The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surin.inspection, 2019-07-07 11:56:07

ตรวจราชการ1_61

ตรวจราชการ1_61

1

เอกสารลาดับที่ ๖/๒๕๖๑

งานการตรวจราชการ
กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล

สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดสุรินทร์

สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2

คานา

กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้มีแผนการตรวจราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ เพ่ือเป็น
กรอบและแนวทางในการปฏิบัติงานตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการในระดับเขตตรวจ
ราชการและจงั หวัด และสามารถปฏิบัติการตรวจราชการกับหน่วยงานสนับสนุนการตรวจราชการอย่างมีระบบ
มีประสิทธิภาพและรายงานผลความก้าวหน้า ความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะต่อปลัดกระทรวง
ศึกษาธกิ ารและรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารต่อไป

ในการนี้ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ได้จัดทาผลการดาเนินงานตามนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ รอบท่ี ๑ โดยได้รับการตรวจราชการตามนโยบายจาก
ท่านผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการนางสาวดุริยา อมตวิวัฒน์ ลงพื้นที่จังหวัดสุรินทร์เป็นไปด้วยความ
เรยี บร้อย

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ขอขอบพระคุณ หน่วยรับตรวจทกุ สังกัดของจงั หวัดสุรินทร์ท่ีได้ให้
การต้อนรับผู้ตรวจราชการและคณะ พรอ้ มทั้งอนุเคราะห์ขอ้ มลู การตรวจราชการมา ณ โอกาสนีด้ ว้ ย

สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดสรุ ินทร์
เมษายน ๒๕๖๑

3

สารบัญ หน้า

เร่ือง ก

คานา ง

สารบัญ ๑

สารบญั ภาพ ๒

สารบัญตาราง ๖

บทที่ 1 บทนา

1.1 ความเปน็ มาของการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล ๒๑
๒๔
1.2 วัตถุประสงคข์ องการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล ๒๖
1.3 กรอบแนวคดิ ของการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล ๒๗
1.4 ขอบเขตของการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
1.5 คานยิ ามศัพท์ ๓๕
๓๖
1.6 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ ๔๑
๔๒
บทท่ี 2 ข้อมูลและเอกสารท่เี ก่ียวข้อง
๔๖
2.1 ระเบียบทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผล ๖๖
๗๒
2.2 นโยบายรัฐบาลปัจจุบัน ๘๐
2.3 นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๘๘
2.4 ขอ้ มลู นโยบายการตรวจราชการกรณีปกติ ๙๓
2.5 ขอ้ มูลสารสนเทศพน้ื ฐานทางการศึกษา
บทที่ 3 ข้ันตอนการดาเนนิ งานการตรวจราชการ -
ด้านการตรวจราชการ
ด้านการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา ๙๗
ยุทธศาสตร์นโยบายและบริบททีเ่ กี่ยวข้อง
ทิศทางแผนพัฒนาการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙)
บทที่ ๔ ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศกึ ษา
นโยบายที่ 1 การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา
นโยบายที่ 2 การจัดการศกึ ษาปฐมวยั
นโยบายที่ 3 การพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษ
นโยบายที่ 4 การพฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
นโยบายท่ี 5 การเพิม่ สัดส่วนผ้เู รยี นสายอาชพี
นโยบายที่ 6 การพัฒนากาลังคนตามความตอ้ งการของสถานประกอบการภายในประเทศ
นโยบายท่ี 7 การยกระดบั คณุ ภาพสถานศึกษาทีต่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื และพัฒนาเปน็ พิเศษ
อยา่ งเร่งด่วน (ICU) (ไมเ่ กบ็ ผลการดาเนนิ การ)
นโยบายที่ 8 การบรหิ ารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเลก็

ข4

สารบญั (ต่อ) หน้า
๑๐๓
เรอ่ื ง ๑๐๗
๑๒๐
นโยบายท่ี 9 การอา่ นออกเขยี นได้
นโยบายที่ 10 การส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรมในสถานศกึ ษา -
นโยบายท่ี 11 การขบั เคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาในระดบั ภมู ิภาค
นโยบายท่ี 12 การเพ่มิ ประสิทธิภาพการใชท้ รัพยากรเพ่ือการศกึ ษา -

(ผลการดาเนินงานในระบบ) ๑๒๒
นโยบายท่ี 13 การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั ๑๓๒

ชายแดนภาคใต้และพืน้ ท่ีพเิ ศษ (ผลการดาเนินงานในระบบ) ๑๔๑
นโยบายท่ี 14 การพัฒนาครูท้ังระบบ ๑๔๑
นโยบายที่ 15 การพัฒนาผเู้ รยี นและเยาวชนผา่ นกระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด ๑๔๑
บทที่ ๕ สรปุ ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศกึ ษา ๑๔๒
นโยบายท่ี 1 การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ๑๔๒
นโยบายที่ 2 การจดั การศกึ ษาปฐมวัย ๑๔๒
นโยบายที่ 3 การพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษ
นโยบายท่ี 4 การพัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะห์ -
นโยบายที่ 5 การเพมิ่ สัดส่วนผเู้ รียนสายอาชีพ
นโยบายท่ี 6 การพฒั นากาลังคนตามความตอ้ งการของสถานประกอบการภายในประเทศ ๑๔๒
นโยบายท่ี 7 การยกระดับคุณภาพสถานศึกษาทต่ี ้องการความชว่ ยเหลอื และพัฒนาเป็นพิเศษ ๑๔๓
๑๔๓
อย่างเรง่ ดว่ น (ICU) (ไมเ่ กบ็ ผลการดาเนนิ การ) ๑๔๓
นโยบายที่ 8 การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเลก็ ๑๔๓
นโยบายที่ 9 การอา่ นออกเขยี นได้ ๑๔๙
นโยบายท่ี 10 การสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในสถานศึกษา
นโยบายท่ี 11 การขับเคลือ่ นนโยบายการจดั การศึกษาในระดบั ภูมิภาค ๑๔๙
นโยบายที่ 12 การเพ่ิมประสิทธภิ าพการใชท้ รพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา ๑๔๙
นโยบายที่ 13 การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด

ชายแดนภาคใต้และพ้นื ท่ีพิเศษ (ผลการดาเนนิ งานในระบบ)
นโยบายท่ี 14 การพัฒนาครูท้งั ระบบ
นโยบายที่ 15 การพัฒนาผู้เรียนและเยาวชนผา่ นกระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด
ภาคผนวก
- ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ด้วยการตรวจราชการ การตดิ ตามตรวจสอบ และ

ประเมินผล การจดั การศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๐
- คาสัง่ กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป.๑๘๒๘/๒๕๖๐
- คาสั่งสานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั สรุ ินทร์ ที่ ๑๑๒/๒๕๖๑ เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการ

ดาเนินงานรับการตรวจราชการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑
- ภาพการตรวจราชการ

ค5

สารบัญภาพ

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดของการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผล หน้า

ภาพท่ี 2 โครงสรา้ งระบบการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ ๒๐
และประเมินผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๒๐
ภาพที่ 3 โครงสรา้ งระบบการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ๒๑

ภาพที่ 4 โครงสรา้ งระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ๓๙
ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ๔๐
๔๓
ภาพที่ ๕ แผนผังการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา ของสานกั งานศึกษาธิการ สร. ๑๔๓
ภาพท่ี ๖ โครงสรา้ งระบบติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศึกษาของกระทรวง ศธ. ๑๔๔
ภาพท่ี ๗ ขั้นตอนการตรวจราชการ ๑๔๔
๑๔๕
ภาพท่ี ๘ ความสามารถในการรบั นกั เรยี นของสถานศกึ ษา ๑๔๕
ภาพที่ ๙ อัตราส่วนครตู อ่ นักเรยี น ๑๔๖
๑๔๖
ภาพที่ ๑๐ อตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ หอ้ ง ๑๔๗
ภาพที่ ๑๑ ตน้ ทุนตอ่ หน่วยของการจัดการศึกษา ๑๔๗
ภาพท่ี ๑๒ วิเคราะหอ์ ตั รากาลงั ตามเกณฑม์ าตรฐาน กคศ. ๑๔๘

ภาพท่ี ๑๓ วเิ คราะห์ค่าใชจ้ า่ ยของบุคลากรท่ีควรจะเป็นของสถานศึกษา ๑๔๙
ภาพที่ ๑๔ ตารางแสดงคา่ ใชจ้ ่ายบุคลากรทคี่ วรจะเป็นของแต่ละสถานศึกษา

ภาพที่ ๑๕ ประสทิ ธภิ าพเชิงตน้ ทนุ ของการจัดการศึกษา
ภาพที่ ๑๖ ต้นทุนตอ่ หนว่ ยของการจดั การศกึ ษากับผลคะแนน O-NET ชัน้ ป.๖ ม.๓ และ ม.๖
ภาพท่ี ๑๗ วเิ คราะห์ผลคะแนน O-NET ชั้น ป.๖ ม.๓ และ ม.๖

กบั สัดส่วนครูผ้สู อนทม่ี ีวทิ ยฐานะชานาญการพิเศษข้ึนไป
ภาพท่ี ๑๘ การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจ

จังหวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพน้ื ท่พี เิ ศษ

ง6

สารบญั ตาราง หน้า
๒๘
ตารางท่ี 1 จานวนหน่วยงาน สถานศึกษา ผู้บรหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา
และนกั เรียน จาแนกรายจงั หวดั ๒๙

ตารางท่ี 2 จานวนหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา ผู้บรหิ าร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา ๓๐
และนกั ศกึ ษา จาแนกรายจังหวดั
๓๒
ตารางท่ี 3 จานวนหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา
และนกั เรียน นกั ศึกษา จาแนกรายจงั หวัด ๓๓

ตารางท่ี 4 จานวนหน่วยงาน สถานศึกษา ผ้บู รหิ าร คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา ๓๗
และนักเรียน นกั ศกึ ษา จาแนกรายจังหวดั ๔๔
๔๕
ตารางท่ี 5 จานวนหนว่ ยงาน สถานศึกษา ผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔๕
และนักเรียน จาแนกรายจงั หวดั ๔๗

ตารางท่ี ๖ แนวทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั การศึกษาของ สนง.ศธจ. ๔๘
ตารางที่ ๗ ศึกษานเิ ทศก์ผรู้ ับผดิ ชอบประจาอาเภอ
ตารางที่ ๘ ผรู้ บั ผดิ ชอบตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ๕๓
ตารางท่ี ๙ จานวนสถานศกึ ษาทีม่ กี ารดาเนนิ งานตามประเดน็ การตรวจราชการและตวั ช้ีวัด
ตารางท่ี ๑๐ สาระวิชาท่ีเปน็ จุดแขง็ สงั กัดสานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบ ๕๙
๖๒
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั (กศน.) (N-NET)
ตารางที่ ๑๑ สาระวชิ าท่ีเป็นจุดออ่ นสังกัดสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ ๖๖

และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) (N-NET) ๖๙
ตารางท่ี ๑๒ รายช่ือหนว่ ยงาน/สถานศึกษาท่เี ปน็ ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งทด่ี ี
๗๒
ในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย ๗๖
ตารางท่ี ๑๓ จานวนสถานศกึ ษาท่ีมกี ารดาเนนิ งานตามประเดน็ การตรวจราชการและตวั ชวี้ ัด
ตารางที่ ๑๔ รายชอ่ื หนว่ ยงาน/สถานศึกษาทเ่ี ป็นตน้ แบบหรือแบบอย่างทด่ี ี ๘๐
๘๒
ในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย
ตารางที่ ๑๕ จานวนนกั เรียนปฐมวยั (อนบุ าล 1–3 และเด็กเล็ก) และจานวนสถานศกึ ษา ๘๙

ทเี่ ปิดสอนระดบั ปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2560
ตารางที่ ๑๖ รายชอื่ หนว่ ยงาน/สถานศึกษาทเ่ี ป็นต้นแบบหรอื แบบอย่างที่ดี

ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบายดังน้ี
ตารางที่ ๑๗ ขอ้ มูลครผู ู้ผา่ นการอบรมโครงการ Boot Camp
ตารางท่ี ๑๘ รายชอ่ื หนว่ ยงาน/สถานศึกษาที่เป็นต้นแบบหรือแบบอยา่ งทีด่ ี

ในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย
ตารางที่ ๑๙ ข้อมูลการจัดกระบวนการเรยี นการสอน นวัตกรรม และจัดการศกึ ษาโดยบูรณาการ
ตารางท่ี ๒๐ รายชือ่ หน่วยงาน/สถานศึกษาที่เปน็ ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ี

ในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย
ตารางที่ ๒๑ จานวนนกั เรยี นประถมศึกษาถงึ ระดบั มัธยมศึกษาที่ไดร้ ับการสรา้ งทัศนคตทิ ี่ดี

ตอ่ อาชีพและการแนะแนวการศึกษาเพ่ืออาชีพ ปีการศกึ ษา 2560

จ7

สารบัญตาราง (ตอ่ )

หนา้

ตารางที่ ๒๒ จานวนผู้เรยี นสายอาชวี ศึกษากับผูเ้ รียนสายสามัญศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2560 ๙๐

ตารางท่ี ๒๓ รายชอ่ื หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาทเ่ี ป็นตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งที่ดี ๙๑

ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย

ตารางที่ ๒๔ ระดับความพงึ พอใจของสถานประกอบการต่อสมรรถนะผสู้ าเรจ็ อาชวี ศกึ ษา ๙๓

(จาแนกเป็นรายสถานศึกษา)

ตารางท่ี ๒๕ จานวนผสู้ าเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษาแล้วมงี านทาหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี ๙๔

ตารางท่ี ๒๖ จานวนผู้เรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดบั ปวช./ปวส. ปีการศึกษา 2559–2560 ๙๔

ตารางที่ ๒๗ จานวนผเู้ รียนอาชีวศึกษาระบบทวิศึกษา ปีการศึกษา 2559–2560 ๙๕

ตารางที่ ๒๘ รายชอ่ื หน่วยงาน/สถานศกึ ษาที่เปน็ ต้นแบบหรอื แบบอย่างที่ดี ๙๖

ในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย

ตารางท่ี ๒๙ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามโี รงเรียนขนาดเลก็ ปีการศกึ ษา 2559 ๙๙

ตารางท่ี ๓๐ สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามีโรงเรียนขนาดเลก็ ปกี ารศกึ ษา 2560 ๙๙

ตารางที่ ๓๑ รายช่ือหน่วยงาน/สถานศึกษาทเี่ ปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี ๑๐๐

ในการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบาย

ตารางท่ี ๓๒ จานวนนักเรยี นทีอ่ ่านออกเขยี นได้ และอา่ นคลอ่ งเขยี นคล่องปีการศึกษา 2560 ๑๐๓

ตารางท่ี ๓๓ รายชื่อหน่วยงาน/สถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ี ๑๐๕

ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย

ตารางที่ ๓๔ จานวนสถานศกึ ษาที่จดั กระบวนการเรยี นร้แู ละพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ๑๐๗

ตามโครงการของตน้ สังกดั และมลู นิธิยุวสถิรคุณ หรอื อน่ื ๆ แบบมีสว่ นร่วม

ตารางที่ ๓๕ รายชือ่ หน่วยงาน/สถานศกึ ษาท่เี ป็นตน้ แบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ี ๑๑๓

ในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย

ตารางท่ี ๓๖ จานวนและรอ้ ยละครทู ผี่ า่ นการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครรู ูปแบบครบวงจร ๑๒๒

ตารางที่ ๓๗ รายชื่อหน่วยงาน/สถานศึกษาทเี่ ปน็ ต้นแบบหรือแบบอยา่ งท่ดี ี ๑๒๗

ในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย

ตารางที่ ๓๘ สถานศกึ ษาที่ใชก้ ระบวนการลูกเสอื /ยวุ กาชาด/เนตรนารี ๑๓๕

ในการจดั การเรยี นการสอน/กิจกรรมเพ่ือเสรมิ สรา้ งความเป็นพลเมอื งดี (Civic Education)

ตารางท่ี ๓๙ รายชอ่ื หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาท่เี ป็นตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งท่ีดี ๑๓๗

ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย

1

บทที่ ๑
บทนา

ความเปน็ มาของการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล

การตรวจราชการเป็นมาตรการสาคัญประการหน่ึงในการบริหารราชการแผ่นดินท่ีจะทาให้การ
ปฏิบัติราชการหรือการปฏิบัตภิ ารกิจของหนว่ ยงานของรัฐบรรลุเป้าหมาย สอดคล้องกบั แผนการบริหารราชการ
แผน่ ดินและนโยบายของรัฐบาล สามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรค และกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชนด้วยความ
โปร่งใสเป็นธรรม ประหยดั และมีประสทิ ธภิ าพ ตามพระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารบรหิ ารกิจการ
บ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 บัญญัติว่า การบริหารราชการต้องเป็นไปเพ่ือประโยชน์สุขแก่ประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ โดยประชาชนได้รับการ
อานวยความสะดวกและไดร้ ับการตอบสนองความตอ้ งการ โดยมีผู้ตรวจราชการกระทรวงรับผิดชอบและมอี านาจ
หนา้ ที่ในการตรวจราชการเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ิราชการของหน่วยงานของรฐั และเจ้าหนา้ ท่ีของรฐั เฉพาะในขอบเขต
อานาจหน้าท่ีของกระทรวง ในฐานะผู้สอดส่องดูแลแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงและปลัดกระทรวง ตามที่
กาหนดไวใ้ น ขอ้ 9 ของระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 และ ขอ้ 8 กาหนดให้
การตรวจราชการดาเนินการตามแผนการตรวจราชการประจาปีหรือตามที่ได้รับคาสั่งจากผู้บังคับบัญชา
นายกรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีโดยให้จัดทาแผนการตรวจราชการประจาปีให้แล้วเสร็จตามกาหนดเวลา
รวมทั้งกาหนดมาตรฐาน และเครอ่ื งมอื ในการตรวจราชการของผ้ตู รวจราชการให้เป็นไปในทิศทางเดยี วกนั

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 บัญญัติให้
กระทรวงศึกษาธิการมีผู้ตรวจราชการของกระทรวงเพ่ือทาหน้าท่ีในการตรวจราชการ และติดตาม ประเมินผล
ระดับนโยบาย การนิเทศ ให้คาปรึกษา แนะนา เพื่อการปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบกับคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560เรื่อง การปฏิรูป
การศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 5 ให้มีสานักงานศึกษาธิการภาค จานวนสิบแปดภาค เพื่อ
ปฏิบัตภิ ารกิจของกระทรวงศึกษาธกิ ารในระดบั พืน้ ที่ ทาหนา้ ทข่ี ับเคลอื่ นการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดย
การอานวยการ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงา นในสังกัด
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและหน่วยงานอ่นื หรอื ภาคสว่ นท่ีเกย่ี วข้องในพน้ื ท่ีน้ัน ๆ และใหม้ ีอานาจหน้าที่ตามข้อ 5 (4)
ใหส้ านักงานศกึ ษาธกิ ารภาคมีอานาจหน้าท่ีสนับสนุนการตรวจราชการและการติดตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
ตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่รับผิดชอบและประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ขอ้ 2.5 เก่ยี วกับหน้าท่คี วามรับผิดชอบด้านการตรวจราชการการตดิ ตาม ตรวจสอบ
และประเมนิ ผลของสานักงานศึกษาธิการภาค ดงั น้ี (1) วางแผนการจดั ระบบการประสานการตรวจราชการของ
ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่รับผิดชอบ(2) กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการ
ดาเนินงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวดั ในพื้นท่ีรบั ผิดชอบ(3) กากับ ดูแล เร่งรัด ตดิ ตามและประเมินผลการ

2

บริหารการจัดการศึกษาของหน่วยงานการศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่รับผิดชอบ(4) ติดตาม
ประเมนิ ผลการดาเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่รบั ผิดชอบ(5) จัดระบบ
ประสาน สนับสนุน ชว่ ยเหลอื และการรายงานเหตุภัยพบิ ัตแิ ละภาวะวิกฤติทางการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบและ
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2560 ข้อ 23 การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับภาคเป็นการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาที่อยู่ในอานาจหนา้ ท่ีของสานกั งานศึกษาธิการภาคน้ันๆตามภารกิจ
และตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการโดยให้สานักงานศกึ ษาธิการภาคดาเนนิ การ ดงั น้(ี ๑) กาหนดแนวทาง
การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา การใช้จา่ ยงบประมาณการจดั การศึกษาให้สอดคลอ้ งกับ
นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ(๒) ศึกษา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ วิจยั นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหาร
จัดการศึกษาของหน่วยงานการศึกษา(๓) ให้คาแนะนาหรือข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงระบบการติดตาม
ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาและข้อเสนอเพ่ือการพฒั นาระบบการบริหารจดั การศึกษาระดับจงั หวัด(๔) รายงาน
ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับภาคไปยังคณะกรรมการ(๕) ติดตาม ตรวจสอบ
เฝ้าระวังเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มีผลกระทบ และรายงานผลกระทบผลการดาเนินการต่อปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
และส่วนราชการท่ีเก่ียวข้อง(๖) จัดทาข้อมลู สารสนเทศ เพอ่ื ประโยชน์ในการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล
การจดั การศึกษาในระดับภาคประกอบกับคาสง่ั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารท่ี สป. 403/๒๕๖1 ลงวันที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์
พ.ศ. ๒๕๖1 มอบนโยบายการตรวจราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖1 จานวน 14 นโยบายและจุดเน้น
พเิ ศษตามข้อส่ังการของนายกรัฐมนตรี จานวน 2 เร่ือง โดยในการตรวจราชการดังกล่าว สานักงานศึกษาธิการ
ภาค ๑๔ มีหน้าทีใ่ ห้ความร่วมมือและสนบั สนุนการปฏบิ ัติงานของผ้ตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ซงึ่ ต้องลง
พื้นที่ร่วมตรวจราชการเพ่ือจัดเก็บข้อมูล พร้อมทั้งนาข้อมูลที่ได้มาจัดทารายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ รอบที่ 1 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561ของสานักงาน
ศึกษาธกิ ารภาค 14 ให้ผู้บรหิ ารระดบั สูงของกระทรวงศึกษาธิการ และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องรับทราบตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงค์ของการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผล

๑. เพ่ือติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยงานทางการศึกษา/สถานศึกษา
ในพื้นที่เขตตรวจราชการท่ี 14 สู่การปฏิบัติ ตามนโยบายการตรวจราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2. เพ่ือรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายการตรวจ
ราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รวมท้ังปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของหน่วยงานทาง
การศึกษา/สถานศึกษาในพืน้ ทีเ่ ขตตรวจราชการที่ ๑๔ ให้ผู้บรหิ ารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ

กรอบแนวคดิ ของการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล

การตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ในปัจจุบันได้ใช้แนวปฏิบัติตามระเบียบสานัก
นายกรฐั มนตรี ว่าดว้ ยการตรวจราชการ พ.ศ.2548 พระราชบญั ญตั ิระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ.2546 (มาตรา 20) และระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและ

3

ประเมินผลการจัดการศึกษา พ.ศ. 2560 โดยการตรวจราชการกรณีปกติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
เป็นการตรวจตดิ ตามในเร่ืองที่เป็นนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการตามยุทธศาสตร์กระทรวง
ซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนงาน/โครงการสาคัญรวมท้ังการตรวจราชการเชิงรุกในเรื่องที่เป็นปัญหา
การศึกษาในพื้นทเ่ี ฉพาะเขตตรวจราชการ ซ่งึ มีผลกระทบต่อการดาเนินงานของหน่วยงานในพ้ืนท่ี หรือก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนเสียหายแก่ประชาชน จานวน 14 นโยบาย และจุดเน้นพิเศษตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี
จานวน 2 เรื่องแบง่ การตรวจราชการ ปีละ 2 งวด ได้แก่ งวดท่ี 1 ระหวา่ งเดอื นตุลาคม – มีนาคม และงวดท่ี 2
ระหว่างเดือนเมษายน – กันยายน ของปีงบประมาณ และมีการรายงานผลในลักษณะการตรวจ ติดตามและ
ประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบาย รวมทั้งปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะของหน่วยงานทางการศึกษา/
สถานศกึ ษาซึง่ เป็นหนว่ ยรบั ตรวจในพ้นื ท่รี ับผดิ ชอบ ดงั ภาพที่ 1

การมีส่วนรว่ ม (Participation)

ปัจจัยนาเขา้ กระบวนการตรวจ ผลผลติ
(Input) ราชการ (Process) (Output)

– ผูต้ รวจราชการ – คมู่ อื การตรวจ – รายงานผลการ
– ผู้ชว่ ยผู้ตรวจ ราชการ ตรวจราชการ
ราชการ การตดิ ตาม
– บคุ ลากรสนบั สนนุ ตรวจสอบและ ผลลพั ธ์
การตรวจราชการ ประเมนิ ผลการจัด (Outcome)
– นโยบายการตรวจ การศกึ ษาของ
ราชการ ประจาปี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร – ผลการตรวจ
งบประมาณ ประจาปงี บประมาณ ราชการฯ นาไปสู่
– ขอ้ มลู สารสนเทศ พ.ศ. 256๑ การปฏิบัติ
สนับสนุนการตรวจ – แผน/กาหนดการ – หน่วยรบั การตรวจ
ราชการ ตรวจราชการ มีการพัฒนาขีด
– งบประมาณ – เครอ่ื งมอื การตรวจ สมรรถนะและ
– วัสด/ุ อุปกรณ์ ราชการ ศกั ยภาพองคก์ ร
– ปฏบิ ัตกิ ารตรวจ – ประชาชนได้รบั
ราชการในพืน้ ท่ี การบริการท่ีดี
– ข้อเสนอแนะการ
ตรวจราชการ
– บันทึกสมดุ ตรวจ
ราชการ

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดของการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล

4

ขอบเขตของการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล

๑. ขอบเขตด้านพื้นที่ตรวจราชการ ได้แก่ เขตตรวจราชการท่ี ๑๔ ประกอบด้วย ๔ จังหวัด คือ
จงั หวัดนครราชสีมา ชัยภมู ิ บุรีรัมย์ และสรุ นิ ทร์

2. ขอบเขตของหน่วยรับตรวจ ได้แก่ หน่วยงานทางการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นท่ี
เขตตรวจราชการที่ ๑๔ ดังน้ี

๒.๑ สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด (ศธจ.) จานวน ๔ แหง่ ได้แก่
– สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนครราชสีมา
– สานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั ชัยภมู ิ
– สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั บรุ ีรัมย์
– สานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสุรินทร์

๒.๒ สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา (สพป.) จานวน ๑๗ เขต ไดแ้ ก่
– สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต ๑
– สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต ๒
– สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต ๓
– สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๔
– สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต ๕
– สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต ๖
– สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต ๗
– สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาชัยภูมิ เขต ๑
– สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชัยภมู ิ เขต ๒
– สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาชยั ภูมิ เขต ๓
– สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบุรรี ัมย์ เขต ๑
– สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์ เขต ๒
– สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาบรุ ีรัมย์ เขต ๓
– สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบุรรี มั ย์ เขต ๔
– สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๑
– สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๒
– สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๓

๒.๓ สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา (สพม.) จานวน ๔ เขต ได้แก่
– สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๐(จังหวดั ชยั ภมู )ิ
– สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๑ (จังหวดั นครราชสีมา)
– สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๒ (จังหวัดบรุ รี มั ย์)
– สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ (จังหวดั สรุ ินทร)์

5

๒.๔ สานกั งานอาชีวศกึ ษาจงั หวัด จานวน ๔ แห่ง ไดแ้ ก่
– สานักงานอาชวี ศกึ ษาจังหวดั นครราชสมี า
– สานกั งานอาชีวศกึ ษาจงั หวัดชยั ภูมิ
– สานกั งานอาชีวศึกษาจงั หวดั บุรรี ัมย์
– สานักงานอาชวี ศึกษาจงั หวัดสรุ นิ ทร์

๒.๕ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.) จานวน ๔ แห่ง
ได้แก่

– สานักงาน กศน.จงั หวัดนครราชสีมา
– สานักงาน กศน.จังหวัดชยั ภมู ิ
– สานักงาน กศน.จังหวดั บรุ รี ัมย์
– สานักงาน กศน.จังหวัดสรุ ินทร์
๒.๖ สานักงานคณะกรรมการประสานและส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชนจังหวัด (ปสกช.) จานวน ๔
แหง่ ไดแ้ ก่
– สานกั งาน ปสกช.จังหวัดนครราชสมี า
– สานักงาน ปสกช.จงั หวัดชยั ภมู ิ
– สานกั งาน ปสกช.จงั หวัดบรุ รี ัมย์
– สานักงาน ปสกช.จังหวัดสรุ ินทร์
๒.๗ ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ เขตการศกึ ษา ๑๑ (ศกศ.) จานวน ๑ แหง่
– ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา ๑๑ จงั หวดั นครราชสมี า
3. ขอบเขตระยะเวลา การจัดทารายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
ของกระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 1 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสานักงานศึกษาธิการภาค ๑๔ เป็น
การรายงานวิธีการดาเนินการของหน่วยงานและผลการดาเนินงานท่ีหน่วยรับตรวจนานโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารลงส่กู ารปฏิบตั ิในระหว่างเดอื นตลุ าคม ๒๕60 ถงึ เดอื นมนี าคม ๒๕61
4. ขอบเขตด้านเนื้อหา ได้แก่ นโยบายการตรวจราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตาม
คาสั่งกระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี สป. 403/2561 ลงวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2561 ดังน้ี
ก. นโยบายการตรวจราชการ
1. การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
2. การจัดการศึกษาปฐมวยั
3. การพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษ
4. การพฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์
5. การเพมิ่ สดั ส่วนผ้เู รยี นสายอาชพี
6. การพัฒนากาลงั คนตามความต้องการของสถานประกอบการภายในประเทศ
7. การบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก

6

8. การอ่านออกเขียนได้
9. การสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศกึ ษา
10. การขบั เคลื่อนนโยบายการจัดการศกึ ษาในระดบั ภูมิภาค
11. การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการใช้ทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา
12. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจชายแดนภาคใต้และ
พ้ืนท่ีพิเศษ
13. การพฒั นาครูทง้ั ระบบ
14. การพฒั นานักเรียนและเยาวชนผ่านกระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด
ข. จุดเนน้ พิเศษตามข้อสั่งการของนายกรฐั มนตรี
การพัฒนานักเรียน นกั ศึกษา
1. การลดชั่วโมงเรียนด้านวิชาการ ลดปริมาณการบ้าน ลดการเรียนพิเศษเสริมจาก
การเรียนในห้องเรยี นปกติ
2. การประเมินผลคณุ ภาพการศึกษาทมี่ มี าตรฐานเปน็ ที่ยอมรบั

คานิยามศพั ท์

การตรวจราชการ หมายถึง ตรวจ ติดตามผล เร่งรัด แนะนา สืบสวน สอบสวน สอบข้อเท็จจริง
สดับตรับฟังเหตกุ ารณ์ เสนอแนะ ติดต่อประสานงาน ตรวจเยี่ยม หรอื ดาเนนิ การอ่นื ใดเพอ่ื ใหก้ ารปฏิบัตงิ านของ
หนว่ ยงานของรัฐและเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั สมั ฤทธ์ผิ ลตามนโยบายของรัฐบาลและของกระทรวง

เขตตรวจราชการท่ี 14 หมายถึง การกาหนดเขตตรวจราชการของผู้ตรวจราชการสานัก
นายกรัฐมนตรีใหส้ อดคล้องกับการปรับปรุงการจัดกลุ่มจังหวัดและการกาหนดจังหวัดท่เี ป็นศนู ย์ปฏิบัติการกลุ่ม
จังหวัด 18 กลุ่มจังหวัด ตามมติคณะรัฐมนรี โดยให้ทุกระทรวง ทบวง กรม ปรับปรุงเขตตรวจราชการให้
สอดคล้องกับการกาหนดเขตตรวจราชการ สานกั นายกรัฐมนตรีจึงมีคาสั่งสานักนายกรัฐมนตรี ท่ี 10/2551 ลง
วนั ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2551 เร่ือง การกาหนดเขตตรวจราชการของผู้ตรวจราชการสานักนายกรฐั มนตรี โดย
เขตตรวจราชการท่ี 14 ประกอบด้วย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวดั ชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ และ
จงั หวดั สุรนิ ทร์

หน่วยรับตรวจ หมายถึง หน่วยงานทางการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการได้แก่ สานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
สานักงานอาชีวศึกษาจังหวดั สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัด สานกั งาน
คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศกึ ษาเอกชนจงั หวัด และศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ

7

ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ

1. หนว่ ยงานทางการศกึ ษาและสถานศึกษา ในเขตตรวจราชการที่ 14 สามารถนานโยบายไปสู่การ
ปฏบิ ัตกิ ารได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ลตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของนโยบาย

2. ผลการดาเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ งวดท่ี 1 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2561 ในเขตตรวจราชการท่ี 14 เปน็ ขอ้ มูลสารสนเทศ
สาหรับนาไปใช้ปรบั ปรุงและพัฒนาแนวทางการดาเนินงานตามนโยบายแห่งรัฐและกระทรวงศึกษาธิการ

3. หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาในเขตตรวจราชการท่ี 14 ได้รับการพัฒนาขีด
สมรรถนะองค์กร

8

บทที่ 2
ขอ้ มูลและเอกสารทเี่ กี่ยวข้อง

การศึกษาเอก สารในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขอ ง
กระทรวงศึกษาธิการ รอบที่ 1 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสานักงานศึกษาธิการภาค 14 ได้ศึกษา
กฎหมาย ระเบียบ ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพ่ือสนับสนุนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ซ่ึงมปี ระเดน็ นาเสนอ ดงั นี้

1. ระเบยี บทเี่ ก่ยี วข้องกบั การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
2. นโยบายของรฐั บาล (พลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตร)ี
3. นโยบายของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
4. ข้อมลู นโยบายการตรวจราชการกรณปี กติ
5. ข้อมูลสารสนเทศพืน้ ฐานทางการศกึ ษา

ระเบียบทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล

การตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธกิ ารในปัจจบุ ันได้ใช้แนวปฏิบตั ิตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชก าร
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 และ
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2560 ดังนี้

1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
มาตรา๖ได้แก่ การบรหิ ารราชการเพือ่ บรรลุเป้าหมาย ดงั น้ี

(๑) เกดิ ประโยชน์สุขของประชาชน
(๒) เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิตอ่ ภารกจิ ของรัฐ
(๓) มีประสทิ ธิภาพและเกดิ ความคมุ้ ค่าในเชิงภารกจิ ของรฐั
(๔) ไม่มีข้ันตอนปฏิบัติงานเกนิ ความจาเป็น
(๕) มีการปรบั ปรุงภารกิจของสว่ นราชการให้ทันต่อสถานการณ์
(๖) ประชาชนได้รบั การอานวยความสะดวกและได้รบั การตอบสนองความตอ้ งการ
(๗) มีการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการอย่างสมา่ เสมอ
รวมท้ังมาตรา ๙ ได้กาหนดสรุปได้ว่า การบริหารราชการเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐให้
สว่ นราชการปฏบิ ัติ ดังตอ่ ไปน้ี

9

(๑) ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการ
ล่วงหนา้

(2) การกาหนดแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการตาม (๑) ต้องมีรายละเอียดของข้ันตอน
ระยะเวลา และงบประมาณทจ่ี ะตอ้ งใช้ในการดาเนินการของแต่ละขั้นตอน เป้าหมายของภารกิจผลสัมฤทธิ์ของ
ภารกจิ และตัวช้วี ัดความสาเร็จของภารกจิ

(๓) สว่ นราชการต้องจดั ให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตาม
หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารทสี่ ่วนราชการกาหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคลอ้ งกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กาหนด

(๔) ในกรณที ี่การปฏบิ ัติภารกิจหรือการปฏิบัตติ ามแผนปฏิบตั ริ าชการเกดิ ผลกระทบ
ต่อประชาชนให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการที่จะต้องดาเนินการแก้ไขหรือบรรเทาผลกระทบน้ัน หรือเปลี่ยน
แผนปฏบิ ัติราชการใหเ้ หมาะสม

2. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๐
กาหนดให้มีผู้ตรวจราชการของกระทรวงเพื่อทาหน้าท่ีในการตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามและ
ประเมนิ ผลระดบั นโยบาย เพอ่ื นเิ ทศให้คาปรึกษาและแนะนา และเพ่ือการปรบั ปรงุ พฒั นา

3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๘ บัญญัติไว้ว่าการ
ตรวจราชการให้ดาเนินการตามแผนการตรวจราชการประจาปี หรือตามที่ได้รับคาสั่งจากผู้บังคับบัญชา
นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรใี ห้จดั ทาแผนการตรวจราชการตามรอบปีงบประมาณ โดยให้หวั หน้าหน่วยงาน
ของรัฐและผู้ตรวจราชการร่วมกันจดั ทาให้แลว้ เสร็จภายในเดอื นตุลาคมของปีงบประมาณนั้น และข้อ ๑๒ เพอ่ื ให้
เปน็ ไปตามวัตถุประสงคข์ องการตรวจราชการตามขอ้ ๗ ใหผ้ ู้ตรวจราชการมอี านาจและหน้าท่ี ดงั ต่อไปนี้

(๑) สั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผูร้ ับการตรวจปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหน่ึงให้ถูกต้องตามกฎหมาย
กฎ ระเบียบ ข้อบังคบั ประกาศ มติของคณะรฐั มนตรี หรือคาส่งั ของนายกรฐั มนตรี

(๒) ส่งั เป็นลายลกั ษณ์อักษรให้ผู้รับการตรวจปฏิบัตหิ รอื งดเว้นการปฏิบตั ใิ นเรื่องใดๆ ในระหว่าง
การตรวจราชการไว้กอ่ น หากเหน็ ว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการหรอื ประโยชน์ของประชาชนอยา่ ง
ร้ายแรง และเมอื่ ไดส้ งั่ การดังกลา่ วแล้ว ให้รายงานผ้บู งั คับบัญชาเพ่ือทราบหรอื พจิ ารณาโดยดว่ น

(๓) สั่งให้หน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐช้ีแจง ให้ถ้อยคา หรือส่งเอกสารและหลักฐาน
เก่ยี วกบั การปฏิบัติงานเพอ่ื ประกอบการพิจารณา

(๔) สอบข้อเท็จจริง สืบสวนสอบสวน หรือสดับตรับฟังเหตุการณ์ เมื่อได้รบั การร้องเรียน หรือมี
เหตุอันสมควร โดยประสานการดาเนินงานกับหน่วยงานตรวจสอบอ่ืนๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ
ประชาชนหรอื ปัญหาอุปสรรคของหนว่ ยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ขี องรฐั

(๕) ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการของผูร้ ับการตรวจ และรายงานผู้บงั คับบัญชาเพอ่ื ทราบ
(๖) เรยี กประชุมเจ้าหน้าทขี่ องรฐั เพื่อชแี้ จง แนะนา หรือปรึกษาหารอื ร่วมกัน

10

4. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษาพ.ศ. 2560

โดยท่ีมาตรา ๒๐ แหง่ พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
กาหนดให้มีการตรวจราชการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ประกอบกับคาสั่งหวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติท่ี ๑๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๓ เมษายน ๒๕๖๐ เร่ือง การปฏิรปู
การศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ที่กาหนดให้มีการกากับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปอย่างมี
ประสทิ ธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ และสอดคล้องกบั การบริหารราชการของกระทรวงศึกษาธิการ
จึงเห็นสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจ ติดตามประเมินผลและนิเทศการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๔๙ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๘ ประกอบกับมาตรา ๒๐ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญตั ิระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงออกระเบียบไว้
ดงั ตอ่ ไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ยการตรวจราชการ การติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐”

ขอ้ ๒ ระเบยี บน้ใี ห้ใชบ้ งั คบั ต้ังแตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจ ติดตาม ประเมินผล และ
นิเทศการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙” บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคาส่ังอ่ืนใดในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้ว ใน
ระเบยี บน้หี รอื ซ่ึงขดั หรอื แย้งกบั ระเบียบนี้ ใหบ้ งั คบั ใช้ระเบียบน้แี ทน
ข้อ ๔ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดและในกากับดูแลของ
กระทรวงศึกษาธิการ
ข้อ ๕ ในระเบียบนี้
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร
“ส่วนราชการ” หมายความว่า สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทยี บเท่า และมหี น้าที่ในการ
จัดการศกึ ษา
“หน่วยงานการศึกษา” หมายความว่า หน่วยงานการศึกษาตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบ
ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
“ผู้รับการตรวจ” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าท่ีของรัฐซ่ึงปฏิบัติหน้าที่อยู่ใน
หน่วยงานของรัฐในสังกัด หรือในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ รวมท้ัง โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วย
โรงเรียนเอกชน

11

“เขตตรวจราชการ” หมายความว่า พ้นื ท่กี ารตรวจราชการตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรี ว่า
ดว้ ยการตรวจราชการ

“ผู้ตรวจราชการ” หมายความว่า ผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
“ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ” หมายความว่า ข้าราชการที่ปลัดกระทรวงศึกษาธิการมอบหมายให้
ปฏบิ ัติหนา้ ทเ่ี ปน็ ผชู้ ว่ ยผตู้ รวจราชการ
ขอ้ ๖ ใหป้ ลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามระเบียบน้ี และให้มีอานาจตคี วามและวนิ ิจฉัย
ปญั หาเกีย่ วกบั การปฏิบัติตามระเบียบนี้

หมวด ๑ การตรวจราชการ
ข้อ ๗ การตรวจราชการ มวี ตั ถุประสงค์ ดังนี้

(๑) เพ่ือช้ีแจงนโยบาย ประสานงานและเร่งรัดให้ผู้รับการตรวจ นาแผนการศึกษา
แห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ไปจัดทา
แผนปฏบิ ัตริ าชการให้ครบถว้ น

(๒) เพ่ือติดตาม ประเมนิ ผล และเสนอแนะการบริหารงบประมาณการจดั การศกึ ษาให้
สอดคล้องกับหลักการศกึ ษา แนวทางการจัดการศึกษา และคณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษา

(๓) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบาย เพ่ือนิเทศให้
คาปรกึ ษา เพ่อื การปรบั ปรงุ พัฒนาแก่สว่ นราชการและหนว่ ยงานการศึกษา

(๔) เพ่อื เร่งรัดตดิ ตามความกา้ วหนา้ ความสาเร็จ ปัญหาอปุ สรรค และเสนอแนะในการ
ปฏิบตั งิ านตามแผนปฏิบตั ิการ

(๕) เพ่ือตรวจเย่ียม รับฟังหรือสดับตรับฟังทุกข์สุข ความคิดเห็น นิเทศ ช่วยเหลือ
แนะนา ชแ้ี จงให้เจ้าหนา้ ท่ีมสี มรรถนะและขวญั กาลังใจในการปฏบิ ัติงาน

ข้อ ๘ การตรวจราชการ การติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาระดับกระทรวง
เป็นการตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามและประเมินผลระดบั นโยบาย เพื่อนิเทศ ใหค้ าปรกึ ษา และ
แนะนาเพื่อการปรับปรุงพัฒนาเก่ียวกบั การปฏิบัติราชการของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ในขอบเขตอานาจหน้าที่
ของกระทรวงศึกษาธิการในฐานะผู้สอดส่องดูแลแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

การตรวจราชการจะต้องไม่กระทบกระเทือนต่อสาระการบริหารและการจัดการศึกษา ของ
สถานศึกษาของรัฐทจี่ ัดการศึกษาระดับปริญญาที่เปน็ นิติบุคคลท่ีสามารถดาเนินกิจการไดโ้ ดยอิสระ พฒั นาระบบ
บริหารและการจัดการที่เปน็ ของตนเอง มคี วามคล่องตวั มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยู่ภายใต้การกากับดูแลของ
สภาสถานศกึ ษาตามกฎหมายวา่ ด้วยการจัดตงั้ สถานศกึ ษาน้ัน

ข้อ ๙ ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการแต่งตง้ั ผู้ตรวจราชการคนหนึ่ง เปน็ หวั หน้าผู้ตรวจราชการ มี
หนา้ ท่ีให้คาปรึกษาแนะนาแกผ่ ู้ตรวจราชการ เพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ัติงานของผตู้ รวจราชการเปน็ ไปตามระเบียบน้ี และ
จะให้มรี องหัวหนา้ ผูต้ รวจราชการด้วยก็ได้

12

ข้อ ๑๐ ให้นาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการมาใช้บังคับกับการตรวจ
ราชการของผตู้ รวจราชการโดยอนโุ ลม และให้ผู้ตรวจราชการมีอานาจหนา้ ท่ี ดงั นี้

(๑) สง่ั เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ให้ผ้รู ับการตรวจปฏิบตั ิในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ให้ถูกต้องตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คับ ประกาศ มติของคณะรัฐมนตรี หรือคาส่งั ของนายกรฐั มนตรี

(๒) สง่ั เป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้รบั การตรวจ ปฏิบัตหิ รืองดเว้นการปฏบิ ัตงิ านใด ๆ ใน
ระหว่างการตรวจราชการไว้ก่อน หากเห็นว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการหรือประชาชน อย่าง
รา้ ยแรง และเมอ่ื ผตู้ รวจราชการได้ส่ังการดงั กล่าวแลว้ ใหร้ ายงานผู้บงั คบั บญั ชาเพือ่ ทราบหรอื พิจารณาโดยด่วน

(๓) สั่งให้ผู้รับการตรวจชี้แจง ให้ถ้อยคา หรือส่งเอกสารและหลักฐานเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติงานเพ่ือประกอบการพจิ ารณา

(๔) สอบข้อเท็จจริง สืบสวนข้อเท็จจริง หรือสดับตรับฟังเหตุการณ์ เมื่อได้รับการ
ร้องเรียน หรอื เม่ือมีเหตอุ ันควร โดยประสานการดาเนินงานกับหน่วยงานตรวจสอบอื่น ๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาความ
เดอื ดรอ้ นของประชาชนหรือปัญหาอุปสรรคของผรู้ ับการตรวจ

(๕) ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ัย ติดตามและประเมินผลระดับนโยบายเพ่อื นเิ ทศให้คาปรึกษา
แนะนาเพ่ือปรบั ปรงุ พฒั นา

(๖) แต่งต้ังบุคคลหรือคณะทางานเพือ่ สนับสนุนการดาเนินงานตามอานาจหน้าท่ีไดต้ าม
ความเหมาะสม

(๗) ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ตามท่ีผบู้ งั คับบัญชามอบหมาย
ข้อ ๑๑ ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการมอบหมายข้าราชการปฏิบัติหน้าท่ีผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ
โดยให้มีหนา้ ท่ี ดังน้ี

(๑) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทารายละเอียดข้อมูลนโยบาย แผนงาน งาน
โครงการ จดุ เน้นและประเด็นการตรวจราชการ ในระดับเขตตรวจราชการ

(๒) จัดทาและประสานแผนปฏิบัติการตรว จราชการของผู้ตรวจราชการ
กระทรวงศึกษาธิการประจาปี ร่วมกับสานักงานศึกษาธิการภาคและหน่วยงานสนับสนุนการตรวจราชการ ใน
ระดบั เขตตรวจราชการ

(๓) จดั ทาแนวทางการตรวจราชการประจาปใี นระดบั เขตตรวจราชการ
(๔) ประสานและสนับสนุนข้อมูลด้านการศึกษา ระเบียบ กฎหมาย และข้อมูล
สารสนเทศท่เี กย่ี วขอ้ ง ประกอบการปฏิบัตริ าชการของผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
(๕) ร่วมปฏิบตั ิการตรวจราชการกบั ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร และประสาน
การตรวจราชการกบั หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง
(๖) จัดทา รายงานผลการตรวจราชการ หลังการตรวจราชการเสนอผู้ตรวจราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ เพอ่ื รายงานผบู้ รหิ ารระดับสงู
(๗) จัดทารายงานผลการตรวจราชการภาพรวมและรายรอบร่วมกับหน่วยงานท่ี
เกยี่ วข้อง

13

(๘) ติดตามผลการดาเนินงานตามข้อเสนอแนะ ข้อส่ังการ ของผู้ตรวจราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร และผู้บรหิ ารระดบั สูงในระดับเขตตรวจราชการ

(๙) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ท่ีผู้บังคับบัญชามอบหมายท้ังนี้ จานวน หลักเกณฑ์และวิธีการ
ไดม้ าซ่งึ ผชู้ ว่ ยผตู้ รวจราชการตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามที่ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด

ข้อ ๑๒ ให้กระทรวงศึกษาธิการ จัดให้มีสานักงานผู้ตรวจราชการเป็นท่ีปฏิบัติงานประจาของ
ผูต้ รวจราชการ โดยใหม้ บี คุ ลากรสนับสนนุ ในการปฏบิ ตั งิ านตามสมควร

ข้อ ๑๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือหัวหน้าส่วน
ราชการ อาจมอบอานาจการบริหารงานทั่วไป บริหารงานบคุ คล บริหารงานวิชาการ บริหารงบประมาณ ตามที่
กฎหมายกาหนดให้ผู้ตรวจราชการปฏิบัตริ าชการแทนในพน้ื ท่ีเขตตรวจราชการท่รี ับผดิ ชอบตามความจาเป็นและ
ความเหมาะสมได้

ข้อ ๑๔ ให้สานักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มี
อานาจหน้าที่ตามท่กี าหนดไวใ้ นกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

ขอ้ ๑๕ ใหผ้ รู้ ับการตรวจ มีหน้าท่ี ดังน้ี
(๑) อานวยความสะดวก และให้ความร่วมมือในการปฏิบตั ิงานแก่ผตู้ รวจราชการ หรือ

ผทู้ าหน้าที่ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย
(๒) จัดเตรียมบุคคล เอกสาร หลักฐาน ในการปฏิบัติงานให้ครบถ้วนสมบูรณ์ พร้อมที่

จะรบั การตรวจ
(๓) ช้ีแจงหรือตอบคาถาม พร้อมท้ังให้ข้อมูลใด ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อการตรวจ

ราชการ
(๔) จัดให้มสี มุดตรวจราชการตามแบบที่กฎหมายหรือระเบียบกาหนด
(๕) ปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติงานใด ๆ ที่ผู้ตรวจราชการได้ตรวจและแนะนาใน

ระหว่างการตรวจราชการ หากไมส่ ามารถปฏบิ ัติได้ ให้รายงานผ้บู ังคับบัญชาเพ่ือทราบหรือพจิ ารณาและรายงาน
ให้ผู้ตรวจราชการทราบภายในสิบหา้ วนั

(๖) รายงานความก้าวหน้า ความสาเร็จของผลการดาเนินงานตามข้อสั่งการหรือ
ขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจราชการต่อผู้บังคบั บัญชา และผูต้ รวจราชการ

(๗) ดาเนนิ การอ่นื ใดทีเ่ ป็นประโยชน์ในการตรวจราชการ
ข้อ ๑๖ ในระหว่างการตรวจราชการแต่ละคร้ัง ถ้าผู้ตรวจราชการพบเหน็ ปัญหา อุปสรรค หรือ
แนวโนม้ ท่ีจะเกิดผลกระทบต่อการบริหารจัดการศึกษาหรอื ประเทศโดยส่วนรวม หรือต่อผลสัมฤทธข์ิ องนโยบาย
โครงการหรือแผนงาน ให้รีบทารายงานโดยสรุปพร้อมข้อเสนอแนะต่อหัวหน้าหน่วยงาน ผู้รับการตรวจเพ่ื อ
ดาเนนิ การแกไ้ ขให้ลลุ ่วงโดยเร็วแล้วแจง้ ให้ผู้ตรวจราชการทราบภายในสามสิบวนั นับแต่ไดร้ บั รายงานจากผตู้ รวจ
ราชการ
ข้อ ๑๗ ในการตรวจราชการตามข้อ ๑๖ เม่ือเสร็จส้ินการตรวจราชการแต่ละคราว ให้ผู้ตรวจ
ราชการ รายงานผลการตรวจราชการต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารผ่านปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

14

ข้อ ๑๘ เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ส่ังการหรือมีความเห็นในรายงานผลการ
ตรวจราชการเป็นประการใดแล้ว ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานการศึกษาท่ีเก่ียวข้องรับไปดาเนินการ และ
รายงานใหท้ ราบโดยเรว็

หมวด ๒ การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
ขอ้ ๑๙ การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา มีวตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี

(๑) เพ่ือให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามภารกิจและนโยบายการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

(๒) เพื่อให้คาปรึกษา แนะนา และข้อเสนอแนวทางเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาเกี่ยวกับ
การปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงานและเจา้ หน้าท่ี

(๓) เพ่ือการบริหารงบประมาณในการบริหารจัดการศึกษาของส่วนราชการและ
หน่วยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารให้มปี ระสทิ ธิภาพ

(๔) เพื่อให้ความเห็นเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนวทางการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

ข้อ ๒๐ ให้มีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ จานวนสิบเกา้ คน ประกอบด้วย

(๑) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานกรรมการ
(๒) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนหกคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เลขาธกิ าร
สภาการศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธกิ าร
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผูอ้ านวยการสานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา
(๓) กรรมการที่เป็นผูแ้ ทนผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ จานวนสองคน
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนเก้าคน ซ่ึงแต่งต้ังจากผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ
ความเชี่ยวชาญ และประสบการณส์ ูงในด้านการศึกษาปฐมวัย ดา้ นการศึกษาขั้นพ้ืนฐานด้านการอุดมศึกษา ดา้ น
การอาชีวศึกษา ด้านการศกึ ษาเอกชน ด้านการวจิ ัยและประเมนิ ผลด้านการบรหิ ารการศึกษา ดา้ นศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรม และด้านเศรษฐกิจ การเงนิ และงบประมาณ ดา้ นใดดา้ นหนึ่งหรอื หลายด้านรวมกนั
(๕) ผู้อานวยการสานักตรวจราชการและติดตามประเมินผล เป็นกรรมการและ
เลขานกุ าร ทัง้ นี้ จานวน หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการได้มาของคณะกรรมการใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
ข้อ ๒๑ ใหค้ ณะกรรมการตามข้อ ๒๐ มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) กาหนดนโยบาย เกณฑ์มาตรฐาน ระบบการติดตามตรวจสอบประเมินผล และ
แผนการตรวจราชการประจาปี แผนการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ
(๒) ก ากั บ ติด ตาม ต ร ว จส อ บ แ ละ ป ร ะ เมิ น ผ ลก าร จั ดก าร ศึก ษา ขอ ง
กระทรวงศึกษาธิการ

15

(๓) กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏบิ ัติราชการของสว่ นราชการสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ

(๔) กากับ ดูแล ติดตาม ประเมินผล และเสนอแนะการบริหารงบประมาณของส่วน
ราชการสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

(๕) พิจารณาให้ความเห็นชอบ และให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับรายงานผลการตรวจ
ราชการ การรายงานการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

(๖) ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาระบบ และการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับการ
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร

(๗) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ หรือคณะทางาน เพ่ือดาเนินการใด ๆ ตามที่
คณะกรรมการกาหนด

(๘) ดาเนินการอ่ืนใดที่เกี่ยวข้องกับการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร

ส่วนท่ี ๑ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา
ระดบั สว่ นราชการ

ข้อ ๒๒ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับส่วนราชการ เป็นการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาท่อี ยู่ในอานาจหนา้ ทีข่ องสว่ นราชการนั้น ๆ ตามภารกจิ และ
ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการโดยให้ส่วนราชการดาเนินการ ดงั น้ี

(๑) กาหนดแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา การใช้
จา่ ยงบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานการศึกษาใน
สังกัด

(๒) ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารจัด
การศึกษาของหน่วยงานการศึกษาในสงั กดั

(๓) รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของหน่วยงาน
การศึกษาในสงั กดั ไปยงั คณะกรรมการ

ส่วนท่ี ๒ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา
ระดบั สานักงานศกึ ษาธิการภาค

ข้อ ๒๓ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับภาคเป็นการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาทีอ่ ยใู่ นอานาจหน้าท่ขี องสานักงานศึกษาธิการภาคน้ัน ๆ ตามภารกิจ
และตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการโดยใหส้ านกั งานศกึ ษาธิการภาคดาเนนิ การ ดังนี้

(๑) กาหนดแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา การใช้
จา่ ยงบประมาณการจัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกบั นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร

(๒) ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารจัด
การศึกษาของหน่วยงานการศึกษา

16

(๓) ให้คาแนะนาหรือข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงระบบการติดตามประเมินผลการ
จดั การศกึ ษา และข้อเสนอเพอื่ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษาระดับจงั หวดั

(๔) รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาระดับภาคไปยัง
คณะกรรมการ

(๕) ติดตาม ตรวจสอบ เฝ้าระวงั เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ที่มีผลกระทบและรายงานผลกระทบ
ผลการดาเนินการตอ่ ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร และสว่ นราชการทเ่ี กี่ยวข้อง

(๖) จัดทาข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือประโยชน์ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจัดการศึกษาในระดบั ภาค

(๗) ปฏบิ ัติงานอน่ื ใดตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย
ส่วนท่ี ๓ การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

ระดบั สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั
ขอ้ ๒๔ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับจังหวัดเป็นการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาและการนิเทศการศึกษาที่อยู่ในจังหวัดนั้น ๆ ตามภารกิจของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยใหส้ านักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดดาเนนิ การ ดังน้ี

(๑) กาหนดแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของ
หนว่ ยงานการศกึ ษาในระดับจงั หวดั

(๒) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการบรหิ ารจัดการศึกษาของ
หน่วยงานการศึกษาในระดับจงั หวดั

(๓) จัดทาข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือประโยชน์ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจดั การศึกษาในระดับจงั หวดั

(๔) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจัดการศึกษาของหน่วยงานการศึกษาในสังกัดและจัดทารายงานเสนอต่อคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
และสานกั งานศกึ ษาธิการภาค

(๕) ติดตาม ตรวจสอบ เฝ้าระวังเหตุการณต์ ่าง ๆ ทมี่ ีผลกระทบและรายงานตอ่ ผู้ตรวจ
ราชการ ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และส่วนราชการที่เกยี่ วข้อง

(๖) ปฏบิ ัตงิ านอ่นื ใดตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ส่วนท่ี ๔ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา

ระดบั เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
ข้อ ๒๕ การติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษาเป็นการศึกษา
วิเคราะห์ วิจัย นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการบรหิ ารและการดาเนนิ การ โดยมุง่ ผลสัมฤทธ์ขิ องหน่วยงานและ
สถานศึกษาในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพื่อเตรียมการรับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลจากหน่วยงาน
ภายนอก

17

ข้อ ๒๖ ให้คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่
การศกึ ษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ กาหนด จานวน หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา มอี านาจหน้าท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการนามาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มากาหนดเป็น
แนวทางในการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนินการของหน่วยงานและสถานศึกษาใน
สังกัดเขตพื้นทก่ี ารศึกษา

(๒) กาหนดแนวทางการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การบริหารและการดาเนินการของ
หน่วยงานและสถานศกึ ษาในสงั กดั เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

(๓) พิจารณาแผนการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลและนิเทศการศึกษา โดย
มุง่ เนน้ ผลสมั ฤทธิข์ องหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา

(๔) ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนนิ การตามแผนท่ีกาหนด
(๕) รับทราบผลการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนินการตาม
แผน และให้ข้อเสนอแนะ เพอ่ื การปรบั ปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเนือ่ ง
(๖) ส่งเสริมให้มีการประสานงานการติดตาม ประเมินผล และนิเทศการศึกษากับ
คณะกรรมการ และหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง
(๗) แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั การศึกษาตามความ
จาเปน็
(๘) ปฏบิ ัตงิ านอ่นื ใดตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ขอ้ ๒๗ ให้สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา ดาเนนิ การ ดงั น้ี
(๑) มอบหมายศึกษานเิ ทศก์ หรือข้าราชการอื่นในสงั กัด ทาหน้าท่ีติดตาม ประเมนิ ผล
และนิเทศการศึกษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
(๒) จัดทาแผนการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาประจาปี ให้สอดคล้องกับ
แผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศกึ ษาของเขตพน้ื ที่การศกึ ษา แล้วแจ้งให้สถานศึกษาในสงั กดั ทราบ
(๓) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ดาเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษา การ
บริหารการศึกษา โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดเขตพนื้ ที่การศึกษา เพือ่ การเตรียมการ
รับการนิเทศติดตามและประเมนิ ผลจากหน่วยงานภายในและภายนอก
(๔) รายงานผลการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชา และ
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา
(๕) ประสานให้หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ เพื่อช้ีแจง ให้ถ้อยคาหรือส่งเอกสารและ
หลักฐานเกีย่ วกบั การปฏบิ ัตงิ าน
(๖) ปฏิบตั ิงานอืน่ ใดตามท่ีได้รับมอบหมาย

18

หมวด ๓ เบ็ดเตลด็
ข้อ ๒๘ ในกรณีท่ีบุคคลใดหรือหน่วยงานในสังกัด หรือหน่วยงานในกา กับดูแลของ
กระทรวงศึกษาธิการใด ไม่ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการหรือไม่ดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ให้
ผู้บงั คับบัญชารายงานไปยังคณะกรรมการ
ข้อ ๒๙ เพ่ือประโยชน์ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ให้สว่ นราชการ หน่วยงานการศึกษา หรือผูร้ ับตรวจราชการ ขอความร่วมมอื หรือประสาน
ข้อมูลทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศกึ ษาไปยังหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องได้
5. คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๑๙/๒๕๖๐ เร่ือง การปฏิรูปการศึกษาใน
ภมู ิภาคของกระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อ 5 (4) ให้มีสานกั งานศึกษาธิการภาค มีอานาจหน้าที่สนับสนุนการตรวจ
ราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ของ
กระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่รับผิดชอบ ข้อ 11 (3) ให้มีสานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีอานาจหน้าท่ี ส่ังการ
กากับ ดูแล เร่งรัดติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงานของส่วนราชการหรอื หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และ ข้อ 8 (๖) ให้ กศจ. มีอานาจหน้าท่ี
กากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
6. ประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในสานักงาน
ศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยข้อ 2.5
เก่ียวกับหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลของสานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารภาค ดังน้ี
(1) ว างแผน ก ารจัดร ะ บบก าร ปร ะสาน ก ารตร ว จร าชก าร ของ ผู้ตร ว จร าชก าร
กระทรวงศึกษาธกิ ารในพ้นื ท่รี ับผดิ ชอบ
(2) กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
ในพ้นื ทร่ี ับผิดชอบ
(3) กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาของหน่วยงาน
การศกึ ษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการในพืน้ ทีร่ ับผดิ ชอบ
(4) ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรข์ องกระทรวงศึกษาธิการใน
พ้นื ที่รับผิดชอบ
(5) จัดระบบประสาน สนับสนุน ช่วยเหลือ และการรายงานเหตุภัยพิบัติและภาวะวิกฤติทาง
การศกึ ษาในพนื้ ท่รี ับผิดชอบ
ข้อ 4.5 หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ด้านการนิเทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผล มดี งั น้ี
(1) รับผิดชอบงานธุรการของคณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ และคณะทางาน
ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง รวมทัง้ ปฏิบัตริ าชการ ทเ่ี ปน็ ไปตามอานาจและหน้าทขี่ อง กศจ.และตามที่ กศจ. มอบหมาย

19

(2) ขับเคลื่อน ประสานงาน เร่งรัด กากับติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารจัด
การศกึ ษาของหน่วยงานทางการศกึ ษา ในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารในพน้ื ทร่ี บั ผิดชอบ

(3) สง่ เสรมิ สนับสนุนและดาเนินการเก่ียวกับงานดา้ นวชิ าการ การนิเทศและแนะแนวการศกึ ษา
ทุกระดับ ทุกประเภท รวมท้ัง ตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา

(4) ประสานและสนับสนนุ การตรวจราชการของผ้ตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ
(5) ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูล สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตรวจราชการ จัดทาแผนการรองรับ
การตรวจราชการ และดาเนินการเก่ียวกับการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงในการตรวจราชการติด
ตาม และประเมนิ ผล ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
(6) ส่งเสริมและพัฒนาหลักสตู รการจัดการเรียนการสอน กระบวนการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้และ
สื่อการเรยี นรตู้ ่าง ๆ ท่ีเกยี่ วกับการสร้างเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม
(7) สั่งการ กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือ
หน่วยงานและสถนศกึ ษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจงั หวัดใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
และยุทธศาสตร์ชาติ
(8) จัดทากรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและกาหนดตัวชี้วัดการดาเนินงานในลักษณะ
ตวั ช้วี ัดรว่ มของส่วนราชการหรือหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ ารในจังหวดั
(9) ขบั เคลือ่ นระบบประกันคุณภาพการศึกษา
๗. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา พ.ศ. 2560ข้อ ๕(4) ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอานาจหน้าที่กากับ ดูแล ติดตามและ
ประเมนิ ผลสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานและในเขตพ้ืนที่การศึกษา
โดยมีโครงสรา้ งของการตรวจราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดโครงสร้างของการตรวจราชการโดยยึดหลักความสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๐ ระเบียบสานัก
นายกรฐั มนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ
การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดศกึ ษา พ.ศ. ๒๕60 ดงั นี้

20

ภาพท่ี 2 โครงสร้างระบบการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร

ภาพท่ี 3 โครงสร้างระบบการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธกิ าร

21

ภาพที่ 4 โครงสร้างระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธกิ าร

นโยบายของรฐั บาล (พลเอกประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี)

ตามที่นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เม่ือวันท่ี ๑๒
กันยายน ๒๕๕๗ โดยได้กาหนดนโยบายไว้ ๑๑ ด้าน ให้มีการปฏิรูปด้านต่าง ๆ และส่งเสริมความสามัคคีและ
ความสมานฉนั ทข์ องประชาชนในชาติ ดงั นี้

นโยบายที่ ๑ การปกป้องและเชิดชสู ถาบันพระมหากษตั รยิ ์
นโยบายที่ ๒ การรกั ษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ

๒.๑ การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประเด็น
แรงงานต่างด้าว ยาเสพติด

๒.๒ เร่งแก้ไขปญั หาการใช้ความรนุ แรงในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
นโยบายท่ี ๓ การลดความเหล่ือมลา้ ของสังคม และการสร้างโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารของรฐั

๓.๑ ในระยะเฉพาะหน้าจะเร่งสร้างโอกาสอาชีพและการมีรายได้ท่ีม่ันคงแก่ผู้ท่ีเข้าสู่
ตลาดแรงงาน รวมทง้ั สตรี ผู้ด้อยโอกาสและแรงงานข้ามชาติทถี่ ูกกฎหมาย พร้อมทง้ั ยกระดบั คุณภาพแรงงาน

๓.๒ ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาการคา้ มนุษย์
๓.3 จัดระเบียบสังคม
นโยบายที่ ๔ การศึกษาและเรยี นรู้ การทะนบุ ารงุ ศาสนา ศลิ ปะ และวัฒนธรรม ประกอบดว้ ย

22

4.1 จัดให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญทั้งการศึกษาใน
ระบบ และการศกึ ษาทางไกลไปพร้อมกัน เพ่ือสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตาม
ศักยภาพ ประกอบอาชีพและดารงชีวิตได้โดยมีความใฝร่ ู้และทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดีมีคุณธรรม สร้างเสริม
คุณภาพการเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างสัมมาชีพในพนื้ ที่ ลดความเหล่ือมล้า และพัฒนากาลงั คนให้เป็นท่ี
ตอ้ งการเหมาะสมกบั พ้นื ท่ี ทง้ั ในด้านการเกษตร อตุ สาหกรรม และธุรกิจบรกิ าร

4.๒ ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ให้
สอดคล้องกับความจาเป็นของผู้เรียนและลักษณะพ้ืนที่ของสถานศึกษา และปรับปรุงและบูรณาการระบบการ
กยู้ มื เงิน เพอ่ื การศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพเพอื่ เพ่ิมโอกาสแกผ่ ู้ยากจนหรือ ด้อยโอกาส จัดระบบการสนับสนุนให้
เยาวชนและประชาชนทวั่ ไปมสี ิทธิเลอื กรบั บริการการศึกษาท้ังในระบบโรงเรยี นและนอกโรงเรียน โดยจะจดั ให้มี
คปู องการศกึ ษาเปน็ แนวทางหน่ึง

4.๓ ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
ประชาชนทั่วไป มโี อกาสร่วมจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและทัว่ ถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้
กระจายอานาจการบริหารจัดการสถานศึกษาสู่สถานศึกษา เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
ตามศักยภาพและความพรอ้ ม โดยให้สถานศึกษาสามารถเปน็ นติ บิ คุ คลและบรหิ ารจัดการไดอ้ ยา่ งอสิ ระคล่องตวั

4.๔ พัฒนาคนทกุ ช่วงวัยโดยสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตลอดชีวติ เพ่ือใหส้ ามารถมีความรแู้ ละ
ทักษะใหม่ที่สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้
และหลักสูตรให้เชื่อมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนา
ผู้เรียน ทั้งในด้านความรู้ ทักษะ การใฝเ่ รียนรู้ การแก้ปญั หา การรับฟังความเหน็ ผู้อนื่ การมีคุณธรรม จริยธรรม
และความเปน็ พลเมอื งดี โดยเน้นความรว่ มมอื ระหวา่ งผู้เก่ียวขอ้ งทั้งในและนอกโรงเรยี น

4.๕ ส่งเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน เพ่ือสร้างแรงงานที่มี
ทักษะโดยเฉพาะในท้องถ่ินที่มีความต้องการแรงงาน และพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาให้เช่ือมโยงกับ
มาตรฐานวชิ าชีพ

4.๖ พัฒนาระบบการผลติ และพัฒนาครูที่มคี ุณภาพและจิตวิญญาณของความเป็นครู
เน้นครูผู้สอนให้มีวฒุ ิตรงตามวิชาที่สอน นาเทคโนโลยีสารสนเทศและเคร่อื งมอื ท่ีเหมาะสมมาใช้ในการเรียนการ
สอนเพ่ือเปน็ เคร่ืองมือชว่ ยครูหรอื เพอ่ื การเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การเรียนทางไกล การเรยี นโดยระบบอิเลก็ ทรอ
นิกส์ เปน็ ตน้ รวมท้ังปรบั ระบบประเมินสมรรถนะทส่ี ะทอ้ นประสทิ ธิภาพการจัดการเรยี นการสอนและการพฒั นา
คุณภาพผู้เรยี นเปน็ สาคญั

4.๗ ทะนุบารุงและอุปถัมภพ์ ระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ สนับสนุนให้องค์กรทาง
ศาสนา มีบทบาทสาคัญในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างสันติสุขและความ
ปรองดองสมานฉนั ท์ในสงั คมไทยอยา่ งยั่งยนื และมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาสังคมตามความพรอ้ ม

4.๘ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทย และภาษาถ่ิน ภูมิ
ปัญญาท้องถ่ิน รวมท้ังความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อการเรียนรู้ สร้างความภาคภูมิใจใน

23

ประวตั ิศาสตร์และความเป็นไทย นาไปส่กู ารสร้างความสัมพันธอ์ ันดีในระดับประชาชน ระดับชาติ ระดับภมู ิภาค
และระดบั นานาชาติ ตลอดจนเพิ่มมลู ค่าทางเศรษฐกจิ ให้แกป่ ระเทศ

4.๙ สนับสนุนการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านและ
วัฒนธรรมสากล และการสร้างสรรคง์ านศิลปะและวัฒนธรรมท่เี ป็นสากล เพ่ือเตรียมเขา้ สู่เสาหลักวัฒนธรรมของ
ประชาคมอาเซยี นและเพ่ือการเปน็ ส่วนหนึง่ ของประชาคมโลก

4.๑๐ ปลูกฝังค่านิยมและจิตสานึกท่ีดี รวมทั้งสนับสนุนการผลิตส่ือคุณภาพเพื่อเปิด
พืน้ ท่สี าธารณะใหเ้ ยาวชนและประชาชนไดม้ โี อกาสแสดงออกอย่างสร้างสรรค์

นโยบายที่ ๕ การยกระดับคณุ ภาพบรกิ ารด้านสาธารณสุข และสขุ ภาพของประชาชน
๕.1 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ
๕.2 พัฒนาขีดความสามารถในการวิจัยดา้ นวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสขุ

นโยบายที่ ๖ การเพ่มิ ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
๖.1 ชกั จูงให้นักทอ่ งเท่ียวตา่ งชาติเขา้ มาเท่ยี วในประเทศไทย
๖.2 แก้ปญั หานา้ ท่วมในฤดูฝนทง้ั ที่นา้ ทว่ มเปน็ บริเวณกว้างและ ท่วมเฉพาะพ้ืนที่และ

ปญั หาขาดแคลนนา้ ในบางพนื้ ที่และบางฤดูกาล
๖.3 ปฏิรูปโครงสร้างราคาเช้ือเพลิงประเภทต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับต้นทุนและให้มีที่

เหมาะสมระหวา่ งน้ามันตา่ งชนิดและผ้ใู ชต้ า่ งประเภท
๖.4 เพ่ิมขีดความสามารถของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้

เขม้ แขง็ สามารถแข่งขนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๖.5 ส่งเสรมิ ภาคเศรษฐกจิ ดิจิทลั และวางรากฐานของเศรษฐกิจดจิ ิทลั ให้เร่ิมขับเคลื่อน

ได้อย่างจริงจัง
นโยบายท่ี ๗ การสง่ เสริมบทบาทและการใชโ้ อกาส ในประชาคมอาเซยี น
๗.1 เรง่ พัฒนาความเช่อื มโยงดา้ นการขนสง่ และระบบโลจิสติกสภ์ ายในอนุภูมิภาคและ

ภมู ภิ าคอาเซียน
๗.2 ต่อเชื่อมเสน้ ทางคมนาคมขนส่งและระบบโลจิสติกส์จากฐานการผลิตในชุมชน สู่

แหล่งแปรรปู เพ่อื เพมิ่ มูลค่าท้งั ภายในประเทศและเชอ่ื มโยงกบั อาเซียน
๗.3 พัฒนาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ

นโยบายที่ ๘ การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย
และพฒั นา และนวัตกรรม

๘.1 เร่งเสริมสรา้ งสังคมนวัตกรรม
๘.2 ผลกั ดนั งานวจิ ัยและพัฒนาไปสู่การใชป้ ระโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์
นโยบายที่ ๙ การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหวา่ งการอนุรักษ์
กบั การใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืน

24

๙.๑ ในระยะเฉพาะหน้าเร่งปกป้องและฟื้นฟูพื้นท่ีอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าโดยให้
ความสาคัญในการแก้ไข

๙.2 บริหารจัดการทรพั ยากรนา้ ของประเทศให้เปน็ เอกภาพในทกุ มติ ทิ ั้งเชิงปรมิ าณและคุณภาพ
๙.3 เร่งรัดการควบคมุ มลพิษท้ังทางอากาศ ขยะ และนา้ เสีย

นโยบายที่ ๑๐ การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการป้องกัน
ปราบปรามการทจุ ริต และประพฤตมิ ชิ อบในภาครฐั

๑๐.1 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝงั ค่านยิ ม คณุ ธรรม จริยธรรม และจิตสานึก
ในการรกั ษาศักดศ์ิ รขี องความเป็นขา้ ราชการและความซอื่ สัตย์สุจรติ ควบค่กู บั การบริหารจดั การ

นโยบายที่ ๑๑ การปรับปรงุ กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม ท่สี อดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕60 มาตรา ๖๔ ท่ีระบุให้รัฐบาลดาเนินการตรากฎหมายและกาหนดนโยบาย
ในการบริหารราชการแผน่ ดนิ

นโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป์ ได้กาหนดยทุ ธศาสตรต์ าม
กรอบปฏริ ปู การศึกษาให้ทุกสว่ นราชการ/หน่วยงานในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยมีรายละเอียด ดังนี้

วสิ ัยทัศน์
ยกระดับคุณภาพการศึกษาท่ีดีขึ้น มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และลดความเหล่ือมล้าอย่าง

ท่วั ถึง ผลติ และพฒั นากาลังคนให้สอดคล้องกับความตอ้ งการและรองรับการพัฒนาประเทศ
พันธกิจ
๑. ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเพอื่ รองรบั การพัฒนาประเทศ
๒. เสรมิ สร้างโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนอย่างเสมอภาค
๓. พัฒนาระบบบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล
ประเด็นยทุ ธศาสตร์
๑. ผลิตและพฒั นากาลงั คนใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการและรองรับการพัฒนาประเทศ
๒. หลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้
๓. ระบบงบประมาณและทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา
๔. ระบบตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการศึกษา
๕. ระบบส่ือสารและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
๖. พฒั นาระบบการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
๗. ระบบการบรหิ ารจดั การ
๘. สร้างโอกาสทางการศึกษา
๙. พฒั นาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
๑๐. การวิจยั เพือ่ พฒั นาและเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

25

เปา้ ประสงค์
๑. กาลงั คนมีคณุ ภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาประเทศ
๒. ผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา มีสมรรถนะตรงความต้องการของตลาดแรงงาน

ตามกรอบคณุ วุฒิวชิ าชพี
๓. การจัดการอาชวี ศึกษาใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานสากล
๔. ผเู้ รียนจบแล้วมงี านทา
๕. ผู้เรยี นไดร้ ับการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมีคุณภาพ มาตรฐาน
๖. ผู้เรียนและประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะ และพัฒนาการเหมาะสมตามวัย สามารถ

แสวงหาความร้ไู ด้ สอดคล้องกบั บรบิ ทในปจั จุบัน
๗. นักเรียน นักศึกษา ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์ไทย มีค่านิยมที่ถูกต้อง

ตามคา่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ และมภี ูมคิ ุ้มกัน ปลอดภัยจากยาเสพติด
๘. สถานศึกษาได้รับการจัดสรรทรัพยากรอย่างท่ัวถึงและเป็นธรรมสอดคล้องกับนโยบายการ

ผลติ และพฒั นากาลังคน
๙. สถานศกึ ษามกี ารเบกิ จ่ายงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้
๑๐. ผู้เรยี นไดร้ ับการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมีคุณภาพและมาตรฐาน
๑๑. ระบบและกลไกการประเมินคุณภาพการศึกษามปี ระสทิ ธภิ าพ
๑๒. สถานศึกษาทุกระดับทกุ ประเภทผา่ นการรับรองมาตรฐานทางการศกึ ษา
๑๓. หน่วยงานมีระบบส่ือสารและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และ

ทันสมัยอย่างครอบคลุม มคี ุณภาพ รวดเรว็ และทั่วถึง
๑๔. ระบบ ICT มกี ารบรู ณาการเชื่อมโยงกบั หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกอย่าง

ครอบคลมุ มคี ุณภาพ รวดเรว็ และทั่วถึง
๑๕. นาระบบ ICT เข้ามาใช้จดั การเรียนรู้และบรหิ ารจัดการอย่างเปน็ รูปธรรม และกว้างขวาง

ทางการศึกษา
๑๖. หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งร่วมจัดทาแผนการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครแู ละบุคลากร

ทางการศึกษา
๑๗. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพฒั นาตามเส้นทางวิชาชพี ท้ังระบบตามศักยภาพ

เพือ่ ยกระดับการประกอบวชิ าชพี ตามระดบั คุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ
๑๘. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและจรรยาบรรณของวิชาชีพสอดคล้องกับความ

ต้องการของสถานศกึ ษาและท้องถนิ่
๑๙. หน่วยงานมีระบบบรหิ ารจัดการท่คี ล่องตัวและมปี ระสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล
๒๐. มีกลไกการบริหารและการประสานงานการจัดการศึกษาส่วนกลางและในพื้นที่อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ

26

๒๑. มีนโยบาย แผน มาตรฐานและการตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาท่ีหนว่ ยงานปฏิบัติ
สามารถนาไปบรหิ ารจัดการได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

๒๒. นักเรียน นักศกึ ษาทุกกลุ่ม ได้รบั โอกาสทางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานตามสิทธทิ ่ีกาหนดไว้
๒๓. ประชาชนทุกกลุ่มทุกวัยได้รับโอกาสในการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตอยา่ งท่วั ถึงและ
เปน็ ธรรม
๒๔. ประชากรวัยเรียนในพื้นทจี่ งั หวัดชายแดนภาคใต้เขา้ ถงึ การศกึ ษาอยา่ งเสมอภาค
๒๕. ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนาศักยภาพและยกระดับคุณภาพ
ชีวติ
๒๖. ครูมีความปลอดภัย มีขวญั กาลงั ใจในการปฏิบัตงิ าน
๒๗. การบริหารจดั การเงนิ อดุ หนุนการศึกษาเป็นไปด้วยความถกู ตอ้ ง
๒๘. มีหนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบขบั เคลอ่ื นการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใตอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม
๒๙. ได้งานวจิ ยั ทีน่ าไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ ในเชิงสาธารณะและเชงิ พาณิชย์
๓๐. งานวิจัยและบริการวิชาการตอบสนองต่อโจทย์ปัญหาหรือความต้องการ ของชุมชน
ท้องถิน่ และประเทศ
๓๑. มีนวตั กรรรม องค์ความรู้ และฐานข้อมูลด้านการศึกษาท่ีสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางใน
การบรหิ ารจัดการเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
จดุ เนน้ การปฏิรูปการศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการไดก้ าหนดจุดเน้น จานวน 6 ยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการดาเนินงาน
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ดังนี้
๑. หลักสตู รและกระบวนการเรยี นร้กู ารวดั ผลและการประเมินผล
๒. ผลิต พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
๓. ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บริการทางการศกึ ษาและการเรียนรู้อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ
๔. ผลิต พฒั นากาลงั คนและงานวิจัยที่สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของการพัฒนาประเทศ
๕. สง่ เสริมและพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่อื การศึกษา
๖. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการและส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนมีส่วนรว่ ม

ข้อมูลนโยบายการตรวจราชการกรณปี กติ

การตรวจราชการกรณีปกติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ เปน็ การตรวจติดตามในเรื่องท่ีเป็น
นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการตามยุทธศาสตร์กระทรวง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
แผนงาน/โครงการสาคัญรวมท้ังการตรวจราชการเชิงรุกในเรื่องท่ีเป็นปัญหาการศึกษาในพ้ืนท่ีเฉ พาะเขตตรวจ
ราชการซึ่งมีผลกระทบต่อการดาเนินงานของหน่วยงานในพ้ืนท่ี หรือก่อให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายแก่
ประชาชน จานวน 14 นโยบายและจดุ เน้นพิเศษตามขอ้ สงั่ การของนายกรฐั มนตรี จานวน 2 เรอ่ื ง ดังนี้

27

ก. นโยบายการตรวจราชการ
๑. การยกระดบั คุณภาพการศึกษา
๒. การจดั การศึกษาปฐมวัย
๓. การพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษ
๔.การพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์
๕. การเพ่มิ สัดสว่ นผูเ้ รียนสายอาชีพ
๖. การพัฒนากาลงั คนตามความตอ้ งการของสถานประกอบการภายในประเทศ
๗. การบรหิ ารจัดการศกึ ษาโรงเรียนขนาดเล็ก
๘. การอ่านออกเขียนได้
9. การสง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมในสถานศึกษา
10. การขบั เคลื่อนนโยบายการจัดการศกึ ษาในระดบั ภูมิภาค
11. การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการใช้ทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา
12. การยกระดับคุณภาพการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และ

พืน้ ที่พิเศษ
13. การพัฒนาครูทั้งระบบ
14. การพัฒนาผู้เรียนและเยาวชนผา่ นกระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด

ข. จุดเน้นพเิ ศษตามขอ้ สัง่ การของนายกรัฐมนตรี
การพัฒนานกั เรยี น นกั ศึกษา
1. การลดช่ัวโมงเรียนด้านวิชาการ ลดปริมาณการบ้าน ลดการเรียนพิเศษเสริมจาการเรียนใน

หอ้ งเรยี นปกติ
2. การประเมินผลคณุ ภาพการศึกษา ท่ีมมี าตรฐานเปน็ ทย่ี อมรบั

ขอ้ มูลพ้ืนฐานทางการศึกษาของหนว่ ยงานทุกสังกดั ของสานักงานศึกษาธิการภาค 14

ขอ้ มลู พ้ืนฐานทางการศกึ ษาของหนว่ ยงานทุกสังกัด (สพฐ. (สพป., สพม.. สศศ.), สอศ., สกอ., สช.,
กศน.,ศธจ.,) ปกี ารศึกษา 2559 – 2560 ประกอบด้วย

1. ข้อมูลจานวนนกั เรียน/นักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2560 ในทกุ สงั กดั ข้อมูล ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน
2560 จาแนกตามระดับชน้ั อนุบาล – ปรญิ ญาเอก

2. จานวนบุคลากร ประกอบด้วย ข้าราชการพลเรือนในส่วนกลางในสถานศึกษา จานวนครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (ข้าราชการครู ครูอัตราจ้าง พนักงานราชการ ลูกจ้างประจา
ลกู จ้างชวั่ คราว)

3. จานวนสถานศึกษา จาแนกประเภทของสถานศกึ ษาในแตล่ ะสังกดั เช่น สอศ.แยกเป็นวิทยาลยั /
ประเภทตา่ ง ๆ และสงั กดั เอกชนหรอื รัฐบาล เปน็ ต้น (รายละเอียดดงั แสดงในตารางท่ี 1 – 5)

28

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (สพฐ.) มปี รมิ าณงานในความรบั ผดิ ชอบทปี่ ระกอบดว้ ย
หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา ผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรียน ดงั แสดงในตารางท่ี ๑

ตารางท่ี 1 จานวนหน่วยงาน สถานศึกษา ผ้บู ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และนักเรียน จาแนกรายจังหวดั

รายการ (หน่วย) นครราชสมี า ชัยภูมิ บรุ รี มั ย์ สรุ นิ ทร์ เขตตรวจ
ราชการที่ 14

1. สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา 7 343 17
2. สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา 1 111 4
3. สถานศึกษาทงั้ หมด (โรงเรยี น) 1,361 735 919 835 3,850
1,309 695 843 748 3,595
3.1 โรงเรยี น สังกัด สพป. (โรงเรียน) 50 37 66 85 238
3.2 โรงเรียน สังกัด สพม. (โรงเรยี น) 0 010 1
3.3 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ (โรงเรยี น) 0 100 1
3.4 โรงเรยี นการศึกษาพเิ ศษ (โรงเรียน) 1 101 3
3.5 โรงเรียนเฉพาะความพกิ าร (โรงเรียน) 1 191 12
3.6 ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ (แห่ง) 306,463 136,803 254,671 210,244 908,181
4. จานวนนกั เรยี น (คน) 281,661 127,077 239,840 195,686 844,264
4.1 โรงเรียนปกติ (คน) 45,718 20,072 38,145 29,608 133,543
141,012 64,262 114,820 93,919 414,013
- ก่อนประถมศกึ ษา (คน) 63,548 28,448 57,966 47,117 197,079
- ประถมศึกษา (คน) 31,383 14,295 28,909 25,042 99,629
- มธั ยมศึกษาตอนตน้ (คน) 24,802 9,726 14,827 14,558 63,913
- มัธยมศึกษาตอนปลาย (คน)
4.2 โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห/์ ศนู ย์ 371 274 1,397 291 1,397
การศกึ ษาพเิ ศษ (คน) 24,431 9,452 0 14,267 936
- ศกึ ษาสงเคราะห์ (คน) 61,580
- ศกึ ษาพิเศษ (คน) 19,998 9,435 13,430 0 0
- นักเรียนพิการเรยี นร่วมเด็กปกติ (คน) 0 0 4
- นักเรียนด้อยโอกาสเรียนรว่ มกบั เด็กปกติ (คน) 4 0 0
4.3 จัดโดยครอบครัว(คน) 0 11,979 23,944
4.4 จัดโดยสถานประกอบการ (คน)
5. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 11,965 2,141
(คน) 21,092
5.1 ผู้บริหาร (คน) 1,072 1,069
5.2 ครผู ู้สอน (คน) 10,461 10,631 711
5.3 บุคลากรทางการศึกษา (คน)
หมายเหตุ ข้อมูล ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2560 432 279

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ในเขตตรวจราชการท่ี 14 มีหน่วยงานสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) จานวน 21 แห่ง จาแนกเป็น สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา (สพป.) จานวน 17
แห่ง สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา (สพม.) จานวน 4 แหง่ มสี ถานศึกษาจานวนท้ังสิ้น 3,937 แห่ง
โดยจังหวัดนครราชสีมา มีสถานศึกษามากท่ีสุด รองลงมาไดแ้ ก่ บรุ ีรัมย์ ชยั ภูมิ และสุรินทร์ ตามลาดับ นักเรียน
จานวน 908,181 คน และขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน 23,944 คน

29

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) มีปริมาณงานในความรับผิดชอบท่ีประกอบด้วย หน่วยงาน
สถาบัน/สถานศกึ ษา ผบู้ ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และนกั ศึกษา ดงั แสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 จานวนหน่วยงาน สถานศกึ ษา ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และนักศึกษา จาแนกรายจงั หวัด

รายการ (หน่วย) นครราชสมี า ชยั ภมู ิ บรุ ีรมั ย์ สุรินทร์ เขตตรวจ
ราชการที่ 14
1. สถาบนั / สถานศึกษา (แห่ง) 25 17 13 10
--- 65
1.1 สถาบนั การอาชีวศกึ ษา 1 588 1
33
1.2 สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาของ 12 12 5 2
รฐั บาล (แหง่ ) 11 31

1.3 สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาของ 0
เอกชน (แหง่ ) 83,828
75,271
1.4 สถานประกอบการ 33,109 9,620 21,546 19,553 8,557
2. จานวนนกั ศึกษา (คน) 30,730 7,714 19,424 17,403
1,906 2,122 2,150 49,625
2.1 ปกติ (คน) 24,984

2.2 ทวภิ าคี (คน) 2,379 662
แยกเป็นระดับการศึกษา
4,148
- ปวช. (คน) 19,236 4,531 13,836 12,022
2,948 5,437 5,263 197
- ปวส. (คน) 11,336 235 151 118 1,790
158 2,161
- ปริญญาตรี (สายเทคโนโลยี
หรอื สายปฏิบัติการ) (คน) 28

3. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ 1,896 457 960 835
ศึกษา (คน)
99 19 40 39
3.1 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา (คน) 737 179 654 220
3.2 ครู (คน) 259 266 576
7 7 6
3.3 บคุ ลากรทางการศึกษา (คน) 1,060
4.. ประเภทวิชาทเี่ ปิดสอน (วชิ า) 8 - พาณชิ ยกรรม/ - พาณิชยกรรม/ - พาณิชยกรรม/
บริหารธรุ กจิ บรหิ ารธรุ กิจ บริหารธุรกิจ
- พาณิชยกรรม/ - อุตสาหกรรม - อุตสาหกรรม - อุตสาหกรรม
บริหารธรุ กจิ
- เกษตรกรรม - เกษตรกรรม - เกษตรกรรม
- อุตสาหกรรม
- คหกรรม - คหกรรม - คหกรรม
- เกษตรกรรม
- อุตสาหกรรม - อุตสาหกรรม - ศิลปกรรม
- คหกรรม ท่องเท่ยี ว ทอ่ งเท่ยี ว
- เทคโนโลยี - เทคโนโลยี - อุตสาหกรรม
- ศลิ ปกรรม สารสนเทศและ สารสนเทศและ ท่องเท่ยี ว
การสือ่ สาร การส่อื สาร
- อตุ สาหกรรม - ประมง - ประมง
ท่องเทยี่ ว

- เทคโนโลยี
สารสนเทศและ
การส่อื สาร

- ประมง

หมายเหตุ ขอ้ มลู ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2560

30

จากตารางที่ 2 พบว่า ในเขตตรวจราชการที่ 14 มีสถาบัน/สถานศึกษาสังกัด สานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) จานวน 65 แห่ง นักศึกษา (ปกติ) จานวน 75,271 คน นักศึกษา (ทวิ
ภาคี) จานวน 8,557 คน ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จานวน 4,148 คน และประเภทวิชาทเี่ ปิด
สอน จานวนมากที่สุด คือ 8 ประเภทวิชา ได้แก่ พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ, อุตสาหกรรมท่องเท่ียว,
อุตสาหกรรม, เกษตรกรรม, ประมง, คหกรรม, ศิลปกรรม และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) มีปริมาณงานในความรับผิดชอบท่ีประกอบด้วย หน่วยงาน
สถานศกึ ษา ผบู้ ริหาร คณาจารย์ บุคลากรทางการศกึ ษา และนักเรียน นกั ศกึ ษา ดังแสดงในตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 จานวนหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา ผบู้ รหิ าร คณาจารย์ บุคลากรทางการศกึ ษา และนักเรียน นักศึกษา
จาแนกรายจังหวดั

รายการ (หน่วย) นครราชสมี า ชยั ภมู ิ บุรรี ัมย์ สุรนิ ทร์ เขตตรวจ
ราชการท่ี 14
1. มหาวทิ ยาลัย (แห่ง) 7 1 3 1
1.1 มหาวทิ ยาลยั ในกากบั ของรฐั (แหง่ ) 1 - - - 12
1.2 มหาวิทยาลัยของเอกชน (แห่ง) 3 - 1 - 1
1.3 มหาวิทยาลัยของรัฐบาล (แหง่ ) 1 - 1 - 4
1.4 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล (แห่ง) 1 - - - 2
1.5 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ (แห่ง) 1 1 1 1 1
1 1 2 1 4
2. สถานศึกษา (แหง่ ) 1 1 1 1 5
2.1 โรงเรียนสาธติ / ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ (แหง่ ) - - 1 - 4
2.2 สถาบนั วิทยาลัยชมุ ชน (แห่ง) 52,745 7,053 16,759 11,709 1
88,266
3. นกั เรียน/นกั ศกึ ษา (คน) 371 39 298 38
แยกเปน็ นกั เรยี นระดบั การศกึ ษา 317 - 445 76 746
3.1 กอ่ นประถมศกึ ษา (เตรยี มอนุบาล/อนุบาล) (คน) - 42 838
3.2 ประถมศึกษา (คน) - - - 53 42
3.3 มัธยมศึกษาตอนต้น (คน) - - - - 53
3.4 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (คน) - - - - 0
3.5 ปวช.(คน) 781 - - - 781
3.6 ปวส. (คน) 13 6,539 810 11,448 823
3.7 อนปุ รญิ ญา (คน) 48,189 219 14,768 - 80,944
3.8 ปริญญาตรี (คน) 331 144 173 - 723
3.9 ประกาศนียบัตร (คน) 2,153 112 261 52 2,558
3.10 ปรญิ ญาโท (คน) 590 139 4 190 758
3.11 ปรญิ ญาเอก (คน) 1,731 272 2,332
26
4. ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (คน) 785 178 189 1,178
(เฉพาะสายวชิ าการ) 59 65 0
4.1 ขา้ ราชการ 647 771
4.2 พนกั งานมหาวทิ ยาลยั (สถาบันอุดมศกึ ษา
ของรฐั )

31

รายการ (หน่วย) นครราชสมี า ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ เขตตรวจ
ราชการที่ 14
4.3 พนกั งานราชการ (สถาบันอุดมศึกษาของรฐั ) 1 11 14 0
0 26
4.4 ลูกจา้ งประจา (สถาบันอุดมศกึ ษาของรัฐ) 0 00 0 0
0 43
4.5 ลกู จ้างชวั่ คราว (สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) 0 43 0 0 0
0 280
4.6 ผปู้ ฏบิ ัติงาน (สถาบันอุดมศกึ ษาของรัฐ) 0 0 0 1 18
0 1
4.7 อาจารยม์ หาวิทยาลัยเอกชน 280 0 0 1,112 15
190 7,604
4.8 อาจารยว์ ิทยาลยั เอกชน 18 0 0 2,330
440
4.9 ต่ออายุราชการ 0 00 2,641
482
4.10 ครูชานาญการ 0 0 15 2,633

5. คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา (คน) 4,908 543 1,041

5.1 อาจารย์ ผศ. รศ. และ ศจ. (คน) 1,729 139 272

5.2 บคุ ลากรสายสนบั สนนุ ทไี่ มม่ หี น้าท่ีสอน 1,675 189 337
(คน)

5.3 บคุ ลากรสายสนับสนนุ ทมี่ ีหนา้ ทีส่ อน (คน) 1,504 215 432

ท่ีมา :

1. ข้อมลู จานวนนกั ศกึ ษาท้ังหมด ปีการศึกษา 2559 จากเวบ็

http://www.info.mua.go.th/information/show_all_statdata_table.php?data_show=2

2. ขอ้ มูลจานวนบุคลากรสายสนับสนนุ ท่มี ีหน้าท่สี อน และไมม่ หี นา้ ท่ีสอน จากเวบ็

http://www.info.mua.go.th/information/show_all_statdata_table.php?data_show=4

3. ข้อมูลจานวนข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา และข้อมลู ผูด้ ารงตาแหนง่ ทางวชิ าการ จากเว็บ

http://www.nap.mua.go.th/FacultyRecord/Report/University/Summary.aspx

จากตารางที่ 3 พบว่า ในเขตตรวจราชการที่ 14 มีมหาวิทยาลัย สังกัด สานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศกึ ษา (สกอ.) จานวน 11 แห่ง แบ่งเป็น มหาวทิ ยาลัยในกากับของรัฐ 1 แหง่ คือ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุร
นารี มหาวิทยาลัยราชภัฎ 4 แห่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และมหาวิทยาลัยของเอกชน 4 แห่ง
คือ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล วิทยาลัยนครราชสีมา วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์ และมหาวิทยาลัยเฉลิม
กาญจนาบรุ ีรัมย์ นอกจากนี้ยังมีมหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรรี ัมย์ และ
สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกยี รติ จงั หวดั นครราชสีมา

ในส่วนของสถานศึกษา จานวน 5 แหง่ คือ โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏทั้ง 4 จังหวัด และ
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ นักเรียน นักศึกษา จานวน 88,266 คน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
(เฉพาะสายวชิ าการ) จานวน 2,332 คน และคณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา จานวน 7,604 คน

32

สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) มีปริมาณงานในความรับผิดชอบที่ประกอบด้วย
หนว่ ยงาน สถานศึกษา ครู และนักเรยี น ดังแสดงในตารางที่ 4

ตารางท่ี 4 จานวนหนว่ ยงาน สถานศึกษา ผู้บรหิ าร คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรยี น นักศกึ ษา
จาแนกรายจงั หวัด

รายการ (หนว่ ย) นครราชสมี า ชัยภมู ิ บุรรี มั ย์ สุรินทร์ เขตตรวจ
ราชการที่ 14

1. สถานศกึ ษาทัง้ หมด (แหง่ ) 231 84 69 27 411
1.1 การศกึ ษาในระบบ 117 36 35 10 198
- สายสามัญ (แหง่ ) 113 36 35 10 194
- นานาชาติ (แหง่ ) 4 --- 4
1.2 การศึกษานอกระบบ 114 48 34 17 213
- สอนศาสนา (แหง่ ) --- 0
- ศิลปะและกีฬา (แห่ง) - 221 10
- วิชาชพี (แหง่ ) 5 8 13 3 77
- กวดวชิ า (แห่ง) 53 38 19 13 125
- เสริมทักษะชวี ติ (แห่ง) 55 --- 1
- สถาบันศึกษาปอเนาะ (แห่ง) 1 --- 0
- 21,145
2. นกั เรียนทงั้ หมด (คน) 21,145
2.1 การศึกษาในระบบ - 21,145
- สายสามัญ (คน) 21,145 0
- นานาชาติ (คน) - ---
2.2 การศกึ ษานอกระบบ 0
- สอนศาสนา (คน) - --- 0
- ศิลปะและกีฬา (คน) - 0
- วชิ าชีพ (คน) - - 0
- กวดวชิ า (คน) - 0
- เสรมิ ทกั ษะชวี ิต (คน) 0
- สถาบันศกึ ษาปอเนาะ (คน) --- 1,027
---
3. ครูทั้งหมด (คน) 1,027
31 การศึกษาในระบบ 1,027 0
- สายสามญั (คน)
- นานาชาติ (คน) 1,027 0
3.2 การศกึ ษานอกระบบ --- 0
- สอนศาสนา (คน) 0
- ศลิ ปะและกีฬา (คน) --- 0
- วชิ าชพี (คน) 0
- กวดวชิ า (คน) --- 0
- เสริมทกั ษะชีวิต (คน) ---
- สถาบันศกึ ษาปอเนาะ (คน)

หมายเหตุ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 10 มิถนุ ายน 2560

33

จากตารางที่ 4 พบว่า ในเขตตรวจราชการที่ 14 มีสถานศึกษา สังกัด สานักงานคณะกรรมการ
สง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน (สช.) จานวน 411 แห่ง แบง่ เปน็ การศกึ ษาในระบบ จานวน 198 แหง่ และการศึกษา
นอกระบบ จานวน 213 แห่ง

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) มีปริมาณงานในความรบั ผิดชอบที่
ประกอบดว้ ย หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา ผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และนักศกึ ษา ดงั แสดงในตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 จานวนหน่วยงาน สถานศึกษา ผบู้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และนกั เรียน จาแนกรายจังหวัด

รายการ (หนว่ ย) นครราชสมี า ชัยภมู ิ บุรีรมั ย์ สุรนิ ทร์ เขตตรวจ
ราชการท่ี 14
1. กศน.จังหวัด (แห่ง) 1 1 1 1
566 142 212 328 4
2. สถานศึกษา (แหง่ ) 32 16 23 17 1,248
2.1 กศน.อาเภอ (แห่ง) 289 126 189 159
2.2 กศน.ตาบล (แหง่ ) 1 88
2.3 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษา (แห่ง) - - - - 763
2.4 ศนู ย์ฝึกพัฒนาอาชพี (แห่ง) 244 - - 1 1
2.5 ศูนยก์ ารเรียนรชู้ มุ ชน (แหง่ ) 1,156 - - 151 1
289 504 378 636 395
3. ศูนย์การเรียนรตู้ าบล (แหง่ ) 126 189 159 2,674
3.1 ศูนย์การเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งและทฤษฎี 289 763
ใหม่ (แห่ง) 126 189 159
3.2 ศนู ยส์ ง่ เสริมและพัฒนาประชาธิปไตย 289 763
ประจาตาบล (แห่ง) 289 126 - 159
3.3 ศูนย์ดจิ ิทัลชุมชน (แห่ง) 611 126 - 159 574
3.4 ศนู ยก์ ารเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ชมุ ชน (แห่ง) 1 17 26 1,113 574
26 1 1 1 1,767
4. หอ้ งสมดุ ประชาชน (แห่ง) 5 14 22 13 4
4.1 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัด (แหง่ ) 2 1 3 75
4.2 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ (แห่ง) - 11
4.3 หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” - - - -
(แหง่ ) 579 - - - 0
4.4 หอ้ งสมุดรัชมงั คลาฯ (แหง่ ) - 2 1,096 0
4.5 ห้องสมุดสถาบัน กศน.ภาค (แห่ง) 56,841 1,677
4.6 หอ้ งสมดุ อื่น ๆ (แห่ง) เชน่ บ้านหนังสอื 56,921 34,895 24,819
ชมุ ชน 4,062 173,476
21,632 5,004 1,294 931
5. นกั ศึกษา (คน) 28,708 22,775 13,290 10,181 11,291
แยกเป็นระดับการศกึ ษา 28,732 20,212 13,655 67,878
5.1 ประถมศึกษา (คน) 2,439 91,307
5.2 มัธยมศึกษาตอนตน้ (คน) 410 19 12
5.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย (คน) 31
80 40
5.4 มัธยมศึกษาตอนปลาย (นศ.โครงการเรียน 2,969
รว่ มหลกั สตู ร) (คน)
5.5 ปวช. (คน)

34

รายการ (หน่วย) นครราชสมี า ชยั ภมู ิ บรุ ีรมั ย์ สุรินทร์ เขตตรวจ
ราชการท่ี 14
877
6. ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (คน) 525 2 545 462 2,409
6.1 ผู้บริหารการศึกษา (คน) 2 16 22 8
6.2 ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา (คน) 32 19 23 17 88
6.3 ข้าราชการครู (คน) 35 5 23 6 83
6.4 บุคลากรทางการศึกษา (คน) 12 268 7 12 36
6.5 พนักงานราชการ (คน) 434 - 485 282
6.6 ลูกจ้างประจา (คน) 10 567 59 1,469
6.7 ครู บรรณารักษ์ และเจา้ หน้าทีจ่ า้ งเหมา 24
บรกิ าร (คน) 134 701

ข้อมลู ณ วันท่ี 10 มิถนุ ายน 2560

จากตารางที่ 5 พบว่า ในเขตตรวจราชการท่ี 14 มีสานักงาน กศน.จังหวัด จานวน 4 แห่ง
สถานศึกษา 1,248 แหง่ แบ่งเป็น กศน.อาเภอ 88 แหง่ กศน.ตาบล 763 แหง่ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษา
1 แห่ง ศูนยฝ์ กึ พฒั นาอาชพี 1 แห่ง และศูนย์การเรยี นรูช้ ุมชน 395 แหง่ ห้องสมดุ ประชาชน จานวน 1,767
แหง่ นกั ศกึ ษา จานวน 173,476 คน โดย ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลายมากทส่ี ุด คือ 91,307 คน รองลงมา
ไดแ้ ก่ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น 67,878 คน และขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จานวน 2,409
คน

35

บทท่ี 3
ขนั้ ตอนการดาเนนิ งานการตรวจราชการ

๑. ดา้ นการตรวจราชการ

๑.๑ อานาจหน้าที่ของผูต้ รวจราชการ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ.๒๕๔๘ ข้อ ๑๒ เพื่อให้เป็นไป

ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจราชการตามขอ้ ๗ ใหผ้ ตู้ รวจราชการมอี านาจและหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
(๑) สั่งเปน็ ลายลักษณ์อักษรให้ผู้รับการตรวจปฏิบัติในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงให้ถูกต้องตามกฎหมาย

กฎ ระเบียบ ขอ้ บังคับ ประกาศ มตขิ องคณะรฐั มนตรี หรือคาส่งั ของนายกรฐั มนตรี
(๒) ส่ังเป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้รับการตรวจปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติในเรื่องใด ๆ ใน

ระหว่างการตรวจราชการไว้ก่อน หากเห็นว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการหรือประโยชน์ของ
ประชาชนอย่างรา้ ยแรง และเมอ่ื ไดส้ ่งั การดงั กลา่ วแล้ว ใหร้ ายงานผ้บู งั คับบญั ชาเพ่ือทราบหรือพจิ ารณาโดยด่วน

(๓) สั่งให้หน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าท่ีของรัฐช้ีแจง ให้ถ้อยคา หรือส่งเอกสารและหลักฐาน
เกย่ี วกบั การปฏบิ ัติงานเพ่ือประกอบการพจิ ารณา

(๔) สอบข้อเท็จจรงิ สบื สวนสอบสวน หรือสดับตรับฟงั เหตุการณ์ เม่ือไดร้ บั การร้องเรียน หรอื มี
เหตุอันสมควร โดยประสานการดาเนินงานกับหน่วยงานตรวจสอบอื่น ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ
ประชาชนหรือปญั หาอุปสรรคของหน่วยงานของรฐั หรอื เจ้าหน้าทขี่ องรฐั

(๕) ประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการของผูร้ ับการตรวจ และรายงานผบู้ งั คบั บญั ชาเพ่อื ทราบ
(๖) เรยี กประชุมเจ้าหน้าทข่ี องรัฐเพอ่ื ชแ้ี จง แนะนา หรือปรกึ ษาหารอื รว่ มกนั
๑.๒ หน่วยงานที่ทาหน้าท่ี เปน็ ผ้รู ับการตรวจ
ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการ
จดั การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ (ขอ้ ๕) ผู้รับการตรวจราชการ ประกอบด้วย หน่วยงานของรัฐ และเจา้ หน้าที่ของรัฐ
ซึ่งปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ในหน่วยงานของรัฐในสังกัด หรือในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ สานักงาน
ศึกษาธิการภาค สานักงานศึกษาธิการจังหวดั หนว่ ยงานการศกึ ษาและสถานศึกษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ
ยกเวน้ สถาบนั อดุ มศึกษาสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
๑.๓ อานาจ หน้าท่ีของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด
๑.๓.๑ อานาจหน้าทีต่ ามคาสั่งหวั หนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๙/๒๕๖๐ เรอื่ ง ปฏิรปู
การศึกษาในภมู ิภาคของกระทรวงศึกษาธกิ าร ขอ้ ๑๑ (๓)ให้มสี านกั งานศึกษาธิการจงั หวัด มีอานาจหนา้ ท่ี สง่ั
การ กากบั ดูแล เร่งรดั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของสว่ นราชการหรือหน่วยงานและสถานศกึ ษาใน
สังกดั กระทรวงศึกษาธิการใหเ้ ป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
๑.๓.๒ หน้าทีข่ องสานกั งานศึกษาธิการจังหวัดในฐานะผู้รับการตรวจราชการ
ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการ
จดั การศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ (ข้อ ๑๕) สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ในฐานะผู้รบั การตรวจราชการ มหี นา้ ที่ดงั น้ี
(๑) อานวยความสะดวก และให้ความร่วมมือแก่ผตู้ รวจราชการหรือผู้ทาหน้าที่ติดตามประเมิน
เพอื่ ประโยชน์ในการปฏิบตั งิ าน
(๒) จัดเตรียมบุคคล เอกสาร หลกั ฐาน ในการปฏิบตั ิงานให้ครบถ้วนสมบูรณ์ พร้อมท่จี ะรบั การ
ตรวจ

36

(๓) ช้ีแจงและตอบคาถามต่าง ๆ พรอ้ มท้งั ให้ข้อมูลเพม่ิ เตมิ แก่ผูต้ รวจราชการ
(๔) จัดใหม้ ีสมดุ ตรวจราชการตามแบบทกี่ ฎหมายหรือระเบียบกาหนด
(๕) ปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติงานใด ๆ ทีผ่ ู้ตรวจราชการไดต้ รวจและแนะนาในระหว่างการ
ตรวจราชการ หากไม่สามารถปฏิบัติได้ให้รายงานผู้บังคับบัญชาเพ่ือทราบ หรือพิจารณาและรายงานให้ผู้ตรวจ
ราชการทราบภายในสบิ หา้ วนั
(๖) รายงานความก้าวหนา้ ความสาเร็จของการดาเนินงานตามข้อสั่งการหรือข้อเสนอแนะของ
ผู้ตรวจราชการต่อผ้บู งั คับบัญชา และผ้ตู รวจราชการ
๑.๔ การนาเสนอผลการดาเนินงานตามประเดน็ การตรวจราชการ
๑.๔.๑ ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด นาเสนอผลงานการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบายการตรวจราชการใน
ภาพรวมของจังหวดั
๑.๔.๒ หน่วยงานผู้รับการตรวจ เช่น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา สานักงาน กศน.จังหวัดอาเภอ สานักงานอาชวี ศึกษาจังหวัดอาเภอ เป็นต้น นาเสนอ
ผลการดาเนินงาน ต่อผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ รายรอบ (ปีละ ๒ คร้ัง) ตามแบบนาเสนอผลการ
ดาเนินงานตามตรวจราชการ (ตามแบบดังแนบ)

๒. ดา้ นการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา

๑. อานาจหน้าที่ ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๙/๒๕๖๐ เรื่อง การปฏิรูป
การศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อ ๑๑ (๓)

ให้มีสานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีอานาจหน้าที่สั่งการ กากับ ดูแล เร่งรดั ติดตาม และประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ให้เป็นไปตามนโยบาย
ของกระทรวงศึกษาธิการ และ ข้อ ๘ (๖) ให้ กศจ. มีอานาจหน้าท่ี กากับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการ
ปฏิบตั ิงานของสว่ นราชการหรือหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๒. อานาจหน้าที่ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการ
ตรวจราชการ การตดิ ตามตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ ข้อ (๒๕)

การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับจังหวัดเป็นการติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการจัดการศึกษาที่อยู่ในอานาจหน้าที่ของจังหวัดน้ัน ๆ ในระดับนโยบายตามภารกิจของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดดาเนินการดงั น้ี

๒.๑ กาหนดกรอบแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของ
หน่วยงานการศึกษาในระดบั จังหวดั

๒.๒ ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ัย นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาของหนว่ ยงาน
การศกึ ษาในระดบั จงั หวดั

๒.๓ จัดทาข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศกึ ษาในระดบั จังหวดั

๒.๔ รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษาของหน่วยงานการศึกษาในสังกัดและจัดทารายงานเสนอต่อคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือขอ
ความเหน็ ชอบ และรายงานสานักงานศึกษาธิการภาคตามลาดับ

๒.๕ ตดิ ตาม ตรวจสอบ เฝา้ ระวังเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ผลกระทบและรายงานผลกระทบ ผลการ
ดาเนินการต่อผู้ตรวจราชการ ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง

37

๓. แนวทางการปฏิบัติงานติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ของสานักงานงาน

ศกึ ษาธิการจังหวดั
๓.๑ ร่วมกับสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานศึกษาธิการภาค จัดทากรอบ

แนวทาง ประเด็นการติดตามฯ และตัวชี้วัด การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษารายรอบ

อยา่ งน้อย ปลี ะ ๒ ครง้ั
๓.๒ ศึกษาธิการจังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานหรือผู้รับผิดชอบ คณะหน่ึง มี

หนา้ ท่ี ตดิ ตามตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของหนว่ ยงานการศกึ ษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ
๓.๓ คณะทางานหรอื ผู้รับผดิ ชอบ ลงพ้ืนท่ีติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาของ

หน่วยงาน ตามกรอบแนวทาง ประเด็นการติดตามฯ และตัวช้ีวัดที่คณะกรรมการติดตามตรวจสอบและ

ประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการกาหนด
๓.๔ คณะทางานจัดทารายงานผลการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของ

หน่วยงานการศึกษาในสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ ในภาพรวมระดับจังหวัด เสนอศึกษาธิการจงั หวัดพิจารณาให้
ความเห็นชอบ

๓.๕ ศึกษาธิการจังหวัดนาเสนอรายงานผลการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลฯ ต่อ

คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวดั เพอ่ื ใหค้ วามเหน็ ชอบแล้วส่งรายงานไปยงั สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค
๔. งานการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ระดับจังหวดั

สานักงานศึกษาธิการจงั หวัด จดั ทารายงานการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
รายละเอยี ดตามแบบรายงานการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา ระดับจังหวดั

แนวทางการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด

ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล

การจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.256๑ (ตารางท่ี ๖)

ข้ันตอนที่ กจิ กรรม/ขั้นตอนการปฏบิ ัติ ผรู้ ับผิดชอบ

1 พิจารณาทบทวนแนวทางการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประมนิ ผลการจัด หัวหน้าศกึ ษานเิ ทศก์

การศึกษาของหน่วยงานการศึกษาในระดับจังหวดั ตามกรอบแนวทางที่ และคณะ

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศกึ ษากาหนด

2 แตง่ ตง้ั ศกึ ษานเิ ทศกห์ รอื คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผล ศึกษาธิการจงั หวัด

การจัดการศกึ ษาของหนว่ ยงานการศึกษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ

โดยอาจแบ่งหน้าท่ีรับผิดชอบตามสังกดั หรอื เชิงพนื้ ที่

3 จดั ทาข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือประโยชนใ์ นการติดตาม ตรวจสอบ และ ศึกษานเิ ทศก/์

ประเมินผลการจัดการศกึ ษาในระดับจงั หวัด คณะทางาน

4 แจ้งกรอบการประเมนิ หรือแบบประเมินไปยงั หน่วยงานการศกึ ษาใน หนว่ ยงานการศึกษา

ระดบั จงั หวัด ในเขตอาเภอหรอื พืน้ ท่รี บั ผิดชอบ ในระดับจังหวดั

5 ศึกษานเิ ทศกห์ รือผู้รบั ผิดชอบตดิ ตามประเมินผลของหนว่ ยงานการศึกษา ศึกษานเิ ทศก์หรือ

สังกัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในระดบั จงั หวดั เช่น สพป. สพม.,กศน.,อศจ. ผู้รับผิดชอบงาน

ฯลฯ เก็บรวบรวมขอ้ มลู เพื่อจัดทารายงานการประเมินหน่วยงานตนเอง ตดิ ตามประเมนิ ผล

ของหน่วยงาน

การศึกษา

38

ข้ันตอนท่ี กิจกรรม/ข้ันตอนการปฏิบัติ ผ้รู บั ผิดชอบ

6 หน่วยงานการศกึ ษาในจงั หวัด เชน่ สพป. สพม.,กศน.,อศจ.ฯลฯจดั ทา หนว่ ยงานการศกึ ษา

รายงานการประเมนิ หนว่ ยงานตนเองตามแบบประเมิน ส่งศกึ ษาธิการ ในระดับจังหวัดทกุ

จงั หวดั หนว่ ย

7 ลงพื้นทต่ี ดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาของหน่วยงาน ศกึ ษาธิการ/

การศกึ ษาในสังกัดจังหวดั เพม่ิ เตมิ ตามความจาเป็น ตามกรอบแนวทาง คณะทางาน

ประเด็นการติดตามฯ และตัวชี้วดั ท่ีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและ

ประเมินผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด

8 รวบรวม ศกึ ษา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ผลการติดตาม ตรวจสอบและ ศกึ ษาธกิ าร/

ประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของหนว่ ยงานการศึกษาในสังกดั คณะทางาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในภาพรวมระดับจงั หวดั เสนอศกึ ษาธกิ ารจังหวดั

พิจารณาให้ความเห็นชอบ

9 จดั ทารายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนผลการจัดการศึกษา ศกึ ษาธกิ าร/

ของหนว่ ยงานการศกึ ษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ในภาพรวมระดบั คณะทางาน

จังหวัด เสนอศึกษาธิการจงั หวดั พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ

10 เสนอรายงานการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศกึ ษาตาม ศึกษาธิการจงั หวดั /

แบบรายงานการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาเพ่ือ คณะทางาน

กศจ.ให้ความเหน็ ชอบก่อนเสนอสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค

11 ศึกษา วเิ คราะห์ วิจยั การตดิ ตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษา ศึกษานิเทศก์/

ของหนว่ ยงานการศึกษาในระดับจังหวัด คณะทางาน

39
ภาพที่ ๕ แผนผงั การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั การศึกษา ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด

เรม่ิ ตน้
พจิ ารณาทบทวนแนวทางการติดตามฯ

แต่งตั้งศึกษานิเทศก์
จดั เตรยี มข้อมลู สารสนเทศ
แจ้งกรอบการติดตาม ประเมนิ ฯ
ศึกษานิเทศก์ประสาน/ติดตาม ประเมินฯ
หนว่ ยงานการศึกษา รายงานผลการประเมินตนเอง

กศจ. ลงพนื้ ท่ตี ิดตามซา้ (Recheck)
ไม่เห็นชอบ รวบรวม วิเคราะห์
สงั เคราะห์ รายงาน

ศธจ.จัดทารายงาน เสนอ กศจ.

กศจ.พจิ ารณา

กศจ.เห็นชอบ เสนอ ศธภ.

40
ภาพท่ี ๖ โครงสร้างระบบติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ

41

ยุทธศาสตร์ นโยบายและบรบิ ททีเ่ กี่ยวข้อง

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (ตามนโยบายของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ)
๑. ผลติ และพฒั นากาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการและรองรับการพฒั นาประเทศ
๒. หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรู้
๓. ระบบงบประมาณและทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา
๔. ระบบตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการศึกษา
๕. ระบบสอ่ื สารและเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา
๖. พัฒนาระบบการผลติ การสรรหา และการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
๗. ระบบการบรหิ ารจัดการ
๘. สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา
๙. พฒั นาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
๑๐. การวิจัยเพื่อพฒั นาและเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
นโยบายการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ประจา ปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๑
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายการตรวจราชการของผตู้ รวจราชการในการตรวจ ติดตามเร่งรดั กากบั นโยบายท่ี
เปน็ จุดเน้นเชิงลึกในประเด็นนโยบายเฉพาะเร่ืองเพอื่ ให้การตรวจราชการเป็นมาตรการสาคญั ในการตรวจ ตดิ ตาม
นโยบายของรัฐบาลและของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์แิ ละประโยชน์ สูงสุดดังน้ี
๑. ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา
๒. การจดั การศกึ ษาปฐมวัย
๓. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
๔. การพัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะห์
๕. การเพมิ่ สัดส่วนผู้เรยี นสายอาชีพ
๖. การพฒั นากาลงั คนตามความต้องการของสถานประกอบการภายในประเทศ
๗. การยกระดบั คุณภาพสถานศึกษาที่ต้องการความช่วยเหลอื และพัฒนาเปน็ พเิ ศษอยา่ งเร่งด่วน(ICU)
๘. การบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก
๙. การอา่ นออกเขียนได้
๑๐. การสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา
๑๑. การขับเคลือ่ นนโยบายการจัดการศกึ ษาในระดบั ภูมภิ าค
๑๒. การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพใชท้ รัพยากรเพอ่ื การศกึ ษา
๑๓. การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้และพื้นทีพ่ เิ ศษ
๑๔. พฒั นาครูท้งั ระบบ
๑๕. การพัฒนานกั เรียนและเยาวชนผา่ นกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด

42

ทศิ ทางแผนพฒั นาการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙)

กรอบวิสัยทัศน์
ให้ความสาคัญกับการสร้างระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นกลไกของการ

พฒั นาศักยภาพและขดี ความสามารถของทุนมนุษย์ และรองรบั การศึกษา การเรียนรู้ และความทา้ ทาย ท่ีเปน็ พล
วัตรของโลกศตวรรษที่๒๑

จดุ มุ่งหมายของการจัดการศึกษา
การศึกษาเปน็ เคร่อื งมือ/กลไกในการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ใหม้ ีความเป็นพลเมือง (เป็นคนดีมี

วินัย มที กั ษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านทต่ี อบสนองความตอ้ งการ ของตลาดแรงงาน
และการพัฒนาประเทศ (สามารถเรยี นร้ไู ดต้ ามความถนดั ความสนใจ) และดารงชวี ิตใน สังคมอย่างเปน็ สุข (มี
งานทา มีอาชีพ มีราย รวมทั้งสามารถปรับตัวและดารงชีวิตในสังคมได้อย่างรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของ
เศรษฐกิจและสังคมพหวุ ฒั นธรรมท่เี ป็นพลวัตรของโลกศตวรรษที่๒๑)

เป้าหมายของแผน
๑. ลดความแตกต่างในคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาระหวา่ งสถานศึกษา
- สถานศึกษาท้ังของรัฐและเอกชนสามารถจดั การศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพไม่ต่ากวา่ มาตรฐานขน้ั ต่าท่ีรัฐกาหนด
- สร้างความเชี่ยวชาญและความเป็นเลิศของสถานศึกษา ในการผลิตและพัฒนากาลังคน ท่ีสนองตอบ
ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ รวมท้ังความท้าทายทเี่ ปน็ พลวตั รของโลก ศตวรรษที่๒๑
๒. เพ่มิ โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการการศกึ ษาทีม่ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน
- ประชากรท่ีอยใู่ นวัยเรียนไดร้ ับการศกึ ษาไมต่ า่ กวา่ การศกึ ษาภาคบังคบั ทกุ คน
- ประชากรทั้งท่อี ยูใ่ นวัยเรยี นและทอี่ ยู่ในกาลงั แรงงานได้รับการพฒั นาขีดความ เต็มตามศกั ยภาพที่มอี ยู่
ในตัวตนของแตล่ ะบคุ คล
๓. กระจายอานาจและความรับผดิ ชอบไปสู่สถานศึกษา เพอื่ การพฒั นาท่ียังยนื
- สถานศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน มีศักยภาพและความพร้อมได้รับการพัฒนา เป็นสถานศึกษานิติ
บคุ คลในกากับ เพื่อความเปน็ อสิ ระคลอ่ งตัว และรับผดิ ชอบต่อคณุ ภาพการ ของผเู้ รียน
๔. ลดความสญู เปล่าและเพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารจัดการเพอ่ื รองรับการแข่งขันอย่างเสรี รายได้การ
กากับของรัฐ
- ลดบทบาทและขนาดของภาครัฐจากการเป็นผู้จัดการศึกษาเป็นหลัก มาเป็นผู้กากับ นโยบาย แผน
มาตรฐาน สง่ เสริม สนับสนนุ ตดิ ตามประเมินผล
- ควบรวม เลิกสถานศึกษาที่ขาดศักยภาพและความพร้อมไม่ได้คุณภาพและมาตรฐาน และไม่มี
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ (ต้นทุนผลผลิตต่อหน่วยสูง คุณภาพต่า) และให้เปล่ียนสถานะ แหล่งเรียนรู้
ของชมุ ชนตามความตอ้ งการจาเป็น
- ยุบ/เลกิ การผลิตบัณฑิตในคณะ/สาขาวิชาท่ีไมเ่ ป็นท่ีต้องการของตลาด รวมท้ังควบ สถาบันการศกึ ษา
เพื่อให้มขี นาดท่เี หมาะสมกบั ความต้องการกาลังคนในอนาคต
๕. สรา้ งการมีส่วนรว่ มในการระดมทนุ และการสนองทนุ เพอ่ื การศึกษาจากทุกภาคส่วน
- ทรัพยากรเพ่ือการศึกษาท่ีเพ่ิมขึ้นมาจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม ซ่ึงเป็นผู้ได้รับ
ผลประโยชน์จากการศกึ ษา โดยเฉพาะผูเ้ รียนระดับอุดมศึกษา
๖. ผลติ และพัฒนากาลังคนท่ีตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ
- ลดการผลติ ในสาขาที่ไมเ่ ป็นที่ต้องการของตลาด (สาขาสงั คมศาสตร์) เพมิ่ การผลติ ในสาขาท่ีสนองตอบ
ความตอ้ งการของตลาด (สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์)

43

ขัน้ ตอนการตรวจราชการ

ข้นั ตอนท่ี ๑ กจิ กรรม
การดาเนินงานก่อนตรวจราชการ ๑.๑ งานศกึ ษา วิเคราะห์ขอ้ มูลสารสนเทศ เพ่อื สนับสนนุ

การตรวจราชการ
๑.๒ จดั ทาแผนรองรับการตรวจราชการ
๑.๓ ประสานงานและสนับสนนุ การตรวจราชการของ

ผตู้ รวจราชการ

ขน้ั ตอนที่ ๒ กจิ กรรม
การดาเนินงานขณะตรวจราชการ ๒.๑ ประชมุ ช้ีแจงผ้เู กย่ี วข้องเก่ียวกับนโยบาย และ

แนวทางการตรวจราชการ
๒.๒ การตรวจราชการในพ้นื ทเ่ี ป้าหมาย
๒.๓ รับทราบผลการดาเนนิ งาน ปญั หา อปุ สรรค และ

ขอ้ เสนอแนะ

๒.๔ บนั ทกึ ผลการตรวจราชการ

ข้ันตอนท่ี ๓ กิจกรรม
การดาเนินงานหลังตรวจราชการ ๓.๑ สรุปผลการตรวจราชการต่อผูบ้ ริหารระดับสงู หลงั

การตรวจราชการทุกครงั้
๓.๒ ประสานการสง่ั การของผูบ้ ริหารใหห้ นว่ ยงานท่ี

เกยี่ วข้องทราบ
๓.๓ รายงานผลการตรวจราชการในภาพรวม ทง้ั ในระดบั

จังหวัด ระดบั ภาค และระดับประเทศ
๓.๔ วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการตรวจราชการ
๓.๕ ปฏิบัตงิ านร่วมและสนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านของ

หน่วยงานอ่ืนทีเ่ กี่ยวข้องหรอื ท่ไี ด้รับมอบหมาย

ภาพที่ ๗ ขน้ั ตอนการตรวจราชการ


Click to View FlipBook Version