The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สพป.นครปฐม เขต2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suthirat.na, 2021-03-10 10:13:37

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

คู่มือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สพป.นครปฐม เขต2

Keywords: PDCA,การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

กระบวน รำยกำรนิเทศ ติดตำม ปฏิบัติ ไม่ 98
กำร ปฏิบตั ิ
หลักฐำน
/

ร่องรอย

4. มกี ารตัดสินคุณภาพของ
สถานศึกษาเป็นการประเมินใน
ภาพรวมของผล การดำเนินงานหรือ
กระบวนการดำเนินงาน (holistic
rubric)
5. การประเมนิ คุณภาพภายในของ
สถานศึกษาเน้นการประเมินตาม
หลักฐานเชิงประจักษ์ทเี่ กิดจาก
การปฏิบัติงานตามสภาพจริงของ
สถานศึกษา (evidence based)

6. หลังการประเมินแล้วได้แจ้งผล
การประเมินและให้ข้อเสนอแนะใน
การปรับปรุงเพื่อการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาตามสภาพจริงส่มู าตรฐาน

ACT 1. นาผลการประเมินคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษามาใช้ปรับปรงุ การ
ทางาน/แผนการดาเนินงาน วเิ คราะห์
จุดเด่นและจุดควรพฒั นาเพื่อวางแผนใน
ระยะต่อไป รวมท้ังจัดทาข้อมลู
สารสนเทศเพื่อพัฒนาในปีต่อไป

2. จัดทารายงานคุณภาพประจำปี
(SAR) ไดค้ รอบคลุม ชดั เจน สะท้อน
สภาพจริงของโรงเรยี นและจัดสง่ ตรง
ตามกำหนดเวลา

กระบวน รำยกำรนิเทศ ติดตำม ปฏิบตั ิ ไม่ 99
กำร ปฏิบัติ
หลักฐำน
/

ร่องรอย

3. นาเสนอรายงานต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษาใหค้ วามเห็นชอบและ
ผา่ นการพิจารณาจากผ้ทู รงคุณวฒุ ิ
ท่ไี ด้รับการแต่งตัง้

4. รายงานและเปดิ เผยผลการประเมิน
ต่อผูม้ สี ่วนเกย่ี วขอ้ ง ได้แก่ ครู
ผ้ปู กครอง หนว่ ยงานต้นสังกัด
หน่วยงานอ่นื ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ชมุ ชน ท้องถนิ่
ตลอดจนการเผยแพร่โดยส่อื อ่นื ๆ เช่น
website facebook จดหมายขา่ ว ฯลฯ

รวม

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ..........
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
.

ลงช่อื .........................................................ผู้นิเทศ
(............................................................)

100

ตัวอยำ่ ง

กำรกำหนดตัวชว้ี ัด คำอธบิ ำยคุณภำพ คำ่ เป้ำหมำย มำตรฐำนกำรประกนั

คุณภำพกำรศกษำของสถำนศกษำ ระดับกำรศกษำปฐมวัย

มำตรฐำน ค่ำเปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ / ตวั ชีว้ ดั คุณลักษณะสิ่งท่ี

ประเด็นพิจำรณำ ต้องกำรให้ดีข้นเกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของเด็ก

1. มพี ฒั นาด้านร่างกาย 1.1 ร้อยละของเด็กมี - ร้อยละ 80 ของเด็ก

แข็งแรง มสี ุขนสิ ัยทดี่ ี น้าหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ มีนา้ หนกั ส่วนสงู

และดแู ลความปลอดภัย มาตรฐาน ตามเกณฑ์มาตรฐาน

ของตนองได้ 1.2 รอ้ ยละของเด็ก - ร้อยละ 80 ของเด็ก
เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย เคลื่อนไหวรา่ งกาย
คลอ่ งแคล่ว ทรงตวั ไดด้ ี คลอ่ งแคลว่ ทรงตวั ไดด้ ี
ใชม้ อื และตาประสาน ใช้มือและตาประสาน
สัมพันธไ์ ด้ดี สมั พนั ธ์ได้ดี
- ร้อยละ 80 ของเด็ก
1.3 ร้อยละของเด็กดูแล ดูแลรักษาสขุ ภาพ
รักษาสุขภาพอนามัยสว่ น อนามยั สว่ นตนและ
ตนและปฏิบัติจนเปน็ นิสัย ปฏบิ ัติจนเป็นนสิ ัย

1.4 ร้อยละของเด็กปฏบิ ัติ - ร้อยละ 80 ของเด็ก
ตนตามข้อตกลงเก่ียวกบั ปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง
ความปลอดภัย หลกี เลยี่ ง เกยี่ วกบั ความ ปลอดภยั
สภาวะทเ่ี ส่ียงต่อโรค หลกี เล่ยี งสภาวะท่ีเสี่ยงต่อ
สิง่ เสพตดิ และระวังภัย โรค ส่ิงเสพติด และระวัง
จากบุคคล สิ่งแวดล้อม และ ภยั จากบคุ คล สิง่ แวดลอ้ ม
สถานการณ์ท่เี สย่ี งอนั ตราย และสถานการณท์ ี่เส่ยี ง
อันตราย

101

มำตรฐำน ค่ำเปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ / ตัวชีว้ ัด คุณลกั ษณะส่ิงทต่ี ้องกำร

ประเด็นพิจำรณำ ให้ดีขน้ เกิดข้น

มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของเดก็ (ตอ่ )

2. มีพฒั นาการด้าน 2.1 รอ้ ยละของเด็ก - รอ้ ยละ 80 ของเด็กร่าเริง

อารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ รา่ เรงิ แจม่ ใสแสดง แจม่ ใส แสดงอารมณ์

และแสดงออก อารมณ์ ความรู้สึกได้ ความรสู้ กึ ได้ เหมาะสม

ทางอารมณ์ได้ เหมาะสม - ร้อยละ 80 ของเด็กร้จู ัก

2.2 รอ้ ยละของเด็กรจู้ ัก ยับย้ังชั่งใจ อดทนใน
ยับยงั้ ชั่งใจ อดทนใน การรอคอย
- รอ้ ยละ 80 ของเด็กยอมรบั
การรอคอย

2.3 รอ้ ยละของเด็ก และพอใจในความสามารถ
ยอมรับและพอใจใน และผลงานของตนเองและ
ความสามารถและผลงาน ผอู้ นื่
ของตนเองและผู้อ่นื - รอ้ ยละ 80 ของเด็กมี
จิตสานึกและคา่ นิยมท่ีดี
2.4 ร้อยละของเด็กมี - ร้อยละ 80 ของเด็กมีความ
จิตสานกึ และคา่ นิยมท่ีดี มนั่ ใจ กล้าพูด กลา้ แสดงออก

2.5 รอ้ ยละของเด็กมี - ร้อยละ 80 ของเด็ก
ความม่ันใจ กล้าพูด ช่วยเหลอื แบ่งปนั
กลา้ แสดงออก - ร้อยละ 80 ของเด็กเคารพ
สทิ ธิ รู้หนา้ ทรี่ ับผิดชอบ
2.6 ร้อยละของเด็ก อดทนอดกลั้น
ช่วยเหลือแบง่ ปนั
- ร้อยละ 80 ของเด็กซ่อื สตั ย์

2.7 รอ้ ยละของเด็กเคารพ สุจริต มีคณุ ธรรม จริยธรรม
สทิ ธิ รหู้ นา้ ที่รบั ผดิ ชอบ ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด

อดทนอดกลั้น

102

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ / ตัวช้วี ดั คุณลกั ษณะสงิ่ ท่ี

ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรให้ดีขน้ เกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของเดก็ (ตอ่ )

- ร้อยละ 80 ของเด็กมี

ความสุขกับศิลปะดนตรี

และการเคลื่อนไหว

3. มีพัฒนาการด้าน 3.1 ร้อยละของเด็กชว่ ยเหลือ - ร้อยละ 80 ของเด็ก

สังคม ช่วยเหลอื ตนเอง ตนเองในการปฏบิ ัตกิ ิจวตั ร ชว่ ยเหลอื ตนเองใน

และเป็นสมาชกิ ท่ดี ี ประจาวนั มวี ินยั ในตนเอง การปฏิบัติกจิ วัตร

ของสังคม 3.2 ร้อยละของเด็กประหยัด ประจาวันมีวินัยในตนเอง

และพอเพยี ง และปฏบิ ตั ติ ามกฎ กติกา

3.3 รอ้ ยละของเด็กมสี ว่ นรว่ ม ของห้องเรยี น โรงเรยี น
ดแู ลรกั ษาส่ิงแวดล้อมในและ - ร้อยละ 80 ของเด็กมี
นอกห้องเรยี น ความรับผิดชอบใน
การทากจิ กรรม หรือ
3.4 ร้อยละของเด็กมีมารยาท การทางานทไ่ี ด้รบั
ตามวฒั นธรรมไทย เช่น มอบหมาย
การไหว้ การย้มิ ทักทาย และ - ร้อยละ 80 ของเด็ก
มีสมั มาคารวะกบั ผใู้ หญ่ ฯลฯ ประหยดั และพอเพียง

3.5 รอ้ ยละของเด็กยอมรับ - ร้อยละ 80 ของเด็ก
หรือเคารพความแตกตา่ ง มีส่วนร่วมดแู ลรักษา
ระหวา่ งบคุ คล เชน่ ความคิด สิ่งแวดล้อมในและ
พฤติกรรม พน้ื ฐานครอบครัว นอกห้องเรียน

เช้ือชาติ ศาสนา วฒั นธรรม

เปน็ ต้น

มำตรฐำน 103

กำรประกันคุณภำพ / ตวั ชว้ี ดั คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ
คุณลกั ษณะสิง่ ที่
ประเดน็ พิจำรณำ ตอ้ งกำรให้ดีขน้ เกิดขน้

มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของเด็ก (ตอ่ ) - รอ้ ยละ 80 ของเด็กมี
มารยาทตามวฒั นธรรม
3.6 รอ้ ยละของเด็กเลน่ และ ไทย เช่น การไหวก้ ารยิ้ม
ทักทาย และมีสัมมา
ทางานรว่ มกับผู้อนื่ ได้ แก้ไข คารวะกบั ผใู้ หญ่ ฯลฯ
- รอ้ ยละ 80 ของเด็ก
ข้อขัดแย้งโดยปราศจาก ยอมรบั หรอื เคารพความ
แตกต่างระหว่าง บคุ คล
การใชค้ วามรนุ แรง เช่น ความคิด พฤติกรรม
พ้นื ฐานครอบครวั เชอื้
4. มพี ัฒนาการด้าน 4.1 ร้อยละของเด็กสนทนา ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม
สติปญั ญา สอื่ สารได้ โต้ตอบและ เปน็ ต้น
มที กั ษะการคิดพ้นื ฐาน เล่าเร่ืองใหผ้ ้อู ื่นเข้าใจ - รอ้ ยละ 80 ของเด็กเลน่
และแสวงหาความรู้ได้ และทางานรว่ มกบั
ผู้อื่นได้แกไ้ ขข้อ ขัดแย้ง
โดยปราศจากการใช้
ความรุนแรง
- รอ้ ยละ 80 ของเด็ก
สนใจเรยี นร้สู ิ่งรอบตวั
สนทนาโต้ตอบและเลา่
เรื่องให้ผูอ้ น่ื เขา้ ใจซักถาม
อย่างตงั้ ใจ

104

มำตรฐำน คำ่ เป้ำหมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ / ตัวชีว้ ัด คุณลกั ษณะสิ่งที่

ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรให้ดีขน้ เกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของเด็ก (ต่อ)

4.2 ร้อยละของเด็กต้งั - ร้อยละ 80 ของเด็กต้ัง

คาถามในสงิ่ ทตี่ นเองสนใจ คาถามในสิง่ ท่ตี นเองสนใจ

หรอื สงสยั และพยายาม หรอื สงสัยและพยายาม

คน้ หาคาตอบ คน้ หาคาตอบ

4.3 ร้อยละของเด็กอ่าน - ร้อยละ 80 ของเด็กอา่ น

นิทานและเลา่ เรื่องที่ นิทานและเลา่ เรื่องที่
ตนเองอ่านได้เหมาะสม ตนเองอา่ นได้ เหมาะสม
กับวยั กบั วัย

4.4 ร้อยละของเด็กมี - รอ้ ยละ 80 ของเด็กมี
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการคดิ
รวบยอด การคดิ เชงิ เหตุผล รวบยอด การคิด เชงิ
ทางคณิตศาสตรแ์ ละ เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ การคิด และวทิ ยาศาสตร์ การคดิ
แกป้ ญั หาและสามารถ แกป้ ัญหา และสามารถ
ตัดสนิ ใจในเร่ืองงา่ ย ๆ ได้ ตัดสนิ ใจในเรอื่ งง่าย ๆ ได้
- รอ้ ยละ 80 ของเด็ก
4.5 ร้อยละของเด็ก สร้างสรรคผ์ ลงานตาม
สรา้ งสรรคผ์ ลงานตาม ความคิดและ จนิ ตนาการ
ความคิดและจนิ ตนาการ เชน่ งานศลิ ปะ
เช่น งานศลิ ปะ การเคล่อื นไหวท่าทาง
การเคลอ่ื นไหวทา่ ทาง การเลน่ อิสระ ฯลฯ
การเลน่ อสิ ระ ฯลฯ

105

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ / ตัวชี้วดั คุณลกั ษณะส่ิงที่

ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรให้ดีข้นเกิดข้น

มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของเด็ก (ตอ่ )

4.6 ร้อยละของเด็กใช้สื่อ - รอ้ ยละ 80 ของเด็กใช้

เทคโนโลยี เชน่ แวน่ ขยาย ส่ือเทคโนโลยี เช่น แว่น

แม่เหลก็ กล้องดิจติ อล ขยาย แม่เหล็ก กล้อง

ฯลฯ เปน็ เคร่อื งมือในการ ดิจติ อล ฯลฯ เป็น

เรียนรูแ้ ละแสวงหาความรู้ เครือ่ งมือในการเรยี นรู้

ได้ และแสวงหา ความรู้ได้

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร

1. มีหลกั สูตรครอบคลุม 1.1 มหี ลักสูตร 1. มกี ารพัฒนาหลกั สตู ร

พัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สถานศึกษาทยี่ ืดหย่นุ และ สถานศึกษาปฐมวัย
สอดคล้องกับบรบิ ทของ สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร ท่ี สอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร
ทอ้ งถนิ่ การศกึ ษาปฐมวยั การศกึ ษาปฐมวัย
พุทธศักราช 2560 และ
1.2 ออกแบบจัด

ประสบการณ์ทเ่ี ตรยี ม บริบทของท้องถิ่น
ความพร้อมและไมเ่ รง่ รดั 2. มคี าสงั่ แต่งตง้ั
คณะกรรมการบรหิ าร
วิชาการ

1.3 ออกแบบการจัด หลักสูตรสถานศกึ ษา

ประสบการณ์ทเี่ นน้

การเรยี นรู้ผา่ นการเล่น

และการลงมอื ปฏบิ ัติ

(Active learning)

มำตรฐำน 106

กำรประกันคุณภำพ / ตัวชวี้ ดั ค่ำเปำ้ หมำยสภำพ
คณุ ลกั ษณะสงิ่ ท่ี
ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ขี น้ เกิดขน้

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร (ตอ่ )

. 1.4 ออกแบบการจัด

ประสบการณ์ทตี่ อบสนอง

ความต้องการและความ

แตกต่างของเดก็ ปกตแิ ละ

กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะที่

สอดคลอ้ งกับวิถชี วี ิตของ

ครอบครัว ชุมชนและ

ท้องถ่นิ

1.5 มกี ารประเมนิ
ตรวจสอบ และปรับปรุง /
พัฒนาหลักสตู รอย่าง
ต่อเน่ือง

2. จดั ครูให้เพียงพอกับ 2.1 จัดครคู รบชน้ั เรยี น 1. มีคำสงั่ แตง่ ตงั้ ครู
ชั้นเรยี น
2.1 จัดครูให้มีความ ประจาชน้ั ระดบั ปฐมวัย
เหมาะสมภารกิจการจัดกับ 2. มกี ารจดั ครูเขา้ สอน
ประสบการณ์ ตามสัดส่วนของนักเรียน
ทเ่ี หมาะสม
2.3 จดั ครูไมจ่ บการศึกษา

ปฐมวยั แต่ผา่ นการอบรม

การศึกษาปฐมวยั

2.4 จัดครจู บการศึกษา
ปฐมวัย

107

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ / ตัวชี้วดั คณุ ลกั ษณะสิ่งท่ี

ประเดน็ พิจำรณำ ต้องกำรใหด้ ขี น้ เกิดขน้

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร (ตอ่ )

2.5 จดั ครูจบการศึกษา

ปฐมวยั และผา่ นการอบรม

การศึกษาปฐมวัย

3. ส่งเสริมให้ครมู คี วำม 3.1 มีการพัฒนาครแู ละ 1. พัฒนาครทู ไี่ ม่จบเอก
เชย่ี วชำญด้ำนกำรจดั
ประสบกำรณ์ บคุ ลากรใหม้ ีความรู้ การปฐมวัย ให้มคี วามรู้

ความสามารถในการ ด้านปฐมวยั อย่างตอ่ เน่ือง

วเิ คราะห์และออกแบบ 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ครู

หลกั สูตรสถานศึกษา ปฐมวยั ให้มนี วตั กรรมการ

3.2 สง่ เสริมครใู หม้ ีทักษะ สอนหรือมีผลงาน
ในการจดั ประสบการณ์ ทางวิชาการ
และการประเมนิ 3. ส่งเสริมครใู ช้
พฒั นาการเด็ก ประสบการณ์สำคัญใน
การออกแบบการจัด
3.3 สง่ เสรมิ ครูใช้ กิจกรรม สังเกตและ

ประสบการณ์สาคัญในการ ประเมินพฒั นาการเด็ก

ออกแบบการจดั กจิ กรรม เป็นรายบุคคล
จดั กจิ กรรม สงั เกตและ 4.ส่งเสรมิ ใหค้ รพู ัฒนา
ประเมนิ พัฒนาการเด็กเปน็ การจัดประสบการณ์โดย
ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้
รายบคุ คล ทางวิชาชีพ (PLC)

3.4 ส่งเสริมให้ครมู ี

ปฏสิ ัมพนั ธท์ ด่ี กี บั เด็กและ

ครอบครัว

108

มำตรฐำน ค่ำเป้ำหมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ชวี้ ัด คณุ ลกั ษณะสิง่ ท่ี

/ประเดน็ พิจำรณำ ต้องกำรให้ดีขน้ เกดิ ข้น

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร (ตอ่ )

3.5 ส่งเสรมิ ใหค้ รพู ัฒนาการ

จัดประสบการณโ์ ดยใชช้ ุมชน

แหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ

(PLC)

4.จัดสภาพแวดล้อม 4.1 จดั สภาพแวดลอ้ มภายใน 1. จัดบรรยากาศ

และสื่อเพอื่ หอ้ งเรยี นที่คานงึ ถึงความ และสภาพแวดล้อม

การเรยี นรอู้ ย่าง ปลอดภยั ภายในห้องเรียนให้

ปลอดภยั และ สะอาด ปลอดภัย เป็น

เพยี งพอ 4.2 จัดสภาพแวดลอ้ ม ระเบียบ มีมุม

ประสบการณ์ และ
ภายนอกหอ้ งเรยี นที่คานงึ บริเวณ จัดกิจกรรม
ถึงความปลอดภัย
อย่าง เหมาะสม

4.3 ส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรียนรู้ 2. มีแหล่งเรียนรู้
ทีเ่ ปน็ รายบคุ คลและกลุ่ม ภายในและภายนอก
เลน่ แบบร่วมมอื รว่ มใจ ห้องเรียนทเ่ี หมาะสม
กระตนุ้ ความสนใจ
4.4 จดั ให้มีมุมประสบการณ์ ของเดก็
หลากหลาย มสี ่อื การเรยี นรู้ 3. จัดหาสอ่ื วัสดุ
ท่ปี ลอดภยั และเพยี งพอ เชน่ อปุ กรณ์ ในการจัด
ของเล่น หนังสอื นิทาน ประสบการณ์อย่าง
สื่อจากธรรมชาติ สือ่ สาหรบั เหมาะสม สอดคล้อง
เดก็ มุดลอด ปีนปา่ ย กับหน่วยการเรียนรู้
ส่อื เทคโนโลยกี ารสืบเสาะหา และเพยี งพอกบั เดก็
ความรู้

109

มำตรฐำน ค่ำเป้ำหมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตัวช้ีวดั คณุ ลกั ษณะสิง่ ท่ี

/ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ีขน้ เกิดข้น

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร (ตอ่ )

4.5 จดั ห้องประกอบท่เี อื้อต่อ

การจดั ประสบการณแ์ ละ

พัฒนาเด็ก

5.ให้บรกิ ารสื่อ 5.1 อานวยความสะดวกและ 1. มสี ือ่ เทคโนโลยที ่ีพรอ้ ม

เทคโนโลยีสารสนเทศ ใหบ้ ริการส่อื เทคโนโลยี ใช้งาน

และสื่อการเรียนรู้ สารสนเทป วสั ดุ อปุ กรณสและ 2. ใช้ส่อื เทคโนโลยีใน

เพื่อสนบั สนุน สือ่ การเรยี นรู้ การจัดประสบการณ์

การจดั ประสบการณ์ 5.2 พฒั นาครูให้มีความรู้ และ เกบ็ ขอ้ มูล รวมถึง

ความสามารถในการผลิตและ การให้บริการขอ้ มูล
ใชส้ ่อื ในการจัดประสบการณส ข่าวสารท่ี เปน็ ประโยชน์
5.3 มกี ารนิเทปติดตามการใช้ 3. นิเทศ ตดิ ตาม
ส่ือในการจัดประสบการณส การใช้สอ่ื ในการจดั
ประสบการณ์
5.4 มกี ารนาผลการนเิ ทป 4. สง่ เสริมพฒั นาครูใน
การผลิตและใชส้ อื่ เพ่ือ
ตดิ ตามการใช้ส่ือมาใช้
เปน็ ข้อมลู ในการพฒั นา การจดั ประสบการณ์

5.5 ส่งเสริมสนับสนุน

การเผยแพร่การพัฒนาสื่อ

และนวตั กรรมเพ่ือ

6. มีระบบบรหิ าร การจัดประสบการณส 1. มกี ารกาหนดมาตรฐาน
คุณภาพท่เี ปิดโอกาส การศึกษาของ
ให้ผู้เกย่ี วข้องทุกฝ่าย 6.1 กาหนดมาตรฐาน สถานศึกษาทส่ี อดคล้อง
มสี ่วนร่วม การศึกษาของสถานศกึ ษา กบั มาตรฐานการศกึ ษา
ทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐาน ปฐมวยั และอตั ลักษณ์ของ
การศึกษาปฐมวัยและ สถานศึกษา
อัตลักษณ์ของสถานศึกษา

110

มำตรฐำน คำ่ เป้ำหมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ชว้ี ดั คณุ ลักษณะส่งิ ที่

/ประเดน็ พิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ีข้นเกิดข้น

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร (ตอ่ )

6.2 จดั ทาแผนพัฒนา 2. มกี ารจัดทาแผน

การศกึ ษาที่สอดรบั มาตรฐาน พัฒนาคุณภาพการศึกษา

ท่สี ถานศึกษากาหนดและ แผนปฏบิ ัติการประจาปีที่

ดาเนินการตามแผน สอดคล้องกบั สภาพปญั หา

6.3 มีการประเมินผลและ ทันสมัยเกดิ จากการมีสว่ น

ตรวจสอบคณุ ภาพภายใน รว่ มอยา่ งแท้จริง
3. ดาเนนิ งานตามแผน
สถานศึกษา
6.4 มีการตดิ ตามผลการ นิเทศ ตดิ ตามและ
ดาเนนิ งานและจัดทารายงาน ประเมนิ ผลอยา่ งเป็น
ผลการประเมินตนเองประจาปี ระบบต่อเน่ือง
4.มีโครงสรา้ ง
และรายงานผลการประเมิน การบรหิ ารงานทแ่ี สดง
ตนเองใหห้ น่วยงานต้นสังกดั ถึงการมสี ่วนร่วม

6.5 นาผลการประเมินไป การบริหารจัดการศกึ ษา

ปรบั ปรงุ และพัฒนาคุณภาพ ของผเู้ ก่ยี วข้อง

สถานศกึ ษาโดยผปู้ กครองและ มีประกาศ / คำสงั่ การ
ผู้เกีย่ วข้องทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วม บริหารงาน

5. จัดทารายงานผล

การดำเนนิ งานท่ี

สอดคล้องกับ

วตั ถปุ ระสงค์ โดยมี

ขอ้ เสนอแนะที่สามารถ

นาไปใช้ไดจ้ ริง

111

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ช้ีวดั คุณลักษณะสิ่งท่ี

/ประเด็นพิจำรณำ ต้องกำรให้ดีขน้ เกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 3 กำรจัดประสบกำรณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคญั

1. จัดประสบการณ์ที่ 3.1 มกี ารวิเคราะหข์ ้อมลู เด็ก 1. ครทู กุ คนมแี ผน

สง่ เสริมให้เดก็ มี เปน็ รายบุคคล การจดั ประสบการณ์ท่ี

พัฒนาการทุกดา้ น 3.2 จัดทาแผนและใชแ้ ผน สอดคลอ้ งกับหลกั สูตร

อยา่ งสมดุลเต็ม การจดั ประสบการณ์ สถานศกึ ษา

ศกั ยภาพ จากการวเิ คราะห์มาตรฐาน 2. ครทู กุ คนจัด

คุณลักษณะที่พึงประสงคใ์ น ประสบการณ์ตาม

หลักสูตรสถานศึกษา แผนการจัดประสบการณ์

3.3 จดั กิจกรรมท่สี ง่ เสริม โดยยดึ ความแตกต่าง
พฒั นาการเด็กครบทุกด้าน ระหว่างบุคคลของเด็ก
ท้ังด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ เนน้ การจัดประสบการณ์
จติ ใจ ดา้ นสงั คม และดา้ น แบบ Active Learning
สตปิ ัญญา โดย ไม่ม่งุ เน้น 3. ครูทุกคนมีข้อมูลและ
การพัฒนาดา้ นใดดา้ นหนึง่ เข้าใจเด็กเปน็ รายบคุ คล
และใช้ข้อมูลของเด็กใน
เพยี งดา้ นเดยี ว
การสง่ เสริมเด็กใหม้ ี

พฒั นาการอย่างสมดุล

ครบท้ังด้านรา่ งกาย

อารมณ์ จติ ใจ สังคม

สตปิ ญั ญา

2. สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ 2.1 จัดประสบการณ์ท่ี 1. ครูทกุ คนจัด

ไดร้ บั ประสบการณ์ เชือ่ มโยงกับประสบการณ์เดิม ประสบการณ์ให้เด็กได้รับ

ตรง เลน่ และปฏบิ ตั ิ ประสบการณ์ตรง

อย่างมีความสุข เล่นและปฏิบัติกิจกรรม

เรยี นรู้ลงมอื ทำและ

112

มำตรฐำน คำ่ เป้ำหมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตัวชี้วดั คณุ ลกั ษณะส่ิงที่

/ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรให้ดีข้นเกิดข้น

มำตรฐำนท่ี 3 กำรจดั ประสบกำรณ์ท่ีเนน้ เด็กเป็นสำคัญ (ต่อ)

2.2 ให้เด็กมโี อกาสเลือกทา สรา้ งองคค์ วามรู้ด้วย

กจิ กรรมอย่างอิสระ ตามความ ตนเองอย่างมีความสุข

ต้องการความสนใจ

ความสามารถ ตอบสนองต่อ

วธิ กี ารเรยี นรู้ของเด็กเปน็

รายบุคคล หลากหลายรปู แบบ

จากแหลง่ เรยี นรู้ที่หลากหลาย

2.3 เดก็ ได้เลือกเล่น เรยี นรู้

ลงมือ กระทา และสร้างองค์

ความรู้ด้วยตนเอง

3. จดั บรรยากาศท่ี 3.1 จดั บรรยากาศและ 1. ครูทกุ คน

เอ้ือต่อการเรยี นรู้ สภาพแวดลอ้ มในห้องเรียนได้ จัดบรรยากาศและ

ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยี สะอาด ปลอดภัย และอากาศ สภาพแวดล้อมใน

ท่ีเหมาะสมกบั วยั ถา่ ยเทสะดวก ห้องเรยี นที่เอ้ือต่อ

การเรยี นรู้โดยเด็กมี

สว่ นร่วม

3.2 จดั ใหม้ ีพ้นื ท่ีแสดงผลงาน 2. ครทู กุ คนมี
เดก็ พน้ื ทีส่ าหรบั มมุ การเสรมิ แรง และกระตุ้น
ประสบการณ์และการจดั ความ สนใจของเดก็ ใน
กจิ กรรม การเรียนรู้ ด้วยวิธกี าร
ท่ี หลากหลาย
3.3 จดั ให้เดก็ มสี ว่ นร่วมใน 3. ครทู กุ คนใช้สื่อและ
การจัดภาพแวดล้อมใน เทคโนโลยที เี่ หมาะสม
หอ้ งเรียน เช่น ปา้ ยนิเทศ กับวัย
การดูแลตน้ ไม้ เปน็ ตน้

113

มำตรฐำน ค่ำเปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ช้ีวดั คณุ ลักษณะสิง่ ที่

/ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรให้ดีขน้ เกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 3 กำรจัดประสบกำรณท์ ี่เนน้ เด็กเปน็ สำคัญ (ตอ่ )

3.4 ใชส้ ื่อและเทคโนโลยที ี่

เหมาะสมกบั ช่วงอายุ ระยะ

ความสนใจ และวิถีการเรียนรู้

ของเด็ก เชน่ กล้องดิจิตอล

คอมพวิ เตอร์ สาหรับ

การเรยี นร้กู ล่มุ ย่อย ส่ือของ

เลน่ ท่กี ระตุ้นใหค้ ิดและ

หาคาตอบ เป็นต้น

4. ประเมิน 4.1 ประเมินพัฒนาการเด็ก 1. ครูทกุ คนประเมนิ

พฒั นาการเด็กตาม จากกิจกรรมและกิจวัตร พัฒนาการเดก็

สภาพจรงิ และ ประจาวนั ดว้ ยเครอ่ื งมือและ ตามสภาพจริงดว้ ย

นาผลการประเมนิ วิธีการทหี่ ลากหลาย วธิ ีการท่ีหลากหลาย

พัฒนาการเด็กไป 4.2 วเิ คราะหผ์ ลการประเมิน 2. ครทู ุกคนส่งเสริมให้
ปรบั ปรงุ การจดั พัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครอง ผู้ปกครองและผู้เกยี่ วข้อง

ประสบการณ์และ และผู้เกย่ี วข้องมสี ่วนร่วม มีส่วนรว่ มในการประเมิน

พัฒนาเดก็ 4.3 นาผลการประเมินทไ่ี ด้ไป และพัฒนาเด็ก

พฒั นาคุณภาพเด็กอยา่ งเปน็ 3. ครูทุกคนนำผล
ประเมินทไ่ี ด้ไป
ระบบและต่อเน่ือง

4.4 นาผลการประเมนิ ปรับปรุงการจดั

แลกเปลย่ี นเรียนร้โู ดยใช้ ประสบการณ์พฒั นาเด็ก
กระบวนการชุมชนแห่งการ รายบุคคลมี

เรียนรู้ทางวิชาชีพ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้

โดยใชก้ ระบวนการ

ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้

ทางวิชาชพี

114

การกาหนดตัวช้ีวัด คาอธบิ ายคณุ ภาพ คา่ เปา้ หมาย มาตรฐานการประกัน
คุณภาพการศกษาของสถานศกษา ระดับการศกษาข้นั พื้นฐาน

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตวั ชว้ี ัด คุณลักษณะสิง่ ที่

/ประเด็นพิจำรณำ ต้องกำรให้ดขี น้ เกดิ ขน้

มำตรฐำนท1่ี คณุ ภำพของผู้เรยี น

ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงวิชำกำรของผู้เรียน

1. มีความสามารถใน 1.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีทกั ษะ 1. นักเรยี นแต่ละ

การอ่าน การเขยี น ในการอ่านในแตล่ ะระดบั ชน้ั ระดับช้ันมผี ลคัดกรอง

การส่ือสาร ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา การอา่ นในระดับดี

และการคดิ คานวณ กาหนด ตามเกณฑ์ สพฐ.

1.2 ร้อยละของผู้เรยี นมีทกั ษะ (E-Mes) เพม่ิ ขึ้น 3%
ในการเขียนในแต่ละระดบั 2. นกั เรียนแต่ละ

ช้ันตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษา ระดบั ชนั้ มผี ลคดั กรอง

กาหนด การเขียนในระดับดี
1.3 ร้อยละของผเู้ รียนมีทักษะ ตามเกณฑ์ สพฐ.
(E-Mes) เพิ่มขนึ้ 3%
ในการสอ่ื สารในแต่ละ
3. รอ้ ยละ 80 ของ
ระดบั ช้ันตามเกณฑ์ท่ี
ผเู้ รยี นมีทักษะในการ
สถานศกึ ษากาหนด
1.4 รอ้ ยละของผูเ้ รียนมีทกั ษะ ส่อื สารในแตล่ ะระดบั ช้นั
ในการคิดคานวณในแต่ละดบั ตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษา
ช้นั ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษา กาหนด
กาหนด 4. ร้อยละ 80 ของ
ผูเ้ รยี นมีทักษะในการคดิ

คานวณในแต่ละดบั ช้นั

ตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา

กาหนด

115

มำตรฐำน ค่ำเปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตวั ชวี้ ดั คณุ ลักษณะสิ่งท่ี

/ประเดน็ พิจำรณำ ต้องกำรใหด้ ีข้นเกิดข้น

มำตรฐำนท่1ี คุณภำพของผ้เู รยี น (ต่อ)

2. มคี วามสามารถใน 2.1 รอ้ ยละของผูเ้ รียนมี 1.รอ้ ยละ 70 ของ

การคดิ วิเคราะห์ คิด ความสามารถในการคดิ นกั เรยี นท่ีมีความสามารถ

อย่างมีวิจารณญาณ จาแนกแยกแยะ ใครค่ รวญ ในการวิเคราะหว์ จิ ารณ์

อภปิ รายแลกเปลี่ยน ช้ไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยใ ข่าวบทความ

ความคดิ เหน็ และ เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ สถานการณ์ หรือเร่ือง

แก้ปัญหา 2.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี น ทอี่ า่ นได้อย่างสรา้ งสรรค์

มีการอภิปรายแลกเปลย่ี น ตามเกณฑ์ระดบั ชน้ั
2.ร้อยละ 70 ของ
ความคดิ เหน็

2.3 รอ้ ยละของผเู้ รียน นกั เรยี นที่มีผลงานที่เกดิ

มีการแกป้ ญั หาอยา่ งมีเหตผุ ล จากการคดิ วเิ คราะห์
สังเคราะหแ์ ละ

สร้างสรรคต์ ามเกณฑ์

ระดับช้ัน

3. ร้อยละ 70 ของ

นักเรยี นชั้น ป.1-3

ทส่ี ามารถนำเสนอ

วิธคี ิดแนวคดิ ของตนเอง

ในการแก้ปญั หาหรือ

เหตุการณเ์ ฉพาะหน้าได้

3. รอ้ ยละ 70 ของ

นักเรยี นชน้ั ป.4-6

ที่สามารถอภิปราย

แลกเปล่ยี นความ

คิดเหน็ เพื่อแกป้ ัญหาได้

อยา่ งสรา้ งสรรค์

116

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตวั ช้วี ัด คณุ ลกั ษณะสงิ่ ท่ี

/ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ขี น้ เกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผู้เรยี น (ตอ่ )

3. มคี วามสามารถใน 3.1ร้อยละของผ้เู รยี นมี 1. รอ้ ยละ 70 ของ

การสร้างนวตั กรรม ความสามารถในการรวบรวม นกั เรยี นช้ัน ป.1-6

ความรไู้ ด้ทั้งตัวเองและ สามารถสรา้ งผลงาน

การทางานเปน็ ทมี ของตนเองได้อย่าง

3.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นสามารถ สรา้ งสรรค์ เชน่

เชื่อมโยงองคค์ วามรูแ้ ละ วาดภาพ ประดษิ ฐ์
ของเล่น ของใช้ ชน้ิ งาน
ประสบการณ์มาใชใ้ น
ประดิษฐ์ตามภาระงาน
การสรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ

อาจเปน็ แนวความคิด แต่งเร่ือง เขยี น

โครงการ โครงงาน ช้นิ งาน บทความ ทำหนังสือ
ผลผลิต เล่มเล็ก ฯลฯ

2. รอ้ ยละ 70

ของนกั เรียนชนั้ ป.4-6

จัดทาโครงงานท่เี กิด

จากการบูรณาการ

ความรู้ตามหลักสูตร

4. มคี วามสามารถใน 4.1 ร้อยละของผ้เู รียนมี 1. ร้อยละ 80 ของ

การใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการใช้ นักเรียน ชั้น ป.1-6

สารสนเทศ และการ เทคโนโลยสี ารสนเทศและ สามารถใช้เทคโนโลยี

สอ่ื สาร การสอ่ื สาร ในการสบื คน้ ข้อมลู

4.2 ร้อยละของผ้เู รยี นมี ศกึ ษาหาความรู้
ความสามารถในการนา 2. รอ้ ยละ 80 ของ
เทคโนโลยีสารสนเทศและ นกั เรียน ชั้น ป.4-6 ใช้
การส่อื สารเพื่อพัฒนาตนเอง ICT ในการเรียนรู้ และ
สร้างสรรค์ผลงาน

มำตรฐำน 117

กำรประกันคุณภำพ ตัวชีว้ ัด ค่ำเป้ำหมำยสภำพ
คุณลกั ษณะสิง่ ที่
/ประเด็นพิจำรณำ ต้องกำรให้ดีข้นเกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผู้เรียน (ตอ่ ) 3. รอ้ ยละ 80 ของ
นกั เรียน ชัน้ ป.4-6 ใช้
และสังคมในด้านการเรยี นรู้ เทคโนโลยีในการสื่อสาร
หรือนาเสนอผลงานได้
การสื่อสาร การทางานอย่าง 4. ร้อยละ 80 ของ
นักเรยี นสามารถเชอ่ื มโยง
สร้างสรรค์ และมคี ุณธรรม องค์ความรู้และ
ประสบการณ์มาใชใ้ น
5.มีผลสมั ฤทธิ์ 5.1ร้อยละของผูเ้ รียนบรรลุ การสร้างสรรค์ส่งิ ใหม่ ๆ
ทางการเรยี นตาม การเรียนรตู้ ามหลกั สตู ร อาจเป็นแนวความคิด
หลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษา โครงการ โครงงาน
ชนิ้ งาน ผลผลิต
5 2.ร้อยละของผูเ้ รียนมี อย่างน้อยปีละ 1 ชิน้
1. นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิ
ความก้าวหน้าในการเรยี นรู้ ทางการเรยี น ตาม
หลักสูตรสถานศึกษา อยู่
ตามหลักสตู รสถานศึกษา ในระดบั 3 ขึน้ ไป
- คณติ ศาสตร์ ร้อยละ 70
จากพ้ืนฐานเดิม - วิทยาศาสตร์ ร้อยละ70
- สังคมศกึ ษาฯ ร้อยละ75
- ภาษาไทย รอ้ ยละ 75

118

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตัวช้วี ัด คณุ ลกั ษณะสงิ่ ท่ี

/ประเดน็ พิจำรณำ ต้องกำรใหด้ ีขน้ เกิดข้น

มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของผู้เรียน (ต่อ)

5.3 ร้อยละของผ้เู รียน - การงานอาชพี ร้อยละ

มคี วามก้าวหน้าใน 80

ผลการทดสอบระดบั ชาติ หรือ - ภาษาอังกฤษ ร้อยละ
ผลการทดสอบอน่ื ๆ
65

- สขุ ศกึ ษาฯ ร้อยละ 80

- ศลิ ปะ ร้อยละ 80

2. คะแนนเฉลี่ยร้อยละ

ของผลสัมฤทธิ์ทาง

การเรยี น ตามหลักสูตร

สถานศึกษาของแต่ละ

กลมุ่ สาระเพิม่ ข้ึน 3% ทกุ

กลมุ่ สาระ

3. ผลการประเมนิ

ระดบั ชาติ (NT) ของ นร.

ป.3 สูงกว่าระดับประเทศ

4. ผลการประเมนิ

การอา่ น (RT) ของ นร.

ป.1 สงู กวา่ ระดบั ประเทศ

6. มคี วามรทู้ ักษะ 6.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมี 1. ร้อยละ 80 ของ

พนื้ ฐาน และเจตคติที่ ความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจต นักเรยี น ชัน้ ป.4 - 6

ดตี อ่ งานอาชีพ คติท่ดี ีในการศึกษาต่อ มคี วามรู้ และทักษะ

6.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีความรู้ พนื้ ฐานในงานอาชพี
ทกั ษะพื้นฐานและเจตคตทิ ี่ดี ท้องถ่นิ

ในการจัดการ การทางานหรือ

งานอาชีพ

119

มำตรฐำน คำ่ เป้ำหมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตัวช้ีวัด คณุ ลักษณะสิง่ ที่

/ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ขี น้ เกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของผู้เรยี น (ต่อ)

2. ร้อยละ 80 ของ

นักเรยี น ชนั้ ป.1-6

มีเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ งาน

อาชพี ในท้องถนิ่ /สนใจ

3. รอ้ ยละ 80 ของ

นกั เรียนชัน้ ป.4-6

สามารถบูรณาการ

ความรู้และประสบการณ์

จากการเรยี นรู้ ไปใช้ใน

การสรา้ งรายได้ทน่ี าไปสู่

การประกอบอาชีพได้

คุณลักษณะที่พงประสงคข์ องผู้เรยี น

1.การมีคุณลกั ษณะ 1.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนมี 1. รอ้ ยละ 95 ของ

และคา่ นิยมที่ดีตามที่ พฤติกรรมเปน็ ผู้ทีม่ ีคณุ ธรรม นักเรียนมีพนื้ ที่ ภาระ

สถานศึกษากาหนด จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า งานในการดูแล รักษา

เช่น การทาความสะอาด

บรเิ วณโรงเรียน อาคาร

เรียน ห้องเรียน

หอ้ งสมดุ ห้องนา้

ห้องครัว

1.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมี 2. รอ้ ยละ 95 ของ

คา่ นยิ มและจิตสานึกตามท่ี นกั เรยี นทิง้ ขยะถูกที่

สถานศึกษากาหนด โดยไมข่ ดั ไม่ขีดเขียนตามฝาผนัง

กบั กฎหมายและวัฒนธรรม อาคาร โตะเก้าอ้ี

อันดขี องสังคม ไมท่ าลายสง่ิ ของ

มำตรฐำน 120

กำรประกนั คุณภำพ ตัวชี้วัด คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ
คณุ ลักษณะส่ิงที่
/ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ีข้นเกิดข้น

มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของผู้เรียน (ต่อ) 3. ร้อยละ 95 ของ
นักเรยี นออกจากหอ้ งเป็น
2. ความภูมิใจใน 2.1 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมีความ คนสดุ ท้ายปดิ ไฟและ
ท้องถนิ่ และความ ภูมิใจในทอ้ งถ่นิ เห็นคุณคา่ พัดลมทุกครัง้
เปน็ ไทย ของความเปน็ ไทย 4. รอ้ ยละ 95 ของ
นกั เรยี นปดิ นา้ และใช้นา้
2.2 ร้อยละของผู้เรยี นมีสว่ น กระดาษ ดินสอ ปากกา
รว่ มในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรม สมดุ อย่างประหยัดและ
และประเพณีไทยรวมทงั้ ภมู ิ คุ้มคา่
ปัญญาไทย 5. รอ้ ยละ 95 ของ
นักเรยี นถอดรองเทา้ เปน็
ระเบยี บ เก็บของเข้าที่
หลังจากท่ีใชแ้ ล้ว
6. รอ้ ยละ 95 ของ
นกั เรยี นเข้าแถวส่งงาน
รับสงิ่ ของ
1. รอ้ ยละ 95 ของ
นักเรยี นแสดงออกถึง
ความภูมใิ จในท้องถ่ิน
เชน่ การแต่งกาย
การละเลน่ พื้นเมือง
รอ้ งเพลง เล่นดนตรี
พื้นเมือง อาหารพนื้ เมือง

121

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตัวชวี้ ดั คณุ ลักษณะส่งิ ที่

/ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรให้ดีขน้ เกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผู้เรยี น (ตอ่ )

2. รอ้ ยละ 95 ของ

นกั เรียนเข้าร่วมงาน

ประเพณวี ันสาคัญ

กจิ กรรมสำคัญของ

โรงเรียน และท้องถิน่

3. การยอมรับทจี่ ะ - ร้อยละของผเู้ รียนยอมรบั และ 1. ร้อยละ 95 ของ

อยูร่ ่วมกันบนความ อยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง ผูเ้ รยี นเป็นสมาชิกชมุ นุม

แตกต่างและ ระหว่างบุคคลในดา้ นเพศ ชมรม สหกรณใ์ น

หลากหลาย วัย เชอื้ ชาติ ศาสนา ภาษา โรงเรยี น

วัฒนธรรม ประเพณี 2. รอ้ ยละ 95 ของ

ผเู้ รยี นเปน็ ร่วมกจิ กรรม

สภานักเรียน

3. ร้อยละ 95 ของ

ผู้เรยี นร่วมกิจกรรมของ

โรงเรียน เชน่ กีฬาสี

แขง่ ขนั วชิ าการ

4. สุขภาวะทาง 4.1 รอ้ ยละของผู้เรยี น 1. ร้อยละ 95 ของ

ร่างกายและจิตสังคม มกี ารรักษาสขุ ภาพกาย ผเู้ รียนมีนา้ หนกั สว่ นสูง

สุขภาพจิต อารมณแ์ ละสงั คม ตามเกณฑข์ อง

และแสดงออกอย่างเหมาะสม กรมอนามยั

ในแต่ละช่วงวยั 2. ร้อยละ 95 ของ

ผ้เู รียนไมย่ ่งุ เก่ียวกบั ส่ิง

เสพตดิ เหล้า บุหร่ี

การพนนั และอบายมุข

มำตรฐำน ตวั ช้ีวดั 122
กำรประกนั คณุ ภำพ
/ประเด็นพิจำรณำ คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ
คณุ ลกั ษณะสงิ่ ที่
ต้องกำรให้ดขี น้ เกดิ ข้น

มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผู้เรียน (ตอ่ )

3. ร้อยละ 95 ของ

ผู้เรียนอาสาชว่ ยงาน มี

น้าใจช่วยเหลอื บาเพ็ญ

ประโยชน์เพื่อส่วนรวม

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร

1. มีเปา้ หมาย 1.1 กาหนดเปา้ หมายที่ 1. มีการวิเคราะห์สภาพ

วิสยั ทัศนแ์ ละพนั ธกจิ สอดคล้องกับบรบิ ทของ ปจั จบุ นั ปญั หา และ

ท่ีสถานศึกษากาหนด สถานศกึ ษา ความต้องการของ ความต้องการท่ี

ชดั เจน ชมุ ชน ทอ้ งถิน่ วัตถปุ ระสงค์ สอดคลอ้ งกับสถานศึกษา

ของแผนการศึกษาชาติ ผู้ปกครองและชมุ ชน

นโยบายของรัฐบาลและ 2. มกี ารกาหนด

ตน้ สังกัด เป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และ

1.2 กาหนดวสิ ัยทัศน์ และ พันธกิจท่ีไวอ้ ยา่ งชดั เจน
พนั ธกจิ ที่สอดคลอ้ ง เชื่อมโยง ครบถว้ น สอดคล้องกบั
กบั เป้าหมาย แผนยทุ ธศาสตร์ ผลการวเิ คราะหแ์ ละ

ชาติ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ นาไปสู่การปฏิบัติได้

นโยบายของรฐั บาลและ

ต้นสงั กดั

1.3 กาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์

และพนั ธกจิ ทันต่อ

การเปลย่ี นแปลงของสังคม

1.4 นาเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และ

พันธกจิ ผา่ นความเหน็ ชอบจาก

คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น

123

มำตรฐำน คำ่ เป้ำหมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ชวี้ ดั คุณลกั ษณะส่งิ ท่ี

/ประเดน็ พิจำรณำ ต้องกำรให้ดีข้นเกิดข้น

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร (ตอ่ )

1.5 นาเป้าหมาย วิสยั ทัศน์

และพันธกิจของโรงเรียน

เผยแพร่ ตอ่ สาธารณชน

2. มรี ะบบบรหิ าร 2.1 มีการวางแผนพัฒนา 1. มีรูปแบบการบริหาร

จัดการคณุ ภาพของ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาอย่าง ตามบริบทของโรงเรียน

สถานศกึ ษา เป็นระบบ 2. มีการดาเนินการ

2.2 มีการนาแผนไปปฏิบตั ิ ตามแผน
ติดตามตรวจสอบประเมินผล 3. มีโครงสร้าง

และปรบั ปรุงพฒั นางานอย่าง การบรหิ ารงานท่ี

ต่อเนอื่ ง เหมาะสมสอดคล้องกับ

2.3 มกี ารบรหิ ารอัตรากาลัง ศักยภาพของบุคคล
ทรัพยากรทางการศึกษา 4. นาข้อมลู สารสนเทศ
มาใชใ้ นการพัฒนา
จัดระบบดแู ลช่วยเหลือ
นักเรยี น และระบบการนเิ ทศ สถานศกึ ษา
ภายใน 5. มีระบบบรหิ ารจัดการ
2.4 สถานศกึ ษามีการนาข้อมูล คุณภาพของสถานศึกษา
มาใช้ในการพฒั นาสถานศกึ ษา อยา่ งมสี ่วนรว่ ม ทุกฝ่าย
2.5 สถานศกึ ษาให้บคุ ลากร ทีเ่ กย่ี วข้องอยา่ งแท้จริง

และผทู้ เี กยี่ วข้องทุกฝ่ายมีสว่ น

รว่ มในการวางแผน ปรับปรุง

พัฒนา และร่วมรับผดิ ชอบต่อ

ผลการจดั การศึกษา

124

มำตรฐำน ค่ำเปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ช้วี ัด คุณลกั ษณะสงิ่ ท่ี

/ประเดน็ พิจำรณำ ต้องกำรใหด้ ขี น้ เกดิ ขน้

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร (ต่อ)

3. ดาเนนิ งานพฒั นา 3.1 บรหิ ารจัดการเกยี่ วกบั 1. มหี ลักสตู ร

วิชาการท่เี น้นคณุ ภาพ งานวชิ าการ ในดา้ นการพัฒนา สถานศึกษาทเ่ี น้น

ผเู้ รียนรอบด้านตาม หลักสตู รสถานศกึ ษา คณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ น

หลกั สตู รสถานศึกษา 3.2 บริหารจัดการเก่ียวกับ เชอ่ื มโยงวถิ ชี วี ติ จรงิ
และทกุ กลุ่มเป้าหมาย งานวิชาการ ในด้านการพฒั นา 2. มีหลักสตู รทอ้ งถ่ินท่ี
หลักสตู รตามความต้องการของ สอดคล้องกับบรบิ ทของ
ผู้เรียน ที่สอดคลอ้ งกับบรบิ ท สถานศกึ ษา ชมุ ชน
ของสถานศกึ ษา ชมุ ชน และ 3. สถานศกึ ษามี

ท้องถน่ิ กิจกรรมส่งเสรมิ
3.3 บรหิ ารจดั การเกยี่ วกับ หลกั สูตรความเป็นเลิศ
กจิ กรรมเสริมหลกั สตู รท่เี นน้ ของนักเรยี นทกุ
คณุ ภาพผ้เู รียนรอบดา้ น กล่มุ เป้าหมาย
4. มกี ารพฒั นา
เช่ือมโยงวถิ ชี วี ิตจริง
หลกั สตู รใหท้ นั ตอ่
3.4 กาหนดหลกั สูตร
การเปลย่ี นแปลงของ
สถานศกึ ษาครอบคลุม
การจัดการเรียนการสอนทุก สงั คม

กลุม่ เป้าหมาย

3.5 สถานศึกษามีการปรบั ปรุง

และพฒั นาหลักสตู รใหท้ ันต่อ

การเปล่ียนแปลงของสงั คม

4. พัฒนาครแู ละ 4.1 ส่งเสรมิ สนบั สนุน พฒั นา 1. พัฒนาครูท่สี อนไม่ตรง

บุคลากรให้มี ครู บคุ ลากร ให้มีความ เอก ไมค่ รบเอกใหม้ ี

ความเชี่ยวชาญ เชีย่ วชาญทางวิชาชพี ความรู้ ความเชยี่ วชาญใน
ทางวชิ าชพี การจัดการเรียนการสอน

ไดค้ รบทุกสาระ

125

มำตรฐำน ค่ำเป้ำหมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ชว้ี ัด คณุ ลักษณะส่งิ ที่

/ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ขี น้ เกิดข้น

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร (ต่อ)

4.2 จดั ใหม้ ีชมุ ชนการเรยี นรู้ 1. พฒั นาครทู ่สี อนไม่

ทางวิชาชพี ตรงเอก ไมค่ รบเอก

4.3 นาชมุ ชนการเรยี นรู้ ใหม้ คี วามรู้
ทางวชิ าชพี เขา้ มาใชใ้ น ความเช่ียวชาญใน
การพัฒนางานและ การจัดการเรยี นการสอน
การเรียนรูข้ องผเู้ รียน ไดค้ รบทุกสาระ
2. ส่งเสรมิ สนบั สนุน
4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน หรือจดั ให้ครูได้รับ
การปฏิบตั ิงานของครู การพฒั นาทางวชิ าการ
บคุ ลากร ทีม่ ผี ลต่อ ในเรือ่ งทท่ี นั สมัย จาเปน็
การเรียนรขู้ องผู้เรยี น ทันตอ่ ความก้าวหน้า
ทางวชิ าการ
4.5 ถอดบทเรยี นเพื่อสร้าง
นวัตกรรมหรือวิธกี ารท่เี ป็น 3.นิเทศ ติดตาม
แบบอย่างทีด่ ีทส่ี ง่ ผลต่อ การจดั การเรยี น
การเรยี นรู้ของผ้เู รียน การสอนเพอ่ื พัฒนาครู

อยา่ งสมา่ เสมอต่อเนื่อง

4. มกี ารจัดแลกเปล่ยี น

เรียนรู้โดยใช้

กระบวนการชมุ ชนแห่ง

การเรียนรู้

ทางวิชาชีพ

126

มำตรฐำน ค่ำเปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตัวชี้วัด คณุ ลักษณะสิง่ ท่ี

/ประเดน็ พิจำรณำ ต้องกำรให้ดขี ้นเกิดขน้

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร (ต่อ)

5. ครมู รี ูปแบบวธิ ี

การปฏิบตั ิทีด่ ี (Best

Practice) ท่ีสง่ ผลตอ่

การเรยี นรู้ของผู้เรียน

5.จดั สภาพแวดลอ้ ม 5.1 จดั สภาพแวดลอ้ มทาง 1. จัดให้ทุกแหง่ ทุกทีใ่ น

ทางกายภาพและ กายภาพภายในห้องเรียน โรงเรยี น เป็นแหลง่ เรยี นรู้

สงั คมทเ่ี อ้อื ต่อ ที่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ และ ท่เี อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้

การจดั การเรียนรู้ คานึงถึงความปลอดภยั ของครู อย่างเหมาะสม

อย่างมีคุณภาพ 5.2 จัดสภาพแวดลอ้ มทาง คุม้ คา่

กายภาพภายนอกห้องเรยี น ท่ี 2. จดั ให้มแี หล่งเรยี นรู้ที่
เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ และคานึงถึง ทันสมัย ให้ประโยชน์

ความปลอดภยั ไดจ้ รงิ

5.3 จดั สภาพแวดลอ้ มท่ี 3. มีระบบการบรหิ าร
จดั การแหล่งเรียนรู้ท่มี ี
สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนเกิด
การเรยี นรู้เป็นรายบคุ คล และ คุณภาพ เช่น
การวางแผนการใชง้ าน
เป็นกลมุ่
การซอ่ มบารุง
5.4 จดั สภาพแวดลอ้ ม
ทางสังคม ทเี่ อ้ือต่อการจัด การประเมินผลการใช้
การเรียนรู้ และมีความ แหล่งเรยี นรู้
การประชาสัมพันธ์และ
ปลอดภยั การสง่ เสริมใหใ้ ช้
5.5 จดั ให้ผูเ้ รียนไดใ้ ช้

ประโยชนจ์ ากการจัด

สภาพแวดลอ้ มตามศักยภาพ

ของผูเ้ รยี น

127

มำตรฐำน คำ่ เป้ำหมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ชีว้ ดั คุณลกั ษณะสิ่งท่ี

/ประเดน็ พิจำรณำ ต้องกำรใหด้ ขี ้นเกิดขน้

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร (ต่อ)

6.จดั ระบบเทคโนโลยี 6.1 ไดศ้ กึ ษาความต้องการ 1. มขี ้อมูลสารสนเทศ

สารสนเทศเพื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ความต้องการเทคโนโลยี

สนับสนุนการบรหิ าร ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของ สารสนเทศ ทเ่ี หมาะสม

จัดการและการจัด สถานศึกษา กับสภาพของสถานศึกษา

การเรยี นรู้ 6.2 จัดระบบเทคโนโลยี 2. มกี ารจดั และพัฒนา

สารสนเทศเพ่ือบริหารจดั การ ระบบ รวมถงึ ให้บริการ
และการจัดการเรียนรูท้ ี่ และติดตามผลการใช้
เหมาะสมกบั สภาพของ บริการเทคโนโลยี

สถานศึกษา สารสนเทศเพื่อบริหาร

6.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยี จัดการและการจดั
สารสนเทศเพื่อบรหิ ารจัดการ การเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกบั
และการจัดการเรยี นรู้ที่ สภาพของสถานศึกษา

เหมาะสมกบั สภาพของ

สถานศึกษา

6.4 ใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยี

สารสนเทศเพ่ือใช้ในการ

บรกิ ารจดั การและการจดั

การเรยี นร้ทู ่ีเหมาะสมกับ

สภาพของสถานศึกษา

6.5 ติดตามผลการใชบ้ รกิ าร

ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ของสถานศึกษาเพอ่ื ใชใ้ น

การบรกิ ารจดั การและการจัด

การเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกับ

สภาพของสถานศึกษา

128

มำตรฐำน คำ่ เปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกันคุณภำพ ตวั ช้ีวดั คุณลกั ษณะสง่ิ ท่ี

/ประเด็นพิจำรณำ ต้องกำรใหด้ ขี ้นเกดิ ขน้

มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ

1. จัดการเรยี นรู้ผา่ น 1.1 จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครทู กุ คน ม/ี จัดทา
กระบวนการคิดและ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ แผนการเรียนรู้ท่ี ทใี่ ช้
ปฏบิ ัตจิ ริง และ ตวั ช้วี ัดของหลกั สตู ร การสอนแบบ active
สามารถนาไป สถานศกึ ษาทเี่ นน้ ใหผ้ ้เู รยี นได้ learning
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้ เรียนรู้ โดยผา่ นกระบวนการ
2. ครูทุกคนจัดการเรียนรู้

คิดและปฏบิ ตั ิจริง ตามแผนการสอนที่

1.2 มแี ผนการจดั การเรียนรู้ที่ วางแผนไว้โดย มงุ่ เน้นให้

สามารถนาไปจัดกิจกรรม นกั เรยี นได้ปฏิบัติจริงและ

ไดจ้ ริง สามารถนาไปประยุกต์ใช้

1.3 มีรปู แบบการจัดการ ในชวี ิต
เรยี นรู้เฉพาะสาหรบั ผทู้ ี่มีความ 3.ครทู กุ คนจัดการเรียนรู้

จาเป็น และต้องการ แบบ active learning

ความชว่ ยเหลือพเิ ศษ ตามแผนการจดั

1.4 ฝึกทกั ษะใหผ้ ู้เรียนได้ การเรียนรทู้ ่ีวางแผนไว้
แสดงออกแสดงความคดิ เหน็ 4. ครทู กุ คนมบี นั ทึกผล
สรุปองคค์ วามรู้ และนาเสนอ หลังสอนท่ีมีคณุ ภาพ
ผลงาน มีข้อมูล สารสนเทศทีเ่ กิด
1.5 สามารถจัดกิจกรรม จากการจัดการเรยี น
การเรียนรูใ้ หผ้ ู้เรียนสามารถ การสอนสามารถนาไปใช้
ประโยชนใ์ นการพัฒนา
นาไปประยุกต์ใชใ้ น ผูเ้ รยี น หรอื พฒั นาแผน
ชีวติ ประจาวันได้ การจดั การเรยี นรู้

ไดจ้ รงิ

129

มำตรฐำน ค่ำเปำ้ หมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตวั ชว้ี ัด คุณลักษณะสง่ิ ที่

/ประเดน็ พิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ีขน้ เกิดขน้

มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ (ต่อ)

2. ใชส้ ่อื เทคโนโลยี 2 1.ใช้สอื่ เทคโนโลยี 1. ครูใช้ ICT เชน่

สารสนเทศ และ สารสนเทศในการจดั ยูทูป คลิปวิดีโอ

แหลง่ เรยี นรู้ท่เี อ้ือ การเรียนรู้ คอมพวิ เตอร์ หรอื

ต่อการเรียนรู้ 2 2.ใชแ้ หล่งเรียนรู้ และ สมาร์ทโฟน เปน็ สื่อใน

ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินใน การจัดการเรียนรู้

การจดั การเรียนรู้ 2. ครทู ุกคนจัดกจิ กรรม

2 3.สรา้ งโอกาสให้ผเู้ รยี นได้ การเรยี นรู้ โดยใช้สถานที่
แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง ในโรงเรยี น ชมุ ชน หรือ
นอกโรงเรียนทเี่ อ้ือต่อ
จากสอ่ื ทีห่ ลากหลาย
การเรียนรู้ เปน็ แหล่ง

เรยี นรู้ อยา่ งคุม้ ค่าและ

เกิดประโยชน์สูงสด

3. มีการบรหิ าร 3.1 ผสู้ อนมกี ารบรหิ ารจัด 1.ครูทุกคนใช้

จัดการชน้ั เรยี น การช้ันเรยี น โดยเนน้ การเสริมแรง ช่ืนชมยินดี

เชิงบวก การมีปฏิสัมพนั ธเ์ ชงิ บวก ให้รางวลั

3.2 ผูส้ อนมีการบรหิ ารจัด 2. มีการบรหิ ารจดั การ

การชั้นเรียน ใหเ้ ด็กรักครู ชน้ั เรียน โดยเน้นการมี

ครูรกั เด็ก และเด็กรกั เด็ก ปฏิสมั พนั ธเ์ ชิงบวก

เด็กรกั ท่ีจะเรียนรู้ สามารถ 3. มีการบรหิ ารจัดการ

เรยี นรรู้ ว่ มกันอย่างมีความสุข ชั้นเรยี น ใหเ้ ด็กรกั ครู

ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก

เด็กรักทจี่ ะเรยี นรู้

สามารถเรยี นรรู้ ่วมกัน

อย่างมีความสขุ

130

มำตรฐำน คำ่ เป้ำหมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ ตวั ช้ีวดั คณุ ลกั ษณะสง่ิ ที่

/ประเด็นพิจำรณำ ต้องกำรให้ดีข้นเกดิ ข้น

มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ (ต่อ)

4. ตรวจสอบและ 4.1 มีการตรวจสอบและ 1.ครูทกุ คนนาบนั ทึกผล
ประเมนิ ผเู้ รยี นอย่าง ประเมนิ คุณภาพการจัดการ หลังสอนมาใช้เป็น
เป็นระบบ และนาผล ข้อมลู ในการวางแผน
มาพัฒนาผู้เรียน เรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบ การจัดการเรียนรู้ หรอื

ปรับปรุงคุณภาพผู้เรียน

4.2 มีขน้ั ตอนโดยใช้เครื่องมอื 2. ครูทกุ คนใชเ้ ครื่องมือ

และวธิ ีการวัดและประเมนิ ผล และวธิ กี ารวัดผลและ
ทีเ่ หมาะสมกบั เป้าหมายใน ประเมินผลตามขัน้ ตอนท่ี
เหมาะสมกับเป้าหมายใน
การจดั การเรยี นรู้
การจดั การเรียนรู้
4.3 เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนและ สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์
ผมู้ ีสว่ นเกยี่ วข้องมสี ่วนรว่ มใน ทตี่ ้องการวัด
การวดั และประเมินผล 3. ครทู กุ คนเปิดโอกาสให้

4.4 ให้ข้อมลู ย้อนกลับแก่ ผู้เรยี นไดป้ รบั ปรุงผลงาน
ของตนเอง
ผู้เรียนเพอื่ นาไปใชใ้ น
4. ใชเ้ ครอ่ื งมือและวิธีการ
การพัฒนาการเรียนรู้
วดั และประเมินผลตาม

ขั้นตอนที่เหมาะสมกบั

เป้าหมายในการจัด

การเรียนรู้

5. มีการแลกเปลี่ยน 5.1แลกเปลยี่ นความรูแ้ ละ 1. ครูทุกคนรว่ มกจิ กรรม

เรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู ประสบการณ์ในการจดั PLC ระหวา่ งครดู ว้ ยกัน

สะท้อนกลบั เพ่ือ การเรยี นรู้และผ้มู ีสว่ น เพื่อนำข้อมลู มา

พฒั นาปรับปรงุ เก่ียวข้องรว่ มกนั แลกเปลี่ยนใน

การจัดการเรียนรู้ การวางแผนพฒั นา

131

มำตรฐำน ค่ำเป้ำหมำยสภำพ

กำรประกนั คุณภำพ / ตัวชีว้ ดั คณุ ลักษณะสิ่งท่ี

ประเด็นพิจำรณำ ตอ้ งกำรใหด้ ีข้นเกิดข้น

มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ (ตอ่ )

5.2 นาขอ้ มูลปอ้ นกลบั 2. มกี ารนาขอ้ มลู

ไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและ ป้อนกลบั ไปใชใ้ น

พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ การปรับปรุงและ

ของตนเอง พฒั นาการจดั การเรยี นรู้

ของตนเอง

3. ครูจัดแสดงผลงาน

นักเรยี นทุกคนเพื่อให้

นกั เรียนได้มีโอกาสเรยี นรู้

ศกึ ษาผลงานของเพอ่ื น

และนามาปรับปรงุ ผลงาน

ของตนเอง

132

เอกสำรอ้ำงองิ

รำชกิจจำนุเบกษำ. กฎกระทรวง กำรประกันคณุ ภำพกำรศกษำ พ.ศ.2561.
รำชกจิ จำนุเบกษำ เลม่ 135 ตอนที่ 11 ก 23 กุมภำพนั ธ์ 2561.

กมลพรรณ นำมวงศ์พรหม. 2550. เอกสำรข้อสรุปจำกโครงกำรเสวนำ
เรื่อง ทิศทำงกำรพัฒนำและปรับปรุงกำรประกันคุณภำพภำยในของ

มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์. ณ ห้องประชุมกำพล อดุลวิทย์ ช้ัน 2 อำคำร
สำรนเิ ทศ 50 ปี มก.

กระทรวงศกษำธกิ ำร. เรอ่ื ง ให้ใช้มำตรฐำนกำรศกษำระดับปฐมวัยระดับ
กำรศกษำข้ันพื้นฐำน และระดับกำรศกษำข้ันพื้นฐำนศูนย์กำรศกษำพิเศษ.

ประกำศ ณ วนั ที่ 6 สงิ หำคม พ.ศ. 2561.

รัฐพล ชุมวรฐายี. 2545. บันไดสู่กำรประกันคุณภำพกำรศกษำ. กรุงเทพฯ :
บคุ พอยท.์

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกษำขั้นพ้ืนฐำน. ประกำศสำนักงำนคณะกรรมกำร
กำรศกษำขั้นพ้ืนฐำน เร่ือง แนวปฏิบัติกำรดำเนินงำนประกันคุณภำพ

กำรศกษำ ระดับกำรศกษำ ข้ันพน้ื ฐำน พ.ศ.2561. ประกำศ ณ วันที่ 16 สิงหำคม
พ.ศ. 2561

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกษำขั้นพ้ืนฐำน. 2561. แนวทำงกำรประเมิน
คุณภำพตำมมำตรฐำนกำรศกษำระดับปฐมวัย ระดับกำรศกษำ

ขั้นพ้ืนฐำน และระดับกำรศกษำข้ันพ้ืนฐำนศูนย์กำรศกษำพิเศษ. สำนักทดสอบ
ทำงกำรศกษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกษำข้ันพนื้ ฐำน.

.2563. แนวทำงกำรพัฒนำระบบกำรประกันคุณภำพกำรศกษำ
ตำมกฎกระทรวงกำรประกันคุณภำพกำรศกษำ พ.ศ. 2561. กรุงเทพมหานคร :
ห้างหนุ้ สว่ นจากัด เอน็ .เอ.รัตนะเทรดดิ้ง

. 2563. การกาหนดมาตรฐานการศกษาของสถานศกษา.
กรุงเทพมหานคร : ห้างหนุ้ ส่วนจากดั เอ็น.เอ.รัตนะเทรดดิ้ง

133

. 2563. การจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.
กรุงเทพมหานคร : ห้างหนุ้ ส่วนจากัด เอน็ .เอ.รัตนะเทรดด้ิง

. 2563. การจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา.
กรงุ เทพมหานคร : ห้างหนุ้ ส่วนจากัด เอ็น.เอ.รัตนะเทรดด้ิง

. 2563. การเตรยี มความพร้อมของสถานศกึ ษาเพื่อรับการประเมิน
คณุ ภาพภายนอก. กรุงเทพมหานคร : หา้ งหุ้นสว่ นจากดั เอน็ .เอ.รตั นะเทรดดิง้

สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2557. คมู่ ือกำรประกนั คุณภำพกำรศกษำ
ภำยใน ระดบั อุดมศกษำ พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์

Drucker, P. F. (1998). The Discipline ofInnovation. HarvardBusiness Review,149-157.

134

ภาคผนวก

135

เอกสำรดำวน์โหลดงำนประกันคุณภำพกำรศกษำ

QR code คู่มือแนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา
ภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง พ.ศ.2561 ฉบับปพี ิมพ์ 2563 (ใหม)่

เผยแพร่ 14 ตุลาคม 2563

ประกาศสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
เร่อื ง แนวปฏิบัตกิ ารดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ.2561

เอกสารและตวั อยา่ งแบบฟอร์ม เกยี่ วกบั การประกันและประเมนิ คุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา

136

ข้อมลู เพ่ิมเติมและช่องทางติดต่อ สอบถาม
นายสภุ ัค แฝงเพ็ชร ปึกษานเิ ทปกส สพป.นครปฐม เขต ๒
มอื ถือ 086 376 3687
E-mail [email protected]
QR Code Line

นางสทุ ธิรตั นส นาคราช ปึกษานิเทปกส สพป.นครปฐม เขต ๒
มอื ถือ 086 998 0993
ID Line kaew250227
E-mail [email protected]

กลมุ่ Line : ประกนั
สพป.นฐ.2

Website : chaisri nites

สพป.นฐ.2

137

ทป่ี รกษำ คณะทำงำน

นายชาญกฤต น้าใจดี ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา
ประถมศึกษานครปฐม เขต 2
นายประชา วุฒวิ ัฒนานุกูล รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2

รำยชอ่ื คณะกรรมกำรขบั เคลื่อนและจดั ทำคู่มือกำรนเิ ทศ

โครงกำรประกนั คุณภำพภำยในสถำนศกษำ

สงั กดั สำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศกษำประถมศกษำนครปฐม เขต 2

1. นายประชา วุฒิวัฒนานกุ ลู รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ท่ี ประธานกรรมการ

การศึกษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต 2

2. นางจาเรญิ สมี ารตั น์ ผอู้ านวยการโรงเรยี นพระตาหนกั สวนกุหลาบ กรรมการ

มหามงคล

3. นายสญชยั รศั มีแจม่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านกระทุม่ ล้ม กรรมการ

4. นายสุเทพ พูลสวัสด์ิ ผู้อานวยการโรงเรยี นวัดปรดี าราม กรรมการ

5. นายสกนธ์ วงศ์สกุ ฤต ผ้อู านวยการโรงเรียนวัดไรข่ ิง (สุนทรอุทศิ ) กรรมการ

6. นางวีนา แกว้ อนุ ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านบางเตย กรรมการ

7. นายสรุ เชษฐ์ กล่ินพะยอม ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดกลางบางแกว้ กรรมการ

8. นางสาวฐดิ าภรณ์ เพง็ หนู ผู้อานวยการโรงเรียนวัดใหม่สุคนธาราม กรรมการ

9. นางสาวดาวสวรรค์ พ่วงสมจิตต์ ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดศรีมหาโพธ์ิ กรรมการ

10. นายปญั ญา บัววัจนา ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดบัวหว่ัน กรรมการ

11. นายภูวเดช สวา่ งวงษ์ ผู้อานวยการโรงเรยี นวัดบงึ ลาดสวาย กรรมการ

12. นายไพรัช ปรสี ำเนียง ผูอ้ านวยการโรงเรียนวัดโพธ์ิ กรรมการ

13. นายสุชาติ เลิศลบ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดไผ่หูช้าง กรรมการ

14. นางศวิ ิไล ทคี า ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นบางเลน กรรมการ

15. นางณฐั หทัย บุญสมหวัง ผู้อานวยการโรงเรยี นวัดนิลเพชร กรรมการ

16. นางสาวอุษา มะหะหมัด ครู โรงเรียนวดั บางหลวง กรรมการ

17. นางสาวบุญสุพร เพง็ ทา ผอู้ านวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตาม กรรมการ

และประเมินผลการจดั การศึกษา

18. นางสาวเกริน ช้อยเครือ ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ

19. นางสาวสายใจ ฉมิ มณี ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ

20. นางพรสวรรค์ ตันมงคลกาญจน ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ

21. นางสาวนาฏลดา ภู่ประเสริฐ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ

22. นายพจิ ารณ์ ดิษฐประชา ศึกษานิเทศก์ 138
23. นายเมธี อ้นทอง ศึกษานเิ ทศก์
24. นางสาวสรุ ีพร พันยโุ ดด ศึกษานิเทศก์ 1 กรรมการ
25. นายสุภัค แฝงเพ็ชร ศึกษานเิ ทศก์
26. นางสุทธริ ตั น์ นาคราช ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ
27. นางพรทิพย์ นิลวัตถา เจา้ พนกั งานธรุ การ กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
28. นางทิพยว์ ดี มาเอยี ด เจ้าพนักงานธุรการ กรรมการและเลขานกุ าร
กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

139


Click to View FlipBook Version