The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by t.suksawat1956, 2023-02-13 02:26:41

เจาะลึกรูปแบบระบบบัญชีโรงแรม ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 11

Understanding Uniform System of Accounts for the Lodging Industry, 11th Revised Edition

Keywords: USALI

Uniform System of Accounts for the Lodging Industry, 11 th Revised Edition เจาะลึกรูปแบบ ระบบบัญชีโรงแรม ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 11 ทิ ฆั ม พ ร สุ ข ส วั ส ดิ์ เ รี ย บ เ รี ย ง โ ด ย UNDERSTANDING


คู่คู่มื คู่ มื คู่ อ มื อ มื นันัก นั ก นั บับัญ บั ญ บั ชีชีโชีชี รงแรม SSeerriieess 11 General Ledger Uniform System of Account for the Lodging Industry, 11th Revised Edition ทิฆัมพร สุขสวัสดิ์ Prima Consultant Co., Ltd 183/5 ซอยสังคมสงเคราะห์ 5 ถ.ลาดพร้าว 71 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กทม.10310 โทร. +66 (0)81 837 3166 .


เจาะลึกรูปแบบ ระบบบัญชีโรงแรม ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 11 Understanding Uniform System of Accounts for the Lodging Industry, 11th Revised Edition ISBN ผู้เรียบเรียง ทิฆัมพร สุขสวัสดิ์ ราคา 800 บาท สงวนลิขสิทธิ์ตสมพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 ห้มลอกเลียนแบบ หรือแปลส่วนใดส่วนหนึ่งและผลิตซ้ำ อื่นใด โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์


คำ นำ ภารกิจหลักของโรงแรมในฐานะเป็น Business Unit ในมุมมองของเศรษฐกิจทุนนิยม คือการ ทำ กำ ไร เพื่อให้สามารถสะสมทุน และขยายกิจการต่อไปอย่างยั่งยืน ในการบริหารเชิงกลยุทธ์ จึงต้องมีการวางแผน นำ แผนไปปฏิบัติ ติดตามประเมินผล และปรับปรุงพัฒนาการดำ เนินงาน เพื่อบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ แผนงบประมาณ (Operating Budget) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจ (Business Plan) ซึ่งมี ลักษณะเป็นแผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) แสดงเป้าหมาย ในรูปของตัวเงินที่จัดทำ เป็น รายการ รายได้และค่าใช้จ่าย ประจำ ปีเพื่อใช้เป็นตัวชี้วัด (Indicator) ผลการดำ เนินงาน รายปีของแต่ละ โรงแรม ระหว่างการดำ เนินงาน ฝ่ายบัญชีมีหน้าที่ในการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงานงบ ประมาณ แสดงรายงานออกมาในรูปของงบการเงินเปรียบเทียบ รายได้ ค่าใช้จ่าย ที่เกิดขึ้นจริง (Actual) กับ งบประมาณ(Budget) ที่ตั้งไว้ หากเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าประมาณการ แสดงถึง การดำ เนินงานที่ต้องแก้ไขต่อไป จึงเป็นความรับผืดชอบของฝ่ายบัญชีของโรงแรมที่จะต้องวาง หลักเกณฑ์ในการกำ หนดเป้าหมายรายได้และค่าใช้จ่ายในงบประมาณ รวมทั้งใช้เกณฑ์เดียวกัน ในการบันทึกรายการบัญขีที่เกิดขึ้นจริงเพื่อประเมินผลการนำ แผนไปปฏิบัติ และสรุปรายงานดัง กล่าวทั้งเกฑ์การจัดสรรงบประมาณและเกณฑ์การบันทึกรายการตลอดจนการรายงานใน เกณฑ์เดียวกัน ซึ่งในปัจจุบันมีโรงแรมที่ไม่ได้บริหารโดยเครือข่ายนานาชาติจำ นวนมากจัดทำ รายงานทางการเงินที่ไม่เป็นรูปแบบมาตรฐานเดียวกัน การสรุปปัญหาการดำ เนินงานจาก รายงานทางการเงินจึงไม่สามารถเปรียบเทียบกับภาคอุตสาหกรรมเดียวกันได้จากการใช้วิธี การทางบัญชีที่ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ทำ ให้ไม่สามารถวิเคราะห์ปัญหาจากการดำ เนินงานได้ ชัดเจน กรอบความเชื่อในการปฏิบัติงานของนักบัญชีโรงแรมในประเทศไทยที่คล้ายกันแต่ส่งผลถึง การนำ มาปฏิบัติงาน อย่างอิสระโดยไม่มีมาตรฐานระบบบัญชีที่ชัดเจน ซึ่งอาจเรียกว่าเป็น Pain Point ของนักบัญชีโรงแรมผู้ที่ที่ต้องการพัฒนาระบบงานแต่ติดขัดที่แนวคิด ความเชื่อ หรือเป้า หมายของผู้ประกอบการที่คาดหวังจากการปฏิบัติงานของนักบัญชีโรงแรมในกรณีต่างๆดัง เช่น จัดทำ บัญชีเพื่อ ภาษีอากร ใช้งบการเงินเป็นประโยชน์เฉพาะการปฏิบัติตามข้อกำ หนดด้าน กฎหมายในการยื่นแบบ ไม่ใช้เพื่อการบริหารกิจการที่แท้จริง บันทึกรายการตามหลัง ไม่สามารถรับรู้สถานะทางการเงินแบบ Real Time จากระบบบัญชี เพราะต้องมีรายการปรับปรุงบัญชี ตามหลัง เช่น Inventory Adjustment (ไม่ใช้ระบบ Zero Inventory) ทำ ให้รายงานทางบัญชีเป็นผลที่เกิดตามหลังการเกิดรายการทางการเงิน (Finance Transaction)จึงใช้ประโยชน์ในการประเมินผลตามหลัง (เป็น Corrective Control) การจะใช้ ข้อมูลทางการเงินเป็นเครื่องมือ Preventive Control จึงต้องออกมาในรูปของ Budgeting ปัญหาการเชื่อมต่อ Transaction ที่เกิด กับ Account Transaction ในระบบ General Ledger จาก Application 1


REVENUE TRANSACTION ในปัจจุบันมีการ INTERFACE ผ่าน BATCH โดย ไม่ต้องทำ JV แต่ยังต้องมีการปรับปรุงรายการบัญชี (ACCOUNT TRANSACTION ADJUSTMENT) แก้ไขเพิ่มในรายละเอียด เช่นกรณี แยก REVENUE ให้ตรง PROFIT CENTER, รายการ REBATE/ALLOWANCE ที่ไม่ใช่ ส่วนลดจ่ายแต่เป็นการปรับปรุงส่วนที่ บันทึกรายได้เกิน (OVER CHARGE) ต้อง มีการเรียกรายการใน BATCH มาปรับปรุงรายการใหม่ ยังคงต้องทำ รายการ MONTH END ADJUSTMENT ผ่าน JV เช่น ACCRUED EXPENSES, DEPRECIATION & AMORTIZATION, F&B COST ALLOCATION, PREPAID EXPENSES ADJUSTMENT, LAUNDRY ALLOCATION UNIFORM SYSTEM OF ACCOUNT ยังไม่เป็นที่นิยมใช้กว้างขวาง มีใช้เฉพาะ INTERNATIONAL CHAIN HOTEL ความเชื่อเรื่องการทำ บัญชี 2 เล่มเพื่อเลี่ยงภาษี โดยที่ UNIFORM SYSTEM OF ACCOUNTS FOR THE LODGING INDUSTRY ได้ถือเป็นมาตรฐานบัญชีโรงแรมที่ใช้ถือปฏิบัติอย่างกว้างขวางทั่ว โลกและเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปในกลุ่มโรงแรมเครือข่ายนานาชาติ (INTERNATIONAL CHAIN HOTEL) แต่ในประเทศไทยการถ่ายทอดและนำ ไป ปฏิบัติใช้หลักการของ USALI ยีดถือตามระบบงานภายในของโรงแรมเครือข่าย ในรูปแบบของ SOP (STANDARD OPERATING PROCEDURE) ซึ่งในบาง ประเด็นที่เจาะลึกตามข้อสรุปของ AHLA (AMERICAN HOTEL & LODGING ASSOCIATION) ซึ่งเป็นผู้นำ ในการวิจัยและพัฒนาระบบนี้ให้แก่ HFTP (HOSPITALITY FINANCIAL AND TECHNOLOGY PROFESSIONALS) ไม่ ปรากฏว่ามีผู้นำ มาเผยแพร่ให้ครบถ้วนเพื่อใช้ต่อยอดในการนำ USALI ไปอ้างอิง ผู้เรียบเรียงจึงมีความตั้งใจสื่อถึงนักบัญชีโรงแรม ในทุกประเด็นที่ USALI 11TH REVISED EDITION ได้นำ เสนอ โดยจัดทำ เป็นภาษาไทยในหมวดหลักต่างๆ เพื่อความเข้าใจตรงกัน ในขณะเดียวกันได้เพิ่มเติมจากต้นฉบับภาษาอ้งกฤษ โดย จัดหมวดหมู่ชื่อบัญชี OTHER EXPENSE ให้ง่ายต่อการวิเคราะห์เพิ่มเติมจาก ต้นฉบับเดิมที่รายงานเรียงตามลำ ดับอักษร เป็นกลุ่มค่าใช้จ่าย อีกทั้งเพิ่มเติม ACCOUNT DESCRIPTION ที่นิยามแต่ละบัญชีแยกประเภทแสดงลักษณะของ แต่ละบัญชี เพิ่มเติมจากต้นฉบับ เพื่อช่วยนักบัญชีในการ วิเคราะห์รายการเพื่อลง บัญชีแยกประเภทให้ถูกต้อง อีกทั้งได้รวบรวม TEMPLATE รูปแบบงบการเงินทุก แผนกตามการจัดเรียงกลุ่มบัญชีใหม่เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้วางระบบบัญชี โรงแรมอีกส่วนหนึ่ง การจัดทำ รายงานทางการเงินตามมาตรฐานสากล ซึ่งไม่ได้ขึ้นกับเกณฑ์อิสระ ใดๆ สามารถอ้างอิงความถูกต้องแม่นยำ ของการวิเคราะห์ จะสามารถแก้ปัญหา PAIN POINT ส่วนใหญ่ของระบบบัญชีโรงแรมได้ 2


ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริหาร โรงแรม นักบัญชี ตลอดจนบริษัทพัฒนา SOFTWARE โรงแรม ในการใช้เป็น เครื่องมืออ้างอิงในการพัฒนาการปฏิบัติงานโดยเฉพาะการจัดทำ รายงาน ทางการเงินของโรงแรม ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้องเป็นมาตรฐานสากลต่อไป ทิฆัมพร สุขสวัสดิ์ 3


สารบัญ บทที่ 1 รู้จัก USALI 11TH REVISED EDITION 6 (UNIFORM SYSTEM OF ACCOUNTS FOR THE LODGING INDUSTRY, 11TH REVISED EDITION) บทที่ 2 ประเด็นหลักที่เปลี่ยนแปลงจาก VERSION 10TH 7 1. PART I OPERATING STATEMENT งบกำ ไรขาดทุน 7 ROOMS-SCHEDULE 1 12 FOOD AND BEVERAGE – SCHEDULE 2 15 OTHER OPERATED DEPARTMENT – SCHEDULE 3 18 MISCELLANEOUS INCOME – SCHEDULE 4 24 ADMINISTRATION AND GENERAL – SCHEDULE 5 26 INFORMATION AND TELECOMMUNICATIONS SYSTEMS-SCHEDULE 6 27 SALES AND MARKETING-SCHEDULE 7 29 PROPERTY OPERATION AND MAINTENANCE-SCHEDULE 8 30 UTILITIES-SCHEDULE 9 31 MANAGEMENT FEES-SCHEDULE 10 31 NON-OPERATING INCOME AND EXPENSES-SCHEDULE 11 32 HOUSE LAUNDRY-SCHEDULE 12 33 STAFF DINING-SCHEDULE 13 34 PAYROLL-RELATED EXPENSES-SCHEDULE – 14 35 2. PART II FINANCIAL STATEMENTS งบดุล 36 BALANCE SHEET 37 ALTERNATIVE OWNERS’ EQUITY PRESENTATION IN THE BALANCE SHEET -CORPORATION (STOCKHOLDERS’ EQUITY) 38 -PARTNERSHIP (PARTNERS’ EQUITY) 39 -LIMITED LIABILITY COMPANY 39 -SOLE PROPRIETORSHIP 39 STATEMENT OF INCOME 40 STATEMENT OF COMPREHENSIVE INCOME 41 STATEMENT OF OWNERS’ EQUITY 41 STATEMENT OF STOCKHOLDERS’ EQUITY 41 STATEMENT OF PARTNERS’ EQUITY 41 STATEMENT OF MEMBERS’ EQUITY 42 STATEMENT OF OWNER’S EQUITY 42 STATEMENT OF CASH FLOWS 43 DIRECT METHOD 43 INDIRECT METHOD 44 NOTES TO THE FINANCIAL STATEMENTS 45 3. PART III FINANCIAL RATIOS AND OPERATING METRICS 46 4


อัตราส่วนวิเคราะห์ทางการเงิน และวัดผลงาน 46 RATIO ANALYSIS การวิเคราะห์อัตราส่วน 46 OPERATING METRICS ตัวชี้วัดการดำ เนินงาน 49 ROOMS DEPARTMENT OPERATING METRICS 50 FOOD AND BEVERAGE DEPARTMENT OPERATING METRICS 57 GOLF COURSE AND PRO SHOP METRICS 64 HEALTH CLUB/SPA METRICS 65 PARKING METRICS 68 UTILITIES AND REFUSE/WASTE METRICS 70 LABOR COST METRICS 74 FINANCIAL RATIOS 82 LIQUIDITY RATIOS 82 SOLVENCY RATIOS 82 ACTIVITY RATIOS 83 PROFITABILITY RATIOS 83 4.PART IV REVENUE AND EXPENSE GUIDE 85 ชนิด/ประเภทของรายได้ค่าใช้จ่าย REVENUE BY DEPARTMENT 85 EXPENSE BY DEPARTMENT 87 5.PART V GROSS VS.NET REPORTING 109 แนวคิดในการบันทึก/รายงานด้วยจำ นวน GROSS หรือ NET หลักการและการจำ แนกประเภท 109 ตัวอย่างกรณีศึกษาของยอดรวม เทียบกับ การรายงานสุทธิ 113 SURCHARGE, SERVICE CHARGES AND GRATUITIES 134 บทที่ 3 ADDITIONAL SUGGESTION OF ACCOUNT GROUPING -PROFIT & LOSS STATEMENT 139 บทที่ 4 STANDARD TEMPLATE FOR OPERATING STATEMENT (AS PER ADDITIONAL ACCOUNT GROUPING) 147 ROOMS-SCHEDULE 1 148 FOOD AND BEVERAGE – SCHEDULE 2 149 OTHER OPERATED DEPARTMENT – SCHEDULE 3 150 MISCELLANEOUS INCOME – SCHEDULE 4 156 ADMINISTRATION AND GENERAL – SCHEDULE 5 157 INFORMATION AND TELECOMMUNICATIONS SYSTEMS-SCHEDULE 6 158 SALES AND MARKETING-SCHEDULE 7 159 PROPERTY OPERATION AND MAINTENANCE-SCHEDULE 8 160 NON-OPERATING INCOME AND EXPENSES-SCHEDULE 11 161 บทที่ 5 ACCOUNT DESCRIPTION 162 OPERATING STATEMENTS 163 FINANCIAL STATEMENTS 250 5


บทที่ 1. รู้จัก USALI 11TH REVISED EDITION สวัสดีครับเพื่อนๆ คนโรงแรม จากการที่ผมได้เขียนบทความ สรุปสาระสำ คัญ ในการเปลี่ยนแปลงของ USALI (UNIFORM SYSTEM OF ACCOUNT FOR THE LODGING INDUSTRY) มาเป็น VERSION 11TH REVISED EDITION และPOSTเผยแพร่ใน WEBSITE: HTTPS://WWW.PRIMACONSULTANT.CO.TH ตั้งแต่ 7 มิ.ย.2563 ซึ่งเป็นช่วง COVID-19 ระบาด มีผลทำ ให้คนโรงแรมต้องหยุด งาน จำ นวนไม่น้อย และมีโอกาสเข้ามาอ่านบทความนี้ จนถึงวันนี้ (31 มกราคม 2566) 2,509 ราย เฉลี่ย วันละ 3 ราย แม้จะดูว่าเป็นจำ นวนไม่มากนัก แต่ก็แสดง ว่าเป็นที่น่าสนใจ และมี IMPACT ต่อวิชาชีพบัญชีโรงแรมพอสมควร เพื่อให้เป็นประโยชน์มากขึ้นจึงได้จัดทำ E-BOOK เพื่อลงรายละเอียดให้ครบถ้วน มากขึ้น และขยายผลในการแก้ข้อสงสัยต่างๆ หวังว่าจะเป็นประโยน์ต่อนักบัญชี โรงแรมเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ในการประกอบอาชีพของทุกๆท่านให้เป็น มาตรฐานสากลต่อๆไป ก่อนลงลึกในรายละเอียดของ USALI 11TH REVISED EDITION เรามารู้จัก ความเป็นมา ของมาตรฐานบัญชีโรงแรมกันก่อนนะครับ กว่า 100 ปี สมาคมโรงแรมของสหรัฐอเมริกา หรือ AHLA (AMERICAN HOTEL&LODGING ASSOCIATION) ซึ่งเป็นหน่วยงานตัวแทนของอุตสาหกรรม โรงแรมสหรัฐอเมริกาได้มีการจัดตั้ง FINANCIAL MANAGEMENT COMMITTEE ทำ หน้าที่พัฒนาระบบงานบัญชีและการเงินของอุตสาหกรรมโรงแรมเป็นผู้ทำ การ พัฒนาปรับปรุงUSALIให้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามบริบทของอุตสาหกรรม โรงแรมที่ DYNAMIC และตอบสนองความก้าวหน้าของธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลาเรื่อยมา ผลที่ได้คือ USALI มีการพัฒนามากว่า 11 VERSION ถึง ปัจจุบันคือ USALI 11TH REVISED EDITION ต่อมา HFTP (HOSPITALITY FINANCIAL AND TECHNOLOGY PROFESSIONAL) AN INTERNATIONAL ASSOCIATION หน่วยงานนานาชาติ ที่ทำ หน้าที่ ให้บริการด้านการศึกษาเกี่ยวกับระบบการเงินและเทคโนโลยี แก่ อุตสาหกรรมโรงแรม ที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1952 ได้กำ หนดมาตรฐาน CHAE : CERTIFIED HOSPITALITY ACCOUNTANT EXECUTIVE และ CHTP : CERTIFIED HOSPITALITY TECHNOLOGY PROFESSIONAL เพื่อรับรอง มาตรฐานคุณภาพของบุคคลในการประกอบอาชีพนักบัญชีโรงแรม แต่เดิมในทางกฎหมาย สมาคมโรงแรมแห่งนครนิวยอร์คเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ USALI มาตลอด ต่อมาในเดือนตุลาคม 2018 สมาคมผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน และเทคโนโลยีการบริการ (HFTP: HOSPITALITY FINANCIAL AND TECHNOLOGY PROFESSIONALS) ได้ซื้อลิขสิทธิ์ USALI จากสมาคมโรงแรม แห่งนครนิวยอร์ก HFTP จึงเป็นผู้ดำ เนินการพัฒนา USALI ตั้งแต่ VERSION 12 ซึ่งคาดว่าจะมีการเผยแพร่ใน ช่วง SPRING ของ ปี 2022 เป็นต้นไป 6


การปรับปรุงเปลี่ยนแปลง USALI ในแต่ละช่วงเวลา เป็นการปรับให้เข้ากับการ เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยของอุตสาหกรรมโรงแรม ในส่วนต่างๆดังต่อไปนี้ TECHNOLOGY, CLUSTER SERVICE, SUSTAINABILITY, DISTRIBUTION CHANNEL, GLOBALIZATION, ENHANCED RATIO ANALYSIS, NEW TERMINOLOGY สำ หรับ USALI 11TH REVISED EDITION มีการเปลี่ยนแปลงจาก VERSION 10 ก่อนหน้ามาก ผมเห็นว่า การทำ ความเข้าใจโดยละเอียดในการเปลี่ยนแปลง ใหม่ของ VERSION นี้ จะเป็นการเตรียมพร้อมสำ หรับการติดตาม VERSION 12TH ที่กำ ลังจะพัฒนาเพิ่มเติมต่อไป บทที่ 2 ประเด็นหลักที่เปลี่ยนแปลงจาก VERSION 10TH แยกขยายความใน 5 หมวดประกอบด้วย PART I OPERATING STATEMENT งบกำ ไรขาดทุน PART II FINANCIAL STATEMENT งบดุล PART III FINANCIAL RATIOS AND OPERATING METRICS อัตราส่วนวิเคราะห์ทางการเงิน และวัดผลงาน PART IV REVENUE AND EXPENSE GUIDE ชนิด/ประเภทของรายได้ค่าใช้จ่าย PART V GROSS VS.NET REPORTING แนวคิดในการบันทึก/รายงานด้วยจำ นวน GROSS หรือ NET และสรุปการ UPDATE PART V AMENDED AND RESTATED อัพเดทการ ปรับปรุงแก้ไข ส่วนที่ V เราจะเข้าไปในรายละเอียดในแต่ละประเด็น โดยยึดถือ USALI 11TH REVISED EDITION ที่จัดพิมพ์ในปี 2018 ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ HFTP 1.PART I OPERATING STATEMENT งบกำ ไรขาดทุน ส่วนแรก SUMMARY OPERATING STATEMENT หรือรายงานกำ ไรขาดทุน รวม มีความเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างส่วนแรกคือการจัดหมวดหมู่ 1.1RENTAL AND OTHER INCOME แต่เดิมเราคุ้นเคยบันทึกใน PROFIT CENTER ที่ชื่อ SHOP & OTHER INCOME เปลี่ยนไปบันทึกใน PROFIT CENTER ชื่อ MISCELLANEOUS INCOME 1.2REVENUEเปลี่ยนชื่อเป็นOPERATING REVENUE และ TOTAL REVENUE เปลี่ยนเป็น TOTAL OPERATING REVENUE 1.3มีการเพิ่มCOSTCENTER“INFORMATION AND TELECOMMUNICATIONS SYSTEMS” ใน UNDISTRIBUTED OPERATING DEPARTMENT (เดิมประกอบด้วย A&G, SALES & MARKETING, POM, ENERGY เปลี่ยนเป็น A&G, INFORMATION & TELECOMMUNICATION, SALES & MARKETING, POM, UTILITIES) 7


8 ส่วนที่สอง ความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบการรายงาน สรุปรายงานกำ ไรขาดทุนรวม Summary Operating Statement ที่แต่เดิม เริ่มที่ รายได้ จาก Operating Department แยกแสดง Service Charge หักด้วย Cost of Sales หัก Payroll & Related Expenses ของ Operating Department หัก Other Expenses ของ Operating Department ได้ Gross Operating Income (GOI) หัก Payroll & Related ของ Undistributed Department หัก Other Expenses ของ Undistributed Department หัก Basic Management Fee ได้ Gross Operating Profit (GOP) แต่ใน Version 11th Revised Edition Operating Revenue แสดงรายได้รวม Service Charge (ที่บันทึกอยู่ใน Other Revenue ของแต่ละ Cost / Profit Center) และไม่แสดง Cost of Sales แยก แต่รวมใน Department Expenses (แต่จะไปแสดง Cost of Sales ในงบกำ ไรขาดทุน รายแผนก-Schedule) รวมทั้ง Labor Costs and Related Expenses จะแสดงรวมใน Departmental Expenses ใน Summary Operating Statement แต่จะแยกแสดงใน แต่ละ Profit/Cost Center ในงบกำ ไรขาดทุนรายแผนก-Schedule อีกส่วนหนึ่งที่เปลี่ยนแปลง คือ การคำ นวณ GOP จะ เปลี่ยนเป็น Total Operating Revenue หัก Department Expenses (เฉพาะ Operating Department) คงเหลือ Total Department Income เมื่อหัก Undistributed Operating Expenses ได้ GOP (ยังไม่หัก Basic Management Fee) จากนั้นจะแสดง GOP หัก Management Fee ได้ Income Before Non-Operating Income and Expenses บวก/หัก Non-Operating Income and Expenses (ประกอบด้วย NoneOperating Income หักด้วย Non-Operating Expenses ซึ่งประกอบด้วย Rent, Property and Other Taxes, Insurance และ Other Expenses) ได้ EBITDA ใน Version 11thจะมี Summary Operating Statement แยกเป็น 2 รายงาน คือ สำ หรับ Operator และ Owner ในส่วนของ Operator จะแสดงงบกำ ไรขาดทุนรวม ด้วยการนำ ยอดสุทธิของ EBITDA หัก ด้วย Replacement Reserve เท่านั้นเป็น EBITDA Less Replacement Reserve ส่วน EBITDA หัก Interest, Depreciation, Amortization ได้ Income Before Income Taxes เมื่อหัก Income Taxes ได้ Net Income จะแสดงใน Summary Operating Statement ส่วนของ Owner เพิ่มเติมในงบ มีการแสดง Statistic 6 สถิติคือ Rooms Available, Rooms Sold, Occupancy, Rooms RevPAR และ Total RevPAR (เดิมแสดง Rooms Available, Occupancy, Average Room Rate, Room Rented, Spend per Guest, No. of Guests) ดังตัวอย่างต่อไปนี้


9


10


11 Operating Schedules รายงานกำ ไรขาดทุนรายแผนก – Schedule 1-14 Multiple Departments: หลายแผนก •เปลี่ยนการเรียก Payroll Cost เป็น Labor Cost เนื่องจากพิจาณาผลกระทบการว่าจ้าง แรงงานจากภายนอก (Outsourcing) ที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ และการวิเคราะห์อัตราส่วน Operating Metrics จึงรวม Labor Cost ที่มี Outsourcing รวมด้วย ผลรวมของค่าจ้าง เงินเดือนของ Management และ non-Management จะแสดงในงบกำ ไรขาดทุนของแผนกต่างๆ Service Charge Distribution Contracted, Leased & Outsource Labor และ Bonuses and Incentives ซึ่งรายงานในหมวด Labor Cost แยกจาก Salary & Wages •ส่วนของ Payroll-Related Expenses ประกอบด้วย Payroll Taxes, Supplement Pay และ Employee Benefits (ดังตัวอย่างการรายงาน Labor Costs and Related Expenses ในงบ กำ ไรขาดทุนรายแผนก) Labor Costs and Related Expenses Salaries, Wages, Service Charges, Contracted Labor and Bonuses Salaries and Wages Management Non-Management Sub-Total: Salaries and Wages Service Charge Distribution Contracted, Leased and Outsourced Labor Bonuses and Incentives Total Salaries, Wages, Service Charges, Contracted Labor and Bonuses Payroll-Related Expenses Payroll Taxes Supplemental Pay Employee Benefits Total Payroll-Related Expenses Total Labor Costs and Related Expenses •มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกี่ยวกับค่าแรงและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง: แยกเงินเดือนค่าจ้างสำ หรับผู้บริหารและพนักงานที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร Service Charge Distribution จะถูกนำ เสนออยู่ในหมู่ค่าใช้จ่าย Salaries, Wages, Service Charges, Contracted Labor and Bonuses Contracted, leased, and outsourced labor costs ต้นทุน ค่าแรงงานตามสัญญาและค่าจ้างจากการจ้างงานภายนอกได้แสดงแยกต่างหากจาก Salaries, Wages •มีการเพิ่มหัวข้อใหม่เพื่อแสดงเพิ่มเติมเกี่ยวกับพื้นฐานสุทธิและรวม (Net vs Gross) •เพิ่มเติมคำ แนะนำ เกี่ยวกับวิธีจัดการ surcharges, service charges and gratuities •เพิ่มบัญชี Cluster services และค่าใช้จ่ายการจอง reservations expenses แต่ละแผนก และ แต่ละแผนกจะมีค่าใช้จ่าย In-House Entertainment Account ของแผนกเอง


12 •ค่าใช้จ่ายด้านการจัดการสื่อสารโทรคมนาคมจะถูกบันทึกไว้ในแผนก Information and Telecommunications Systems แผนกใหม่ใน Un-Distributed Department Rooms-Schedule 1 งบกำ ไรขาดทุนแผนกห้องพัก ชื่อบัญชีต่างๆของ Room Department นี้ USALI แนะนำ ว่าสามารถ Delete บัญชีที่จะไม่ใช้ได้ แต่ไม่อนุญาตให้เพิ่มบัญชีอื่นนอกเพิ่ม แต่อาจใช้การเพิ่ม Sub Ledger ของบัญชีที่สร้างไว้ให้ รูปแบบรายงานประกอบด้วย Revenue แยกเป็น 2 หมวดใหญ่ๆเหมือน Version 10thคือ Transient และ Group แต่แยก Segment ใหม่หมดใน Transient ส่วน ใน Group คงไว้เหมือนเดิม เพียงแต่เอา Wholesaler ไปรวมกับ Tour Group ไม่แยกต่างหากเหมือนใน Version 10th Transient Room Revenue สำ หรับ Segment ใหม่ทั้งหมดใน Transient ประกอบด้วย Retail Rate เต็มไม่มีส่วนลด หรือราคาพิเศษใดๆ Discount Rate ถูกกว่า Retail เช่นพวก Redeem, Package, Promotion, OTA Negotiated Rate ที่ Offer เฉพาะกลุ่มเช่น Corporate. Qualified Rate ที่ Offer เฉพาะกลุ่ม เช่น Employee, Senior Citizen, Government Wholesale Rate ที่ Offer เฉพาะกลุ่ม ที่เสนอรวมกับ Package หรือ Travel Agent Rate Group Room Revenue ใช้สำ หรับการขายห้องสำ หรับกลุ่ม ส่วนมากถือจำ นวน 10 ห้องขึ้น ไป แบ่ง Segment ออกเป็น Corporate Rate ที่ Offer เฉพาะกลุ่มภาคธุรกิจเอกชน Association/Convention Rate ที่ Offer เฉพาะกลุ่มสมาคม กลุ่มประชุมสมนา Tour/Wholesalers Rate ที่ Offer เฉพาะกลุ่มตัวแทนท่องเที่ยว SMERF (Social, Military, Educational, Religious, Fraternal) Rate ที่ Offer เฉพาะกลุ่ม ได้แก่ ประชาสังคม สถาบันการศึกษา กลุ่มศาสนา และอื่นๆ Contract Room Revenueสำ หรับการมี Contract เพื่อ Block Room ระยะยาว เกินกว่า 30 วัน และจะบันทึกราคา Net หลัง Discount เช่น Airline Crews, Ongoing Training seminars or Incentive Programs Other Rooms Revenue สำ หรับบันทึกรายได้ที่เกี่ยวข้องมาจากห้องพัก ซึ่งจะรวมเป็น Total Room Revenue และนำ ไปคำ นวณ ADR ได้แก่ No-Shows สำ หรับห้องที่มี Guaranteed Payment แต่ไม่เข้าพักส่วน Cancellation Fee ซึ่งเป็นการ ยกเลิกหลัง Cutoff ถือเป็น Miscellaneous Income ใน Schedule 4 ไม่ใช่ Other Rooms Revenue Day use สำ หรับการเปิดใช้ห้องชั่วคราวไม่เต็มวันเช่นเป็น Hospitality Suite, Dressing Room, I Interviews, Audition, Wholesale Distributors ที่ ไม่มี Food & Beverage รวมอยู่ Early Departure Fees สำ หรับห้องที่เช๊คเอ้าท์ก่อนกำ หนดแต่ไม่คืนเงิน Late Check-out Fees สำ หรับห้องที่เช็คเอ้าท์เกินเวลาที่กำ หนด Rental of Rollaway Beds and Cribs ค่าเตียงเสริม และเตียงเด็กอ่อน Surcharges and Service Chargesค่าบริการ แต่ Resort Fees ไม่รวมอยู่ใน Other Rooms Revenue แต่ จะอยู่ใน Miscellaneous Income (Schedule 4)


13 ส่วนของที่ Set Up ให้แขกในห้องพัก เพื่อขายเช่น Minibar จะบันทึกเป็นรายได้ Food and Beverage Revenue ในรายงานกำ ไรขาดทุนของแผนก อาหารและเครื่องดื่ม Food & Beverage-Schedule 2 ส่วนรายการสินค้าอื่นที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม ที่ขายในห้องพัก จะบันทึกใน Miscellaneous Other Revenue ใน แผนก F&B Schedule 2 หรือ Miscellaneous Income – Schedule 4 กรณีที่ราคาที่เรียกเก็บจากแขก มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวข้องด้วย การบันทึกให้ บันทึกในราคา Gross ใน Other Operated Department กรณีเพิ่มเติมต่างๆที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับรายได้ของแผนก Room Department Resort fees ถูกบันทึกใน Miscellaneous Income และไม่รวมอยู่ในการคำ นวณ Average Daily Rate Package Revenue กรณีมีการขายบริการอื่นพ่วงกับห้องพัก และคิดอัตรารวมกันเป็น Package รวม เช่น ห้องพักรวม อาหาร กอล์ฟ สปา รถเช่า ซึ่งต้องมีการ Allocate รายได้ ระหว่างแผนกต่างๆ ที่ต้องยึดถือราคาตลาด (Market Values) ซึ่งต่างจากกรณีแถมให้โดยไม่ คิดมูลค่า (Gratis) ซึ่งเป็นกรณีที่โอนราคาต้นทุน (Cost Values) ของสิ่งที่แถมให้ เป็นค่าใช้จ่ายใน แผนก Room Department. Barter Transactions บันทึกรายได้เป็น Room Revenue ส่วนที่อยู่ในเงื่อนไข Barter Agreement (มีการนับ Room Count เป็น Occupied Room.) ส่วนอีกด้านบันทึกเป็น Liability Sales and Excise Taxes and Transient Occupancy Taxes ภาระภาษีที่ โรงแรมต้อง ชำ ระเสมอโดยรับรู้รายได้ แม้จะไม่มีการรับชำ ระ (เช่นกรณี Complimentary) ต้องรับภาระภาษี ตามที่ภาครัฐกำ หนด Royalty Programs กรณีมีวัตถุประสงค์สร้างโปรแกรมเพื่อให้ลูกค้าซื้อซ้ำ ไม่ว่าจะเป็นการ เสนอลดราคา แถมบริการ หรือสะสมแต้ม ส่วนที่เสนอเพิ่มดังกล่าวถือเป็น Marketing Expenses เมื่อใช้แต้ม (Redeemed) ให้ Credit Room Revenue และ Debit Liability ที่ได้ Credit ไว้เมื่อออกแต้มก่อน redeem. Wholesaler and OTA Revenues รับรู้รายได้ตาม Contract Rate เช่นเดียวกัน ทั้ง Wholesaler Agent และ OTA Wholesaler ส่วน Commission ถือเป็น ค่าใช้จ่ายใน Room Department Mixed-Ownership Lodging Facilities กรณีกรรมสิทธิ์เป็นของบุคลอื่นแต่ให้โรงแรม บริหาร การพิจารณา 3 แนวทางคือ กรณีโรงแรมถือเป็น Predominant economic risk 1. Long term ให้ถือเป็น Hotel Inventory รับรู้รายได้ ค่าใช้จ่ายในแผนก Room ของโรงแรม แต่ค่าเช่าที่จ่ายให้ Unit Owner บันทึกในNon-Operating come & Expenses (Schedule 11) 2. Short term (น้อยกว่า 1 ปี) ไม่ถือเป็น Hotel Inventory รับรู้รายได้ ค่าใช้จ่ายในแผนก Other Operated Department ของโรงแรม ค่าเช่าที่จ่ายให้ Unit Owner บันทึกในNonOperating Income & Expenses (Schedule 11) 3. กรณีบุคคลภายนอกถือเป็น Predominant Economic Risk เจ้าของจะจ่าย Commission ให้โรงแรมรับรู้เป็นรายได้ของ Rental & Other Income และห้องพักไม่ถือเป็น Hotel Inventory จึงไม่นับ เป็น Room Count ใน Hotel Statistic ส่วนค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องจะบัน ทึกใน Minor Operated Department-Schedule 3-xx


14


15 Food and Beverage – Schedule 2 งบกำ ไรขาดทุนแผนกอาหารและเครื่องดื่ม ความเปลี่ยนแปลงที่สำ คัญๆ มีดังนี้ 1. ในรายงาน Summary of Food & Beverage Department เน้นการรายงานรวม Operation ของ Food และ beverage 2. ส่วนที่อาจจะขัดกับความคุ้นเคย ได้แก่การรับรู้รายได้ Food Revenue จะรวม nonalcoholic beverage ด้วย เช่น Bottled Water, soft drinks ถือเป็น Food Revenue 3. แยกรายได้ Food & Beverage ตามจุดที่ให้บริการ ได้แก่ Venue Food/Beverage Revenue, In-Room Dining Food/Beverage Revenue, Banquet/Conference/Catering Food/Beverage Revenue, Mini Bar Food/Beverage Revenue และ Other Food/Beverage Revenue (กรณีไม่ได้ระบุ จุดที่ ขาย) 4. เพิ่มรายได้ Public Room Set-Up charges 5. Surcharge และ Service Charge รวมอยู่ใน Other Revenue 6. ส่วนต่าง (Discounted Value) ของ Gift Certificate ที่ไม่มาใช้ และ Prepaid Coupon ที่ ไม่มาใช้จะถูกรับรู้รายได้เป็น Miscellaneous Other Revenue 7. เปลี่ยนการเรียก Cover (No. of Meal served) เป็น Customer (No. of customers served)


16


17


18 Other Operated Department – Schedule 3 เป็นการรวมสรุปรายได้ ค่าใช้จ่ายของแผนกที่หารายได้ ซึ่งรวมทั้ง Other Operated Department และ Minor Operated Department ซึ่ง Property อาจเปิด Sub Schedule ตามที่ เหมาะสม และสรุปรวมใน Summary Operating Statement เช่น Golf Course & Pro Shop Sub Schedule 3-1 Health Club/Spa Sub Schedule 3-2 Parking Sub Schedule 3-3 Other Operated Departments Sub Schedule 3-x (Transportation, Guest Laundry, Swimming Pool/Beach, Tennis & Pro Shop, Other Recreation, Business Center, Marina, Retail Store, Children’s Camp, Barber/Beauty Shop, Mixes Ownership, Gaming) Minor Operated Department Sub Schedule 3-xx (Vending Machines, Retail Kiosks operated by front desk personnel, Video game machines, In-Room Movie Rental, Guest Laundry provided by outside vendor, Guest communication: Telephone/Fax/Internet, Services and CAM sold to 3rd Party, Occasional food & beverage service provided by hotels that do not routinely sell, Occasional Room Rental, Occasional Food/Beverage Cost of sales & other Occasional F&B Expenses) ทั้งรายได้ และ Cost จาก Telecommunication ของแขกจะไม่อยู่ใน Other Operated Department เหมือนแต่ก่อน โดยจะย้ายไป “Guest Communication” ในแผนก Minor Operated Departments Cost of Administrative Phone Calls and Internet connectivity จะย้ายไปแผนกใหม่คือ Information and Telecommunications Systems Department Cost of Complimentary Phone Calls and Internet connectivity จะย้ายไปแผนกใหม่คือ Information and Telecommunications Systems Department เช่นกัน รวมทั้งค่าใช้จ่าอื่นๆที่ เกี่ยวข้องกับ Telecommunications (เช่นค่าแรงงาน ค่า Maintenance ค่า Operating Supplies) จะย้ายไปแผนกใหม่คือ Information and Telecommunications Systems Department เช่นกัน


19


20


21


22


23


24 Miscellaneous Income – Schedule 4 เปลี่ยนชื่อจากแผนก Rental and Other Income เป็น Miscellaneous Income มูลค่า Gift Certificate ที่ไม่มาใช้ และ Prepaid Coupon ที่ไม่มาใช้หรือหมดอายุจะถูกรับรู้รายได้ เป็น Miscellaneous Income รายได้จาก Package ที่ไม่ได้ใช้จะถูกรับรู้รายได้เป็น Miscellaneous Income รายได้ที่รายงานเป็น Net (Net Basis) ยกเว้น Audiovisual ที่ต้องรายงานใน Schedule 2 ได้แก่ 1. Attrition Fees เงิน Guarantee จาก Group Agent กรณีส่งแขกมาไม่ถึงขั้นต่ำ 2. Cancellation Fees 3. Cash Discounts Earned 4. Commissions 5. Guest-Related Foreign Currency Transaction Gains (Losses) 6. Guest Laundry and Dry Cleaning กรณีเป็นการใช้บริการ Third Party-Operated 7. Interest Income 8. Net Revenue from Renting Mixed-Ownership Units 9. Other Breakage 10. Package Breakage รายได้ส่วนเกินที่แขกไม่ใช้ จากการ Break down package. 11. Proceeds from Business Interruption Insurance 12. Resort Fees 13. Space Rental and Concessions 14. Other (ex: in-room safes, safety deposit boxes, and in-room refrigerator rental


25 ส่วนที่ผ่านมาข้างต้นในแต่ละ Schedule จะมี Cost of sales , Labor Cost and Related Expenses และ Other Expenses ด้วยแต่ไม่ได้กล่าวถึงใน Operated Department ดังกล่าว วัตถุประสงค์จะกล่าวถึงเฉพาะ Revenue เพื่อให้กระชับ แต่ในส่วนของ, Labor Cost and Related Expenses และ Other Expenses จะกล่าวถึงใน Schedule ที่เป็น Undistributed Departments ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ตีความได้ใน Operated Departments ข้างต้น Undistributed Departments: แผนกกลางที่ไม่ได้แยก เป็น Cost Center เฉพาะ •ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเทคโนโลยีทั้งหมดของทุกแผนกรวมอยู่ในแผนกระบบข้อมูลและการ สื่อสาร Information and Telecommunications Systems Department System Expenses แยกประเภทตามชนิดของเทคโนโลยีที่ใช้ หรือตามหน่วยงานที่ได้รับ ประโยชน์จากผลการใช้เทคโนโลยีนั้น • กำ ไร (ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ไม่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ แขกบันทึกแยกใน A&G ส่วน Unrealized Foreign Exchange Gain or Losses เป็นกำ ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน กรณีตีราคาเพิ่มเติมในงบดุล จะบันทึกในหมวด NonOperating Income and Expenses • ยกเลิกการแยกค่าใช้จ่ายการขายและการตลาดรายแผนก แต่ให้แสดงรวมในแผนก Sales & Marketing • Revenue management and catering sales functions เป็นค่าใช้จ่ายการขายและการ ตลาด • Utility taxes ภาษีสาธารณูปโภคถูกตัดออกเป็นหมวดหมู่ค่าใช้จ่ายแยกต่างหาก • เพิ่ม Contract Services เป็นหมวดหมู่ค่าใช้จ่ายใน ค่าสาธาณูปโภคเพื่อวัตถุประสงค์ใน การตรวจสอบค่าใช้จ่ายพลังงาน


26 Administration and General – Schedule 5


27 Other Expenses (ไม่ได้กล่าวทุกรายการ มีเฉพาะส่วนที่แตกต่าง) Audit Charges ค่าสอบบัญชี และตรวจสอบอื่นๆของโรงแรม ยกเว้นค่าตรวจสอบที่ ดำ เนินการเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะของ Owner จะอยู่ใน Non-Operating Income and Expenses (Schedule 11) Complimentary Services and Gifts ส่วนที่เป็น Promotions จะบันทึกที่ Sales and Marketing – Schedule 7 Equipment Rental, Legal Services, Non-Guest-Related Foreign Currency Exchange Gains (Losses) ส่วนที่ตีความเกี่ยวข้องกับ Owner หรือส่วนที่เกิดจากการตีราคา เพิ่มในงบดุลจะบันทึกใน Non-Operating Income and Expenses – Schedule 11 Information and Telecommunications Systems-Schedule 6 เป็นแผนกที่รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ Information & Telecommunication System ของทั้งโรงแรมเพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหารต้นทุนให้ดีขึ้นกว่าการแยก Allocate ไป ตามแผนกต่างๆ มีการแยกกลุ่มค่าใช้จ่ายระบบ System Expenses ตามประเภทของเทคโนโลยี หรือตาม ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยี เป็นแต่ละประเภท


28


29


30


31


32 Non-Operating Income and Expenses-Schedule 11 รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการดำ เนินงาน •ก่อนหน้านี้เป็นส่วนที่เรียกว่า Fixed Charge ซึ่งรวมถึง Rent, Property & Other Taxes and Insurance ได้เปลี่ยนชื่อเป็นหมวด Non-Operating Income and Expenses •รายได้สุทธิที่เกิดจากส่วนของเจ้าของที่ไม่ได้บริหารจัดการโดยโรงแรมจะถูกบันทึกเป็น Non-Operating Income • Asset management fees, receiver fees, and owner-directed market studies/audits ที่บันทึกไว้ในหมวดหมู่ใหม่ที่เรียกว่า Owner Expense


33


34


35


36 2. Part II Financial Statements งบดุล มีการเพิ่มหมวดรายได้และค่าใช้จ่ายใน Income Statement (งบกำ ไรขาดทุน) เพื่อสะท้อนถึง การเปลี่ยนแปลงใน Summary Operating Statement เพิ่มงบใหม่ Statement of Comprehensive Income เพิ่มการอ้างอิงถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ International Financial Reporting Standards (IFRS) แล้ว Gift certificates and cards ถูกลบออกจากหนี้สินหมุนเวียนอื่นและแยกเป็นรายการต่างหาก มีคำ แนะนำ เพิ่มเติมเกี่ยวกับ inventories, operating equipment, and pre-opening expenses


37


38


39


40


41


42


43


44


45 Notes to the Financial Statements เพื่อเป็นการแสดงรายงานทางการเงินที่สมบูรณ์ จะมีการรายงานข้อมูลประกอบงบการเงิน ในรูปของหมายเหตุประกอบงบ ที่ขยายความถึง นโยบายบัญชี ผังการจัดอลค์กร และข้อมูล นโยบายที่ต้องเปิดเผยต่างๆดังนี้ • Description of business • Earnings per share • Stock-based compensation • Basis of consolidation • Use of estimates • Cash and temporary cash investments • Inventory methods and valuation • Accounting for investments, including the valuation of marketable securities • Property, plant, and equipment • Depreciation and amortization policies • Intangibles-Goodwill • Accounting for deferred charges • Advertising costs • Accounting for pensions • Revenue recognition • Accounting for income taxes • Fair value of financial instruments • Capitalization • Lease disclosure • Computation of net income (loss) per share (only public companies) • Foreign currency translation • Concentration of credit risk ในการเปิดเผยนโยบายบัญชีในหมายเหตุประกอบงบ เพื่อสะท้อนถึงรายการต่างๆในงบการ เงินที่เป็นการรับรองการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอในการแสดงรายงานทางการเงิน ซึ่งอาจ ต้องเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบด้วยข้อมูลเพิ่มดังต่อไปนี้ · Change in accounting methods · Long-term debt agreements · Pension and/or profit-sharing plans · Other post-retirement and post-employment benefits · Income taxes · Long-term contracts · Extraordinary items of income or expense


46 • Significant long-term commitments, including leases • Foreign operations • Related-party transactions • Contingent liabilities, including pending litigation • Subsequent events • Stockholders’ equity transactions • Financial instruments (including derivatives) • Impairment or disposal of long-live assets • Restructuring costs • Extinguishment of debt • Discontinued operations • Business combinations • Accumulated other comprehensive income (loss) • Business segment information (public companies only) • Quarterly financial information (public companies only) • Organization (geographic and nature of business) • Major customers 3. Part III Financial Ratios and Operating Metrics อัตราส่วนวิเคราะห์ทางการเงิน และวัดผลงาน เปลี่ยนชื่อ“Ratios and Statistics” เป็น “Financial Ratios and Operating Metrics” มีการจัดให้มีการเตรียมอัตราส่วน Ratios สำ หรับทั้งแผนก operating and undistributed departments จัดให้มีอัตราส่วนหลักที่สำ คัญ Key ratios สำ หรับแต่ละแผนก มีการกำ หนดรายงานเพิ่มรายละเอียดค่าใช้จ่ายแรงงานเพื่อให้รายละเอียดข้อมูลค่าแรง สำ หรับแต่ละแผนก labor cost data for each department มีการจัดเตรียม utility and waste consumption ratios อัตราส่วนการใช้สาธารณูปโภคและ ของเสียเพิ่มเติม Ratio Analysis การวิเคราะห์อัตราส่วน: งบการเงินที่โรงแรมจัดทำ จะพบว่ามีข้อมูลจำ นวนมาก การใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์ ข้อมูลดังกล่าว ต้องการมากกว่าการอ่านตัวเลขที่ปรากฏในรายงาน ต้องอาศัยการตีความ อย่างลึกซึ้งในตัวเลขผลของรายงานดังกล่าวเพื่อสะท้อนถึงฐานะทางการเงินและผลประกอบ การ ที่รวมถึงปัญหาของโรงแรมที่อาจถูกมองข้ามไป รูปแบบของการวิเคราะห์ Ratio/Operating Metrics จะปรากฏในงบกำ ไรขาดทุน (Schedule) และมีการเปรียบเทียบกับ ข้อมูลที่สำ คัญเพื่อสะท้อนฐานะทางการเงินและปัญหาของผลการดำ เนินงาน จากรายงาน ทางการเงินและข้อมูลประกอบงบ


47 ในการเปรียบเทียบกับโรงแรมอื่นควรเป็นโรงแรมที่ลักษณะใกล้เคียงกัน ได้แก่ อัตราส่วนที่จัดทำ เป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์ ที่สัมพันธ์กับตัวเลขอื่นผ่านการคำ นวณเพิ่ม เช่นการหารตัวเลขอื่นเกิดเป็นสัดส่วนจำ นวน เท่าของตัวหาร อัตราส่วนนี้จะถูกตีความเป็น ประโยชน์ด้วยการเปรียบเทียบ เกณฑ์ที่นิยมใช้ในการเปรียบเทียบอัตราส่วน เช่น 1. การเปรียบเทียบกับโรงแรมอื่น และ เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยทั้งอุตสาหกรรม (Other properties & industrial average) 2. การเปรียบเทียบกับข้อมูลเดียวกันของงวดบัญชีก่อน (The corresponding ratio calculated for prior period) 3. การเปรียบเทียบกับแผนงานงบประมาณที่วางไว้ (Budgeted) การตีความผลการเปรียบเทียบนี้เป็นประโยชน์ในการชี้ถึงจุด (Indicators) ที่เป็นปัญหา (Effects) แต่วิธีแก้ปัญหาเป็นหน้าที่ของผู้บริหารที่จะตีความและค้นหาสาเหตุ (Causes) และ ดำ เนินการแก้ไขต่อไปซึ่งความแม่นยำ ของรายงานทางการเงินที่มาของการวิเคราะห์ดังกล่าว เป็นปัจจัยความสำ เร็จในการวิเคราะห์ปัญหาได้ตรงจุด และอาจต้องอาศัยการสอบสวน (Investigation) เพิ่มเติมเพื่อพิจารณาประกอบการวางแผนแก้ไขได้อย่างถูกต้องต่อไป การเปรียบเทียบกับโรงแรมอื่น และ เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยทั้งอุตสาหกรรม (Comparison to other properties & industrial average) ข้อควรพิจารณา: 1. 1.1 Size 1.2 Age 1.3 Location 1.4 Revenue Mix 1.5 Chain-segment 1.6 Ownership Structure 1.7 Management 1.8 Facilities & Services 1.9 Amenities Offered 2. ค่าแตกต่างที่ได้จากการเปรียบเทียบ จะใช้เป็นจุดเริ่มในการสอบสวน (Investigation) เพื่อ ค้นหาสาเหตุแห่งปัญหากรณีผลแตกต่างมีลักษณะต่ำ กว่า หรือใช้เป็นจุดสอบสวนหาปัจจัย ความสำ เร็จ กรณีผลแตกต่างมีค่าสูงกว่า 3. ค่าที่แสดงเป็นค่าเฉลี่ย (Averages) ไม่ใช่ค่ามาตรฐาน ซึ่งเราสามารถประมาณการเป็นเป้า ใหม่ให้เพิ่มสูงขึ้นกรณีของรายได้หรือกำ ไร หรือประมาณการเป็นเป้าใหม่ให้ต่ำ ลงสำ หรับรายการ ต้นทุนหรือค่าใช้จ่าย


Click to View FlipBook Version