The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สพป.นครปฐม เขต2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suthirat.na, 2021-03-10 10:13:37

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สพป.นครปฐม เขต2

Keywords: PDCA,การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

48

แผนการดาเนนิ งาน : ระบบประกันคุณภาพภายในการศึกษาของ
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2 ประจาปี 2564 ดงั นี้

ระยะเวลำ

ท่ี กจิ กรรม ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ผู้รบั
1 (ต.ค.- 2 (ม.ค.- 3 (เม.ย.- 4 (ก.ค.- 1 (ต.ค.- 2 (ม.ค.- 3 (เม.ย.- ผดิ ชอบ
1 สร้างความรู้ ธ.ค.63) มี.ค.64) มิ.ย.64) ก.ย.64) ธ.ค.64) ม.ี ค.65) มิ.ย.65)
ความเข้าใจแก่
สถานศึกษา เร่ือง ธ.ค.63 กลุ่ม
การประกันคณุ ภาพ นิเทศ
การศึกษา และ ติดตามฯ
การประเมนิ แนว สพป.นฐ.
ใหม่ ใหก้ ับผ้บู รหิ าร เขต 2
โรงเรียน และครู

2 สถานศกึ ษาทบทวน ธ.ค. 63 สถาน
ตรวจสอบ ศึกษา
การดาเนินงานตาม
ระบบการประกัน
คุณภาพการศกึ ษา

3 นเิ ทศ ตดิ ตาม ธ.ค. 63 ถึง มี.ค. 64 สพป.
ตรวจสอบคณุ ภาพ ธ.ค.63 ถึง ม.ี ค. 64 นฐ.เขต 2
การศึกษาของ
สถานศึกษา - สถาน
ศกึ ษา
4 สถานศกึ ษา จดั ให้มี - คณะ
การประเมินผล กรรม
การดาเนนิ งาน และ การท่ี
ตรวจสอบคุณภาพ ไดร้ บั
ของสถานศกึ ษาตาม การ
Time line / ปฏทิ นิ แต่งตงั้
เปน็ ระยะท้งั ระหว่าง
ปีการศึกษาและ
สิ้นปกี ารศึกษา
โดยแตง่ ตง้ั
คณะกรรมการ
ตรวจสอบประเมิน
จากหลายฝ่ายตาม
แนวทาง
การประเมิน
แนวใหม่

49

ระยะเวลำ

ที่ กิจกรรม ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ผ้รู บั
1 (ต.ค.- 2 (ม.ค.- 3 (เม.ย.- 4 (ก.ค.- 1 (ต.ค.- 2 (ม.ค.- 3 (เม.ย.- ผดิ ชอบ
ธ.ค.63) ม.ี ค.64) มิ.ย.64) ก.ย.64) ธ.ค.64) มี.ค.65) ม.ิ ย.65)

5 สถานศึกษา เม.ย.64 -สถาน
ประเมนิ คณุ ภาพ ศึกษา
การศึกษาและ -คณะ
จัดทารายงาน กรรมการ
คณุ ภาพ ประจาปี -ผอ.รร.
(SAR) รายงานตอ่
หนว่ ยงานต้นสังกดั เม.ย.-พ.ค. 64 สพป.
นฐ. เขต 2
6 เกบ็ รวมรวม SAR
ของสถานศกึ ษา สพป.
ตรวจสอบและ นฐ. เขต 2
นาเข้าระบบ e-
SAR ของสมศ. พ.ค. 64

7 สังเคราะหร์ ายงาน พ.ค.-ม.ิ ย. 64 สพป.
การประเมินคณุ ภาพ พ.ค. 64 นฐ. เขต 2
การศึกษาของ
สถานศึกษาจดั ทา - สถาน
สรปุ รายงานผลการ ศึกษา
ประเมนิ คุณภาพ
ภายในของ - คณะ
สถานศึกษาภาพรวม กรรมการ
ระดับเขตพืน้ ท่ี และ ทไี่ ดร้ ับ
รายงานตอ่ การแต่งตัง้
ผ้เู กยี่ วข้อง

8 วางแผนการนเิ ทศ
ติดตาม
การดาเนินงาน
ประกนั คุณภาพของ
สถานศกึ ษาใน
ปกี ารศกึ ษา 2563

9 สถานศกึ ษา
ดาเนนิ การ
- วเิ คราะห์ผล
การประเมิน
คณุ ภาพการศกึ ษา
ปกี ารศึกษา 2563
สภาพปจั จุบนั
ปัญหา ความ
คาดหวัง
ในการพฒั นาของ
สถานศึกษา

ระยะเวลำ 50

ท่ี กิจกรรม ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ผู้รบั
2 (ม.ค.- 3 (เม.ย.- 4 (ก.ค.- 1 (ต.ค.- 2 (ม.ค.- 3 (เม.ย.- ผดิ ชอบ
1 (ต.ค.- ม.ี ค.64) มิ.ย.64) ก.ย.64) ธ.ค.64) มี.ค.65) มิ.ย.65)
- สถาน
ธ.ค.63) พ.ค. 64 ศกึ ษา
-คณะ
- กาหนดมาตรฐาน ม.ิ ย. 64 ถงึ มี.ค. 65 กรรม
การศึกษาของ การท่ีไดร้ ับ
สถานศกึ ษาระดบั การแต่งตง้ั
การศึกษาขน้ั
พ้ืนฐานและระดับ -สถาน
การศกึ ษาปฐมวัย ศกึ ษา
-กาหนดตวั ชีว้ ัด /
คาอธิบายของ
ประเด็นพิจารณา
การให้ระดบั
คุณภาพ ของแต่ละ
มาตรฐาน
- กาหนดคา่
เปา้ หมาย และ
ตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ
ในระดบั ประเด็น
การพจิ ารณาที่
สอดคล้องและ
สะทอ้ นคุณภาพ
ของประเด็น
พิจารณาในแต่ละ
มาตรฐาน
- ประกาศใช้
มาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา
และค่าเป้าหมาย
10 จัดทาแผนพฒั นา
การศกึ ษาทมี่ ุ่ง
คุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา
- จัดทาแผนพัฒนา
การศกึ ษาทม่ี งุ่
คณุ ภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา
- จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิ
การประจาปี ที่
สอดคลอ้ งแนว
ทางการพฒั นา

11 สถานศึกษา
ดาเนนิ การพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา
ตามแผนปฏิบัตกิ าร

ระยะเวลำ 51

ที่ กิจกรรม ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ไตรมำส ผูร้ บั
1 (ต.ค.- 2 (ม.ค.- 3 (เม.ย.- 4 (ก.ค.- 1 (ต.ค.- 2 (ม.ค.- 3 (เม.ย.- ผดิ ชอบ
ม.ี ค.64) มิ.ย.64) ก.ย.64) ธ.ค.64) มี.ค.65) ม.ิ ย.65)
ธ.ค.63) - สถาน
ส.ค. 64 ถึง ม.ี ค. 65 ศกึ ษา
12 สถานศึกษา จัดใหม้ ี -คณะ
การประเมินผล กรรม
การดาเนนิ งาน การ
และตรวจสอบ ทีไ่ ด้รบั
คุณภาพของ
สถานศึกษา จัดทา ส.ค. 64 ถึง ม.ี ค. 65 อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 2 คร้งั สพป.
Time line /ปฏทิ นิ นฐ.เขต 2
การตรวจสอบ
คุณภาพเปน็ ระยะ เม.ย. 65 -ผอ.รร. ครู
ทั้งระหว่างปี -คณะ
การศึกษาและส้ินปี กรรม
การศกึ ษา การ

13 นเิ ทศ ติดตาม เม.ย.-พ.ค. สพป.
65 นฐ. เขต 2
ตรวจสอบคณุ ภาพ
สพป.
การศกึ ษาของ นฐ. เขต 2

สถานศึกษา พ.ค. 65

14 สถานศกึ ษา

ประเมินคุณภาพ

การศึกษาและ

จดั ทารายงาน

คุณภาพประจาปี

(SAR) รายงานต่อ

หน่วยงานต้นสงั กดั

15 เกบ็ รวมรวม SAR
ของสถานศกึ ษา
ตรวจสอบและ
นาเขา้ ระบบ
e-SAR ของ สมศ.

16 สังเคราะหร์ ายงาน
การประเมิน
คุณภาพการศึกษา
ของสถานศกึ ษา
จัดทาสรปุ รายงาน
ผลการประเมนิ
คณุ ภาพภายในของ
สถานศกึ ษา
ภาพรวมระดบั เขต
พื้นที่ และรายงาน
ต่อผ้เู กย่ี วข้อง

52

ตวั ชี้วัดควำมสำเร็จ
สถานศกึ ษาในสังกดั ร้อยละ 100 ดาเนินการ ดังน้ี
1. สร้างและดาเนินการขบั เคล่อื นงานประกันคุณภาพภายในอยา่ งตอ่ เน่ือง
2. ใช้บทเรียนการเรียนรู้การประเมินคุณภาพภายนอกพัฒนาระบบประกัน

คณุ ภาพภายในใหเ้ ขม้ แข็งและจดั ทา SAR ท่ีสะท้อนสภาพจริงของโรงเรยี น
3. ได้รับการตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้วยวิธีการประเมิน

ตนเอง และจากคณะกรรมการระดบั เขตพื้นที่การศึกษา มีการดาเนินการแลกเปล่ียน
เรียนรู้โดยใชช้ มุ ชนวิชาชีพ (PLC) อยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง

4. มีความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบต่อไปและมีผล
การประเมนิ ภายนอกระดับ “ด”ี ข้ึนไป

5. ได้รบั การนเิ ทศทางตรงหรือทางอ้อม อยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 คร้ัง

53

รปู แบบกำรนเิ ทศระบบประกันคุณภำพภำยในของสถำนศกษำ

กำรนเิ ทศกำรวำงแผน นิเทศเรือ่ ง 1. การจัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ

2. การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3. การจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ัติการประจาปี
4. การออกแบบการเรยี นรขู้ องครู

ตวั ชวี้ ัดควำมสำเร็จสถานศกึ ษามีการใช้แผนยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาต่อเนอ่ื งทกุ ปี

กำรนเิ ทศกำรปฏบิ ตั ิในชนั้ เรียน นเิ ทศเรอื่ ง 1. มาตรฐานการศึกษาและหลักสูตรให้ครบทั้งหน่วยของการเรียนที่อาจจะกาหนดเป็นภาค
เรยี นหรือท้ังปีการศึกษา และนามาพัฒนาหลกั สตู รรายวิชาที่สอน
กำรนเิ ทศกำรกำกบั ตดิ ตำม
ปรับปรุง พัฒนำ 2. วางแผนการสอน กาหนดส่งิ ทีจ่ ะบรรลผุ ลหรอื ส่งิ ทีจ่ ะเกิดขนึ้ หรือพฤตกิ รรมของนักเรียนท่ีจะ
เ กิ ด ข้ึ น ห ลั ง จ า ก ไ ด้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า โ ด ย เ น้ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร ใ ช้ สื่ อ ที่ ส่ ง เ ส ริ ม
การเรยี นรู้

3. นากระบวนการวจิ ยั เข้ามาใช้ในการสอนของครู และการเรียนของนักเรียนเพื่อให้เกิดการ
ปรบั ปรุงพฒั นา

4. ดาเนินการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดการชั้ นเรียนเชิงบวกปรับรูปแบบ
การสอนเนน้ Active Learning

5. ประเมินผลการสอน บรรลุตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้มากน้อย เพียงใด โดยวัดจาก
ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รียน พิจารณาเปน็ รายบคุ คลและรายช้ันเรียน

6. บันทึกสรุปผลการสอน มีปัญหาและอุปสรรคท่ีต้องแก้ไขอย่างไร มีคาแนะนาเพ่ือ
จะนาไปปรับปรุงตอ่ ไปอยา่ งไร โดยบนั ทกึ ทุกสิง่ ทกุ อยา่ งเอาไวเ้ ปน็ หน่งึ หนว่ ย

7. การใชช้ ุมชนวิชาชีพ เขา้ มาแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพอ่ื ปรับปรงุ พฒั นาต่อยอดขณะปฏิบัติงาน
ตัวชว้ี ัดควำมสำเร็จ สถานศกึ ษามกี ารนเิ ทศภายในและมีการจัดเวทปี รับปรุง พฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง

นิเทศเรื่อง 1. การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการดาเนินงาน
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเพื่อให้เกดิ ความตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ตลอดจนมีเจตคติท่ีดีต่อการ
ประกนั คุณภาพการศึกษา

2. การจัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศภายในสถานศึกษาพร้อมใช้งาน ครบถ้วน ถูกต้อง
ครอบคลุมและเป็นปัจจบุ นั

3. ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ เม่ือดาเนินการพัฒนาตามแผนที่วางไว้แล้ว
จาเป็นจะต้องทาการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง โดยต้องกาหนดกรอบการ
ประเมินตนเอง สร้างเคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินตนเอง ทาการประเมินตนเองตามกรอบที่กาหนดไว้
และทาการวิเคราะหข์ อ้ มูลและประเมินผล

4. โครงการ/กิจกรรมของโรงเรียนท่ีวางไว้ให้ดาเนินการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพตาม
แผน หลังจากน้ันคณะกรรมการต้องร่วมกันประเมินตนเองตามสภาพท่ีเป็นจริงของแต่ละโครงการ/
กิจกรรม

5. ปรบั ปรุงพัฒนา หลังจากแต่ละโครงการ/กิจกรรมทาการประเมินตนเองและทราบผลการ
ประเมินตนเองแล้ว คณะครูและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละแผนงาน โครงการ/กิจกรรม
ต้องนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงานของตนเองและนาไปวางแผนพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาในปีการศึกษาตอ่ ไป

ตัวชวี้ ัดควำมสำเร็จ สถานศึกษาได้รับการตรวจสอบคุณภาพภายในด้วยวิธีการประเมินตนเอง
และจากคณะกรรมการระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาได้รับข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาตามสภาพจริงสู่
มาตรฐาน

กำรนเิ ทศสภำพจรงิ ของ SAR นเิ ทศเร่อื ง 1. รายงานผลการจดั การศึกษาท่สี ะท้อนคณุ ภาพผู้เรยี น โดยผลการประเมิน (ระดับคุณภาพ)

ในแตล่ ะด้านต้องมคี วามสอดคลอ้ งกัน ต้องเปน็ ไปตามเกณฑ์ และตอ้ งแสดงรายละเอยี ดในรายงาน

2. การตดิ ตามผลการดาเนินงานและการพฒั นาสถานศึกษา ตอ้ งมีการวิเคราะห์วา่ สถานศึกษา
มีการดาเนินการตามโครงการกี่โครงการบรรลุเป้าหมาย/ไม่บรรลุเป้าหมายก่ีโครงการ รวมทั้งระบุ

ผูร้ บั ผิดชอบและกาหนดช่วงเวลาในการแก้ไข โดยการรกั ษาส่งิ ทีด่ อี ยแู่ ล้วใหค้ งเดิมและสม่าเสมอ และให้

ข้อเสนอแนะเพอื่ เปน็ แนวทางในการดาเนนิ งานเพื่อพัฒนาสู่นวัตกรรมและเป็นแบบอย่างท่ีดี ตามเกณฑ์
และแนวนโยบายสถานศกึ ษา

3. วเิ คราะห์คุณภาพการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาที่เป็นจุดเด่นและจุดควรพัฒนาของ

มาตรฐานนั้นๆ การเขียนสรุปผลการประเมินความโดดเด่นในส่วนของบทสรุปสาหรับผู้บริหาร การ
วิเคราะห์โอกาส (Opportunities : O) พิจารณาจากปัจจัยของสภาพแวดล้อมภายนอก

ที่ เ อ้ื อ อ า น ว ย ห รื อ ส นั บ ส นุ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ ห้ ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ ส่ ง ผ ล ใ น แ ง่ บ ว ก ต่ อ ก า ร ด า เ นิ น ง า น
การวิเคราะห์อุปสรรค (Threats : T) พิจารณาจากปัจจัยของสภาพแวดล้อมภายนอกและบริบทของ

สถานศึกษาน้ัน ๆ ส่งผลในแง่ ลบต่อการดาเนินงาน ทาให้การดาเนินงานของสถานศึกษา

ไมป่ ระสบผลสาเรจ็
ตัวช้วี ดั ความสาเร็จ ใช้บทเรียนการเรียนรู้การประเมินคุณภาพภายนอกพัฒนาระบบประกัน

คุณภาพภายในใหเ้ ขม้ แข็งและจัดทา SAR ทีส่ ะทอ้ นสภาพจริงของโรงเรียน

54

บทท่ี 4

แนวปฏบิ ัติการดำเนินงานระดับสถานศกษา

การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การดาเนินกิจกรรมและภารกิจต่าง ๆ
ท้ังด้านวิชาการ การบริการ / การจัดการ เพื่อสร้างความม่ันใจให้ผู้รับบริการทาง
การศึกษา ทั้งผู้รับบริการโดยตรง คือ ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้รับบริการทางอ้อม
คือ สถานประกอบการ ประชาชน และสังคมโดยรวมว่าการดาเนินงานของ
สถานศึกษาจะมีประสิทธิภาพ และทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพหรือคุณลักษณะ
ทพี่ งึ ประสงคต์ ามมาตรฐานการศึกษาท่ีได้กาหนดไว้ การประกันคุณภาพมีแนวคิดอยู่
บนพ้ืนฐานของการ "ป้องกัน" ไม่ให้เกิดการทางานที่ไม่มีประสิทธิภาพและผลผลิตที่
ไม่มคี ุณภาพ (จลุ สาร สมศ. ฉบบั ท่ี 1 ประจาเดือน มิถนุ ายน - กรกฎาคม 2544)

ใหส้ ถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานดาเนนิ การดังต่อไปน้ี
1. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษาเพ่ือเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา ใหเ้ กิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่น ให้แก่สังคม ชุมชน และผู้มีส่วน
เกยี่ วขอ้ ง
2. การจัดให้มรี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดังนี้

2.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษา ระดับ การศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยให้
ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ ผู้ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ด า เ นิ น ก า ร แ ล ะ ถื อ เ ป็ น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ร่ ว ม กั น
ทั้งนี้ สถานศึกษาอาจกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพิ่มเติม
นอกเหนือจากที่กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใช้ได้

2.2 จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและ
แผนปฏิบัติการประจาปีที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจาเป็น
ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความสาเร็จอย่างชัดเจน
ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

2.3 ดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติ
การประจาปีของสถานศกึ ษา

55

2.4 ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยกาหนดผู้รับผดิ ชอบ ในการประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ท้ังระดับ
บุคคลและระดับสถานศึกษา และกาหนดการ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษา อยา่ งน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยวิธีการและเครื่องมือ
ท่ีหลากหลายและเหมาะสม

2.5 ติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา และนาผลการติดตามไปใชป้ ระโยชน์ในการปรบั ปรงุ พฒั นา

2.6 จัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment
Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษานาเสนอรายงานผล
กา ร ป ร ะเ มิ น ต น เ อ ง ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม กา ร ส ถ าน ศึ ก ษ า ขั้น พื้ น ฐ า น ใ ห้ ค ว า มเ ห็ น ช อ บ
และจัดสง่ รายงานดังกล่าวตอ่ สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาเปน็ ประจาทุกปี

2.7 พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงาน
ผลการประเมินตนเอง (Self- Assessment Report : SAR) และตามคาแนะนาของ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เพ่ือให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง

3. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับสานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) และหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแล
เพอ่ื นาไปสู่การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

56

แนวทำงกำรพฒั นำระบบกำรประกันคุณภำพกำรศกษำภำยในสถำนศกษำ
การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จะต้องออกแบบ

การดาเนินการภายในสถานศึกษาท่ีเน้นการสร้างความเข้าใจสาหรับบุคลากร
ท่ีเกี่ยวข้องให้ตรงกันในทุกช้ันตอนการดาเนินการ เข้าใจความสัมพันธ์เชื่อมโยง
ระหว่างขน้ั ตอนของการดาเนินการ และสถานศึกษาส่วนใหญ่จะยึดข้ันตอนของวงจร
คุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA) เพื่อขับเคล่ือนคุณภาพ ทั้งคุณภาพของ
สถานศึกษา คุณภาพงานของกลุ่มงาน คุณภาพของบุคคลที่มีบทบาทหน้าท่ี
และความรบั ผิดชอบเฉพาะตนภายใต้ 4 ขัน้ ตอนสาคัญ ประกอบด้วย

P : Plan การวางแผนพัฒนาคณุ ภาพ
D : Do การปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาคณุ ภาพ
C : Check การตรวจสอบ ประเมนิ ผลการพัฒนาคณุ ภาพ
A : Act การปรบั ปรุงและพัฒนาคณุ ภาพ
กำรขับเคลอ่ื นวงจรคุณภำพกำรบรหิ ำรเชงิ ระบบ (PDCA)

วงจรคุณภาพการบรหิ ารงานเชิงระบบ (PDCA)

57

ขั้นตอนกำรตำเนนิ งำนตำมวงจรคุณภำพกำรบรหิ ำรงำนเชิงระบบ (PDCA)
สถานศึกษาจะต้องประยุกต์ใช้วงจรคุณภาพ เพ่ือให้สอดคล้องเหมาะสมกับ

บริบทของสถานศึกษา โดยยึดการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
ส ถ า น ศึ ก ษ า ท่ี เ กิ ด จ า ก ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ข้ อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ ม า อ อ ก แ บ บ ว า ง แ ผ น
การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ซึ่งบุคลากรที่เก่ียวข้องมีส่วนร่วมต่อการขับเคลื่อน
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาจนเกิดเป็นวัฒนธรรมคุณภาพในสถานศึกษา
โดยทุกคนยึดม่ันที่จะดาเนินการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ มีรายละเอียด
ประกอบด้วย 4 ข้ัน ดังนี้ คือ

ข้ันกำรวำงแผนพัฒนำคุณภำพ P : Plan เป็นข้ันการกาหนดกรอบ
รายละเอียดของการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ผ่านการศึกษา
วิเคราะห์ สังเคราะห์ สาหรับการวางแนวทาง เพ่ือพัฒนาด้วยการพิจารณาคัดเลือก
แนวทางท่ีมีความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาที่สุดในการแก้ไขปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคุณภาพโดยจะช่วยส่งเสริมให้การคาดการณ์ส่ิงท่ีจะเป็น
ผลสาเร็จในอนาคต มคี วามชัดเจนมากทสี่ ุด

ข้ันกำรปฏิบัติงำนตำมแผนพัฒนำคุณภำพ D : Do เป็นข้ันการนาแนวทาง
ท่ีผ่านการวางแผนไว้อยา่ งชดั เจนมาส่กู ารปฏิบัติตามกิจกรรมซึ่งกาหนดไว้ในแนวทาง
ดังกล่าว เพื่อสร้างความสาเร็จให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ท้ังการแก้ไขปรับปรุง
เปลีย่ นแปลง และพัฒนาคณุ ภาพจนเกดิ ประสิทธิภาพสงู สุด

ขั้นกำรตรวจสอบประเมินผลกำรพัฒนำคุณภำพ C : Check เป็นขั้น
การเลอื กใช้วธิ ีการและเครือ่ งมอื เพือ่ เก็บรวบรวมข้อมลู สารสนเทศจากการดาเนินการ
แก้ไข ปรับปรุง เปลยี่ นแปลง และพฒั นาคณุ ภาพสาหรบั นามาวเิ คราะห์ แปลผล และ
เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ เ ง่ื อ น ไ ข ข อ ง ค ว า ม ส า เ ร็ จ จ า ก ก า ร ด า เ นิ น ก า ร
วา่ บรรลุผลสาเร็จหรือไม่ อยา่ งไร

ข้ันกำรปรับปรุงและพัฒนำคุณภำพ A : Act เป็นข้ันการนาผลการประเมิน

มาพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ และตัดสินในการพิจารณาแนวทางสาหรับ

การแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคุณภาพไปประยุกต์ใช้ เพ่ือสร้าง

กระบวนการสนับสนุนความก้าวหน้าอย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่องสถานศึกษา

วางแผนและออกแบบการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

58

โดยการประยุกต์ใช้วงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA) สาหรับการกากับวางแผน
และออกแบบขับเคล่ือนวงจรให้เกิดความเป็นพลวัตร (Dynamic) ซ่ึงจะทาให้วงจร
ดาเนินไปอยา่ งเปน็ ระบบและมคี วามต่อเน่ือง

วงจรคุณภาพกับการพฒั นาคุณภาพอย่างเป็นระบบและต่อเน่อื ง

59

กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุณภาพการศึกษาปรับเปล่ียนระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยให้มีการประกัน
คุณภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอกตามแนวคิดหลักการว่าสถานศึกษา
สามารถออกแบบระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีเหมาะสม เป็นไปได้
และสอดคล้องกับบรบิ ทของสถานศึกษาได้ด้วยตนเอง การประเมินคุณภาพภายนอก
เป็นการยืนยันระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ผลที่ได้จาก
การประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกนั้น จะต้องสามารถ
นาไปใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาได้ด้วย รายละเอียดการจัดระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 ประกอบด้วย

1. กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
2. จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตาม
มาตรฐานการศกึ ษา
3. ดาเนินตามแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
4. ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
5. ติดตามผลการดาเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา
6. จดั ทารายงานผลการประเมินตนเอง
รายละเอียดแต่ละเรอื่ งสรปุ ดังนี้
1. กำหนดมำตรฐำนกำรศกษำของสถำนศกษำ
เพ่ือให้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นาสู่การปฏิบัติได้อย่างแท้จริง
และได้รับความร่วมมือจากผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย สถานศึกษาควรดาเนินการที่เน้น
การมีส่วนร่วม โดยเชิญคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ชุมชน
สถานประกอบการ องค์กรท่ีสนับสนนุ สถานศึกษาตามความเหมาะสมร่วมดาเนินการ

60

รำยละเอยี ดแนวทำงกำรกำหนดมำตรฐำนของสถำนศกษำ ดงั ขนั้ ตอนต่อไปน้ี

ขั้นตอนท่ี รำยกำรทป่ี ฏบิ ตั ิ หลกั ฐำน

1 เตรียมควำมพร้อมกำรกำหนดมำตรฐำนกำรศกษำ 1. คาสัง่ แต่งต้งั

ของสถำนศกษำ คณะกรรมการ

แต่งต้ังคณะกรรมการกาหนดมาตรฐาน กาหนด

การศกึ ษาของสถานศึกษาประกอบด้วย ผู้บริหาร มาตรฐาน

สถานศึกษา คณะครู กรรมการสถานศึกษา การศึกษาของ

ตัวแทนผปู้ กครอง ชมุ ชน และผู้เก่ียวข้องอื่นสร้าง สถานศกึ ษา

ความรู้ความเข้าใจและความตระหนักถึง 2. ประกาศ

ความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเห็น ค่าเปา้ หมาย

ความสาคัญความเชื่อมโยงของมาตรฐาน 3. บันทึกการให้

การศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษา ความเห็นชอบของ

ขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษา ของชาติซ่ึงจะ คณะกรรมการ

นาไปสู่เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติในการท่ีจะ สถานศึกษาขนั้

พัฒนาคุณภาพชีวิต และสร้างสังคมไทยให้มี พื้นฐาน ฯลฯ

ความม่ันคง เสมอภาค และเป็นธรรม

2 วเิ ครำะห์ควำมสัมพันธข์ องมำตรฐำนกำรศกษำ

ก า ร ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง

ส ถ า น ศึ ก ษ า ต้ อ ง มี ข้ อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ ห ล า ย

ส่วนประกอบการพิจารณา เช่น บริบท ความ

พร้อมและศักยภาพของ สถานศึกษาอัตลักษณ์

และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ความต้องการ

ของท้องถ่ิน และชุมชน นโยบายของหน่วยงาน

ต้นสังกดั จุดหมายของแผนพัฒนาการศึกษาชาติ

เป็นตน้ สถานศกึ ษานาข้อมูลท่ไี ด้มาเช่ือมโยงไปสู่

มาตรฐานการศึกษาระดับต่าง ๆ แล้ว สรุปเป็น

เปา้ หมายทสี่ ถานศึกษาต้องการ

ขนั้ ตอนท่ี รำยกำรทีป่ ฏบิ ตั ิ 61

หลกั ฐำน

3 กำหนดมำตรฐำนกำรศกษำของสถำนศกษำ
จ า ก ภ า พ เ ป้ า ห ม า ย ท่ี ส ถ า น ศึ ก ษ า ต้ อ ง ก า ร

สถานศึกษากาหนดมาตรฐาน การศึกษาท่ี
ครอบคลุมคุณภาพสาคัญ 3 ด้าน คือ คุณภาพ
ผู้เรียน คุณภาพการบริหารและการจัดการ และ
คุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แ ต่ ล ะ แ ห่ ง ค ว ร ส ะ ท้ อ น ถึ ง เ ป้ า ห ม า ย ห รื อ ภ า พ
ความสาเร็จท่ีเด่นชัดเป็นรูปธรรม สถานศึกษาที่มี
วัตถุประสงค์พิเศษอาจกาหนดมาตรฐานเพ่ิมเติม
เพ่ือให้เห็นความโดดเด่นเฉพาะทางได้มาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาไม่มาก และสามารถ
ปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสมกับยุคสมัยหรือ
ความตอ้ งการยกระดบั ให้สูงข้นึ อีก

4 พจิ ำรณำให้ควำมเห็นชอบมำตรฐำนกำรศกษำ
ของสถำนศกษำ
สถานศึกษาเสนอร่างมาตรฐานการศึกษา
ให้ ผู้ เ ก่ี ยว ข้ อ ง ทุก ฝ่ า ย ต รว จ ส อ บ ท บ ท ว น
เพ่ือพิจารณาความครอบคลุม ความเหมาะสม
ความสอดคล้อง และนาสู่การปฏิบัติสามารถบรรลุ
เป้าหมายได้จริงแล้วจึงเสนอต่อคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ

62

ขัน้ ตอนที่ รำยกำรท่ปี ฏิบัติ หลกั ฐำน

5 ประกำศใชม้ ำตรฐำนกำรศกษำของสถำนศกษำ
สถานศึกษาประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษาท่ีผ่านความ เห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาแล้ว สถานศึกษาควรเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
ให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายทราบ ท้ังนี้เพื่อให้ทุกฝ่าย
ร่วมกันขับเคลื่อน และยกระดับคุณภาพการศึกษา
ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ ห้ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ที่ ต้ อ ง ก า ร
ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ท า ไ ด้ ห ล า ย ช่ อ ง ท า ง เ ช่ น
แจ้งในท่ีประชุม แจ้งในเว็บไซต์ของโรงเรียน ติดประกาศ
เป็นตน้

2. จดั ทำแผนพัฒนำกำรจัดกำรศกษำของสถำนศกษำท่ีมุ่งคุณภำพตำมมำตรฐำน
กำรศกษำ

แผนพฒั นำกำรจดั กำรศกษำของสถำนศกษำ เปน็ แผนระยะกลาง 3 – 5 ปี
โดยสถานศึกษาสามารถนาแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์มาใช้ในการจัดทา

แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ด้วยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของปัจจัยภายใน
สถานศึกษาวิเคราะห์โอกาส และอุปสรรคของปัจจัยภายนอกสถานศึกษา
ประเมินสถานภาพของสถานศึกษา กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กาหนด
กรอบกลยุทธ์/กลยุทธ์การพัฒนา กาหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรมรองรับพร้อม
ประมาณการงบประมาณ ทรัพยากรทใี่ ชส้ นับสนุนการดาเนินงานของสถานศึกษา

63

โดยมีข้นั ตอนกำรจดั ทำแผนพัฒนำคณุ ภำพกำรศกษำของสถำนศกษำ ดังต่อไปนี้

ข้นั ตอนท่ี รำยกำรท่ปี ฏบิ ัติ หลักฐำน

1 แตง่ ตั้งคณะทำงำน
1.1 คณะทางานควรประกอบด้วยผู้ท่ี 1. คาส่ังแตง่ ตงั้

เก่ียวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษา 2. ขอ้ มูล
ท้ังภายนอก และภายในโรงเรียน ได้แก่ ผู้แทน สารสนเทศ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน / ครู / ของสถานศกึ ษา
นักเรียน / ชุมชน / องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 3. วิสยั ทัศน์
ท้ั ง น้ี ค ว ร มี ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ เ ป็ น ท่ี ป รึ ก ษ า พันธกิจ เปา้ หมาย
ด้วยคณะกรรมการ และคณะทางาน อาจจาแนก ตวั ช้ีวดั
เปน็ ดา้ นๆ ตามความเหมาะสมเช่นคณะกรรมการ ความสาเร็จ และ
ท่ีปรึกษาคณะกรรมการอานวยกาคณะกรรมการ กลยุทธ์ของ
ดาเนินการแต่ละด้าน เช่น ด้านข้อมูลและ สถานศึกษา
สารสนเทศ โดยกาหนดบทบาทหน้าท่ีให้สามารถ 4. แผนพัฒนา
จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา คุณภาพ
โรงเรียนใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงคแ์ ละมีประสทิ ธภิ าพ การศึกษาของ

1.2 สร้างความรู้ความเข้าใจคณะทางาน สถานศึกษา ฯลฯ
และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องเก่ียวกับการวางแผน
การพัฒนาการศึกษา
2 รวบรวมข้อมูลสำรสนเทศเกี่ยวกับสภำพภำยใน
และภำยนอกของสถำนศกษำ ข้อมูลพ้ืนฐาน
แ ล ะ ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ ต้ อ ง ถู ก ต้ อ ง ค ร บ ถ้ ว น
เ ป็ น ปั จ จุ บั น ค ร อ บ ค ลุ ม ง า น ทุ ก ด้ า น
ทั้งด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร
และดา้ นบรหิ ารทวั่ ไป

ข้ันตอนที่ รำยกำรทป่ี ฏบิ ตั ิ 64

หลกั ฐำน

โ ด ย ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ใ น ก า ร เ ก็ บ
รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นาเสนอข้อมูลที่
ถูกต้องเที่ยงตรงจากแหล่งข้อมูลท่ีเช่ือถือได้
มีการวิเคราะห์สารสนเทศ วิเคราะห์ความขาด -
เกินเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อจะใช้เป็น
ฐ า น ข้ อ มู ล ใ น ก า ร จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า
การจัดการศกึ ษา

3 กำรวิเครำะห์ข้อมูลเก่ียวกับสภำพภำยในและ
ภำยนอกของสถำนศกษำ
ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ
สภาพภายใน ด้านจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา
สภาพภายนอก ด้านโอกาส และอุปสรรคของ
สถานศกึ ษานนั้ มกี ารวเิ คราะห์หลายแนวทาง เชน่
Scenario Planning/FiveForcesModel/BSC/
KPI/SWOT Analysis/TOWS Matrix

4 กำรกำหนดทิศทำงกำรจัดกำรศกษำของ
สถำนศกษำ
ทิศทางการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
เป็ น ก า ร ก า หน ด เ ป้ า ห ม า ยท่ี ส ถ า น ศึ ก ษ า
ต้องดาเนินการจัดการศึกษา เปรียบเสมือนเป็น
ผลลัพธ์ระดับสูงท่ีสถานศึกษาต้องการท่ีจะบรรลุ
ซึ่ ง ก า ร ก า ห น ด ทิ ศ ท า ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า เ ป็ น
กระบวนการที่บุคลากรทุกฝ่ายของสถานศึกษา
ร่วมกันต้ังปณิธานความมุ่งหวัง ต้ังมั่นปรารถนา
ท่ีจ ะพั ฒ นา ส ถา น ศึก ษ าไ ป สู่ค ว าม ส าเ ร็ จ
โดยร่วมกันระดมพลังปัญญา วิจารณญาณและ
แรงบันดาลใจ ตรวจสอบ ทบทวน กล่ันกรอง
จดั วางสร้างสรรค์สภาพทพี่ ึงประสงค์

ข้ันตอนท่ี รำยกำรท่ปี ฏิบตั ิ 65
5
ของ สถานศึกษาทิศทางของสถานศึกษา หลกั ฐำน
ประกอบดว้ ยวิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์

กำรกำหนดกรอบกลยทุ ธพ์ ฒั นำกำรศกษำของ
สถำนศกษำ (Strategic Formulation)

การกาหนดกลยุทธ์ (Strategic Formulation)
ของสถานศึกษา เป็นการเลือกวิธีการทางานท่ี
แ ย บ ค า ย สู่ จุ ด ห ม า ย ป ล า ย ท า ง อ ย่ า ง มี ทิ ศ ท า ง
ที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของ
สถานศึกษา ตอบสนองวิธีการสู่จุดหมาย
ปลายทางระดับนโยบาย สมารถดาเนินการได้
ประสบคว ามสาเร็จ นาไปปฏิ บัติได้จริ ง
การกาหนดกลยุทธ์เป็นการนาข้อมูลและความรู้
ต่าง ๆ ที่ได้รับจากขั้นตอนการกาหนดทิศทาง
ของหน่ว ยงานและการศึกษาสถาน ภ า พ
หน่วยงาน (SWOT Analysis) ด้วยการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมท่ีเป็นจุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน
( Weakness) โ อ ก า ส ( Opportunity) แ ล ะ
อุปสรรค (Threat) ของสถานศึกษามาจัดทาเป็น
กลยุทธ์ในรูปแบบต่างๆ การกาหนดกลยุทธ์
เปรยี บเสมือนการตอบคาถามว่า "เราจะไปถึงจุด
น้ันได้อย่างไร? หรือเราจะบรรลุทิศทางของ
หน่วยงานได้อย่างไร?(Howdo we get there?)"

กรอบกลยุทธ์ของสถานศึกษาประกอบด้วย
ประเด็นกลยุทธ์ระดับสถานศึกษา วัตถุประสงค์
เชิงกลยุทธ์ ตัวช้ีวัดค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ริเร่ิม
(กลยทุ ธร์ ะดับแผนงาน)

ข้ันตอนท่ี รำยกำรที่ปฏบิ ัติ 66

หลักฐำน

6 จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง
สถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา

3. กำรดำเนินกำรตำมแผนพัฒนำกำรจัดกำรศกษำของสถำนศกษำ
กระบวนการวางแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการ

วางแผนกลยุทธ์ เป็นการนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติในกระบวนการน้ีต้องอาศัย
แผนปฏิบตั ิการประจาปี เป็นเคร่ืองมือสาหรบั ใชเ้ ป็นแนวทางปฏิบัติสาหรับส่วนต่างๆ
ให้เป็นไปอย่างสอดประสานกันท้ังในแง่ทิศทางและจังหวะเวลา โดยสรุปแผนปฏิบัติ
การประจาปี เป็นแผนท่ีทาขึ้นสาหรับใช้ในการบริหารหน่วยงานกาหนด มีระบบ
การทางานท่ีชัดเจนและเป็นข้ันตอน มีการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและมี
การตรวจสอบผลการทางาน

โดยมขี ั้นตอนกำรจัดทำแผนปฏบิ ตั ิกำรประจำปี ดังต่อไปนี้

ข้นั ตอนที่ รำยกำรที่ปฏบิ ัติ หลกั ฐำน
1
วิเครำะห์แผนพฒั นำกำรจดั กำรศกษำของ 1. แผนปฏบิ ัติ
2
สถำนศกษำ การประจาปี

คณะทางานศึกษาทาความเข้าใจสาระสาคัญ 2. ปฏทิ นิ

ของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีสถานศึกษา การปฏบิ ตั งิ าน

กาหนดไว้ ระยะ 3-5 ปี โดยศึกษากลยุทธ 3. แผนกากับ

เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ โครงการ/ ตดิ ตาม

กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ ในแต่ละปีให้ การปฏิบตั งิ าน

ชัดเจน เพ่ือนาไปสู่การจัดลาดับโครงการ/ 4. สรุปผล

กิจกรรมในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี รายงาน

ประมำณกำรงบประมำณรำยรบั ของโรงเรียน โครงการ/
การประมาณการรายรับ เป็นการดาเนินการ กิจกรรม ฯลฯ

เพื่อทราบวงเงินที่คาดว่าจะได้รับ และเพ่ือใช้เป็น

กรอบในการกาหนดวงเงนิ รายจ่ายทีจ่ ะเกิดข้ึน

ขนั้ ตอนท่ี รำยกำรท่ีปฏบิ ัติ 67
3
4 ปีงบประมาณน้ัน ๆ ให้ใกล้เคียงกับวงเงินท่ี หลกั ฐำน
ประมาณการไว้ หรือไมเ่ กินท่ีคาดไวม้ ากเกินไป
5
ประมำณกำรรำยจำ่ ยงบประมำณ
การประมาณการรายจ่ายของโรงเรียนเป็น

การวิเคราะห์รายจ่ายที่เกิดขึ้น ในการพัฒนา
โรงเรียนซ่ึงรายจ่ายของสถานศึกษาแบ่งออกเป็น
3 กลุ่ม ได้แก่ งานประจาตามโครงสร้าง
โครงการตามกลยทุ ธ์ และงบกลางสารองจ่าย

กำรวิเครำะหก์ ำหนดโครงกำรตำมแผนกลยุทธ์
ใ น ขั้ น ต อ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ โ ค ร ง ก า ร บ ร ร จุ

ในแผนปฏิบัติการประจาปีเป็นการคัดเลือก
โครงการเพ่ือบรรจุในแผนปฏิบัติการประจาปี
มีกระบวนการในการคดั เลือกโครงการดังน้ี

1) วเิ คราะห์คดั เลอื กโครงการทกี่ าหนดไว้ใน
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 3 – 5 ปี

2) จดั ทารายละเอยี ดโครงการตามรูป
แบบฟอรม์ โครงการ

3) ประเมินความความสมบูรณ์โครงการบรรจุ
ในแผนปฏิบตั ิการประจาปี

กำรจัดทำรำ่ งแผนปฏบิ ัตกิ ำร
นาข้อมูลจากการวิเคราะหข์ น้ั ตอนท่ี 2 – 5

มาสงั เคราะหล์ งในเอกสารแผนปฏบิ ัตกิ าร
ประจาปีของสถานศกึ ษา ซ่ึงมีเคา้ โครง
แผนปฏิบัติการ ดงั น้ี
1) สว่ นที่ 1 บทนา
2) ส่วนท่ี 2 ทศิ ทางและกลยุทธ์การจัด
การศกึ ษา

ขนั้ ตอนที่ รำยกำรทป่ี ฏิบัติ 68

3) ส่วนท่ี 3 ประมาณการงบประมาณรายรับ - หลกั ฐำน
รายจา่ ย
4) สว่ นที่ 4 รายละเอียดโครงการตาม
แผนปฏบิ ัติการประจาปีการศึกษา
5) ส่วนที่ 5 การกากับ ติดตามประเมินผลและ
รายงาน
6) ภาคผนวก

4. กำรประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภำพกำรศกษำภำยในสถำนศกษำ
การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา แบ่ง

การดาเนนิ งานเปน็ 3 ขั้นตอน ดังนี้
ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั เตรยี มการ
ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ การดาเนนิ งาน
ข้ันท่ี 3 ข้ันจัดทารายงานการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ

การศกึ ษาแตล่ ะข้นั มีแนวทางการดาเนนิ งาน ดังน้ี

ข้นั ตอนที่ รำยกำรท่ีปฏบิ ตั ิ หลกั ฐำน
1
ข้ันเตรยี มกำร 1. คาสง่ั แตง่ ตัง้

1.1 การเตรียมความพร้อมของบุคลากร คณะกรรมการ

ทุกคน ประเมนิ ผล

1) สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของ และตรวจสอบ

การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายใน คณุ ภาพ

ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และ การศกึ ษาภายใน

บทบาทหน้าท่ขี องผ้ปู ระเมิน ของสถานศึกษา

2) พัฒนาความรู้ และทักษะเก่ียวกับ 2. กาหนดปฏทิ ิน

การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายใน การปฏิบตั งิ าน

ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

รายละเอียดของมาตรฐาน และแนวทาง

การพัฒนาคุณภาพท่สี ถานศกึ ษากาหนดไว้

69

ขนั้ ตอนที่ รำยกำรที่ปฏิบัติ หลักฐำน
2
3) ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับ 3. เครอ่ื งมือใน

รูปแบบการเขียนรายงานผลการประเมิน การประเมินผล

ตนเองและวิธีการประเมินผลและตรวจสอบ และตรวจสอบ

คณุ ภาพภายในแนวใหม่ คณุ ภาพ

1.2 แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินผล 4. รายงานผล

และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในของ การตรวจสอบ

สถานศึกษาคณะกรรมการควรประกอบด้วย ฯลฯ

ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายในโรงเรียน เช่น

ผู้บรหิ าร ครูบุคลากรทางการศึกษา รวมไปถึง

ผู้ปกครอง เป็นต้น ในบางโรงเรียนอาจเชิญ

บุคคลภายนอกข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการ

ประเมิน ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบัน

ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ห รื อ ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ใ น

คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ฯลฯ ท่ีรู้ถึง

ความเป็นมาและการดาเนินงานของโรงเรียน

เ ป็ น อ ย่ า ง ดี เ พื่ อ ใ ห้ ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น มี

ประสิทธภิ าพ และเชื่อถือได้

ขั้นกำรดำเนินงำน

2.1 การวางแผนการปฏิบัติงาน มีวิธีการ

ดาเนนิ การประกอบด้วยกาหนดวัตถุประสงค์/

เป้าหมายของการประเมินนากรอบมาตรฐาน

ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า เ ป็ น แ น ว ท า ง

ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ก า ห น ด

ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน กาหนดวิธีการ

ป ร ะ เ มิ น ผ ล อ่ า น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง แ ต่ ล ะ

มาตรฐานของสถานศึกษา วางแผนจะทา

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน การเก็บข้อมูล

การวเิ คราะห์

ข้ันตอนท่ี รำยกำรทป่ี ฏบิ ัติ 70
3
ข้อมูลสรุปและรายงานผลการประเมินผล หลกั ฐำน
แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ย ใ น
สถานศกึ ษา

2.2 การดาเนินการตามแผนการปฏิบัติงาน
ที่วางไว้ มีวิธีการดาเนินการ ประกอบด้วย
สร้างเครื่องมือท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาและกาหนดเกณฑ์
การประเมินโดยเน้น การประเมินตาม
ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ที
ห ล า ก ห ล า ย ป ร ะ ก อ บ กั น ใ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง
การตรวจสอบแบบสามเส้า (triangulation)
ได้แก่ การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างน้อยจาก
สามแหล่งจากช่วงเวลาท่ตี า่ งกัน
2.3การตรวจสอบและสรุปผลการดาเนนิ การ
ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ย ใ น
สถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา

2.4 การนาผลการประเมิน ผลและ
ตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาไปใช้ในการพัฒนาสถานศึกษาให้
คุณภาพสูงข้ึน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือ
นามาใช้ในการวางแผนการพัฒนา/ปรับปรุง
การดาเนนิ งานของสถานศึกษา

ขนั้ จัดทำรำยงำนกำรประเมินผลและ
ตรวจสอบคุณภำพกำรศกษำ

เม่ือสถานศึกษาดาเนินการประเมินผลและ
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศกึ ษา

ข้นั ตอนท่ี รำยกำรท่ปี ฏิบตั ิ 71

ของสถานศึกษาเรียบร้อยแล้ว ผลจาก หลกั ฐำน
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ
กา รศึ กษ าข อง สถ า นศึ กษ าร ะห ว่า ง ปี
ผู้ บ ริ ห า ร จ ะ น า ไ ป เ ขี ย น ร า ย ง า น ผ ล
การประเมินตนเอง เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน
กา รว า งแ ผ นป รับ ป รุง พัฒ นา ก าร จั ด
การศึกษาของสถานศึกษาตลอดปีการศึกษา
ส่วนผลการประเมินเมื่อส้ินปีการศึกษา
จะนามาจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง
(SAR)

กรอบกำรประเมินผลและตรวจสอบคุณภำพ
กำรศกษำภำยในสถำนศกษำ

การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาเป็นการประเมิน
ตามมาตรฐานและรายละเอียดของมาตรฐาน
ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า เ พื่ อ ใ ห้
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ
การศึกษาภายในสถานศึกษา ครอบคลุม
ก า ร ด า เ นิ น ง า น ต า ม ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ
รายละเอียดของมาตรฐาน คณะกรรมการ
ประเมินควรร่วมกันวิเคราะห์เพื่อวางแผน
การดาเนนิ งาน

72

5. กำรติดตำมผลกำรดำเนินกำรเพ่ือพัฒนำสถำนศกษำให้มีคุณภำพตำม
มำตรฐำนกำรศกษำ

ก า ร ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ก า ร เ พื่ อ พั ฒ น า ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ ห้ มี คุ ณ ภ า พ
ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า เ ป็ น ก ล ไ ก ส า คั ญ ใ น ก า ร ติ ด ต า ม ร ะ บ บ
การบริหารคุณภาพการศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อให้กระบวนการบริหารและ
การจดั การดาเนนิ ไปอยา่ งมีคุณภาพ

ขน้ั ตอนที่ รำยกำรปฏิบตั ิ หลกั ฐำน

1 แตง่ ตั้งผูร้ บั ผดิ ชอบ 1. คาสง่ั แต่งตง้ั

วิธีการที่ 1 แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามผล คณะกรรมการ

การดาเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มี ตดิ ตามผล

คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง 2. ปฏิทนิ

สถานศึกษา การปฏิบตั ิงาน

วธิ กี ารที่ 2 มอบหมายให้ผู้มาปฏิบตั งิ านรายงาน 3. เครื่องมือ

ผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มี ตดิ ตามผล

คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง การดาเนินงาน

สถานศกึ ษา 4. สรปุ และ

2 กำหนดปฏิทนิ กำรปฏิบัติงำน รายงานผล

3 สร้ำงเคร่อื งมอื ติดตำมผลกำรดำเนินงำน การติดตามผล

4 ตดิ ตำมผลกำรดำเนินงำน การดาเนินงาน

- ศึกษามาตรฐานการศึกษาการศึกษาของ ฯลฯ

สถานศึกษา รายละเอียดของมาตรฐาน

คาอธิบาย รายละเอียด ประเด็นพิจารณา และ

เกณฑ์คณุ ภาพตามแนวการพัฒนาท่ีสถานศึกษา

กาหนดไว้

-ศึกษาค่าเป้าหมายความสาเรจ็ ของ

สถานศกึ ษา

- วางแผนการตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน

- ดาเนนิ การติดตามผลการดาเนินงานตามแผน

ท่ีวางไว้

ขน้ั ตอนที่ รำยกำรปฏบิ ัติ 73

หลกั ฐำน

ขน้ั ตอนท่ี 5 จัดทำระบบข้อมูลสำรสนเทศเกี่ยวกับ

ผลกำรตดิ ตำมผลกำรดำเนินงำน

ขั้นตอนที่ 6 สรุปและจัดทำรำยงำน ผลกำรติดตำม

ผลกำรดำเนินงำน

6. กำรจดั ทำรำยงำนผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกษำ(Self -Assessment Report)
การจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นภารกิจ

ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ที่สถานศึกษาต้อง
ดาเนินการหลังจากจัดการศึกษาผ่านไปแต่ละปีการศึกษา เพื่อสะท้อนภาพ
ความสาเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาในรอบปีการศึกษาท่ีผ่านมาภายใต้บริบทของสถานศึกษาโดยสารสนเทศ
ในรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาน้ันเป็นผลของการประเมินคุณภาพ
การศกึ ษาภายในของสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องมีส่วนร่วม
ในการประเมินและให้ข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับผลการดาเนินงานของตนเอง
ซึ่ งจะต้ องมี การประเมิ นเป็ นระยะอย่ างสม่ าเสมอและใช้ ผลการประเมิ นระหว่ างปี
ปรับปรุงการทางานตลอดเวลา ในการประเมนิ ผลการดาเนินงานแต่ละระยะให้บันทึก
ขอ้ มูลพร้อมจัดทาและเกบ็ รวบรวมสารสนเทศและเอกสารร่องรอยหลักฐานอย่างเป็น
ระบบไว้ เพ่ือนาไปสู่การจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาท่ีมี
คุณภาพต่อไป

สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษาทุกปีการศึกษา เพื่อรายงานผลการดาเนินงานในปีที่ผ่านมาให้บุคลากร
ในสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ที่เก่ียวข้อง เช่น นักเรียนผู้ปกครองและ
สาธารณชนรับทราบว่าสถานศึกษาได้บริหารจัดการสถานศึกษาและจัดการเรียนได้
บรรลุเป้าหมายที่สถานศึกษาได้วางไว้และเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาที่สถานศึกษากาหนดมากน้อยเพียงใดพร้อมท้ังเป็นการเสนอแนวทาง
การพัฒนาตนเองของสถานศึกษาในจุดท่ีต้องได้รับการพัฒนา เพื่อเป็นการกาหนด
ทิศทางการดาเนินงานของตนเองในอนาคตอีกทั้งหน่วยงานต้นสังกัดสามารถใช้
ผลการประเมินจากรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในการตัดสินใ จ
กาหนดนโยบายตา่ ง ๆ เพ่ือส่งเสรมิ คุณภาพของสถานศกึ ษาในสงั กดั ต่อไป

74

โ ด ย มี แ น ว ท ำ ง ก ำ ร จั ด ท ำ ร ำ ย ง ำ น ผ ล ก ำ ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ ำ น ศ ก ษ ำ
(Self-Assessment Report) ดงั ต่อไปนี้

ขั้นตอนที่ รำยกำรปฏบิ ัติ หลักฐำน

1 แต่งตงั้ คณะทำงำน 1. คาสง่ั แตง่ ตง้ั

สถานศึกษาแต่งต้ังคณะทางานเพ่ือจัดทา คณะทางานของ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สถานศึกษาจัดทา

ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา รายงานผลการ

ข้ันพ้ืนฐาน ผู้บริหาร ครู และบุคลากรผู้มีส่วน ประเมนิ ตนเอง

เกี่ยวข้อง และอาจกาหนดให้มีผู้รับผิดชอบ 2. ขอ้ มลู

หลักในการจดั ทารายงานผลการประเมินตนเอง สารสนเทศของ

กส็ ามารถทาได้ สถานศึกษา

2 รวบรวมข้อมลู สำรสนเทศ 3. แบบรายงาน

สถานศึกษาดาเนินการรวบรวมข้อมู ล โครงการ/

สารสนเทศที่สะท้อนคุณภาพของสถานศึกษา กจิ กรรม
และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของ 4. SSR ของครู

สถานศึกษา ข้อมูลที่เก็บรวบรวมต้องเป็นข้อมูล 5. รายงานผลการ

เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร พั ฒ น า ประเมิน
สถานศึกษาและผลการดาเนินงานในรอบปีท่ี ตนเองของ

ผ่านมาท่ีเกิดขึ้นจริงและสามารถสะท้อน สถานศกึ ษา (Self -
คุณภาพในแต่ละมาตรฐานได้อย่างครบถ้วน Assessment
ชดั เจน Report)
6. บันทึกให้ความ
3 เขียนรำยงำนผลกำรประเมนิ ตนเองของ
เห็นชอบของ
สถำนศกษำ คณะกรรมการ
สาระสาคัญแบ่งเป็น 2 ส่วนคือส่วนที่ 1
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ส่วนที่ 2 ข้อมูล สถานศึกษา ฯลฯ

การประเมนิ ตนเอง และตอบคาถาม 3 ขอ้ ดังน้ี

ขนั้ ตอนท่ี รำยกำรปฏบิ ัติ 75
4
5 - มาตรฐานของสถานศกึ ษาอยรู่ ะดบั ใด หลกั ฐำน
- ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์สนับสนุน
มีอะไรบา้ ง
- แผนงานแนวทางพัฒนาคณุ ภาพให้ดีข้นึ กวา่ เดมิ

นำเสนอคณะกรรมกำรสถำนศกษำพิจำรณำให้
ควำมเหน็ ชอบ

ส ถ า น ศึ ก ษ า ต้ อ ง น า เ ส น อ ร า ย ง า น ใ ห้
คณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความ
เห็นชอบและรับรองผลการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาหลังจากเขียนรายงานประเมินตนเอง
เสรจ็ สมบรู ณ์แลว้

รำยงำนและเปิดเผยตอ่ ผู้เกี่ยวขอ้ ง
เ ม่ื อ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง

สถานศึกษาไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาชั้นพ้ืนฐานแล้ว สถานศึกษาต้อง
รายงานและเผยแพร่ผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษาแก่ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ครู นักเรียน
หน่วยงานต้นสังกัด ชุมชนและหน่วยงานอ่ืนท่ี
เก่ียวข้อง ซ่ึงสามารถดาเนินการเผยแพร่ได้หลาย
วธิ ตี ามความเหมาะสม เชน่ Website ของโรงเรียน
วารสาร แผ่นพับและการชี้แจงในการประชุม
เปน็ ต้น

76

สรุปกำรดำเนนิ งำน : ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ที่ ดำ้ น ภำระงำน ระยะเวลำท่ี
ควรแล้วเสร็จ

1 การกาหนด วเิ คราะห์ข้อมูลและผลการดำเนนิ งานรอบ - ก่อนเปิด

มาตรฐาน ปีการศึกษาทผ่ี ่านมาจาก ภาคเรยี น ท่ี 1

การศึกษา 1. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ประจาปี

2. ความสำเรจ็ ปัญหา/อปุ สรรค การศกึ ษา

ของแผนงาน/โครงการ

3. เปา้ หมายการพฒั นาต่อเน่ือง

ทัง้ ดา้ นผู้เรยี น ด้านการบริหารจัดการและ

ดา้ นการจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็น

สาคัญ

เพ่ือ กาหนดค่าเป้าหมายมาตรฐาน

และตัวบ่งช้ีและประกาศใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งทราบ

2 จัดทาแผน 1. วางแผนดำเนนิ กิจกรรม/โครงการ - เม.ย. - พ.ค.

พฒั นา ของสถานศกึ ษา

การจดั - ระบุกจิ กรรม ตามแผนงาน/โครงการ

การศกึ ษาและ - กาหนดเวลา/ปฏิทินการปฏบิ ัติงาน

แผนปฏบิ ตั ิการ ทชี่ ัดเจน

ประจาปี 2. ครูผู้สอนวางแผนออกแบบ - เม.ย. – พ.ค.

การจดั การเรยี นรู้

- วเิ คราะห์หลักสูตร

- จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้และ

ผลิตส่อื - พ.ค.

3. แจ้งผูเ้ กี่ยวขอ้ ง/รับผิดชอบ ทราบและ

ปฏบิ ัติการตามปฏิทนิ

77

ท่ี ดำ้ น ภำระงำน ระยะเวลำที่
ควรแล้วเสร็จ

3 การดาเนนิ 1. ผู้รับผิดชอบ กจิ กรรม/โครงการ - ตลอดปี

การตามแผน ดำเนนิ งานตามปฏทิ นิ การปฏิบตั ิงาน

พัฒนา ทกี่ าหนด

การจดั 2. ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ส่งเสริมสนบั สนุน

การศึกษา กำกับ ตดิ ตาม และให้ความช่วยเหลอื

ในการดำเนนิ งาน

- ดา้ นผ้เู รยี นทง้ั ระดบั ปฐมวัยและ

ขัน้ พ้นื ฐาน

-ส- - สมรรถนะทสี่ ำคญั

- คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

- ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นทุกระดับช้ัน

- พฤติกรรมของนักเรยี นด้าน

ความสามารถพิเศษ กลุ่มเสยี่ ง และกลุม่ มี

ปัญหาการอ่านเขยี นและคดิ วเิ คราะห์

- ด้านการจัดการเรียนการสอนของครู

จัดให้มีการนิเทศภายในตามมาตรฐาน

โดยการสังเกต สัมภาษณ์ ตรวจสอบเอกสาร

หลักฐานการดำเนนิ งาน

4 การติดตาม 1. การตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพ การศกึ ษา - ม.ี ค. – เม.ย.

ตรวจสอบ 1.1 กาหนดปฏิทินการนิเทศ กากับ - มี.ค. – เม.ย.

คุณภาพและ ติดตามและตรวจสอบ ความก้าวหน้า และ - เม.ย. – พ.ค.

พัฒนา ให้ความช่วยเหลอื การดาเนินงาน ตามแผนฯ

คุณภาพอย่าง อย่างต่อเนือ่ ง

ตอ่ เน่ือง

78

ดำ้ น ภำระงำน ระยะเวลำที่
ควรแล้วเสรจ็

1.2 ผู้บริหารและคณะกรรมการประกัน

คุณภาพฯ นิเทศ กากับ ติดตามและ

ตรวจสอบความก้าวหน้า เพื่อเร่งรัด

การพัฒนาคุณภาพการศึกษา-ตลอดปี

(โดยมีปฏิทินการ ดาเนินงานอย่าง

ชัดเจน/เปน็ ระยะ)

2. วิเคราะห์ข้อมูล และผลการประเมิน

คุณภาพภายในฯ

3. วิเคราะห์ข้อมูล และผลการประเมิน

คุณภาพภายนอกฯ

4. นาผลการประเมินไปใช้วางแผน

ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา

5 การรายงาน 1. คณะกรรมการสรุปและจดั ทารายงาน - ม.ค. – ก.พ.

ประจาปี - รวบรวมข้อมลู จากการประเมิน

- จดั ทารายงาน รูปแบบตา่ งๆ เชน่ - ตลอดปี

แผ่นพบั รูปเลม่ (SAR)

2. นำเสนอผเู้ ก่ียวข้องทราบ - พ.ค.

- ผปู้ กครอง/ชุมชน

- สำนกั งานเขตพ้ืนที่

- สมศ. - ก่อนรบั

การประเมิน

ภายนอก

79

(ตวั อย่ำง) รำยงำนผลกำรประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ส่วนที่ 1 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร อธิบายถึงภาพรวมของคุณภาพการจัดการศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
ในปถี ัดไป
ส่วนที่ ๒ รายละเอยี ดผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย

1. นาเสนอข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาให้เหมาะสมเป็นไปตามสภาพจริง
ประกอบด้วย จานวนบุคลากร จานวนนักเรียน ฯลฯ อาจน่าเสนอในรูปของตาราง
แผนภมู ิภาพ กราฟ

2. คา่ เปา้ หมาย และตวั ช้วี ดั
3. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา นาเสนอผลการประเมินตนเอง
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ภาพรวม และรายมาตรฐานแยกเป็นระดับ
การศกึ ษา โดยมีประเด็นตอบคาถาม ดงั น้ี

1) คุณภาพของสถานศกึ ษาอยใู่ นระดับใด มีคุณภาพอย่างไร
2) สถานศึกษาทราบได้อย่างไรว่าตนเองมีคุณภาพในระดับนั้นมีข้อมูล
เชงิ ประจกั ษอ์ ะไรบ้างท่ีสนบั สนนุ กวา่ เดิมอย่างไร
3) สถานศกึ ษามีจดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อ
การพัฒนาคณุ ภาพใหด้ ีขึ้น
ตัวอย่างเชน่ ระดบั การศึกษา............................... มาตรฐานที่ .................................
1. ได้ระดบั คุณภาพ ....................................................
2. ดาเนินการจัดการศึกษา หรือพัฒนาอย่างไร ( วิธีการจัดการเรียนรู้
กิจกรรม โครงการนวตั กรรมทใ่ี ช้ หรอื ดาเนนิ การ)
3. ผลการดาเนินการในข้อ ๒ เกิดอะไรขึ้นอย่างไร (ความรู้ ทักษะ ผลงาน
พฤติกรรม คุณลักษณะ ของนักเรียน ครู โรงเรียน ที่สอดคล้องกับตัวช้ีวัด
ค่าเป้าหมาย ของแต่ละมาตรฐานตามที่กาหนด) เป็นข้อมูล เชิงประจักษ์ที่สนับสนุน
ผลการประเมินในแตล่ ะมาตรฐาน
4. จุดเด่น (ผลงาน หรือคุณลักษณะ ที่โดดเด่นเป็นท่ียอม รับ) จุดท่ี
ควรพัฒนา (ผลงาน หรือคุณลักษณะท่ีไม่เป็นไปตามค่าเป้าหมายท่ีกาหนด)
แผนการพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึน (วิธีการสอน กิจกรรม โครงการใดที่จะทาใน
ปีการศกึ ษาตอ่ ไปเพ่อื ให้ไดค้ ุณภาพสงู ข้ึนควรสอดคล้องกบั จดุ ที่ควรพัฒนา)

80

5. สรุปผลการประเมินตนเอง
(๑) สรุปผล แต่ละมาตรฐาน (อาจเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย

ท่กี าหนดเพอื่ ใหเ้ ป็นภาพผลการประเมินชดั เจน)
(๒) สรุปภาพรวม ถึงจุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ

เพื่อการพัฒนาคุณภาพให้ดี

สว่ นท่ี ๓ ภำคผนวก
1. แนบเอกสารหลักฐานที่เป็นผลงานที่โดดเด่นเชิงประจักษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมิน
ตามมาตรฐาน เชน่

- บันทึกการให้ความเห็นชอบรายงานประจาปีของสถานศึกษาของ
คณะกรรมการสถานศึกษา หลักฐาน เอกสารอ้างอิงต่าง ๆ เกียรติบัตร ภาพกิจกรรม
สาคัญท่ีแสดงถงึ ผลงานดเี ดน่ ของสถานศกึ ษา ระดับจงั หวดั ระดับภาค ระดบั ประเทศ
๒. คาส่ังแต่งตงั้ คณะกรรมการประเมิน และจัดทารายงาน

หมำยเหตุ ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากเอกสารการจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา (เลม่ สฟี า้ )

81

บทท่ี 5

บทเรยี นและเครื่องมอื

กิจกรรมถอดบทเรยี น
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ดาเนินการ

พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดอย่างต่อเน่ือง มีนโยบา ยและ
การดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ ( Plan,Do,Check,Act) ท่ีชัดเจนเกี่ยวกับ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (การบริหารงานวิชาการ : ระบบการประกัน
คุณภาพภายใน) ทง้ั 17 แหง่ มีผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบที่สี่ (ปีการศึกษา
2562) จากสานักงานรับรองมาตรฐ านและประเมินคุณภ าพ การศึกษา
(องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ระดับคุณภาพดีเยี่ยม ร้อยละ 5.88 ระดับคุณภาพดี
มาก ร้อยละ 58.82 ระดับดี ร้อยละ 23.53 แต่มีจุดอ่อนในด้านการบริหารจัดการ
สารสนเทศยังขาดระบบท่ีชัดเจน การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมห้องเรียนไม่เอื้อ
ต่อการเรียนรู้ของเด็ก จากผลการประเมินพบว่า เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน
สมวัย กลา้ คดิ กล้าแสดงออก มีจิตสานกึ การอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม
ที่ดีงาม ผู้เรียนมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสามารถใช้ภาษาสื่อสารให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้
ด้านการบริหารจัดการผู้บริหารมิวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาให้ทั นสมัย
มีการวางแผน เตรียมการ มีความคิดริเร่ิมกลยุทธวิธีการท่ีจะดาเนินการพัฒนาให้
เทียบเท่าในระดับสากล มีโมเดลในการพัฒนาสถานศึกษา ผู้บริหารมีการแสวงหา
เพอื่ สนบั สนุนงบประมาณจากภาครฐั และเอกเอกชน มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้ปกครอง
ใส่ใจดูแลส่ิงแวดล้อมอาคารสถานที่ร่มรื่น มีการจัดการเรียนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มีการบริหารจัดการโดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมตาม
หลักธรรมาภิบาล ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ครูมีทักษะกระบวนการใน
การจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและนานโยบายของรัฐมาใช้ในการจัดประสบการณ์
ครเู ป็นตน้ แบบในการจัดประสบการณ์ดา้ นคุณธรรม และจริยธรรม เปิดโอกาสให้เด็ก
ไดท้ ากจิ กรรมหลากหลาย จดุ ทีค่ วรพฒั นาด้านคณุ ภาพผู้เรียนส่งเสริมกิจกรรมการรัก
การอ่าน ฝึกผู้เรียนให้มีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ด้านความมีระเบียบวินัย เห็นคุณค่า
และประโยชน์ของทรัพยากรเพ่ิมมากขึ้น ฝึกการคิดวิเคราะห์ เน้นทักษะอาชีพให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้เพ่ิมเติมในกิจกรรมที่ตนสนใจให้มากขึ้นเพื่อให้เกิดความชานาญ
โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ด้านการบริหารจัดการควรมีการวิเคราะห์บริบท

82

ความต้องการ เป้าหมาย ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อใช้เป็นฐานในการกาหนด
เป้าหมาย การเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในจัดการศึกษา การใช้ประโยชน์จาก
สภาพแวดล้อมเพ่ือทากิจกรรมการพัฒนาศักยภาพเด็ก ควรมีการบริหารจัดการ
โครงการให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของผู้เรียน ควรนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ใน
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ
ควรมีการวัดและประเมินผลหลังจากจัดประสบการณ์ดาเนินเสร็จสิ้นทุกครั้งและ
บันทึกลงหลังแผนโดยละเอียด ควรประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผล
การประเมินพัฒนาเด็กไปปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้

การดาเนินการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานขับเคลื่อน
ภายใต้การดาเนินงานอย่างเป็นระบบ พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของบุคคลทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องเพ่ือให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพตามที่คาดหวังอนั จะนาไปสู่ความต่อเน่ืองในการพัฒนาและ
เกิดความยั่งยืน ซ่ึงปัจจัยสาคัญท่ีขับเคลื่อนให้ระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาประสบความสาเรจ็ ได้แก่

1. ด้านผู้บริหาร มีวิสัยทัศน์ มีภาวะผู้นาวางแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็น
ระบบ มีเจตคติที่ดีต่อการประกันคุณภาพการศึกษา การส่งเสริมและอานวยความ
สะดวกใหก้ บั ผ้ปู ฏบิ ัติ การกากับติดตามตัวชว้ี ดั และสรา้ งขวญั กาลงั ใจใหก้ บั ผูร้ ่วมงาน

2. ด้านบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจ มีความรับผิดชอบ และมีความมุ่งม่ัน
ในการดาเนินงานประกันคุณภาพ เป็นผู้ร่วมดาเนินการในการคิดวางแผนกิจกรรม
ต่าง ๆ ร่วมกับผู้บริหาร เพ่ือให้เกิดความต่อเนื่องในการดาเนินงานประกันคุณภาพ
ภายในโดยผ่านการทาโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งเป็นท่ีปรึกษาให้คาแนะนา
และเป็นกาลังใจให้แก่นักเรียน ตลอดจนเป็นตัวกลางผู้ประสานความร่วมมือกับ
ทุกฝ่ายเพอื่ ใหก้ ารดาเนนิ งานประสบผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

3. ด้านระบบการตรวจประเมินคุณภาพภายใน การจัดโครงสร้างองค์การ
และโครงสร้างการบริหารที่เอื้อต่อการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา กาหนด
แผนงานขน้ั ตอนและกระบวนการที่ชัดเจนในการตรวจประเมนิ คุณภาพภายใน

4. ด้านชุมชนมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน รับรู้ รับทราบ เป็นภาคี
เครือข่ายท่ีเข้มแข็งในการขับเคลื่อนตามแนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาดว้ ยความเตม็ ใจ

83

5. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนาสถานศึกษา
นาผลการตรวจประเมินคุณภาพภายในมาจัดทาแผนพัฒนาองค์กร ส่งเสริม
การแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามการนาผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
ช่วยเหลือและสนับสนุนการขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตลอดจนการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพ การยกย่องเชิดชูและมอบ
รางวัลให้กับสถานศึกษาท่ีมีการนาผลประเมินมาพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง
และมผี ลการดาเนนิ การทด่ี ี

การดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาพบปัญหา
อุปสรรคในการดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในด้านตา่ ง ๆ ดังนี้

1. ปัญหาด้านนโยบายการประกันคุณภาพ มีการปรับเปลี่ยนระบบอย่าง
เรง่ ดว่ น สร้างความไมม่ นั่ ใจให้กบั บุคลากรว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายอีกหรือไม่
รวมท้ังผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงนโยบายการประเมินคุณภาพภายนอกของ
หน่วยงานอื่น ๆ เช่น สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
องค์การมหาชน (สมศ.) ซ่ึงสถานศึกษาจะต้องปรับแผนกลยุทธ์และนโยบายให้
สอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายนอก แต่สถานศึกษาควรจะมีการจัดประชุม
ช้ีแจงเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนบุคลากรทุกระดับได้มีส่วนร่วม
ในการแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั นโยบายการประกนั คุณภาพของสถานศึกษา

2.ปัญหาด้านผู้บริหาร ยังขาดการกากับดูแล ตรวจสอบการดาเนินการ
ตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตลอดจนจริงจังกับการนาเอาผลการตรวจ
ประเมินมาใช้ในการพฒั นาคุณภาพการปฏิบตั งิ าน

3. ปัญหาด้านบุคลากร ขาดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับมาตรฐานและ
ตัวชี้วัด การช้ีแจง ประชาสัมพันธ์ และการสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
การประกันคุณภาพยังไมก่ ระจายไปยังกลมุ่ เป้าหมาย ทุกกลุ่ม และยังไม่ทั่วท้ังองค์กร
มีบุคลากรบางส่วนท่ีขาดการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพส่งผลต่อความร่วมมือ
ในการพฒั นาระบบและกลไกการประกันคณุ ภาพ

4. ปัญหาด้านระบบการตรวจประเมินคุณภาพภายใน มุ่งเน้นระบบ
เอกสารอ้างอิงขาดระบบการจัดทาฐานข้อมูลกลาง ตลอดจนระบบการประเมินผล
มีหลายระบบและหลายรูปแบบ ควรจะบูรณาการให้เป็นระบบเดียวกัน เพื่อลดภาระ
และความเบื่อหน่าย

84

5. ปัญหาด้านตัวชี้วัดดัชนีและโครงการกิจกรรม มีการเปล่ียนแปลงทุกปี
ตัวช้ีวัดมีจานวนมากเกินไป และขาดการวิเคราะห์ความสอดคล้องกับพันธกิจ
ขององค์กร หรือตัวชี้วัดท่ีแสดงถึงความก้าวหน้าและพัฒนาการขององค์กร
เกณฑ์การประเมินยังไม่เหมาะสม ขาดการรายงานโครงการกิจกรรมท่ีครบถ้วน
สมบูรณ์

กิจกรรมภำวะผู้นำกำรบริหำรจัดกำรงำนประกันคุณภำพภำยในของ
สถำนศกษำ (โรงเรียนที่ได้รับการประเมินภายนอกจาก สมศ.) ได้มานาเสนอข้อมูล
เพอ่ื แลกเปล่ียนเรียนร้ใู นประเด็นตา่ ง ๆ ดังนี้

โรงเรยี นวัดบำงหลวง (รเู้ รา - รูเ้ ขา) บรหิ ารจัดการได้ชัดเจน ครูทางาน
อย่างเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื ง ผลจะเกิดท่คี ุณภาพผ้เู รยี น

1. การเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยต้องสร้างความตระหนัก
ถึงคุณค่าของการประกันคุณภาพภายในและการทางานเป็นทีม โดยบุคลากรทุกคน
ในสถานศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมรับทราบพร้อมกัน และต้องพัฒนาความรู้
ทั ก ษ ะ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ใ ห้ บุ ค ล า ก ร ทุ ก ค น เ กิ ด ค ว า ม มั่ น ใ จ
ในการดาเนินงานประกันคุณภาพด้วยการเตรียมซักซ้อมการตอบคาถาม มีตาราง
กาหนดงานที่ชัดเจน มีการนิเทศภายใน ทา PLC และจัดทาเอกสารอย่างเป็นระบบ
มกี ารอัปเดตข้อมูลโรงเรียนผ่าน Facebook โรงเรียนวัดบางหลวง

2. การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบในการประสานงาน กากับดูแล
ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ให้ทกุ ฝ่ายทางานรว่ มกันและเชอ่ื มโยงเปน็ ทีม

3. การนาข้อเสนอแนะจากศึกษานิเทศก์มาหารือในที่ประชุมและ
ปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะทไ่ี ดร้ ับมา

4. ศึกษาข้อมูลผู้ท่ีจะเข้ามาประเมินโรงเรียนจากเว็บไซต์เพื่อเตรียม
ตอ้ นรับไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เตรียมเอกสารสาหรับผปู้ ระเมินให้ครบถ้วน

5. การจัดทารายงานการประเมินตนเองที่ปรับให้มีนวัตกรรมเข้ามา
รองรบั ในแต่ละกจิ กรรม

85

โรงเรียนวดั บัวหวั่น พบขอ้ สังเกต ดังนี้
1. ข้อดีของการเปน็ ผู้บรหิ ารทไี่ ม่โยกยา้ ยบ่อย ทาใหท้ ราบจุดบกพร่อง

ของตนเองและมเี ครือข่ายชมุ ชน ผปู้ กครองที่เขม้ แขง็
2. การเตรยี มใจ เตรียมคน เตรยี มงานและประสานทุกส่วนที่จะทาให้

เข้าใจตรงกนั
3. การประเมินแต่ละรอบทาให้ได้เรียนรู้และพัฒนาตนเอง

ในการประเมินรอบที่ 4 พบจุดท่คี วรพฒั นา คือ ข้อมูลสารสนเทศ

โรงเรยี นวัดนลิ เพชร พบขอ้ สงั เกต ดังน้ี
1. มกี ารวางแผนเตรียมเด็ก เตรียมครู แต่คิดว่าไม่เน้นเอกสารจึงไม่

มีการจดั เอกสารเตรียมไว้
2. ในรอบการประเมินพบปัญหาครูปฐมวัยย้ายท้ังหมด ทาให้ต้อง

แก้ปัญหาโดยใช้ครูประถมลงมาดแู ลแทน
3. การบรหิ ารจดั การสารสนเทศในทุกงานที่ยงั ขาดระบบทช่ี ัดเจน
4. การทาวิจัยในช้ันเรียน เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาเด็กยังไม่

สอดคล้องกบั สภาพจรงิ
5. จะต้องมีการสรุปผลรายงานโครงการที่ระบุแผนปฏิบัติการ

ใหค้ รบทุกโครงการท่โี รงเรียนกาหนดไว้

โรงเรียนบำ้ นบำงเตย พบวา่ (รู้ตวั เรว็ ปรับตวั ไดท้ ัน)
1. ผู้บริหารใหม่ที่พร้อมรับการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าควรพัฒนา

โรงเรียนต่อไปอยา่ งไร
2. กรรมการผู้ประเมินให้ความสาคัญต่อการรายงานโครงการ

ซงึ่ ทางโรงเรยี นมีส่ง แตเ่ ป็นข้อมลู ทไ่ี ม่ตอ่ เนอ่ื งและไมเ่ ปน็ ระบบ
3. การประชุมร่วมกบั ทีมเพือ่ เปดิ ใจและให้กาลังใจกันมองเป้าหมาย

รว่ มกนั มองเห็นสิง่ ทีม่ ีที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรเู้ พื่อเป็นจุดในการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น
4. เป้าหมายคือเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หาประเมินแล้วด้านผู้เรียน

ได้แค่ “พอใช้” ดา้ นอ่นื ๆ จะได้เกณฑค์ ุณภาพแค่ “พอใช้”เท่านน้ั

86

กจิ กรรมวำงแผนกำรพัฒนำระบบประกนั คณุ ภำพภำยในใหต้ ่อเนือ่ ง
เตรียมควำมพร้อมสูก่ ำรประเมินคณุ ภำพภำยนอกรอบต่อไปจำก สมศ.

กำรวำงแผน (Plan)
มีการประชุมเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการ วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินสภาพ

ปัจจุบัน ร่วมกาหนดมาตรฐาน สร้างเครื่องมือและจัดทาสารสนเทศ สถานศึกษา
มีการจัดทาสารสนเทศ / กาหนดค่าเป้าหมาย / มาตรฐานการพัฒนา การใช้แผน
ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาต่อเน่ืองทุกปี มีการจัดทาแผนการพัฒนา
ของโรงเรียน และการออกแบบการเรียนรู้ของครู มีสารสนเทศ และค่าเป้าหมาย
ระดับโรงเรียน ระดับชั้นเรียนท่ีชัดเจน การสนับสนุนทรัพยากร มีส่วนร่วมหา
แนวทางการพฒั นารว่ มกนั ของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียและผู้ที่เกยี่ วขอ้ ง

1. กำรวำงแผน
การวางแผนเป็นการคิดเตรียมการไว้ล่วงหน้าเพ่ือจะทำงานให้สำเร็จ
อย่างมีประสิทธิภาพในการวางแผนจะต้องมีการกาหนดเป้าหมาย แนวทาง
การดาเนินงานผู้รับผิดชอบงาน ระยะเวลา และทรัพยากรที่ต้องใช้ เพื่อทางานให้
บรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการ สาหรับสถานศึกษา จะต้องมีการจัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับ
ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และหน่วยงาน
ต้นสังกัด เพื่อใช้เป็นแผนแม่บทสาหรับกาหนดทิศทางในการพัฒนาสถานศึกษา

87

ไปสู่เป้าหมายภายในระยะเวลาที่กาหนด เช่น 3 – 5 ปี แผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาเป็นแผนระยะยาวที่ครอบคลุมเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษานั้น ๆจากแผนระยะยาวดังกล่าวนามากาหนดเป็น
แผนปฏิบัติการประจาปี ซึ่งเป็นแผนระยะสั้นภายใน 1 ปี สถานศึกษามีเป้าหมาย
จะดาเนินการเรื่องใดและโดยวิธีใด แล้วจัดทาแผนการจัดการเรียนการสอนตาม
หลักสูตรและให้สอดคล้องกับเป้าหมายของสถานศึกษาตามที่กาหนดไว้ในการ
จัดทาแผนต่างๆ นั้น ควรวางแผนการประเมินผลไปพร้อมกันด้วย เพื่อใช้กากับ
ตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามแผนเพียงใด โดยมีการตั้งเป้าหมายว่าจะ
ประเมินเรื่องใด ใช้วิธีการ รูปแบบอย่างไรในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
แผนการประเมินผลที่ดีควรสอดคล้องเป็นส่วนหนึ่งของการทางานตามปกติใน
ชีวิตประจาวันของผู้บริหาร ครูและผู้เรียน นอกจากนี้ต้องคิดงบประมาณที่
จาเป็นต้องใช้ในการดาเนินโครงการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ของแผน จัดเป็นแผนงบประมาณทั้งรายรับและรายจ่ายของสถานศึกษา

กำรนำไปปฏิบตั ิ (DO)
การนาแผนทุกระดับปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน พร้อมทั้งมี

การนิเทศภายในและการจดั เวทีปรบั ปรุงพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง สถานศึกษามีการจัดทา
แบบการเรยี นร้รู ะดบั ชั้นเรยี น จดั ทาการนิเทศภายใน ร่วมถึงการใช้ชุมชนวิชาชีพเพื่อ
การปรับปรุงและพัฒนา ส่วนการขับเคลื่อนคุณภาพผู้เรียน มีการดาเนินการระดับ
โรงเรียน ระดับช้ันเรียน และการปรับปรุง พัฒนา ต่อยอด เติมเต็ม สนับสนุน
ทรัพยากร

88

เมอ่ื สถานศึกษาได้วางแผนการปฏิบัติงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว บุคลากร
ก็ร่วมกันดาเนินการตามแผนท่ีจัดทาไว้ โดยระหว่างการดาเนินงานต้องมีการเรยี นรู้
เพิ่มเติมตลอดเวลา และควรมุ่งเน้นประโยชน์ท่ีจะเกิดข้ึนกับผู้เรียนเป็นสาคัญ
น อ ก จ า ก นี้ ผู ้บ ร ิห า ร ส ถ า น ศ ึก ษ า ค ว ร จ ะ ส ่ง เ ส ร ิม แ ล ะ ส น ับ ส น ุน ใ ห ้บ ุค ล า ก ร
ทุกคนทางานอย่างมีความสุข จัดสิ่งอานวยความสะดวก สนับสนุนทรัพยากรเพ่ือให้
การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กากับ ติดตาม ท้ังระดับรายบุคคล
รายกลุ่ม เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้มีการดำเนินตามแผนให้การนิเทศในระหว่าง
การปฏบิ ัติงาน ผู้บรหิ ารต้องกากับและติดตามว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือแผนที่
กาหนดไว้หรือมีปัญหาหรือไม่ หากเป็นไปตามแผนหรือมีปัญหาจะได้ให้การนิเทศ
เพ่ือปรับปรุงแก้ไข การกากับและติดตามการปฏิบัติงานมีหลายวิธี เช่น ผู้บริหาร
อาจติดตามด้วยการสอบถามเป็นรายบุคคล จัดประชุมกลุ่ม หรอื ให้แต่ละบุคคล /
กลุ่ม รายงานความก้าวหน้าของการทำงานเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน โดยอาจ
รายงานปากเปล่าหรือจัดทารายงานเสนอเพื่อให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการ
ปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล/กลุ่ม และในแต่ละเดือนอาจมีการพิจารณาว่าบุคคล /
กลุ่ม ใดมีผลการดาเนินงานดีเย่ียม เป็นไปตามเป้าหมายหรอื แผนทีก่ าหนด ซึ่งอาจมี
การให้รางวัลเป็นการให้กาลังใจ ผู้บริหารควรให้การนิเทศเพ่ือให้บุคลากรสามารถ
ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในเรื่องการจัดการเรียนการสอน
การประเมินตนเอง และทักษะในด้านต่าง ๆ โดยผู้บริหารอาจให้การนิเทศเอง
หรือเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความเช่ียวชาญแต่ละดา้ นมาให้การนิเทศหรือ
สง่ บุคลากรไปอบรม

กำรตรวจสอบตดิ ตำม (CHECK)
การตรวจสอบคุณภาพและข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาตามสภาพจริงสู่มาตรฐาน

สถานศึกษามีการประเมินคุณภาพโดยการประเมินตนเองจากการจัดการเรียนรู้
(นักเรียน + ครู) การประเมินตนเองของสถานศึกษา (นักเรียน + ครู + ผู้บริหาร +
ภายใน) การตรวจสอบทบทวนคุณภาพโดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินตนเอง
โดยเทียบกับค่าเป้าหมาย / มาตรฐานระดับปฐมวัย และระดับขั้นพ้ืนฐาน
มีการตรวจสอบผลการประเมินตามสภาพจริงจากสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และ
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
เพื่อเพมิ่ เติมขอ้ เสนอแนะและปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป

89

การประเมินผล เป็นกลไกสาคัญท่ีจะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเพราะ
จะทำให้ได้ข้อมูลย้อนกลับท่จี ะสะทอ้ นให้เห็นถึงการดำเนินท่ีผ่านทก่ี าหนดไว้เพียงใด
ต้องปรบั ปรุงแก้ไขในเรอื่ งใด ผู้บริหารและครูที่เข้าใจระบบการประกันคุณภาพอย่าง
ถูกต้องจะตระหนักถึงความสำคัญของการประเมินผล ไม่กลัวการประเมินผล
โดยเฉพาะการประเมินตนเอง ซ่ึงเป็นการประเมินท่ีมุ่งเพ่ือการพัฒนาไม่ใช่
การตัดสินถูก – ผิด และไม่ใช่เร่ืองที่ทำยาก ไม่ต้องคิดเคร่ืองมือหรือแบบประเมิน
มากมาย แตเ่ ป็นการประเมินในงานท่ีทำอยู่เป็นประจำ เครื่องมือที่ใช้อาจเป็นสิ่งท่ีมี
อยู่แล้ว โดยไม่ต้องคิดสร้างข้ึนใหม่ เช่น สถิติที่เป็นข้อมูลพ้ืนฐานทั่วไปของฝ่าย
บริหาร ผลงาน หรือการบ้าน ตลอดจนการทดสอบย่อยของผู้เรียนในชั้นเรียน
ซ่งึ เป็นข้อมูลทค่ี รูมีอยู่แล้วเพียงแต่จัดเก็บให้เป็นระบบมากขึ้นเท่านนั้

ในระหว่างที่สถานศึกษาดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ ควรมี
การตรวจสอบประเมนิ ผลเป็นระยะๆ เพื่อพจิ ารณาว่าการดำเนินการเป็นไป
ในทิศทางทจ่ี ะนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายหรือมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ที่กำหนด
ในแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการหรือไม่ เพียงใด มีจุดอ่อน จุดแข็งประการใด
มีส่วนใดท่ตี ้องปรับปรุง เพอื่ ให้บรรลุเป้าหมายหรือมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่กาหนด
มากที่สุด และเม่ือสิ้นภาคเรียนหรือสิ้นปีการศึกษาก็จะต้องมีการประเมนิ สรุปรวม
เพอ่ื นาผลมาพจิ ารณาแก้ไข ปรับปรุงการดำเนินการในระยะตอ่ ไป

90

กำรปรบั ปรงุ และพัฒนำอย่ำงต่อเนือ่ ง (ACT)
มีการจัดทาสรุปโครงการตามแผนปฏิบัติงานในแต่ละปี โดยการวิเคราะห์

จดุ ควรพัฒนา ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน โดยสถานศึกษามีการจัดทารายงาน
ประจาปีทุกปีการศึกษา (SAR) เสนอต่อกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน รายงานให้
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา วิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย และจัดทาสารสนเทศเพ่ือ
นาข้อมูลไปปรับปรุงการดาเนนิ การในปกี ารศกึ ษาต่อไป

เม่ือบุคลากรแต่ละคน แต่ละฝ่ายมีการประเมินผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ก็ส่งผลให้คณะกรรมการทีร่ บั ผดิ ชอบ ซ่งึ จะต้องรวบรวมผลการประเมินมาวิเคราะห์
สังเคราะห์แปลผลในภาพรวมทั้งหมด แล้วนาเสนอผลการประเมินต่อผู้เก่ียวข้อง
เช่น ครูประจำชั้น ครูประจาวิชา หัวหน้าหมวด ผู้บริหาร เพ่ือนาผลไปใช้ใน
การพัฒนางานของตนเองต่อไป การเผยแพร่ผลประเมินอาจใช้วิธีจัดประชุมครู
ภายในสถานศึกษา จัดบอร์ด หรือจัดทารายงานผลการประเมนิ ฉบับย่อแจกบุคลากร
ผลการประเมินสามารถนาไปใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการปรับปรุงการปฏิบัติงานของผูบ้ ริหาร
และบุคลากรและใชใ้ นการวางแผนต่อไป รวมทั้งจัดทาเป็นข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้
ประกอบการตัดสนิ ใจในเร่ืองตา่ ง ๆ ได้

4.1 การปรับปรุงการปฏิบัติงานของผบู้ ริหารและบุคลากร ในระหว่าง
การดำเนนิ งานและมีการตรวจสอบประเมินผลทั้งในระดับรายบุคคล หรือระดับชั้น /
หมวดวิชา ผบู้ ริหารและบุคลากรสามารถนาผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงการทางาน
ของตนเองและปรับปรุงแผนการดาเนินงานได้เลย เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปตาม
แผนและเป้าหมายท่กี าหนดไว้

4.2 การวางแผนในระยะต่อไป การนำผลการประเมินไปใชจ้ ัดทาแผน
ในภาคเรยี นหรือปกี ารศกึ ษาตอ่ ไปควรมีการวิเคราะหจ์ ดุ เดน่ และจุดท่ตี อ้ งปรับปรุง

91

ของสถานศึกษา หาสาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ไขโดยให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
เข้ามามีส่วนรว่ มเพ่อื นำไปพัฒนาปรับปรุงการจัดการศึกษาตอ่ ไป

วิธีการวิเคราะห์จุดเด่นและจุดท่ีต้องปรับปรุงสามารถทำได้ง่าย ๆ โดย
เปรียบเทียบผลการปฏบิ ัติงานกับเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ ผลตา่ งทเ่ี กิดข้ึนจะสะท้อนสิ่ง
ที่ต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุง เม่ือทราบส่ิงท่ีต้องปรับปรุงของสถานศึกษาแล้ว
จะต้องนามารว่ มกันวิเคราะห์หาสาเหตเุ พ่ือป้องกันและแก้ไขปรับปรุง หลังจากนั้น
จึงระดมความคิดจากบุคลากรท่เี กี่ยวข้องมาช่วยกนั หาวิธีแก้ปญั หา

ผลการประเมินอาจชี้จุดที่สถานศึกษาต้องทำการปรับปรุงหลายประการ
ซ่ึงสถานศึกษาไม่สามารถแก้ไขปัญหาเหล่านั้นไดพ้ ร้อมกัน ต้องกาหนดลำดับ
ความสำคัญว่าปัญหาอะไร จำเป็นต้องพัฒนาก่อน เพื่อนามาวางแผนแก้ไขปรับปรุง
แผนปฏิบัตงิ านและจัดทาโครงการหรอื กิจกรรมในภาคเรยี นหรอื ปกี ารศกึ ษาต่อไป

4.3 การจัดทาข้อมูลสารสนเทศ ถ้าสถานศึกษาท่ีได้จากการประเมิน
มาพัฒนาเป็นข้อมูลสารสนเทศทสี่ ามารถใช้ได้สะดวกรวดเรว็ และเปน็ ปจั จุบันก็จะ
เปน็ ประโยชนใ์ นการบริหารงาน และประกอบการตดั สนิ ใจในเรอื่ งต่าง ๆ รวมทั้งเมื่อ
หน่วยงานภายนอกเข้ามาประเมิน สถานศึกษาก็พร้อมท่ีจะนาเสนอข้อมูลและ
สารสนเทศที่ผู้ประเมินต้องการได้ง่ายข้ึนในทุก ๆ ด้าน การดำเนินงานประเมนิ ผล
ของสถานศึกษาไม่ได้สนิ้ สุด เพียงแต่ทาการประเมนิ ตนเองเพียง ครั้งเดียวแล้ว
หยุดเลย แต่ต้องทำตลอดเวลา ผลการประเมินที่จัดทำเสร็จแล้วถือเป็นข้อมูลที่
แสดงถึงสภาพการดำเนินงานในขณะน้ัน ซ่ึงต้องมีการตรวจสอบใหม่ว่า
การดาเนินงานในช่วงต่อไปสอดคล้องกับเป้า หมายและแนวทางการพัฒนาของ
สถานศึกษาอย่างไร การพัฒนาปรับปรุงตนเองจึงต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ืองไม่มี
ท่ีสิน้ สุด

การทาให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาที่สะท้อนการพัฒนา
ท่ียั่งยืน การสร้างวัฒนธรรมการทางานท่ีทาให้คุณภาพของสถานศึกษามีการพัฒนา
อย่างย่ังยืนแม้เวลาผ่านไป แม้มีการเปล่ียนบุคลากรรับผิดชอบ มีความสาคัญเป็น
อย่างยง่ิ ดงั น้ัน ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากร ทางการศึกษาจึงควรมีความรู้
ความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่าของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
โดยผู้บริหารสถานศึกษาแสดงภาวะผู้นา และเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องร่วม
ขับเคลือ่ นคณุ ภาพสถานศกึ ษา โดยจัดโครงสร้าง กาหนดบทบาทหน้าท่ี ผู้รับผิดชอบ

92

จัดทาคู่มือและแนวปฏิบัติตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่พร้อม
รับการเปลี่ยนแปลงและความเสี่ยงท่ีเกิดขึ้นในอนาคต สร้างเครือข่ายร่วมพัฒนา
คุณภาพ การศึกษา พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือให้มีสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน
ครอบคลุมเป็นปัจจุบัน และเพียงพอต่อการตัดสินใจ ส่งเสริมให้ครูพัฒนาบทเรียน
ร่วมกันผ่านกระบวนการ PLC และสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ
ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายและสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลง ส่งเสริมการประกันคุณภาพ
ทงั้ ระดบั หอ้ งเรียนและระดับสถานศึกษา เพื่อสะทอ้ นการเกิดวฒั นธรรมคุณภาพอย่าง
ตอ่ เนอ่ื งทั้งในสว่ นของคณะครู และองคก์ รในภาพรวม ดงั น้ี

1. ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรแกนนาใช้ภาวะผู้นา ในการบริหาร
จัดการให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมกันขับเคล่ือนระบบประกันคุณภาพภายในท่ีสะท้อน
การพัฒนาที่ยั่งยืน อาจจะมี Model การทางานที่เป็นระบบสาหรับงานต่าง ๆ
ก็แสดงความยั่งยืนได้ เน่ืองจากสถานศึกษามีการขับเคล่ือนคุณภาพอยู่ตลอดปี
การศึกษาตาม Model ที่กาหนดทเี่ ป็นท่ียอมรับของบคุ ลากรทุกคน

2. ส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ( Learning
Organization) และบุคลากรสถานศึกษา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ร่วมกันพัฒนา
ระบบประกันคุณภาพภายใน โดยใช้กระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้
เชิงวิชาชพี (PLC) เปน็ ปกติอยา่ งตอ่ เนื่อง

3. ส่งเสริมให้การบริหารจัดการคุณภาพเกิดขึ้นท้ังในระดับสถานศึกษา
ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับห้องเรียน และระดับรายบุคคลท่ีสะท้อนถึง
ความตระหนักในคุณค่าและเกิดวัฒนธรรมคุณภาพในตัวบุคคล และสถานศึกษา
ในภาพรวม

4. จัดให้มีโครงสร้าง กาหนดบทบาทหน้าที่ ผู้รับผิดชอบชัดเจน คู่มือและ
แนวทางการปฏิบัติงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ที่พร้อมรับ
การเปลย่ี นแปลงและความเส่ียงทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ในปัจจุบันและอนาคต

5. จัดให้มีการบริหารจัดการระบบสารสนเทศให้พร้อมใช้ มีข้อมูลที่ถูกต้อง
เชื่อถือได้ ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน และครอบคลุมภารกิจของสถานศึกษาที่สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

93

6. ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาใน
การวางแผนและขับเคล่ือนคุณภาพสู่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่าง
ต่อเนอื่ งด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย

การเป็นพลังร่วมกันอย่างสร้างสรรค์และการเสริมสร้างภาวะผู้นาร่วมของ
ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ ในระดับโรงเรียน ประกอบไปด้วย ผู้บริหารโรงเรียนท่ีมีภาวะ
ผู้นาในการประสานบริหารจัดการโครงการครูท่ีรับผิดชอบมีภาวะผู้นาร่วมในการนา
นโยบายสู่การปฏิบัติอย่างหลากหลายที่มีเป้าหมายเดียวกัน สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษา ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีภาวะผู้นาในการกาหนด
นโยบายส่งเสริมสนับสนุน กากับติดตาม ศึกษานิเทศก์ท่ีรับผิดชอบโครงการมีภาวะ
ผู้นาในการบริหารจัดการวิชาการและประสานประโยชน์ที่หลากหลายอันนาไปสู่
ความสาเร็จ ศึกษานิเทศก์ทุกคนมีภาวะผู้นาในการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลและ
ใช้ชุมชนวิชาชีพแห่งการเรียนรู้ในการขับเคล่ือนระบบประกัน คุณภาพภายในของ
สถานศึกษา ทั้งนี้ พลังรว่ มและภาวะผนู้ าคอื การเรยี นรเู้ พื่อการพฒั นาที่ยง่ั ยนื

94

เครือ่ งมือนิเทศติดตำมกำรพัฒนำระบบประกันคุณภำพภำยในสถำนศกษำ
ตำมรูปแบบกำรประเมินแนวใหมแ่ ละกฎกระทรวงกำรประกันคุณภำพกำรศกษำ

พ.ศ. 2561 สำนักงำนเขตพืน้ ทีก่ ำรศกษำประถมศกษำนครปฐม เขต 2

โรงเรียน........................กลุ่มเครือข่าย.......................สพป.นครปฐม เขต 2

คำชแี้ จง

1. ให้ทำเคร่ืองหมายถูก () ตามระดับคุณภาพทส่ี ถานศึกษาได้ดาเนนิ การ

(ปฏิบัติ/ไมป่ ฏิบัติ)

2. ใหบ้ ันทึกหลักฐาน/ร่องรอยท่สี ถานศึกษาได้ดำเนินงานตามข้อเท็จจริง

กระบวน รำยกำรนิเทศ ติดตำม ปฏิบตั ิ ไม่ หลักฐำน
กำร ปฏิบัติ /

ร่องรอย

PLAN 1. ผู้บรหิ ารโรงเรียน คณะครู และ
ผเู้ กีย่ วขอ้ งมีความตระหนักและ
เห็นความสาคญั ของการประกัน
คุณภาพภายใน

2. สถานศึกษาสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ
เกีย่ วกับระบบการประกนั คุณภาพ
การศึกษากบั ผู้มสี ่วนเกีย่ วข้อง
(ครู ผู้ปกครอง ชมุ ชน กรรมการ
สถานศึกษา ผู้ทรงคณุ วุฒใิ นท้องถนิ่
ฯลฯ)

3. สถานศึกษาได้นำระบบประกัน
คุณภาพการศึกษาไปดำเนินการเปน็
ส่วนหนึ่งในการบริหารงาน

4. มกี ารวางแผนการดำเนินการระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษา
อย่างต่อเน่ืองทุกปี

กระบวน รำยกำรนิเทศ ติดตำม ปฏิบัติ ไม่ 95
กำร ปฏิบัติ
หลักฐำน
/

ร่องรอย

5. สถานศึกษากำหนดเป้าหมาย
วิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ
ความต้องการของชมุ ชนท้องถิ่นอย่าง
ชัดเจน มงุ่ เนน้ ทค่ี ณุ ภาพผู้เรียนโดย
ทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วม

6. มกี ารแต่งต้งั คณะกรรมการ
ดำเนินงานเป็นรูปธรรมชัดเจน

7. สถานศึกษาดาเนนิ การกาหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดบั การศึกษาปฐมวยั และระดบั
การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กาหนดตวั ช้ีวัด /
คาอธิบายของประเด็นพิจารณาการให้
ระดับคุณภาพของแตล่ ะมาตรฐาน
ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา

8. สถานศึกษากาหนดค่าเปา้ หมายใน
การพฒั นา ได้สอดคล้องกับประเดน็
พจิ ารณา (เชิงปริมาณ /เชิงคุณภาพ)

9. สถานศึกษาได้ประกาศมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาภายใน
ระยะเวลาท่ีกาหนดใหค้ รู บุคลากรและ
คณะกรรมการสถานศึกษาได้
รบั ทราบทุกคน

กระบวน รำยกำรนิเทศ ติดตำม ปฏิบตั ิ ไม่ 96
กำร ปฏิบตั ิ
หลักฐำน
/

ร่องรอย

10. จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาท่มี ุง่
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
- วเิ คราะห์ ผลการประเมนิ คุณภาพ
การศกึ ษาปที ี่ผ่านมา สภาพปัจจุบัน
ปญั หาเพื่อกาหนดแนวทางการพฒั นา
และค่าเป้าหมาย การพัฒนาในปีถดั ไป
- จดั ทาแผนพัฒนาการศึกษาท่ีมงุ่
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
- จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ท่ี
สอดคล้องกับแนวทางการพฒั นา

11. การออกแบบการเรียนรขู้ องครู
เปน็ ไปตามหลักสตู รและสอดคลอ้ งกับ
เป้าหมายของสถานศกึ ษา

12. พฒั นาระบบสารสนเทศให้พรอ้ ม
ใช้ มีข้อมลู ทถ่ี กู ตอ้ ง ครอบคลุมเปน็
ปัจจุบัน

DO 1. สถานศึกษาดาเนินการพฒั นา
คุณภาพการศึกษาแยกชั้นเรยี น
ตามแผนปฏิบัตกิ าร

2. มกี ารนิเทศภายในระหว่าง

ปฏบิ ัตงิ านเพื่อกระตุ้นให้มี

การดาเนนิ การตามแผน

การบริหารงานดา้ นอ่นื ๆ

กระบวน รำยกำรนิเทศ ติดตำม ปฏิบตั ิ ไม่ 97
กำร ปฏิบตั ิ
หลักฐำน
/

ร่องรอย

CHECK 3. ส่งเสริมใหบ้ ุคลากรเรยี นรรู้ ่วมกนั ใน
การพฒั นาระบบประกันคุณภาพ
ภายในโดยใชช้ มุ ชนวิชาชพี เพอ่ื
ปรบั ปรงุ พฒั นา ตอ่ ยอดอย่างต่อเนอื่ ง
1. สถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะกรรมการ

ตรวจสอบประเมนิ จากหลายฝ่าย

จัดใหม้ ีการประเมินผลการดาเนนิ งาน

และตรวจสอบคณุ ภาพของ

สถานศึกษาท้ังระดบั บุคคลและระดับ

สถานศึกษา อยา่ งน้อยภาคเรียน

ละ 1 ครงั้

2. จัดทำ Time line / ปฏิทนิ
การตรวจสอบคณุ ภาพเปน็ ระยะ
ท้ังระหวา่ งปีการศึกษาและสิ้นปี
การศึกษา

3. มกี ารประเมนิ คุณภาพภายในตาม
สภาพบริบทของสถานศึกษาทัง้ เชิง
ปรมิ าณและเชิงคุณภาพควบคกู่ นั ไป
โดยใชว้ ิธกี ารและเคร่ืองมอื ที่
หลากหลาย


Click to View FlipBook Version