2
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ปกี ารศกึ ษา 2564
ระดบั ปฐมวัย
โรงเรยี นรุ่งวิทยาประชาอุปถมั ภ์
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรอี ยุธยา เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
3
บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหารระดับปฐมวยั
โรงเรยี นรงุ่ วทิ ยาประชาอุปถัมภ์ ทีต่ ้ัง หมู่ 2 ตำบลพระยาบนั ลอื อำเภอลาดบัวหลวง
จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรอี ยุธยา เขต ๒ เปดิ สอน
ตง้ั แต่ระดับช้นั อนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ระดบั ชนั้ อนบุ าลปีท่ี 3 ผบู้ ริหารโรงเรียน นางสาวฮสุ นา เรอื งปราชญ์
ดำรงตำแหน่งท่โี รงเรียนแหง่ น้ี ตัง้ แต่วนั ท่ี 6 เดอื น มีนาคม พ.ศ. 2563 จนถงึ ปจั จุบนั มีครผู ู้สอนในระดับปฐมวยั
จำนวน 2 คน นักเรียนระดับปฐมวยั จำนวน 25 คน
1. ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2564
จำนวน 3 มาตรฐาน ในภาพรวม และจำแนกตามมาตรฐาน มีดังน้ี
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ 75
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ระดับคุณภาพ 5 (ดีเลศิ )
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คณุ ภาพ 4 (ดเี ลศิ )
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคญั ระดบั คุณภาพ 4 (ดีเลิศ)
2. แผนพฒั นาเพอื่ ให้ไดม้ าตรฐานท่สี ูงขึ้น (โครงการหรือกิจกรรมที่โรงเรยี นจะดำเนินการเพอื่ ใหม้ าตรฐาน
ที่สูงขึน้ ในปีการศกึ ษาต่อไป)
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
โครงการ / กิจกรรม
- กจิ กรรมพัฒนาการเคล่อื นไหว ศลิ ปะและดนตรี
- กิจกรรมสุขภาพดมี สี ุข
- กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมเด็ก
- กิจกรรมพฒั นาการคดิ เป็นตน้
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
โครงการ / กจิ กรรม
- จดั หา วัสดุ สื่อ และอปุ กรณใ์ นการจดั การกระบวนการเรียนรรู้ ะดับปฐมวยั เปน็ ตน้
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเปน็ สำคัญ
โครงการ / กิจกรรม พัฒนาผู้เรยี นระดบั ปฐมวัย
- กิจกรรมทศั นศึกษา
- กจิ กรรมวิชาการ เป็นตน้
4
3. จุดเดน่
เด็กได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเรียนรู้แบบโครงการ
( Project Approach ) กิจกรรมการทดลองและโครงงานตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย “ประเทศไทย”
เด็กสามารถใช้ อุปกรณ์ และสื่อทางวิทยาศาสตร์ได้คล่องแคล่ว กล้าคิด กล้าซักถามสิ่งที่สงสัยและมีทักษะใน
การแสวงหาคำตอบ เด็กมีทักษะ การสื่อสาร การถาม การตอบ การแสดงความคิดเห็นซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการ
เรยี นรตู้ อ่ ไป
4. จุดที่ควรพัฒนา
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และหลากหลาย เพิ่มทักษะกระบวนการคิด ทักษะ
ชีวิต การจัดประสบการณ์แบบโครงงานวิทยาศาสตร์ วัฏจักรสืบเสาะ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษา ฟัง พูด
อ่าน เขียน พื้นฐานทเี่ หมาะสมกับวัย การเรยี นร้จู ากสอ่ื และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ การสร้างวนิ ยั เชงิ บวกในการอยรู่ ่วมกับ
ผู้อืน่
5. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนาคณุ ภาพใหด้ ขี ึน้ ตอ่ ไป
โรงเรียนวางแผนที่จะดำเนินการพัฒนาเด็ก โดยจัดโครงการ และจัดประสบการณ์ ส่งเสริมพัฒนาการด้าน
ร่างกายท่เี ปน็ ระบบ ประสานความร่วมมือระหวา่ งบ้านโรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานอนื่ ครูประจำช้ัน คัดกรองนักเรียน
ท่ีมีปัญหาดา้ นสขุ ภาพทุกวนั เพ่ือดูแลสขุ ภาพของเด็กร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ จัดกิจกรรมส่งเสริมการกลา้ แสดงออกของ
เด็กปฐมวัย และปรับปรุงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ และโครงการต่างๆที่เกีย่ วข้อง ให้มี
ประสทิ ธิภาพยิ่งขึ้น
๖. ความโดดเด่นของสถานศึกษา (ได้รบั รางวลั ระดับนานาชาติ ระดับชาติ ระดบั ท้องถ่ิน/ภูมิภาค หรือ วธิ ีปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ
ของสถานศกึ ษา ยอ้ นหลงั 3 ปีการศกึ ษา)
ปกี ารศกึ ษา 2561
ท่ี ระดับรางวัล/ชื่อรางวลั ท่ไี ด้รบั หนว่ ยงานท่มี อบรางวลั
1 คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละทุกดา้ น ปีการศึกษา 2561 สูงกว่าปีการศึกษา 2560 ของการ สพป. อย. เขต 2
ทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปี
การศกึ ษา 2561
2 คะแนนเฉล่ียรวมทุกรายวิชาทจี่ ัดสอบสงู กว่าระดับประเทศของการทดสอบการศกึ ษา สพป. อย. เขต 2
ระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2561
5
ปกี ารศึกษา 2562
ท่ี ระดบั รางวลั /ชือ่ รางวลั ทไ่ี ด้รบั หน่วยงานทมี่ อบรางวัล
1 โรงเรียนทีม่ ีการดำเนนิ งานการจัดการเรยี นการสอนลกู เสือ สำนกั งานลูกเสอื สพป. อย. เขต 2
เนตรนารใี นสถานศึกษา ปงี บประมาณ2562 ในระดับดเี ดน่
2 โครงการบา้ นวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ปกี ารศกึ ษา 2562 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
(สพฐ.) ร่วมกบั มูลนธิ ิสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี และสถาบัน
สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
3 รางวัล โครงการโรงเรียนดีมีคณุ ภาพ กจิ กรรมหอ้ งเรยี นสวย สพป. อย. เขต 2
สะอาด บรรยากาศวิชาการ
ปีการศึกษา 2563
ท่ี ระดับรางวัล/ชือ่ รางวลั ท่ไี ด้รบั หนว่ ยงานท่มี อบรางวลั
-
ปีการศกึ ษา 2564
ท่ี ระดบั รางวลั /ช่อื รางวลั ทไ่ี ดร้ บั หนว่ ยงานที่มอบรางวลั
-
6
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นรงุ่ วิทยาประชาอปุ ถัมภ์ อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา เขต 2
....................................................................
ข้อมูลทว่ั ไป
โรงเรียนรงุ่ วิทยาประชาอปุ ถมั ภ์ ที่ต้ัง หมู่ 2 ตำบล พระยาบนั ลอื อำเภอลาดบวั หลวง
จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา สงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา เขต 2
เบอร์โทรศพั ท์สถานศกึ ษา 0812995341
Website : http://gg.gg/Runwittayaprachaupprathump
เปดิ สอนตั้งแต่ช้ันอนบุ าลปที ่ี 2 ถึง ระดับชั้นอนบุ าลปีที่ 3 เขตพนื้ ท่ีบรกิ าร มี 2 หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ หมทู่ ่ี 2
ตำบลพระยาบนั ลือ และ ตำบลสิงหนาท
ชอื่ ผู้บรหิ ารโรงเรียน นางสาวฮุสนา เรืองปราชญ์ วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสดุ ปริญญาโท
สาขาวชิ า การบรหิ ารสถานศกึ ษา ดำรงตำแหน่งทโี่ รงเรยี นแหง่ น้ี ตัง้ แต่วันที่ 6 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2563
ถึงปจั จุบนั เบอรโ์ ทรศพั ท์ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 0812995341
ปจั จบุ ันขอ้ มูลครูและบคุ ลากร ระดบั ปฐมวัย จำนวน 2 คน (ปีการศึกษา 2564)
วฒุ ิ/วิชาเอก สอน จำนวน
อายุ ตำแหน่ง/ ป.ตรี ป.โท ป.เอก ระดับช้ัน ครั้ง/
ราชการ วิทยฐานะ ชั่วโมงที่
ท่ี ชื่อ – ชอ่ื สกุล อายุ รบั การ
พัฒนา/ปีที่
รายงาน
1 นางสาวกมลรตั น์ 27 3 ปี 4 ครู คบ / - - อนบุ าล 3 24/174
มาลัย
การศกึ ษา
ปฐมวัย
2 นางสาวพรทิพย์ 33 4 ปี วทิ ยากร ศศ.บ. - - อนบุ าล 2 7/21
เรืองปราชญ์ อิสลาม
หมายเหตุ ตัวอยา่ ง วฒุ กิ ารศกึ ษา ค.บ./การศึกษาปฐมวยั
7
จำนวนนกั เรียน ระดบั ปฐมวยั 25 คน ( ณ สนิ้ ปีการศึกษา 2564)
ระดับช้ัน เพศ รวม เฉล่ียต่อห้อง
จำนวนหอ้ ง ชาย หญิง
-
อนุบาลปีที่ ๑ - -- - 1
อนุบาลปีท่ี ๒ 1
อนุบาลปีท่ี ๓ 1 8 5 13
1 4 8 12
รวม 2 12 13 25
วสิ ัยทศั น์
โรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอุปถัมภ์ เนน้ พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ที ักษะการอา่ น การเขยี น การคดิ รักความสะอาด
มคี ุณธรรม นำทรพั ยากรท้องถิน่ ร่วมจดั การศกึ ษา
พนั ธกจิ
1. ครูบรู ณาการ การอ่าน การเขียน การคิด ในทกุ กลมุ่ สาระ
2. โรงเรียนจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน
3. โรงเรยี นพฒั นาหอ้ งสมุดใหเ้ ปน็ แหลง่ สง่ เสริมการเรยี นรู้
4. โรงเรยี นจัดพฒั นาครใู นการจัดทำแผนการเรียนรู้
5. ครจู ัดอบรมกิริยามารยาทใหน้ ักเรียน
6. ครจู ัดให้นกั เรียนรกั ษาความสะอาดบรเิ วณโรงเรียนและอาคารสถานท่ี
7. ครูจัดให้มกี ารตรวจสขุ ภาพและความสะอาดรา่ งกายของนกั เรยี น
8. พัฒนาแหล่งการเรยี นรูท้ ั้งในและนอกสถานศกึ ษา ทเ่ี อื้อตอ่ การเรยี นรู้โดยให้ชุมชน ผู้ปกครองเขา้ มามสี ่วนร่วม
9. โรงเรยี นส่งเสริมให้นักเรียนอยู่รว่ มกนั ทำงานรว่ มกนั อย่างมีความสขุ ในขณะที่ ประเพณีวัฒนธรรมและการ
นับถือศาสนาทีต่ า่ งกนั
10. โรงเรยี นจัดกจิ กรรมให้นักเรียนรู้จักออมทรพั ย์ อยอู่ ย่างพอเพยี ง
8
เอกลกั ษณ์
รู้เขารู้เรา อยู่เย็นเปน็ สุข
โรงเรียนร่งุ วิทยาประชาอุปถัมภ์ อยใู่ นชุมชนที่นับถอื ศาสนาอิสลามนกั เรยี นส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาอิสลามอีกส่วนหน่ึง
นับถือพระพุทธศาสนา มีทั้งครูที่เป็นศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม แต่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความ
แตกต่างของวัฒนธรรม สิ่งดังกล่าวจากความเข้าใจซึ่งกัน และกันนั่นเอง มีการเรียนรู้วัฒนธรรมของกัน และ
กันทกุ คนมอี ิสระในการปฏิบตั ศิ าสนกิจ ไมก่ า้ วก่ายหรือขดั ขวางกนั จึงทำใหส้ ังคมแห่งน้ีอยู่เย็นเปน็ สขุ
อตั ลักษณ์
ออมเพือ่ ชีวติ ตามแนวคิดพ่อหลวง
โรงเรียนรุ่งวิทยาประชาอุปถัมภ์ ได้ส่งเสริมให้นักเรียนออมทรัพย์มาเป็นระยะเวลานานกว่าสิบปี นั กเรียนทุกคน
ออมทรพั ยท์ กุ วันตลอดระยะเวลาของการเปน็ นกั เรียนท่นี ี่ การออมทรัพยจ์ ึงเปน็ สว่ นหนง่ึ ของชีวติ นักเรียนที่ปฏิบัติกัน
จนกลายเป็นความเคยชินและขาดไม่ได้ และท้ายท่ีสดุ นกั เรียนกไ็ ดร้ บั เงินกอ้ นหน่ึงเมือ่ สำเร็จการศกึ ษาจากโรงเรยี นน้ไี ป
ด้วยความภาคภูมใิ จ
ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ บ้านเรือนอยู่สองฝั่งคลองพระยาบันลือ มีประชากร
ประมาณ 1,874 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ มัสยิดคอยรียะห์ และมัสยิดดารุ้ลคอยร๊อต อาชีพหลัก
ของชุมชน คือ ทำนา ส่วนใหญ่นับถือศาสนา อิสลาม ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ
วนั สำคญั ของศาสนาอสิ ลาม (วันตรุษอดี ้ลิ ฟติ ร่ี วนั ตรษุ อดี ลิ้ อฎั ฮา)
2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา อาชีพหลัก คือ ทำนาส่วนใหญน่ บั ถือศาสนา
อสิ ลาม ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉล่ียต่อครอบครัว ตอ่ ปี 60,000 บาทจำนวนคนเฉลย่ี ต่อครอบครวั 4 คน
3) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน (บรรยายโดยย่อ เช่น อยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ อยู่ในบริเวณมัสยิด
ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากชุมชน โรงเรียนตั้งอยู่ใกล้มัสยดิ คอยรียะฮ์ และมัสยิดดารุล้ คอยร๊อต นักเรียนท่ีเปน็ มุสลิมไป
ละหมาดทุกวัน สว่ นนกั เรยี นท่ีนับถอื ศาสนาพทุ ธสวดมนตท์ ีโ่ รงเรยี นทุกวนั โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลพระยาบันลอื หมู่ 2
ได้ให้การดูแล ตรวจสุขภาพ และให้ความรู้อย่างสม่ำเสมอ ได้รับการสนับสนุนจาก อบต. พระยาบันลือจัดสรรงบประมาณ
สนับสนนุ ในการจดั งานทางวิชาการงานวนั เดก็ ทกุ ปี หาทุนการศกึ ษาจากหน่วยงานอืน่ ใหก้ ับนกั เรียนไดร้ ับการส่งเสริมสนับสนุน
และช่วยเหลือจากชุมชนผูน้ ำชุมชน อย่างสม่ำเสมอ ได้รับงบประมาณจากทางราชการในการเปลีย่ นเสาอาคารเรียน และได้รบั
การช่วยเหลือจากผู้ปกครองชุมชนในการจดั งาน “รวมน้ำใจสู่รุ่งวทิ ยา” โดยนำเงินมาปรับปรุงอาคารอเนกประสงค์ โดยทำเป็น
ห้องพักครู ห้องผู้บริหาร และห้องคอมพิวเตอร์ได้รับงบอนุมัติงบจากโครงการโรงเรียนประชารัฐ จำนวน 500,000 บาท
เพือ่ นำมาตอ่ เติมอาคารเรยี น สปช. 105 เปน็ ห้องประชมุ และอาคารเรยี นเพ่มิ เตมิ
ผลงาน / รางวัลทไี่ ดร้ บั 9
ผลงานสถานศึกษาปกี ารศึกษา 2564 หนว่ ยงานที่มอบรางวลั
ลำดบั ที่ ระดบั รางวลั /ช่อื รางวัลทีไ่ ด้รบั
-- -
ดา้ นผู้บริหาร ปีการศึกษา 2564
ลำดบั ท่ี ระดับรางวลั /ชื่อรางวัลท่ีได้รับ หนว่ ยงานทมี่ อบรางวัล
1. นางสาวฮุสนา เรอื งปราชญ์ ไดร้ ับรางวัลผบู้ รหิ ารดขี องแผน่ ดนิ มลู นิธิครูดขี องแผน่ ดนิ
ข้นั พืน้ ฐาน โครงการเครอื ขา่ ยครูดขี องแผ่นดิน เจรญิ รอยตาม
เบื้องพระยุคลบาท
ดา้ นครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 2564
ลำดับที่ ระดบั รางวลั /ชอื่ รางวลั ทีไ่ ดร้ ับ หนว่ ยงานท่ีมอบรางวัล
1. นางสาวกมลรัตน์ มาลยั สำนกั งานเขตพ้ืนที่
ได้รบั รางวัลครูดมี ีคุณภาพ ระดบั ดีมาก การศกึ ษาประถมศกึ ษา
กิจกรรมการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ปฐมวยั พระนครศรอี ยุธยา เขต ๒
โครงการยกระดบั คุณภาพการศึกษา ดว้ ย 6 มิติคุณภาพ ประจำปี พ.ศ. 2563
2. ผา่ นการอบรมหลักสูตร “การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งในการจดั เก็บขอ้ มลู สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สารสนเทศด้านการจบการศกึ ษาและการใหบ้ ริการขอ้ มูลทางการศึกษาสำหรบั สำนกั งานคณะกรรมการ
เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาและสถานศกึ ษา” การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
3. นางสาวกมลรตั น์ มาลยั มลู นธิ ิครูดีของแผ่นดนิ
ไดร้ บั รางวลั ครดู ีของแผน่ ดนิ ขนั้ พ้ืนฐาน โครงการเครือขา่ ยครูดีของแผน่ ดี
เจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท
4. นางสาวพรทพิ ย์ เรืองปราชญ์ ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกยี รติให้เป็น บุคลากร สำนกั งานเขตพื้นที่
ดีเด่น เน่ืองในวนั ครู ครั้งที่ 66 ประจำปพี ุทธศกั ราช 2564 การศึกษาประถมศึกษา
พระนครศรีอยุธยา เขต 2
ดา้ นนกั เรียน 10
ลำดบั ท่ี ระดับรางวลั /ชอ่ื รางวัลทไี่ ด้รบั หน่วยงานทีม่ อบรางวัล
โรงเรยี นรงุ่ วิทยาประชาอุปถัมภ์
1. ด.ช.อัฟฟาน ใบดกี าดี โรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอปุ ถมั ภ์
ด.ญ.พณั ณติ า อานนท์ โรงเรยี นรงุ่ วทิ ยาประชาอปุ ถัมภ์
นักเรียนเรียนดี โรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอปุ ถัมภ์
โรงเรยี นรงุ่ วิทยาประชาอปุ ถมั ภ์
2. ด.ญ. กนกกาญจน์ เอี่ยมลออ
ด.ญ.ชาลสิ า เรืองปราชญ์
นกั เรียนพฤตกิ รรมดี
3. ด.ญ.กฤตยา เรืองปราชญ์
ด.ช.ชนิ กฤต สุวภิญโญภาส
นกั เรียนมจี ติ อาสา
4. ด.ญ. อญั รินทร์ สมพนั ธ์
ด.ช.รสุ ลัน งามสง่า
นักเรยี นยอดนกั ออม
5. ด.ช.ธนพล เรืองปราชญ์
ด.ญ.จัซมนิ เจริญสุข
นกั เรยี นที่ออมสมำ่ เสมอ
11
ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั
ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ภาพรวม ระดับคณุ ภาพ 4 (ดเี ลิศ)
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ระดับคณุ ภาพ 4 (ดเี ลิศ)
ผลท่ีเกดิ จากการดำเนนิ การ/ วิธกี ารพัฒนาท่สี นับสนุนผลการประเมินตนเอง
1.1 เด็กมีพฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ยั ทด่ี ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษารอบ 3 ปีการศกึ ษาทผ่ี ่านมา
ประเดน็ การพจิ ารณา ปี ปี ปี คา่ ปี สงู กว่าหรือ
การศึกษา การศกึ ษา การศกึ ษา เปา้ หมาย การศกึ ษา ตำ่ กวา่
เด็กมพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย ปีการศกึ ษา
แข็งแรง มสี ขุ นสิ ยั ท่ดี ี และ 2561 25๖2 2563 2564 คา่ เป้าหมาย
ดแู ลความปลอดภยั (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) 2564 (ร้อยละ) (+, -)
ของตนเองได้ (รอ้ ยละ)
95 100 100 75 100 +25
ผลการประเมนิ ตนเองในปีการศกึ ษา 2564 พบว่าเด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มสี ขุ นิสยั ทีด่ ี และดูแล
ความปลอดภัยของตนเองได้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ซ่งึ สูงกวา่ เปา้ หมาย ทีส่ ถานศกึ ษากำหนด
โรงเรียนได้ดำเนินการในประเด็นการพิจารณา เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล
ความปลอดภัยของตนเองได้ ดังนี้
1. การวางแผน (Plan)
คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครูได้ประชุมปรึกษาหารือ วางแผนและแต่งตั้งคณะกรรมการ
กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวัย เพื่อรองรับการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษาจดั ทำแผนการจัดประสบการณ์โดยมีการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนิสัยท่ีดีและ
ดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ โดยสถานศึกษาได้ร่วมกันวางแผนจดั กิจกรรมส่งเสรมิ และพัฒนาความสามารถของ
ผเู้ รียน จากสถานการณโ์ รคระบาด ไวรสั โคโรนา COVID 19 ทำให้เกดิ อุปสรรคในการเรยี นรู้ ผูบ้ รหิ าร คณะครูผู้เรียน
และผปู้ กครองจึงมีความตระหนักถงึ ผลท่ีจะเกิดขน้ึ ตอ่ การเรียนรู้ จงึ ไดค้ ิดแก้ปัญหาโดยการออกแบบ จัดกิจกรรมการ
เรยี นรแู้ บบ ออนไลน์ และ on hand เพอื่ ให้การเรยี นมีความต่อเนือ่ ง และตรงตามหลกั สูตรและมาตรฐานคุณลักษณะ
ท่ีพึงประสงค์ เปน็ ต้น
12
2. การปฏบิ ตั ิตามแผน (Do)
วิธีการพัฒนาที่สนับสนุนเด็กให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของ
ตนเองได้ คอื โรงเรยี นมีโครงการโรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพ ผเู้ รียนมีอาหารกลางวนั รับประทานฟรที ุกคน ทุกวัน ได้รับ
อาหารท่ีสะอาด ถูกหลกั โภชนาการ ฝึกการสรา้ งสุขนิสัยการล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลงั ออกจากห้องน้ำ
บันทึกน้ำหนักส่วนสูงและได้รับการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย เป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ
หลักสูตร มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน นอกจากนี้คุณครูยังได้นำเทคนิควิธีการจัด
กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ส่อื ตา่ งๆ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชั้นเรียน
3. การตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามแผน (Check)
คณะครรู ว่ มกนั กำหนดระยะเวลาและแนวทางการตรวจสอบการปฏิบัตงิ าน จากน้ันตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ใหเ้ ป็นไปตามแผนและเป้าหมายทวี่ างไว้ โดยใช้เครอ่ื งมือและวธิ ีการประเมินท่ีเหมาะสม
4. การปรับปรุง แก้ไข (Act)
มกี ารปรับปรุง แกไ้ ขการปฏบิ ัติงานท่ีพบวา่ ไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐาน เปา้ หมาย และระดบั คุณภาพ การศกึ ษา
ของสถานศึกษา เช่น การจัดกิจกรรม โดยมีกิจกรรมที่เชื่อมโยงความสามารถทั้ง 4 ด้านเข้าด้วยกัน ภายใต้
ความสามารถและความแตกต่างของนักเรียนแต่ละบุคคล ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย มีการใช้สื่อและ
เคร่ืองมือทีม่ ีความทนั สมัยมาใชใ้ นการดำเนนิ การ เพอ่ื กระตุ้นความสนใจใฝ่รู้ อันจะเปน็ แนวทางในการพัฒนาผู้เรียน
ให้มีศักยภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของหลักสูตร
สรปุ ผลการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยการ
จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
5. การนำผลการปรบั ปรุง แกไ้ ขแจ้งผู้เกีย่ วขอ้ ง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความ
ปลอดภัยของตนเองได้ ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ เช่น ผู้อำนวยการ ผู้ปกครอง และนักเรียน โดยการประชุมครู
ประชมุ ผู้ปกครอง แจ้งผลการประเมินพฒั นาการให้ผู้ปกครองทราบ เพ่อื ร่วมกนั ปรบั ปรงุ พฒั นามาตรฐานด้านดังกล่าว
ให้ดยี ่ิงข้นึ
13
1.2 เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษารอบ 3 ปีการศกึ ษาทีผ่ ่านมา
ประเด็นการพจิ ารณา ปี ปี ปี ค่า ปี สงู กวา่ หรือ
การศึกษา การศกึ ษา การศกึ ษา เปา้ หมาย การศกึ ษา ตำ่ กว่า
เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณ์ ปกี ารศกึ ษา
จิตใจ ควบคุม และแสดงออก 2561 2562 2563 2564 คา่ เปา้ หมาย
ทางอารมณไ์ ด้ (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) 2564 (ร้อยละ) (+, -)
(รอ้ ยละ)
97.45 100
100 75 100 +25
ผลการประเมินตนเองในปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ เด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออก
ทางอารมณ์ได้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ซ่งึ สูงกวา่ เป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
โรงเรยี นไดด้ ำเนินการในประเดน็ การพิจารณา เด็กมพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทาง
อารมณไ์ ด้ ดังน้ี
1. การวางแผน (Plan)
คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครูได้ประชุมปรึกษาหารือ วางแผนและแต่งตั้งคณะกรรมการ
กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวัย เพื่อรองรับการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาจัดทำแผนการจัดประสบการณ์โดยมีการประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ
แสดงออกทางอารมณ์ได้ โดยสถานศึกษาได้ร่วมกันวางแผนจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียน
จากสถานการณ์โรคระบาด ไวรัสโคโรนา COVID 19 ทำให้เกิดอุปสรรคในการเรียนรู้ ผู้บริหาร คณะครูผู้เรียน และ
ผู้ปกครองจงึ มคี วามตระหนกั ถึงผลทจี่ ะเกดิ ขึน้ ต่อการเรยี นรู้ จึงไดค้ ิดแก้ปญั หาโดยการออกแบบ จัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบ ออนไลน์ และ on hand เพื่อให้การเรยี นมีความต่อเนื่อง และตรงตามหลักสูตรและมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึง
ประสงค์ เป็นต้น
2. การปฏิบัติตามแผน (Do)
วิธีการพัฒนาที่สนับสนุนเด็กให้มีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ คือ
โรงเรียนมีการสนับสนุน ส่งเสริม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เด็กนักเรียนได้เคลื่อนไหวร่างกายผ่าน กิจกรรมเคล่อื นไหว
และจังหวะกิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรีให้ผู้เรียนอารมณ์ดี ร่าเริงแจ่มใส สนุกสนานเพื่อให้เด็กมั่นใจกล้า
แสดงออก นอกจากนี้คุณครยู ังได้นำเทคนิควิธีการจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในชั้น
เรียน
14
3. การตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามแผน (Check)
คณะครรู ว่ มกนั กำหนดระยะเวลาและแนวทางการตรวจสอบการปฏิบัติงาน จากนน้ั ตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ใหเ้ ป็นไปตามแผนและเปา้ หมายทวี่ างไว้ โดยใชเ้ ครอื่ งมอื และวธิ กี ารประเมนิ ทเ่ี หมาะสม
4. การปรบั ปรุง แกไ้ ข (Act)
มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขการปฏิบัติงานที่พบว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐาน เปา้ หมาย และระดบั คุณภาพ การศึกษา
ของสถานศึกษา เช่น การจัดกิจกรรม โดยมีกิจกรรมที่เชื่อมโยงความสามารถทั้ง 4 ด้านเข้าด้วยกัน ภายใต้
ความสามารถและความแตกต่างของนักเรียนแต่ละบุคคล ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย มีการใช้สื่อและ
เคร่ืองมือทีม่ คี วามทนั สมัยมาใช้ในการดำเนนิ การ เพือ่ กระตนุ้ ความสนใจใฝร่ ู้ อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียน
ให้มีศักยภาพตามมาตรฐานคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ของหลักสตู ร
สรปุ ผลการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยการ
จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
5. การนำผลการปรับปรงุ แก้ไขแจ้งผูเ้ กี่ยวข้อง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทาง
อารมณ์ได้ ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ เช่น ผู้อำนวยการ ผู้ปกครอง และนักเรียน โดยการประชุมครู ประชุม
ผู้ปกครอง แจ้งผลการประเมินพัฒนาการให้ผู้ปกครองทราบ เพื่อร่วมกันปรับปรุงพัฒนามาตรฐานด้านดังกล่าวให้ดี
ยิง่ ข้ึน
1.3 เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสงั คม
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษารอบ 3 ปกี ารศกึ ษาท่ีผา่ นมา
ประเด็นการพิจารณา ปี ปี ปี คา่ ปี สงู กว่าหรือ
การศกึ ษา การศึกษา การศึกษา เปา้ หมาย การศกึ ษา ตำ่ กวา่
เด็กมีพฒั นาการด้านสงั คม ปกี ารศกึ ษา
ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ 2561 2562 2563 2564 ค่าเปา้ หมาย
สมาชกิ ที่ดขี องสังคม (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 2564 (รอ้ ยละ) (+, -)
(ร้อยละ)
97.46 100 100 75 100 +25
15
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าเด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และ
เปน็ สมาชิกทีด่ ขี องสงั คม คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่งึ สูงกว่า เป้าหมายทส่ี ถานศึกษากำหนด
โรงเรยี นได้ดำเนินการในประเดน็ การพิจารณา เด็กมพี ัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิก
ทดี่ ขี องสังคม ดงั น้ี
1. การวางแผน (Plan)
คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครูได้ประชุมปรึกษาหารือ วางแผนและแต่งตั้งคณะกรรมการ
กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย เพื่อรองรับการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาจัดทำแผนการจัดประสบการณ์โดยมีการประเมินพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็น
สมาชิกที่ดีของสังคม โดยสถานศึกษาได้ร่วมกันวางแผนจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียน
จากสถานการณ์โรคระบาด ไวรัสโคโรนา COVID 19 ทำให้เกิดอุปสรรคในการเรียนรู้ ผู้บริหาร คณะครูผู้เรียนและ
ผู้ปกครองจงึ มคี วามตระหนักถึงผลที่จะเกดิ ขนึ้ ตอ่ การเรยี นรู้ จงึ ไดค้ ิดแกป้ ัญหาโดยการออกแบบ จดั กิจกรรมการเรียนรู้
แบบ ออนไลน์ และ on hand เพื่อให้การเรียนมีความต่อเนื่อง และตรงตามหลักสูตรและมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึง
ประสงค์ เป็นตน้
2. การปฏิบตั ิตามแผน (Do)
วิธีการพฒั นาท่ีสนับสนุนเด็กใหม้ ีพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ีดขี องสังคม
คือ โรงเรียนมีการสนับสนุน โครงการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม การเข้าร่วมกิจกรรมในวันสำคัญต่าง ๆ
ทางศาสนา การสวดมนต์ตอนเช้า การขอพร พร้อมการเล่านิทานคุณธรรม เพื่อปลูกฝังความความซื่อสัตย์สุจริต
ช่วยเหลือแบ่งปัน การละหมาด การไหวพ้ ระ ทุกเชา้ และตอนเย็นกอ่ นกลับบา้ น
โครงการวนั สำคัญ กิจกรรมไหวค้ รู วนั แม่และวันพ่อ เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นได้แสดงออกถงึ ความรัก ความเคารพและ
รจู้ กั ความกตัญญูกตเวที
กิจกรรมการเดนิ แถว การปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง เปน็ กจิ กรรมการสร้างวินัยให้เกิดกบั ผ้เู รียน โดยฝึกการเข้าแถว
การแตง่ กาย การไหว้ และการทำงานเป็นกลุ่ม นอกจากนคี้ ุณครูยงั ได้นำเทคนิควิธีการจัดกระบวนการเรียนการสอน
โดยใชส้ ่อื ตา่ งๆ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชั้นเรียน
3. การตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามแผน (Check)
คณะครูร่วมกันกำหนดระยะเวลาและแนวทางการตรวจสอบการปฏิบัตงิ าน จากนัน้ ตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ให้เป็นไปตามแผนและเป้าหมายทว่ี างไว้ โดยใช้เคร่อื งมือและวธิ กี ารประเมนิ ท่ีเหมาะสม
4. การปรบั ปรุง แกไ้ ข (Act)
มีการปรบั ปรุง แกไ้ ขการปฏบิ ัติงานท่ีพบวา่ ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน เป้าหมาย และระดบั คุณภาพ การศกึ ษา
ของสถานศึกษา เช่น การจัดกิจกรรม โดยมีกิจกรรมที่เชื่อมโยงความสามารถทั้ง 4 ด้านเข้าด้วยกัน ภายใต้
ความสามารถและความแตกต่างของนักเรียนแต่ละบุคคล ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย มีการใช้สื่อและ
16
เคร่ืองมอื ทีม่ คี วามทันสมัยมาใชใ้ นการดำเนินการ เพ่อื กระตุ้นความสนใจใฝ่รู้ อนั จะเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียน
ใหม้ ศี กั ยภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของหลักสตู ร
สรปุ ผลการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยการ
จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
5. การนำผลการปรบั ปรุง แกไ้ ขแจ้งผเู้ กีย่ วข้อง
มีการแจ้งผลการปฏบิ ตั ิงานและผลการประเมนิ พัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของ
สังคม ให้กับผู้เกีย่ วข้องไดร้ บั ทราบ เช่น ผู้อำนวยการ ผู้ปกครอง และนักเรียน โดยการประชุมครู ประชุมผู้ปกครอง
แจ้งผลการประเมินพฒั นาการให้ผูป้ กครองทราบ เพ่ือร่วมกันปรับปรงุ พัฒนามาตรฐานด้านดังกลา่ วใหด้ ียิ่งขึน้
1.4 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสติปญั ญา สื่อสารได้ มีทักษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษารอบปี 3 ท่ผี า่ นมา
ประเด็นพิจารณา ปี ปี ปี คา่ สูงกว่าหรือ
การศึกษา การศกึ ษา การศึกษา เปา้ หมาย ปกี ารศกึ ษา ตำ่ กวา่
เดก็ มีพัฒนาการด้าน ปกี ารศึกษา
สตปิ ญั ญา สื่อสารได้ มที กั ษะ 2561 2562 2563 2564 ค่า
การคดิ พื้นฐาน และแสวงหา (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 2564 (รอ้ ยละ) เป้าหมาย
ความรไู้ ด้ (รอ้ ยละ)
92.68 (+, -)
100 100 75 100 +25
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าเด็กมพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิด
พ้นื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ คิดเป็นร้อยละ 100 ซง่ึ สงู กว่า เปา้ หมายท่ีสถานศึกษากำหนด
โรงเรียนได้ดำเนินการในประเด็นการพิจารณา เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิด
พน้ื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ ดงั น้ี
1. การวางแผน (Plan)
คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครูได้ประชุมปรึกษาหารือ วางแผนและแต่งตั้งคณะกรรมการ
กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย เพื่อรองรับการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาจัดทำแผนการจัดประสบการณ์โดยมีการประเมินพฒั นาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการ
17
คิดพ้นื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยสถานศกึ ษาได้รว่ มกนั วางแผนจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ และพัฒนาความสามารถของ
ผเู้ รียน จากสถานการณโ์ รคระบาด ไวรสั โคโรนา COVID 19 ทำใหเ้ กดิ อุปสรรคในการเรียนรู้ ผู้บรหิ าร คณะครูผู้เรียน
และผู้ปกครองจึงมีความตระหนกั ถึงผลที่จะเกิดขึ้นต่อการเรียนรู้ จงึ ไดค้ ดิ แก้ปญั หาโดยการออกแบบ จัดกิจกรรมการ
เรยี นร้แู บบ ออนไลน์ และ on hand เพอ่ื ใหก้ ารเรียนมีความต่อเนือ่ ง และตรงตามหลักสตู รและมาตรฐานคุณลักษณะ
ทพ่ี งึ ประสงค์ เป็นตน้
2. การปฏิบตั ิตามแผน (Do)
วิธกี ารพฒั นาที่สนับสนนุ เด็กให้มีพัฒนาการสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทกั ษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหาความรู้
ได้ คือ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสนใจสิ่งต่างๆรอบตัว
การปั้นดินน้ำมัน วาดภาพตามจินตนาการของตน การทำภาพตัดปะฉีก เกมการศึกษาเกี่ยวกับความเหมือนและ
ความแตกต่างจากภาพ ให้ผู้เรียนจับคู่ จัดหมวดหมู่สิ่งของในห้อง ตามมุมต่างๆ บอกความสัมพันธ์ที่เกิดจากการ
เรียนรูไ้ ด้
3. การตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามแผน (Check)
คณะครรู ่วมกันกำหนดระยะเวลาและแนวทางการตรวจสอบการปฏิบัตงิ าน จากนนั้ ตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ใหเ้ ป็นไปตามแผนและเป้าหมายท่ีวางไว้ โดยใช้เครื่องมอื และวิธกี ารประเมินที่เหมาะสม
4. การปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Act)
มีการปรับปรงุ แกไ้ ขการปฏิบัติงานท่ีพบวา่ ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน เป้าหมาย และระดบั คุณภาพ การศึกษา
ของสถานศึกษา เช่น การจัดกิจกรรม โดยมีกิจกรรมที่เชื่อมโยงความสามารถทั้ง 4 ด้านเข้าด้วยกัน ภายใต้
ความสามารถและความแตกต่างของนักเรียนแต่ละบุคคล ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย มีการใช้สื่อและ
เครือ่ งมอื ท่ีมีความทันสมัยมาใช้ในการดำเนนิ การ เพ่ือกระตุ้นความสนใจใฝร่ ู้ อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียน
ให้มศี ักยภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ของหลกั สตู ร
สรุปผลการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยการ
จดั ทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
5. การนำผลการปรับปรุง แก้ไขแจง้ ผเู้ กีย่ วข้อง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน
และแสวงหาความรู้ได้ ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ เช่น ผู้อำนวยการ ผู้ปกครอง และนักเรียน โดยการประชุมครู
ประชมุ ผปู้ กครอง แจง้ ผลการเรียนให้นักเรียนทราบ เพือ่ ร่วมกนั ปรบั ปรุงพฒั นามาตรฐานด้านดังกล่าวให้ดีย่งิ ขึ้น
18
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ
ผลท่ีเกิดจากการดำเนินการ/ วธิ ีการพฒั นาท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
2.1 โรงเรยี นมหี ลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถน่ิ
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนมีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถนิ่ ซึ่ง สงู กวา่ เปา้ หมายทีส่ ถานศึกษากำหนด
โรงเรยี นไดด้ ำเนินการในประเด็นการพจิ ารณา โรงเรยี นมีหลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการทัง้ 4 ดา้ น
สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถ่นิ ดงั น้ี
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษาร่วมกันประชุม กำหนดเป้าหมายการพัฒนา ที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศึกษา สถานศึกษาได้ดำเนินการออกคำสั่งให้คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาดำเนินการสร้างและพัฒนา
หลกั สูตร ประเมินหลักสูตร ประเมินพฒั นาการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. การปฏิบตั ิตามแผน (Do)
สถานศกึ ษาจดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษาที่สอดคล้องกบั หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560
ครูจัดทำหน่วยการเรียนรู้ ออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ครสู อนด้วยเทคนิควิธกี ารทห่ี ลากหลาย โดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั และเนน้ กระบวนการเรียนร้แู บบ Active Learning
ครสู ร้างและใช้สอ่ื ทีห่ ลากหลายในการจัดการเรียนการสอน
3. การตรวจสอบการปฏิบัตติ ามแผน (Check)
มกี ารตรวจแผนการจัดการเรียนรขู้ องครผู ู้สอน สถานศกึ ษาจัดการวัดและประเมินผลพฒั นาการด้วยวิธีการท่ี
หลากหลาย และสำรวจตรวจสอบนักเรียนที่มีพัฒนาการตรงตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์และไมต่ รงตาม
มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ โดยการปรกึ ษาหารอื กนั เพอ่ื หาแนวทางในการปรบั ปรุงพฒั นาตอ่ ไป
4. การปรับปรงุ แกไ้ ข (Act)
สถานศกึ ษาจดั ทำ PLC และการวิจัยในชน้ั เรียนมาใชเ้ พือ่ พฒั นาคุณภาพของผเู้ รยี น
5. การนำผลการปรับปรงุ แกไ้ ขแจง้ ผู้เกย่ี วข้อง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยการจัดประชุมในวาระต่างๆ เพื่อที่จะร่วมกนั
ปรับปรุงพัฒนามาตรฐานด้านดงั กล่าวใหด้ ยี งิ่ ข้นึ
2.2 โรงเรียนจัดครใู หเ้ พียงพอกับชน้ั เรียน
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ซึ่ง สูงกว่า
เปา้ หมายท่ีสถานศึกษากำหนด
โรงเรยี นได้ดำเนนิ การในประเดน็ การพจิ ารณา โรงเรียนจดั ครูใหเ้ พียงพอกบั ชั้นเรยี น ดังน้ี
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษาประชุมวางแผน จัดครูให้เพียงพอและเหมาะสมกับชั้นเรียนและมีการจัดสภาพแวดล้อม
19
อย่างปลอดภยั และมสี อื่ เพอื่ การเรยี นรู้อย่างเพยี งพอและหลากหลาย กำหนดใหค้ รจู ดั ทำแผนการจัดประสบการณ์
ทม่ี งุ่ เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั จัดกจิ กรรมใหห้ ลากหลาย เลือกใชเ้ ทคนคิ การสอน การวัดและประเมนิ ผล ให้เหมาะสม
กับผู้เรียน มีการสร้างบรรยากาศในห้องเรยี น สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนการเสริมแรงบวกให้กับผู้เรียน ตลอดจน
เอือ้ อำนวยความสะดวกให้กบั ผเู้ รยี น เพ่อื ใหผ้ ู้ เรยี นเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมีความสุข กล้าคดิ กล้าทำ
2. การปฏบิ ตั ติ ามแผน (Do)
ครจู ัดกระบวนการเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์ท่ีกำหนดขน้ึ โดยมุ่งเน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ
จัดกิจกรรมให้หลากหลาย เลือกใช้เทคนิคการสอน การวัดและประเมินผล ให้เหมาะสมกับผู้เรียน มีการสร้าง
บรรยากาศในห้องเรยี น สภาพแวดล้อม สื่อการเรยี นการเสริมแรงบวกให้กับผู้เรียน ตลอดจนเอื้ออำนวยความสะดวก
ใหก้ ับผูเ้ รียน เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมีความสุข กล้าคดิ กลา้ ทำ ตอบสนองมาตรฐานคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
และสอดคลอ้ งกับพฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น รว่ มกนั สร้างขอ้ ตกลงกบั ครูและเพื่อนรว่ มชนั้ เรยี น และใหน้ ักเรียนมีส่วนร่วมใน
การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการทง้ั 4 ด้าน เพอ่ื ปลกู ฝังทักษะการอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ
3. การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check)
สถานศึกษามีการนิเทศภายในโดยผู้อำนวยการสถานศึกษา ครูมีการจัดทำบันทึกหลังสอนเพื่อ
ประเมินผลการจัดประสบการณ์ ศึกษาปญั หาอปุ สรรคในการจัดการเรยี นรู้ตามแผน
4. การปรบั ปรุง แก้ไข (Act)
ครูปรับปรุงแผนการจัดประสบการณ์ให้สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยนำ
คำแนะนำทีเ่ กิดจากการนิเทศมาเป็นแนวทางในการปรับปรุง รวมถึงปรับปรุงตามปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่าง
การจัดการเรียนรู้
5. การนำผลการปรบั ปรุง แก้ไขแจง้ ผู้เก่ียวข้อง
มกี ารแจ้งผลการปฏิบตั ิงาน ให้กับผู้เกี่ยวขอ้ งได้รบั ทราบ โดยการจดั ประชมุ ในวาระตา่ งๆ เพ่ือทีจ่ ะรว่ มกัน
ปรบั ปรุงพฒั นามาตรฐานด้านดงั กล่าวใหด้ ีย่งิ ข้นึ
2.3 โรงเรยี นส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามเชีย่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัด
ประสบการณ์ ซึง่ สงู กวา่ เป้าหมายทีส่ ถานศึกษากำหนด
โรงเรียนได้ดำเนินการในประเด็นการพิจารณา โรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัด
ประสบการณ์ ดงั น้ี
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษาวางแผน กำหนดเป้าหมาย การพฒั นาทสี่ นบั สนนุ ใหค้ รูมีการแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละให้ข้อมูล
สะทอ้ นกลับเพ่อื พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ โดยกำหนดโครงการไวใ้ นแผนปฏบิ ตั กิ ารของสถานศกึ ษา
20
2. การปฏบิ ัติตามแผน (Do)
วิธีการพัฒนาทีส่ นับสนุนให้ครูมีการแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพือ่ พัฒนาและปรับปรุง
การจัดการเรียนรู้ คือ โรงเรียนส่งเสริมให้ครูจดั กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเปน็ สำคัญ และจัดการเรียน
การสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning) จัดกิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรม รวมทั้งกิจกรรมสร้างนิสัยกิจวัตรประจำวัน
เพื่อพัฒนาการทั้ง 4 ด้านคือ ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ครูสามารถผลิตและใช้สื่อ นวัตกรรม
แหล่งเรยี นรรู้ ว่ มกบั การใชเ้ ทคโนโลยีเขา้ มามีส่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมใหก้ ับนกั เรียน ครูร่วมแลกเปลยี่ นเรียนรู้และนำ
ขอ้ มูลมารว่ มพฒั นาปรับปรงุ การจดั การเรียนร้แู ละสอนตามแผนการเรียนรู้
3. การตรวจสอบการปฏบิ ัติตามแผน (Check)
สถานศกึ ษาสำรวจ ตรวจสอบผลการดำเนนิ งานการพฒั นาที่สนบั สนุนให้ครูมกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละให้
ขอ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้ โดยใชเ้ ครือ่ งมือและวิธกี ารท่เี หมาะสม
4. การปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Act)
สถานศึกษา ปรับปรุง แก้ไขวิธีการปฏิบัติงาน โดยมีการจัดรูปแบบกิจกรรมการพบปะของเพ่ือนครูใน
สถานศึกษาเพื่อที่จะได้มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ แบง่ ปัน และแชร์ประสบการณร์ ะหว่างเพื่อนครู ทง้ั นีเ้ พ่อื หาองค์ความรู้
ท่หี ลากหลาย ตลอดจนเทคนิคแนวทางในการสรา้ งองค์ความรใู้ หเ้ กดิ ข้ึนกับผเู้ รยี น
5. การนำผลการปรบั ปรุง แก้ไขแจ้งผูเ้ กยี่ วขอ้ ง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยการจัดประชุมในวาระต่างๆ เพื่อที่จะร่วมกันปรับปรงุ
พฒั นามาตรฐานด้านดงั กล่าวใหด้ ีย่ิงขนึ้
2.4 โรงเรยี นจดั สภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพือ่ การเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ
ผลการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ โรงเรยี นจัดสภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพอ่ื การเรียนรู้ อย่าง
ปลอดภัย และเพยี งพอ ซึ่ง สงู กวา่ เป้าหมายท่สี ถานศึกษากำหนด
โรงเรียนได้ดำเนินการในประเด็นการพิจารณา โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้
อย่างปลอดภยั และเพียงพอ ดงั น้ี
1. การวางแผน (Plan)
สถานศกึ ษากำหนดแผนการจดั การเรียนรทู้ มี่ งุ่ พฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี นและสมรรถนะนกั เรียน โรงเรยี นมกี าร
ประชมุ ครูเพื่อจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ในรายวิชาที่ไดร้ ับมอบหมาย โดยให้ครูวางแผนจดั ทำหรือจดั หาส่ือสำหรับ
การเรยี นการสอน รวมถงึ สำรวจความพรอ้ ม ของแหล่งการเรยี นรูท้ ้ังภายในและภายนอกโรงเรียน
2. การปฏิบตั ติ ามแผน (Do)
ครูจัดการเรียนรูต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีการจดั สภาพแวดล้อมและใช้สื่อที่หลากหลายโดยเน้น
ให้ผู้เรยี นไดป้ ฏิบัติจริง รวมทัง้ ภูมปิ ัญญา ทอ้ งถ่ินมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ สร้างโอกาสให้นักเรียนได้แสวงหาความรู้
ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย สถานศึกษาจัดสรรงบประมาณในการจัดทำสื่อและจดั ทำแหล่งการเรียนรู้เพื่อเปน็
การอำนวยความสะดวกใหก้ บั ครู
21
3. การตรวจสอบการปฏบิ ัติตามแผน (Check)
ครมู ีการประเมนิ การใชส้ ื่อและแหล่งเรียนรู้อย่างเป็นระบบ รวมถงึ การรับการนเิ ทศจากผู้อำนวยการ
ในเร่อื งของการการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ส่อื ตา่ งๆท่สี ามารถกระตุ้นและพฒั นาการจดั การเรยี นรู้
4. การปรับปรุง แก้ไข (Act)
สถานศกึ ษาปรบั ปรุงซอ่ มแซมสอื่ และแหล่งเรียนรู้ท่ีชำรุดและไมเ่ อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้ จัดหาส่ือที่
มคี วามทันสมัยกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียน โดยขอบงบสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
5. การนำผลการปรบั ปรงุ แกไ้ ขแจง้ ผเู้ กย่ี วขอ้ ง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยการจัดประชุมในวาระต่างๆ เพื่อท่ี
จะรว่ มกันปรบั ปรุงพัฒนามาตรฐานดา้ นดงั กลา่ วใหด้ ยี ิง่ ข้ึน
2.5 โรงเรียนให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ การเรียนรู้เพอ่ื สนับสนุนการจัดประสบการณ์
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและ
สอ่ื การเรยี นรู้เพ่อื สนับสนุนการจดั ประสบการณ์ ซง่ึ สูงกว่า เปา้ หมายท่ีสถานศกึ ษากำหนด
โรงเรียนได้ดำเนินการในประเด็นการพิจารณา โรงเรียนให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและ
สื่อการเรียนรู้เพือ่ สนับสนนุ การจัดประสบการณ์ ดงั นี้
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษากำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ทีม่ ุ่งพัฒนาคุณภาพนักเรียนและสมรรถนะนักเรียน โรงเรียนมี
การประชุมครูเพื่อจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย โดยให้ครูวางแผนจัดทำหรือจัดหาสอื่
สำหรบั การเรียนการสอน รวมถึงสำรวจความพรอ้ ม ของแหล่งการเรียนรทู้ ้ังภายในและภายนอกโรงเรียน
2. การปฏิบตั ิตามแผน (Do)
ครูจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเน้นให้ผู้เรียนได้
ปฏิบัติจริง ได้สืบค้นความรู้จากอินเตอรเ์ น็ต สามารถเรียนรู้ในเนื้อหาที่ตนเองสนใจโดยมีครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำ
รวมทั้งภูมิปัญญา ท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ สร้างโอกาสให้นักเรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่
หลากหลาย
สถานศึกษาจัดสรรงบประมาณในการจัดทำสื่อและจัดทำแหล่งการเรียนรู้เพื่อเป็นการอำนวยความ
สะดวกใหก้ ับครู ในการจัดกระบวนการเรียนรรู้ ะดบั ปฐมวัย
22
3. การตรวจสอบการปฏบิ ตั ิตามแผน (Check)
ครูมีการประเมินการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการรับ
การนิเทศจากผู้อำนวยการในเรื่องของการการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อต่างๆที่สามารถกระตุ้นและพัฒนาการ
จดั การเรยี นรู้
4. การปรับปรุง แกไ้ ข (Act)
สถานศึกษาปรับปรุงซ่อมแซมสื่อและแหล่งเรียนรทู้ ี่ชำรุดและไม่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ จัดหาส่ือ
ทม่ี ีความทันสมัยกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียน โดยขอบงบสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
5. การนำผลการปรบั ปรงุ แกไ้ ขแจง้ ผเู้ กีย่ วขอ้ ง
มีการแจง้ ผลการปฏบิ ัติงาน ให้กับผเู้ กย่ี วขอ้ งได้รบั ทราบ โดยการจัดประชมุ ในวาระตา่ งๆ เพือ่ ท่ีจะร่วมกัน
ปรับปรงุ พฒั นามาตรฐานดา้ นดงั กล่าวให้ดีย่ิงขนึ้
6. โรงเรยี นมีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผูเ้ ก่ียวข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม
ผลการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 พบว่าโรงเรียนมรี ะบบบริหารคณุ ภาพทีเ่ ปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้อง
ทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วม ซ่ึง สูงกวา่ เปา้ หมายท่ีสถานศึกษากำหนด
โรงเรียนได้ดำเนนิ การในประเดน็ การพิจารณา โรงเรยี นมีระบบบริหารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้อง
ทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วม ดังน้ี
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษาวางแผน กำหนดเปา้ หมาย การตรวจสอบและประเมนิ พฒั นาการผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ
และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน โดยกำหนดโครงการไวใ้ นแผนปฏบิ ตั ิการของสถานศกึ ษา
2. การปฏิบตั ติ ามแผน (Do)
วิธีการพัฒนาที่สนับสนุนให้ครูมีการตรวจสอบและประเมินพัฒนาการผู้เรียนอย่างเป็นระบบและ
นำผลมาพัฒนาผู้เรียน คือ โรงเรียนมีกระบวนการตรวจสอบและประเมินพัฒนาการผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยครูมี
การศึกษาและวางแผนการวัดผลประเมินผล ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูรู้จักผู้เรียนด้านพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
โดยผ่านกิจกรรมการเยี่ยมบ้าน ทำให้ทราบข้อเด่น ข้อด้อยของผู้เรียน และใช้วิธีการวั ดและประเมินผลอย่าง
หลากหลายเพอ่ื รู้จกั ผู้เรียนด้านพัฒนาการทัง้ 4 ด้าน โดยมีการวิเคราะห์ และประเมนิ ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคลทำให้ทราบ
ความแตกต่าง และข้อจำกัดของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล ครูได้จัดทำแผนจัดประสบการณ์ ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั และ
มีการจัดทำวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน และแก้ปัญหาผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ และเข้าใจ
เนอื้ หา ทักษะกระบวนการและเกิดเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรยี นรู้ ซง่ึ จะส่งผลให้นกั เรยี นมพี ัฒนาการทด่ี ีขน้ึ
3. การตรวจสอบการปฏิบัตติ ามแผน (Check)
สถานศกึ ษาสำรวจ ตรวจสอบผลการดำเนนิ งาน การตรวจสอบและประเมนิ พฒั นาการผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ
และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน โดยใชเ้ ครอ่ื งมือและวิธีการท่เี หมาะสม
23
4. การปรับปรงุ แกไ้ ข (Act)
สถานศึกษา ปรับปรุง แก้ไขวิธีการปฏิบัติงาน โดยจัดให้มีรปู แบบของการวดั และประเมินผลที่คำนึงถึงความ
แตกต่างระหว่างบุคคลของผูเ้ รียน โดยผ่านกระบวนการวัดประเมินผลทีม่ คี วามหลากหลาย ประเมินจากบรบิ ทสภาพ
จริง เรียนรู้โดยการฝึกทักษะการลงมอื ทำรว่ มด้วย อนั เป็นแนวทางของการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั ซึ่งจะส่งผลให้
ผู้เรียนมีองคค์ วามรทู้ ีห่ ลากหลายและเกิดมีทกั ษะในการดำเนนิ ชีวิต ต่อไปในอนาคตได้
5. การนำผลการปรับปรงุ แกไ้ ขแจง้ ผู้เกีย่ วข้อง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยการจัดประชุมในวาระต่างๆ เพื่อทีจ่ ะร่วมกัน
ปรบั ปรงุ พฒั นามาตรฐานดา้ นดงั กล่าวใหด้ ียงิ่ ขน้ึ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เปน็ สำคัญ ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ
ผลทเ่ี กดิ จากการดำเนนิ การ / วธิ ีการพัฒนาที่สนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
3.1 ครจู ัดประสบการณ์ที่สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมกี ารพฒั นาการทกุ ดา้ นอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ
ผลการประเมนิ ตนเองในปกี ารศกึ ษา 2564 พบว่าครจู ัดประสบการณ์ท่ีสง่ เสรมิ ให้เดก็ มีการพัฒนาการทุกด้าน
อย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ซึ่ง สูงกวา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศึกษากำหนด
โรงเรียนได้ดำเนินการในประเด็นการพิจารณา ครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการ
ทุกด้านอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ ดงั น้ี
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษากำหนดแผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม
ศักยภาพ โรงเรียนมีการประชมุ ครูเพ่ือจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ในรายวชิ าที่ได้รับมอบหมายและนำหลกั สูตร
แกนกลางมาวิเคราะห์และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดประสบการณ์
รวมถึงสนับสนุนให้ครูได้พัฒนาตนเองในด้านการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีทีห่ ลากหลายผ่านกระบวนการคดิ และ
ปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ได้
2. การปฏบิ ัตติ ามแผน (Do)
ครูจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม
ศักยภาพตามหลักสูตรสถานศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการเล่นและลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผัส
จดั บรรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ ใช้เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวยั มีการติดตามและประเมินผลเดก็ อยา่ งเป็นระบบ
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาที่ทำให้ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพและพัฒนาการของนกั เรียน
โรงเรยี นมีการติดตามผลโดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา
3. การตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามแผน (Check)
ครูจัดทำวิจัยในชั้นเรียนและในการประเมินผลหลังจากจบหน่วยการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผล
ด้วยความยุตธิ รรมและหลากหลายตามสภาพจริงของนักเรียน
24
4. การปรับปรุง แกไ้ ข (Act)
สถานศึกษา ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงและ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ โดยการหาความรู้ และเข้ารับการพัฒนาด้วยระบบออนไลน์ เนื่องด้วยสถานการณ์
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019
5. การนำผลการปรบั ปรุง แกไ้ ขแจง้ ผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยการจัดประชุมในวาระต่างๆ เพื่อที่จะร่วมกัน
ปรับปรุงพฒั นาด้านดงั กลา่ วใหด้ ีย่งิ ขนึ้
3.2 ครูสร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมคี วามสขุ
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น
และปฏิบัติอย่างมคี วามสุข คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ซึ่ง สูงกว่า เป้าหมายทส่ี ถานศึกษากำหนด
โรงเรียนได้ดำเนินการในประเด็นการพิจารณา ครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ
อย่างมคี วามสุข ดงั น้ี
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษากำหนดแผนการจัดประสบการณ์ที่สง่ เสริมให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัติ
อย่างมคี วามสขุ โรงเรยี นมีการประชมุ ครเู พื่อจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์และนำแผนการจดั ประสบการณ์จากการ
วิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ กำหนดหน่วยการเรียนรู้รายปี
จัดทำแผนการจัดประสบการณ์รายสัปดาห์ ตามหลักสูตรสถานศึกษา รวมถึงสนับสนุนใหค้ รูได้พัฒนาตนเองในด้าน
การจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวิธที ี่หลากหลายผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
การปฏิบัติตามแผน (Do)
ครูจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ
อย่างมีความสุข โดยกำหนดกิจกรรมที่ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ
ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ด้วยกิจวัตรประจำวัน กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม คือกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเล่น เสรีหรือเล่นตามมุม ตามแนวความคิ ดไฮสโคป
(High Scope) จัดกิจกรรมตามหน่วยการเรียนรู้ที่เด็กสนใจโดยใช้ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ
(Project Approach) เป็นการจดั ประสบการณ์ในเร่ืองที่เด็กสนใจอยา่ ง ลุ่มลึก ครูผูป้ กครอง ผูเ้ กี่ยวข้องสนับสนุนการ
สืบค้นหาคำตอบทอี่ ยากรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการเลน่ และลงมือกระทำผา่ นประสาทสัมผัส จดั บรรยากาศที่เอ้ือ
ตอ่ การเรียนรู้ ใช้เทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วัยมกี ารติดตามและประเมนิ ผลเดก็ อยา่ งเป็นระบบ
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาที่ทำให้ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพและพัฒนาการของ
นกั เรยี น โรงเรียนมกี ารตดิ ตามผลโดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา
25
2. การตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามแผน (Check)
ครจู ดั ทำวจิ ัยในชั้นเรยี นและในการประเมนิ ผลหลังจากจบหน่วยการเรยี นรู้ มกี ารวดั และประเมินผลด้วย
ความยตุ ิธรรมและหลากหลายตามสภาพจริงของนักเรยี น
3. การปรับปรุง แกไ้ ข (Act)
สถานศึกษา ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ โดยการหาความรู้ และเข้ารับการพัฒนาด้วยระบบออนไลน์ เนื่องด้วยสถานการณ์
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019
4. การนำผลการปรับปรงุ แก้ไขแจง้ ผู้เกีย่ วข้อง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยการจัดประชุมในวาระต่างๆ เพื่อทีจ่ ะร่วมกนั
ปรบั ปรุงพฒั นาใหด้ ยี งิ่ ข้นึ
3.3 ครูจดั บรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรูใ้ ช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วยั
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อ และ
เทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวัย คิดเป็นร้อยละ 100 ซงึ่ สงู กว่า เปา้ หมายท่ีสถานศกึ ษากำหนด
โรงเรยี นไดด้ ำเนินการในประเด็นการพิจารณา ครูจดั บรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรใู้ ช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมกบั วยั ดงั นี้
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษาประชุมวางแผนให้ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
กับวัย ให้ความสำคัญใน การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีพื้นที่สำหรับจัดมุม
ประสบการณ์ในทุกห้องเรียนจะมีมุมประสบการณ์ 5 มุม ได้แก่ มุมบ้าน มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมวิทยาศาสตร์
มุมเขียน เป็นต้น มีสื่อตามมุมที่เพียงพอ จัดวาง ตามสื่อ ให้เด็กสามารถ หยิบใช้ จัดวางได้เอง เหมาะสมกับวัย
จดั ห้องเรียน ที่สะอาด ปลอดภยั ที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ มพี ้ืนทีจ่ ดั แสดงผลงานนักเรยี น มีคอมพิวเตอร์ จอทีวีสำหรับครู
ใชป้ ระกอบการจดั ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับเดก็
2. การปฏบิ ตั ิตามแผน (Do)
ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ให้ความสำคัญในการจัด
บรรยากาศการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีพื้นที่สำหรับจัดมุมประการณ์ ในทุกห้องเรียนจะมีมุม
ประสบการณ์ 5 มุม ได้แก่ มุมบ้าน มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมวิทยาศาสตร์ มุมเขียน เป็นต้น มีสื่อตามมุมที่เพียงพอ
จัดวาง ตามสื่อ ให้เด็กสามารถ หยิบใช้ จัดวางได้เอง เหมาะสมกับวัย จัดห้องเรียนที่สะอาด ปลอดภัยที่เอื้อต่อการ
เรียนรู้ มีพื้นที่จัดแสดงผลงานนกั เรียน จัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เดก็ มกี ารพัฒนาการ
ทุกดา้ นอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ จัดกิจกรรมการเรยี นรผู้ า่ นการเลน่ และลงมอื กระทำผ่านประสาทสัมผัส จดั บรรยากาศ
ท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้
26
3. การตรวจสอบการปฏิบัตติ ามแผน (Check)
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาที่ทำให้ครูจัดการเรียนรู้และจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ให้เป็นไปตามศักยภาพและพัฒนาการของนักเรียน โรงเรียนมีการติดตามผลโดยใช้
กระบวนการนิเทศการศกึ ษา
4. การปรบั ปรุง แก้ไข (Act)
สถานศึกษา ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงและ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ โดยการหาความรู้ และเข้ารับการพัฒนาด้วยระบบออนไลน์ เนื่องด้วยสถานการณ์
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019
5. การนำผลการปรับปรุง แก้ไขแจ้งผ้เู กยี่ วข้อง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยการจัดประชุมในวาระต่างๆ เพื่อทีจ่ ะร่วมกนั
ปรับปรงุ พฒั นามาตรฐานด้านดังกลา่ วใหด้ ยี ่งิ ขึน้
3.4 ครูประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และ
พฒั นาเด็ก
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผล
ประเมินพฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ การจัดประสบการณ์และพฒั นาเดก็ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ซง่ึ สงู กว่า เปา้ หมาย
ท่ีสถานศึกษากำหนด
โรงเรยี นได้ดำเนินการในประเดน็ การพิจารณา ครปู ระเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลประเมิน
พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก ดังน้ี
1. การวางแผน (Plan)
สถานศึกษากำหนดแผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติ
อยา่ งมคี วามสุข โรงเรยี นมีการประชุมครูเพอื่ จัดทำแผนการจัดประสบการณ์และนำแผนการจัดประสบการณ์จากการ
วิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ กำหนดหน่วยการเรียนรู้รายปี
จัดทำแผนการจัดประสบการณ์รายสัปดาห์ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผล
ประเมินพฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ การจัดประสบการณ์และพัฒนาเดก็ รวมถึงสนับสนนุ ให้ครูได้พัฒนาตนเองในด้านการ
จัดการเรียนการสอนด้วยวธิ ีท่หี ลากหลายผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริงและสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้
2. การปฏบิ ตั ิตามแผน (Do)
ครูจัดการเรียนรูต้ ามแผนการจัดประสบการณ์ทีส่ ่งเสริมใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัตอิ ย่างมี
ความสุข โดยกำหนดกิจกรรมที่ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทกุ ด้าน ทงั้ ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณจ์ ิตใจ ด้านสังคม และ
ด้านสติปัญญา ด้วยกิจวัตรประจำวัน กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม คือกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริม
ประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเล่น เสรีหรือเล่นตามมุม ตามแนวความคิดไฮสโคป ( High Scope)
จัดกิจกรรมตามหน่วยการเรียนรู้ที่เด็กสนใจโดยใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ ( Project
27
Approach) เปน็ การจดั ประสบการณ์ในเรอ่ื งท่เี ดก็ สนใจอย่าง ล่มุ ลึก ครผู ้ปู กครอง ผูเ้ กย่ี วขอ้ งสนับสนุนการสืบค้นหา
คำตอบที่อยากรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการเล่นและลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผสั จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการ
เรียนรู้ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัยมีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลประเมินพัฒนาการเด็กไป
ปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็กอยา่ งเปน็ ระบบ
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาที่ทำให้ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพและพัฒนาการของนักเรียน
โรงเรียนมกี ารตดิ ตามผลโดยใช้กระบวนการนเิ ทศการศึกษา
3. การตรวจสอบการปฏบิ ัติตามแผน (Check)
ครูปฐมวัยประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยการสังเกตและการบันทึกสังเกตขณะเด็กทำกิจวัตร
ประจำวัน กิจกรรมประจำวัน และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กมาปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
ครูประเมิน พัฒนาการเด็กจากการจัดกิจกรรมประจำวันและกิจวัตรประจำวันด้วยเครื่องมือที่หลากหลายได้แก่
แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ แบบบันทึกความสามารถ ด้านภาษา การใช้กล้ามเนื้อมือ ความคิดสร้างสรรค์ โดยเกบ็
ผลการประเมินรายบุคคลเป็นแฟ้มสะสมผลงานสำหรับเด็กเป็นรายบุคคล สมุดบันทึกผลการประเมินพัฒนาการ
ประจำชั้น สมุดรายงานประจำตัวเด็ก อบ.01 สมุดบันทึกการพัฒนาการเด็ก อบ.02 แบบบันทึก พัฒนาการเด็ก
ปฐมวัย อบ.03
ครูจัดทำวิจัยในชั้นเรียนและในการประเมินผลหลังจากจบหน่วยการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลด้วย
ความยุติธรรมและหลากหลายตามสภาพจริงของนกั เรยี น
4. การปรับปรุง แกไ้ ข (Act)
สถานศึกษา ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงและ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ โดยการหาความรู้ และเข้ารับการพัฒนาด้วยระบบออนไลน์ เนื่องด้วยสถานการณ์
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019
5. การนำผลการปรับปรงุ แกไ้ ขแจ้งผู้เก่ียวขอ้ ง
มีการแจ้งผลการปฏิบัติงาน ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยการจัดประชุมในวาระต่างๆ เพื่อที่จะร่วมกนั
ปรบั ปรุงพฒั นาให้ดยี ่งิ ข้ึน
28
สรปุ ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นรุ่งวิทยาประชาอุปถัมภ์ อำเภอ ลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
คำช้ีแจง ใหโ้ รงเรียนทำเครอ่ื งหมาย √ ลงในช่อง ทสี่ อดคล้องกบั ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานการศึกษา / ประเดน็ พจิ ารณา ระดบั คณุ ภาพ 5
1 2 34
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ / สรปุ ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ √
1.1 มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ัยทดี่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ √
1.2 มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ √
1.3 มพี ัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ทีด่ ีของสังคม √
1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา ส่อื สารได้ มีทกั ษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ √
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ / สรปุ ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั คุณภาพ √
2.1 มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถ่ิน √
2.2 จัดครใู หเ้ พยี งพอกบั ชน้ั เรียน √
2.3 สง่ เสริมใหค้ รูมีความเชีย่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ √
2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพอื่ การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ √
2.5 ให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นรู้เพื่อสนับสนนุ การจัด √
ประสบการณ์
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพท่เี ปดิ โอกาสให้ผู้เก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม √
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ นน้ เด็กเปน็ สำคัญ สรปุ ผลการประเมิน √
อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ
3.1 จดั ประสบการณ์ทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทุกดา้ นอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ √
3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั ิอยา่ งมคี วามสขุ √
3.3 จัดบรรยากาศทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยีทเี่ หมาสมกับวยั √
3.4 ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไป √
ปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาการเด็ก
สรปุ โรงเรยี นมผี ลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย อยรู่ ะดับคุณภาพ ดีเลิศ
หมายเหตุ 1. ระดบั คณุ ภาพ 1 (กำลงั พัฒนา) 2 (ปานกลาง) 3 (ด)ี 4 (ดเี ลศิ ) 5 (ยอดเยี่ยม)
2. เกณฑก์ ารสรปุ ในแต่ละประเด็นพจิ ารณา การสรปุ รายมาตรฐาน หรอื การสรปุ ในภาพรวมระดับปฐมวยั ให้
อยใู่ นดุลยพนิ ิจท่สี อดคลอ้ งกบั คา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษากำหนด
29
ภาคผนวก
- ประกาศการกำหนดค่าเป้าหมาย
- ประกาศใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัยและ
ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
- คำส่ังแตง่ ตั้งคณะกรรมการการประกนั คุณภาพภายใน
- คำส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง
- ตารางกราฟตามตัวชว้ั วัดในแต่ละมาตรฐาน
- ภาพกจิ กรรม
เป็นต้น
30
ประกาศโรงเรยี นรงุ่ วทิ ยาประชาอปุ ถัมภ์
เรื่อง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัยและ
ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
.....................................................................
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันท่ี
20 กุมภาพันธ์ 2561 ตลอดจนมีการปรับเปลี่ยนนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องแนวปฏิบัติการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2561 และประกาศเร่ืองให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั ระดับการศึกษาข้นั
พืน้ ฐาน และระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานพิเศษ ฉบบั ลงวนั ท่ี 6 สงิ หาคม พ.ศ. 2561
โรงเรยี นรุง่ วิทยาประชาอุปถัมภ์ จึงประกาศเร่ือง กำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จากการมีส่วนร่วมของ
ผ้เู กยี่ วขอ้ ง ทงั้ บคุ ลากรทกุ คนในโรงเรียน ผูป้ กครอง และประชาชนในชุมชนให้เหมาะสมและสอดคล้องกนั เพ่ือนำไปสู่
การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน และรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกโดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนรุ่งวิทยาประชาอุปถัมภ์ มีคุณภาพและ
มาตรฐานจึงกำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัย และ
ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้
ประกาศ ณ วันท่ี 16 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564
ลงชอ่ื ลงชอื่
(นางสาวฮุสนา เรืองปราชญ์) (นายอนุวฒั น์ เรอื งปราชญ์)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นรุ่งวิทยาประชาอปุ ถัมภ์ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
31
การกําหนดคาเปาหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย
เพ่อื การประกันคณุ ภาพภายใน โรงเรยี นรุ่งวิทยาประชาอปุ ถมั ภ์ ปการศึกษา 2564
มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน คาเปา้ หมาย
ปการศกึ ษา 2564
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ ระดับคุณภาพ ดี
1.1 มีพัฒนาการดานรางกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสัยท่ดี ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได รอ้ ยละ 75 ขึน้ ไป
1.2 มีพฒั นาการดานอารมณ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณได รอ้ ยละ 75 ขึน้ ไป
1.3 มีพฒั นาการดานสงั คม ชวยเหลือตนเอง และเปนสมาชิกทด่ี ขี องสงคม รอ้ ยละ 75 ขน้ึ ไป
1.4 มพี ฒั นาการดานสตปิ ญญา ส่ือสารได มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรูได
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ร้อยละ 75 ขึ้นไป
2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทงั้ 4 ดาน สอดคลองกับบรบิ ทของท้องถิน่
2.2 จัดครใู หเ้ พียงพอกบั ชั้นเรยี น ระดับคุณภาพ ดี
2.3 สงเสริมใหครมู ีความเชย่ี วชาญดานการจดั ประสบการณ ระดับคุณภาพ ดี
2.4 จดั สภาพแวดลอมและส่ือเพอื่ การเรยี นรู อยางปลอดภัยและเพียงพอ ระดบั คณุ ภาพ ดี
2.5 ใหบรกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การเรียนรูเพื่อสนบั สนุนการจัดประสบการณ
2.6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสใหผูเกยี่ วของทุกฝายมสี วนรวม ระดับคุณภาพ ดี
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปน็ สําคัญ ระดบั คุณภาพ ปานกลาง
3.1 จัดประสบการณที่สงเสรมิ ใหเด็กมพี ัฒนาการทกุ ดานอยางสมดลุ เต็มศักยภาพ ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
3.2 สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบตั ิอยางมคี วามสุข
3.3 จัดบรรยากาศทเ่ี อือ้ ตอการเรียนรู ใชสื่อ และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับวัย ระดบั คณุ ภาพ ดี
3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนําผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ
ระดับคณุ ภาพ ดี
การจดั ประสบการณและพัฒนาเด็ก รอ้ ยละ 75 ขน้ึ ไป
รอ้ ยละ 75 ขึ้นไป
ร้อยละ 75 ขึ้นไป
รอ้ ยละ 75 ขนึ้ ไป
หมายเหตุ
1. การกำหนดคา่ เป้าหมาย มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็ และมาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็
เป็นสำคัญ สามารถกำหนดเป็นเชงิ ปรมิ าณตามบริบทของสถานศกึ ษา
๒. การกำหนดค่าเป้าหมาย มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการสามารถกำหนดเป็นเชิง
คุณภาพ สามารถกำหนดเป็นเชงิ คุณภาพตามบรบิ ทของสถานศึกษา
3. การสรปุ คณุ ภาพรายมาตรฐานใหส้ ถานศกึ ษา ศกึ ษาแนวทางการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับ
ปฐมวัย ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน และระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ พ.ศ. 2561 ของสำนกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
32
ประกาศโรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอุปถมั ภ์
เร่ือง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานเพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย
...................................
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย เมื่อ วันที่ 6 สิงหาคม 2561
และประกาศให้โรงเรียนทุกสังกัดที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัยใช้มาตรฐานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นเป้าหมายในการพัฒนาและยกระดับคณุ ภาพผู้เรียน คุณภาพการจัดการศกึ ษา น้นั โรงเรียนรุง่ วทิ ยาประชาอุปถัมภ์
ซึ่งเป็นสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี จัดการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ได้นำมาตรฐานการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการมาใช้เป็นมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยผ่านการเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง และบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน
เพอ่ื นำไปสูก่ ารพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา ให้มคี ุณภาพไดม้ าตรฐานการศกึ ษา นำไปสกู่ ารประเมนิ คุณภาพภายใน
และเพื่อเป็นหลกั ประกนั ให้ผู้เรียนเกิดความมั่นใจวา่ จะได้รับการจัดการศึกษาอย่าง มีคุณภาพ ตลอดจนผู้ปกครอง
ชุมชน และผู้มีส่วนเก่ียวขอ้ งได้เกิดความเชื่อม่ันวา่ บุตร หลานของตนจะได้รับการจดั การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และ
ไดม้ าตรฐานตามท่โี รงเรียนประกาศ
โรงเรียนรุ่งวิทยาประชาอุปถัมภ์ จึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัย
ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย และ
การประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาต่อไป
ประกาศ ณ วันท่ี 16 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564
(นางสาวฮุสนา เรืองปราชญ)์
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอปุ ถมั ภ์
33
คำสงั่ โรงเรยี นรุ่งวิทยาประชาอปุ ถมั ภ์
ท่ี / 2564
เรือ่ ง แต่งต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564
ด้วยอำนาจตามความในมาตราที่ 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารส่วนราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2564 การประกันคุณภาพการศกึ ษาเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศกึ ษา ที่กำหนดให้สถานศึกษา
และหน่วยงานต้นสังกัดต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกัน
คุณภาพภายนอก ในส่วนของการประกันคุณภาพภายในนั้น เพื่อให้การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เกิดประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และให้การ
ดำเนินงานสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีจึง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ และรวบรวมจัดทำเอกสาร
ภายในสถานศึกษา เพ่ือการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ประจำปีการศึกษา
2564
โรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอปุ ถมั ภ์ ไดด้ ำเนินการจดั ทำมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพื่อเป็นแนวทางการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ และเอกชน
จึงแตง่ ตงั้ คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดงั นี้
1. คณะกรรมการอำนวยการ
1.1 นายอนุวฒั น์ เรอื งปราชญ์ ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ประธานกรรมการ
1.2 นางสาวฮุสนา เรืองปราชญ์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี น กรรมการ
1.3 นายไพศาล อาทวัง ตำแหนง่ ครโู รงเรยี นรงุ่ วิทยาประชาอปุ ถมั ภ์ กรรมการ
1.4 นายสรศักดิ์ ธนภัทรพงศ์ ตำแหน่ง ครโู รงเรียนรงุ่ วิทยาประชาอุปถัมภ์ กรรมการ
1.5 นางสุนนั ทา ยนิ ดีรมย์ ตำแหนง่ ครโู รงเรียนลาดบวั หลวง(น่ิมนวลอุทิศ) กรรมการ
1.6 นางเกษร แจ้งมงคล ตำแหน่ง ครโู รงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอุปถมั ภ์ กรรมการ
1.7 นางสาวสุกญั ญา ปน่ิ ปัก ตำแหนง่ ครโู รงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอุปถัมภ์ กรรมการและเลขานกุ าร
มีหน้าท่ี กำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ในการดำเนินงานนิเทศ ติดตาม กำกับดูแล แต่งตั้งคณะกรรมการ
ให้คำปรึกษา คำแนะนำเกีย่ วกับการดำเนินงานของคณะกรรมดำเนินการและตดิ ตามการปฏิบัติงานการรวบรวม และ
จำทำเอกสารในแต่ละมาตรฐานเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย
34
2. คณะกรรมการประสานงาน
2.1 นายไพศาล อาทวัง ตำแหน่ง ครโู รงเรียนร่งุ วิทยาประชาอุปถมั ภ์ ประธานกรรมการ
2.2 นางสาวรตั นา ปัตถามงั ตำแหน่ง ครโู รงเรยี นรงุ่ วทิ ยาประชาอุปถมั ภ์ กรรมการ
2.3 นางสาวกมลรัตน์ มาลยั ตำแหน่ง ครโู รงเรียนร่งุ วทิ ยาประชาอุปถมั ภ์ กรรมการ
2.4 นางสาวสุกญั ญา ป่นิ ปัก ตำแหน่ง ครูโรงเรยี นรงุ่ วิทยาประชาอปุ ถัมภ์ กรรมการ
2.5 นายสวุ ัฒน์ สุขวหิ าร ตำแหนง่ ครโู รงเรียนรุ่งวิทยาประชาอุปถัมภ์ กรรมการ
2.6 นางสาวสุพัตรา เรอื งปราชญ์ ตำแหนง่ ครธู ุรการโรงเรยี น กรรมการและเลขานุการ
มีหน้าที่ ปฏิบัติงานในฐานะเป็นบุคลากรหลักประสานงานระหว่างคณะกรรมการอำนวยการ
คณะกรรมการดำเนนิ งาน และหนว่ ยงานอืน่ ๆท่เี กย่ี วข้อง จดั เอกสารที่ใช้ในการดำเนินงานและรับผดิ ชอบ จัดประชุม
ชี้แจง ปรึกษาหารือคณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษา
ประจำปี (SAR) ตรวจสอบรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปี 2564 จากคณะกรรมการประเมินคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา สรุปรายงานประจำปี และรายงานผลการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาภายในต่อต้นสงั กัด
3. คณะกรรมการดำเนินงานมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มีจำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ้ รียน
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคิดคำนวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คดิ เห็น และแก้ปญั หา
3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
5) มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติทดี่ ีตอ่ งานอาชพี
ประกอบดว้ ย
1. นายไพศาล อาทวัง ประธานกรรมการ
2. นางสาวรตั นา ปตั ถามัง กรรมการ
3. นางสาวกมลรัตน์ มาลยั กรรมการ
4 นางสาวสุกัญญา ป่ินปกั กรรมการและเลขานุการ
/1.2 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น
35
1.2 คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ของผเู้ รยี น
1) การมีคุณลักษณะและค่านยิ มที่ดตี ามทสี่ ถานศึกษากำหนด
2) ความภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย
3) การยอมรับท่ีจะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม
ประกอบดว้ ย
1. นายไพศาล อาทวงั ประธานกรรมการ
2. นางสาวรตั นา ปัตถามงั กรรมการ
3. นางสาวฐติ ิพร ดเี จริญ กรรมการ
4. นางสาวพรทิพย์ เรอื งปราชญ์ กรรมการ
5. นางสาวสพุ ตั รา เรอื งปราชญ์ กรรมการและเลขานกุ าร
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มเี ป้าหมายวิสัยทัศน์ และพนั ธกิจทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
และทกุ กล่มุ เป้าหมาย
2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอ่ การจดั การเรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้
ประกอบด้วย
1. นางสาวฮุสนา เรอื งปราชญ์ ประธานกรรมการ
2. นางสาวสกุ ัญญา ปน่ิ ปกั กรรมการ
3 .นางสาวสพุ ัตรา เรอื งปราชญ์ กรรมการ
4. นายสุวฒั น์ สุขวิหาร กรรมการและเลขานกุ าร
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
3.1 จัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้
3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้
3.3 มีการบริหารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวก
36
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รียน
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้
ประกอบดว้ ย
1. นางสาวสุกัญญา ป่นิ ปกั ประธานกรรมการ
2. นางสาวฐติ ิพร ดเี จรญิ กรรมการ
3. นางเกษร แจง้ มงคล กรรมการ
4. นายสรศกั ด์ิ ธนภทั รพงศ์ กรรมการและเลขานุการ
4. คณะกรรมการดำเนินงานมาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัยมีจำนวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ เด็กเป็นสำคญั
แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอยี ดดังนี้
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ มี 4 เป้าหมายการพฒั นา
1.1 มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายแขง็ แรง มสี ุขนิสยั ทด่ี ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้
1.2 มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.3 มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ที่ดีของสังคม
1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา สื่อสารได้ มที กั ษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการมี 6 เปา้ หมายการพฒั นา
2.1 มหี ลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถ่นิ
2.2 จัดครใู หเ้ พียงพอกับช้ันเรยี น
2.3 ส่งเสรมิ ให้ครมู คี วามเช่ยี วชาญด้านการจัดประสบการณ์
2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสอื่ เพ่อื การเรียนรอู้ ยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ
2.5 ให้บริการสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสอ่ื สารการเรียนรูเ้ พือ่ สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์
2.6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผเู้ กยี่ วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเปน็ สำคัญมี 4 เป้าหมายการพัฒนา
3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกด้านอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ
3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัติอย่างมีความสุข
3.3 จดั บรรยากาศทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรยี นร้ใู ช้ส่ือและเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย
37
3.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพฒั นาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจัด
ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
ประกอบดว้ ย
1. นางสาวกมลรตั น์ มาลัย ประธานกรรมการ
2. นางสาวพรทพิ ย์ เรอื งปราชญ์ กรรมการ
3. นางสาวฐิตพิ ร ดเี จริญ กรรมการ
4. นางสาวสุกญั ญา ป่ินปกั กรรมการ
5. นางสาวรัตนา ปตั ถามงั กรรมการและเลขานกุ าร
ใหค้ ณะกรรมการทไี่ ดร้ บั การแตง่ ตั้ง ปฏิบัตหิ น้าที่อย่างเตม็ ความสามารถ และเคร่งครดั ในระเบียบของทาง
ราชการ ท้ังน้ีเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลดีตอ่ โรงเรียน และทางราชการโดยสว่ นรวม
ทัง้ น้ี ตัง้ แตว่ นั ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
สง่ั ณ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
(นางสาวฮสุ นา เรอื งปราชญ์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนรุ่งวทิ ยาประชาอปุ ถมั ภ์
38
คำส่ังโรงเรยี นรุ่งวทิ ยาประชาอุปถัมภ์
ท่ี / 2565
เร่ือง แตง่ ตั้งคณะกรรมการการจัดทำรายงานประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564
ด้วยอำนาจตามความในมาตราที่ 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารส่วนราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 การประกันคุณภาพการศึกษาเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่กำหนดให้สถานศึกษา
และหน่วยงานต้นสังกัดต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกัน
คุณภาพภายนอก ในส่วนของการประกันคุณภาพภายในนัน้ เพื่อให้การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เกิดประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และให้การ
ดำเนินงานสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีจึง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ และรวบรวมจัดทำเอกสาร
ภายในสถานศกึ ษา เพือ่ การประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ประจำปกี ารศึกษา
2564
โรงเรียนรุ่งวิทยาประชาอุปถัมภ์ ได้ดำเนินการจัดทำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อเป็นแนว
ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยยดึ หลกั การมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ งทัง้ ภาครัฐ และเอกชน
จึงแต่งต้งั คณะกรรมการการจัดทำรายงานประเมนิ ตนเอง ดังนี้
1. คณะกรรมการอำนวยการ
1.1 นายอนุวฒั น์ เรืองปราชญ์ ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ประธานกรรมการ
1.2 นางสาวฮุสนา เรอื งปราชญ์ ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น กรรมการ
1.3 นายไพศาล อาทวัง ตำแหน่งครูโรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอุปถัมภ์ กรรมการ
1.4 นายสรศกั ด์ิ ธนภทั รพงศ์ ตำแหนง่ ครูโรงเรียนรงุ่ วิทยาประชาอุปถัมภ์ กรรมการ
1.5 นางสนุ นั ทา ยินดรี มย์ ตำแหนง่ ครูโรงเรียนลาดบวั หลวง(นิ่มนวลอุทศิ ) กรรมการ
1.6 นางสาวสกุ ญั ญา ปิ่นปัก ตำแหนง่ ครูโรงเรียนรงุ่ วิทยาประชาอุปถัมภ์ กรรมการและเลขานกุ าร
มีหน้าที่ กำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ในการดำเนินงานนิเทศ ติดตาม กำกับดูแล แต่งตั้งคณะกรรมการให้
คำปรึกษา คำแนะนำเกย่ี วกับการดำเนินงานของคณะกรรมดำเนนิ การและติดตามการปฏบิ ัตงิ านการรวบรวม และจำ
ทำเอกสารในแต่ละมาตรฐานเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย
2. คณะกรรมการประสานงาน
2.1 นายไพศาล อาทวงั ตำแหน่ง ครูโรงเรียนรุ่งวทิ ยาประชาอุปถัมภ์ ประธานกรรมการ
39
2.2 นางสาวรัตนา ปตั ถามัง ตำแหน่ง ครูโรงเรียนรงุ่ วิทยาประชาอุปถมั ภ์ กรรมการ
2.3 นางสาวกมลรัตน์ มาลัย ตำแหนง่ ครูโรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอปุ ถมั ภ์ กรรมการ
2.4 นางสาวสุกญั ญา ป่ินปัก ตำแหนง่ ครโู รงเรยี นรงุ่ วทิ ยาประชาอปุ ถมั ภ์ กรรมการ
2.5 นายสวุ ฒั น์ สขุ วิหาร ตำแหน่ง ครโู รงเรยี นร่งุ วทิ ยาประชาอปุ ถมั ภ์ กรรมการ
2.6 นางสาวสพุ ัตรา เรืองปราชญ์ ตำแหนง่ ครธู ุรการโรงเรยี น กรรมการและเลขานุการ
มีหน้าที่ ปฏิบัติงานในฐานะเป็นบุคลากรหลักประสานงานระหว่างคณะกรรมการอำนวยการ
คณะกรรมการดำเนินงาน และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จัดเอกสารที่ใช้ในการดำเนินงานและรับผิดชอบ
จัดประชุมช้ีแจง จัดการประชุมปรึกษาหารือคณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
จดั ทำรายงานคุณภาพการศกึ ษาประจำปี (SAR) ตรวจสอบรายงานการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาประจำปี 2562 จาก
คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา สรุปรายงานประจำปี และรายงานผลการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาภายในตอ่ ต้นสงั กัด
3. คณะกรรมการดำเนินงานมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รียน
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสารและการคดิ คำนวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น และ
แก้ปญั หา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
5) มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ีด่ ีต่องานอาชีพ
ประกอบด้วย
1. นายไพศาล อาทวัง ประธานกรรมการ
2. นางสาวรตั นา ปัตถามงั กรรมการ
3. นางสาวกมลรตั น์ มาลัย กรรมการ
4. นางสาวสุกัญญา ปิ่นปัก กรรมการและเลขานกุ าร
1.2 คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น
1) การมีคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทด่ี ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด
2) ความภมู ิใจในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย
3) การยอมรับทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม
40
ประกอบด้วย ประธานกรรมการ
1. นายไพศาล อาทวงั กรรมการ
2. นางสาวรัตนา ปัตถามัง กรรมการ
3. นางสาวฐติ ิพร ดีเจรญิ กรรมการ
4. นางสาวพรทิพย์ เรืองปราชญ์ กรรมการและเลขานกุ าร
5. นางสาวสุพัตรา เรืองปราชญ์
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มเี ปา้ หมายวิสัยทศั น์ และพนั ธกิจทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้ือตอ่ การจัดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
ประกอบด้วย
1. นางสาวฮุสนา เรืองปราชญ์ ประธานกรรมการ
2. นางสาวสกุ ญั ญา ป่ินปัก กรรมการ
3 .นางสาวสุพตั รา เรอื งปราชญ์ กรรมการ
4. นายสุวฒั น์ สุขวหิ าร กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
3.1 จดั การเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้
3.2 ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู ี่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้
3.3 มีการบริหารจัดการช้นั เรียนเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน
3.5 มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรแู้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพอื่ พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้
ประกอบดว้ ย
1. นางสาวสกุ ัญญา ป่นิ ปัก ประธานกรรมการ
2. นางสาวฐิตพิ ร ดเี จรญิ กรรมการ
3. นางเกษร แจง้ มงคล กรรมการ
4. นายสรศักด์ิ ธนภทั รพงศ์ กรรมการและเลขานุการ
41
4. คณะกรรมการดำเนนิ งานมาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย มีจำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ เดก็ เป็นสำคัญ
แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดังน้ี
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก มี 4 เป้าหมายการพฒั นา
1.1 มพี ฒั นาการดา้ นร่างกายแขง็ แรง มีสุขนิสยั ทดี่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้
1.2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.3 มีพฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสังคม
1.4 มพี ฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มี 6 เปา้ หมายการพัฒนา
2.1 มีหลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทงั้ 4 ด้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถิ่น
2.2 จดั ครูใหเ้ พยี งพอกบั ช้ันเรยี น
2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชีย่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์
2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพอื่ การเรยี นรู้อย่างปลอดภัย และเพียงพอ
2.5 ให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ สารการเรียนรู้เพ่อื สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผูเ้ กยี่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เดก็ เปน็ สำคญั มี 4 เป้าหมายการพัฒนา
3.1 จัดประสบการณ์ทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทกุ ดา้ นอย่างสมดุลเต็มศกั ยภาพ
3.2 สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสุข
3.3 จดั บรรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนร้ใู ช้ส่อื และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวัย
3.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรับปรุงการจัด
ประสบการณ์และพฒั นาเดก็
ประกอบด้วย
1. นางสาวกมลรัตน์ มาลยั ประธานกรรมการ
2. นางสาวพรทิพย์ เรอื งปราชญ์ กรรมการ
3. นางสาวฐิตพิ ร ดเี จริญ กรรมการ
4. นางสาวสกุ ญั ญา ปนิ่ ปัก กรรมการ
5. นางสาวรตั นา ปตั ถามงั กรรมการและเลขานุการ
42
ใหค้ ณะกรรมการท่ไี ดร้ ับการแตง่ ต้งั ประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา สรุปรายงานประจำปี และจดั ทำ
รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาภายในตอ่ ต้นสงั กัด
ทง้ั น้ี ตง้ั แตว่ ันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2565
สง่ั ณ วันท่ี 2 มนี าคม พ.ศ. 2565
ลงช่ือ
(นางสาวฮุสนา เรอื งปราชญ์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนรุง่ วิทยาประชาอุปถมั ภ์
43
บันทึกการพิจารณาให้ความเห็นชอบ
เร่อื ง กำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประจำปี 2564
.................................................................................
การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนรุ่งวิทยาประชาอุปถัมภ์ ครั้งท่ี 1/2564 เมื่อวันท่ี
16 พฤษภาคม 2564 ได้พิจารณา กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษา
ปฐมวัย เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ประจำปี 2564 มมี ตเิ หน็ ชอบ และรบั รอง ค่าเป้าหมายตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา
ประจำปี 2564 ให้นำไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารการจดั การ ของสถานศกึ ษาตอ่ ไป
(ลงชอ่ื )………………………………………………
(นายอนวุ ฒั น์ เรืองปราชญ)์
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา
44
หนงั สอื ใหค้ วามเห็นชอบรายงานการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาประจำปีการศึกษา 2564
.................................................................................
ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนรุ่งวิทยาประชาอุปถัมภ์ อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ได้ให้ความเห็นชอบ รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาประจำปีการศึกษา 2564
ทั้งนี้ให้โรงเรยี นนำขอ้ มลู ที่ได้จากการประเมิน ภายในไปพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและเผยแพร่ต่อหนว่ ยงานท่ี
เกี่ยวขอ้ งต่อไป
ลงชือ่ .........................................................
(นางสาวฮุสนา เรืองปราชญ์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนรงุ่ วทิ ยาประชาอุปถัมภ์
ลงชื่อ................................. .........................
(นายอนุวัฒน์ เรืองปราชญ์)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา
โรงเรียนรงุ่ วิทยาประชาอปุ ถมั ภ์
45
ตารางกราฟตามตวั ชวี้ ดั ในแต่ละมาตรฐาน
1.ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีพัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยทีด่ ี และดูแลความปลอดภยั ของ
ตนเองไดช้ น้ั อนุบาลปีท่ี 2 -3 จำแนกตามระดบั คุณภาพ
2. ร้อยละของจำนวนนักเรยี นท่ี มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้
ช้นั อนบุ าลปีที่ 2 -3 จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ
46
2. รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นที่ มีพัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ีดีของ
สงั คมช้ันอนบุ าลปีที่ 2 -3 จำแนกตามระดับคุณภาพ
4.รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคดิ พ้ืนฐาน และแสวงหา
ความร้ไู ด้ชั้นอนุบาลปที ี่ 2 -3 จำแนกตามระดบั คุณภาพ
47
กิจกรรมการเรยี นการสอน ระดับปฐมวยั
กจิ กรรมเสริมประสบการณ์
กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์
48
กิจกรรมกลางแจ้ง
กิจกรรมเล่นตามมุม
49
กิจกรรมเกมการศกึ ษา
กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบ Project Approach
50
กจิ กรรมการทดลองวิทยาศาสตร์