สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั สรุ นิ ทร
กตแ าิดบรตตบารมรวปจารระยาเมชงนิ กาผานรลและ
ศกากึ รษจาดั ธกกิ าารรศรกึ อษบาทขี่อ๒งกระทรวง
ประจำปง บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒
ของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั สรุ นิ ทร
และหนว ยงานการศึกษาในจังหวดั สรุ นิ ทร
เอกสารหมายเลข ๒๙/๒๕๖๒ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั สุรินทร
กลุม งานสนบั สนุนการตรวจราชการ กลุม นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
คานา
กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้มีแผนการตรวจราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ เพ่ือเป็น
กรอบและแนวทางในการปฏิบัติงานตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการในระดับเขตตรวจ
ราชการและจังหวัด และสามารถปฏิบัติการตรวจราชการกับหน่วยงานสนับสนุนการตรวจราชการอย่างมี
ระบบ มีประสิทธิภาพและรายงานผลความก้าวหน้า ความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแ นะต่อ
ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการต่อไป
ในการนี้ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ได้จัดทาผลการดาเนินงานตามนโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ รอบที่ ๒ โดยไดร้ บั การตรวจราชการตามนโยบายจาก
ท่านผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณรงค์ แผ้วพลสง) ลงพื้นท่ีวิทยาลัยการอาชีพท่าตูม จังหวัด
สรุ ินทรเ์ ป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ขอขอบพระคุณ หน่วยรับตรวจสังกัดกระทรวงศึกษาธิการใน
จังหวัดสุรินทร์ท่ีได้ให้การต้อนรับผู้ตรวจราชการและคณะ พร้อมท้ังอนุเคราะห์ข้อมูลการตรวจราชการมา ณ
โอกาสนดี้ ว้ ย
สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ ินทร์
กนั ยายน ๒๕๖๒
สารบัญ หน้า
ก
เรื่อง
1
คานา ๓๘
สารบัญ ๔๖
ผลการตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ๕๑
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรอบท่ี ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ ๕8
สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์ ๖๖
นโยบายท่ี 1 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ๗4
๗5
1.1 หลกั สตู ร/การจัดการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผลผเู้ รยี น ๙1
1.2 การจดั การศึกษาเพื่อการสรา้ งความเป็นพลเมอื ง (civic education) 1๐๑
1.3 การพฒั นามาตรฐานการศกึ ษาและกระบวนการคุณภาพการศกึ ษา
นโยบายที่ ๒ การลดความเหล่อื มลา้ ทางการศกึ ษา
2.1 การเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาทีม่ ีคุณภาพในทุกระดับการศึกษา
2.2 โครงสร้างพน้ื ฐานและส่งิ อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ และการเข้าถึงองค์ความรู้
นโยบายที่ 3 การสร้างความเปน็ เลศิ และสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
3.1 การเพิ่มศักยภาพผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับกลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
ประเทศ นโยบายประเทศไทย 4.0 และความสามารถในการแข่งขนั
3.2 หลกั สูตรการผลิตกาลังคนท่ีตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ
นโยบายท่ี 4 การเพ่มิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
4.1 การเพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารจดั การ
นโยบายที่ 5 การบรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
5.1 การพฒั นาครูทง้ั ระบบ เพอื่ การจดั การเรยี นรู้แนวใหม่
นโยบายท่ี 6 การขบั เคลื่อนการบรู ณาการดา้ นการศึกษาระดับภมู ิภาค
6.1 การขบั เคลอ่ื นคุณภาพการศึกษาท่สี อดคล้องกับทิศทางการพัฒนาจังหวดั
กลมุ่ จังหวดั และภาค
ภาคผนวก
- ภาพกิจกรรม
- ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยการตรวจราชการ การตดิ ตามตรวจสอบ และประเมนิ ผล การ
จดั การศึกษา พ.ศ.๒๕๖๐
- คาสัง่ กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป. ๑๔๓๓/๒๕๖๑ เรอ่ื ง มอบหมายให้ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ ารรับผดิ ชอบเขตตรวจราชการ
- คาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สป. ๑๖๕๕/๒๕๖๑ เรือ่ ง นโยบายการตรวจราชการ และตดิ ตาม
ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
- ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง นโยบายและจดุ เน้นการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร
ปีงบประมาณ ๒๕๖๒
- คาส่งั สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั สุรินทร์ ที่ ๓๒๑/๒๕๖๒ เรอ่ื ง แต่งตัง้ คณะกรรมการรบั ผิดชอบ
นโยบายการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒
- รายงานการประชมุ คณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวดั สุรนิ ทร์ ครงั้ ท่ี ๒/๒๕๖๒
คณะทางาน
แบบรายงานการตรวจราชการ และติดตามประเมนิ ผล แบบ รต. 62
การจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
ของ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสรุ ินทร์ (รอบที่ ๒)
ผลการติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาตามประเด็นนโยบายการตรวจราชการ และติดตาม
ประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในแต่ละประเด็นนโยบายและตัวชี้วัด ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานศึกษาธิการภาค/สานักงานศึกษาธิการจังหวัด/หน่วยงานการศึกษา
ในจงั หวดั สรุปได้ดังนี้
1. นโยบาย : การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา
ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :
1.1 หลกั สตู ร/การจัดการเรียนการสอน การวดั และประเมินผลผูเ้ รียน
1.1.1) STEM/ STEAM /STREAM
ตัวช้วี ดั : รอ้ ยละของครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอรท์ ีไ่ ดร้ ับการพัฒนา STEM Education
ผลการดาเนินการ
จานวนครูผสู้ อนวิทยฯ์ คณิตฯ คอมฯ จานวนครูที่ได้รบั การพัฒนาตามโครงการบรู ณาการสะเต็มศกึ ษาของ สสวท.
สงั กดั ระดบั ระดับม. ระดบั ระดับ ระดับ STEM/STEAM/STREAM
ประถม ต้น ม.ปลาย ปวช. ปวส. ระดับ คิดเปน็ ระดบั คิดเป็น ระดบั คดิ เป็น ระดับ คิดเปน็ ระดบั คดิ เปน็
(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) ประถม ร้อยละ ม.ตน้ รอ้ ยละ ม.ปลาย รอ้ ยละ ปวช. รอ้ ยละ ปวส. ร้อยละ
สพป. 1,906 951 31 - - (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)
676 35.47 232 24.40 - -
สพม. - 436 658 - - - - 57 13.07 59 8.96
สช. 39 11 4 - - 19 48.72 4 36.36 1 25
สอศ. - - - 56 ๑๙ ๒๕ ๔๔.๖๔ ๘ ๔๒.๑๐
โสตฯ 8 6 3 1 8
สกอ. 3 4 3 - - - - - - - -
รวม 1,956 1408 699 57 19 695 35.53 293 20.81 60 8.58 ๒๕ ๔๓.๘๖ ๘ ๔๒.๑๑
สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพ้นื ที่ตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เป็นอย่างไร
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) นักเรียนทุกระดับช้ันจัดกิจกรรม STEM
ภาคเรยี นละ 1 เรอ่ื ง 2) ครูสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาได้ 3) นักเรียนได้รับการพัฒนาให้
มีทักษะการแกป้ ัญหา การคดิ แบบมวี ิจารณญาณและทักษะชีวติ
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๑ พบว่า ๑) สพป.สรุ นิ ทร์ เขต ๑
คัดเลือกศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียนและครูพ่ีเล้ียงแกนนาสะเต็มศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการขับเคลื่อน
STEM Education เข้ารับการพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ณ จุดอบรมที่
สสวท.กาหนด ๒) สพป.สุรินทร์ เขต ๑ จดั ทาโครงการของบประมาณสนับสนุนการขับเคลอื่ นสะเต็มศึกษา จาก
สสวท. เพอื่ เปน็ หนว่ ยจัดอบรมพัฒนาครูพเ่ี ลยี้ งสะเต็มศกึ ษาด้วยระบบทางไกล ให้แก่โรงเรียนศูนย์ฝึกอบรมสะ
เต็มศึกษาในสังกัด สพป.สร.๑,๒,๓ สช, อปท. และ สพม.๓๓ ๓) สสวท. จัดสรรงบประมาณให้เขตพ้ืนท่ีผ่าน
๒ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
สพฐ.เพ่ือดาเนินการจัดอบรมพัฒนา ๕ร พี่เลยี้ งสะเตม็ ศึกษาดว้ ยระบบทางไกล ๔) สพป.สุรินทร์ เขต ๑ แต่งตั้ง
คณะกรรมการดาเนนิ งานขับเคลอ่ื นโครงการขบั เคล่อื น STEM Education ๕) สพป.สรุ นิ ทร์ เขต ๑ จัดประชุม
คณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการ ขับเคลื่อน STEM Education ๖) สพป.สุรินทร์ เขต ๑ เป็นศูนย์
ฝึกอบรมครูพีเ่ ล้ยี งทางไกลสะเต็มศกึ ษาดาเนินงานตามโครงการ ฯ ให้แก่โรงเรียนศูนย์ฝึกอบรมสะเต็มศึกษาใน
สังกดั สพป.สร.๑,๒,๓ สช, อปท. และ สพม.๓๓ ตามโควตาท่ีกาหนด ดงั น้ี
ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ วนั ท่ี 17-19 มนี าคม 2561
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ วันที่ 24-26 มนี าคม 2561
ระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย วนั ท่ี 31 มนี าคม – 2 เมษายน 2561
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย วันท่ี 7-9 เมษายน 2561
ลาดบั รหัสโรงเรยี นศนู ย์ รายชอื่ โรงเรียน จานวนผเู้ ข้าอบรม รวม
ป.1-3 ป.4-6 ม.ตน้ ม.ปลาย 9
9
1 561 บา้ นกาเกาะระโยง 3 3 3 0
9
2 562 อนบุ าลรัตนบุรี 3 3 3 0
6
(ม.ตน้ : บ้านหนองบวั บาน
6
2,บ้านนา้ เขยี ว1) 6
6
3 563 สงั ขะวทิ ยาคม 3 3 3 0 9
4 564 สิรินธร 003 3 20
5 565 วาณิชย์นกุ ลู 330 0 80
6 566 อนบุ าลทองอนุ่ 330 0
7 567 เทศบาล 2วิภชั ศึกษา 3 3 0 0
8 568 เทศบาลท่าตูม 3 3 3 0
9 - คณะทางาน 5 5 5 5
รวม 26 26 20 8
๑.๗ สพป.สรุ ินทร์ เขต ๑ รว่ มกบั โรงเรยี นบ้านกาเกาะระโยง ซึ่งเป็นโรงเรียนศนู ย์ฝึกอบรม
ครูทางไกลสะเต็มศึกษา ของเขตพ้ืนที่ ได้ดาเนินการพัฒนาครูท่ีสนใจสมัครอบรมครู สะเต็มศึกษาด้วยระบบ
ทางไกล จานวน ๓ รุ่น ๆ ละ 60 คน รวม 1๘0 คน ดงั น้ี ๑)ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น วันท่ี 5 - 7 เดือน
พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สถานที่อบรม ห้องประชุมเชียงปุม สพป.สุรินทร์ เขต 1 ๒)ระดับ ประถมศึกษา
ตอนต้น วันที่ 26 -28 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สถานที่อบรม ห้องประชมุ เชียงปุม สพป.สุรินทร์ เขต 1
๓) ระดับ ประถมศึกษาตอนปลาย วันท่ี 19-21 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สถานที่อบรม ห้องประชุม
เชยี งปมุ สพป.สรุ ินทร์ เขต 1
สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) สานักงานเขตพื้นท่ีได้
กาหนดเป้าหมายการพัฒนาครูผู้สอนวิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ STEM Education ในสังกัดเป็นช่วงช้ัน 3 ช่วงช้ัน
คือ ป.1-3 , ป.4-6 และ ม.1-3 ๒) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาพัฒนาครูผู้สอนวิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ STEM
Education ในสังกัดเปน็ ช่วงช้นั 3 ช่วงชน้ั คือ ป.1-3, ป.4-6 และ ม.1-3 ไดร้ อ้ ยละ 100 ๓) ครูผู้สอนวิทย์ฯ
คณติ ฯ คอมฯ มคี วามร้คู วามเข้าใจการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๓
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า ๑) เชิงปริมาณ
1.1 ครผู ่านการอบรมเพื่อเป็นครูพ่ีเลี้ยงการจัดการเรียนรู้ STEM ศึกษาท้ังระดับปฐมวัยและระดับการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน จานวน 19 คน 1.2 ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรียนศูนย์ฝึกอบรมและให้คาปรึกษาหลักสูตร
ฝึกอบรมสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) รหสั ประจาศนู ย์ สพฐ.045 โรงเรียนสงั ขะวิทยาคมจานวนพ่ีเล้ียงที่
ผ่านการอบรม 9 คน 1.3 ระดับการศึกษาปฐมวัย มีครูผ่านการอบรมเพื่อเป็นพ่ีเล้ียงประจาศูนย์ฝึกอบรม
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 10 คน ดังน้ี ศึกษานิเทศก์ จานวน 1 คน
โรงเรียนราษฎร์พัฒนา จานวน 3 คน โรงเรียนบ้านโชคนาสาม จานวน 1 คน โรงเรียนบ้านสังขะ จานวน 1
คน โรงเรียนบ้านเจ้าคุณ จานวน 1 คน โรงเรียนอนุบาลปราสาทศึกษาคาร จานวน 2 คน และโรงเรียนบ้าน
กาบกระบอื จานวน 1 คน ครผู ู้สอนทผี่ ่านการอบรม ดังนี้
1. ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น จานวน 60 คน
๒. ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย จานวน 60 คน
๓. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 60 คน
๔. ครูท่ีผา่ นการอบรมจากหน่วยงานอ่ืน จานวน 21 คน
๒) เชิงคุณภาพ ๒.1) ครพู เี่ ลีย้ งการจดั การเรียนรู้ STEM ศึกษาทั้งระดบั ปฐมวัยและ
ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน จานวน 19 คน เข้ารับการอบรมและมีทักษะในการเป็นพ่ีเล้ียงการอบรมเพ่ือขยาย
ผลให้ครูที่เข้ารับการอบรมด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม ท้ัง 4 รุ่น ๒.๒) ครูที่เข้ารับการอบรมมีความรู้
ทักษะในการอบรม ผ่านการอบรมโดยการทาข้อสอบออนไลน์ทุกคน ผลการดาเนินงาน 1. ครูท่ีเข้ารับการ
อบรมขยายผล มีความรู้และทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับที่น่าพอใจ โดยเห็นได้จากผล
การสอบวัดความรู้หลังการอบรมครูสามารถทาได้ผ่านเกณฑ์ทุกคน 2. จากการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียน
การสอนของตามนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้เชิงรุก Active Leaning พบว่าครูมีการนาความรู้จากการอบรมไป
จดั กจิ กรรมในช้นั เรยี นเพือ่ เพมิ่ ทกั ษะการเรยี นรู้ STEM ศึกษาให้กับนกั เรียน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า ๑) มีการการพัฒนาตาม
โครงการบรู ณาการสะเต็มศกึ ษา ของ สสวท. โดยสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ มีโรงเรียน
ศูนย์ฝึกอบรมและให้คาปรึกษาสะเต็มศึกษาประจาจังหวัดสุรินทร์ (โรงเรียนพ่ีเล้ียงสะเต็มศึกษา) คือ โรงเรียน
สิรินธรได้ดาเนินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา โดยให้มีการอบรมครูด้วยระบบทางไกล
ในช่วงเดือนเมษายน–พฤษภาคมพ.ศ. ๒๕๖๒ แก่ครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีจากโรงเรียนใน
โครงการขับเคลอื่ นโรงเรียนจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๙ ตามนโยบายการจัดการเรียนการสอนสะเต็ม
ศึกษาในสถานศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ๑๐ โรง และโรงเรียนในโครงการพัฒนาศักยภาพครูเพื่อการจัดการ
เรียนรู้แบบบูรณาการ “สะเต็มศึกษา: ต้นกล้า Smart Trainer Team” อีกจานวน ๑๐ โรง รวมท้ังครูผู้สนใจ
ซ่ึงรับสัญญาณมาจาก สสวท. ใน ๒ ช่วง ดังน้ี ช่วงที่ ๑ วันท่ี ๙-๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น เรื่องขนส่งทันใจ ล่ืนไถลก็ไม่กลัว และช่วงที่ ๒ วันท่ี ๑๗-๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย เร่อื งตรวจพนั ธ์ุทนั ด่วน รับเข้าอบรมได้จุดละ ๖๐ คน ปรากฏว่าครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สมัคร
เข้าอบรมจานวน ๖๐ คน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สมัครเข้าอบรม จานวน ๖๐ คน ครูทุกคนได้ร่วม
กิจกรรมครบและสอบผ่านตามหลักสูตร และมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ๒) มีการ
ขับเคล่ือนนโยบาย ท่ีได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือกับเครือข่ายต่างๆ เช่น ๒.๑ โครงการขับเคลื่อน
โรงเรียนจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๙ ตามนโยบาย การจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษาใน
สถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (สพฐ.) ๒.๒ โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวิทย์พลังคิดเพ่ือ
อนาคต” มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ร่วมกับสถาบันคีนันแห่งเอเชีย ๒.๓ สถานศึกษาในเครือข่ายการจัดการ
เรียนรสู้ ะเต็มศึกษา ซ่ึงมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ ินทร์ ได้ทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับ สสวท. (โดย
๔ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
วิทยากรท้องถ่ินด้านสะเต็มศึกษา (Local trainers) ๒.๔ โครงการพัฒนาศักยภาพครูเพื่อการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการ “สะเตม็ ศกึ ษา: ต้นกล้า Smart Trainer Team” (สพฐ.) ๓) ผลการนิเทศติดตามทุกโรงเรียนใน
สังกัด โดยภาพรวมพบว่า ๓.๑ สื่อและนวัตกรรมที่โรงเรียนใช้เป็นสื่อหลักคือ เอกสารคู่มือ/ชุดกิจกรรมการ
จัดการเรียนรู้ที่ออกแบบโดย สพฐ. ซ่ึง สพม.๓๓ ได้ส่งให้กับโรงเรียนในโครงการฯ ส่วนโรงเรียนทั่วไป
ดาเนินการตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ศูนย์พัฒนาสะเต็มศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาได้อบรมให้ และทุก
โรงเรียนไดม้ ีการสบื คน้ จากส่ือและแหลง่ ตา่ งๆ บนเว็บไซต์ เพือ่ มาใชป้ ระยุกต์ให้เหมาะสมกบั บริบทของนักเรียน
แต่ละโรง ๓.๒ นวตั กรรมการขบั เคลื่อนการจัดการเรียนรสู้ ะเต็มศกึ ษาท่ีพบคือ โรงเรียนมีกิจกรรมการเรียนการ
สอนท่ีเน้นการปฏิบัติจริงและเช่ือมโยงสื่อวัสดุต่างๆในท้องถิ่น/แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียน
การสอนโดยให้นกั เรยี นใหค้ ิดออกแบบและสร้างชิ้นงานท่ีประยุกต์จากวัสดุในท้องถิ่นและมีการพัฒนาการสอน
ท่เี น้นการทาควบคู่กับกจิ กรรมโครงงานในวิชาเรยี นและใชก้ ารวิจัยเป็นฐานในการเรียนรู้ ๓.๓ ในบางโรงเรียนมี
ผลงานทโ่ี ดดเดน่ ด้านสะเตม็ ศึกษา ท้งั ผู้บริหาร ครู และนกั เรียนซึ่งมีส่ือนวัตกรรมต่าง ๆ ได้เผยแพร่ช้ินงานผ่าน
ทางส่อื สังคมออนไลนต์ ่าง ๆ และมีรางวัลในระดับประเทศ เช่น โรงเรียนสิรินธร โรงเรียนสุรวิทยาคาร โรงเรียน
ตาเบาวิทยา โรงเรียนบัวเชดวิทยา โรงเรียนชุมพลวิทยาสรรค์ โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ โรงเรียนจอม
พระประชาสรรค์ และโรงเรยี นรตั นบรุ ี เปน็ ตน้
สถาบันการอาชีวศกึ ษาสุรินทร์ พบว่า ๑) สถานศึกษาในสังกัดได้ตระหนักถึงความสาคัญ
ของการจัดการเรียนรู้ด้าน STEM Education เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
ภายใต้นโยบายประเทศไทย 4.0 โดยครูบูรณาการจัดการเรียนการสอน STEM Education ประยุกต์การสอน
ด้วยศาสตร์ จานวน 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์
(Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) บูรณาการเข้าด้วยกันในการจัดการเรียนการสอนจนผู้เรียน
สามารถพัฒนานวัตกรรม นาเทคโนโลยีมาบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ จึงเกิดนวัตกรรมใหม่
ทางการศกึ ษา ต่อยอดไปเรื่อยๆ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถคิดเชิงวิเคราะห์ คิดเชิงสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มี
เหตุมีผล ทางานเป็นทีม ใช้เทคโนโลยีแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองได้ ๒) สถานศึกษาใน
สังกัด มีความตระหนักในการพัฒนาครู โดยดาเนินการอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา ในปีการศึกษา
2561 เพ่ือนาวธิ ีการสะเต็มไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนและการพฒั นางาน
๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพอ่ื แกป้ ัญหา)
โรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวัดสุรนิ ทร์ พบวา่ 1) มกี ารประชมุ วางแผนการดาเนนิ งานกิจกรรม
STEM ในแต่ละสายชั้น 2) ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมในแต่ระดับชั้น 3) ส่งเสริมบรรยากาศการ
เรียนรู้ 4) ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรม STEM อย่างท่ัวถึง 5) กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครูกับนักเรียนใน
เรื่อง STEM ศกึ ษา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) ต้นสังกัดสนับสนุน
งบประมาณในการพัฒนาบุคลากรวิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ ในสังกัด ๒) ต้นสังกัดมีโครงการสรรหาบุคลากรวิทย์ฯ
คณติ ฯ คอมฯ ในสงั กัดให้โรงเรียนท่ีขาดบุคลากรวิทย์ฯ คณิตฯ ๓) พัฒนาบุคลากรโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการ
ในการสร้างความรู้ความเข้าใจ ๔) มีโรงเรียนต้นแบบการจัดการศึกษาตามแนวทางสะเต็มศึกษา ๕) สานักงาน
เขตพ้ืนทม่ี โี ครงการพฒั นาทกั ษะการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 พบว่า ได้โครงการดาเนินการ
ส่งเสริมการจัดการเรยี นร้ตู ามแนวทางการขับเคลอื่ นการจัดการเรียนรู้ STEM ศึกษา โดย ผอ.สพป.สุรินทร์ เขต
3 ได้มีนโยบายสนับสนุนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ท้ังนี้ได้จัดให้มีการอบรมครูด้วยระบบ
ทางไกลผ่านดาวเทียมทั้งระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษาตอนปลาย และระดับ
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๕
มัธยมศึกษาตอนต้น โดยมีการนิเทศติดตามให้ข้อแนะนาการจัดการเรียนรู้ของครูที่ผ่านการอบรมและจัดตั้ง
กลุ่มไลน์เพื่อการติดตามการจัดการเรียนรู้และตอบข้อซักถาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้(PLC)กับเพื่อนในกลุ่ม ท้ังน้ี
เพื่อเปน็ การสร้างสัมพันธภาพทดี่ ีระหวา่ งครูและศึกษานเิ ทศก์ในการตดิ ตามการจดั การเรยี นรู้ STEM ศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า การดาเนินงานขับเคลื่อน
หลักสูตรและการสอนตามแนวสะเต็มศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ มีดังนี้ ๑)
ภาวะการนาของผู้บริหารเขตพื้นท่ีการศึกษา ท่ีให้ความสาคัญ สร้างความตระหนักแก่ผู้บริหารสถานศึกษาทุก
โรง และประกาศในเชิงนโยบาย รวมท้งั มกี ารกากับติดตาม ๒) การสง่ เสริม สนบั สนนุ สถานศึกษาจากสานักงาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ไดแ้ ก่ การจัดประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร การอบรมด้วยระบบทางไกล การนิเทศติดตาม การจัด
กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้และวิพากษ์ผลงานการให้รางวัลเชิดชูเกียรติครูและสถานศึกษา ๓) มีโรงเรียนที่ทา
หนา้ ทพี่ เ่ี ลี้ยง แกนนา หรือเปน็ ศนู ย์พัฒนา ทีม่ คี วามเข้มแข็ง ได้แก่ โรงเรียนสิรินธร โรงเรียนท่าตูมประชาเสริม
วิทย์ โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ และโรงเรยี นบัวเชดวิทยา
สถาบันการอาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า สถานศึกษาในสังกัดได้จัดกิจกรรมส่งเสริม
สนับสนุนให้ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์และครูผู้สอนทุกคนได้รับการพัฒนา STEM
Education โดยการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการบูรณาการ STEM Education เพ่ือสร้างนวัตกรรมสู่เชิง
พาณิชย์ ประจาปีการศึกษา 2561 และส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาวิชาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง
รวมทั้งสถานศึกษาเป็นหน่วยพัฒนาครูของสถาบันคุรุพัฒนา ในหลักสูตรการจัดการเรียนรู้บูรณาการสะเต็ม
ศึกษาการปลูกฝังแนวคิดในการออกแบบนวัตกรรมเชิงพาณิชย์สาหรับครูผู้สอนวิชาชีพ รหัสหน่วยพัฒนา
0994000325029 และหลักสูตรการสร้างชุดการสอนโดยเน้นกระบวนการวัฎจักรการเรียนรู้แบบ ๔MAT
เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนศตวรรษท่ี 21 สาหรับครูผู้สอนวิชาทฤษฎีระดับกลาง รหัสหลักสูตร
6255182014 และครูได้รับการอบรมหลักสูตร Design Thinking Immersion and Entrepreneurship
for Innovation Programme under the Temasek Foundation International – ITE Education
Services Technical and Vocational Education and training ณ ประเทศสิงคโปร์ ซ่ึงครูผู้สอนการบูรณา
การ STEM Education สู่รายวิชาให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ศึกษา ค้นคว้า คิดค้น สร้างนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์
งานสรา้ งสรรค์ ภายใตโ้ ครงการ/กิจกรรม ดังน้ี เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์อาชวี ศึกษา-เอสโซ่ โครงการวิชาชีพ
โครงการจัดค่ายคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และโครงการจัดทาสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ และการประกวด
ผลงานสะเต็มศึกษา (STEM Education) วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสรุ นิ ทร์ ไดร้ ับได้รับรางวลั เชิดชเู กยี รตดิ ังนี้
1) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันทักษะการแก้ไขปัญหาโดยใช้กระบวนการสะ
เต็มศึกษา ในการกระกวดและแข่งขันทักษะวิชาชีพทักษะพื้นฐานและหลักสูตรระยะส้ัน ระดับอาชีวศึกษา
จงั หวดั สรุ ินทร์ ปีการศึกษา 2561 ระหวา่ งวนั ท่ี 29 - 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2561
2) เกียรติบัตรเข้าร่วมการวิจัยหลักของโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ
PISA 2018 โดยสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
3) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับเหรียญทอง ระดับชาติ องค์ความรู้การนาเสนอ
ผลงานวิจัยนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ภาคภาษาอังกฤษ ผลงาน “พายไทย” รับโล่รางวัล
พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการประกวดสุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษา
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประจาปีการศึกษา 2561 วันท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2562
ณ ห้องไดมอนดฮ์ อลล์ ศนู ย์การคา้ เซียรร์ ังสิต อาเภอลาลกู กา จังหวัดปทมุ ธานี
4) รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 3 การพัฒนาขนมไหว้พระจันทร์ธัญพืชจากแป้งต่างชนิดกัน
ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสูง (ปวส.) การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์อาชีวศึกษา ประจาปีพุทธศักราช
๖ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
2561 ระหว่างวันท่ี 16 - 18 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทอง
ธานี จังหวดั นนทบรุ ี
5) รางวัลชมเชย การแข่งขันทักษะการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ผลิตหนังสือราชการ
ภายนอก ในการประชุมทางวิชาการและแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับชาติ ปีการศึกษา 2561 ระหว่าง
วนั ที่ 2 – 4 กุมภาพนั ธ์ 2562 ณ จงั หวัดสุราษฎร์ธานี
6) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 4 การแข่งขันทักษะการขายออนไลน์ ในการประชุมทาง
วชิ าการและแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาชีพ ระดับชาติ ปกี ารศึกษา 2561 ระหว่างวันที่ 2 – 4 กุมภาพันธ์ 2562
ณ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรินทร์ ได้ให้นักเรียนเรียนรู้STEAMโดยผ่าน โครงการแข่งขันจรวดขวดน้า เพ่ือให้นักเรียนเข้าร่วมโครงการ
ก่อให้เกิดความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีส่วนร่วมและเกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ในระดับมากท่ีสุดเท่ากัน
ก่อให้เกิดทักษะกระบวนการทางความคดิ ของนักเรียน
- นักเรยี นสามารถผา่ นเขา้ ไปแข่งระดบั ประเทศได้
- สร้างสรรคก์ ิจกรรมเวลาวา่ งนักเรียนให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด
- สามารถนาข้อมูลไปพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนให้ดยี ิ่งข้ึน
- ช่วยแก้ปัญหาการทางานเปน็ หมคู่ ณะที่มคี วามคิดเห็นตา่ งๆกันให้ดีข้นึ
๓. ปัญหา/อปุ สรรคทแ่ี ก้ไขไม่ได้ในระดับพน้ื ท่ี และขอ้ เสนอแนะระดับพ้ืนท่ี
ปัญหา/อุปสรรคท่แี กไ้ ขไม่ไดใ้ นระดับพ้นื ที่ ข้อเสนอแนะระดับพน้ื ที่
- ครูไม่ได้รับการอบรมเทคนิค STEM ศึกษา ของ - จดั อบรมเทคนคิ STEM ใหก้ ับครูผสู้ อน
สสวท. - จัดให้นกั เรียนได้ทากิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้
- นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน มีปัญหา
และข้อจากัดในการส่ือสาร ทาให้ความรู้บางอย่าง
หรือการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ต้องให้ล่าม
ภาษามอื อธิบายเพิ่มเตมิ
- นักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา เรียนรู้
ไดช้ า้ จาเปน็ ตอ้ งทากจิ กรรมทไ่ี มย่ ุง่ ยาก ซับซอ้ น
- ควรมีการพัฒนาบุคลากรวิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ ให้
ครบทุกชนั้ เรยี น
- ในระดับสถานศึกษา ครูยังขาดทักษะการใช้สื่อ - สนับสนุนและพัฒนาทักษะการใช้และการจัดทาส่ือ
อุปกรณ์ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ STEM ศกึ ษา การเรยี นการสอน STEM ศกึ ษาและการจัดการเรียนรู้
เชิงรุก Active Learning โดยผ่านการสนับสนุน
งบประมาณจากโรงเรียนให้ครูเพ่ือการจัดหาและ
จดั ทาสอื่
- ครูบางส่วนยังขาดการบูรณาการระหว่างกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ STEM เพ่ือจัดกิจกรรมการเรียนรู้
STEM ศึกษาภายในโรงเรียนเน่ืองจากครูไม่ได้เข้า
รับการอบรมทุกคน
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๗
ปญั หา/อุปสรรคท่แี กไ้ ขไมไ่ ด้ในระดบั พ้นื ท่ี ข้อเสนอแนะระดับพนื้ ที่
- ความต่อเน่ืองในการต่อยอดเพื่อขับเคลื่อนใน - ควรขับเคล่ือนด้วยอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์จากการ
ระดบั โรงเรียนอยา่ งยงั่ ยืน ประเมนิ ผลครู นักเรยี นและโรงเรียน
- การบริหารและการจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. และสรรหาวธิ ีการพฒั นาที่ต่อเนอื่ งเพื่อความยงั่ ยืน
เก่ียวกับการอบรมครูด้วยระบบทางไกล (ค่าใช้จ่าย - ควรจัดทาบันทึกข้อตกหรือความร่วมมือ(MOU)
และ ค่าวัสดุในการอบรม) กับความต้องการของครู ระหว่าง สพม.กบั โรงเรียนและครู
ที่สนใจอกี จานวนมาก - มอบหมายโรงเรียนศูนย์(พ่ีเลี้ยง)จัดอบรมเชิง
ปฏิบัติการร่วมกับการชมวิดีทัศน์ต้นฉบับจาก สสวท.
และในส่วนค่าลงทะเบียน ขอความร่วมมือเบิกจ่าย
จากโรงเรียนของครูที่สนใจ
4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่ือเป็นข้อส่ังการของผบู้ รหิ ารระดับสูง (ถา้ มี)
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า ๑) เนื่องจากโรงเรียน
ส่วนใหญ่ยงั ขาดแคลนครูผสู้ อนท่มี คี วามสามารถหรือมีความถนัด ด้านการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เห็นควร
ผลิตบุคลากรรองรับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริม สนับสนุนให้โอกาสครูได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถตาม
ความถนัดและความสนใจ ๒) งบประมาณ ส่ือวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม STEM Education มีจานวน
จากัด ทาให้การดาเนินงาน ไม่ประสบความสาเร็จเท่าท่ีควร ควรจัดสรรส่ือ วัสดุอุปกรณ์และงบประมาณ
สนับสนุนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาให้โรงเรียนอย่างเหมาะสมต่อไป ๓) นักเรียนยังขาดทักษะการคิด
วิเคราะห์ แก้ปัญหาและการนาไปใช้สร้างสรรค์ผลงานได้ไม่ดีเท่าที่ควร ควรจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัด
กิจกรรม PLC นิเทศ ติดตามการดาเนินงาน เพื่อสร้างขวัญกาลังใจให้โรงเรียน ครู นักเรียนอย่างจริงจังและ
ต่อเน่ือง
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) ส่งเสริมงบประมาณ
ให้เพยี งพอในการพัฒนา ๒) สง่ เสริมกิจกรรมสรรค์หานวัตกรรมต้นแบบเพื่อเป็นแบบอย่างเผยแพร่ ๓) จัดสรร
บุคลากรวิทยฯ์ คณติ ฯ คอมฯให้สถานศกึ ษาเพยี งพอ
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า ๑ ) ค ว ร เ พิ่ ม บ ท บ า ท ก า ร
ขับเคลื่อนแต่ละหน่วยขับเคล่ือนระดับจังหวัดหรือระดับภาค และเพ่ิมจานวนในการรับเข้าอบรมด้วยระบบ
ทางไกล แต่ทั้งนีอ้ าจยังเก่ยี วพันกับการบริหารและการจัดสรรงบประมาณ เพราะมีค่าใชจ้ า่ ยและค่าวัสดุในการ
อบรม รวมท้ังมีการติดตามการนาองค์ความรู้ไปใช้ในระดับชั้นเรียนอย่างจริงจัง เพ่ือคานวณความคุ้มค่าตาม
หลกั ต้นทนุ ผลิต ๒) หนว่ ยงานต้นสังกัดควรใหค้ วามจริงจังในการขบั เคลอ่ื น และสรรหาวิธใี นการสร้างความเชื่อ
ทจี่ ะพฒั นาและขับเคล่อื นที่เป็นรูปธรรมของผู้ท่ีจะสามารถนาการเปลี่ยนแปลงและปฏิบัติในระดับสถานศึกษา
ท่ีจริงจัง และเสริมขวัญกาลังใจ รวมท้ังควรสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเชี่ยวชาญ/สถาบันอุดมศึกษามา
ช่วยสนบั สนนุ การขบั เคลื่อน
๘ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
การจัดการเรยี นร้ดู ้าน STEM Education เพอื่ พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ คี ณุ ลักษณะของผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21
ภายใตน้ โยบายประเทศไทย 4.0 โดยครูบรู ณาการจัดการเรยี นการสอน STEM Education
โครงการอบรมการจัดการเรียนรบู้ ูรณาการสะเตม็ ศึกษา การปลกู ฝงั แนวคดิ ในการออกแบบ
นวัตกรรมเชงิ พาณชิ ย์ สาหรับครูผูส้ อนวิชาชพี ระหว่างวันที่ 7 - 9 มิถุนายน 2562
ณ ศนู ยว์ ิทยบริการ วิทยาลยั อาชีวศึกษาสรุ นิ ทร์
คณะครูและบคุ ลากรในสังกัด ไดผ้ า่ นการฝึกอบรม
มีการบูรณาการสะเต็มศึกษาเข้าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๙
ครผู ู้สอนในสังกดั ไดร้ ับการพัฒนา STEM Education ในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการบูรณาการ
STEM Education เพอื่ สร้างนวตั กรรมสูเ่ ชงิ พาณชิ ย์ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑
ณ หอ้ งประชุมศนู ย์วิทยบรกิ าร วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ ินทร์
1.1.2) หลักสูตร Waldorf/Montessori/High/Scope/BBL/PBL
ตวั ชี้วัด : ร้อยละของสถานศกึ ษาทจ่ี ัดหลักสูตร/การจดั การเรียนการสอนปฐมวัย
ผลการดาเนินการ
จานวนสถาน จานวนสถานศกึ ษาทจี่ ดั การศกึ ษาปฐมวยั ที่จดั หลักสตู รเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2561
ศกึ ษาทจี่ ดั Waldorf Montessori High Scope
การศกึ ษา BBL PBL อื่นๆ
ปฐมวยั ทั้งหมด
สังกัด ดาเนิน คิด ดาเนนิ คดิ ดาเนนิ คิด ดาเนนิ คดิ ดาเนนิ คิด ดาเนิน คดิ เปน็
(แห่ง) การ เปน็ การ เปน็ การ เปน็ การ เปน็ การ เป็น การ ร้อยละ
(แห่ง) รอ้ ยละ (แห่ง) รอ้ ยละ (แหง่ ) รอ้ ยละ (แหง่ ) รอ้ ยละ (แหง่ ) รอ้ ยละ (แหง่ )
สพป. 741 - - 28 3.78 - - 297 40.08 252 34.01 218 29.42
สช. 4 1 25 1 25 1 25 2 50 1 25 2 50
สกอ. ๑ ----------- -
อปท. - ----------- -
พม. - ----------- -
โสตฯ 1 - - - - - - 1 100 - - - -
รวม 747 1 0.13 29 3.88 1 0.13 300 40.16 253 33.87 220 29.45
* อนื่ ๆ (สพป.สร.๒) หมายถงึ การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษาในระดับปฐมวยั
สรุปผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพน้ื ท่ีตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เปน็ อย่างไร
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) ครูสามารถบูรณาการกิจกรรม BBL ใน
กจิ กรรมการเรียนการสอน 2) นกั เรียนใชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ เรยี นรู้ BBL เก่ียวกับพยัญชนะภาษาองั กฤษ
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๑ พบวา่ ๑) สถานศกึ ษาในสังกัด
สพป.สรุ ินทร์ เขต ๑ ส่วนใหญ่ได้นาแนวคิดทฤษฎใี หม่ๆ หรือนวตั กรรมการพฒั นาเด็กปฐมวัยมาใช้จัดการศึกษา
๑๐ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
ปฐมวัย เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ได้แก่ มอนเทสซอรี BBL การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตาม
แนวทางบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย จิตศกึ ษา PBL สนามเด็กเล่นตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาทักษะ EF
(Executive Functions) STEM Education เป็นต้น ๒) การจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคป (High
Scope) สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1 การขับเคล่ือน ตามที่หนังสือ ศธ.04010/ว268 จากสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ขอเชิญประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิด
ไฮสโคป (High Scope) โดยประกอบด้วย 1) ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบงานปฐมวัย 2) ผู้อานวยการโรงเรียน
อนบุ าลประจาจงั หวดั และผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลประจาเขตพื้นท่ีการศึกษา 3) ครูอนุบาลประจาจังหวัด
ในช้นั อนบุ าลปที ่ี 2 และชั้นอนบุ าลปที ี่ 3 จานวน 4 คน และครูหัวหน้าสายชั้น 1 คน รวมทั้งส้ิน 5 คน และ
ครูอนบุ าลประจาเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา จานวน 2 คน เขา้ ร่วมประชุม
1. ศกึ ษานเิ ทศก์ เขา้ ประชุมระหวา่ งวนั ที่ 29-31 มกราคม 2562
2. ผอู้ านวยการโรงเรยี นอนบุ าลประจาจงั หวัดและผอู้ านวยการโรงเรียนอนบุ าลประจาเขต
พ้นื ทกี่ ารศึกษา เข้าประชมุ วันที่ 29 –30 เมษายน 2562
3. ครูอนุบาลประจาจงั หวดั ในชัน้ อนบุ าลปที ี่ 2 และชัน้ อนุบาลปีที่ 3 จานวน 4 คน และ
ครูหัวหน้าสายช้ัน 1 คน รวมทั้งสิ้น 5 คน และครูอนุบาลประจาเขตพื้นที่การศึกษา จานวน 2 คน เข้าร่วม
ประชุมวันท่ี 23-25 เมษายน 2562
ดังน้ัน ในการดาเนินงานขับเคลื่อนการจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคป (High
Scope) อยรู่ ะหวา่ งการดาเนินงาน
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) โรงเรียนในสังกัดมี
หลักสูตรสถานศึกษาและมีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษาในระดับปฐมวัย ๒)
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดย
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาได้อบรมขยายผลอย่างต่อเนื่องจนครบ 100% รวมท้ังมีการนิเทศ ติดตามที่เป็น
ระบบ
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๒ พบว่า 1) ดาเนินการประชุม
ชี้แจง ทาความตกลงความร่วมมือกับผู้บริหารสถานศึกษาระหว่าง วันที่ 25 – 26 พฤษภาคม 2561 ณ
โรงแรมทองเพกา อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ๒) จัดประชุมครูวิชาการโรงเรียน ครูปฐมวัย และครู
ประถมศึกษาปีท่ี 1 เพ่ือสร้างความเข้าใจ ข้อตกลงร่วมกัน แนวทางการดาเนินการพัฒนาเด็กปฐมวัยตาม
หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั ดงั นี้ 2.1 ครูวิชาการโรงเรยี น ในหัวข้อ หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย และการ
นิเทศการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย 2.2 ครูประถมศึกษาปีที่ 1 ในหัวข้อ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
พัฒนาการและการเตรียมความพร้อม และการเช่ือมต่อการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาปีที่ 1 2.3 ครู
ปฐมวัย ในหวั ขอ้ หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ทฤษฎพี ัฒนาการ นวตั กรรมปฐมวัย (เฟรอเบล , มอนเทสซอ
รี , โครงการ , ไฮสโคป , บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย , จิตศึกษา , การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
ฯลฯ) การประเมินพัฒนาการ และการเช่ือมต่อการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาปีที่ 1
3) การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยให้โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการ จานวน 3 คน ในการประเมิน
พัฒนาการเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูฝ่ายวิชาการ และครูปฐมวัย ในระหว่างวันท่ี
15-31 มีนาคม 2561 4) จัดทาข้อมูลสารสนเทศนักเรียนระดับปฐมวัยได้รับการประเมินพัฒนาร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อสรุปผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย พร้อมท้ังส่งข้อมูลให้
ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 เพ่ือทราบพัฒนาการ และรับช่วงต่อท่ีจะเข้ารับการศึกษาในระดับช้ัน
ประถมศึกษาท่ี 1 ต่อไป ๕) จัดกิจกรรม Best Practice ระดับปฐมวัย เพ่ือเป็นเวทีการนาเสนอผลการจัด
กิจกรรมใน 1 ปีการศึกษา โดยกาหนดประเภทของผลงาน 3 ด้าน ดังน้ี 5.1 ด้านการพัฒนากิจกรรม 5.2
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๑๑
ด้านการพัฒนานวัตกรรม 5.3 ด้านการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน 6) จัดกิจกรรมการประเมินโครงงาน
“บ้านวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย” และส่งผลการประเมินระดบั เขตพ้นื ที่ ไปในระดับ สพฐ.
๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพอ่ื แกป้ ัญหา)
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) ส่งเสริมการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
เช่น สนาม BBL ทาให้นักเรียนได้เรียนรู้ ได้ท้ังในและนอกห้องเรียน 2) ครูมีการจัดการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้
ลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริง
สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๑ พบว่า
1) จัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติในระดับช้ันเรียน
ให้กบั โรงเรยี นในสงั กัด 291 โรง คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ครปู ฐมวัย 450 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100
๒) จัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่บูรณาการทักษะ EF
(Executive Functions) ร่วมกับโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด/ โรงเรียนอนุบาลสุรินทร์ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย
เปน็ ครูปฐมวยั ในสังกดั สพป.สุรินทร์ เขต 1-2-3
3) จัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีบูรณาการทักษะ EF
(Executive Functions) ร่วมกบั โรงเรียนอนุบาลประจาเขต/ โรงเรียนเมืองสุรินทร์ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นครู
ปฐมวัยในสังกัด สพป.สุรินทร์ เขต 1 ครอบคลุ่มทุกเครอื ข่ายบริหารสถานศกึ ษาแบบบูรณาการ
4) จัดประชุมปฏิบัติการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับปฐมวัยท่ีบูรณาการ
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษาในระดับปฐมวัย (STEM) โดยจัดประชุมเป็น 2 ระยะ
เป็นเวลา 5 วนั
5) ได้จัดกิจกรรมศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ท่ีจัดการศึกษาปฐมวัยที่มีผลการปฏิบัติท่ีเป็น
เลศิ ได้แก่ โรงเรียนจติ ตเมตต์ ตลงิ่ ชนั กรุงเทพมหานคร ซ่ึงจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่บูรณาการนวัตกรรม
การพฒั นาเด็กปฐมวยั ที่หลากหลาย
6) จัดประชุมปฏิบัติตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ให้กับโรงเรียนท่ี
เข้าร่วมโครงการฯ รุ่นที่ 8 และอบรมทดแทนให้กับครูผู้เกษียณอายุราชการ หรือย้ายสถานศึกษา
กลุม่ เปา้ หมายเปน็ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครูปฐมวัย โดยจัดเปน็ 2 ระยะ เวลา 3 วนั
7) พัฒนาต่อยอดโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นท่ี
1-7 ทุกโรง โดยจัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่วิทยาศาสตร์ที่บูรณาการเรื่อง
อากาศ นา้ และเทคโนโลยี
8) สร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายครูปฐมวัย โดยจัดกิจกรรมนิเทศ ติดตามฯ ด้วยการ
สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนที่เข้าร่วม
โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย จานวน 100 โรง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาขับเคลื่อนภารกิจ ภายใต้โครงการการอบรมผู้บริหารสถานศึกษาและครูปฐมวัยผ่านระบบทางไกล
โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) กิจกรรม : อบรมผู้บริหารสถานศึกษาและครูปฐมวัยด้วยระบบทางไกล
โดยได้รบั งบประมาณสนับสนนุ จาก สสวท.
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า 1) ผู้บริหาร
สถานศึกษามีความรู้ด้านการจัดการศึกษาปฐมวัย สนับสนุนสื่อการเรียนการเรียนการสอน และนิเทศการจัด
กจิ กรรมการสอนครปู ฐมวยั 2) ครวู ิชาการโรงเรียน ครปู ฐมวัย และครูประถมศึกษาปีท่ี 1 มีความรู้ความเข้าใจ
๑๒ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
ในการดาเนนิ การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยตามหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย ดังนี้ 2.1) ครูวิชาการโรงเรียน มีความรู้
หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย และรว่ มนเิ ทศการจัดกิจกรรมการสอนครูปฐมวัย 2.2) ครูประถมศึกษาปีที่ 1 มี
ความรู้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พัฒนาการและการเตรียมความพร้อม และรับช่วงการส่งเสริมพัฒนาการ
ต่อจากครูปฐมวัย และเช่ือมต่อการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษาปีที่ 1 ได้อย่างต่อเนื่อง 2.3) ครูปฐมวัย มี
ความร้หู ลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ทฤษฎพี ฒั นาการ นวัตกรรมปฐมวัย (เฟรอเบล , มอนเทสซอรี , โครงการ
, ไฮสโคป , บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย , จิตศึกษา , การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน ฯลฯ) การ
ประเมินพัฒนาการ และแนวทางการส่งต่อเด็กปฐมวัยสู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3) สรุปผลพัฒนาการเด็ก
ปฐมวยั โดยคณะกรรมการประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวัยในระดับโรงเรียน ๔) นักเรียนระดับปฐมวัยได้รับการ
ประเมนิ พฒั นาร่างกาย อารมณ์ จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แจ้งผู้ปกครอง พร้อมท้ังได้ข้อมูลให้
ครูผู้สอนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 เพ่ือทราบพัฒนาการ และรับช่วงต่อที่จะเข้ารับการศึกษาในระดับชั้น
ประถมศึกษาที่ 1 ตอ่ ไป ๕) ครปู ฐมวยั ได้รับการเชดิ ชเู กียรติ จากการจัดกิจกรรม Best Practice ระดับปฐมวัย
3 ด้าน ดังนี้ 5.1 ด้านการพัฒนากิจกรรม 5.2 ด้านการพัฒนานวัตกรรม 5.3 ด้านการพัฒนา
ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน 6) โรงเรียนได้รับการเชิดชูเกียรติ และรับตราพระราชทาน “บ้านวิทยาศาสตร์น้อย
ประเทศไทย” ในระดบั สพฐ. 7) ผ้บู รหิ ารสถานศึกษามคี วามรูด้ ้านการจัดการศึกษาปฐมวัย สนับสนุนสื่อการ
เรยี นการเรยี นการสอน และนเิ ทศการจดั กจิ กรรมการสอนครปู ฐมวัย
โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรนิ ทรใ์ นระดบั ปฐมวยั จดั การเรยี นการสอน เป็นProject Approach และสอนเรียนแบบภาษาธรรมชาติ (องค์
รวม) ได้ให้นักเรียนจะเห็นคุณค่าของตนเอง เป็นแนวทางให้พ่ึงพาตนเองได้ ส่งเสริมให้นักเรียนมีโอกาสท่ีจะ
ประยุกต์ใช้ทักษะท่ีมีอยู่ เกิดแรงจูงใจภายในและความสามารถท่ีเกิดจากตัวนักเรียนเองในงานและกิจกรรมท่ี
ทา นกั เรียนรูจ้ ักตัดสนิ ใจวา่ ควรทาอะไร และผใู้ หญย่ อมรบั ในความตอ้ งการของนักเรียน
-นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างมีความสุข สนุกสนานเพราะเด็กได้เรียนในส่ิงท่ี
ตนเองสนใจ รู้จกั ประยุกต์ใช้ความรู้และส่งเสริมให้เด็กมีวิธีการทางานอย่างมีแบบแผน สามารถนารูปแบบการ
สืบค้นความรู้ไปใช้ได้ในชีวิตจริง สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและครอบครัว เนื่องจากการสอนแบบ
โครงการ พ่อแม่ ผู้ปกครองจะต้องรว่ มมอื กับครสู นับสนนุ การเรยี นรู้ของเด็กทกุ รปู แบบ
๓. ปญั หา/อุปสรรคท่ีแก้ไขไมไ่ ด้ในระดับพน้ื ที่ และขอ้ เสนอแนะระดบั พน้ื ท่ี
ปัญหา/อุปสรรคที่แกไ้ ขไมไ่ ดใ้ นระดับพืน้ ท่ี ข้อเสนอแนะระดับพ้นื ที่
- ปี2560 เขตพ้ืนที่มีนโยบายในการกระตุ้นการ - ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาในสังกัดนา
จัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ทาให้ นวัตกรรมการพฒั นาเด็กปฐมวัย หรือแนวคิดทฤษฎี
โรงเรียนหันจัดการเรียนการสอบแบบ Active ใหม่ ๆ มาบูรณาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้
Learning มากกว่า BBLและ PLB กว้างขวางยิง่ ขึ้น
- กระตุ้นให้ครูและโรงเรียนจัดการเรียนการสอนใช้
กระบวนการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสมกับบริบทของ
โรงเรียนหรือตามศักยภาพและความสนใจของ
ผูเ้ รียน
- ครูยา้ ย และเกษียณอายุ ส่งผลต่อการ - จดั อบรมเพือ่ ทดแทนครูย้าย และเกษยี ณอายุ
ดาเนนิ การโครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๑๓
4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื เปน็ ข้อสงั่ การของผ้บู ริหารระดบั สูง (ถ้าม)ี
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า สนับสนุนงบประมาณ
เพอ่ื การพัฒนาครแู ละผู้บริหารทง้ั เขตพนื้ ที่
1.1.3) การเรียนรูด้ ้วยวิธกี าร Active Learning
ตัวช้ีวัด : รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมกี ารพฒั นาการเรยี นการสอนดว้ ยวธิ ีการ Active Learning
ผลการดาเนนิ การ
สงั กัด จานวน สถานศกึ ษาทจ่ี ดั การเรียนรผู้ า่ นกจิ กรรมการ สถานศึกษาท่มี นี วตั กรรมการจดั เรยี นรผู้ ่าน
สถานศกึ ษา ปฏบิ ตั ิจรงิ (Active Learning) กิจกรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning)
ทัง้ หมด(แหง่ )
จานวน (แห่ง) คดิ เปน็ รอ้ ยละ จานวน (แหง่ ) คดิ เปน็ ร้อยละ
สพป. 451 743 164.75 445 98.67
สพม. 85 85 100 85 100
สช. 8 8 100 5 62.50
สอศ. ๘ ๘ 100 ๘ 100
กศน. ๑๗ ๑๗ ๑๐๐ - -
สกอ. 1 1 100 - -
โสตฯ 1 1 100 1 100
รวม 571 863 151.14 544 95.27
* สพป.สุรินทร์ เขต 2 มีการดาเนินการจัดการประกวดนวัตกรรม Active Learning โดยกาหนดให้
สถานศกึ ษาทกุ โรงสง่ ผลงานนวตั กรรมเขา้ ประกวด
สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพ้ืนที่ตามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เป็นอย่างไร
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) ครูได้รับการพัฒนาทักษะและกระบวนการ
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning 2) ครูมีเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรียนการสอนที่
เนน้ ให้นกั เรยี นได้ลงมอื ปฏิบัติ มกี ารพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนใหม่ๆ 3) ครูปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียน
การสอน โดยเนน้ ให้นักเรียนไดล้ งมอื ปฏบิ ัตมิ ากข้ึน
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) ร้อยละ 100
บุคลากรสถานศึกษาในสังกัดมีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง( Active
Learning) ๒) ร้อยละ 100 บุคลากรสถานศึกษาในสังกัดมีความพึงพอใจการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการ
ปฏิบัติจรงิ (Active Learning)
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า 1) โรงเรียนมีการ
บรหิ ารจดั การการเรียนรู้ท่ใี ห้ผ้เู รียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) ทุกโรง ท้ังในและ
นอกห้องเรียน 2) ผู้บริหารโรงเรียนมีการนิเทศภายในและเย่ียมห้องเรียนโดยมีการเชิญคณะกรรมการ
๑๔ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
สถานศึกษามาเยี่ยมห้องเรียน 3) ครูจัดทาหน่วยและแผนการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active
Learning) สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า 1) สานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 33 วิธกี าร/ปจั จยั ทีส่ ามารถดาเนนิ การให้บรรลุผลสาเรจ็
1.1 การดาเนินการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพ่ือสร้างความเข้าใจแก่ผู้บริหาร
สถานศึกษา ครูผู้สอน ใวงเปิดภาคเรียนด้วยการนิเทศเร่งด่วนการใช้หลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เกณฑ์การจบการศึกษา และการบริหารจัดการหลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2562
1.1.1 สถานศกึ ษาในสังกัดทัง้ หมด จานวน 18 โรงเรยี น
1.1.2 ดาเนินการพัฒนาครูในการขจัดอบรมเสวนาโครงการพัฒนาสมรรถนะครูสู่
การขบั เคล่ือนสถานศกึ ษาพอเพียงเพ่ือให้เกิดความย่ังยืนและให้มีคุณภาพระดับสากล อบรมระหว่างวันท่ี 15-
16 มิถนุ ายน 2562
- วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลจาการประเมินตนเองของสถานศึกษาพอเพียง
เพ่ือพฒั นาเปน็ ศูนย์การเรยี นรดู้ ้านการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- กิจกรรมถอดบทเรียนเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการประเมินเป็นศูนย์การ
เรียนรดู้ า้ นการศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.1.3 ดาเนินการพัฒนาครูในการขจัดอบรมพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเรียน
ร่วม/เรียนรวม ปีงบประมาณ 2562(ประชุมปฏิบัติการการพัฒนาระบบบริหารการให้บริการส่ิงอานวยความ
สะดวก สื่อบริการ อื่นใดทางการศึกษา (IEP Online) และการขอสิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และ
ความช่วยเหลอื อนื่ ใดทางการศึกษา) วันท่ี 2 เมษายน 2562
- เสวนาการวิจัยและพัฒนาส่ือประเภทประกอบการเรียนการสอนการ
พฒั นาวชิ าชีพครู สาหรบั บุคคลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ดา้ นการอ่าน การเขียน และการคานวณ
- ปฏิบัติการกรอกข้อมูลคนพิการทางการศึกษาผ่านโปรแกรมระบบบริหาร
การใหบ้ ริการสง่ิ อานวยความสะดวก สอ่ื บรกิ ารและความชว่ ยเหลืออื่นใดทางการศกึ ษา IEP Online
1.1.4 ศูนย์กลุ่มสาระการเรียนรู้/สหวิทยาเขต ท้ัง 8 สห มีการประชุมขับเคลื่อน
การดาเนินงานของครูในการจัดการเรียนการสอน ในการสอนเชิงรุก (Active Learning) เช่น การอบรม
ทางไกล ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ จังหวัดสุรินทร์ สะเต็มศึกษา โดย สสวท. /การอบรมครูในสหวิทยาเขต เพ่ือ
ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
นเิ ทศ กากับติดตาม
1) นิเทศ กากบั ตดิ ตาม โรงเรียนในสังกัดจานวน 40 โรงเรียน เร่ืองเก่ียวกับการนา
หลักสูตรสถานศึกษา สู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับช้ันเรียน ในระหว่างวันที่ 27 พฤษภาคม
2562 - 4 กรกฎาคม 2562 เพื่อสังเกตการเรียนการสอน ให้ข้อสะเสนอแนะ สะท้อนกลับ แลกเปล่ียน
เรยี นรู้ กับครูผู้สอน ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
๒) นิเทศ กากบั ติดตาม โรงเรียนในสังกัดจานวน 40 โรงเรียน ด้านจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในระหว่างวันที่ 27 พฤษภาคม
2562 - 4 กรกฎาคม 2562 เพื่อสังเกตการเรียนการสอน ให้ข้อสะเสนอแนะ สะท้อนกลับ แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ กับครูผสู้ อน ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๑๕
๓) นิเทศ กากับ ติดตามงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา85โรงเรียน เพื่อให้
โรงเรียนได้ดาเนินงานภายใต้การประคุณภาพในสถานศึกษา เพื่อรองรับการประเมิน สมศ. รอบที่ 4 อย่าง
มัน่ ใจและมคี ุณภาพ
4) นิเทศ กากับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดจานวน 85 โรงเรียน การไม่ทนต่อการ
ทุจริต (โครงการต้านทุจรติ เพ่อื ให้โรงเรยี นได้ทางานอยา่ งโปร่งใส)
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษาได้ดาเนินการเรียนรู้
ด้วยวิธีการ Active Learning โดยได้จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จใน
พื้นท่ีและพื้นที่ใกล้เคียง และได้เรียนรู้กับปราชญ์และภูมิปัญญา ในกิจกรรมที่สถานศึกษาได้จัดในแต่ละ
กิจกรรมโครงการ
สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า ๑) สถานศึกษาในสังกัดได้ตระหนักถึง
ความสาคัญของการจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ผู้บริหาร
สถานศึกษา กากับดูแล สนับสนุน ครูสู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเอง และคุณภาพ
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมทา ร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร บน
พ้นื ฐานวฒั นธรรมความสัมพนั ธแ์ บบกลั ยาณมิตร ทม่ี วี สิ ยั ทศั น์ คณุ คา่ เปา้ หมาย และภารกจิ ร่วมกัน โดยทางาน
ร่วมกันแบบทีมเรียนรู้ท่ีครูเป็นผู้นาร่วมกัน โดยครูบูรณาการจัดการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนจะต้องเป็น
Active Learning มีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ คิดเชิงสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีเหตุมีผล
มีความสามารถในการทางานเป็นทีมร่วมกัน ตลอดจนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีแสวงหาความรู้เพ่ือ
พัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง ๒) วิทยาลัยในสังกัด ได้ทาการพัฒนาครู เพื่อให้มีการจัดการเรียนรู้การสอนด้วย
วิธีการ Active Learning และการพัฒนาครูเพื่อให้มีกลยุทธ์ การจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลายและเน้น
ผเู้ รียนไดป้ ฏบิ ัตผิ ่านกิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับธรรมวชิ า
๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพ่อื แกป้ ัญหา)
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) โรงเรียนจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปฏิรูป
กระบวนการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning 2) ครูนาการจัดการเรียนการสอนแบบ Active
Learning ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน 3) มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และสะท้อนผลการจัดกิกรรมการเรียน
การสอน
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๒ พบวา่ มีการพัฒนาการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา 4 H โดยผ่านกิจกรรมรูปแบบ Active Learning ตามแนวนโยบาย “ลดเวลา
เรยี น เพิ่มเวลารู้”โรงเรยี นในสังกัด ตามขั้นตอนการศกึ ษา ดังต่อไปนี้
ระยะที่ 1 ขน้ั ศกึ ษาสภาพปญั หา
ระยะท่ี 2 ข้ันพัฒนา ประกอบด้วย 1. ศึกษานโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
2. ศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพือ่ พฒั นา 4 H ตามแนวนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลา
รู้” 3. การจัดทาโครงการรองรับ 4. จัดทาคู่มือนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา 4 H โดยผ่าน
กจิ กรรมรูปแบบ Active Learning ตามแนวนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้”
ระยะที่ 3 ข้ันนิเทศ ติดตามผล – แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ฯโดยศึกษาคู่มือ
นิเทศการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา 4 H โดยผ่านกิจกรรมรูปแบบ Active Learning ตามแนวนโยบาย
“ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้”
๑๖ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า 1) อบรมการจัด
กิจกรรมเพ่ิมเวลารู้ด้วยการลงมือทา (Active Learning) .สาหรับครูผู้สอนภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และภาองั กฤษ ชั้น ป.6 และชนั้ ม.3 และ ครูทส่ี นใจสมัครเข้ารับการอบรม.จานวน 253 คน ใน
วนั ท่ี 21-22 กันยายน 2561 สมัครเข้ารับการอบรม.จานวน 253 คน ในวันที่ 21-22 กันยายน 2561
2) นิเทศติดตามครูผู้สอนท่ีผ่านการอบรม “การจัดกิจกรรมเพ่ิมเวลารู้ ด้วยการลงมือทาActive Learning”
โดยให้ครูรายงานภายในเดือน มกราคม 2562 3) นิเทศติดตามงานนโยบายและเยี่ยมห้องเรียน 100%
ภายในเดือนมิถุนายน 2562 4) นิเทศติดตามการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการ
เรียนรู้ โดยให้โรงเรียนรายงานตามแบบนิเทศ ภายใน 8 กรกฎาคม 2562
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า จุดแข็งของสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 คือ มีการพัฒนาการนิเทศใน 3 ระดับ จึงทางานงานพัฒนาก้าวหน้า ผู้บริหาร
ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีการพัฒนาตนเองในดา้ นการบรหิ ารและการจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี
1) การนิเทศระดับโรงเรียน โดยครูผู้นิเทศภายในโรงเรียน จานวน 85 โรงเรียน
ดาเนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตามการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยการสงั เกตการสอน การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนของครู ทุกระดบั ชน้ั
๒) การนิเทศระดับสหวิทยาเขต โดยคณะกรรมการนิเทศภายในสหวิทยาเขตท่ีผ่านการ
พัฒนาและคณะกรรมการที่สหวิทยาเขตแต่งต้ังฯจานวน 8 สหวิทยาเขตดาเนินการนิเทศ ติดตามการยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นโดยการสังเกตการสอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู การพัฒนาระบบการ
ประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา และการนิเทศติดตามงานตามนโยบายสาคัญ ๆ ได้แก่ กิจกรรมการลดเวลา
เรียนเพ่ิมเวลารู้ โรงเรียนประชารฐั เปน็ ตน้
๓) การนิเทศระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยคณะกรรมการนิเทศระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ดาเนนิ การนิเทศติดตามการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยการสังเกตการสอน การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนของครู เพื่อช่วยเหลือโรงเรียนขนาดเล็กหรือโรงเรียนท่ีมีครูผู้สอนไม่ครบตามจานวนวิชาเอก จานวน
30 โรงเรยี น และนิเทศ ติดตามงานตามนโยบายอ่ืนๆ โดยใช้กระบวนการนเิ ทศ ติดตามทางระบบออนไลน์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษาได้ประชุมวาง
แผนการดาเนินงานกิจกรรม/โครงการ ของคณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากร และจัดทาเป็นแผนการ
ปฏิบตั ิการประจาปี และมกี ารรายงานผลการจดั กิจกรรมแตล่ ะกิจกรรม/โครงการ
สถาบันการอาชีวศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า ๑) สถานศึกษาได้จัดส่งครูเข้ารับการ
อบรม/พัฒนา เพื่อเพ่ิมศักยภาพครูในการจัดการเรียนการสอน ๒) สถานศึกษาได้จัดส่งครูและนักเรียน
นักศกึ ษา ไดจ้ ัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning ผ่านกจิ กรรมการประกวดโครงการ ส่ิงประดิษฐ์ ท้ังใน
ระดับสถานศึกษา ระดับอาชีวศึกษาจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ และการจัดนิทรรศการในรายวิชา
โครงการ ๓) สถานศึกษาในสังกัดได้พัฒนาการเรียนการสอนด้วยวิธีการ Active Learning โดยการดาเนิน
โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารเขียนแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง คุณธรรม จริยธรรม สะเต็มศึกษา และ Active Learning ด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เพื่อพัฒนาครูผู้สอนอย่างต่อเน่ือง เรียนรู้และพัฒนา
วิชาชีพ สู่มาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นหลัก ครูทุกคนมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องแสวงหาวิธีการท่ี
จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ต้องจัดการศึกษาที่พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติและ
เตม็ ศักยภาพ รวมท้ังสถานศึกษาเป็นหน่วยพัฒนาครูของสถาบันคุรุพัฒนาจานวน 3 หลักสูตรคือ 1) หลักสูตร
การจัดการเรียนรู้บูรณาการสะเต็มศึกษาการปลูกฝังแนวคิดในการออกแบบนวัตกรรมเชิงพาณิชย์สาหรับ
ครูผู้สอนวิชาชีพ (รหัสหน่วยพัฒนา 0994000325029 2) หลักสูตรการสร้างชุดการสอน โดยเน้น
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๑๗
กระบวนการ วฎั จักรการเรียนรู้แบบ ๔MAT เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนศตวรรษที่ 21 สาหรับครูผู้สอน
วิชาทฤษฎีระดับกลาง รหัสหลักสูตร 6255182014 และ 3) หลักสูตรการประยุกต์ใช้โค้ช ๓Es ในการ
จัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น สาหรับครูผู้สอนอาชีวศึกษา
ระดับกลาง รหัสหลักสูตร 625182016 โดยวิทยากรทั้ง 3 หลักสูตร เป็นครูผู้สอนในสังกัดวิทยาลัย
อาชีวศึกษาสุรินทร์ท้ังสิ้นซึ่งครูผู้สอนการบูรณาการ STEM Education สู่รายวิชาให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ศึกษา
ค้นคว้า คิดค้น สร้างนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ ภายใต้โครงการ/กิจกรรม เช่น โครงงาน
วิทยาศาสตรอ์ าชวี ศึกษา เอสโซ่ โครงการวิชาชีพ โครงการจัดค่ายคณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ และโครงการ
จัดทาส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ และการประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM Education) การแข่งขันทักษะ
ทางวชิ าชพี และวชิ าการ ครผู ูส้ อนวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสุรินทร์ ไดร้ ับไดร้ ับรางวัลเชิดชูเกยี รติ ดงั นี้
1) ได้รับเกียรตบิ ตั ร อาจารย์ที่ปรึกษา (การพัฒนาขนมไหว้พระจันทร์ธัญพืชจากแป้งต่าง
ชนิดกัน) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) การประกวดโครงงาน
วิทยาศาสตร์อาชีวศึกษา ประจาปีพุทธศักราช 2561 ระหว่างวันท่ี 16 - 18 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์การ
แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพค็ เมอื งทองธานี จงั หวัดนนทบรุ ี
1. นางรุ่งทิพย์ จนี ะกาญจน์
2. นางโชตกิ า ดาทอง
3. นางสาวกนั ตยา เลิศอรุณรตั น์
2) นางนภาพร เหลา่ พชิ ติ ครูที่ปรกึ ษา องค์ความรู้การนาเสนอผลงานวจิ ัยนวตั กรรมและ
สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ภาคภาษาอังกฤษ ผลงาน “พายไทย” ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับ
เหรียญทอง ระดับชาติ รับโล่รางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการ
ประกวดสุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษาการประกวดส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประจาปี 2561 วันท่ี 10
กุมภาพันธ์ 2562 ณ หอ้ งไดมอนดฮ์ อลล์ ศูนยก์ ารคา้ เซียร์รงั สิต อาเภอลาลกู กา จงั หวัดปทุมธานี
3) นายศุภกิจ ศรีวิชา ได้รับเกียรติบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๔ ระดับเหรียญ
ทองแดง การแข่งขันทักษะการจัดทาและเสนอขายรายการนาเท่ียว ระดับ ปวส. งานประชุมวิชาการองค์การ
นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย การแข่งขันทักษะวิชาชีพพ และทักษะพ้ืนฐาน ระดับชาติ ครั้งที่ 28
ประจาปีการศึกษา 2561 ระหวา่ งวนั ที่ 2 – 6 กมุ ภาพันธ์ 2562 ณ จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
4) นางสาวธันยาภรณ์ ไชยสอน ได้รับเกียรติบัตร ครูผู้ฝึกและครูผู้ควบคุมการแข่งขัน
ทักษะการผสมเคร่ืองด่ืม ประเภท Flair Bartenderงานประชุมวิชาการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย การแข่งขันทักษะวิชาชีพพ และทักษะพ้ืนฐาน ระดับชาติ ครั้งท่ี 28 ประจาปีการศึกษา 2561
ระหวา่ งวนั ท่ี 2 – 6 กุมภาพนั ธ์ 2562 ณ จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
5) ได้รับเกียรติบัตร ครู-อาจารย์ ผู้รับผิดชอบโครงการ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1
ระดบั ประเทศ โครงการยุวชนประกนั ภัย ประจาปี 2561 จัดโดย สานกั งานคณะกรรมการกากับ และส่งเสริม
การประกอบธรุ กิจประกนั ภัย (คปภ.)
1. นางรุ่งทวิ า สลากนั
2. นางสาวพิมพม์ ณี ภกั ดธี ารงเกยี รติ์
3. นางนภาพร วงศ์นาค
4. นางสาววนั เพญ็ พร้งิ เพราะ
5. นางพรจันทร์ เทพราพึง
6. นายพรพทิ ักษ์ ศรีแกว้
7. นางเนตมิ า เหลย่ี มดี
8. นางสาวนิกษ์นภิ า หาญบาง
๑๘ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรินทร์มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน โดยการนาเอาวิธีการสอน เทคนิคการ
สอนท่ีหลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในช้ันเรียน
ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ทักษะและเชื่อมโยงองค์ความรู้นาไปปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา
หรือประกอบอาชีพในอนาคต และถือเป็นการจัดการเรียนรู้ประเภทหน่ึงที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ
สอดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงในยุคปัจจุบัน โดยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์สอนในรูปแบบการ
จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ทเี นน้ บทบาทและการมสี ่วนร่วมของผู้เรียนที่เหมาะสมในการนาไปใช้ในการจัดกิจกรรม
“ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้”
๓. ปญั หา/อปุ สรรคทแ่ี ก้ไขไมไ่ ด้ในระดบั พ้ืนท่ี และข้อเสนอแนะระดับพ้ืนท่ี
ปัญหา/อุปสรรคท่แี ก้ไขไม่ไดใ้ นระดบั พ้นื ที่ ข้อเสนอแนะระดบั พืน้ ท่ี
- โรงเรียนขนาดเล็กครูไม่ครบชั้น ครูต้องสอนควบ - แนะนาให้ครูจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยการ
กันหลายช้ันทาให้ไม่มีเวลาในการจัดทาส่ือหรือ ให้ครูศึกษาตัวช้ีวัดช้ันปีที่ครูสอนควบกันและบูรณา
กิจกรรมแบบ Active Learning ได้ และครูมีภาระ การในการสอนแต่ละกลุ่มสาระโดยให้ครูใช้
งานอ่นื นอกเหนอื จากการสอนเปน็ จานวนมาก กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning
เพ่ือลดภาระในการสอนของครูและเด็กเกิดการ
เรียนรู้อยา่ งแท้จริง
- ควรมกี ิจกรรมพัฒนานวัตกรรมการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนา 4 H โดยผ่านกิจกรรมรูปแบบ
Active Learning
- ครูผู้สอนได้รับการอบรม (Active learning) ยังไม่ - จัดทาโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาครูในการ
ครบทกุ กล่มุ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้ง
8 กล่มุ สาระการเรียนรู้
- การปรับเปลย่ี นวธิ ีการเรียนเปลย่ี นวธิ ีการสอนของ
ครยู งั ไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมายทส่ี านกั งานเขตพืน้ ที่
วางเปา้ หมายไว้ (100%)
- ภาระงานนอกเหนือจากการสอนของครมู ีมาก
จนเกนิ ไป
- ผเู้ รียนยงั ไม่มีทักษะในการสรา้ งองค์ความรแู้ ละจัด - สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจา
กระบวนการเรยี นรู้ได้ด้วยตนเอง โต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้สอน
และเพอ่ื นในช้นั เรยี น
4. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพอื่ เป็นข้อส่งั การของผู้บริหารระดับสูง (ถ้ามี)
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า สนับสนุนงบประมาณ
เพื่อการพฒั นาครูและผู้บรหิ ารทงั้ เขตพ้ืนที่
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า ควรจัดกิจกรรมที่เน้นการ
แสดงออกการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นให้ผู้เรียน มีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนการสอน กระตุ้นให้ผู้เรียน
เกิดกระบวนการคิดขั้นสูง (การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า ไม่เพียงแต่ฟัง ผู้เรียนต้องอ่านเขียน ถาม
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๑๙
คาถาม อภปิ รายร่วมกันและลงมอื ปฏิบัตจิ ริงโดยต้องคานึงถึงความรู้เดิม) ควรเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนโดยมีการประยุกตใ์ ช้ ICT ใหม้ ากขึ้น
ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งทดี่ ี (Best Practice)
รายช่ือหน่วยงาน/ ท่ตี ้ังหนว่ ยงาน/สถานศึกษา เรอื่ ง/กิจกรรมและรายละเอียด
สถานศกึ ษา ของตน้ แบบหรือแบบอย่างท่ีดี
ศูนย์ กศน.อาเภอปราสาท ๑๑ ศนู ย์ กศน.อาเภอปราสาท ก า ร เ รี ย น รู้ ผ่ า น โ ค ร ง ง า น ( Project-based
ตาบลกงั แอน อาเภอปราสาท Learning) โดยจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
จังหวัดสุรินทร์ ๓๒๑๔๐ สาคัญรูปแบบหนึ่ง ท่ีเป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือ
ปฏบิ ัตจิ ริงในลักษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า
ศนู ย์ กศน.อาเภอบัวเชด ศนู ย์ กศน.อาเภอบวั เชด ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยครูช่วยออกแบบ
ตาบลบวั เชด อาเภอบัวเชด กระบวนการเรียนร้ใู ห้ผ้เู รยี นทางานเปน็ ทีม กระตุ้น
จงั หวดั สรุ ินทร์ ๓๒๒๓๐ แนะนา และให้คาปรึกษา เพ่ือให้โครงการสาเร็จ
ลุล่วง ประโยชน์ของการเรียนรู้ด้วยโครงงาน โดย
ได้รบั รางวลั ระดับภาคในการการประกวดโครงงาน
วิทยาศาสตร์สาหรับนักศึกษา กศน. ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2561 ด้านการใช้และการ
อนุรักษพ์ ลงั งานไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน และทักษะ
การวาดภาพจิตรกรรมจินตนาการ
การประกวดนวัตกรมการจัดการขยะมูลฝอย
ภายในครัวเรือน โดยศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ
การศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ได้รับรางวัลชนะเลิศ
การทาถา่ นไบโอชาร์
๒๐ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
ครูผสู้ อนในสังกดั ได้รบั การพัฒนาการเรยี นการสอนดว้ ยวิธีการ Active Learning ในโครงการอบรม
เชิงปฏิบตั กิ ารเขยี นแผนการจัดการเรียนรมู้ ่งุ เน้นสมรรถนะบูรณาการ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
คุณธรรม จริยธรรม สะเตม็ ศึกษา และ Active Learning ด้วยกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ
(Professional Learning Community : PLC) ระหว่างวนั ที่ 22 – 23 มิถนุ ายน 2562
ณ หอ้ งประชุมศนู ย์วทิ ยบริการ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสุรนิ ทร์
สถานศึกษาในสงั กัด มกี ารพัฒนาการเรยี นการสอนด้วยวิธีการ Active Learning
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๒๑
1.1.4) ทกั ษะการพดู อา่ น เขียน
ตัวช้วี ัด : ร้อยละของผ้เู รยี นมที กั ษะภาษาอังกฤษ
ผลการดาเนนิ การ
จานวนผู้เรียนระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน จานวนผู้ผา่ นเกณฑแ์ ละประเมินผล
(ป.1 – ม.6) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561
สังกัด ทกั ษะภาษาองั กฤษ
สพป. ทีเ่ ขา้ รับการประเมนิ ผลการเรียนร้กู ลมุ่ สาระ
ภาษาองั กฤษ (คน) ระดับดี ขึ้นไป (คน)
85,208 จานวนนกั เรียน คิดเปน็ ร้อยละ
50,407 59.16
สพม. 50,374 17,256 34.25
สช. 1,365 888 65.05
สกอ. 110
102 92.72
กศน. 826 527 63.8
โสตฯ 203 145 71.43
รวม 138,086 69,325 50.20
* สพป.สร. ๒ ขอ้ มลู จากรายงานผล SAR ปีการศึกษา 2561 ในระบบรายงาน Schoolmis 2561
สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพืน้ ท่ีตามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เป็นอย่างไร
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) นักเรียนร้อยละ 70.18 มีทักษะ
ภาษาอังกฤษอยใู่ นระดับ ดี 2) นกั เรียนฝึกทักษะภาษาองั กฤษให้ได้เหมาะสมกบั ศักยภาพ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) ผลการดาเนินงาน
ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ด้านทักษะภาษาอังกฤษของผู้เรียน ได้
ดาเนินการพัฒนาผู้เรียนตามวิสัยทัศน์ To be the first มีผลการทดสอบทักษะด้านภาษาอังกฤษของนักเรียน
ชนั้ ป.1 เพื่อเป็นพื้นฐาน ส่วนในชั้น ป.2- ม.3 ได้มีการนิเทศติดตาม กิจกรรมพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษของ
แตล่ ะโรงเรียน ๒) มีการขยายผลโครงการพัฒนาครูแกนนาภาษาอังกฤษในระดับภูมิภาค (Boot Camp) ส่งผล
ใหค้ รูที่ผ่านการอบรมสามารถจัดการเรียนการสอนในห้องเรยี นไดอ้ ย่างม่ันใจ และสามารถจัดการเรียนการสอน
ในรปู แบบ Communicative Approach และ Active Learning ได้
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า ๑) โรงเรียนในสังกัด
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 3 สามารถดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ได้ 233 โรง คดิ เป็น รอ้ ยละ 100 2) โรงเรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ตจากการประชาสัมพันธ์ของ
โครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ของสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาได้ทั้ง 233 โรง คิดเปน็ ร้อยละ 100
เชงิ ปริมาณ
1. ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจาก
แหล่งเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต (DLTV,youtube/มหิดล chanel, www.eng24.ac.th, starfall, youtube
udompasda, ฯลฯ
2. โรงเรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ตจากการประชาสัมพันธ์ของโครงการ
พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาได้ทงั้ 233 โรง คดิ เป็นร้อยละ 100
๒๒ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
เชงิ คณุ ภาพ
1. ครูผูส้ อนภาษาอังกฤษนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจาก
แหล่งเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต (DLTV, youtube/มหิดล chanel, www.eng24.ac.th, starfall, youtube
udompasda, ฯลฯ
2. ครูผู้สอนมีสื่ออย่างหลากหลายสามารถเลือกใช้ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน
ทดแทนการขาดแคลนครทู ี่จบวิชาเองภาษาองั กฤษโดยตรง
สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๓๓ พบว่า ๑) ดาเนนิ โครงการแลกเปล่ียน
เรียนรู้สร้างความเข้มแข็งและความร่วมมือในการพัฒนาการเรียนการ สอนภายในเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้
ภาษาองั กฤษระดบั มธั ยมศกึ ษาของสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ๒) ดาเนินโครงการนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 33 ทกุ โรงเรยี น (นเิ ทศ 100%) 3) ดาเนินการสรปุ รายงาน และวเิ คราะห์ผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) และนาผลการวิเคราะห์มาใช้ในการนิเทศ ติดตาม เพื่อพัฒนา
คุณภาพการเรยี นการสอนอย่างต่อเนือ่ ง 4) ดาเนนิ การสรุปรายงาน และวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยใช้ข้อสอบมาตรฐานกลางและนาผลการวิเคราะห์มาใช้ในการนิเทศ ติดตาม เพ่ือ
พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนอยา่ งต่อเนื่อง
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า ๑) สถานศึกษาได้จัดกิจกรรม/
โครงการ ใหก้ ับผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนการสอน กิจกรรมสอนเสริม เติมเต็มความรู้ และกิจกรรมยกระดับ
ทักษะภาษาอังกฤษให้กับครูผู้สอน ๒) การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้ความสาคัญกับการสอนภาษาอังกฤษ
โครงการติวเข้มยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ n-net ใน 4 วิชาหลัก คือ ภาษาไทย,ภาษาอังกฤษ,คณิตศาสตร์
,วทิ ยาศาสตร์ ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา 256๑ ๓) โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
ด้านอาชีพให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดาเนินชีวิตประจาวันได้
ได้แก่ การเกษตร การท่องเที่ยวการนวดแผนไทย การค้าขาย การเสริมสวย และการบริการรถรับจ้าง ๔) โดย
สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรการฝึกอบรมของแต่ละอาชีพตามความเหมาะสมในแต่ละบริบทของพ้ืนท่ี องค์
ความรู้ ดา้ นอาเซยี น จดั ทาสอื่ เอกสารเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั อาเซยี น เชน่ ธงชาติ ป้ายชื่อ ลูกโลก แผนที่
ป้ายคาศัพท์ CD/DVD หนังสือ วารสาร ฯลฯ ๕) จัดกิจกรรมอาเซียนอย่างต่อเนื่องในทุก ๆ ภาคเรียน และ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ภาษาอังกฤษ จากสื่อต่าง ๆ เช่น จากหนังสือ CD/DVD วารสาร ฝึกพูด อ่าน เขียน ให้มาก
ข้ึน ๖) การจัดมุมอาเซียนใน กศน. ตาบลและให้ อาสาสมัคร กศน. นักศึกษา กศน. แนะนาให้ความรู้
ภาษาองั กฤษสชู่ ุมชน ๗) จัดกิจกรรมอาเภอย้ิมเคล่อื นท่ีร่วมกับหน่วยงานพร้อมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในเรื่อง
อาเซียน ๘) ส่งเสรมิ การเรียนรูส้ ู่อาเซยี นในด้านกระบวนการสอดแทรกเน้ือหาในการจัดการเรียนการสอน/การ
พบกลุ่ม ให้บริการอินเตอร์เน็ตแก่นักศึกษา เพื่อสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับกลุ่มประเทศอาเซียน ถือเป็น
สว่ นหน่งึ ในการเผยแพรค่ วามรู้ ประชาสมั พันธ์แก่ผ้สู นใจ
๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพ่อื แกป้ ญั หา)
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษทุกระดับชั้น มีการจัดบรรยากาศในช้ันเรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น ป้ายนิเทศ
ส่ือการเรียนรู้ ( ใบงาน/ใบกิจรรม/บัตรคา/สื่อวีดีทัศน์) 2) โรงเรียนจัดห้องเรียน โดยมีสื่อการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ เพื่อให้นครูและนักเรียนสามารถเข้าใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ภายในห้อง
ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ ระบบอินเตอร์เน็ต ส่ือการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สื่อการสอนภาษามือ
อเมรกิ นั หนงั สือเรียน รวมถงึ การจัดบรรยากาศในห้องเรยี นให้เอ้ือต่อการเรียนรู้
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๒๓
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า วิธีการพัฒนาทักษะ
ภาษาอังกฤษ ของสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ในปีการศึกษา 2561 ที่ผ่านมา มี
ดังน้ี 1) โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารสาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา (5 minute
check in- check out) ก่อนเริ่มเรียน 5 นาที ๒) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ 1 โดยวิทยากรชาวต่างชาติ 3) ประเมนิ ทกั ษะการอา่ น การเขียนและการส่ือสารภาษาอังกฤษ
ของนกั เรยี น ชน้ั ป.1 - ม.3 ภาคเรียนละ 1 ครงั้ ดงั น้ี ภาคเรยี นท่ี 1 วันท่ี 31 สิงหาคม 2561 นักเรียนเข้า
สอบทงั้ ส้นิ 22,294 คน มผี ลการประเมินในระดับดี-ดีมาก ดังนี้
การอา่ น จานวน 11,399 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 51.13
การเขยี น จานวน 7,069 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 31.71
การส่ือสาร จานวน 12,755 คน คิดเป็นร้อยละ 57.21
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีแผนการนิเทศติดตาม และโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ โดย
บูรณาการร่วมกบั ทักษะอืน่ ๆ เช่น การคิด การอ่าน และการใช้เทคโนโลยี เช่น โครงการ ป.1 อ่านออกเขียนได้
ใชภ้ าษาอังกฤษเก่ง และโครงการพฒั นาขอ้ สอบทกุ กลุ่มสาระตามแบบการสอบ O-NET เป็นตน้
สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๓ พบว่า มีนโยบายเป็นภาพแห่ง
ความสาเร็จ "งานได้ผล คนสาราญ องค์กรสาเร็จ" ในด้านผู้เรียนได้กาหนดประเด็นสาคัญไว้คือ "นักเรียนมี
คณุ ธรรม ความรู้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์เรียนรู้ด้วยตนเอง มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะใน
ศตวรรษที่ 21 อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข โดยจากนโยบายที่กล่าวถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ในด้านทักษะการส่ือสาร ความเข้าใจแตกต่างทางวัฒนธรรม
กระบวนการคิดขา้ มวฒั นธรรม เปน็ ประเด็นสาคญั ดาเนินโครงการให้กจิ กรรมส่งเสรมิ ตามตวั ชี้วดั ดังนี้
1) อัปโหลดแหล่งเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษให้ครูให้ครูเลือกสอนนักเรียนระดับ
ประถมศึกษาทาง youtube เป็นคลิปภาพประกอบคาศัพท์และเสียงพร้อมคาแปล และการประเมินการเรียนรู้
คาศัพท์ จานวน 69 ตอน เป็นคลังคาระดับประถมศึกษา ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรภาษาอังกฤษ พุทธศักราช
2539 หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) กรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาธิการ (001 udompasda 069 udompasda)
๒) ประชาสัมพันธ์สื่อคาศัพท์ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาของสถาบันภาษาอังกฤษ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสื่อคาศัพท์พร้อมภาพประกอบที่สอดคล้องกับสื่อที่ได้
อัปโหลดไว้ใน youtube (ตอนท่ี 001 - 069)
๓) ประชาสัมพันธ์แหล่งเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต เพ่ือส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้
ภาษาองั กฤษจากการรวบรวมจากการแนะนาแหล่งเรียนรู้จากเว็บไซด์ที่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษโรงเรียนในสังกัด
สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3 ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
๔) นเิ ทศติดตาม การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-3 ในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การขยาย
โครงสร้างเวลาเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศจาก 40 ช่ัวโมงเปน็ 200 ชวั่ โมง "กิจกรรมส่งเสริม
การเรยี นร้คู าศพั ท์พืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-3 (ยอดคนเก่งคาศัพทภ์ าษาอังกฤษ)
๕) นิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4-5 เพื่อให้นักเรียนมีพื้นฐานความรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษในการเตรียมตัวในการสอบ
(O-NET) กิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 และ 5 (ยอดคนเก่ง
คาศพั ท์ภาษาองั กฤษ)
๒๔ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า การนิเทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต
33 ทุกโรงเรียน (นิเทศ 100%) มีความเข้มแข็งในการดาเนินการโดยทีมศึกษานิเทศก์ และผู้ทรงคุณวุฒิ
ดาเนนิ การกจิ กรรมนเิ ทศการจัดการเรียนการสอนสังเกตชั้นเรียนและสะท้อนผลทันที ทาให้ครูผู้สอนได้รับการ
ชแี้ นะ และมีการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า ๑) สถานศึกษาได้ดาเนินการจัด
กิจกรรม/โครงการ โดยวิธีการสอนเสริมเติมเต็มความรู้ให้กับผู้เรียน โดยได้สรรหาวิทยากรที่มีความรู้
ความสามารถในทักษะภาษาอังกฤษ เป็นวิทยากรในการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับความรู้
เต็มท่ี จัดสอนเสริมพิเศษ (ติวเข้ม) เก่ียวกับทักษะภาษาอังกฤษและฝึกทาข้อสอบในระดับชาติ ข้อสอบ “N-
net” ๒) ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากรในสังกัดเรียนร้ทู ักษะกระบวนการเรยี นภาษาองั กฤษพร้อมกับขยายผลการเรียนรู้สู่
ผู้เรียนโดยวิธีการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายวิธีเพ่ือยกระดับการเรียนรู้และการเข้าถึงทักษะ
การเรียนรู้ด้านภาษาอังกฤษ ๓) มีการวิเคราะห์ และจาแนกผู้เรียนเป็นกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน
เพอื่ พฒั นาใหต้ รงกับความสามารถของนักเรยี น
โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรินทร์ได้นาโปรแกรมภาษาอังกฤษพิงกุ เพ่ือให้เด็กรู้จักคาศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐานที่เหมาะสมกับวัยเพื่อให้
นักเรียนฝึกทักษะการฟังภาษาอังกฤษท่ีเหมาะสมกับวัย ฝึกทักษะการพูดคาศัพท์ วลี และประโยค
ภาษาอังกฤษเบ้ืองต้น ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะภาษาอังกฤษ เพ่ือเตรียมความพร้อมทักษะการอ่าน
ภาษาอังกฤษ สรา้ งเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี นรภู้ าษาอังกฤษในชีวติ ประจาวัน
๓. ปัญหา/อปุ สรรคที่แก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพ้ืนท่ี และข้อเสนอแนะระดับพื้นท่ี
ปญั หา/อุปสรรคที่แกไ้ ขไมไ่ ด้ในระดบั พืน้ ท่ี ข้อเสนอแนะระดับพื้นที่
- ข้อจากัดของความบกพร่อง ทาให้ภาษาอังกฤษเพ่ือ
การส่ือสารไม่บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้
เทา่ ทคี่ วร
- การจัดการเรียนรยู้ งั ไม่เตม็ ตามหลกั สูตร - ควรมมี าตรการและตัวชวี้ ดั ทเี่ ปน็ รูปธรรม
- ควรมีการดาเนินการอย่างต่อเน่ือง และมีการส่ง
ต่อข้อมูลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เพ่ือพัฒนา
ภาษาองั กฤษอย่างเตม็ ที่
- สภาพการจัดการเรียนภาษาอังกฤษในระดับช้ัน - ประชาสัมพันธ์แนะนาสื่อในระบบอินเทอร์เน็ต
ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 สอนโดยครูประจาชั้นทุกกลุ่ม อย่างหลากหลายให้ครูเลือกใช้ให้เหมาะสมตาม
สาระการเรยี นรู้ ซง่ึ จบวิชาเอกหลากหลาย ขาดทักษะ บรบิ ท เชน่ DLTV
ค ว า ม ช า น า ญ ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น - นิเทศติดตาม ส่งเสริมสนับสนุนช่วยเหลือการใช้
ภาษาอังกฤษ การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะ โรงเรียนเป็นฐานเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืนโดยผ่าน
ตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดในแต่ละระดับช้ัน เป็นผล ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ช่องทาง Line กลุ่ม
ให้นักเรียนขาดความรู้พื้นฐานในการเรียนรู้ต้ังแต่ ผู้บริหาร ระบบ my office ของสานักงานเขต
ระดบั ตน้ พ้นื ทก่ี ารศกึ ษา และ เวบ็ ไซด์ Krusurin.net
- หลายโรงเรียนไม่มีครูผู้สอนภาษาอังกฤษท่ีจบ
วิชาเอกภาษาอังกฤษโดยตรง โรงเรียนขาดบุคลากร
ในโรงเรียนท่ีให้คาแนะนาช่วยเหลือการให้ความรู้การ
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๒๕
ปญั หา/อุปสรรคท่แี ก้ไขไม่ได้ในระดบั พนื้ ท่ี ข้อเสนอแนะระดบั พ้ืนท่ี
จดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษในโรงเรียน
- การพัฒนาอบรมในโครงการ Boot Camp ครู
ได้รับการพัฒนาอบรมเป็นจานวนเล็กน้อย เพราะ
จากัดด้วยจานวนการจัดสรรผู้เข้ารับการอบรม
- การจัดกิจกรรมอบรมพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
ทาไม่ได้ครอบคลุม ความต้องการของทุกคน
ครูผ้สู อนในระดับประถมต้นไม้ได้รับโอกาสเข้ารับการ
อบรมพัฒนา
- กฎเกณฑ์ ระเบียบและข้อกฎหมาย ไม่เอ้ือให้ชาว
ต่างประเทศท่ีพานักในชุมชนและมีจิตอาสาช่วยเหลือ
ให้ปฏิบัติหน้าที่ช่วยครูสอนภาษาอังกฤษทางานได้
อย่างสะดวก
- ครูผู้สอนภาษาอังกฤษกลุ่มเป้าหมายมีมาก (325 - ค ว ร จั ด กิ จ ก ร ร ม อ บ ร ม พั ฒ น า ค รู ผู้ ส อ น
คน) ทาให้ไมส่ ามารถนเิ ทศช้นั เรียนได้ครบทุกคน ด้วย ภาษาอังกฤษ โดยมุ่งเน้นการปรับกระบวนการเรียน
ความจากัดของเวลา และจานวนคณะกรรมการนเิ ทศ การสอนโดยประยุกต์ใช้ส่ือ ICT ในการพัฒนา
- ยังขาดกระบวนการ การกากับติดตาม การนาองค์ กิจกรรมการเรยี นการสอนให้มากขนึ้
ความรู้ท่ีครูได้รับจากกระบว น การนิเทศ ไป - ส่งเสริมการใช้กระบวนการ PLC ให้ครูผู้สอน
ประยุกตใ์ ช้ในการเรยี นการสอนจรงิ ตามบริบท ภาษาอังกฤษได้พบปะ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนว
ทางการจัดการเรียนการสอน และสร้างความ
เข้มแขง็ ในเครอื ขา่ ยครผู ้สู อนภาษาองั กฤษ
- พฒั นาเครือขา่ ยครูแกนนา และนักเรียนกลุ่มสนใจ
พิเศษ เพ่ือเป็นต้นแบบและเป็นวิทยากรให้กับศูนย์
ภาษาองั กฤษและสหวทิ ยาเขต
- จัดกิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ให้กับ
นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ให้
สามารถใชภ้ าษาองั กฤษสือ่ สารในระดบั เบ้ืองต้นได้
- เผยแพร่กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพการเรียนการ
สอนภาษาอังกฤษ โดยใช้ Social Media ต่าง ๆ
เพื่อกระตุ้นครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนให้มี
ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ส นั บ ส นุ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
ภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษตน้ แบบทีย่ ่งั ยืน
- ขาดครูผสู้ อนในสาขาภาษาองั กฤษ - ควรเพ่ิมบคุ ลากรครใู ห้ตรงตามสาขาวชิ า
- ผ้เู รยี นส่วนใหญส่ ามารถอ่านภาษาอังกฤษไดแ้ ต่ - จดั วทิ ยากรให้ความรูอ้ ยา่ งสม่าเสมอ
แปลไม่ออก -. มีเอกสารสาหรับอ้างอิง มีส่ือ อุปกรณ์ ที่
หลากหลายสาหรับการเรียนรู้อืน่ ๆ
- เพิ่มช่ัวโมงการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษให้
มากข้นึ กว่าเดมิ สอดแทรกภาษาอังกฤษในการเรียน
การสอนรายวชิ าอ่ืนๆ ประกอบกันไป
๒๖ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
4. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพือ่ เปน็ ขอ้ ส่งั การของผบู้ รหิ ารระดบั สูง (ถา้ ม)ี
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า ข้อส่ังการของผู้บริหาร
ระดับสงู ต้องมีมาตรการและตัวชว้ี ัดที่ประสบผลสาเร็จอยา่ งเปน็ รูปธรรม เพื่อการปฏิบตั ิทีบ่ รรลผุ ล
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า ได้จัดทาโปรแกรมให้
โรงเรียนสามารถรายงานผ่านอนิ เทอร์เน็ต ทสี่ ามารถประมวลผลไดใ้ นแต่ละเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
ตน้ แบบหรอื แบบอย่างท่ีดี (Best Practice)
รายชอ่ื หน่วยงาน/ ท่ีตั้งหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา เรอ่ื ง/กจิ กรรมและรายละเอียด
สถานศกึ ษา ของตน้ แบบหรือแบบอยา่ งที่ดี
1. กศน.อาเภอเมอื งสรุ ินทร์ กศน.อาเภอเมืองสุรินทร์ ถน มีศูนย์อาเซียนศึกษาและการจดั การเรียนการสอน
2. กศน.อาเภอชุมพลบรุ ี นคชสาร ตาบลในเมือง อาเภอ ดา้ นภาษาอาเซียนเพ่อื การสอ่ื สาร โดยวิทยากรซึ่ง
เมือง จงั หวดั สรุ ินทร์ ๓๒๐๐๐ เป็ น เจ้ า ข อง ภ า ษ า มา ส อน ใ ห้ค ว า ม รู้ ด้ า น
ภาษาอังกฤษใหแ้ ก่บุคลากร นกั ศกึ ษา ประชาชน
329 หมู่ 1 ตาบลชมุ พลบุรี มีหลักสูตร ภาษาอังกฤษ ส่ือการเรียนการสอน
อาเภอชุมพลบุรี จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ทาให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้การสื่อสารภาษา
องั กฤษเบอื้ งต้น
1.1.5) การยกระดับความสามารถทางภาษาของครู
ตัวช้ีวัด : ร้อยละของครูทผ่ี า่ นการทดสอบทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษ ตามมาตรฐานความสามารถ
ทางภาษาองั กฤษ (CEFR)
ผลการดาเนินการ
จานวนครทู ี่ ครทู ี่ผา่ นการ ครูทผ่ี า่ นการ ครทู ่ผี ่านการ ครทู ผ่ี า่ นการ ครูทผี่ า่ นการ ครูที่ผา่ นการ ครทู ผ่ี ่านการ
เข้ารับการ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ
ทดสอบทกั ษะ ทดสอบ (CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR)
(CEFR) ระดบั A1 ระดบั A2 ระดบั B1 ระดบั B2 ระดับ C1 ระดับ C2
สังกัด การใช้ Below A1
จานวน คิดเป็น จานวน คิดเปน็ จานวน คดิ เปน็ จานวน คดิ เปน็ จานวน คดิ เป็น จานวน คดิ เปน็
ภาษาอังกฤษ (คน) รอ้ ยละ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ (คน) รอ้ ยละ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ
(CEFR) จานวน คดิ เป็น 402 40.73 440 44.58 62 6.28 4 0.41 -- --
(คน) (คน) รอ้ ยละ
สพป. 987 79 8.00
สพม. 325 - - 34 10.46 185 56.92 90 27.69 11 3.38 5 1.5 - -
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๒๗
จานวนครทู ี่ ครูทผี่ ่านการ ครูท่ผี ่านการ ครทู ่ผี ่านการ ครทู ีผ่ า่ นการ ครทู ผ่ี ่านการ ครูท่ผี า่ นการ ครทู ีผ่ ่านการ
เข้ารบั การ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ
ทดสอบทกั ษะ ทดสอบ (CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR)
(CEFR) ระดับ A1 ระดับ A2 ระดบั B1 ระดบั B2 ระดบั C1 ระดบั C2
สังกัด การใช้ Below A1
จานวน คดิ เปน็ จานวน คดิ เปน็ จานวน คิดเปน็ จานวน คิดเป็น จานวน คิดเปน็ จานวน คดิ เป็น
ภาษาอังกฤษ (คน) ร้อยละ (คน) รอ้ ยละ (คน) รอ้ ยละ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ
(CEFR) จานวน คดิ เป็น -- -- -- -- -- --
(คน) (คน) รอ้ ยละ
-- -- -- -- -- --
สกอ. - --
๕ ๒๓.๘๐ ๑๑ ๕๒.๓๘ ๓ ๑๔.๒๘ -- -- --
กศน. - --
สอศ. ๒๑ ๑ ๔.๗๖
รวม 1,333 80 6.00 441 33.08 636 47.71 155 11.63 15 1.13 - - - -
*สพป.สร.๒ ในปี 60-61 ไม่มีการสอบ
สรปุ ผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพน้ื ท่ีตามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เป็นอยา่ งไร
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๒ พบวา่ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร
ยกระดับความสามารถทางภาษา ของครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 โดย
การสง่ เสริมใหค้ รเู ข้ารบั การพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูแกนนาภาษาอังกฤษ (Boot Camp) ในรุ่นท่ี 11-20
สาหรับผู้ที่มีผลการทดสอบ CEFR ระดับ A1 - A2 /ผู้ที่จบเอกภาษาอังกฤษ และครูผู้สนใจ ทั้งน้ีมีการ
ดาเนินการนิเทศ ติดตาม เป็นระยะอยา่ งต่อเน่อื ง
สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า ครูท่ีสอนภาษาอังกฤษ
เปน็ จานวนมากทไ่ี มไ่ ดจ้ บเอกภาษาอังกฤษ
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๓๓ พบวา่ ๑) ดาเนินการจดั สอบวัดระดับ
ความรู้ครูผู้สอนภาอังกฤษทั้งหมด ในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จานวน 325 คน 2)
ดาเนินโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างความเข้มแข็งและความร่วมมือในการพัฒนาการเรียนการสอนภายใน
เครือข่ายศนู ย์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 3)
ดาเนินโครงการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด สพม. 33
ทุกโรงเรยี น (นิเทศ 100%) 4) ดาเนินการสรุปรายงาน และวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) และนาผลการวิเคราะห์มาใช้ในการนิเทศ ติดตาม เพ่ือพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
อย่างต่อเน่ือง ๕) ดาเนินการสรุปรายงาน และวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
โดยใช้ข้อสอบมาตรฐานกลาง และนาผลการวิเคราะห์มาใช้ในการนิเทศ ติดตาม เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียน
การสอนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษาได้พัฒนาทักษะการ
ใชภ้ าษาอังกฤษให้กับครูผู้สอนผ่านกิจกรรม/โครงการอบรม การใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารเบ้ืองต้น และได้
ส่งครูผู้สอนเขา้ ร่วมกิจกรรมการพัฒนาครูตน้ แบบการสอนภาษาอังกฤษ Boot Camp
สถาบนั การอาชวี ศึกษาสุรินทร์ พบว่า ๑) สถานศึกษาในสังกัด ได้ดาเนินการจัดโครงการ
เพื่อยกระดับความสามารถทางภาษาของครูผู้สอน และได้มีการทดสอบทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ( CEFR)
จานวน ๒๑ คน โดยมีครผู ่านการทดสอบ คอื ครูท่ีผ่านการทดสอบ ระดับฺ Below A๑ จานวน ๑ คน คิดเป็น
ร้อยละ ๔.๗๖ ครูท่ีผ่านการทดสอบ (CEFR) ระดับ A๑ จานวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๘๐ ครูท่ีผ่านการ
ทดสอบ (CEFR) ระดับ A๒ จานวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๓๘ และครูท่ีผ่านการทดสอบ (CEFR) ระดับ
B๑ จานวน ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๒๘ ๒) สถานศึกษาในสังกัด มีการส่งเสริม สนับสนุน ในการยกระดับ
๒๘ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
ความสามารถทางภาษาของครูผู้สอนภาษาอังกฤษทุกคน ซึ่งครูได้ผ่านการอบรมความรู้เก่ียวกับภาษาอังกฤษ
๓) โดยเฉพาะการฟัง และได้ผ่านการทดสอบภาษาอังกฤษตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาทุกคน
สถานศึกษาในสังกัด ได้ดาเนินการจัดโครงการฝึกอบรมผู้เรียนใช้ Echo VE application จากผลการดาเนิน
โครงการดังกล่าว ปรากฏว่า มีครู เข้าร่วมโครงการ ๕๐ คน มีผู้เรียน ระดับ ปวช. ๓ และ ระดับ ปวส. ๒ ซ่ึง
เป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีจะสาเร็จการศึกษา เข้าอบรมตามโครงการ จานวน ๑,๓๐๐ คน เพ่ือนาความรู้ที่ได้รับ
จากฝกึ อบรมไปใชใ้ นการสมัครงานหรือปฏิบัติงานกับสถานประกอบการ
๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพือ่ แกป้ ัญหา)
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า วิธีดาเนินการทดสอบ
เม่ือปีการศึกษา 2558 ดังน้ี 1) แต่งต้ังกรรมการประเมิน 2) คัดเลือกข้อสอบ 3) ทาสัญญาจ้างกับหน่วยงาน
ประเมิน 4) ชี้แจงแนวทางการประเมิน 5) ประชาสัมพันธ์ให้ครูสมัครเข้ารับการทดสอบ 6) ทดสอบ 7) สรุป
รายงาน
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 พบว่า มีโครงการนิเทศ
ติดตาม ตามวิสัยทัศน์ To be the first ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยมีกิจกรรมการสังเกตชั้นเรียน
และกิจกรรม PLC Online
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า ในการเตรียมครูเข้า
สอบ ไดเ้ ตรยี มการโดยการสารวจให้ครูสมคั รใจสอบ มขี ้อมูลตดิ ตาม และการประสานงานให้สามารถสอบวัดใน
วันต่อมา
สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า ๑) มีครูผู้สอนภาษาอังกฤษใน
สังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ที่มีระดับความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษสูง
เป็นจานวนมาก (ระดับ B1-C1 รวม 106 คน คิดเป็นร้อยละ 32.61) 2) การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 33 ทุก
โรงเรียน (นิเทศ 100%) มีความเข้มแข็งในการดาเนินการโดยทีมศึกษานิเทศก์และผู้ทรงคุณวุฒิ ดาเนินการ
กจิ กรรมนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนสังเกตชัน้ เรยี นและสะทอ้ นผลทนั ที ทาให้ครูผู้สอนได้รับการช้ีแนะและมี
การพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษาวางแผนการจัด
กิจกรรมโดยให้ครูท่ีผ่านการอบรมการพัฒนาครูต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษถ่ายทอดให้กับครูผู้สอนของ
สถานศึกษา
สถาบนั การอาชวี ศึกษาสรุ ินทร์ พบวา่ ๑) สถานศึกษา ได้ดาเนินการสารวจความต้องการ
ยกระดับความสามารถทางภาษาของครูผู้สอน และ นักเรียน นักศึกษาในแต่ละแผนกวิชา เพื่อประสงค์จะเข้า
ร่วมโครงการฯ โดยมีข้ันตอนการดาเนินงาน ดังน้ี ๑.๑) ดาเนินการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ และ
กาหนดวนั เวลา และสถานทใ่ี นการดาเนินงาน ๑.๒) แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน และจัดประชุมเพ่ือ
เตรียมความพร้อมในการดาเนนิ โครงการฯ ๑.๓) สรุปและรายงานผลการโครงการฯ เมื่อสิ้นสุดการดาเนินงาน
๒) สถานศึกษาได้ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาทักษะทางภาษาของครูผู้สอน ของสถานศึกษาพัฒนา
ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีทักษะในการส่ือสารภาษาต่างประเทศ โดยกาหนดการตามยุทธศาสตร์
พัฒนาสถานศึกษา แผนปฏิบัติราชการ ๕ ปี และแผนการปฏิบัติงานประจาปี โดยได้ดาเนินการจัดกิจกรรม
ตามแผนงาน/โครงการฯ ดังน้ี ๒.๑) โครงการศึกษาดูงานของครูและบุคลากร ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๒.๒) โครงการฝึกอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อก้าวสู่อาชีพสาหรับครู ๒.๓) โครงการอาชีวศึกษา
มาตรฐานสากล ๒.๔) โครงการครฝู ึกในสถานประกอบการ
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๒๙
๓. ปญั หา/อุปสรรคท่ีแกไ้ ขไมไ่ ด้ในระดบั พืน้ ท่ี และข้อเสนอแนะระดับพนื้ ท่ี
ปญั หา/อุปสรรคท่ีแก้ไขไมไ่ ด้ใน ขอ้ เสนอแนะระดับพื้นท่ี
ระดบั พน้ื ที่
- ควรมีการนิเทศ ติดตาม การสอนของครูอย่างต่อเนื่อง และให้ครูแกน
นามีส่วนในการนเิ ทศ ตดิ ตาม ครูท่ียังไมไ่ ด้เขา้ รับการอบรมเพ่ือขยายผล
ไปในตัว รวมถึงการมีข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับครูภาษาอังกฤษเพ่ือใช้
ในการพัฒนางานตอ่ ไป
- สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ไมแ่ รงพอ - จดั ให้ผู้สอนหลายรุ่น
- ไมม่ ีงบประมาณให้เขตพื้นที่ใช้ - ควรจดั กิจกรรมอบรมพฒั นาครผู สู้ อนภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างองิ
ในการอบรมพฒั นาครู CEFR โดยมุ่งเน้นการปรบั กระบวนการเรยี นการสอนโดยประยุกต์ใชส้ ่ือ
ภาษาองั กฤษตามกรอบ CEFR ICT ในการพัฒนากจิ กรรมการเรยี นการสอนใหม้ ากขึน้
- ครูผูส้ อนภาษาอังกฤษ - ส่งเสริมการใชก้ ระบวนการ PLC ให้ครูผู้สอนภาษาองั กฤษได้พบปะ
กลุม่ เป้าหมายมีมาก (325 คน) และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรยี นการสอน และสร้าง
ทาให้ไมส่ ามารถนเิ ทศชั้นเรียนได้ ความเข้มแข็งในเครือข่ายครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
ครบทกุ คน ดว้ ยความจากัดของ - พฒั นาเครอื ขา่ ยครูแกนนา ท่มี คี ะแนน CEFR ระดับ B1 – C1 เพื่อ
เวลา และจานวนคณะกรรมการ เปน็ ต้นแบบ และเปน็ วิทยากรใหก้ บั ศูนย์ภาษาอังกฤษ และสหวทิ ยาเขต
นิเทศ - จดั กจิ กรรมค่ายพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ ตามกรอบ CEFR ใหก้ ับ
- ยงั ขาดกระบวนการ การกากับ นักเรียนและบุคลากรทางการศกึ ษาทุกระดบั ใหส้ ามารถใช้
ตดิ ตาม การนาองคค์ วามรทู้ ่ีครู ภาษาอังกฤษสื่อสารในระดับเบ้อื งต้นได้
ได้รบั จากกระบวนการนิเทศ ไป - จัดการทดสอบวัดความรนู้ ักเรียน ครูและบุคลากรในสานักงานเขต
ประยุกต์ใช้ในการเรยี นการสอน พื้นท่ี โดยใชข้ ้อสอบมาตรฐานตามกรอบอา้ งอิง CEFR และนาผลการ
จริงตามบริบท ทดสอบมาเปน็ คา่ เทียบมาตรฐานการพัฒนา โดยต้ังเปา้ หมายอยา่ งน้อย
ตอ้ งผ่านระดบั A2
- เผยแพร่กิจกรรมการพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ
โดยใช้ Social Media ตา่ ง ๆ เพ่ือกระต้นุ ครู นกั เรยี น ผ้ปู กครอง และ
ชุมชนให้มีสว่ นร่วมในการสนับสนนุ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพือ่
สรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษต้นแบบทยี่ ง่ั ยืน
- การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ - หน่วยงาน ต้นสังกัด (สอศ.) ควรมีการจัดฝึกอบรม เชิง
ขอ ง ค รู ผู้ สอ น ส า ยอ า ชี พ ใ ห้ ปฏิบตั กิ าร พัฒนาทกั ษะภาษาของครสู ายอาชีพอยา่ งจริงจัง
สามารถส่ือสารได้
4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพ่อื เปน็ ข้อสง่ั การของผบู้ รหิ ารระดบั สงู (ถา้ ม)ี
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า ๑) การผลิตครูของ
สถาบันอดุ มศึกษา ควรเพ่ิมหนว่ ยกิตการเรยี นภาษาอังกฤษในสาขาวชิ าเอกอื่นๆ ท่ีไม่ใช่เอกภาษาอังกฤษเพื่อให้
พ้ืนฐานเพียงพอในการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา ๒) การสอบคัดเลือกเพ่ือบรรจุครู ควรเพิ่ม
ความเข้มข้นเน้ือหาวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือให้ผู้เข้าสอบได้ศึกษาภาษาอังกฤษเพ่ิมเติมด้วยตนเองก่อนเข้ามา
ทางานครู
๓๐ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
1.1.6) ทักษะการคิดวเิ คราะห์
ตวั ชีว้ ดั : ร้อยละของนกั เรียนไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
ผลการดาเนินการ
สังกดั จานวนนกั เรียน/ นกั เรียน/นกั ศกึ ษา นกั เรียน/นกั ศกึ ษาทผ่ี า่ น นกั เรียน/นกั ศกึ ษาท่มี ผี ล
นกั ศกึ ษา ท้งั หมด ทีไ่ ม่ผ่านการประเมินทกั ษะ การประเมินทกั ษะ การประเมินทักษะการคดิ
สพป. ปกี ารศึกษา 2561 การคดิ วเิ คราะห์ วิเคราะห์ระดบั ดี หรอื ดเี ดน่
การคดิ วิเคราะห์
(คน) จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ
จานวน (คน) รอ้ ยละ 10,079 49.9 18,373 90.98
20,194 231 6.9
สพม. 51,799 124 0.23 51,675 99.8 41,894 80.87
สช. 1,854 57 3.07 1,725 93.04 932 50.27
สอศ. ๙,๖๐๖ 1,514 ๑๕.๗๖ 5,961 ๖๒.๐๕ 2,131 ๒๒.๑๘
กศน. ๒๑,๑๑๐ - - ๒๑,๑๑๐ ๑๐๐ ๑๗,๐๕๖ 80.8
โสตฯ 211 - - 211 100 211 100
สกอ. 168 - - 168 100 160 95.24
รวม 102,920 1869 1.82 89,036 86.51 79665 77.40
*สพป.สร.๒ รายงานผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ประจาปีการศึกษา 2561 ในระบบการ
รายงาน Schoolmis
สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพื้นที่ตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เป็นอย่างไร
โรงเรยี นโสตศกึ ษาจงั หวดั สุรนิ ทร์ พบวา่ นักเรยี นมผี ลการประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์
ระดับดี
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 พบว่า ได้จัดทาโครงการเพ่ือ
พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ตามนโยบาย To be the first เช่น ประเมินความสามารถด้านการอ่านของ
ผู้เรียนช้ัน ป.1 ประเมินความสามารถข้ันพื้นฐานระดับชาติ (NT) , ค่ายพัฒนาทักษะยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนระดบั ชาติ O-NET ทั้ง 15 เครือข่าย และกจิ กรรมอน่ื ๆ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า 1) ครูผู้สอนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1- ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 3,541 คน ได้รับการพัฒนาเรื่องการจัดกิจกรรมการอ่าน
คิดวิเคราะห์ 2) ครูวิชาการ โรงเรียน จานวน 233 คน มีแนวทางในการพัฒนาเทคนิคกระบวนการด้านการ
อ่านคิดวเิ คราะห์และเขยี นสื่อความ 3) ผบู้ ริหารสถานศึกษา จานวน 233 คน มีเทคนิคแนวทางในการนิเทศ
ภายในโรงเรียนได้อย่างเหมาะสม 4) ครูผู้สอน จานวน 233 คน เป็นต้นแบบได้รับการพัฒนาเทคนิคการจัด
กิจกรรม รวมท้ังวิธกี ารวดั ผลประเมนิ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า ๑) การดาเนินการของ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเพ่ือสร้างความเข้าใจแก่ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ในช่วงเปิดภาคเรียนด้วย
การนิเทศเร่งด่วนการใช้หลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เกณฑ์การจบ
การศึกษา และการบริหารจดั การหลักสูตร ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2562
- สถานศึกษาในสงั กดั ทง้ั หมด จานวน 85 โรงเรียน
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๓๑
- ดาเนินการพฒั นาครูในการขจดั อบรมเสวนาโครงการพัฒนาสมรรถนะครูสู่การขับเคลื่อน
สถานศึกษาพอเพียงเพื่อให้เกิดความย่ังยืนและให้มีคุณภาพระดับสากล โรงเรียนละ 2 คน
ทกุ โรงเรยี นโดยมี
- ดาเนินการพัฒนาครูในการขจัดอบรมพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเรียนร่วม/เรียน
รวม ปีงบประมาณ 2562(ประชุมปฏิบัติการการพัฒนาระบบบริหารการให้บริการสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ
บริการ อื่นใดทางการศึกษา (IEP Online) และการขอสิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลือ
อืน่ ใดทางการศกึ ษา) วันที่ 2 เมษายน 2562 โรงเรยี นละ 2 คนสาหรับโรงเรียนเรียนรวมทุกโรง
- เสวนาการวิจัยและพัฒนาส่ือประเภทประกอบการเรียนการสอนการพัฒนาวิชาชีพครู
สาหรบั บคุ คลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ ด้านการอา่ น การเขยี น และการคานวณ
- ปฏิบัติการกรอกข้อมูลคนพิการทางการศึกษาผ่านโปรแกรมระบบบริหารการให้บริการ
สิ่งอานวยความสะดวก สอื่ บริการและความชว่ ยเหลืออนื่ ใดทางการศึกษา IEP Online
- ศนู ยก์ ลุม่ สาระการเรยี นรู้/สหวิทยาเขต ท้ัง 8 สหวิทยาเขต มีการประชุมขับเคลื่อนการ
ดาเนินงานของครูในการจัดการเรียนการสอน ในการสอนเชิงรุก (Active Learning) เช่น การอบรมทางไกล
ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ จังหวัดสุรินทร์ สะเต็มศึกษา โดย สสวท. /การอบรมครูในสหวิทยาเขต เพ่ือยกระดับ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ผู้บรหิ ารและครทู ุกคนในทกุ สหวทิ ยาเขต
นิเทศ กากบั ติดตาม
1) นิเทศ กากับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดจานวน 40 โรงเรียน เรื่องเกี่ยวกับการนา
หลักสูตรสถานศึกษา สู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับช้ันเรียน ในระหว่างวันท่ี 27 พฤษภาคม
2562 - 4 กรกฎาคม 2562 เพื่อสังเกตการเรียนการสอน ให้ข้อสะเสนอแนะสะท้อนกลับแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กบั ครูผสู้ อน ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
2) นเิ ทศ กากับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดจานวน 40 โรงเรียน ด้านจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในระหว่างวันท่ี 27 พฤษภาคม 2562 -
4 กรกฎาคม 2562 เพื่อสังเกตการเรียนการสอน ให้ข้อสะเสนอแนะ สะท้อนกลับ แลกเปล่ียนเรียนรู้
กบั ครูผ้สู อน ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
3) นเิ ทศ กากับ ติดตามงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา85โรงเรียนเพ่ือให้โรงเรียน
ได้ดาเนินงานภายใต้การประคุณภาพในสถานศึกษา เพื่อรองรับการประเมิน สมศ. รอบท่ี 4 อย่างม่ันใจ
และมคี ุณภาพ
4) นิเทศ กากับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดจานวน 85 โรงเรียน การไม่ทนต่อการทุจริต
(โครงการตา้ นทจุ ริต เพื่อใหโ้ รงเรียนได้ทางานอยา่ งโปรง่ ใส)
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษาได้พัฒนาทักษะการ
คิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียนผ่านกิจกรรม/โครงการ ผ่านกิจกรรมการการประกวดโครงงาน โดยให้ผู้เรียนร่วมกัน
จัดทาโครงงานนวัตกรรมการกาจัดขยะ
สถาบนั การอาชีวศกึ ษาสุรินทร์ พบว่า ๑) สถานศึกษาในสังกัดได้ตระหนักถึงความสาคัญ
ของการจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ภายใต้นโยบายประเทศ
ไทย 4.0 โดยครบู รู ณาการจดั การเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนจะต้องเป็น Active Learning มีความสามารถ
ในการคดิ เชิงวเิ คราะห์ คดิ เชิงสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีเหตุมีผล มีความสามารถในการ ทางานเป็น
ทีมร่วมกัน ตลอดจนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
๒)สถานศึกษามวี ธิ กี ารทีใ่ หก้ ารดาเนินการบรรลุผล โดยมีโครงการ/กจิ กรรม ดงั นี้
๑) โครงการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นอาชีวศึกษา (V-NET)
๒) โครงการประกวดแข่งขันทักษะวชิ าชพี
๓๒ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
๓) โครงการส่งิ ประดิษฐข์ องคนร่นุ ใหม่
๔) โครงการประเมินผลวิชาโครงการ
๕) โครงการแข่งขนั หนุ่ ยนต์ ABU ชงิ ชนะเลิศประเทศไทย ประจาปี 2561
๖) โครงการการแข่งขันหุน่ ยนต์ก้ภู ัย (Rescue Robot) ระดับชาติ ประจาปี 2561
๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพอ่ื แก้ปญั หา)
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหลากหลาย เช่น
กิจกรรมการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรม
วนั สนุ ทรภู่ กิจกรรมอบรม Youth Can Do 2) ครูนากระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
และการจัดการเรียนการสอนแบบ Open Approach ในรายวิชามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 3) ครู
สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับศักยภาพของนักเรียน 4) ครูยอมรับการเปล่ียนแปลง
รว่ มกนั พัฒนา ปรับการเรยี น เปล่ยี นวธิ ีสอน
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า ได้ดาเนินการผ่าน
กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรและการจัดการเรยี นรูใ้ นทุกกลุ่มสาระและ ทุกระดับชั้น ต้ังแต่ระดับปฐมวัย ถึง
ระดบั ขน้ั พนื้ ฐาน (ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6) ดังนี้
ระดับปฐมวัย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรปฐมวัย 2560 โครงการบ้าน
นกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย โครงการมอนเตสซอริ EF (Executive functions) และอนื่ ๆ
ระดับขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การจดั การเรียนรทู้ เี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ ส่งเสริมทกั ษะในศตวรรษ
ท่ี 21 ตามหลกั สูตรแกนกลางฯ 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 เช่น
Active Learning, STEM Education, หลักสูตรต้านทุจริต (Anti-Corruption Education), BBL, PBL ลด
เวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ และอ่ืน ๆ
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า การส่งเสริมสนับสนุน
ใหโ้ รงเรยี นได้ลงมือปฏิบตั ติ ามนโยบาย TO Be The First ดา้ นคณุ ภาพ คุณธรรม คุณประโยชน์
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า 1) จัดทาโครงการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานตัวช้ีวัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 (ฉบับ
ปรับปรุงพุทธศักราช 2560) 2) จัดประชุมสร้างความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาครูผู้สอนรวมทั้งครูวิชาการ
โรงเรียน ให้มีความรู้ความเข้าใจในกรอบประเด็นการประเมินผู้เรียนด้านการคิดวิเคราะห์ให้ครอบคลุม
สอดคล้องกับหลักการวัดและประเมินผลผู้เรียน ให้มีความเที่ยงตรง ตามหลักการวัดประเมินผล ที่ครอบคลุม
ด้านความรูค้ วามเข้าใจ การนาไปใชก้ ารวเิ คราะห์ สังเคราะห์และประเมนิ ค่า 3) ฝึกให้ครูผู้สอน และครูวิชาการ
กรอกข้อมูล การวัดประเมินผล การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความหมาย ให้สอดคล้องสัมพันธ์
4) สร้างเคร่ืองมือในการประเมินผลการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความหมาย 5) ดาเนินการประเมินตาม
แนวทางและมาตรฐานการเรียนรู้ 6) นเิ ทศตดิ ตามผลการดาเนนิ งานของโรงเรยี น
ขั้นตอนในการดาเนินงาน โดยการประชุมสร้างความตระหนัก การฝึกปฏิบัติ การ
ตรวจสอบ และการนเิ ทศการดาเนนิ งาน 1) การเชิญครวู ิชาการโรงเรียน จานวน 233 คน เขา้ ร่วมประชุมเพ่ือ
สร้างแนวทางการวดั ผลประเมนิ ผลการอา่ นคดิ วิเคราะห์ 2) สร้างเครือ่ งมอื และกระบวนการเรยี นการสอน เพ่ือ
ส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่านคิดวิเคราะห์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ เน้นการอ่านการเขียนตามแนวทาง PISA จากน้ัน ให้ครูในโรงเรียน เครือข่ายสะท้อนผลการ
ดาเนินงาน ด้วยการทดสอบนักเรียนเป็นรายบุคคล 3) จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริม การอ่าน คิดวิเคราะห์และ
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๓๓
เขียนส่ือความหมายให้นักเรียนทุกคน 4) ใช้สื่อนวัตกรรมการเรียนรู้การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อ
ความหมายใช้กระบวนการวิจัยในช้ันเรียนในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาให้ต่อเน่ืองสอนซ่อมเสริม เด็กใน
แต่ละกลุ่มตามบรบิ ทของโรงเรียน
สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๓ พบว่า จุดแข็งของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33 คือ มีการพัฒนาการนิเทศใน 3 ระดับ จึงทางานงานพัฒนาก้าวหน้า ผู้บริหาร
ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีการพฒั นาตนเองในดา้ นการบรหิ ารและการจัดการเรยี นการสอน ดงั น้ี
1. โรงเรียนมีการบริหารจัดการบุคลากรในการจัดร่วมกันวางแผน ออกแบบการจัดทา
หนว่ ยการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ
2. โรงเรียนพัฒนาหน่วยการเรียนรู้บูรณาการแบบสหวิทยาการ ด้วยการปลูกฝัง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์และการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อพัฒนา
ผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ผา่ นกระบวนการ PLC ดว้ ยการเชอ่ื มโยงมาตรฐานและตวั ช้ีวัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
และ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นเพื่อการพฒั นาผเู้ รียนอย่างยง่ั ยืน ทุกชั้น/ระดับช้นั
3. ครูดาเนินการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดร่วมในการจัดทาหน่วยบูรณาการโดย
เชอื่ มโยงจากมาตรฐานและตัวช้วี ัดในหลกั สตู รแกนกลาง
4. วิเคราะห์ภารงาน/ช้ินงานร่วมกัน เพื่อลดงาน ลดการบ้านของนักเรียนให้ลดลงตาม
นโยบาย
5. วิเคราะห์ออกแบบการวัดประเมินผลร่วมกันเพื่อนาผลคะแนนจากตัวช้ีวัดท่ีเกิดจาก
ผลงานไปใช้ในการประเมนิ พฒั นาการของผ้เู รียน หรอื เปน็ ส่วนหน่งึ ของการตดั สินผลการเรยี น
6. ครูผู้สอนมีการวางแผนการนิเทศ กากับ ติดตามผลการดาเนินงานการนิเทศ กากับติ
ตามท่ีมีความเข้มแข็ง สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา แบ่งการนิเทศออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 6.1) การนิเทศ
ระดับโรงเรียน โดยครูผู้นิเทศภายในโรงเรียน จานวน 85 โรงเรียน ดาเนินการนิเทศ ติดตามการยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการสังเกตการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู ทุกระดับช้ัน 6.2)
การนเิ ทศ ระดับสหวิทยาเขต โดยคณะกรรมการนิเทศภายในสหวิทยาเขตท่ีผ่านการพัฒนาและคณะกรรมการ
ที่สหวิทยาเขตแต่งตั้งฯจานวน 8 สหวิทยาเขตดาเนินการนิเทศ ติดตามการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
โดยการสังเกตการสอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูการพัฒนาระ บบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา และการนิเทศติดตามงานตามนโยบายสาคัญ ๆ ได้แก่ กิจกรรมการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
โรงเรียนประชารฐั เป็นตน้
๗. การนิเทศระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยคณะกรรมการนิเทศระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา
ดาเนินการนิเทศติดตามการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการสังเกตการสอน การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนของครู เพ่ือช่วยเหลือโรงเรียนขนาดเล็กหรือโรงเรียนที่มีครูผู้สอนไม่ครบตามจานวนวิชาเอก จานวน
30 โรงเรยี น และนิเทศ ตดิ ตามงานตามนโยบายอืน่ ๆ โดยใช้กระบวนการนิเทศ ติดตามทางระบบออนไลน์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษาได้ให้ผู้เรียนได้ฝึก
ทกั ษะการคดิ วิเคราะหผ์ า่ นกิจกรรมโครงงาน โดยให้ครูผ้สู อนคอยกากบั ตดิ ตามใหค้ าปรึกษาในการจัดกิจกรรม
สถาบันการอาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า สถานศึกษาในสังกัดได้รับการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ คิดเชิงสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีเหตุมีผล มีความสามารถใน
การ ทางานเปน็ ทมี รว่ มกัน การจดั กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นากระบวนการสะเต็มศึกษาร่วม
รายวิชาวิชาชีพมาบูรณาการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริงดาเนินการเป็นกลุ่มร่วมกัน รวบรวมข้อมูล คิดค้น
วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในรูปแบบ Project base Learning ในวิชาโครงงานวิชาชีพ รวมท้ังดาเนินการสอน
เสริมในรายวิชาอาทิเช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ และในรายวิ ชา
๓๔ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
หมวดทักษะชีวิต ให้แก่ผู้เรียนอยู่เสมอ และดาเนินการจัดโครงการ/กิจกรรม ดังน้ี เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์
อาชวี ศึกษา-เอสโซ่ โครงการวิชาชพี โครงการจัดค่ายคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และโครงการจัดทาสิ่งประดิษฐ์
ของคนรุ่นใหม่ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM Education) และการแข่งขันทักษะทางวิชาชีพและ
วิชาการ
โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุรินทร์ได้นาการสอนในรูปแบบโครงงาน เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะการคิด การต้ังคาถามปลายเปิด คาตอบ
นักเรียนคิดได้หลายหลากและสร้างบรรยากาศท่ีส่งเสริมความกล้าคิด กล้าพูด การเรียนการสอนโดยใช้เป็น
ปัญหาเป็นหลัก เป็นวิธีการเรียนที่ให้ผู้เรียนเกิดการแสวงหาความรู้ เพ่ือแก้ปัญหาด้วยตนเองและการทางาน
เป็นกลุ่มย่อย อันก่อให้เกิดความคิดแบบมีวิจารณญาณ สามารถแสวงหาความรู้ได้อย่างไม่มีท่ีส้ินสุด เพราะผู้
เรยี นร้วู ิธีการแสวงหาความรู้ และคดิ เลอื กนาความรู้มาประยุกต์ใชเ้ พือ่ แก้ไขปัญหาได้
๓. ปญั หา/อปุ สรรคทแ่ี ก้ไขไม่ได้ในระดบั พื้นท่ี และข้อเสนอแนะระดับพนื้ ท่ี
ปัญหา/อปุ สรรคที่แก้ไขไม่ไดใ้ นระดบั พ้นื ที่ ขอ้ เสนอแนะระดับพ้นื ที่
- การจดั การเรียนรขู้ องครูขาดความตอ่ เนอื่ ง - ควรมมี าตรการและตัวชวี้ ดั ที่เปน็ รปู ธรรม
- การใช้ผลเปรียบเทียบระหว่างปีของผลการทดสอบ
เป็นสารสนเทศและจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพ
- ครูผู้สอนขาดเทคนิคในการวัดประเมินผลการ - ส่งเสรมิ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีความ
อ่านคิดวิเคราะห์ เนื่องจากไม่เข้าใจแจ่มชัดใน ตระหนกั ในการวดั ผลประเมินผลอยา่ งแท้จริง
ประเด็นของการประเมนิ - ผบู้ รหิ ารโรงเรียน นเิ ทศภายในสปั ดาหล์ ะ 2 คร้ัง
- ครูผู้สอนขาดเทคนิคในการสอนให้นักเรียนมี ศึกษานิเทศก์ นิเทศโรงเรยี นอยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ 3
ทักษะในการอ่านคิดวิเคราะห์ ที่เหมาะสม ครง้ั
เน่ืองจากสื่อ วัสดุและกระบวนการทางานไม่เอ้ือ - จดั อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแนวทางการวดั ผลประเมินผล
ตอ่ การดาเนนิ งาน การอา่ นคดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี นสอื่ ความ ให้กระจา่ ง
- ปัญหาด้านงบประมาณ ปัญหาด้านวิทยากร ชดั เจน
ปัญหาด้านเทคนิคการสอน ความสามารถความ - จัดทาบนั ทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนา
ตระหนักรู้ ความตั้งใจและบางส่วนดาเนินงานไม่ กระบวนการเรียนการสอน ระหว่าง เขตพ้ืนท่ี
ตอ่ เน่ือง การศึกษา ผบู้ ริหารโรงเรยี น ครู ผปู้ กครองนักเรยี น
- ขาดประสบการณ์ เนื่องจากเป็นครูที่บรรจุใหม่ - ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติมอบรางวัล ใหข้ วญั กาลงั ใจ
หรือ ขาดการนิเทศภายในจากผู้บริหารโรงเรียน โรงเรยี นทท่ี างานไดป้ ระสบผลสาเร็จ
การเอาใจใสและความเสียสละในการทางาน
5.ขาดงบประมาณในการดาเนินงาน สภาพปัญหา
ของตัวนักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ปัญหา
การอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ของนักเรียน ขาด
แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธ์ิ
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๓๕
4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพือ่ เป็นขอ้ สั่งการของผบู้ รหิ ารระดับสงู (ถา้ มี)
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า ข้อสั่งการของผู้บริหาร
ระดับสงู ตอ้ งมีมาตรการและตัวชี้วัดท่ีประสบผลสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ไม่เพียงแค่รอผลการประเมินที่เป็น
ตัวเลข (ซ่งึ ไมเ่ ท่ยี ง)
สถานศึกษามกี ารส่งเสริมสนบั สนนุ ใหน้ ักเรยี นไดร้ ับการพฒั นาทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
๓๖ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
1.1.7) การฝึกอบรมพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษเพ่อื ก้าวสู่อาชีพ (EchoVe)
ตวั ชวี้ ัด : รอ้ ยละของผใู้ ชบ้ รกิ ารศนู ยพ์ ฒั นาทักษะภาษาองั กฤษเพื่อก้าวสอู่ าชีพ (EchoVE)
ผลการดาเนนิ การ
ผใู้ ชบ้ รกิ ารศูนย์พฒั นาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือก้าวส่อู าชีพ (EchoVE)
สังกัด ครู นักเรยี น/นกั ศกึ ษา
จานวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ จานวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ
อศจ. ๑๒๒ ๑๐๐ ๒,๗๔๔ ๑๐๐
สรุปผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพน้ื ที่ตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เปน็ อยา่ งไร
สถาบันอาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า สถานศึกษาในสังกัดตระหนักถึงความสาคัญในการ
พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และส่งเสริมสนับสนุนให้ครู บุคลากร และนักเรียน นักศึกษา ได้จัดกิจกรรม
โครงการท่ีพฒั นาทกั ษะการใช้ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และ
ในงานอาชพี ได้
๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพือ่ แก้ปัญหา)
สถาบันอาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า ๑) สถานศึกษาในสังกัดได้จัดโครงการฝึกอบรมทักษะ
ภาษาอังกฤษเพอื่ กา้ วสู่อาชีพ สาหรับนกั เรียนและนักศึกษา จานวน 2 รุ่น ๒) สถานศึกษาในสังกัด ได้ส่งครูเข้า
ร่วมโครงการฝึกอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือก้าวสู่อาชีพสาหรับครูอาจารย์ ในเขตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๓) ดาเนินการขยายผลให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ในการคาบกิจกรรม ชมรม
และในช้ันเรียนเพื่อให้นักเรียน นักศึกษาได้เข้าฝึกพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ EchoVE ได้ด้วยตนเองและนาไป
ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวันได้
๓. ปญั หา/อุปสรรคทีแ่ กไ้ ขไม่ได้ในระดบั พ้ืนที่ และข้อเสนอแนะระดบั พื้นท่ี
ปัญหา/อุปสรรคท่แี กไ้ ขไม่ไดใ้ น ขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ท่ี
ระดับพนื้ ท่ี
- - เพ่ิมกระบวนการจัดทาข้อมูลสารสนเทศเพ่ือประกอบการวาง
ดาเนินงานด้านการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนสอนให้สอดคล้อง
- กบั ทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
-
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๓๗
4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพือ่ เป็นขอ้ สัง่ การของผู้บรหิ ารระดับสงู (ถา้ มี)
สถานศึกษามกี ารจดั โครงการส่งเสริม สนับสนุน ยกระดับความสามารถทางภาษาของครู มีการพัฒนา
ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR)
นกั เรยี นนกั ศกึ ษาในสังกัดได้รบั บริการศนู ยพ์ ฒั นาทักษะภาษาอังกฤษ
เพื่อก้าวสู่อาชพี (EchoVE) ในโครงการฝึกอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพอ่ื กา้ วหน้า
ในอาชีพให้กับนกั เรียน นกั ศึกษา ณ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ ินทร์
ครผู สู้ อนในสังกัดได้รบั บริการศนู ย์พฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษ
เพอื่ กา้ วสู่อาชพี (EchoVE) ในโครงการฝกึ อบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่อื กา้ วสู่อาชพี
ให้กับคณุ ครู อาจารย์ ณ อาคารศูนยว์ ทิ ยบริการ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาสุรนิ ทร์
๓๘ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :
1.2 การจดั การศกึ ษาเพ่อื การสรา้ งความเป็นพลเมือง (civic education)
ตัวช้ีวัด : ร้อยละของสถานศึกษาที่พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนสอน ให้สอดคล้องกับทักษะ
การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
ผลการดาเนนิ การ
จานวนสถานศกึ ษา จานวนสถานศกึ ษาทพ่ี ัฒนาหลักสตู รการจดั การเรยี นสอน จานวน คดิ เป็น
ท้ังหมด (แห่ง) รวมทง้ั สน้ิ รอ้ ยละ
สังกดั ใหส้ อดคล้องกบั ทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
ดาเนินการ (แห่ง) คิดเปน็ รอ้ ยละ
สพป. 743 743 100 743 100
สพม. 85 85 100 85 100
กศน. ๑๗ ๑๗ ๑๐๐ ๑๗ ๑๐๐
สช. 4 4 100 -- --
สอศ. ๘ ๘ 100 ๘ 100
สกอ. - - - --
โสตฯ 1 1 100 1 100
รวม 854 854 100 854 100
สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพนื้ ท่ีตามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เป็นอยา่ งไร
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียน
สอน ให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และครูออกแบบการจัดจัดการเรียนรู้ทาลงสู่แผนการ
สอน 2) ครมู คี วามมัน่ ใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า การพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทง้ั 4 มาตรฐานการศึกษา มีระดับคุณภาพอยู่ในระดับดเี ย่ียม
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า ด้าน ๑) หลักสูตร
สถานศกึ ษา ๒) หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓) โครงสร้างรายวิชา ๔) การ
จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๕) การจัดกจิ กรรมบทบาทสมมุติ ๖) การสรุปผลการจดั กจิ กรรม
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า ผลจากการดาเนินการ เม่ือ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดับประเทศ สังกัด จังหวัด และสพท. (O-NET) ปีการศึกษา2559 –
2560 ช้ัน ม.3 และ ม.6 มีค่าเฉลี่ยท่ีสูงขึ้นทั้งในระดับประเทศ ภาค และจังหวัดสายวิชาชีพ มีโรงเรียนใน
สงั กดั ดาเนินการดังน้ี
- โรงเรยี นทจ่ี ะใหแ้ ผนการเรียนระดบั ปวช. จานวน 4 โรงเรียนโรงเรียนที่จัดการเรียนการ
สอน แผนการเรียนทวิศกึ ษา จานวน 21 รงเรียน
- โรงเรียนท่ีจดั การเรียนการสอนวิชาชีพแบบ Block Course และShopping Course ใน
รูปแบบรายวิชาเพมิ่ เติม แบบหนว่ ยสมรรถนะ จานวน 60 โรงเรียน
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๓๙
- โรงเรียนท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Active Learning
โรงเรียนทุกโรงเรียนและสามารถเป็นแบบอย่างท่ีคัดเลือกผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน 2 โรงเรียน คือ
โรงเรียนรตั นบรุ ี และยางวิทยาคาร
- มีโรงเรียนท่ีมีการนิเทศภายในดีเด่นโดยใช้วิธีการเปิดชั้นเรียนที่เป็นแบบอย่างได้ คือ
โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ และสุรนิ ทรพ์ ทิ ยาคม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษาได้พัฒนาหลักสูตร
การจัดการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยให้ครูผู้สอนนาแอปพริเคช่ัน
ไลน์ เฟชบุ๊ค มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน รวมถึงสื่อการสอนท่ีเป็นมัลติมีเดีย ช่วยให้ผู้เรียนได้
เรียนรไู้ ดท้ กุ ท่ี ทุกเวลา เสรมิ สร้างกระบวนการคดิ ทเ่ี ปน็ ระบบทั้งดา้ นวชิ าการและความคิดสร้างสรรค์ ควบคู่กับ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
สถาบันการอาชีวศึกษาสุรินทร์ พบว่า สถานศึกษาในสังกัด ได้ตระหนักถึงความสาคัญ
ของการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดี
โดยบริหารจัดการศึกษาเน้นให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษา ตั้งแต่ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้เรียนในการเป็นพลเมืองดี มีความเป็นประชาธิปไตย รักชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์ มีคุณธรรม จริยธรรม ปรับเน้ือหาสาระการเรียนรู้ในวิชาหน้าที่พลเมือง พัฒนากระบวนการ
เรียนการสอนและกิจกรรมในเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาความเป็นพลเมือง และความเป็นประชาธิปไตยให้กับ
ผู้เรียนเน้นกระบวนการกลุ่มและฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่เป็นพื้นฐานของความเป็นพลเมือง รับฟังผู้อื่น
เคารพผู้อ่ืน เคารพความคิดเห็นท่ีแตกต่าง คิดวิเคราะห์เช่ือมโยงปัญหา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อ่ืน มี
ความสามารถในการทางานรว่ ม กับผ้อู น่ื คานึงถึงสว่ นรวม มีความรับผิดชอบตนเองต่อผอู้ น่ื และต่อสังคม
๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพ่อื แก้ปญั หา)
โรงเรยี นโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ พบว่า 1) เตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียม
ความพร้อมให้นกั เรียนมีทกั ษะสาหรบั การออกไปดารงชวี ิตในโลกในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะการเรียนรู้
(Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้เด็กมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ
จาเป็น ซ่งึ เปน็ ผลจากการปฏริ ูปเปลีย่ นแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อม
ด้านตา่ งๆ 2) ส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษสู่การปฏิบัติ เช่น จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักเรียน
มีทักษะด้านการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม
และภาวะผู้นา วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า ได้ดาเนินการผ่าน
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระและทุกระดับชั้น ต้ังแต่ระดับปฐมวัย ถึง
ระดับขั้นพ้ืนฐาน (ประถมศึกษาปีท่ี 1-ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6) โดยดาเนินควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์ (1.1.6) ดังน้ี
ระดับปฐมวัย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรปฐมวัย 2560 โครงการบ้าน
นักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย โครงการมอนเตสซอริ EF (Executive functions) และอนื่ ๆ
ระดับขน้ั พนื้ ฐาน ได้แก่ การจัดการเรยี นร้ทู ีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั สง่ เสริมทักษะในศตวรรษ
ที่ 21 ตามหลกั สูตรแกนกลางฯ 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 เช่น
Active Learning, STEM Education, หลักสูตรต้านทุจริต (Anti-Corruption Education), BBL, PBL ลด
เวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้ และอน่ื ๆ
๔๐ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) ในการขับเคล่ือน
งานพัฒนาคุณภาพการศึกษา พบว่าโรงเรียนดาเนินงานได้ประสบผลสาเร็จ ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้
สื่อสารและคดิ คานวณตามเกณฑข์ องแตล่ ะระดบั ชั้น ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสือ่ สาร ไดอ้ ย่างเหมาะสม ปลอดภัย และมเี จตคติทดี่ ี
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า การสร้างความรู้ความ
เข้าใจและความตระหนักในหน้าที่ของ"พลเมือง" ในระบอบประชาธิปไตย ในขณะท่ีระบอบประชาธิปไตย
เจ้าของอานาจสูงสุดคือประชาชน ดังน้ัน ประชาชนซ่ึงเป็นเจ้าของอานาจจึงกาหนดชีวิตตนเองได้"ประชาชน"
ในระบอบประชาธิปไตย จึงแตกต่างหลากหลายได้ เมื่อแตกต่างหลากหลายได้ จึงต้องเคารพซ่ึงกันและกัน
และใช้กติกาในการแก้ปัญหาจึงจะสามารถอยู่ร่วมกันและปกครองกันตามวิถีทางประชาธิปไตยได้ ใช้สิทธิ
เสรีภาพโดยควบคู่กับความรับผิดชอบ เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น เคารพความแตกต่าง เคารพหลักความ
เสมอภาค เคารพกติกา ไมแ่ กป้ ญั หาดว้ ยความรุนแรง ตระหนกั ว่าตนเองเป็นส่วนหน่ึงของสังคม ร่วมรับผิดชอบ
ต่อสงั คม มีจติ สาธารณะ มีความรับผดิ ชอบหรือร่วมขับเคลื่อนสังคมและแก้ปัญหาสังคมในระดับต่างๆ ตั้งแต่ใน
ครอบครวั ชุมชนจนถึงระดับประเทศ
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า ๑) สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จัดทาแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องตามตัวช้ีวัดของ สพฐ. เพ่ือให้ โรงเรียนได้
ปรับแผนให้สอดคล้องตามค่าเป้าหมาย/ตัวชี้วัดที่เขตกาหนด ตามหังสือท่ี ศธ 04263/1970 ลงวันท่ี 14
พฤษภาคม 2562 ๒) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ ได้แจ้งที่ประชุม
ผู้อานวยการโรงเรียน และในวาระประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบในคราวประชุมผอ.ร.ร.ประจาเดือนคร้ังที่
6/2562 ณ ห้องประชุม ร.ร.ธาตุศรีนคร ๓) สถานศึกษาในสังกัดดาเนินการวิเคราะห์ผู้เรียนรายุคคล โดยกา
รัดแววด้านอาชีพ วัดแววด้านบุคลิกภาพ ทุกระดับชั้น 4) สถานศึกษาในสังกัด จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
แผนการจัดเรยี นสามารถสนองตอบกับความต้องการของผู้เรียน สอคล้องกับทักษะการการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี
21 ทั้งดา้ น วชิ าสามัญ สายอาชีพ ทหี่ ลากหลากหลาย ทั้งแบบแผนการเรียน รายวิชาเพิ่มเติม หน่วยสมรถนะ
จัดการเรียนการสอนแบBlock Course และShopping Course 5) จัดทาข้อตกลงในการให้ความร่วมมือใน
การจัดหลักสตู รทั้งสายสามัญ 7 วชิ าสามญั และหลักสตู รอาชีพมีงานทา กับเครอื ข่าย หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทั้ง
วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ 6) สร้างเครือข่ายความ
ร่วมมือด้านการพัฒนาหลักสูตรสายสามัญ และวิชาชีพ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ องค์ความรู้ จาก
หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งเชน่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เกษตรจังหวดั ปศุสัตว์จังหวัด เกษตรจังหวัดในการจัดทา
โครงการโรงเรียน 1 ไร่ 1 แสน 7) จัดกิจกรรมถอดบทเรียนแลกเปล่ียนเรียนรู้หลักสูตรวิธีปฎิบัติท่ีเป็นเลิศ
การพัฒนาหลกั สตู รท่ีสามารถสนองตอบต่อความตอ้ งการของผู้เรียนท่ปี ระสบผลสาเร็จ ๘) นิเทศติดตามการนา
หลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ด้วยการนิเทศ 100 เปอร์เซ็นต์ ด้วยเทคนิคการเปิดชั้นเรียน
Lesson Study78 มีการนิเทศที่ครอบคลุมทั้งระ 3 ระดับ คือ ระดับเขตพ้ืนที่ ระดับสหวิทยาเขต ระดับ
โรงเรียน ๙) มีการยกย่องชมเชยสร้างขวัญและกาลังใจให้กับครูที่มีผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดีเด่น
ทั้งระดับเขตพ้ืนที่ ระดับสหวิทยาเขต และระดับโรงเรียน ตามแบบ SMART Teacher" 10) จัดกิจกรรมถอด
บทเรียนแลกเปลีย่ นเรยี นรู้หลักสูตรสถานศึกษาท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคลและมีทักษะ
ทีจ่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 นาไปสู่การการจดั การศกึ ษามีงานทา
- ถอดบทเรียนโรงเรียนทม่ี วี ิธีปฏิบตั ิดา้ น7 วชิ าสามัญ/เตรียมสามญั
- ถอดบทเรียนโรงเรียนที่มวี ิธปี ฏบิ ตั ิดา้ นห้องเรียนพเิ ศษ
- ถอดบทเรียนโรงเรียนท่ีมีวิธีปฏิบัติโรงเรียนท่ีความหลากหลายด้านการจัดหลักสูตร
เพิม่ เติมทอ้ งถิน่
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบท่ี 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๔๑
- ถอดบทเรียนโรงเรยี นทีม่ วี ธิ ีปฏบิ ัติอาชีพมงี านทา
- ถอดบทเรียนโรงเรยี นทมี่ ีวธิ ีปฏบิ ัตดิ ้านการแกป้ ญั หา 0 , ร, มส.
- ถอดบทเรียนโรงเรียนท่ีมีวิธีปฏิบัติด้านโรงเรียนท่ีความหลากหลายด้านการจัดแผนการ
เรียนรู้ท่ีหลากหลายสนองความต้องการผ้เู รียน
- ถอดบทเรยี นโรงเรียนท่มี ีวธิ ปี ฏบิ ตั ิด้านแผนการเรียนทห่ี ลากหลายทางด้านภาษา
- ถอดบทเรียนโรงเรียนทม่ี วี ิธปี ฏิบัติด้านแผนการเรียนทว่ั ไปและดา้ นสายอาชีพ
11) จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการปฏิบัติจัดทาหน่วยบูรณาการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
บูรณาการการสง่ิ แวดลอ้ มเชิงนิเวศกบั การบริหารจดั การขยะสทู่ ักษะอาชพี ท่ียง่ั ยนื (ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง)
- ถอดบทเรยี นโรงเรียนทป่ี ฏิบตั ิดีดา้ นการบริหารจัดการขยะและสิง่ แวดลอ้ ม
- ถอดบทเรยี นโรงเรยี นทป่ี ฏบิ ัตดิ ี นโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้
โดยดาเนินโครงการการพัฒนาครู นักเรียนผ่านหลายโครงการในหลากหลายโครงการท่ี
สง่ ผลใหเ้ อ้ือต่อความสาเรจ็ ดังนี้
- โครงการ การจดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานเพอ่ื การมีงานทาในศตวรรษที่ 21
- โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้บูรณาการการส่ิงแวดล้อมเชิง
นิเวศกบั การบรหิ ารจดั การขยะส่ทู กั ษะอาชพี ทีย่ ่ังยนื (ประยุกตใ์ ช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง)
- โครงการ การนิเทศ ติดตามการดาเนินงานของสถานศึกษาในสังกัด คร้ังที่ 1 / 2562
ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา
- พัฒนาศูนย์สาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี น
- โครงการ พัฒนาสมรรถนะครูสู่การขับเคล่ือนสถานศึกษาพอเพียงเพ่ือให้เกิดความย่ังยืน
และใหม้ คี ุณภาพระดับสากล
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษาได้จัดกิจกรรม/
โครงการ ให้กับครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดทาสื่อการเรียนการสอนผ่านมัลติมีเดีย เป็นประจาอย่างต่อเน่ือง
เสริมสร้างกระบวนการคิดที่เป็นระบบท้ังด้านวิชาการ และความคิดสร้างสรรค์ พัฒนากระบวนการเรียนการ
สอนและกิจกรรม ในเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาความเป็นพลเมือง และความเป็นประชาธิปไตยให้กับผู้เรียนเน้น
กระบวนการกลมุ่ และฝึกฝนใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ ทกั ษะทเ่ี ปน็ พื้นฐานของความเปน็ พลเมือง
สถาบันการอาชีวศึกษาสุรินทร์ พบวา่ ๑) สถานศกึ ษาในสังกัด ได้ตระหนักถึงความสาคัญ
ในการพัฒนาผ้เู รียนให้มีคณุ ลักษณะของผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 พฒั นาผเู้ รียนเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรมและ
จริยธรรม มีประชาธิปไตย รับฟังผู้อื่น เคารพผู้อื่น คารพความคิดเห็นท่ีแตกต่าง คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา
แลกเปลีย่ นเรียนรู้กบั ผู้อื่น ทางานร่วมกับผู้อ่ืน คานึงถึงส่วนรวม มีความรับผิดชอบต่อตนเองต่อผู้อ่ืน ต่อชุมชน
และต่อสังคม โดยดาเนินโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ท่ีสถานศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ชุมชน และ
ผู้ปกครองมีส่วนร่วม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองให้เป็นพลเมืองดี เช่น โครงการวันสาคัญชาติ ศาสน า
พระมหากษตั ริย์ โครงการเลือกตง้ั นายกองค์การวิชาชีพ โครงการลูกเสือช่อสะอาด โครงการลานบุญลานธรรม
โครงการส่งเสริมให้ผู้เรียนและบุคลากรทางการศึกษาแต่งกายด้วยผ้าพื้นเมืองในวันศุกร์ โครงการคุณธรรมนา
ความรู้ร่วมกับโรงเรียนคุณธรรม โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา โครงการวิชาการและวิชาชีพ โครงการพัฒนาการเรียนการสอนและภูมิปัญญาก้าวไกล และโครงการ
บรกิ ารวชิ าการและวิชาชีพสู่ชุมชน
๔๒ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมินผล
วิทยาลยั อาชีวศึกษาสรุ ินทรไ์ ด้รับรางวัลเชิดชเู กยี รติดังนี้
1) โล่รางวัล สถานศึกษาดีเด่นทางวัฒนธรรม ด้านการส่งเสริมการแต่งกายผ้าไทย
หรือผ้าพื้นเมือง พ.ศ. 2561 จากกระทรวงวัฒนธรรม วันท่ี 4 สิงหาคม 2561 งานมหกรรมวัฒนธรรม
แหง่ ชาติ ประจาปี 2561 ณ ห้องเพลนาร่ี ฮอลล์ ศูนยป์ ระชมุ แหง่ ชาติสริ กิ ติ ์ิ กรงุ เทพมหานคร
2) เกยี รตบิ ัตรการสง่ ผลงานเข้ารว่ มประกวดอาหารพ้ืนบ้าน ทมี โกนขแมร์ รางวัลรอง
ชนะเลศิ อันดบั 1 การประกวดอาหารพ้นื บา้ น โครงการลานวฒั นธรรม ประจาปี 2561 วัฒนธรรมสุรินทร์ ถิ่น
อสี านใต้ ซเราะซแรย์ สะเร็น ระหวา่ งวนั ท่ี 5 - 6 กรกฎาคม 2561
3) รางวัลรองชนะเลิศอันดับส่ี ระดับเหรียญทองแดง การแข่งขันทักษะการจัดทา
และเสนอขายรายการนาเท่ียว ระดับ ปวส. งานประชุมวิชาการองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ และทักษะพื้นฐาน ระดับชาติ ครั้งท่ี 28 ประจาปีการศึกษา 2561 ระหว่างวันท่ี
2 - 6 กุมภาพนั ธ์ 2562 ณ จังหวัดสุราษฎรธ์ านี
4) เกียรตบิ ตั ร จดั แสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นวัตกรรมอาชีวศึกษา การพัฒนาแป้งเคร
ปจาก แป้งกล้วย งานการขับเคลื่อนสิ่งประดิษฐ์นวัตกรรมอาชีวศึกษา เข้าสู่ระบบอุตสาหกรรมและพาณิชยก
รรม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันท่ี 5 - 7 พฤษภาคม 2561 ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษา
นครราชสีมา จงั หวัดนครราชสมี า
5) เกียรติบัตร จัดแสดงผลงานส่ิงประดิษฐ์นวัตกรรมอาชีวศึกษา การพัฒนาดินป้ัน
จากโฟมจัดดอกไม้เหลือใช้ (โอเอซซีส) เพ่ือประดิษฐ์ประติมากรรมนูนต่า งานการขับเคลื่อนสิ่งประดิษฐ์
นวัตกรรมอาชีวศึกษา เข้าส่รู ะบบอตุ สาหกรรมและพาณชิ ยกรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันท่ี 5 -
7 พฤษภาคม 2561 ณ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
6) รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 โครงการยวุ ชนประกันภัย ประเภทโรงเรียน และรอง
ชนะเลศิ อันดบั 1 ประเภทครู-อาจารย์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ระดับชาติ ในพิธีมอบรางวัลประกันภัยดีเด่นครบ
วงจร ประจาปี 2561 วนั ที่ 7 สิงหาคม 2561 ณ ศูนยก์ ารประชุมแห่งชาตสิ ริ กิ ติ ิ์ กรุงเทพมหานคร
7) คณะครู นักเรียน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ การโรงแรมและการบริการ การ
จัดการธุรกิจท่องเที่ยว การบัญชี ประดิษฐ์กระทงและเป็นการบูรณาการเรียนการสอนในรายวิชา การจัด
ดอกไม้และงานดอกไม้ใบตอง เข้าร่วมประกวดในงาน ประเพณีลอยกระทงประจาปี 2561 และได้รับรางวัล
ชนะเลิศ ประเภทสวยงาม รับถ้วยเกียรติยศจากท่านนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา วันท่ี 21
พฤศจกิ ายน 2561 ณ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์
8) นายโยธิน บุญยงค์ ได้รับรางวัลเด็กและเยาวชนดีเด่น เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ
ประจาปี 2561 โดยกระทรวงศึกษาธิการ วันท่ี 9 มกราคม 2562 ณ ทาเนียบรัฐบาล
กรุงเทพมหานคร
9) นายโยธิน บุญยงค์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 เด็กดีเพื่อสังคมไทย ปี 3
ประจาปี 2561 โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วันท่ี 18 มกราคม 2562 ณ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยี-ราชมงคลพระนคร กรุงเทพมหานคร
10) นายโยธิน บุญยงค์ ได้รับรางวัลนักเรียนพระราชทาน ประจาปีการศึกษา
2561
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ | ๔๓
๓. ปญั หา/อุปสรรคท่ีแก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดบั พน้ื ที่ และขอ้ เสนอแนะระดบั พื้นที่
ปัญหา/อุปสรรคทแี่ กไ้ ขไม่ไดใ้ นระดบั พืน้ ท่ี ขอ้ เสนอแนะระดับพื้นท่ี
- การจดั การเรยี นรขู้ องครูขาดความตอ่ เน่อื ง - ควรมมี าตรการและตวั ชวี้ ัดทีเ่ ปน็ รปู ธรรม
- สร้างแนวทางการพัฒนาคุณภาพภายใน
สถานศึกษา โดยเฉพาะความสามารถในการคิด
วิเคราะห์
- การจัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมท่สี มบูรณ์
- การจัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระที่มีการบูรณาการ
หนา้ ที่พลเมอื งทกุ กลุม่ สาระ
- สร้างความตระหนักให้ครูดาเนินการจัดกิจกรรม
อย่างต่อเน่อื ง
- ทัศนคติผู้ปกครองด้านการเรียนด้านวิชาชีพ จัดหา - ควรเน้นการนิเทศภายในให้เขม้ แขง็
สถานประกอบการณ์ฝึกประสบการณ์จริงให้กับผู้เรียน - ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู
ได้ฝึกประสบการณ์ ปรับทัศนคติผู้ปกครองด้านการ และ active learning
เรียนด้านวิชาชีพ จัดหาสถานประกอบการณ์ฝึก
ประสบการณจ์ รงิ ใหก้ ับผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ประสบการณ์
4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื เป็นขอ้ ส่ังการของผบู้ รหิ ารระดับสูง (ถ้ามี)
สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า ข้อส่ังการของผู้บริหาร
ระดับสูงต้องมีมาตรการและตัวชวี้ ัดทีป่ ระสบผลสาเร็จอย่างเปน็ รปู ธรรม
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๒ พบว่า โ รง เรี ยน คว รส ร้า ง
ทีมงาน เพื่อประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาในการประกันภายในของโรงเรียน ให้พร้อมกับการประเมิน
ภายนอก เพอื่ ส่งเสริมให้โรงเรียนพฒั นาระบบการพัฒนาภายในให้เขม้ แขง็ ไปด้วย
สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓ พบวา่ 1) ควรลดการประชุม อบรมที่
เป็นการดึงคนรูออกนอกชั้นเรียน ๒) ควรจัดการอบรมแบบOnline ให้มากท่ีสุด ๓) ควรสารวจความต้องการ
หลกั สตู รในการบรมครูกอ่ น จึงกาหนดงบประมาณและกจิ กรรมตามกลมุ่ เปา้ หมาย
๔๔ | แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
เสริมสรา้ งทกั ษะให้นักศกึ ษามีความคดิ สรา้ งสรรคด์ า้ นการออกแบบโครงงาน
กจิ กรรมศกึ ษาดงู านแหล่งเรียนรู้ และลงพ้นื ท่ีบาเพญ็ ประโยชน์
กจิ กรรมเรยี นรปู้ ระวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย ฯ และประชาธปิ ไตย
กิจกรรมเสรมิ สรา้ งกระบวนการเรยี นรทู้ กั ษะคอมพวิ เตอร/์ การเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จริยธรรม