The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สพป.นครปฐม เขต2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suthirat.na, 2021-03-10 10:13:37

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สพป.นครปฐม เขต2

Keywords: PDCA,การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา



กข

คำนำ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่
6 สิงหาคม พ.ศ. 2561ได้กาหนดให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาทุกระดับ โดยประกาศกาหนดมาตรฐานการศึกษา
และประเด็นพิจารณารายมาตรฐานทั้งระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
จานวน 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและ
การจัดการ และมาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
เพ่ือใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดในการพัฒนา
สง่ เสริม สนับสนนุ กากบั ดูแล และตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ท้ังนี้ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นภาระงานปกติที่สถานศึกษา
ต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง โดยสถานศึกษาจะต้องมีการประเมินคุณภาพ
ตามมาตรฐานและการจัดทารายงานคุณภาพประจาปี (SAR) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จึงจัดทาโครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติท่ีเป็นรูปธรรมเพ่ิมข้ึนในสถานศึกษา และได้จัดทาคู่มือการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2564 เพ่ือใช้เป็นแนวทางการดาเนินงาน
ของสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะศึกษานิเทศก์และผู้ทรงคุณวุฒิท่ีสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 แต่งตั้งเพ่ือทาหน้าที่นิเทศ ช่วยเหลือ
แนะนาการพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาในสังกัด

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ขอขอบพระคุณ
คณะทางานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินโครงการรวมท้ังการจัดทาเอกสาร
คร้ังนี้จนสาเร็จลุล่วง และหวังว่าจะเป็นประโยชน์สาหรับการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาท่ีส่งผลต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดโดย
ลาดับต่อไป

(นายชาญกฤต นา้ ใจดี)
ผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2

สำรบญั ขค

คานา ก

สารบญั ข

บทท่ี 1 บทนา

 แนวคดิ ความสาคญั การประกันคณุ ภาพภายใน 1

 การดาเนนิ การตามระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา 3

 หลักการของการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา 7

บทท่ี 2 มาตรฐานการประกันคณุ ภาพภายใน

 มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาปฐมวยั 14

 มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 25

บทที่ 3 การดาเนนิ การขับเคล่ือน

 ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 39

 รปู แบบการนิเทศระบบประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 53

บทที่ 4 บทเรียนและเคร่ืองมือนิเทศ

 ระดบั สถานศึกษา 54

บทท่ี 5 สรุป บทเรียนและเคร่ืองมือนิเทศ

 ถอดบทเรยี นประกนั คุณภาพภายในสู่การประกันคุณภาพภายนอก 81

 เครอื่ งมือนเิ ทศการดาเนนิ งานระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 94

และการประกันแนวใหม่ของสถานศึกษา

 ตวั อย่าง การกาหนดตวั ช้วี ัด คาอธบิ ายคุณภาพ คา่ เป้าหมาย 100

มาตรฐานการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

ระดับการศกึ ษาปฐมวยั

 ตวั อยา่ งการกาหนดตวั ช้ีวดั คาอธิบายคณุ ภาพ คา่ เปา้ หมาย 114

มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

ภาคผนวก เอกสารดาวน์โหลดงานประกนั คณุ ภาพการศึกษา 134

 ขอ้ มลู และช่องทางการติดต่อสอบถาม 136

 คณะทางาน 137

1

บทท่ี 1

บทนำ
แนวคดิ ควำมสำคญั กำรประกนั คุณภำพภำยใน

ความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอย่าง
รวดเร็วทาให้สังคมโลกเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge based
society and economy) ทุนความรู้ (Knowledge capital) เป็นปัจจัยสาคัญในการผลิต
(Production factor) และขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจที่จะก่อให้เกิดผลผลิตทรัพย์สิน
ทางปัญญาและความสามารถในการแข่งขันกับนานาชาติ (Drucker,1998) จึงจาเป็นท่ีแต่ละ
ประเทศต้องเรียนรู้ท่ีจะปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงและเตรียมพร้อมท่ีจะเผชิญกับ
ความท้าทายจากกระแสโลก โดยปัจจัยสาคัญท่ีจะเผชิญการเปลี่ยนแปลงและความท้าทาย
ดังกล่าว คือ คุณภาพของคน การศึกษาจึงเป็นปัจจัยของการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ
การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นเร่ืองท่ีมีความจาเป็นอย่างย่ิง สิ่งท่ีสาคัญ
สถาบันการศึกษาต้องสร้างความเชื่อม่ันต่อสังคมว่าจะจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพการประกัน
คุณภาพการศึกษาเป็นกลไกและเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพราะเป็นระบบที่สามารถสร้างหลักประกันว่า การจัดการศึกษามีคุณภาพและได้มาตรฐาน
สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม และถือว่าการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง
เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การดาเนินงานประกันคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายเป้าหมาย และระดับคุณภาพมาตรฐานท่ี
กาหนดโดยสถานศึกษาหรือหน่วยงานต้นสังกัด ซ่ึงการประกันคุณภาพการศึกษาจะมี
ประสิทธิผลเมื่อได้มีการประเมินผลการดาเนินงาน และนาเอาผลการตรวจประเมินคุณภาพ
มาพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องตามวงจรคุณภาพ (Plan,Do,Check,Act)
รวมทั้งการทบทวนและการติดตามกระบวนการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา
อย่างใกล้ชดิ (สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา,2557)

2

การประกันคุณภาพภายในจะทาให้สถานศึกษามีการทางานที่มีเป้าหมาย
และมีแผนการดาเนินงานท่ชี ดั เจน โดยมีการประเมินคณุ ภาพภายในหรือการประเมิน
ตนเองเพ่ือตรวจสอบและพัฒนาปรับปรุงให้เป็นไปตามเป้าหมายอยู่ตลอดเวลา
การพัฒนาคุณภาพของเด็กและเยาวชน งานจะมีความก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพ
อย่างยั่งยืนก็ต่อเม่ือบุคลากรในสถานศึกษาพยายามมองตน มองงานอยู่เป็นนิจ
หากแต่ต้องมีระบบขนั้ ตอน ถา้ สถานศึกษาไม่มีการมองตนเองและพัฒนาตนเองแล้วก็
เป็นไปได้ยากทก่ี ารศึกษาและเยาวชนจะรับการพัฒนาให้มีคุณภาพ จึงมีความจาเป็น
ท่ีผู้บริหารและครูจะต้องร่วมประเมินตนเองและดาเนินการประกันคุณภาพภายใน
โดยมีเป้าหมายและแผนการดาเนินงานท่ีผู้บริหารและครูต้องร่วมกันคิดและร่วมกัน
ทา (รัฐพล ชุมวรฐายี, 2545) หลักการของการประกันคุณภาพ คือ การทางานอย่าง
ประกนั ว่าจะมคี ณุ ภาพ การบริหารอย่างประกนั ว่าจะมีคุณภาพ ดังน้ันงานท่ีทุกคนทา
ทาทุกวัน ต้องทาอย่างประกนั ว่าจะมีคณุ ภาพ น่ันคอื วัฒนธรรมคุณภาพในหน่วยงาน
ส่ิงเหล่านี้จะเกิดข้ึนต้องมาจากผู้นาหน่วยงานเป็นผู้ผลักดัน การประกันคุณภาพ
จงึ เปน็ เหมือนเคร่ืองมือของผู้นาหน่วยงานใช้ขับเคล่ือนเพื่อให้หน่วยงานมุ่งสู่คุณภาพ
ท่ีมีระดับดีขึ้นทุกๆ ปีการศึกษา (กมลพรรณ นามวงศ์พรหม,2550) ในการพัฒนา
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้เข้มแข็ง มีประสิทธิภาพและดาเนินการ
อย่างยง่ั ยืน ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในสถานศึกษาต้องมีการทางานท่ีมุ่งประโยชน์ที่จะเกิด
แก่ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมีความตระหนัก รับรู้ และเห็นคุณค่าของการทางานเป็น
ระบบ ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีการกาหนด
เป้าหมายและดาเนินกิจกรรม/โครงการที่ใช้ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมิน
คุณภาพจากองคก์ รภายนอกหรอื ผลการวจิ ยั ที่สถานศึกษาจดั ทาขึ้นเพ่ือแก้ปัญหาหรือ
พัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษาเอง เป็นฐานในการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน
การติดตามตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็นระยะจะช่วยให้งานบรรลุผลได้อย่างดี
และมีประสิทธิภาพ ผลท่ีเกิดกับผู้เรียนก็จะเป็นที่พึงพอใจกับผู้ปกครอง ชุมชน และ
องค์กรหรือสถานประกอบการที่รับช่วงต่อจากสถานศึกษา ด้วยการดาเนินงานที่
ทุกคนมีความรับผิดชอบร่วมกัน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาจะเป็น
ส่วนหน่ึงของการบริหารท่ีแท้จริง และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเป็นรูปแบบ
การทางานในสิง่ ท่ที าอยู่เป็นประจาของทุกคน เปน็ วัฒนธรรมขององค์กรที่ยึดคุณภาพ
ผู้เรยี นอย่างยัง่ ยนื

3

กำรดำเนินกำรตำมระบบกำรประกันคุณภำพกำรศกษำ

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 ได้กาหนดหลักการสาคัญ
ท่ีสถานศึกษาต้องดาเนินการ โดยสรุปในสองลักษณะซ่ึงมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ดังนี้

เป็นการดาเนินการตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาท่ีเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ โดยดาเนินการ
ดงั นี้

1) กาหนดเป้าหมาย จุดเน้น การพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้สอดคล้องกับ
สภาพปัจจุบัน/ปญั หาการจัดการศึกษาที่ผ่านมาอยา่ งครอบคลุมครบถ้วน

2) จัดทาเป็น“มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา”โดยทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง
มีส่วนร่วม

3) จัดทาแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปี ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และตรงตามจุดเน้น
ท่ตี ้องการพฒั นาอยา่ งแทจ้ รงิ

4) ดาเนินการพัฒนาตามแผนปฏิบัติการประจาปี ได้อย่างครบถ้วน และ
มีประสิทธิภาพ

5) จัดให้มีการประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา โดยใช้การประเมินแนวใหม่ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศกึ ษาเปน็ ระยะ อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 คร้ัง

6) จัดทารายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR)
ตามกรอบ “มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา” หลังสน้ิ ปกี ารศึกษา ได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ

เพื่อให้การดาเนินงานประกันคุณภ าพก ารศึกษาเป็นไปตา ม
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ดังนั้นสถานศึกษาใน
สังกัดทุกโรง ควรรู้และเข้าใจถึงแนวทางการดาเนินงานพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาและการรองรับการประเมนิ ภายนอก ดงั น้ี

4

1) สถานศกึ ษาแต่ละแห่งต้องจัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษาตาม กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยมี
การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
แต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมทั้ง
จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา และดาเนนิ การตามแผนที่กาหนดไว้ จดั ให้มีการประเมินผลและตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงานเพื่อพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมิน
ตนเอง (SAR) ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษา
เปน็ ประจาทุกปี

2) ต้ังแต่ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไปสถานศึกษาจะต้องนามาตรฐาน
การศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนดประกาศใช้ไปเทียบเคียงและจัดทาเป็น
“มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา” จัดทาแผนพฒั นาการจัดการศึกษา และจัดทา
SAR ตามกรอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แล้วจึงจัดส่ง SAR ให้หน่วยงาน
ต้นสงั กดั หรือหนว่ ยงานทกี่ ากบั ดูแลสถานศกึ ษา

3) เมื่อหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาได้รับ
SAR จากสถานศึกษากจ็ ะมีการสรุป วเิ คราะห์ สงั เคราะหผ์ ลการดาเนนิ งานและจัดส่ง
SAR พรอ้ มประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบให้แก่
สมศ. เพือ่ ใชเ้ ป็นขอ้ มูลและแนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก

4) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับ
คุณภาพตามมาตรฐานเป็นไปตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเช่ียวชาญ (expert
judgment) และการตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับ
เดียวกนั (peer review) โดยเทียบกับเกณฑ์หรอื มาตรฐานท่กี าหนดไว้คณะกรรมการ
ประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้านและวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในการตัดสินเพื่อให้
ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด ซึ่งจะไม่ใช่การให้คะแนนตามความคิดเห็นของ
คนใดคนหนง่ึ

5) การประเมินคณุ ภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องตรวจสอบ
และประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษาท่ีแท้จริง โดยให้ความสาคัญกับ
การประเมินเชิงคุณภาพ ผนวกกับการประเมินเชิงปริมาณควบคู่กันไป การตัดสิน

5

คุณภาพของสถานศึกษาให้ใช้เกณฑ์การให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการท่ีไม่แยก
ส่วนหรือแยกองค์ประกอบในการกาหนดคะแนนประเมิน แต่เป็นการประเมินใน
ภาพรวมของผลการดาเนนิ งานหรอื กระบวนการดาเนนิ งาน (holistic rubrics)

6) การกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานภายในของสถานศึกษา
ใ ห้ ส ถ า น ศึ ก ษ า ก า ห น ด เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต า ม ส ภ า พ บ ริ บ ท ข อ ง
สถานศึกษาเอง เพ่ือตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานตามภารกิจของ
สถานศึกษาโดยให้ยึดหลักการดาเนินงานเพ่ือพัฒนา และสะท้อนคุณภาพ
การดาเนนิ งานตามเป้าหมายท่กี าหนดตามมาตรฐานของสถานศึกษา

7) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เน้นการประเมินตาม
หลักฐาน เชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา
(evidence based) โดยเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีเหมาะสมและสะท้อน
คุณภาพการดาเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจนและมีเป้าหมาย
การประเมินเพ่ือการพัฒนาลดภาระการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารท่ีไม่จาเป็นใน
การประเมนิ แต่ข้อมูลต้องมีความน่าเช่ือถือและสามารถตรวจสอบผลการประเมินได้
ตามสภาพบรบิ ทของสถานศึกษานัน้ ๆ

8) คณะท่ีทาหน้าที่ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรศึกษา
มาตรฐานการศึกษาและประเด็นพิจารณาท่ีกาหนดให้เข้าใจถ่องแท้ก่อนดาเนินการ
ประเมินคุณภาพสถานศึกษาของตน หลังประเมินแล้วให้แจ้งผลการประเมินและให้
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา สรุปและเขียนรายงาน
การประเมนิ ตนเอง (self-assessment report)

9) ในการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้สถานศึกษา ดาเนินการโดยให้มีการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และในการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาใหใ้ ชว้ ธิ กี ารและเครือ่ งมือทหี่ ลากหลายและเหมาะสม

10) ให้สถานศึกษาสรุปและจัดทารายงานการประเมินตนเองท่ีสะท้อน
คุณภาพผู้เรียนและผลสาเร็จของการบริหารจัดการศึกษา นาเสนอรายงานต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหน่วยงานต้นสังกัด เผยแพร่รายงานต่อ
สาธารณชนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ต่อไป

6

11) โครงสร้างรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาไม่มีรูปแบบ
ตายตัว ให้สถานศกึ ษาจัดทาในส่งิ ทส่ี ถานศึกษาต้องการนาเสนอได้ ส่ิงสาคัญท่ีสุดของ
รายงานการประเมินตนเอง คือ กระบวนการพัฒนาคุณภาพซ่ึงหมายรวมถึงกิจกรรม/
โครงการ/งานที่สถานศึกษาดาเนินการที่จะสะท้อนให้เห็นถึงหลักการแนวคิดของ
ผู้บริหารสถานศึกษา การมีเป้าหมายหรือรูปแบบที่ชัดเจนในการพัฒนาการเรียน
การสอน ซึ่งทุกกิจกรรม/โครงการ/งานส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมาย
ของสถานศึกษา

ข้อควรปฏิบตั ขิ องกำรประเมินคณุ ภำพภำยในของสถำนศกษำ
1. ศึกษามาตรฐาน หลักเกณฑ์ วิธีการประเมิน วิธีการตัดสินระดับคุณภาพ

วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล รูปแบบการเขยี นรายงานการประเมินตนเอง
2. ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาล่วงหน้า เช่น รายงาน

การประเมินตนเองของหน่วยงาน ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ
หน่วยงานรอบปีท่ีผ่านมา พร้อมสรุปข้อเสนอแนะและทิศทางการพัฒนาหน่วยงาน
เพอ่ื เป็นขอ้ มลู ประกอบการประเมนิ

3. ผู้ประเมินมีความรับผิดชอบในงานท่ีได้รับมอบหมายและปฏิบัติงานเต็ม
ความรู้ ความสามารถของตนและรับฟังความคิดเห็นจากคณะผู้ประเมินที่ไปประเมิน
ดว้ ยกันไม่ควรถอื ความคิดของตนเองเปน็ หลกั

4. ใหข้ อ้ เสนอแนะท่ีชัดเจนต่อสถานศึกษาอย่างมีคุณคา่ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
5. เขียนรายงานการประเมินตนเองอย่างมีคุณค่ารวมท้ังเลือกใช้ภาษาที่
เหมาะสม ถูกตอ้ ง
6. แสวงหาความรู้ใหม่อยู่เสมอเพื่อให้เข้าใจบริบท เทคนิควิธีการจัด
การเรยี นการสอนแบบตา่ งๆ ทสี่ ถานศกึ ษานามาใช้
7. กาหนดระยะเวลาท่ีใช้ในการประเมินให้เหมาะสมตามสภาพ
การดาเนินงานของ สถานศึกษา และใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลตามสภาพจริง เช่น
การสอบถาม การสังเกต การสัมภาษณ์ ตรวจสอบเอกสารและช้ินงานเดิม เพื่อลด
การใชก้ ระดาษจานวนมาก
8. ไม่สร้างสร้างเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมเพ่ือรองรับการประเมินนอกเหนือ
จากเอกสารที่เป็นร่องรอยการดาเนนิ งานตามปกติ

(สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน,2560:61)

7

หลักกำรของกำรประกันคุณภำพภำยในของสถำนศกษำ
การพฒั นาองคค์ วามรูใ้ ห้กับผู้เก่ียวข้องกับมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
จะต้องดาเนินการชี้แจง หรือทาความเข้าใจให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความรู้
ความเข้าใจและปฏิบัติตามหลักการของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ได้อย่างชัดเจนในประเดน็ ดังตอ่ ไปน้ี

1. การประกันคุณภาพเป็นหน้าท่ีของบุคลากรทุกคนท่ีต้องปฏิบัติงาน
ตามภารกิจท่ีแตล่ ะคนได้รบั มอบหมาย

2. การประกันคุณภาพมุ่งพัฒนาการดาเนินงานตามความรับผิดชอบของ
ตนให้มีคุณภาพดีเพราะผลการพัฒนาของแต่ละคนคือผลรวมของการพัฒนา
ทง้ั สถานศกึ ษา

3. การประกันคุณภาพเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยให้เป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ทาเพื่อเตรียม
รบั การประเมนิ เป็นคร้งั คราวเทา่ น้นั

4. การประกันคุณภาพต้องเกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย
ท่เี กย่ี วข้องไม่สามารถวา่ จา้ งหรอื ขอใหบ้ ุคคลอ่นื ๆ ดาเนินการแทนได้

5. การประกันคุณภาพต้องเกิดจากการยอมรับและนาผลการประเมิน
คุณภ าพการ ศึกษาไป ใช้ ใน การ พั ฒ นาคุณภ าพการ จัด ก ารศึกษาของส ถาน ศึกษา

6. ให้สถานศึกษาประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา

เพือ่ ใหก้ ารดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง สิ่งท่ีจาเป็นต้องในการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา คือ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา เพ่ือเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาและเป็นเป้าหมาย สาคัญที่สุดท่ีผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องรับรู้และปฏิบัติงานในหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบให้บรรลุถึงเป้าหมาย
ตามมาตรฐานท่ีสถานศึกษากาหนดข้ึน ซ่ึงแนวทางดาเนินการพัฒนาระบบ
การประกนั คณุ ภาพในแตล่ ะขน้ั ตอนมรี ายละเอยี ด ดังน้ี

8

1. กำรกำหนดมำตรฐำนกำรศกษำของสถำนศกษำ ให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้
สถานศกึ ษาและผูเ้ กย่ี วข้องดาเนนิ การและถอื เปน็ ความรับผิดชอบร่วมกัน

ท้ังน้ี สถานศึกษาอาจกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ิมเติม
นอกเหนอื จากที่กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใชไ้ ด้ มแี นวทางการดาเนินงาน ดังน้ี

1. ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ว่าด้วยการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา ตามที่กฎกระทรวงประกาศใช้ โดยกิจกรรมที่จาเป็นต้อง
ปฏบิ ตั ใิ นขั้นนี้ คอื

1.1 ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของมาตรฐานชาติ
มาตรฐานสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานเขตพื้นที่
มาตรฐานหลกั สตู ร ศกึ ษาความต้องการจาเป็นและอ่ืนๆ ท่เี ก่ยี วข้อง

1.2 เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ
อยา่ งชดั เจน

1.3 กาหนดผู้รับผิดชอบ เช่น คณะกรรมการดาเนินการจัดทา
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบมาตรฐ าน/ตัวบ่งช้ี

2. พิจารณาสาระสาคัญท่ีจะกาหนดในมาตรฐานและตัวบ่งช้ีท่ีสะท้อน
อัตลักษณ์และมาตรการส่งเสริมของสถานศึกษา กิจกรรมท่ีจาเป็นต้องปฏิบัติ
ในข้ันน้ี คอื

2.1 ผู้มีส่วนเก่ียวข้องร่วมกันกาหนดจุดเน้น จุดเด่นที่สะท้อนอัตลักษณ์
และมาตรการสง่ เสรมิ ของสถานศกึ ษา

2.2 กาหนดมาตรฐานและตวั บ่งชี้ท่จี ะใชเ้ ป็นมาตรฐานของสถานศึกษา
2.3 ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
2.4 ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
3. กาหนดค่าเป้าหมายความสาเร็จของแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งช้ี
โดยได้รับความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
4. ประกาศค่าเป้าหมายความสาเร็จของแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งช้ี
โดยปฏิบัติดงั นี้
4.1 จัดทาประกาศค่าเป้าหมายความสาเร็จของแต่ละมาตรฐานและ
ตวั บง่ ช้ีโดยได้รับความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

9

4.2 ประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องท้ังภายในและภายนอกรับทราบ
โดยใชว้ ิธีการท่ีหลากหลาย

2. กำรจัดทำแผนพัฒนำกำรจัดกำรศกษำของสถำนศกษำ การจัดทาแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
จาเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความสาเร็จอย่างชัดเจน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษานนั้ สถานศกึ ษาและผเู้ กย่ี วข้องจะต้องรว่ มมือกนั ดาเนินงาน ดงั น้ี

1. ศกึ ษา วเิ คราะหส์ ภาพปัญหาและความต้องการจาเป็นของสถานศึกษา
2. กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นที่คุณภาพ
ผู้เรียนท่ีสะท้อน คุณภาพความสาเร็จอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยทุกฝ่ายมี
สว่ นรว่ ม
3. กาหนดวิธีดาเนินงานทุกโครงการ กิจกรรมท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน
และตวั บ่งชค้ี รอบคลมุ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมินผล
4. กาหนดแหลง่ เรยี นรู้และภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น
5. กาหนดบทบาทหน้าท่ีของผู้รับผิดชอบและร่วมดาเนินกิจกรรม
อย่างมีประสทิ ธิภาพ
6. กาหนดบทบาทหน้าทขี่ องผเู้ ก่ยี วขอ้ ง เชน่ ผ้ปู กครอง ชุมชน
7. กาหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
ให้สอดคล้องกบั กิจกรรม/โครงการ
8. เสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขนั้ พ้นื ฐานพจิ ารณาและลงนามให้ความเห็นชอบ
9. จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัด
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
10. กาหนดปฏิทนิ การนาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีสู่การปฏิบตั ิท่ีชดั เจน
11. เสนอแผนปฏิบัติการประจาปีต่อคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความ
เห็นชอบ

10

3. กำรดำเนินงำนตำมแผนพัฒนำกำรจัดกำรศกษำของสถำนศกษำ
การดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยครูประจาช้ัน/
ผู้รับผดิ ชอบงานโครงการ/กิจกรรม โดยปฏบิ ัตดิ ังน้ี

1. นาแผนปฏิบัติการประจาปีไปสู่การปฏิบัติตามกรอบระยะเวลา และ
กจิ กรรมโครงการท่ีกาหนดไว้

2. ผู้รบั ผดิ ชอบและผูเ้ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าท่ีและความ
รับผิดชอบตามที่ได้กาหนดอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด

4. กำรจัดให้มีกำรประเมินผลและตรวจสอบคุณภำพภำยในตำม
มำตรฐำนกำรศกษำของสถำนศกษำ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา โดยกาหนดผู้รับผิดชอบในการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา และกาหนดการประเมินผลและ
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
โดยวิธีการและเครื่องมือทห่ี ลากหลายและเหมาะสม การประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษามีแนวทางในการปฏบิ ตั ิดงั นี้

1. ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง โดยแต่งตั้ง
คณะกรรมการ อยา่ งนอ้ ย 3 คน

2. จัดทาเครื่องมือสาหรับประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่าง
หลากหลาย

3. ดาเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษา

5. กำรจัดให้มีกำรติดตำมผลกำรดำเนินกำรประเมินผลคุณภำพภำยใน
ตำมมำตรฐำนกำรศกษำของสถำนศกษำ ติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และนาผลการติดตามไปใช้
ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา มแี นวทางในการปฏบิ ัติดังน้ี

1. การกาหนดผู้รับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ระดบั สถานศึกษา

11

2. ดาเนินการติดตามตรวจสอบผลการดาเนินการประเมินผลคุณภาพ
ภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา
(โดยคณะกรรมการระดับสถานศกึ ษา)

3. จัดทารายงานเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องและนาผลการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาไปใช้วางแผนดาเนินงานปรับปรุงพัฒนา การบริหารจัดการและ
การจัดการเรยี นการสอน

4. เตรียมการรองรับการตรวจสอบและให้ความร่วมมือในการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาจากหน่วยงานตน้ สังกดั โดยเตรียมการเป็นระบบทั้งด้าน
ขอ้ มลู เอกสารหลกั ฐานรอ่ งรอยการดาเนินงานต่าง ๆ อยา่ งครบถ้วน ชัดเจน สมบูรณ์
โดยความรว่ มมอื ของผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง

6. กำรจัดทำรำยงำนประจำปี จัดทารายงานผลการประเมินตนเอง
(Self-Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษานาเสนอ
รายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ความ
เหน็ ชอบ และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นประจาทุกปี
การจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดย
รายงานผลทสี่ ะท้อนคณุ ภาพผู้เรียน และผลทีส่ ะท้อนให้เห็นภาพความสาเร็จของการ
บริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงมีแนวทางในการปฏิบัติตามลาดับข้ันตอน
ส่วนแนวการเขียนแต่ละส่วนสถานศึกษากาหนดได้เองแต่ผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา พัฒนาสถานศกึ ษาให้มีคณุ ภาพโดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมิน
ตนเอง (Self- Assessment Report : SAR) และตามคาแนะนาของสานักงานเขต
พ้ืนทก่ี ารศกึ ษาหรือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือให้การประกัน
คุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ต้องนาเสนอ
เปน็ รายมาตรฐานท่แี สดงใหเ้ ห็นถงึ เนื้อหาต่อไปน้ี

1. ผลจากการจัดการศึกษา หรือเรียกว่าผลการดาเนินงาน โดยนาเสนอ
ในรูปแบบของตาราง กราฟ แผนภาพ หรือการสรุปเน้ือหาสาระที่สาคัญของ
มาตรฐานนน้ั ๆ

2. กระบวนการจัดการศึกษา หรือกระบวนการพัฒนามาตรฐานน้ันๆ
ท่ีมงุ่ สู่เป้าหมายที่กาหนด เน้นการเขียนให้มีความกระชับ ชัดเจน และสื่อความหมาย
ใหเ้ ข้าใจงา่ ย

12

3. วิเคราะห์คุณภาพการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา ท่ีเป็นจุดเด่น
และจดุ ควรพัฒนาของมาตรฐานน้ันๆ

- จดุ เดน่ ของมาตรฐานน้นั ๆ ปจั จยั หรือกระบวนการท่ที าให้เกดิ จุดเด่น
- จุดควรพัฒนา ซึ่งเป็นจุดอ่อนในมาตรฐาน ปัญหาอุปสรรคที่ทาให้
ประเด็นพิจารณา/ มาตรฐานนั้นๆ มีคุณภาพไม่เป็นไปตามเป้าหมาย แนวทางแก้ไข
การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอยู่ท่ีเนื้องานของบุคลากรในโรงเรียนทุกคนต้องมี
จติ สานึกและความรับผิดชอบร่วมกันทุกคน โดยเร่ิมจากการทางานแบบ PDCA ของ
บคุ ลากร มกี ารประเมินตนเองพัฒนางาน เก็บงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผนงาน
ติดตาม ตรวจสอบ ปรับปรุง ต้องทาให้เป็นปัจจบุ ัน มีการเกบ็ ขอ้ มูลที่ใช้ในการทางาน
อย่างมีระบบและนาข้อมูลเหล่านี้ไปรวมเป็นสารสนเทศเพื่อใช้ในการเขียนโครงการ/
กิจกรรมวางแผนดาเนินงานตอ่ ไป

13

บทท่ี 2

มำตรฐำนกำรประกนั คุณภำพภำยใน

มาตรฐานการศึกษาเป็นจุดเร่ิมต้นของการพัฒนาและเป็นเป้าหมายสาคัญ
ที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทุกคนต้องรับรู้ และปฏิบัติงานในหน้าที่ท่ีรับผิดชอบให้
บรรลุถึงเป้าหมายคือมาตรฐานท่ีสถานศึกษากาหนดขึ้น การกาหนดให้มีมาตรฐาน
การศึกษาทาให้เกิดโอกาสที่เท่าเทียมกันในการพัฒนาคุณภาพเพราะสถานศึกษา
ทกุ แห่งรวู้ า่ เป้าหมายการพัฒนาที่แท้จริงอยู่ท่ีใด การกาหนดให้มีมาตรฐานการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาดาเนินการตามกรอบ
นโยบายการปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา เพ่ือใช้ในการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและเตรียมการ
สาหรับการประเมินคุณภาพภายนอกตามกรอบมาตรฐานการศึกษา เพื่อสร้าง
ความมั่นใจให้กับผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
มีคุณภาพได้มาตรฐานและคงรักษาไว้ ซึ่งมาตรฐานจากการดาเนินงานประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา

กำรดำเนินกำรตำมมำตรฐำนกำรศกษำ
เป็นการดาเนินการใน 3 ขั้นตอน คือ การกาหนดมาตรฐานการศึกษา

การพัฒนามาตรฐานการศึกษา และการประเมินมาตรฐานการศึกษา การกาหนด
มาตรฐานการศึกษาจึงเน้นที่คุณภาพผู้เรียน คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา และ
คุณภาพครู มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ และข้อกาหนดใน
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561

มาตรฐานการศึกษาในแต่ละระดับ กำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ของมาตรฐานมี 5 ระดับ คือ ระดับกาลังพัฒนา ระดับปานกลาง ระดับดี ระดับ
ดีเ ล ิศ แ ล ะ ร ะ ดับ ย อ ด เ ยี่ย ม โดยใช้มาตรฐ านการศึกษาตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษฉบับลงวั นท่ี
6 สงิ หาคม พ.ศ. 2561 เป็นพน้ื ฐานในการจดั การศึกษาทง้ั 2 ระดบั ประกอบดว้ ย

14

มำตรฐำนกำรศกษำระดับปฐมวยั

มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั พ.ศ. 2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เป็นสำคญั
รำยละเอยี ดแตล่ ะมำตรฐำน มีดงั น้ี
มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของเด็ก
1.1 มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสัยทด่ี ี และดแู ลความปลอดภัย
ของตนเองได้
1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
1.3 มพี ัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ีดขี องสงั คม
1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และ
แสวงหาความร้ไู ด้

คำอธิบำย
มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของเดก็
ผลพฒั นาการเด็กในดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสตปิ ัญญา

1.1 มพี ฒั นำกำรด้ำนรำ่ งกำย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยทด่ี ี และดแู ลควำม
ปลอดภยั ของตนเองได้

เด็กมีน้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลื่อนไหวร่างกาย
คล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพอนามัย
ส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเก่ียวกับความปลอดภัย
หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และ
สถานการณท์ เ่ี สีย่ งอันตราย

1.2 มีพัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทำงอำรมณไ์ ด้
เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม รู้จักยับยั้ง

ชัง่ ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเอง
และผู้อื่น มีจิตสานึกและค่านิยมท่ีดี มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ช่วยเหลือ
แบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม

15

จริยธรรมตามท่ีสถานศึกษากาหนดช่ืนชมและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และ
การเคลือ่ นไหว

1.3 มีพัฒนำกำรดำ้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมำชกิ ท่ีดีของสังคม

เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน มีวินัยในตนเอง
ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน
มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้ิม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับ
ผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด
พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทางาน
รว่ มกับผ้อู ื่นได้ แกไ้ ขข้อขัดแย้ง โดยปราศจากการใชค้ วามรนุ แรง

1.4 มีพัฒนำกำรด้ำนสติปัญญำ สื่อสำรได้ มีทักษะกำรคิดพื้นฐำน และ
แสวงหำควำมรู้ได้

เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเร่ืองให้ผู้อื่นเข้าใจ ต้ังคาถามในสิ่งที่
ตนเองสนใจหรือสงสัย และ พยายามค้นหาคาตอบ อ่านนิทานและเล่าเร่ืองที่ตนเอง
อ่านได้เหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล
ทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ การคิดแกป้ ญั หาและสามารถตดั สนิ ใจในเร่ืองง่ายๆ
ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหว
ท่าทาง การเล่นอิสระ เป็นต้น และใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้อง
ดจิ ิตอล เป็นตน้ เป็นเครือ่ งมอื ในการเรียนรูแ้ ละแสวงหาความร้ไู ด้

ระดับ ประเด็นพิจำรณำ
คุณภำพ

กาลังพัฒนา  มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคมและ
ปานกลาง สตปิ ญั ญายงั ไม่บรรลตุ ามเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด

 มพี ัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จติ ใจ สงั คมและ
สติปัญญายังไมบ่ รรลตุ ามเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด

 มีการจัดประสบการณ์การเรียนรตู้ ามหลกั สูตรและมี
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสรมิ ในการพัฒนาเด็กทีย่ งั ไม่
บรรลตุ ามเป้าหมายทีส่ ถานศึกษากาหนด

16

ระดบั ประเดน็ พจิ ำรณำ
คุณภำพ

ดี  มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกายอารมณ์จิตใจสงั คม
และสติปญั ญาบรรลุตามเปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด

ดเี ลิศ  มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกายอารมณ์จติ ใจสังคม
และสตปิ ญั ญาบรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด

 มีการจดั ประสบการณ์การเรยี นร้ตู ามหลกั สูตรและ
มแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเสริมในการพัฒนาเด็กอยา่ ง
เป็นระบบและต่อเนื่อง

ยอดเย่ยี ม  มพี ฒั นาการด้านร่างกาย อารมณจ์ ติ ใจ สงั คมและ
สตปิ ัญญาบรรลตุ ามเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด
มคี วามพร้อมในการศึกษาระดบั ประถมศึกษา

 มีการจัดประสบการณ์การเรียนร้ตู ามหลักสตู รและ
มแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสรมิ ในการพฒั นาเดก็
อย่างเป็นระบบและตอ่ เนื่อง

 มีส่วนรว่ มของพ่อแม่ครอบครัว ชุมชน และทกุ ฝ่าย
ทีเ่ ก่ยี วข้องในการสง่ เสริมพัฒนาการของเด็ก

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร
2.1 มีหลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น สอดคล้องกับบรบิ ทของ

ท้องถิ่น
2.2 จดั ครใู ห้เพยี งพอกบั ชั้นเรียน
2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่อื การเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ
2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพื่อสนับสนนุ

การจดั ประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบริหารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ ก่ียวข้องทุกฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม

17

คำอธบิ ำย
มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร

สถานศึกษาดาเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาท่ีครอบคลุม
ด้านวิชาการ ด้านครูและบุคลากร ด้านข้อมูลสารสนเทศ ด้านสภาพแวดล้อมและ
สื่อเพื่อการเรยี นรู้ และดา้ นระบบประกนั คุณภาพภายใน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้อง
ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีการกากับติดตามการดาเนินงานอย่างเป็น
ระบบและต่อเนือ่ ง เพ่ือสร้างความม่นั ใจต่อคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพฒั นำกำรท้ัง 4 ด้ำน สอดคล้องกับบริบทของ
ท้องถิ่น

สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดยสถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ท่ีเตรียม
ความพร้อมและไม่เร่งรัดวิชาการ เน้นการเรียนรู้ ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ
ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
และสอดคล้องกบั วิถชี ีวิตของครอบครวั ชุมชนและทอ้ งถน่ิ

2.2 จดั ครใู ห้เพยี งพอกบั ชั้นเรียน
สถานศกึ ษาจัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการสอนหรือ

จัดครูที่จบการศึกษาปฐมวัยหรือผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัยอย่างพอเพยี งกับ
ชนั้ เรียน

2.3 ส่งเสรมิ ให้ครูมคี วำมเช่ียวชำญด้ำนกำรจดั ประสบกำรณ์
พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์

และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมิน
พัฒนาการเด็ก ใช้ประสบการณ์สาคัญในการออกแบบ การจัดกิจกรรม มีการสังเกต
และประเมินพัฒนาการเดก็ เป็นรายบุคคล มปี ฏสิ ัมพันธท์ ี่ดกี ับเดก็ และครอบครวั

2.4 จัดสภำพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือกำรเรียนรู้ อยำ่ งปลอดภัยและเพียงพอ
ส ถ าน ศึ กษ า จัด ส ภ า พแ ว ดล้ อม ภ าย ใ นแ ล ะ ภ าย น อก ห้อ ง เรี ย น

ที่คานึงถึงความปลอดภัย ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบ
ร่วมมือร่วมใจ มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีส่ือการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือ
นิทาน ส่ือจากธรรมชาติ สื่อสาหรับเด็กมุดลอด ปีนป่าย ส่ือเทคโนโลยี ส่ือเพื่อ
การสืบเสาะหาความรู้

18

2.5 ให้บริกำรสื่อเทคโนโลยีสำรสนเทศและส่ือกำรเรียนรู้เพ่ือสนับสนุน
กำรจัดประสบกำรณ์ สำหรับครู

สถานศึกษาอานวยความสะดวก และให้บริการสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศ วัสดุ และอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาครู

2.6 มรี ะบบบรหิ ำรคณุ ภำพทเ่ี ปิดโอกำสใหผ้ ูเ้ กยี่ วขอ้ งทุกฝำ่ ยมีสว่ นร่วม
สถานศกึ ษากาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้อง

กับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ท่ีสถานศึกษากาหนดจัดทาแผนพัฒนา
การศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรบั กับมาตรฐานที่สถานศึกษากาหนดและดาเนินการ
ตามแผน มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผล
การดาเนินงานและจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี นาผลการประเมิน
ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย
มสี ่วนรว่ มและจดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หนว่ ยงานต้นสังกัด

ระดบั ประเด็นพิจำรณำ
คุณภำพ
กาลังพัฒนา  มีหลักสูตรสถานศึกษาทไ่ี ม่ยืดหยุน่ ไม่สอดคล้องกับ
หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยและบรบิ ทของท้องถ่นิ
ปานกลาง
 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพ แต่ไม่สง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพ
ดี เด็กปฐมวัย

 มีหลักสูตรสถานศึกษาทยี่ ดื หยนุ่ สอดคล้องกับหลักสตู ร
การศกึ ษาปฐมวัยและบรบิ ทของท้องถิ่น

 มีระบบบรหิ ารคุณภาพ แต่ไม่ส่งผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพ
เดก็ ปฐมวยั

 มีหลกั สูตรสถานศึกษาท่ียืดหยุ่น สอดคลอ้ งกบั หลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวัยและบรบิ ทของท้องถน่ิ

 จดั ครูใหเ้ พียงพอและเหมาะสมกับช้นั เรยี น

ระดบั 19
คุณภำพ
ประเดน็ พจิ ำรณำ
ดี
 มีการสง่ เสริมให้ครมู ีความเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์
ดีเลิศ ทสี่ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพเด็กเป็นรายบุคคล

 จดั สภาพแวดล้อมอยา่ งปลอดภยั และมสี อ่ื เพ่อื การเรยี นรู้
อยา่ งเพยี งพอและหลากหลาย

 ให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อ
สนับสนนุ การจดั ประสบการณเ์ หมาะสมกบั บรบิ ทของ
สถานศึกษา

 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่สี ง่ ผลต่อ
คุณภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาและเปิดโอกาส
ให้ผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม

 มกี ารประเมนิ และพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้อง
กบั หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั และบรบิ ทของทอ้ งถ่ิน

 จัดครใู ห้เพยี งพอและเหมาะสมกับชั้นเรยี น
 มีการส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์

ที่สง่ ผลต่อคุณภาพเด็กเป็นรายบคุ คลตรงความต้องการของครู
และสถานศึกษา
 จัดสภาพแวดลอ้ มอย่างปลอดภยั และมสี ่ือเพอื่ การเรียนรู้
อยา่ งเพียงพอและหลากหลาย
 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน
การจัดประสบการณ์เหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศึกษา
 มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาการชีแ้ นะ
ระหวา่ งการปฏิบัติการปฏิบัติงานท่ีส่งผลต่อคุณภาพมาตรฐาน
ของสถานศกึ ษาบรู ณาการการปฏิบัติงานและเปิดโอกาสให้
ผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม

20

ระดบั ประเดน็ พิจำรณำ
คุณภำพ
 มกี ารประเมนิ และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ
ยอดเย่ียม หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั และบริบทของทอ้ งถนิ่

 จดั ครใู หเ้ พียงพอและเหมาะสมกบั ชน้ั เรยี น
มีการสง่ เสริมให้ครูมีความเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์
ที่ส่งผลต่อคณุ ภาพเด็กเป็นรายบุคคลตรงความต้องการของครู
และสถานศึกษาและจัดให้มีชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพจดั
สภาพแวดล้อมอย่างปลอดภยั และมีสอ่ื เพ่อื การเรียนรู้
อย่างเพียงพอและหลากหลาย

 ให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นรู้เพื่อ
สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์เหมาะสมกับบรบิ ทของ
สถานศกึ ษา

 มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษาทีเ่ หมาะสมและ
ต่อเนอ่ื งมีการช้ีแนะระหว่างการปฏิบัตงิ านส่งผลตอ่ คุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษาบูรณาการการปฏิบตั งิ านและ
เปดิ โอกาสให้ผ้เู กี่ยวขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีสว่ นร่วมจนเปน็ แบบอย่างท่ีดี
และไดร้ ับการยอมรบั จากชุมชนและหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง

21

มำตรฐำนที่ 3 กำรจัดประสบกำรณท์ ่เี นน้ เดก็ เป็นสำคญั
3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล

เต็มศกั ยภาพ
3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่าง

มีความสุข
3.3 จดั บรรยากาศทเี่ อ้ือตอ่ การเรยี นรูใ้ ชส้ ื่อและเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวยั
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพัฒนาการ

เด็กไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์และพัฒนาเดก็

คำอธิบำย
มำตรฐำนท่ี 3 กำรจัดประสบกำรณท์ เ่ี น้นเดก็ เปน็ สำคัญ

ครูจดั ประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ รู้จัก
เด็กเป็นรายบุคคลและสร้างโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและ
ลงมือกระทาผ่านประสาทสัมผัส จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้ส่ือและ
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย มีการติดตามและประเมินผลพัฒนาการเด็กอย่างเป็น
ระบบ

3.1จัดประสบกำรณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนำกำรทุกด้ำนอย่ำง
สมดุลเตม็ ศักยภำพ

ครวู เิ คราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล จัดทาแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมท่ีส่งเสริม
พัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้าน
สติปญั ญา ไม่มุง่ เนน้ การพัฒนาดา้ นใดดา้ นหนงึ่ เพยี งด้านเดยี ว

3.2 สร้ำงโอกำสให้เด็กได้รับประสบกำรณ์ตรง เล่น และปฏิบัติ
อยำ่ งมีควำมสุข

ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทา
กิจกรรมอย่างอิสระตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อ
วิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่น เรยี นรู้ ลงมือ กระทา และสรา้ งองคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเอง

22

3.3 จัดบรรยำกำศที่เอ้ือต่อกำรเรียนรู้ ใช้ส่ือ และเทคโนโลยีที่
เหมำะสมกบั วัย

ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพ้ืนที่แสดงผลงานเด็ก
พ้ืนที่สาหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่ว นร่วมในการจัด
สภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ เป็นต้น ครูใช้ส่ือและ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น
กลอ้ งดจิ ิตอล คอมพวิ เตอร์สาหรบั การเรียนร้กู ลุม่ ยอ่ ย ส่ือของเล่นท่ีกระตุ้นให้คิดและ
หาคาตอบ เป็นต้น

3.4 ประเมินพัฒนำกำรเด็กตำมสภำพจริง และนำผลกำรประเมิน
พัฒนำกำรเดก็ ไปปรบั ปรุงกำรจดั ประสบกำรณแ์ ละพฒั นำเด็ก

ครปู ระเมนิ พัฒนาการเดก็ จากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวันด้วยเคร่ืองมือและ
วิธีการท่ีหลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบ วิเคราะห์ผล การประเมินพัฒนาการเด็ก
โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วม และนาผลการประเมินท่ีได้ไปพัฒนา
คุ ณ ภ า พ เ ด็ ก แ ล ะ แ ล ก เ ป ล่ี ย น เ รี ย น รู้ ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ

ระดบั ประเด็นพจิ ำรณำ
คุณภำพ

กาลัง  จัดประสบการณ์ทสี่ ่งเสรมิ ให้เดก็ มีพฒั นาการ
พัฒนา ด้านร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา ไม่สมดลุ

ปานกลาง  ไม่สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรงเล่นและปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมอยา่ งอสิ ระตามความต้องการ ความสนใจและ
ความสามารถของเด็ก

 จัดประสบการณท์ สี่ ่งเสรมิ ให้เดก็ มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย
อารมณจ์ ิตใจ สังคม และสตปิ ัญญาอยา่ งสมดุล

 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณต์ รง เล่น และปฏบิ ัติ
กิจกรรมอย่างอสิ ระตามความตอ้ งการ ความสนใจ และ
ความสามารถของเด็ก

23

ระดับ ประเด็นพิจำรณำ
คุณภำพ
 จัดประสบการณ์ทสี่ ง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการด้านร่างกาย
ดี อารมณจ์ ิตใจสังคม และสตปิ ัญญาอย่างสมดุลเต็มศกั ยภาพ
ของเด็กเปน็ รายบุคคล
ดีเลิศ
 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รงเล่นและปฏิบัติ
กจิ กรรม เรยี นร้ลู งมือทาและสร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเองอย่าง
มีความสุข

 จดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในห้องเรียนท่ีเอ้ือตอ่ การ
เรียนรู้ใชส้ อื่ และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วยั

 จัดครปู ระเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ ด้วยวิธีการท่ี
หลากหลาย โดยผูป้ กครองและผูเ้ กีย่ วข้องมีส่วนร่วม
นาผลการประเมินที่ได้ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และ
พฒั นาเดก็

 จัดประสบการณ์ที่สง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย
อารมณ์จิตใจสังคม และสติปัญญาอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
โดยความรว่ มมือของพ่อแม่ และครอบครัว ชุมชน และ
ผู้เก่ียวขอ้ ง

 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณต์ รงเลน่ และปฏิบัติ
กิจกรรม เรียนรลู้ งมือทาและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอยา่ ง
มคี วามสขุ

 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนทเ่ี ออื้ ตอ่ การ
เรยี นรู้โดยเดก็ มสี ่วนร่วมใชส้ ่ือและเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย

 ครูประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงดว้ ยวธิ กี ารที่
หลากหลาย โดยผู้ปกครองและผเู้ ก่ยี วข้องมีส่วนรว่ ม
นาผลการประเมนิ ทไ่ี ด้ไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์และ
พัฒนาเดก็

24

ระดับ ประเดน็ พจิ ำรณำ
คุณภำพ
 จดั ประสบการณ์ทสี่ ง่ เสรมิ ให้เดก็ มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย
ยอดเยยี่ ม อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญาอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
โดยความรว่ มมือของพ่อแม่และครอบครัวชมุ ชนและ
ผ้เู กย่ี วข้อง และเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี

 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ัติ
กิจกรรม เรยี นรูล้ งมือทาและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
อยา่ งมีความสขุ

 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนทเ่ี อ้ือตอ่
การเรยี นรูโ้ ดยเดก็ มสี ว่ นร่วม ใชส้ ื่อและเทคโนโลยที ี่เหมาะสม
กับวัย

 ครปู ระเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ ด้วยวิธกี ารที่
หลากหลาย โดยผูป้ กครองและผูเ้ กี่ยวข้องมสี ่วนรว่ มนา
ผลการประเมินทไ่ี ด้ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และ
พฒั นาเด็ก

25

มำตรฐำนกำรศกษำระดบั กำรศกษำขัน้ พนื้ ฐำน

มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2561 มีจานวน
3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน

1.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั

รำยละเอยี ดแตล่ ะมำตรฐำน มีดงั น้ี
มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของผู้เรียน
1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคานวณ

2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา

3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม
4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
5) มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชีพ
1.2 คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผ้เู รยี น
1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมทีด่ ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด
2) ความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม

คำอธิบำย
มำตรฐำนที่ 1 ด้ำนคณุ ภำพผู้เรียน

ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี เ ป็ น คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผู้ เ รี ย น ท้ั ง ด้ า น ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์
ทางวิชาการ ประกอบด้วยความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิด
คานวณ การคิดประเภทต่างๆ การสร้างนวัตกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ

26

การส่ือสาร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร การมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและ
เจตคติท่ีดีต่อวิชาชีพ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่เป็นค่านิยมที่ดีตามที่
สถานศึกษากาหนด ความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทยการยอมรับท่ีจะอยู่
ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย รวมท้ังสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม

1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ ำงวชิ ำกำรของผเู้ รียน
1) มีควำมสำมำรถในกำรอำ่ น กำรเขยี น กำรส่ือสำร และกำรคิด

คำนวณ
ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ

ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากาหนดในแต่ละระดบั ชั้น
2) มีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ

อภปิ รำยแลกเปลี่ยนควำม คดิ เห็น และแกป้ ัญหำ
ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ

ไตรต่ รอง พจิ ารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปราย
แลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอยา่ งมเี หตุผล

3) มีควำมสำมำรถในกำรสรำ้ งนวตั กรรม
ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตัวเองและ

การทางานเป็นทีม เช่ือมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์
ส่ิงใหมๆ่ อาจเปน็ แนวความคดิ โครงการ โครงงานช้นิ งาน ผลผลติ

4) ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรส่อื สำร
ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสอื่ สารเพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน
อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม

5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรียนตำมหลกั สูตรสถำนศกษำ
ผู้เรียนบรรลุและมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตร

สถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ
รวมทง้ั มีความกา้ วหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบอน่ื ๆ

6) มคี วำมรู้ ทกั ษะพน้ื ฐำน และเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ งำนอำชีพ
ผู้เรียนมคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานในการจดั การ เจตคติท่ดี ีพร้อมทจี่ ะศึกษา

ต่อในระดับช้ันทสี่ ูงขึน้ การทางานหรอื งานอาชพี

27

1.2 คณุ ลกั ษณะที่พงประสงคข์ องผูเ้ รยี น

1) มีคุณลักษณะและคำ่ นิยมท่ดี ตี ำมท่สี ถำนศกษำกำหนด

ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา

มคี า่ นยิ มและจิตสานึกตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม

อนั ดีของสงั คม

2) มคี วำมภูมิใจในทอ้ งถิน่ และควำมเปน็ ไทย

ผู้เรยี นมคี วามภูมิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วม

ในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและประเพณไี ทย รวมทง้ั ภูมิปญั ญาไทย

3) ยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกันบนควำมแตกต่ำงและหลำกหลำย

ผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ

วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี

4) มสี ขุ ภำวะทำงรำ่ งกำย และจติ สังคม

ผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม และ

แสดงออกอย่างเหมาะสม ในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข

เข้าใจผ้อู ่ืน ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อนื่

ระดับ ประเดน็ พจิ ำรณำ
คุณภำพ

กาลงั 1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น

พฒั นา  ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สารและ

การคิดคานวณต่ากวา่ เป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด

 ผ้เู รียนมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา

ตา่ กวา่ เป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด

1.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น

 ผู้เรียนมีคุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ตี า่ กว่าเปา้ หมายท่ี

สถานศึกษากาหนด

 ผูเ้ รยี นมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคมต่ากวา่ เป้าหมายท่ี

สถานศึกษากาหนด

28

ระดบั ประเด็นพจิ ำรณำ
คุณภำพ

ปานกลาง 1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผ้เู รียน
ดี
 ผู้เรยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารและ
การคดิ คานวณ เปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด

 ผ้เู รียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
เปน็ ไปตามเป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด

1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรียน

 ผเู้ รยี นมคี ุณลักษณะและค่านิยมทีด่ เี ป็นไปตามเป้าหมาย
ทสี่ ถานศึกษากาหนด ผเู้ รยี นมีสุขภาวะทางร่างกายและ
จติ สงั คมเปน็ ไปตามเปา้ หมายทสี่ ถานศึกษากาหนด

1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น

 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสารและ
การคดิ คานวณเปน็ ไปตาม เป้าหมายทีส่ ถานศกึ ษากาหนด

 ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด

 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์คิดอย่างมี
วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น ความคดิ เห็น และ
แก้ปญั หาได้

 ผเู้ รียนมคี วามรแู้ ละทักษะพ้ืนฐานในการสร้างนวตั กรรม

 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ
การส่อื สารเพื่อพฒั นาตนเองได้อย่างเหมาะสมปลอดภยั

 ผู้เรียนมคี วามรู้ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชพี
1.2 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรยี น

 ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะและค่านิยมทดี่ ีเป็นไปตามเป้าหมายท่ี
สถานศกึ ษากาหนด

ระดับ 29
คุณภำพ
ดเี ลิศ ประเดน็ พจิ ำรณำ

ยอดเยย่ี ม 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผ้เู รยี น
 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สารและ
การคดิ คานวณสงู กวา่ เปา้ หมายทสี่ ถานศึกษากาหนด
 ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาสูง
กวา่ เปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด
 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์คดิ อย่างมี
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี น ความคิดเห็น และ
แก้ปญั หาได้
 ผูเ้ รียนมีความร้แู ละทกั ษะพื้นฐานในการสร้างนวตั กรรม
 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สารเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคมในด้าน
การเรยี นรู้ การส่ือสาร การทางาน
 ผู้เรยี นมคี วามรูท้ ักษะพ้นื ฐาน และเจตคติท่ดี ีพร้อมทีจ่ ะศึกษา
ต่อในระดับชัน้ ท่สี งู ข้นึ และการทางานหรืองานอาชีพ

1.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน
 ผู้เรยี นมีคุณลักษณะและคา่ นิยมทีด่ สี งู กวา่ เปา้ หมายท่ี
สถานศึกษากาหนด

1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น
 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและ
การคดิ คานวณ สูงกวา่ เป้าหมายทีส่ ถานศึกษากาหนด
 ผ้เู รียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา
สูงกวา่ เปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด
 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์คดิ อย่างมี
วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยใชเ้ หตุผล
ประกอบการตัดสนิ ใจ และแก้ปัญหาได้

ระดับ 30
คุณภำพ
ยอดเย่ียม ประเด็นพจิ ำรณำ

 ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
มีการนาไปใช้และเผยแพร่

1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผูเ้ รียน
 ผู้เรียนมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอ่ื สารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสงั คมในดา้ นการเรียนรู้
การสื่อสาร การทางานอย่างสรา้ งสรรคแ์ ละมีคุณธรรม
 ผู้เรยี นมีความรทู้ กั ษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีพร้อมที่จะ
ศึกษาต่อในระดบั ช้นั ท่สี ูงขึ้นและการทางานหรืองานอาชีพ
 ผเู้ รยี นมีคุณลักษณะและคา่ นิยมท่ีดีสูงกว่าเปา้ หมายที่
สถานศึกษากาหนดเปน็ แบบอย่างได้
 ผเู้ รยี นมคี วามภูมิใจในท้องถ่ิน เหน็ คุณคา่ ของ
ความเปน็ ไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรม
ประเพณแี ละภูมิปัญญาไทย
 ผเู้ รียนสามารถอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและ
หลากหลายผู้เรียนมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคมสูง
กวา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศึกษากาหนด

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร
2.1 มีเปา้ หมายวิสัยทศั น์และพันธกิจทีส่ ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม

หลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กล่มุ เป้าหมาย
2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชพี
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัด

การเรียนรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการบริหาร

จัดการและการจัดการเรยี นรู้

31

คำอธิบำย
มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร

เป็นการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
มีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกจิ อย่างชัดเจน สามารถดำเนินงาน
พ ัฒ น า ว ิช า ก า ร ที่ เ น ้น ค ุณ ภ า พ ผู ้เ ร ีย น ร อ บ ด ้า น ต า ม ห ล ัก ส ูต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น
ทุกกลุ่มเป้าหมาย จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาดำเนินการพัฒนา
ครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การและการเรียนรู้ รวมทงั้ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
และสงั คมที่เอือ้ ต่อการจดั การเรยี นรู้

2.1 มเี ป้ำหมำย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจท่สี ถำนศกษำกำหนดชัดเจน
สถานศึกษากาหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจ ไวอ้ ย่างชัดเจน

สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์
ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาล และของต้นสังกัดรวมทั้ง
ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของสงั คม

2.2 มรี ะบบบริหำรจดั กำรคุณภำพของสถำนศกษำ
สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

อย่างเป็นระบบทั้งในส่วนการวางแผน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำ
แผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบ ประเมนิ ผล
และปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอตั รากำลัง ทรัพยากรทาง
การศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนำข้อมูล
มาใช้ในการพฒั นาบุคลากรและผู้ทเี่ กยี่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน ปรับปรุง
และพฒั นา และรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา

2.3 ดำเนินงำนพัฒนำวิชำกำรทเี่ น้นคุณภำพผู้เรียนรอบด้ำน
ตำมหลักสูตรสถำนศกษำและ ทุกกลุ่มเปำ้ หมำย

สถานศึกษาบริหารจัดการเกยี่ วกับงานวิชาการ ทงั้ ด้านการพัฒนา
หลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เช่ือมโยงวิถีชีวิตจริง
และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย หมายรวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มท่ี
เรยี นแบบควบรวมหรอื กลุม่ ท่ีเรียนร่วมดว้ ย

32

2.4 พัฒนำครูและบุคลำกรให้มีควำมเชี่ยวชำญทำงวชิ ำชีพ
สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญ

ทางวิชาชีพ และจัดให้มีชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี มาใช้ในการพัฒนางานและ
การเรียนรขู้ องผ้เู รียน

2.5 จัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสงั คมทเี่ ออ้ื ต่อกำรจดั กำรเรียนรู้
ส ถ า น ศึ ก ษ า จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ท า ง ก า ย ภ า พ ท้ั ง ภ า ย ใ น แ ล ะ

ภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้
และมคี วามปลอดภัย

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่ือสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำรและ
กำรจัดกำรเรียนรู้

สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการ เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพ
ของสถานศึกษา

ระดบั ประเดน็ พิจำรณำ
คุณภำพ
กาลังพฒั นา  เปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพันธกิจท่สี ถานศกึ ษากาหนด
ไมช่ ดั เจน
ปานกลาง
 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาแต่ไม่ส่งผล
ดี ตอ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

 เป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพันธกิจท่สี ถานศึกษากาหนด
ชัดเจนเปน็ ไปไดใ้ นการปฏิบตั ิ

 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาทีส่ ง่ ผลต่อ
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

 เปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกิจทส่ี ถานศึกษากาหนด
ชัดเจนสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศึกษาเปน็ ไปได้
ในการปฏบิ ตั ิ

 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษาทีช่ ัดเจน
สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ระดบั 33
คณุ ภำพ
ประเด็นพจิ ำรณำ
ดเี ลศิ
 ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเี่ น้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น
ตามหลักสตู รสถานศึกษา และทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ
 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อตอ่

การจดั การเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ
 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ าร

จัดการและการจดั การเรียนรู้

 มเี ปา้ หมายวิสัยทศั น์และพันธกิจท่สี ถานศึกษากาหนด
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาความต้องการ
ชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศกึ ษาแห่งชาติเป็นไปได้
ในการปฏบิ ตั ิ

 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาทชี่ ัดเจน
มีประสทิ ธิภาพ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศึกษา โดยความร่วมมอื ของผเู้ กี่ยวข้องทุกฝา่ ย

 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการทีเ่ น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลกั สตู รสถานศึกษา และทุกกลมุ่ เปา้ หมาย เชอื่ มโยง
กบั ชวี ติ จรงิ

 พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความตอ้ งการของครแู ละสถานศึกษา

 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้ือต่อการ
จดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ และมีความปลอดภยั

 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบรหิ าร
จดั การและการจัดการเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมกบั สภาพของ
สถานศึกษา

34

ระดบั ประเดน็ พจิ ำรณำ
คุณภำพ
ยอดเยยี่ ม  มเี ป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนด
ชดั เจน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาความต้องการ
ชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติเป็นไปได้
ในการปฏบิ ตั ทิ ันต่อการเปล่ยี นแปลง

 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาท่ีชัดเจน
มีประสทิ ธภิ าพ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา โดยความรว่ มมอื ของผเู้ กย่ี วข้องทุกฝา่ ย
มกี ารนาข้อมูลมาใชใ้ นการปรับปรงุ พฒั นางานอยา่ ง
ตอ่ เนื่องและเป็นแบบอย่างได้

 ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเี่ น้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลมุ่ เป้าหมาย เชือ่ มโยง
กบั ชวี ติ จรงิ และเป็นแบบอยา่ งได้

 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพตรง
ตามความต้องการของครแู ละสถานศกึ ษา และจัดให้มี
ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี เพ่ือพัฒนางาน

 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อตอ่ การ
จัดการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย

 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหาร
จดั การและการจดั การเรยี นรูท้ ่เี หมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา

มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไป

ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้
3.2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ี่เออื้ ต่อการเรียนรู้
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก

35

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนา
ผู้เรียน

3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุง
การจัดการเรียนรู้

คำอธบิ ำย
มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั

เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของ
หลักสูตรสถานศึกษา สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด
และปฏิบัติจริงมีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดี ครูรู้จัก
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและ
นาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาผลท่ีได้มาให้ข้อมูล
ป้อนกลับเพอ่ื พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้

3.1 จัดกำรเรียนรู้ผ่ำนกระบวนกำรคิดและปฏิบัติจริง และสำมำรถนำไป
ประยกุ ต์ใชใ้ นกำรดำเนนิ ชีวิต

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของ
หลักสตู รสถานศกึ ษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
มีแผนการจัดการเรียนรู้ทีส่ ามารถนาไปจดั กิจกรรมได้จริง มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้
เฉพาะสาหรับผูท้ ่ีมีความจาเปน็ และตอ้ งการความช่วยเหลือพเิ ศษ ผ้เู รียนได้รับการฝึก
ทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงานและสามารถ
นาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้

3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ำรสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี ออื้ ตอ่ กำรเรียนรู้
มีการใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมท้ัง

ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา
ความร้ดู ว้ ยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย

3.3 มกี ำรบรหิ ำรจัดกำรชน้ั เรยี นเชิงบวก
ครูผู้สอนมกี ารบรหิ ารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการการมีปฏิสัมพันธ์

เชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรักท่ีจะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้
ร่วมกนั อย่างมีความสขุ

36

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่ำงเป็นระบบ และนำผลมำพัฒนำ

ผู้เรียน

มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น

ระบบ มีข้ันตอนโดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับ

เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้

พัฒนาการเรียนรู้

3.5 มีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุงและ

พัฒนำกำรจดั กำรเรียนรู้

ครูและผู้มีส่วนเกี่ยว ข้องร่ว มกันแลกเปลี่ยนคว ามรู้ และ

ประสบการณ์รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการ

จัดการเรยี นรู้

ระดบั ประเด็นพจิ ำรณำ
คุณภำพ

กาลังพฒั นา  จดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีไมเ่ ปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นได้ใช้กระบวนการ

คดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ

 ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่ไม่เอ้ือต่อ

การเรียนรู้

 ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอยา่ งไม่เปน็ ระบบ

ปานกลาง  จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริงตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ตวั ช้วี ดั ของหลักสูตรสถานศกึ ษา

และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต

 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรทู้ ี่เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้

 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและ

นาผลมาพฒั นาผ้เู รยี น

ดี  จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ ตาม

มาตรฐานการเรยี นรู้ตัวชีว้ ดั ของหลักสูตรสถานศึกษา

และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ

ระดบั 37
คุณภำพ
ประเดน็ พิจำรณำ
ดีเลิศ
ดีเลศิ  ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ เี่ อ้อื
ตอ่ การเรียนรู้
ยอดเยี่ยม
 มีการบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก
 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและ

ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้
 จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริงตามมาตรฐาน

การเรยี นรู้ตวั ชว้ี ัดของหลกั สตู รสถานศึกษา
 มีแผนการจัดการเรยี นร้ทู ่สี ามารถนาไปจดั กิจกรรมไดจ้ รงิ

และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตได้
 ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้รู วมทั้งภมู ปิ ัญญา

ท้องถ่ินทีเ่ ออื้ ต่อการเรียนรู้
 ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบ มขี ้นั ตอน

โดยใชเ้ ครอื่ งมือและวธิ ีการวัดและประเมินผลทเี่ หมาะสม
กับเป้าหมายในการจัดการเรยี นรใู้ หข้ ้อมลู ย้อนกลบั แก่ผเู้ รียน
และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น
 มีการบริหารจัดการชัน้ เรียนเชงิ บวก เด็กรกั ท่ีจะเรยี นรู้
และเรยี นรู้ร่วมกนั อยา่ งมีความสขุ
 มชี มุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพระหวา่ งครูเพื่อพฒั นา
และปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้
 จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง
ตามมาตรฐานการเรียนร้ตู ัวช้วี ัดของหลักสูตรสถานศึกษา
 มีแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่สามารถนาไปจดั กจิ กรรมไดจ้ รงิ และ
สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ไดม้ นี วตั กรรมใน
การจดั การเรียนรู้และมีการเผยแพร่

38

ระดบั ประเด็นพิจำรณำ
คุณภำพ
 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้รวมทั้ง
ยอดเยีย่ ม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินที่เอื้อต่อการเรยี นรู้โดยสรา้ งโอกาสให้
ผ้เู รยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง

 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ มขี ัน้ ตอน
โดยใชเ้ คร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสม
กบั เป้าหมายในการจดั การเรยี นรู้ ใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั
แกผ่ ู้เรยี น และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น

 มีการบริหารจดั การช้ันเรยี นเชิงบวกเดก็ รกั ทจ่ี ะเรียนรู้และ
เรียนรู้ร่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ

 มชี มุ ชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชีพระหวา่ งครูและผเู้ กีย่ วข้อง
เพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรูค้ รแู ละผูเ้ กยี่ วข้อง
มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับ
เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้

39

บทที่ 3

แนวปฏิบัตกิ ำรดำเนินงำน
ระดับสำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศกษำประถมศกษำนครปฐม เขต 2

บทบำทหนำ้ ท่ี
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ในฐานะ

หน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษา กาหนด นโยบายช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน
และตรวจสอบติดตามให้สถานศึกษาได้พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
โดยบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต้นสงั กัด พอสรุปได้ดงั น้ี

(1) สร้างจิตสานึกและค่านิยมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาให้เกิดแกบ่ ุคลากรทุกฝา่ ยในหน่วยงาน

(2) ประกาศนโยบาย/ทิศทางและเป้าหมายในการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษาของระดับหน่วยงานตน้ สงั กัดและระดบั สถานศึกษา

(3) กาหนดมาตรการในการสนับสนุนและช่วยเหลือผลักดัน
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้ประสบความสาเร็จ สามารถดาเนินการอย่าง
เป็นระบบและต่อเน่อื ง โดยเฉพาะมาตรการทางดา้ นงบประมาณและบคุ ลากร

(4) กากับ ติดตามการดาเนินงานของหน่วยงานในสังกัดท้ังในส่วนของ
การเตรียมการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพจาก
ภายนอก

4.1 ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษาตลอดจนให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาสถานศึกษา เพ่ือให้
การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาแตล่ ะแห่งพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง

4.2 จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self- Assessment Report : SAR) พร้อมกับประเด็นทต่ี อ้ งการให้มีการประเมินผล
และติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กับสถานศึกษา ไปยังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ.
เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมลู และแนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก

40

4.3 ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาสถานศึกษา เพื่อให้
การประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาพฒั นาอย่างต่อเนื่อง

4.4 ติดตามผลการดาเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ตามข้อเสนอแนะของสานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพ่ือนาไปสู่การพัฒนา
คณุ ภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

4.5 ใหค้ วามรว่ มมือกบั สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ.ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานท่ี
ไดร้ บั การรบั รองจากสานกั งานเพ่อื การประเมนิ คุณภาพภายนอก

4.6 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา อาจมอบหมายบุคคล
ที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตรับฟังหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการประเมิน
คุณภาพภายนอกดว้ ยกไ็ ด้

(5) ให้ขวัญกาลังใจแก่สถานศึกษาทุกแห่งที่ได้ร่วมกันพัฒนาระบบ
การประกนั คุณภาพการศึกษา

(6) ดาเนินการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
(7) นาผลการตรวจสอบและทบทวนไปใช้และจัดทารายงานคุณภาพ
การศึกษาเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกดั ผู้เก่ียวข้องและสาธารณชน

 ระบบกำรประกันคุณภำพภำยใน
เป็นเรอ่ื งเดียวกับกระบวนการบริหารงานอย่างมีคุณภาพหรือวงจร PDCA

จะไม่แยกจากการทำงานปกติของสถานศึกษา แต่จะเป็นระบบทผ่ี สมผสานอยู่ใน
กระบวนการบริหารและจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาท่เี กดิ ข้ึนประจาวัน

หลกั การสาคญั ของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามี 3ประการคือ
- จุดมุ่งหมายของการประกันคุณภาพภายใน คือ การที่สถานศึกษา

ร่วมกันพัฒนาปรับปรุง คุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา โดยเป้าหมาย
สาคัญอย่ทู ีก่ ารพฒั นาคุณภาพใหเ้ กดิ ขนึ้ กับผ้เู รยี น

- การท่ีจะดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามจุดมุ่งหมายการประกัน
คณุ ภาพภายในต้องทาใหก้ ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการ
บริหารจัดการและการทางานของบุคลากร ทุกคนในสถานศึกษาไม่เป็นกระบวนการ
ที่แยกส่วนมาจากการดาเนินงานตามปกติของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาจะต้อง

41

วางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการที่มีเป้าหมายชัดเจน ทาตามแผนตรวจสอบ
ประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบที่มีความโปร่งใสและ
มจี ติ สานกึ ในการพัฒนาคุณภาพการทางาน

- การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู อาจารย์และบุคลากรอื่น ๆ ในสถานศึ กษาโดยใน
การดาเนินงานจะต้องให้ผู้เก่ียวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน เขตพื้นท่ีการศึกษา หรือ
หน่วยงานท่ีกากับดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วางแผน ติดตาม
ประเมินผลพัฒนาปรับปรุง ช่วยกันคิด ช่วยกันทา ช่วยกันผลักดันให้สถานศึกษา
มีคุณภาพ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพเป็นไปตามความต้องการของ
ผู้ปกครอง สงั คม และประเทศชาติ

การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพก็คือกระบวนการ
บริหารเพ่ือพัฒนาคุณภาพตามหลักการบริหาร โดยการควบคุมคุณภาพ คือ การที่
สถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผน (Planning) และดาเนินการตามแผน (Doing)
เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา
ส่วนการตรวจสอบคุณภาพ คือ การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันตรวจสอบ (Checking)
เพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา
เม่ือส ถาน ศึกษามีการตร วจสอบตน เองแล้วห น่วย งานในเขตพื้ น ที่การ ศึกษาแล ะ
ตน้ สังกดั กเ็ ข้ามาชว่ ยตดิ ตามและประเมินคณุ ภาพเพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือในการพัฒนา
ปรับปรุงสถานศึกษา (Action) ซึ่งจะทาให้สถานศึกษามีความม่ันใจ และเกิดความ
ตน่ื ตวั ในการพฒั นาคุณภาพอยู่เสมอ

การดำเนินการประกันคุณภาพภายในควรมีการเตรียมการเพื่อสรา้ ง
ความพร้อมให้แก่บุคลากรและจัดให้มีกลไกในการดำเนินงานในเร่ืองน้ี หลังจากนั้น
บุคลากรทุกคนในสถานศึกษาและผเู้ ก่ียวข้องจึงร่วมกันวางแผน ร่วมกันปฏิบัติ
ร่วมกันตรวจสอบและร่วมกันปรับปรุง ข้ันตอนการดำเนินงานทั้งหมดและ
มแี นวทางการดำเนนิ งานในแตล่ ะข้ันตอนดังนี้

42

ขน้ั วำงแผนกำรปฏบิ ัติงำน ( P )
1. กาหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษา
2. จัดระบบบริหารและสารสนเทศเป็นฐานการพฒั นา
3. เตรียมความพรอ้ มของบุคลากร โดยสรา้ งความตระหนกั

และพฒั นา ความรูแ้ ละทกั ษะเก่ียวกับการประกนั คณุ ภาพภายใน
4. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการรบั ผดิ ชอบ
5. จดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา / แผนปฏิบตั ิการประจาปี

ขน้ั ดำเนินกำรตำมแผน ( D )
1. จดั ทาปฏิทินการปฏิบตั ิงานตามแผน
2. ส่งเสรมิ ให้มกี ารดาเนนิ งานตามแผน

ขั้นตรวจสอบประเมนิ ผล ( C )
- จดั ทาเครือ่ งมือในการเกบ็ ขอ้ มลู เชน่ แบบทดสอบ การสังเกต

พฤติกรรม
- ประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
- จัดเก็บขอ้ มูล/ วเิ คราะห์ / แปลความหมาย
- ตรวจสอบปรับปรงุ คณุ ภาพการประเมิน

ข้ันกำรนำผลกำรประเมินมำปรับปรงุ ( A )
- นาผลการประเมินมาปรับปรุงการทางาน/การดาเนินโครงการ
- วเิ คราะห์จุดเด่น จุดด้วย จัดทาสารสนเทศเพอ่ื วางแผนในปตี ่อไป

ข้ันกำรรำยงำน (RE)
5. จัดทารายงานประเมนิ ตนเองหรือรายงานประจาปีและจดั ใหม้ ี
การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง
- รวบรวมผลการดาเนนิ งานและผลการประเมิน
- วิเคราะหต์ ามมาตรฐาน เขยี นรายงาน

43

ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการบริหารและการทำงานนั้น ผู้บริหารจะต้องมีการทำงานเป็นทีม
โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องได้รับการเตรียมความพร้อมให้มองเห็น
คุณค่า และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา และดาเนินการอย่างต่อเนื่องร่วมกับทุกฝา่ ยท่ีเกี่ยวข้องทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษาโดยมีการตดิ ตามและกากับดูแลการดำเนินการประกันคุณภาพ
ภายในอย่างเป็นระบบ มแี นวทางในการดาเนินการ ดังน้ี

1. การปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยสถานศึกษา
กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีเก่ียวกับคุณลักษณะคุณภาพของ
สถานศกึ ษาทพ่ี งึ ประสงค์ เปน็ การสง่ เสรมิ กากับดูแลระบบการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับ
การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

2. การประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาแต่งตั้ง
คณะกรรมการหรือคณะทางานประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา โดยมีเครื่องมือการประเมินตามมาตรฐาน ตัวบ่งช้ีท่ีมีคุณภาพนาผล
การประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปใช้และพัฒนา
สาหรับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ท่ีอยู่ในระดับปรับปรุงจะต้องนามาแก้ไขปรับปรุงตาม
ระยะเวลาที่เหมาะสมทีผ่ ู้ปฏบิ ัติไดก้ าหนดไว้

3. การรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา สถานศึกษาสรุปผลการประเมินและเขียนรายงานผลการประเมิน
คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือนาไปวางแผนการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาตอ่ ไป

รายละเอียดการปฏิบัติในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ
การศึกษาทั้งระบบประเมินคุณภาพภายในและภายนอก มดี ังนี้

ก า ร ก า ห น ด ร ะ บ บ แ ล ะ ก ล ไ ก ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ชั ด เ จ น ใ น
การปฏิบัติงานตลอดจนการวางแผน การปฏิบัติงานให้เกิดความต่อเนื่องใน
การดาเนินงานและมีคุณภาพเดมมิ่งได้กาหนดแนวทางการดาเนินงานท่ีมีคุณภาพ
ครบวงจร (PDCA) ที่มีลักษณะการดาเนินงานเป็นวงจรต่อเน่ือง ประกอบด้วย
การวางแผน (Plan) ปฏิบตั ติ ามแผน (Do) ตรวจสอบผลการดาเนินงานตามมาตรฐาน

44

การศึกษา (Check) และพัฒนาปรับปรุงอยู่เสมอ (Act) โดยมีรายละเอียดของแต่ละ
ข้ันตอน ดังน้ี

1. ขน้ั กำรวำงแผนกำรปฏิบตั ิงำน (P : PLAN)
1.1 กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
- มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย
- มาตรฐานการศกึ ษาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
1.2 การใช้สารสนเทศของโรงเรียนท่ีมีความเป็นปัจจุบันเป็นฐาน

การพัฒนา
1.3 กาหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมายจากมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา
1.4 กาหนดแนวทางการดาเนินงาน วธิ ีการประเมินตวั บง่ ช้คี วามสาเร็จ
1.5 การเตรยี มความพร้อมของบุคลากรทุกคน
1.5.1 ทาความเข้าใจกับบุคลากรทุกคนในองค์กรเก่ียวกับ

การประเมินคณุ ภาพภายในถงึ ประเดน็ ท่สี าคัญ ๆ เชน่
- การประกนั คุณภาพภายในคืออะไร
- การประเมินคุณภาพคอื อะไร
- การประเมินคุณภาพภายในมีความสาคัญต่อการพัฒนา

อย่างไร
- ข้ันตอนการประเมนิ คุณภาพเปน็ อย่างไร

1.5.2 เน้นย้ากับบุคลากรในการให้ความร่วมมือ การตอบคาถาม
หรือการสัมภ าษณ์โ ดยยึดหลักการตอบตามสิ่งท่ีปฏิบัติจริงและ ผลที่เกิดขึ้นจริ ง

1.5.3 เน้นย้าให้บุคลากรทุกคนตระหนักว่าการประเมินคุณภาพคือ
ภารกิจประจาของทุกคนที่ต้องรว่ มมือกนั ทาอยา่ งต่อเน่ือง

1.5.4 สร้างความตระหนักบุคลากรทุกคนในองค์กรตระหนักถึง
คุณค่าของการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาและการทางานเปน็ ทีม

1.5.5 พัฒนาความรู้ ทักษะเก่ียวกับการดาเนินการประกันคุณภาพ
ภายใน และการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา และตัวบ่งช้ีโดย
เนน้ เน้อื หา และแนวทางการปฏบิ ัตดิ งั น้ี

45

- การกาหนดกรอบมาตรฐานการประเมนิ
- การสรา้ งเครอ่ื งมือประเมินตามมาตรฐาน
- การเก็บรวบรวมข้อมูล
- การวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากผลการประเมิน
- การเขียนรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน
1.6 การแต่งต้ังคณะกรรมการหรือคณะทางานด้านการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษาเพ่ือร่วมกันรับผิดชอบในการประสานงาน กากับ ดูแล
ช่วยเหลือสนับสนุนให้ทุกฝ่ายทางานร่วมกันเป็นทีม ซ่ึงคณะกรรมการหรือ
คณะทางานควรจะประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษา
รวมไปถงึ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้มสี ่วนเกีย่ วขอ้ งกบั สถานศึกษา
1.7 กาหนดระยะเวลาและทรัพยากรท่ีต้องใช้สาหรับการจัดทาแผนของ
สถานศึกษา
1.8 เตรยี มเครื่องมือท่ีใช้ในการประเมิน และวางแผนการเกบ็ ข้อมูล
1.9 จัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
- แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา (รวมท้งั แผนงบประมาณ)
- แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี
- แผนการจดั การเรยี นการสอน
2. ข้ันกำรดำเนินกำรตำมแผน (D : DO) ในขั้นน้ีเป็นการศึกษามาตรฐาน
การศกึ ษา และตัวบ่งช้ี ซง่ึ มแี นวปฏิบัติ ดงั น้ี
2.1 ให้การส่งเสริม สนับสนุน ให้บุคลากรทางานอย่างมีความสุข
โดยจดั สิ่งอานวยความสะดวก สนับสนุนทรพั ยากรเพอ่ื การปฏบิ ตั ิ
2.2 กากับ ตดิ ตามการทางานใหเ้ ปน็ ไปตามแผนท่วี างไว้
2.3 ให้การนเิ ทศ แนะนา ปรึกษา
2.4 การใชช้ มุ ชนวชิ าชีพเพอ่ื การปรับปรุงพัฒนา ต่อยอด
3. กำรตรวจสอบผลกำรดำเนินงำนตำมมำตรฐำนกำรศกษำ (C : CHECK)
มีแนวทางการปฏิบตั ิ
3.1 วางกรอบการตรวจสอบผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา
3.2 สรา้ งเคร่ืองมือที่จะใชใ้ นการประเมิน

46

3.3 กาหนดวิธีการประเมินตัวบ่งช้ีความสาเร็จตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา

3.4 กาหนดเกณฑ์การประเมินตัวบ่งช้ีตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษา

3.5 วางแผนการเก็บข้อมลู
3.6 วางแผนการวเิ คราะห์/สรปุ และรายงานผล
3.7 ดาเนินการตรวจสอบผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
3.8 สรุปการตรวจสอบการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
4. กำรนำผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยในมำปรบั ปรุง (A : ACT)
มีแนวทางการปฏิบัตดิ ังน้ี
4.1 นาผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษามา
วิเคราะห์วางแผนการแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานในส่วนท่ีเป็นจุดที่ควรพัฒนา
และไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมายมาตรฐานการศึกษาตามแนวทางทส่ี ถานศึกษาเลือกใช้
4.2 วางแผนการปฏิบัติงานในระยะต่อไป โดยการตรวจสอบผลการ
ดาเนินงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายท่ีต้องการบรรลุผลหรือไม่ ซ่ึงเป็นการย้อนกลับไป
ดาเนินการตามขั้นตอนที่ 1 ใหม่ เพ่ือนาไปวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานในระยะ
ต่อไป สาหรับงาน/กิจกรรม/โครงการใดท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาให้พฒั นาการปฏบิ ัติงานให้มีประสทิ ธิภาพดยี ่งิ ข้นึ ตอ่ ไป
5. ข้นั จัดทำรำยงำนผลกำรประเมนิ (RE : REPORT)
เมื่อสถานศึกษาดาเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาเสร็จแล้ว จะต้องจัดทารายงานการประเมินคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาพร้อมสรุปจุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนา
ของสถานศึกษา (รายงานประจาป)ี ใหห้ น่วยงานตน้ สังกัดผเู้ กี่ยวข้องและสาธารณชนทราบ

47

การดาเนินงานระบบประกนั คุณภาพภายใน สามารถอธบิ ายได้ตามแผนภาพนี้


Click to View FlipBook Version