอกร้ายทหี่ ลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด (Malignant neoplasm of trachea, bronchus and
lung) ,Malignant neoplasm of colon, rectum and anus (รูปที่ 19) Malignant neoplasm of cervix
uteri, Malignant neoplasm of breast และ Leukemia (รูปที่ 20)

อตั รา/100,000

25 Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts
Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung
20 Malignant neoplasm of colon, rectum and anus

15 Malignant neoplasm of pancreas

10

5

0 พ.ศ.

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รปู ที่ 19 อตั ราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยโรคกลมุ่ เนอื้ งอกร้ายทต่ี บั และทอ่ น้าดี
ในตับ และกลมุ่ โรคเน้ืองอกรา้ ยทีห่ ลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด จังหวดั สุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2545 – 255๘

อตั รา/100,000 Malignant neoplasm of cervix uteri
Malignant neoplasm of breast
6 Leukaemia

5

4

3

2

1

0 พ.ศ.

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

รปู ท่ี 20 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยกลมุ่ โรค โรค Malignant neoplasm of
cervix uteri, breast, Leukaemia จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ.2545 – 255๘

ที่มา : ขอ้ มูลการตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ.2545 –255๘

สาหรับการตายจากสาเหตุภายนอก พบว่าการตายจากอุบัติเหตุจราจร อุบัติเหตุจมน้าและจมน้า การสัมผัส
กบั ควันไฟและเปลวไฟ การตกจากที่สูง การทาร้ายตนเอง ยังเป็นสาเหตุการตายที่สาคัญจังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนการ
ตายด้วยกลุ่มโรคติดต่อพบว่าการตายด้วยปอดอักเสบ ปี 2552 –2553 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น แต่ในปี 2554 - 2555
มีแนวโน้มลดลง ปี 2554-255๘ มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน โรคเอดส์มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ปี 2552 - 2557
วัณโรคในระบบทางเดินหายใจมีอัตราตายมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้นตั้งแตป่ ี 2552 – 2556 (รูปที่ 21 - 22)

อตั รา/100,000 Transport accidents Assault
Falls Accidental drowning and submersion
40 Exposure to smoke, fire and flames

30

20

10

0 พ.
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 ศ.

รูปที่ 21 อตั ราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ย Transport accidents , Assault
Falls,Accidental drowning and submersion,Exposure to smoke,fire and flame
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2545 – 2557

อตั รา/100,000 Respiratory tuberculosis
Human immunodeficiency virus [HIV] disease
60 Pneumonia

50

40

30

20

10

0 พ.ศ
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 .

รูปท่ี 22 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยโรคปอดอกั เสบ เอดส์ และวัณโรคปอด
จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2545 -2557

ทมี่ า : ข้อมลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2545 –2557

สรปุ สถานการณโ์ รค

จานวนปุวย อตั ราปวุ ยตอ่ ประชากรแสนคน จานวนตาย อตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน อตั ราปุวย

ตายดว้ ยโรคทต่ี อ้ งเฝาู ระวังทางด้านระบาดวิทยา จงั หวัด สพุ รรณบรุ ี ระหว่างวันท่ี 1 มกราคม 2558 ถงึ

วันที่ 30 กนั ยายน 2558 วเิ คราะหว์ ันที่ 1 ตุลาคม 2558 (ขอ้ มูล ณ 30 ก.ย. 2558)

โรค ปวุ ย อัตราปวุ ย ตาย อัตราตาย อตั ราปุวยตายประชากร

Diarrhea 9067 1068.72 0 0.00 0.00848399

Pyrexia 3332 392.74 0 0.00 0.00848399

Pneumonia 1676 197.55 0 0.00 0.00848399

Food Poisoning 982 115.75 0 0.00 0.00848399

D.H.F,Tota (26,27,66) 705 83.10 0 0.00 0.00848399

H.conjunctivitis 511 60.23 0 0.00 0.00848399

Chickenpox 501 59.05 0 0.00 0.00848399

D.H.F. 402 47.38 0 0.00 0.00848399

Influenza 379 44.67 0 0.00 0.00848399

Hand,foot and mouth disease 377 44.44 0 0.00 0.00848399

นบั ต้งั แต่วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 ถงึ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2558 สสจ.สุพรรณบุรีได้รับรายงานผู้ปุวยด้วย

โรคท่ีต้องเฝูาระวังทางด้านระบาดวิทยา 10 อันดับแรกเรียงตามอัตราปุวยต่อประชากรแสนคน ได้แก่ อันดับ 1

Diarrhea 1068.72, อันดับ 2 Pyrexia 392.74, อันดับ 3 Pneumonia 197.55, อันดับ 4 Food

Poisoning 115.75, อันดบั 5 D.H.F,Total (26,27,66) 83.10, อันดับ 6 H.conjunctivitis 60.23, อันดับ

7 Chickenpox 59.05, อันดับ 8 D.H.F. 47.38, อันดับ 9 Influenza 44.67 และ อันดับ 10 Hand foot

and mouth disease Dengue fever 44.44

จากสถานการณ์โรคในขา่ ยงานระบาดวทิ ยา 10 อันดับแรก ต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม 2557 ถึงวันท่ี 30

กันยายน 2558 พบว่านอกจากโรคไข้เลือดออกท่ีเป็นนโยบายของจังหวัดสุพรรณบุรีท่ีต้องดาเนินการอย่าง

ต่อเน่ืองแล้วนั้น ยังมีโรคติดต่อท่ีเป็นปัญหาและมีแนวโน้มการระบาดในปีงบประมาณ 2558 ที่ต้องดาเนินการ

วางแผนแก้ไขดังน้ี โรคปอดบวม (Pneumonia) โรคตาแดง (H.conjunctivitis) โรคสุกใส (Chickenpox) โรค

อาหารเป็นพิษ (Food Poisoning) โรคมือเท้าปาก (Hand foot and mouth disease) และโรคไข้หวัดใหญ่

(Influenza) ซ่ึงกลุ่มโรคดังกล่าวมีจานวนผู้ปุวยสูงกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2553-2557) แตกต่างกันไป

ในแต่ละชว่ งเวลา ดงั นนั้ จึงควรท่ีจะมแี ผนงานโครงการไวร้ องรบั สถานการณ์โรคท่จี ะเกดิ ขึน้

นอกจากสถานการณโ์ รคต่างๆ ทเี่ กิดขึน้ ในจังหวัดสพุ รรณบุรีแล้ว ยังคงต้องพิจารณาโรคต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนไม่

ว่าจะเป็นในประเทศตามภูมิภาคต่าง ๆ แล้วนั้น ยังมีโรคที่เกิดข้ึนในประเทศอ่ืน ๆ ทั่วโลก อย่างเช่น โรคติดเช้ือ

ไวรัสอีโบลา โรคซาร์ โรคโคโรน่าไวรัส(เมอร์ส) เป็นต้นที่เกิดในประเทศต่าง ๆ ซึ่งในส่วนของหน่วยงานที่ดูแลด้าน

สุขภาพทุกระดับ ต้องมีการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับสถานการณ์ ในการปูองกันควบคุมโรค การส่งต่อผู้ปุวย

การดูแลรักษาพยาบาลและกระบวนการประสานงานเพ่ือเชื่อมโยงหน่วยงานที่เก่ียวข้องให้สามารถดาเนินงานได้

อย่างสอดคล้องสนบั สนนุ กนั เปน็ เครือขา่ ยในการดูแลสขุ ภาพของประชาชน

โครงการหลักประกันสขุ ภาพถว้ นหน้า จังหวัดสุพรรณบรุ ี

1.ความครอบคลมุ การมีหลักประกันสุขภาพของประชาชน

ความครอบคลุมการมีหลักประกันสุขภาพของประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ
2558 คิดเป็นร้อยละ 99.92 ของประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ซึ่งผ่านเกณฑ์ช้ีวัดของสานักงาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ท่ีกาหนดไว้ 99.70 เมื่อจาแนกรายละเอียดตามประเภทสิทธิ พบว่า ประชาชนมี
สทิ ธขิ ้าราชการ/รัฐวสิ าหกิจ ร้อยละ 6.60 สิทธิประกันสังคม ร้อยละ 14.70 สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ร้อยละ 77.13 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 1.24 สิทธิอ่ืนๆ ร้อยละ 0.25 อาเภอบางปลาม้า
อาเภอดอนเจดยี ์ และอาเภอสามชุก มคี วามครอบคลมุ สงู สดุ ร้อยละ 99.98 รายละเอยี ดดงั แสดงในตาราง ท่ี 1

ตารางท่ี 1 แสดงความครอบคลมุ การมีหลักประกนั สขุ ภาพ ของประชาชนจังหวัดสุพรรณบรุ ี จาแนกราย
อาเภอ ประจาปีงบประมาณ2558

อาเภอ ประชากร ขา้ ราชการ ประกนั สงั บตั รประกนั อปท. อน่ื ๆ รอ้ ยละ
ทะเบยี นราษฎ์ คม สขุ ภาพ ผลงาน ความ
ถว้ นหนา้
ครอบคลมุ

เมอื ง 17,342 26,232 133,182 3,173 717 180,646 99.82

เดมิ บางฯ 73,427 5,100 11,121 56,045 945 181 73,392 99.95

ดา่ นชา้ ง 77,755 2,806 8,426 65,915 485 65 77,697 99.93

บางปลามา้ 73,869 5,162 14,071 53,507 930 182 73,852 99.98

ศรปี ระจนั ต์ 61,171 4,967 10,233 44,816 973 159 61,148 99.96

ดอนเจดยี ์ 48,014 2,785 6,444 38,164 510 100 48,003 99.98

สองพนี่ อ้ ง 139,806 6,565 18,660 112,710 1,432 337 139,70418909,.99830

สามชกุ 51,547 3,835 8,364 38,597 633 106 51,535 99.98

อทู่ อง 117,339 6,398 16,709 92,767 1,176 218 117,268 99.94

หนองหญา้ ไซ 38,398 1,957 6,530 29,379 458 54 38,378 99.95

รวม 862,306 56,917 126,790 665,082 10,7152,119 861,623 99.92

รอ้ ยละ 6.60 14.70 77.13 1.24 0.25 99.92

ขอ้ มลู ณ 30 กนั ยายน 2558

2.การพจิ ารณาการจ่ายเงินชว่ ยเหลอื เบือ้ งต้นกรณีผู้ไดร้ ับความเสยี หายจากการรักษาพยาบาล
การจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้น เป็นกระบวนการเยียวยาผู้รับบริการสาธารณสุขตามมาตรา41

แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 โดยมีเจตนารมณ์ที่จะสร้างความสัมพันธ์อัน ดี
ระหว่างผใู้ ห้และผู้รับบริการ โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายจากการให้บริการสาธารณสุขของ
หนว่ ยบรกิ าร

ปีงบประมาณ 2558 คณะอนุกรรมการพิจารณาวินิจฉัยคาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบ้ืองต้น
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ได้ดาเนินการวินิจฉยั คาร้องขอรบั เงนิ ชว่ ยเหลือเบอื้ งต้น กรณีผ้รู บั บรกิ ารได้รบั ความเสียหายจาก

การเข้ารับบริการสาธารณสุข จานวน 15 ราย ประเภทความเสียหาย 6(1) เสียชีวิตหรือทุพพลภาพอย่างถาวร
จานวน 7 ราย จ่ายเงิน 2,120,000 บาท กรณี 6(2)สูญเสียอวัยวะหรือพิการ จานวน 1 ราย จ่ายเงิน
200,000 บาท กรณี6(3) บาดเจ็บหรือเจ็บปุวยต่อเน่ือง จานวน 7 ราย จ่ายเงิน 40,9000 บาท เมื่อจาแนก
ความเสียหายจากแผนกท่ีเข้ารับบริการ แผนกสูติกรรม จานวน 9 ราย ศัลยกรรม จานวน 2 ราย อายุรกรรม
จานวน 2 ราย และกุมารเวชกรรม จานวน 2 ราย

3.การดาเนินงานติดตามคา่ Case Mixed Index (CMI)

ค่า CMI คอื ค่าทีแ่ สดงถงึ ศักยภาพในการให้บริการรกั ษาพยาบาลผู้ปุวยใน สานักงานสาธารณสุข
จังหวัดสุพรรณบรุ ี มรี ะบบจดั เกบ็ ฐานขอ้ มูลการให้บริการผู้ปุวยทุกแห่ง ในรูปแบบ 43 แฟูมซึ่งสามารถนาข้อมูล
ดังกล่าวมาวิเคราะห์ เพื่อหาค่า Case Mixed Index (CMI) ซ่ึงเป็นข้อมูลที่แสดงถึงคุณภาพการรักษาพยาบาล
และศกั ยภาพของโรงพยาบาล สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้นาค่า CMI มาเป็นเครื่องมือสาหรับ
ติดตามผลการดาเนินการของหน่วยบริการ โดยมีการติดตามทุกเดือน เพ่ือนาข้อมูลมาวิเคราะห์ถึงประสิทธิภาพ
ของการรักษาพยาบาลและวางแผนในการพัฒนาและจัดระบบบริการท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน และเพื่อวางแนว
ทางการพัฒนาระบบ Service Plan ของจงั หวัด

การวิเคราะหค์ ่า Case Mixed Index (CMI) ท่ใี ช้ Adjust RW เป็นฐานและอตั ราครองเตียง

จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2558 ภาพรวมค่า CMI ของหน่วยบริการส่วนใหญ่มีแนวโน้ม
สูงขึ้นเม่ือเทียบกับปีงบประมาณ 2557 ยกเว้นโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช และ
โรงพยาบาลสามชุก มีค่า CMI ลดลง เม่ือเปรียบเทียบค่า CMI ของหน่วยบริการกับเกณฑ์ระดับประเทศ พบว่า
โรงพยาบาลทีม่ ีค่า CMI ไม่ผา่ นเกณฑ์ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช มคี ่าเท่ากบั CMI 1.53 เกณฑ์ 1.6

อัตราครองเตียง ปีงบประมาณ 2558 อัตราครองเตียงของหน่วยบริการส่วนใหญ่ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80

ได้แก่ โรงพยาบาลอู่ทอง โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรีประจันต์

โรงพยาบาลสามชกุ โรงพยาบาลดอนเจดีย์ และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ รายละเอยี ดดงั แสดงในตารางท2่ี

ตารางที่ 2 ตารางแสดงคา่ CMI และอัตราครองเตยี งของหนว่ ยบริการ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ประจาปีงบประมาณ

2558

CMI อตั ราครองเตียง

หน่วยบรกิ าร เกณฑ์ 2556 2557 2558 2556 2557 2558

รพ.เจ้าพระยายมราช 1.6 1.54 1.6 1.53 93.84 94.52 93.46

รพ.สมเด็จพระสังฆราชฯ 1.0 1.06 1.17 1.19 106.54 116.44 116.12

รพ.อู่ทอง 0.8 0.78 0.8 0.8 67.25 66.38 70.11
รพ.ด่านช้าง 0.6 0.74 0.86 0.8 81.34 88.11 84.45
รพ.เดิมบางนางบวช 0.6 0.92 1.04 1.03 61.28 70.53 63.42
รพ.บางปลามา้ 0.6 0.69 0.68 0.68 73.23 91.61 75.86

รพ.ศรปี ระจันต์ 0.6 0.7 0.77 0.77 75.15 76.22 69.10

รพ.ดอนเจดยี ์ 0.6 0.67 0.72 0.73 71.55 62.08 60.78
รพ.สามชกุ 0.6 0.79 0.81 0.76 55.91 57.37 61.32
รพ.หนองหญ้าไซ 0.6 0.57 0.56 0.65 49.11 62.32 62.19

4.ความมัน่ คงทางการเงนิ ของสถานพยาบาล

จังหวัดสุพรรณบุรีมีการเฝูาระวัง ติดตามสถานการณ์ทางการเงินของหน่วยบริการ โดย
คณะกรรมการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลในการสร้างหลักประกันสุขภาพของประชาชนทุกคน (นโยบาย 30
บาท ) จังหวัดสุพรรณบุรี ซ่ึงมี ฯพณฯบรรหาร ศิลปอาชา เป็นท่ีปรึกษา ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน พร้อม
ดว้ ยนายอาเภอ ผอู้ านวยการโรงพยาบาล และสาธารณสุขอาเภอทุกแห่ง อย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกเดือน ต้ังแต่
ปีงบประมาณ 2545 จนถึง 30 กันยายน 2558 เป็นปีท่ี 14 คร้ังที่ 164 (ครั้งที่ 10 ของปีงบประมาณ
2558) นอกจากนี้ยังมีการติดตามเฝูาระวัง โดยคณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง (CFO) ระดับจังหวัดทุก
ไตรมาส และคณะกรรมการตดิ ตามการใชง้ บประมาณ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี จานวน 2 คร้ัง

ด้านรายรับ-รายจ่าย ของหน่วยบริการ จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2558 ในภาพรวม
พบว่า มีรายรับจานวน 2,013,909,020.14 บาท และมีรายจ่าย 1,961,583,340.52 บาท มีสัดส่วนของ
รายรบั ต่อรายจ่ายเทา่ กบั 1.03 โรงพยาบาลทมี่ ีรายจา่ ยมากกว่ารายรับ จานวน 5 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลอู่ทอง
โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลสามชุก แล ะโรงพยาบาลศรีประจันต์
รายละเอยี ดดงั แสดงในตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 แสดงการเปรยี บเทียบรายรบั -รายจ่าย ประจาปีงบประมาณ 2558 จาแนกรายโรงพยาบาล

สถานบรกิ าร รายรับทัง้ หมด รายจ่ายทงั้ หมด I/E

รพศ.เจา้ พระยายมราช 889,971,784.70 844,296,504.22 1.05

รพท.สมเดจ็ พระสงั ฆราช ฯ 358,424,125.00 339,906,296.00 1.05

รพช.อทู่ อง 186,701,101.07 190,099,054.45 0.98

รพช.เดิมบางนางบวช 117,634,141.53 121,924,002.37 0.96

รพช.ด่านช้าง 114,678,321.00 108,270,465.00 1.06

รพช.บางปลามา้ 71,662,150.76 73,586,070.30 0.97

รพช.สามชกุ 81,576,819.48 95,639,252.95 0.85

รพช.ศรีประจันต์ 77,520,584.05 79,922,183.77 0.97

รพช.ดอนเจดยี ์ 63,779,326.00 59,320,990.55 1.08

รพช.หนองหญ้าไซ 51,960,666.55 48,618,520.91 1.07

รวม 2,013,909,020.14 1,961,583,340.52 1.03

จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อเปรียบเทียบรายรับ รายจ่าย สถานะเงินบารุง หน้ีสิน วัสดุคงคลัง Quick Ratio
Current Ratio และ I/E ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2555 - 2558 ของหน่วยบริการในภาพรวมพบว่า รายรับมี
แนวโน้มสูงข้ึน รายจ่ายปีงบประมาณ 2558 ลดลงจากปีงบประมาณ 2557 เล็กน้อย เงินบารุงและวัสดุคงคลัง
เพม่ิ ขึ้น ส่วนหนส้ี นิ ก็เพ่ิมขึน้ ดว้ ยเชน่ กนั จึงทาให้ CR และ QR มีแนวโนม้ ลดลง ดงั แสดงในตารางท่ี 4

ตารางท่ี 4 แสดงการเปรยี บเทยี บรายรบั รายจ่าย สถานะเงินบารงุ หน้สี ิน วัสดคุ งคลัง อัตราสว่ นสภาพคลอ่ ง
และอัตราสว่ นทุนหมุนเวียนของสถานบรกิ าร ปงี บประมาณ 2555,2556,2557 และ 2558

รายการ ปงี บประมาณ 2555 ปงี บประมาณ 2556 ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2558
รายรบั 1,858,522,606.88 1,839,799,780.81 1,981,730,245.09 2,013,909,020.14
รายจา่ ย 1,876,038,226.45 1,957,265,431.07 1,964,087,096.31 1,961,583,340.52
เงินบารุง 524,550,251.11 407,552,580.63 430,800,233.44 480,015,006.90
หนีส้ ิน 331,490,278.87 320,085,549.13 376,980,704.97 502,243,739.92
วสั ดุคงคลงั 110,277,645.17 98,819,368.99 101,548,469.79 107,341,129.15
Quick Ratio
Current Ratio 1.58 1.63 1.14 0.96
I/E 1.92 1.99 1.41 1.17
0.99 0.93 1.01 1.03

สาหรับปีงบประมาณ 2558 เมื่อจาแนกรายโรงพยาบาล พบว่า โรงพยาบาลท่ีมี QR ไม่ผ่านเกณฑ์
จานวน 4 แหง่ ไดแ้ กโ่ รงพยาบาลอทู่ อง โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรีประจันต์ และโรงพยาบาล ดอน
เจดีย์ โรงพยาบาลท่ี Current Ratio ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน7 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
โรงพยาบาลอู่ทอง โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช โรงพยาบาลบางปลาม้า โรงพยาบาลศรีประจันต์ โรงพยาบาล
ดอนเจดีย์ และ โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ รายละเอียดดงั แสดงในตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 แสดงสถานะเงินบารงุ หนีส้ ิน วสั ดคุ งคลงั อตั ราสว่ นสภาพคล่อง และอตั ราสว่ นทุนหมุนเวียนของ
สถานบริการ ปงี บประมาณ 2558 จาแนกรายโรงพยาบาล

สถานบริการ เงินบารงุ หนีส้ ิน วสั ดุคงคลัง Quick Current
Ratio Ratio

รพศ.เจา้ พระยายม 259,825,724.99 248,847,266.71 40,799,161.48 1.04 1.21
ราช

รพท.สมเดจ็ 49,257,449.00 43,025,717.00 15,813,885.00 1.14 1.51
พระสังฆราช

รพช.อู่ทอง 27,497,851.55 58,297,134.71 18,827,369.43 0.47 0.69

รพช.เดิมบางนาง 24,052,688.08 20,504,915.84 3,297,460.46 1.17 1.33
บวช

รพช.ด่านชา้ ง 30,389,007.00 20,839,799.00 3,823,557.00 1.46 1.64

รพช.บางปลามา้ 17,467,067.69 25,567,068.19 5,665,946.14 0.69 0.90

รพช.สามชุก 19,676,047.75 17,615,200.97 7,307,505.51 1.12 1.53

รพช.ศรีประจนั ต์ 17,662,714.37 25,531,064.65 6,943,865.00 0.69 0.96

รพช.ดอนเจดีย์ 15,509,723.24 22,612,219.21 2,568,819.22 0.69 0.80

รพช.หนองหญา้ ไซ 18,676,733.23 19,403,353.64 2,293,559.91 1.06 1.08

รวม 480,015,006.90 502,243,739.92 107,341,129.15 0.96 1.17

การวเิ คราะหก์ ารเงนิ และประสทิ ธิภาพทางการเงิน

การเงินการคลงั

สถานการณ์
สถานการณก์ ารเงนิ การคลังของหน่วยบริการในจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า งบประมาณจัดสรร UC หลัง

หักเงินเดือน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับจัดสรรท้ังหมด จานวนเงิน๗๘๐,๙๘๘,๕๙๙.๙๔ บาท เมื่อ
เปรียบเทียบกับท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณหลักหักเงินเดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ จานวนเงิน
871,803,980.08 บาท ซึ่งลดลง ๙๐,๘๑๕,๓๘๐ บาท (ร้อยละ ๑๐.๔๒) และพบว่าผู้ขึ้นทะเบียนสิทธิ
UC ปีงบประมาณ พ.ศ. 255๘ จานวน ๖๖๕,๐๘๒ คน ความครอบคลุม ๙๙.๙๒% และในปีงบประมาณ
พ.ศ. 255๗ มีจานวนผู้ข้ึนทะเบียนสิทธิ UC จานวน 666,126 คน ความครอบคลุม ๙๙.๗๒% ลดลง
๑,๐๔๔ คน (รอ้ ยละ ๐.๑๖)

สํานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ดาํ เนนิ การบริหารงบประมาณงบเหมาจา่ ยรายหัวประชากร จาก
การเฝาู ระวังตดิ ตามขอ้ มลู สถานการณก์ ารเงนิ การคลัง รายรับรายจ่ายของโรงพยาบาลเป็นรายเดือน รายไตรมาส
และรายปี ซึ่งให้ความสําคัญกับระบบบัญชีที่เป็นเครื่องมือทําให้การบริหารทรัพยากรมีประสิทธิภาพ โดยเร่ิม
จัดทําระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างและพัฒนางานอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๖ จนถึงปัจจุบัน
กําหนดให้หน่วยบรกิ ารทุกระดับบันทกึ บญั ชลี งในโปรแกรมทกุ แห่งตง้ั แตร่ ะดบั รพ.สต. สสอ. รพช. รพท.รพศ.และ
สสจ. มุ่งเน้นการตรวจสอบข้อมูลให้มีคุณภาพ และนําข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ เพ่ือพิจารณาการจัดสรร/ปรับ
เกลื่ยงบประมาณเหมาจ่ายรายหัวในภาพรวมของจังหวัด ภายใต้หลักการการบริหารงบประมาณอย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้โรงพยาบาลทุกแห่งได้รับงบประมาณอย่างเพียงพอ มีการกระจาย
งบประมาณอย่างเหมาะสม สามารถจัดบริหารสาธารณสุขและส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
อย่างทวั่ ถงึ เป็นธรรม

ปัจจบุ ัน (ขอ้ มูลไตรมาส ๔/255๘) หนว่ ยบริการระดับโรงพยาบาล 10 แห่ง ในจังหวัดสุพรรณบุรี มี
โรงพยาบาลทป่ี ระสบภาวะวกิ ฤต จานวน ๒ แหง่ คือ โรงพยาบาลอ่ทู อง และ โรงพยาบาลดอนเจดยี ์

การบริหารจดั การ
๑. แตง่ ตั้งคณะกรรมการต่างๆ เพอื่ ดําเนนิ การดังนี้

๑.๑ คณะกรรมการการเงินการคลังสุขภาพ(CFO) ระดับจังหวัดและระดับอําเภอ ตามนโยบาย
รัฐบาลในการสร้างหลักประกันสุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรีโดยมี ฯพณฯบรรหาร ศิลปอาชา เป็นที่ปรึกษา ผู้ว่า
ราชการจังหวัดสุพรรณบุรีเป็นประธาน จัดประชุมต่อเนื่องทุกเดือนต้ังแต่ปีงบประมาณ ๒๕๔๕ โดยให้
ผู้อํานวยการโรงพยาบาลทุกแห่งนําเสนอข้อมูลการเงินการคลังในประเด็นรายรับ-รายจ่าย สถานการณ์เงินบํารุง
รวมทงั้ แผนการใช้จ่ายเงนิ บาํ รุงของโรงพยาบาล มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบการใช้จ่าย ผลการให้บริการ รวมทั้ง
การจ่ายค่าตอบแทน

๑.๒ คณะกรรมการการเงินการคลังสุขภาพ(CFO) ระดับจังหวัดและระดับอําเภอ โดยมีบทบาท
หนา้ ที่ในการวเิ คราะห์และเฝาู ระวงั สถานการณ์ดา้ นการเงินการคลังในแต่ละดับไม่ให้เกิดระดับวิกฤต รวมถึงมีการ
ประชุมรว่ มกนั เพอ่ื รวบรวมปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน

๑.๓ คณะกรรมการศูนย์ต้นทนุ ระดับจังหวดั เพ่ือกํากับ ติดตามการจัดทําต้นทุนบริการ (Unit
cost) ของหน่วยบรกิ าร

๑.๔ คณะทํางานจัดทําต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สพุ รรณบรุ ี เพอ่ื กําหนดกรอบการดําเนินงาน ศึกษา วิเคราะหส์ ถานการณ์ การจดั ทําต้นทุนต่อหนว่ ยผลผลิต

๑.๕ คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคเี ครือข่ายระดบั จังหวัด เพื่อทําหน้าที่ตรวจสอบภายใน
หน่วยงานและหน่วยงานในสงั กัดทกุ ระดบั

๒. พัฒนาความรู้ด้าน บัญชีเกณฑ์คงค้างระดับรพ.สต. การจัดทํา Single cup financial พัฒนาการ
จัดทําต้นทุนบริการ Unit cost ของหน่วยบริการและเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง จัดทําโครงการเฝูาระวังสถานการณ์
ด้านการเงินการคลังของคณะกรรมการการเงินการคลังสุขภาพ (CFO) ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ และ
คณะทาํ งานการเงนิ การคลังสุขภาพ (CFO) ระดับจงั หวัด รวมวงเงินงบประมาณทั้งสิ้น ๑๒๓,๖๒๐ บาท (หน่ึง
แสนสองหมืน่ สามพนั หกร้อยยส่ี บิ บาทถว้ น)

ผลการดาเนินงาน

๑. ด้านการดําเนินงานการเฝูาระวังการเงินการคลังจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า มีโรงพยาบาลประสบ

ภาวะวิกฤตในระดับรุนแรงระดับ ๗ จํานวน ๒ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลดอนเจดีย์ และโรงพยาบาลอู่ทอง

ระดับ ๖ จาํ นวน ๑ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลบางปลาม้า ระดับ ๓ จํานวน ๑ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศรี

ประจันต์ ระดับ ๒ จํานวน ๒ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช และโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ

ระดับ ๑ จาํ นวน ๒ แหง่ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช และโรงพยาบาลด่านช้าง ระดับ ๐ จํานวน ๒

แห่ง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองคท์ ี่ ๑๗ และโรงพยาบาลสามชุก ดังแสดงในตารางท่ี ๑ ดังน้ี

ตารางท่ี ๑ แสดงระดับภาวะวิกฤตทางการเงนิ ของโรงพยาบาลทุกแห่ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ

๒๕๕๘ ไตรมาส ๔ ณ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๗ (รายงาน ณ วนั ที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘)

โรงพยาบาล ระดับวิกฤต

เจ้าพระยายมราช ๒

สมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ที่ ๑๗ ๐

เดมิ บางนางบวช ๑

ด่านชา้ ง ๑

อูท่ อง ๗

บางปลาม้า ๖

ศรปี ระจันต์ ๓

ดอนเจดยี ์ ๗

สามชกุ ๐

หนองหญ้าไซ ๒

ท่ีมา : เว็บไซต์กล่มุ ประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ

๒. รายงานผลการประเมินระดับความสําเร็จการบริหารการเงินการคลัง (FAI) ไตรมาส ๔
ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ในภาพรวมมีค่าระดับความสําเร็จการบริหารการเงินการคลัง (FAI) คะแนนเฉล่ียเท่ากับ
๙๓.๒๐ และเม่ือพิจารณารายละเอียด พบว่า หน่วยบริการท่ีมีค่า (FAI) สูงสุด คือ โรงพยาบาลด่านช้างและ
โรงพยาบาลสามชกุ มคี า่ คะแนนเฉลีย่ เทา่ กับ ๑๐๐ รองลงมา คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๗ และ
โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ มีคา่ คะแนนเฉลยี่ เท่ากับ ๙๖.๐๐ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลเดิมบาง
นางบวช และโรงพยาบาลดอนเจดีย์ มีค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ ๙๔.๐๐ โรงพยาบาลศรีประจันต์ และ
โรงพยาบาลอู่ทอง มคี ่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับ ๘๘.๐๐ โรงพยาบาลบางปลาม้า มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๘๒.๐๐
ดงั แสดงในตารางที่ ๒ ดังน้ี

ตารางที่ ๒ แสดงรายงานผลการประเมินระดบั ความสําเรจ็ การบริหารการเงนิ การคลัง (FAI) ไตรมาส ๔

ปีงบประมาณ ๒๕๕๘

ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๑การ ตัวช้วี ัดท่ี ๒การ ตวั ชว้ี ัดที่ ๓การ ตัวชี้วดั ท่ี ๔การ

ลําดบั รหัส รพ ชอ่ื รพ ควบคมุ พัฒนา บริหาร พัฒนาต้นทนุ คะแนน
ภายใน เกณฑ์คงคา้ ง การเงินการคลัง บริการ Unit Cost FAI=(x1*20)+(x2*20)+(x3*30)+(x4*30)

ระดบั ระดบั ระดับ ระดับ /5
ความสาํ เรจ็ นาํ้ หนัก ความสําเรจ็ น้ําหนกั ความสําเรจ็ นํา้ หนกั ความสําเร็จ นาํ้ หนกั

(x1) (x2) (x3) (x4)

๑ ๑๐๖๗๘ เจา้ พระยายม ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐
ราช,รพศ.

สมเดจ็

๒ ๑๐๗๓๓ พระสงั ฆราช ๕ ๑๐๐ ๔ ๘๐ ๕ ๑๕๐ ๕ ๑๕๐ ๙๖.๐๐

องคท์ 1่ี 7,รพท.

๓ ๑๑๒๘๙ เดิมบางนาง ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๔ ๑๒๐ ๙๔.๐๐
บวช,รพช.

๔ ๑๑๒๙๐ ดา่ นชา้ ง,รพช. ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๕ ๑๕๐ ๑๐๐.๐๐

๕ ๑๑๒๙๑ บางปลา ๔ ๘๐ ๓ ๖๐ ๔ ๑๒๐ ๕ ๑๕๐ ๘๒.๐๐
ม้า,รพช.

๖ ๑๑๒๙๒ ศรี ๔ ๘๐ ๓ ๖๐ ๕ ๑๕๐ ๕ ๑๕๐ ๘๘.๐๐
ประจันต,์ รพช.

๗ ๑๑๒๙๓ ดอน ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๔ ๑๒๐ ๕ ๑๕๐ ๙๔.๐๐
เจดยี ,์ รพช.

๘ ๑๑๒๙๔ สามชกุ ,รพช. ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๕ ๑๕๐ ๑๐๐.๐๐

๙ ๑๑๒๙๕ อทู่ อง,รพช. ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๐๐ ๔ ๑๒๐ ๔ ๑๒๐ ๘๘.๐๐

๑๐ ๑๑๒๙๖ หนองหญา้ ๔ ๘๐ ๕ ๑๐๐ ๕ ๑๕๐ ๕ ๑๕๐ ๙๖.๐๐
ไซ,รพช.

คะแนนเฉลยี่ ๙๓.๒๐

๓. ภาพรวมแผนควบคุมคา่ ใช้จา่ ยผันแปรระดบั จงั หวดั ประจําปี ๒๕๕๘ ไตรมาส ๔ พบว่าในภาพรวม
เม่ือเปรยี บเทียบแผนประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ยผนั แปรกบั ค่าใชจ้ ่ายจริง พบว่า ภาพรวมทั้งจงั หวัดค่าใชจ้ ่ายผันแปรสูง
กว่าประมาณการร้อยละ ๗.๐๘ ซึ่งโรงพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายจริงลดลงจากประมาณการมีเพียง ๒ แห่ง คือ
โรงพยาบาลด่านชา้ งและโรงพยาบาลบางปลาม้า สว่ นอีก ๘ แหง่ คา่ ใช้จ่ายจริงสูงกว่าประมาณการท้ังหมดและ
มี ๔ แห่งท่ีสงู กว่าประมาณการมากไดแ้ ก่ โรงพยาบาลเดิมบางนางบวชร้อยละ ๒๕.๙๙ โรงพยาบาลศรีประจันต์
ร้อยละ ๑๗.๒๓ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๗ ร้อยละ ๑๓.๖๙ และโรงพยาบาลอู่ทองร้อยละ
๘.๒๓

ตารางท่ี ๓ แสดงภาพรวมแผนประมาณการคา่ ใช้จ่ายผันแปรระดบั จงั หวดั ประจําปี ๒๕๕๘ ไตรมาส ๔

ปงี บประมาณ ๒๕๕๘

หนว่ ยบริการ แผน คา่ ใชจ้ ่ายจริง รอ้ ยละท่ีลดลง/
ประมาณการ เพิม่ ขนึ้ จากแผน

รพ.เจา้ พระยายมราช ๖๑๘,๒๕๒,๑๕๕.๐๐ ๖๔๕,๗๒๔,๓๒๔.๖๓ +๔.๔๔

รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ท่ี 17 ๑๖๙,๘๙๔,๔๐๐.๐๐ ๑๙๓,๑๔๙,๙๑๒.๗๓ +๑๓.๖๙

อ่ทู อง ๑๐๖,๙๗๑,๐๐๐.๐๐ ๑๑๕,๗๗๔,๒๘๘.๘๓ +๘.๒๓

เดมิ บางนางบวช ๖๘,๐๐๕,๐๐๐.๐๐ ๘๕,๖๗๘,๗๖๖.๗๖ +๒๕.๙๙

ด่านชา้ ง ๕๘,๑๑๕,๓๓๗.๙๕ ๕๘,๐๙๔,๙๙๗.๘๔ -๐.๐๓

หนว่ ยบรกิ าร แผน คา่ ใชจ้ า่ ยจรงิ ร้อยละทลี่ ดลง/
ประมาณการ เพิ่มขึ้นจากแผน

บางปลามา้ ๔๔,๖๐๐,๐๐๐.๐๐ ๔๒,๙๗๐,๑๖๒.๔๗ -๓.๖๕

สามชุก ๕๒,๑๓๙,๑๐๐.๐๐ ๕๔,๓๒๐,๑๐๖.๔๒ +๔.๑๘

ศรีประจันต์ ๓๙,๗๘๐,๐๐๐.๐๐ ๔๖,๖๓๓,๗๗๒.๒๕ +๑๗.๒๓

ดอนเจดยี ์ ๓๐,๙๐๐,๐๐๐.๐๐ ๓๒,๐๖๐,๐๓๘.๑๕ +๓.๗๕

หนองหญ้าไซ ๒๓,๙๙๐,๐๐๐.๐๐ ๒๔,๐๕๐,๕๐๓.๖๙ +๐.๒๕

รวม ๑,๒๑๒,๖๔๖,๙๙๒.๙๕ ๑,๒๙๘,๔๕๖,๘๗๓.๗๗ +๗.๐๘

หมายเหตุ รายการคา่ ใช้จ่ายผนั แปร ได้แก่ ต้นทนุ ยา ต้นทุนเวชภัณฑ์มใิ ชย่ าและวสั ดกุ ารแพทย์

ต้นทนุ วัสดุวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ คา่ ใชส้ อย ค่าสาธารณูปโภค วสั ดุใช้ไป

การบริหารจดั การ (ประสิทธิภาพการจัดซื้อจดั จา้ งและการเบกิ จา่ ยงบประมาณ)

สถานการณ์

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 255๘ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี (ไม่รวม รพศ. และ
รพท.) ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ๗๘,๔๗๑,๑๑๘.๐๐ บาท โดยแบ่งเป็นงบดาเนินงาน
๕๗,๑๕๖,๑๔๘.๐๐ บาท งบลงทุน ๒๐,๘๗๔,๙๗๐.๐๐ บาท และงบอุดหนุน ๔๔๐,๐๐๐ บาท เมื่อ
เปรียบเทียบกับปีงบประมาณ พ.ศ. 255๗ ได้รับจัดสรรงบประมาณ 68,340,223.๐๐ บาท โดยแบ่งเป็น
งบดาเนินงาน 56,688,523.00 บาท งบลงทุน 10,376,700.00 บาท งบอุดหนุน 1,275,000.๐๐
บาท พบว่าในภาพรวมการจัดสรรงบประมาณเพิ่มข้ึน ๑๐,๑๓๐,๘๙๕.๐๐ บาท (ร้อยละ ๑๔.๘๒) โดย

แบ่งเปน็ งบดาเนินงานเพิ่มข้นึ ๔๖๗,๖๒๕ บาท (รอ้ ยละ ๐.๘๒) งบลงทุนเพ่ิมข้ึน ๑๐,๔๙๘,๒๗๐ บาท (ร้อย
ละ ๑๐๑.๑๗) สว่ นงบอดุ หนุนลดลง ๘๓๕,๐๐๐ บาท (รอ้ ยละ ๖๔.๔๙)

การบริหารจดั การ
กลุ่มงานบริหารทั่วไป ได้มีการจัดทําโครงการเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานสาธารณสุข

จาํ นวน ๑ โครงการ คือ
โครงการพฒั นาและสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการงานสาธารณสุข สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ วงเงินงบประมาณ ๔,๒๒๖,๑๙๘ บาท (สี่ล้านสองแสนสองหมื่นหกพันหนึ่งร้อยเก้าสิบ
แปดบาทถว้ น)

ผลการดาเนินงาน

๑. ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้ดําเนินการจัดซ้ือจัดจ้างพัสดุให้สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

สพุ รรณบุรแี ละหน่วยงานในสงั กัดแลว้ เสรจ็ ถูกตอ้ ง ครบถ้วน และทันเวลา ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี

๑. วิธตี กลงราคา จํานวน ๕๒๘ เรื่อง จาํ นวนเงนิ ๖,๑๖๖,๙๗๙.๔๑ บาท

๒. วิธีสอบราคา จาํ นวน ๓๗ เรื่อง จํานวนเงิน ๒๐,๕๗๗,๐๔๒.๐๐ บาท

๓. วธิ ี e-Auction จํานวน ๕๓ เรือ่ ง จํานวนเงนิ ๑๓๒,๙๑๙,๖๕๕.๐๐ บาท

๔. วิธีพเิ ศษ จาํ นวน ๓ เรอ่ื ง จาํ นวนเงิน ๒,๗๑๘,๐๐๐.๐๐ บาท

๕. วธิ กี รณพี เิ ศษ จํานวน ๑ เรื่อง จํานวนเงิน ๔๒๕,๒๕๖.๐๐ บาท

๒. การเบิกจา่ ยงบประมาณ ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สํานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี ไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณ
จํานวน ๗๘,๔๗๑,๑๑๘.๐๐ บาท โดยแบ่งเป็นงบดําเนินงาน ๕๗,๑๕๖,๑๔๘.๐๐ บาท งบลงทุน
๒๐,๘๗๔,๙๗๐.๐๐ บาท และงบอุดหนุน ๔๔๐,๐๐๐.๐๐ บาท ดําเนินการเบิกจ่ายภาพรวม
๖๘,๑๕๓,๙๒๘.๑๙ คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๖.๘๕ โดยแบ่งเป็นงบดาํ เนินงานและงบอดุ หนนุ ๕๗,๕๙๖,๑๐๘.๑๙ บาท
เงินคงเหลือ ๓๙.๘๑ บาท คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และงบลงทุนซ่ึงเป็นงบผูกพันข้ามปี ๑๐,๕๕๗,๘๒๐.๐๐
บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๐.๕๘

โรงพยาบาลศนู ยเ์ จ้าพระยายมราช ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ จํานวน ๓๖,๙๑๗,๓๖๓.๐๐ บาท
โดยแบ่งเป็นงบดําเนินงาน ๒๕,๒๓๔,๑๖๓.๐๐ บาท งบลงทุน ๑๑,๔๑๓,๒๐๐.๐๐ บาท และงบอุดหนุน
๒๗๐,๐๐๐.๐๐ บาท ดําเนินการเบิกจ่ายภาพรวม ๒๙,๔๒๙,๗๐๗.๔๕ บาท คิดเป็นร้อยละ ๗๙.๗๒ โดย
แบ่งเป็นงบดําเนินงาน ๒๔,๘๐๙,๗๐๗.๔๕ บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๓๒ เงินคงเหลือ ๔๒๔,๔๕๕.๕๕ บาท
งบอุดหนุน ๒๗๐,๐๐๐.๐๐ บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ และงบลงทุนซ่ึงเป็นงบผูกพันข้ามปี ๔,๓๕๐,๐๐๐.๐๐
บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๘.๑๑

โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองคท์ ่ี ๑๗ ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณ จํานวน ๙,๓๙๗,๔๓๙.๐๐
บาท โดยแบ่งเป็นงบดําเนินงาน ๙,๒๓๗,๔๓๙.๐๐ บาท และงบอุดหนุน ๑๖๐,๐๐๐.๐๐ บาท ดําเนินการ

เบิกจ่ายภาพรวม ๙,๓๕๓,๙๘๕.๐๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๕๔ โดยแบ่งเป็นงบดําเนินงาน ๙,๑๙๓,๙๘๕
บาท คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๕๓ มีเงินคงเหลือ ๔๓,๔๕๔.๐๐ บาท และงบอุดหนุน ๑๖๐,๐๐๐ บาท คิดเป็น
ร้อยละ ๑๐๐

สรุปในภาพรวมทั้งจังหวัด ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จํานวน ๑๒๔,๗๘๕,๙๒๐.๐๐ บาท
ดําเนินการเบิกจ่ายในภาพรวมท้ังหมด ๑๐๖,๙๓๗,๖๒๐.๖๔ บาท คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๗๐ ดังแสดงในตาราง
ดังนี้

ตารางที่ ๔ แสดงผลการดําเนินการเบิกจา่ ยงบประมาณในภาพรวมปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

ผลผลิต/กิจกรรม ไดร้ บั จดั สรร ผลการดาเนินงาน(บาท) คงเหลือ หมายเหตุ
เบกิ จ่ายระบบ GFMIS รอ้ ยละ
สสจ.สพุ รรณบุรี
งบดําเนินงาน ๕๗,๑๕๖,๑๔๘.๐๐ ๕๗,๑๕๖,๑๐๘.๑๙ ๑๐๐.๐๐ ๓๙.๘๑
งบลงทุน ๒๐,๘๗๔,๙๗๐.๐๐ ๑๐,๕๕๗,๘๒๐.๐๐ ๕๐.๕๘ ๑๐,๓๑๗,๑๕๐.๐๐
งบอุดหนนุ
๔๔๐,๐๐๐.๐๐ ๔๔๐,๐๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๐

รวม ๗๘,๔๗๑,๑๑๘.๐๐ ๖๘,๑๕๓,๙๒๘.๑๙ ๘๖.๘๕ ๑๐,๓๑๗,๑๘๙.๘๑

รพศ.เจา้ พระยายมราช ๒๕,๒๓๔,๑๖๓.๐๐ ๒๔,๘๐๙,๗๐๗.๔๕ ๙๘.๓๒ ๔๒๔,๔๕๕.๕๕
งบดาํ เนินงาน ๑๑,๔๑๓,๒๐๐.๐๐ ๔,๓๕๐,๐๐๐.๐๐ ๓๘.๑๑ ๗,๐๖๓,๒๐๐.๐๐
งบลงทุน
งบอดุ หนุน ๒๗๐,๐๐๐.๐๐ ๒๗๐,๐๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๐

รวม ๓๖,๙๑๗,๓๖๓.๐๐ ๒๙,๔๒๙,๗๐๗.๔๕ ๗๙.๗๒ ๗,๔๘๗,๖๕๕.๕๕

รพท.สมเด็จพระสงั ฆราชองคท์ ่ี ๑๗

งบดําเนินงาน ๙,๒๓๗,๔๓๙.๐๐ ๙,๑๙๓,๙๘๕.๐๐ ๙๙.๕๓ ๔๓,๔๕๔.๐๐
๐๐ ๐
งบลงทนุ ๐ ๐
๑๖๐,๐๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐
งบอุดหนนุ ๑๖๐,๐๐๐.๐๐

รวม ๙,๓๙๗,๔๓๙.๐๐ ๙,๓๕๓,๙๘๕.๐๐ ๙๙.๕๔ ๔๓,๔๕๔.๐๐

รวมทั้งจังหวดั ๑๒๔,๗๘๕,๙๒๐.๐๐ ๑๐๖,๙๓๗,๖๒๐.๖๔ ๘๕.๗๐ ๑๗,๘๔๘,๒๙๙.๓๖

ท่มี า : งานการเงิน สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี

ควบคุมภายใน ตรวจสอบภายใน และการประเมินระดับคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาเนินงานภาครฐั (ITA)

สถานการณ์

สํานักงานตรวจเงินแผ่นดินได้ออกระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกําหนดมาตรฐาน
การควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐนํามาตรฐานการควบคุมภายในท่ีกําหนดไปใช้เป็น
แนวทางในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน และปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้เพื่อให้หน่วยงาน
บรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคมุ ภายในดา้ นประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลของการดําเนินงาน

ประกอบกับนโยบายสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กําหนดให้ตามนโยบายสํานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข ภายในระยะเวลา ๕ ปี (ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑) ทุกหน่วยงานภายในสังกัดได้รับการตรวจสอบ
ภายในครอบคลุมทุกระดับ และสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต
กระทรวงสาธารณสุข (ศปท.) ไดด้ าํ เนนิ กจิ กรรมภายใต้โครงการส่งเสรมิ สนับสนนุ การประเมินคุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) กระทรวง
สาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อยกระดับดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (CPI) ของกระทรวง
สาธารณสุขและประเทศไทยมีระดับดีขึ้น ท้ังนี้ สํานักงาน ป.ป.ท. ได้แจ้งให้หน่วยงานบริหารราชการส่วน
ภูมิภาค ได้แก่ สํานักงานจังหวัด สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อมจังหวดั เป็นหน่วยงานนาํ ร่องในการเข้ารว่ มการประเมินดังกล่าว

การบริหารจัดการ
๑. ผู้บรหิ ารในทุกระดบั ใหค้ วามสาํ คญั เรอื่ งการควบคุมภายใน ตรวจสอบภายใน และการ

ประเมินระดบั คุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานภาครัฐ และถ่ายทอดนโยบายให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
ดําเนินการอย่างจริงจงั และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

๒. กลุ่มงานบริหารท่ัวไป ได้ต้ัง งานควบคุมภายในและตรวจสอบภายในเพิ่มอีกหนึ่งงานโดย
มอบหมายให้มเี จา้ หนา้ ทีผ่ ู้รับผิดชอบงานเฉพาะเรอ่ื งนโี้ ดยตรง

๓. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าท่ีทุกสาขาวิชาชีพท่ีเก่ียวข้อง โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบภายในภาคเี ครอื ขา่ ยหนว่ ยงานในสังกดั สาํ นกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี เพื่อทําหน้าที่ตรวจสอบ
ภายในตามแผนประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ จาํ นวน ๒ ครง้ั และมกี ารประชุมรว่ มกันอยา่ งนอ้ ย ๓ ครั้ง
ตอ่ ปี เพือ่ วางแผนการดาํ เนนิ งาน รวบรวมปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
ร่วมกนั

๔. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตามผลการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ว่าด้วยการ
ปูองกันและปราบปรามการทุจริต สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือทําหน้าท่ีกําหนดนโยบาย
ทิศทาง ให้การสนับสนุน กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ โดยมีคณะทํางาน
ในการจดั ทาํ แผน กาํ หนดกิจกรรม และจดั ทาํ รายงานผลการดาํ เนนิ การท่เี กย่ี วขอ้ ง

๔. จัดทําโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านงานบริหารท่ัวไป จังหวัดสุพรรณบุรี
ปงี บประมาณ ๒๕๕๘ วงเงินงบประมาณ ๖๑๔,๖๘๐ บาท (หกแสนหน่งึ หมื่นส่ีพันหกร้อยแปดสิบบาทถว้ น)
ผลการดาเนินงาน

๑. ควบคมุ ภายใน

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีได้ดําเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานที่
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกําหนดโดยกําหนดหน่วยรับตรวจเป็น ๑๑ แห่ง คือ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบุรี จํานวน ๑ แห่ง (รวมสํานักงานสาธารณสุขอําเภอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล)และ
โรงพยาบาล จํานวน ๑๐ แห่ง หน่วยรับตรวจทุกแห่งจะดําเนินการจัดวางระบบการควบคุมภายใน โดยมีการ
วเิ คราะห์และค้นหาความเสี่ยงจากการประเมินกระบวนการปฏิบัติงานของส่วนงานย่อยทุกด้าน ทั้งความเสี่ยง
ด้านการดําเนินงาน ความเส่ียงด้านการเงิน และความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ ที่อาจ
ส่งผลกระทบตอ่ ความสาํ เรจ็ หรอื การบรรลุเปูาหมายของการดําเนนิ งาน รวมท้ังความเส่ียงท่ีพบจากการตรวจสอบ
ของหน่วยงานภายนอกที่เข้ามาตรวจสอบ แล้วนําความเส่ียงดังกล่าวมาจัดทําแผนปรับปรุงการควบคุมภายใน
และมีการติดตามความก้าวหน้าของการดําเนินงานปีละ ๒ คร้ัง คือ งวดส้ินสุดวันที่ ๓๑ มีนาคม กับงวดสิ้นสุด
วันท่ี ๓๐ กันยายน โดยมีการสอบทานการดําเนินงานโดยเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบภายในที่ได้รับแต่งตั้งจากสํานักงาน
สาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรปี ีละ ๑ คร้ัง

๒. ตรวจสอบภายใน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการ
ตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายหน่วยงานในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วย
คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคเี ครอื ขา่ ยระดบั จงั หวัด จํานวน ๑ ทมี และคณะกรรมการตรวจสอบภายใน
ภาคีเครือข่ายระดบั อาํ เภอ จาํ นวน ๑๐ ทีม (คปสอ.ละ ๑ ทีม) เพอ่ื ทําหนา้ ที่ตรวจสอบภายใน

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีมีหน่วยรับตรวจ จํานวน ๑๙๕ แห่ง ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๘ มีแผนการตรวจสอบภายใน จํานวน ๒ ครง้ั

คร้ังท่ี ๑ แผนการตรวจสอบภายในหน่วยรับตรวจ จํานวน ๕๘ แห่ง ประกอบด้วย สํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด จํานวน ๑ แห่ง โรงพยาบาลทุกแห่ง จํานวน ๑๐ แห่ง สํานักงานสาธารณสุขอําเภอทุก
อําเภอ จํานวน ๑๐ แห่ง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลจํานวน ๓๗ คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๗๔
ตรวจสอบภายในโดยคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัด จํานวน ๓๑ แห่ง (สํานักงานสาธารณสุข
จังหวัด ๑ แห่ง , โรงพยาบาล ๑๐ แห่ง , สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ ๑๐ แห่ง และโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตําบล ๑๐ แห่ง) และตรวจสอบภายในโดยคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับอําเภอ จํานวน ๓๗
แห่ง (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในสังกัด คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๒๖) โดยมีอําเภอละ ๑ แห่ง ที่
ตรวจสอบภายในร่วมกับคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดบั จังหวัดเพอื่ เป็นการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ร่วมกนั

ครั้งท่ี ๒ ตรวจติดตามโดยคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัด ตามแผนการตรวจสอบ
ภายในครง้ั ที่ ๒ จํานวน ๗ แหง่ ประกอบดว้ ย โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราช
องค์ที่ ๑๗ โรงพยาบาลอู่ทอง โรงพยาบาลศรีประจันต์ โรงพยาบาลสามชุก โรงพยาบาล ดอนเจดีย์ และ
โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ

ในการตรวจสอบดังกล่าวได้ดําเนินการตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในของกลุ่มตรวจสอบภายใน
สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีการสอบทานระบบควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ด้านควบคุมภายใน
การเงนิ การบัญชีและงบการเงนิ การบรหิ ารพสั ดุ ยาและเวชภณั ฑม์ ใิ ช่ยา โดยผลการตรวจสอบภายในภาพรวม
ของจงั หวดั ไดร้ ายงานต่อกลมุ่ ตรวจสอบภายใน สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และเขตบริการสุขภาพที่ ๕
และผลการตรวจสอบภายในรายหน่วยรับตรวจได้แจ้งกลับหน่วยรับตรวจเพ่ือทราบและดําเนินการแก้ไขตาม
ขอ้ เสนอแนะพรอ้ มท้ังรายงานผลการดําเนินการฯ กลับมายังสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อให้คณะกรรมการ
ตรวจสอบภายในระดบั จังหวัดใชใ้ นการตรวจตดิ ตามในคร้ังต่อไป

๓. การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดําเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ สาํ นกั งาน

สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้เข้าร่วมการประเมินดังกล่าว โดยการจัดทําแบบสํารวจความคิดเห็น Internal
Integrity & Transparency Assessment และแบบสํารวจความคิดเห็น External Integrity &
Transparency Assessment จัดส่งให้ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตฯ (ศปท.) เพื่อส่งให้ที่ปรึกษาโครงการ
โรงเรียนนายร้อยตํารวจ และจัดทําแบบสํารวจใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence-based Integrity &
Transparency Assessment ส่งให้ ๑) เขตบริการสุขภาพท่ี ๕ เพื่อประเมินและส่งผลให้ ศปท. กระทรวงฯ
๒) จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ๓) ที่ปรึกษาโครงการฯ โรงเรียนนายรอ้ ยตํารวจ

ผลการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ตัวช้ีวัดท่ี
๒๑ ร้อยละของหน่วยงานในสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาํ เนนิ งาน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ คา่ คะแนนร้อยละ ๘๗

ผลการประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานภาครัฐ จากท่ีปรึกษาโครงการฯ
โรงเรยี นนายรอ้ ยตํารวจ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ค่าคะแนนร้อยละ ๖๐.๗๑

การวิเคราะหต์ ามกลุม่ อายุ

งานแม่และเดก็ และเดก็ ปฐมวยั

การตั้งครรภ์เป็นระยะเร่ิมต้นพัฒนาการที่สาคัญของครอบครัว การตั้งครรภ์ทาให้ร่างกายมีการเปล่ียนแปลง
อยา่ งมากทง้ั ในดา้ นกายวภิ าค ชวี เคมี และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงน้ีดาเนินไปตลอดการตั้งครรภ์ ร่างกายต้อง
ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ ในร่างกายท่ีเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว การเปล่ียนแปลงอย่าง
สลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของ
ทารกในครรภแ์ ละเตรยี มความพร้อมสาหรับการคลอด นอกจากนีห้ ญิงตั้งครรภ์ ยังตอ้ งปรบั ตัวกับการเปล่ียนแปลงทาง
จิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพในครอบครัว เป็นต้น เปูาหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่
และเด็กท่ีสาคัญ คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ซ่ึงกลวิธีท่ีจะบรรลุเปูาหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้บริการท่ีมี
คุณภาพต้ังแต่ก่อนตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ ขณะรอคลอดและดูแลการคลอดอย่างใกล้ชิด การประเมินภาวะเส่ียง
ของมารดาขณะตง้ั ครรภจ์ ะชว่ ยปอู งกนั และแกไ้ ขปัญหาทจี่ ะเกิดแก่มารดาและทารกได้ ปัจจัยด้านอายุของมารดาท่ี
น้อยหรอื มากมีผลต่อการตง้ั ครรภ์และการคลอดท้ังทางตรงและทางอ้อม เช่น การคลอดก่อนกาหนด วิธีการคลอด
น้าหนักทารกแรกเกิด การตายของมารดา และทารกตายปริกาเนิด เป็นต้น ปัญหาการต้ังครรภ์เหล่านี้ส่วนหนึ่ง
เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ในช่วงอายุท่ีไม่เหมาะสม และขาดการดูแลสุขภาพตนเองตลอดจนการ ปูองกันภาวะ
เสีย่ งต่าง ๆ ขณะต้ังครรภ์ ท้ังในเรื่องการฝากครรภเ์ รว็ และครบตามเกณฑ์ โภชนาการท่ีดี การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
โรค การออกกาลังกาย และ การพกั ผอ่ นเพอื่ ผอ่ นคลาย รวมไปถึงการดูแลสุขภาพจิตใจและการปรับตัวเพ่ือรับการ
เปล่ียนแปลงทั้งดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ และสงั คมเพื่อรองรบั บทบาทหน้าท่แี ละภาพลกั ษณใ์ หม่ที่จะเกิดข้ึน ปัจจัยต่าง
ๆ เหล่านล้ี ้วนส่งผลใหแ้ ม่และลูกปลอดภยั จากการตัง้ ครรภแ์ ละการคลอด เดก็ ได้รับการเล้ียงดูให้เจริญเติบโตและมี
พฒั นาการสมวัย เป็นเครอื่ งบง่ ชถี้ งึ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เด็กไทย การทเี่ ดก็ จะมีพฒั นาการสมวัยในทุกๆด้าน ต้อง
อาศยั ความร่วมมือของหลายๆฝุายท่ีเกี่ยวข้อง เร่ิมต้ังแต่แม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ถูกต้องตั้งแต่อยู่ใน
ครรภ์ โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณและสัดส่วนท่ีเพียงพอ การออกกาลังกาย การไปตรวจ
ครรภ์ตามนัด การคลอดอย่างปลอดภัย มีการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ การให้อาหารเสริมตามวัย ในส่วนของสถาน
บริการส่งเสริมสุขภาพและให้ความช่วยเหลือแม่และครอบครัวในรายที่ต้องการความช่วยเหลือ ซ่ึงครอบครัวและ
ชมุ ชนควรมีการจัดเตรียมความพร้อมและมีการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมแก่เด็ก รวมท้ังจัดให้มีสถานรับเลี้ยง
เด็กก่อนวัยเรียน หรือศูนย์เด็กเล็กเพื่อใช้เป็นสถานท่ีสาหรับการเตรียมความพร้อม ท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา
อารมณ์ และสงั คมใหแ้ กเ่ ดก็ เป็นการวางรากฐานในการพัฒนาคนให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณภาพต่อไปในภายหน้า
กรมอนามัยมีนโยบายมุ่งเน้นการดูแลสุขภาพตนเอง โดยการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (สมุดสีชมพู) การ
ฝากครรภค์ ุณภาพ ฝากครรภ์ครง้ั แรกอายคุ รรภน์ อ้ ยกวา่ 12 สัปดาห์ เนน้ การค้นหากลมุ่ เส่ยี ง ภาวะซดี ธาลสั ซีเมีย
ขาดสารไอโอดีน ปูองกันทารกแรกเกิดน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ลดการตายของมารดาและทารกในครรภ์ ตลอดจน
การส่งเสริมการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน พัฒนาและจัดบริการที่มีคุณภาพ
มาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเขา้ ถึงบรกิ ารได้

ผลการดาเนินการโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านมา ได้มีการประเมินมาตรฐานโรงพยาบาล
ผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับทอง ในปีงบประมาณ 2551-2558 ซ่ึงโรงพยาบาลของรัฐทุก
แหง่ ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานงานอนามยั แมแ่ ละเด็ก ระดับทอง และผ่านเกณฑป์ ระเมินซ้า ระดบั ทองทกุ 3 ปี

ผลลัพธ์ของการดาเนินงานจากการวเิ คราะห์สถานการณ์งานอนามยั แม่และเดก็ ของจงั หวดั
สพุ รรณบรุ ีใน ปี 2558 อัตราการฝากครรภก์ ่อน 12 สัปดาห์ (HDC) ร้อยละ 39.00 (เปูาหมายร้อยละ 60) พบว่า
อัตราการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ34.00 (เปูาหมาย ร้อยละ 60) การได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน
ร้อยละ 77.49 สาหรับผู้มาฝากครรภ์ เย่ียมหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 62.85 (เปูาหมายร้อยละ

65) ทารกแรกเกิดน้าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 9.00 (เปูาหมาย ร้อยละ 7) อัตราตายทารก 3.06:
1,000 , (ไม่เกิน 9: 1,000 การเกดิ ท้งั หมด) ทารกแรกเกดิ ขาดออกซิเจน 11.98: 1,000 (ไม่เกิน 25: 1,000 การ
เกิดมีชีพ) อัตราส่วนมารดาตาย 0.00 : 100,000 การเกิดมีชีพ (ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิดมีชีพแสนคน) ตก
เลือดหลังคลอด (ไม่เกินร้อยละ 5 ) ร้อยละ 1.17 ภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ จากการเจาะเลือดตรวจหา
ภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์ที่มาฝากครรภ์คร้ังแรก (Haematocrit<33%) ร้อยละ 16.49 (ไม่เกินร้อยละ
10) คร้ังท่ี 2 พบร้อยละ 7.47 สัดส่วนหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดสารไอโอดีน (ระดับไอโอดีนในปัสสาวะ < 150
ไมโครกรมั /ลิตร ในหญงิ ตง้ั ครรภท์ มี่ าฝากครรภค์ รั้งแรก ร้อยละ 60.07 (ไม่เกินรอ้ ยละ 50)

การคัดกรองความเสี่ยงในหญิงตง้ั ครรภ์ โรคธาลสั ซีเมีย มีการคดั กรองหญิงตง้ั ครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์
จานวน 7,417 ราย ตรวจคัดกรอง OF/MCV/ MCH/ DCIP จานวน 6,394 ราย ร้อยละ 86.21 (ไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 80) พบผล Positive 1,949 ราย ร้อยละ 30.48 คู่สมรสเสี่ยงธาลัสซีเมียได้รับการตรวจคัดกรอง จานวน
1,664ราย ร้อยละ 85.38 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72) สามีพบผล Positive 554 ราย ร้อยละ 33.29 มีคู่สมรส

เสยี่ งสง่ ตรวจ Hb Typing 445 คู่ ร้อยละ 95.29 คู่สมรสเสี่ยงได้รับการส่งตรวจ DNA analysis (PCR 1 และ
PCR β) ผิดปกติ 81 คู่ รอ้ ยละ 18.20 คสู่ มรสเส่ยี งทม่ี โี อกาสใหก้ าเนิดบตุ รทีเ่ ป็นโรคธาลัสซเี มียชนิดรุนแรง 39
คู่ รอ้ ยละ 48.15 หญงิ ต้ังครรภ์ที่เสี่ยงต่อบุตรในครรภ์เป็นโรคชนิดรุนแรงตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ 1 ราย สาเหตุ
จากHb Bart's hydropfetalis ส่วนรายท่ีไม่ยุติการต้ังครรภ์ 1) เนื่องจากผลการทา PND พบทารกในครรภ์เป็น
โรคชนิด β - thalassemia / Hb E (ชนิด low severity) ปัจจุบันทารกคลอดแล้ว ยังไม่พบอาการผิดปกติ 2)
หญงิ ตั้งครรภ์เสย่ี ง β - thalassemia / Hb E 2 รายมา ANC ช้าส่ง cord blood ตอนคลอดตามโครงการคู่เสี่ยง
ท่ี รพ.ศิริราช ผล normal typing 1 ราย รอผล 1 ราย 3) ผล PND เป็น β - thalassemia / Hb E 25% คู่
สมรสยนื ยันตัง้ ครรภต์ อ่ ขณะนี้ยังไมค่ ลอด

ทารกแรกเกดิ ได้รับการเจาะสน้ เท้าภายใน 48 ช่ัวโมง เพ่อื ค้นหาภาวะบกพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน
จานวน 7,922 ราย เป็นภาวะพร่องยังมีภาวะเส่ียงต่อการขาดสารไอโอดีนในระดับ Mild จากการตรวจซีร่ัม
TSH ในทารกแรกเกิดพบค่า TSH >11.25 mu/L จานวน 130 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.64 (ไม่เกินร้อยละ 3)
เรียกตรวจซีร่ัมซ้าเน่ืองจาก TSH >25 mu/L จานวน 10 รายร้อยละ 7.69 ทุกรายได้รับการเจาะเลือดซ้าเพ่ือ
ตรวจยืนยันไดร้ บั ฮอร์โมนรกั ษาและดแู ลตอ่ เนอื่ ง

หญิงคลอดท้ังหมด (รายงาน PHIMS) จานวน 7,533 ราย ฝากครรภ์ 7,455 ราย ไม่ฝากครรภ์ 78
ราย ไดร้ ับการตรวจ เอชไอวี ทกุ ราย ผลเลอื ด เอชไอวี บวก จานวน 43 ราย ได้ตรวจ CD4 จานวน 37ราย ไม่ได้
ตรวจ CD4 จานวน 6 ราย หญิงคลอดที่ฝากครรภ์ ผลเลือด เอชไอวีบวก 41รายได้รับยาต้านไวรัสสูตร HAART
เมื่อมีอาการหรือ CD4 เข้าเกณฑ์การรักษา จานวน 31 ราย ได้รับยาต้านไวรัสสูตร HAART เม่ือยังไม่เข้าเกณฑ์
การรกั ษา/ไมท่ ราบผล CD4 จานวน 7 ราย ได้รบั ยาสตู รอื่น ๆ ระยะตั้งครรภ/์ หรือระยะคลอด 1 ราย ไม่ได้รับยา
ต้านไวรัสใด ๆ ท้ังในระยะตั้งครรภ์และ/หรือระยะคลอด 2 ราย หญิงคลอดที่ไม่มาฝากครรภ์ 78ราย ผลเลือด
เอชไอวีบวก 2 รายไดร้ ับยา AZT ตวั เดียวระยะตง้ั ครรภ์และ/หรือร่วมกับ single-dose NVP จานวน 1 รายได้รับ
ยาสูตรอ่ืน ๆ ระยะต้ังครรภแ์ ละ/หรอื ระยะคลอด 1 ราย

การตรวจซิฟิลิสหญิงคลอดท้ังหมด 7,533 ราย ผลซิฟิลิส (VDRL) บวก 1 รายผลซิฟิลิส (VDRL) ลบ
7,532 ราย ทั้งมารดาและบุตรไดร้ บั การรกั ษาซิฟลิ สิ และติดตามอย่างต่อเน่ือง

ภาวะ Down syndrome มีแม่อยู่ในเกณฑ์เส่ียง จานวน 540 คน ได้รับการให้คาปรึกษา 532 ราย
คิดเป็นร้อยละ 98.52 ผลการตรวจน้าคร่าพบว่าเป็น Down syndrome (Trisomy21) 2 ราย คิดเป็นร้อยละ
0.37 สาเหตจุ ากแมอ่ ายุเกิน 35 ปี ปรึกษากับสตู แิ พทย์แล้วคสู่ มรสขอยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์

กลุ่มเด็ก 0-5 ปี ได้มีการคัดกรองพัฒนาการสมวัยในช่วง 4 กลุ่มอายุ คือ 9,18,30,42 เดือน มีเด็ก
จานวน 32,932 ราย ได้รับการตรวจพัฒนาการ 18,262 ราย คิดเป็นร้อยละ 55.45 พบเด็กท่ีมีปัญหา

พัฒนาการ สงสัยล้าช้า จานวน 1,864 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.21 เด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม
1,858 ราย ร้อยละ 99.68 เด็กที่ได้รับการตรวจพัฒนาการ 18,262 ราย สมวัย 16,395 ร้อยละ 89.78
แตเ่ นื่องจากการตรวจพฒั นาการเดก็ ทาโดยเจา้ หน้าท่ี ทาให้การติดตามตรวจพัฒนาการเด็กขาดความสม่าเสมอ ไม่
ตอ่ เนอ่ื งเพราะเจ้าหน้าที่มีหลายบทบาทหน้าที่ ทาให้การดูแลและติดตามการตรวจพัฒนาการไม่ครอบคลุม อีกทั้ง
อาชีพส่วนใหญ่ของคนในชุมชนเป็นอาชีพรับจ้าง พ่อแม่ไม่มีเวลาท่ีจะพาเด็กมารับการตรวจพัฒนาการตามท่ี
เจ้าหนา้ ท่นี ัดหมาย

ดงั นน้ั เพื่อเปน็ การแกไ้ ขปญั หาใหเ้ ดก็ 0 - 5 ปี ได้รบั การตรวจพฒั นาการครบทกุ รายและเป็นไปตามมาตรฐาน
ทางสานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรีจึงได้มีนโยบายให้ดาเนนิ การเชอ่ื มโยงเครือข่ายจิตอาสาดูแลพัฒนาการ
เด็กข้ึน เพื่ออบรมให้ความรู้แก่กลุ่มจิตอาสาท่ีพร้อมจะเข้าไปตรวจพัฒนาการเด็กตามชุมชน เป็นการบริการด้าน
สุขภาพแก่ประชาชนเชิงรุก โดยชุมชนเพื่อชุมชน เพ่ือคัดกรองหาเด็กท่ีมีพัฒนาการไม่สมวัย และส่งต่อให้ได้รับ
การกระตุ้นพัฒนาการอย่างเหมาะสม ให้เด็กในชุมชนเติบโตอย่างมีคุณภาพ มีความฉลาดท้ังด้านสติปัญญา
อารมณ์ สงั คม พร้อมทจ่ี ะเปน็ กาลังในการพฒั นาชุมชนและประเทศต่อไป

ปัญหาเชิงระบบการเข้าถึงบริการฝากครรภ์ สถานบริการทุกแห่งให้บริการตามนโยบายฝากท้องทุกท่ีฟรีทุก
สิทธิ สถานบริการระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลไม่สามารถให้บริการได้ตามมาตรฐาน ANC คุณภาพ
เน่ืองจากยังไม่มีความพร้อมด้านเครื่องมือ สถานท่ี และบุคลากรในบางแห่งยังไม่มีพยาบาลวิชาชีพ คลินิก ANC ใน
โรงพยาบาลแออัดไม่สะดวก ขาดการจัดบริการเชิงรุกและระบบการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในชุมชน สถาน
ประกอบการเอกชนยังขาดแนวทางท่ีเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพการค้นหาปัจจัยเสี่ยงและความผิดปกติ Early
detection ใน ANC, และการเฝูาระวังภาวะเสี่ยง (Warning sign) ขณะรอคลอดใน LR ทักษะการประเมิน
APGAR Score ของเจา้ หน้าทีย่ ังมคี วามแตกตา่ งกนั

จังหวัดสพุ รรณบุรี ได้ดาเนนิ การพัฒนาโรงพยาบาลของรัฐในพื้นท่ีจังหวัดสุพรรณบุรีทั้งหมด จานวน 10
แหง่ จนผา่ นเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลผา่ นเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับทอง ทุกแห่ง 10 แห่ง
และผ่านเกณฑป์ ระเมนิ ซา้ ทกุ 3 ปี ดงั ตารางที่ 1

ตางรางท่ี 1 แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ระดบั ทอง และการผ่านเกณฑ์
ประเมินซ้า (ระดบั ทอง)

หน่วยงาน/อาเภอ ผลการดาเนินงานผ่าน ผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ ซา้
เกณฑ์ ระดับทอง (แหง่ )

ปี 51 ปี 52 ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี ๕ ๘

1.โรงพยาบาลศนู ย์เจ้าพระยายมราช 1 0 01 0 0 1 580
2.โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองค์ 1 0 01 0 0 10
3ท่ี.โ1ร7งพยาบาลดา่ นชา้ ง
0 1 00 1 0 01

4.โรงพยาบาลบางปลาม้า 0 0 10 0 1 00

5.โรงพยาบาลศรีประจนั ต์ 0 1 00 1 0 01

6.โรงพยาบาลดอนเจดยี ์ 0 1 00 1 0 01

7.โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช 0 0 10 0 1 00

8.โรงพยาบาลสามชุก 0 1 00 1 0 01

9.โรงพยาลอทู่ อง 0 0 10 0 1 00

10.โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ 0 0 10 0 1 00


Click to View FlipBook Version