The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surin.inspection, 2019-07-07 11:56:07

ตรวจราชการ1_61

ตรวจราชการ1_61

94

1.2 จานวนผ้สู าเร็จการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาแลว้ มีงานทาหรือประกอบอาชีพอสิ ระภายใน 1 ปี (ตารางท่ี ๒๔)

ผสู้ าเรจ็ มีงานทาหรอื ประกอบ ศกึ ษาตอ่ อ่ืนๆ (ระบุ) ....
การศึกษา
สงั กดั ปีการศกึ ษา อาชีพอสิ ระภายใน 1 ปี
2559 (คน)
ระดับ ปวช. จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
สอศ. (รัฐบาล) (คน) (คน) (คน)
สอศ. (เอกชน)
สพม. (สายอาชวี ศึกษา) ๑,๘๘๕ ๖๕๖ ๓๔.๘๐ ๔๘๙ ๒๕.๙๔ ๗๔๐ ๓๙.๒๖
อนื่ ๆ (ระบ)ุ .............. - -- -- --
ระดับ ปวส. - -- -- --
สอศ. (รฐั บาล) - -- -- --
สอศ. (เอกชน)
อ่นื ๆ (ระบุ).............. ๒,๕๐๙ ๑,๐๐๓ ๓๙.๙๗ ๗๖๓ ๓๐.๔๑ ๗๔๓ ๒๙.๖๑
- - - -- --
- - - -- --

1.3 จานวนผู้เรยี นอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี ระดับ ปวช./ปวส. ปกี ารศกึ ษา 2559–2560 (ตารางท่ี ๒๕)

สงั กัด ผูเ้ รยี นระบบ ปวช. เพ่ิมข้นึ / ผเู้ รยี นระบบ ปวส. เพ่มิ ขึ้น/
ทวภิ าคี ผู้เรยี นระบบ ลดลง ทวภิ าคี ผู้เรียนระบบ ลดลง
สอศ. (รฐั บาล) ร้อยละ ร้อยละ
สอศ. (เอกชน) ปกี ารศกึ ษา ทวิภาคี ปีการศกึ ษา ทวิภาคี
กศน. 2559 (คน) ปีการศกึ ษา ๕๖.๖๐ 2559 (คน) ปีการศึกษา ๓๗.๐๘
อืน่ ๆ (ระบ)ุ ....... 2560 (คน) - 2560 (คน) -
๑,๕๒๓ ๐ ๑,๐๙๕ ๐
- ๒,๓๘๕ - - ๑,๕๐๑ -
๔๐ - ๐ -
- ๔๐ - ๐
- -

1.4 สถานศึกษามีมาตรการในการเพ่ิมผ้เู รยี นอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี อย่างไร
- การประชาสัมพนั ธ์เชิงรุกผา่ นส่อื และรปู แบบทห่ี ลากหลาย มปี ระสทิ ธภิ าพพฒั นารูปแบบการ
ประชาสัมพันธแ์ ละการแนะแนวการศึกษาใหน้ า่ สนใจ
- การแนะแนวการศึกษาสัญจรทีม่ ีประสทิ ธิภาพ สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจการศึกษาต่อสายอาชีพของ
นักเรยี น
- จดั กจิ กรรมวิชาการเสริมสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ความเช่ือมน่ั และทัศนคติที่ดีต่อการเรียนสาย
อาชพี แกน่ กั ศึกษา ผู้ปกครองและชมุ ชน
- สถานศึกษาในสังกัด ได้ประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน
ระบบ ทวิภาคีให้กับผู้เรียนและผู้ปกครอง ส่งผลให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน
ระบบทวิภาคี นอกจากน้ันสถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการที่หลากหลาย ครอบคลุมหลักสูตร
การเรียนการสอนและสถานประกอบการมีครูฝึกท่ีสามารถให้ความรู้กับผู้เรียนส่งผลให้ผู้ เรียนมีคุณภาพทาง

95

การศึกษาสอดคล้องกับการผลิตและพัฒนากาลังคนด้านวิชาชีพ ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม สอดคลอ้ งความต้องการกาลงั คนด้านอาชวี ศึกษา ทั้งในระดับพนื้ ทแ่ี ละระดับประเทศ

1.๕ จานวนผูเ้ รียนอาชวี ศกึ ษาระบบทวิศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2559–2560 (ตารางท่ี ๒๗)

ผูเ้ รยี นระบบทวิศกึ ษา เม่อื จบการศึกษาระบบทวศิ กึ ษาแลว้

สังกดั ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา เพิ่มขึน้ /ลดลง ทางาน ศกึ ษาต่อสาย ศึกษาต่อสาย

สพม. 2559 (คน) 2560 (คน) ร้อยละ (คน) อาชีพ (คน) สามัญ (คน)
สอศ.
สศศ. ๑,๒๘๕ ๑,๑๔๕ -๑๐.๘๙ -- -
กศน.
อ่ืนๆ (ระบ)ุ ....... ๙๖๙ ๖๐๖ -๖๒.๕๔ -- -

-- - -- -

๑๒ ๑๒ - -- -

-- - -- -

2. ความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม/ตน้ แบบหรือแบบอย่างท่ีดใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเด่น จุดแขง็ นวัตกรรมในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย มีประโยชน์หรอื

เกดิ ผลดตี ่อผู้เรียนอยา่ งไรบ้าง
- สถานศึกษาในสังกัด บริหารทรัพยากรทางการศึกษาท่ีมีอย่างจากัดให้ได้ประโยชน์อย่างสูงสุด

ดาเนินการเรียนการสอนหรอื พฒั นาผู้เรียนให้มคี ุณภาพ ร่วมกับสถานประกอบการวางแผน กากับดูแล ส่งเสริม
สนับสนุน และการบรหิ ารทรพั ยากรทางการศึกษา 4 ประการคอื คน งบประมาณ วัสดุสิ่งของ และการจัดการ ใน
การบริหารจัดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เป็นการจัดการศึกษาระบบอาชีวศึกษาทวิภาคี โดยดาเนินการส่ง
ผู้เรียนระดับปวช.และปวส.เข้าฝึกอาชีพและฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการของภาคเอกชน
หน่วยงานของรัฐ ซ่ึงเป็นการบริหารแบบลดรายจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้การศึกษามีการพัฒนาอย่าง
ตอ่ เน่อื งและมีประสทิ ธภิ าพสงู สุด

- ผู้สาเร็จการศึกษามีคุณภาพ มีสมรรถนะ ทักษะฝีมือเป็นท่ียอมรับของสถานประกอบการ และ
กลุม่ อตุ สาหกรรม สอดคลอ้ งความตอ้ งการกาลงั คนดา้ นอาชวี ศึกษา ท้งั ในระดับพนื้ ท่ีและระดับประเทศ

- ได้รับการพัฒนาฝีมือ ในการทางานอย่างถูกต้องเป็นพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพเพื่อให้ได้
แรงงานทมี่ ีคณุ ภาพ

- ได้รับการคุ้มครองในระหว่างฝึกงานจาก พระราชบัญญัติส่งเสริมการฝึกอาชีพ ผู้ดาเนินการฝึก
ต้องให้ตรงกบั หลกั สตู ร

- ไดร้ ับการฝึกนสิ ัยในการทางานระหวา่ งฝกึ งานไปพร้อม ๆ กนั เปน็ การสร้างทางเลือกในการเรียนท่ี
หลากหลาย ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ลือกเรียนในรูปแบบท่ีตรงกับความต้องการ

- สถานศึกษาสง่ เสริม สนับสนนุ การจดั การศึกษาในระบบทวศิ ึกษาโดยเรียนรู้ผ่านทาง ETV เพ่ือให้
นักเรียนสายสามัญมีวิชาชีพติดตัวเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีทักษะฝีมือ /เยาวชนสามารถสร้างงาน สร้างรายได้
สร้างอาชีพมีงานทา ตลอดจน มอบหมายให้สถานศึกษาได้นาบุคลากรร่วมรับฟังนโยบายต่าง ๆ ของสานักงาน
กศน. ผ่านทาง ETV

96

2.2 รายชอ่ื หนว่ ยงาน/สถานศึกษาทีเ่ ป็นตน้ แบบหรือแบบอย่างทดี่ ี ในการดาเนินงานตามประเด็น
นโยบายดงั นี้ (ตารางท่ี ๒๘)

รายชอ่ื หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ทตี่ ้ัง รายการและรายละเอยี ด
ของความโดดเดน่ /จุดแขง็ /นวัตกรรม
ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งท่ดี ี หน่วยงาน/สถานศึกษา

1. กศน.อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ กศน.อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนหลักสูตร
ถนนคชสาร ตาบลในเมือง
อาเภอเมือง จังหวดั สุรนิ ทร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช
๓๒๐๐๐ ๒๕๕๖ สาขาเกษตรกรรมนักศึกษามีความรู้ความ

เข้าใจในเนื้อหาวิชาสาระเกษตรกรรมและสามารถ

นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาอาชีพและ

การดารงชีวิต

๒. กศน.อาเภอสังขะ ตาบลสงั ขะ อาเภอสงั ขะ ส ถ า น ศึ ก ษ า ส า ม า ร ถ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ รี ย น ร่ ว ม
จังหวดั สรุ นิ ทร์ ๓๒๑๕๐ หลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย

(ทวิศึกษา) กับวิทยาลัยการอาชีพสังขะได้
ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ บ า ล
กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน กศน. โดย

ผู้เรยี นทส่ี าเร็จการศกึ ษาไดร้ บั วุฒกิ ารศกึ ษาท้งั สาย
สามัญและสายวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ

3. ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

- นักศกึ ษามกี ารขาดเรยี น มาเรียนไม่สม่าเสมอ
- นกั ศกึ ษามีภาระงานที่ตอ้ งดารงชวี ติ และเกิดความร้สู ึกท้อในการเรียนตอ่
- สถานศกึ ษาทง้ั สองฝ่ายทีเ่ ข้าร่วมโครงการทวศิ กึ ษาตอ้ งร่วมกันปรับปรงุ สาระในแผนการเรียนและสาระ
ในแผนการสอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพอยา่ งต่อเนอ่ื ง เพอ่ื รักษาคณุ ภาพการศึกษาให้ได้ตามมาตรฐาน
4. ขอ้ เสนอแนะ

4.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /พฒั นานโยบาย

- ควรมีนโยบายการเรียนและกลมุ่ เปา้ หมายที่ชดั เจน ก่อนทีจ่ ะให้ดาเนนิ การ

- กลุม่ เป้าหมายควรเป็นผู้ทม่ี เี วลาวา่ ง/ วา่ งงาน ที่มคี วามพร้อมจะเรียนท้งั สองสถานศกึ ษา

- การประชาสมั พันธใ์ นจังหวดั นาร่องยงั น้อย หลกั สูตรสาขาเปิดสอนไมห่ ลากหลาย

97

นโยบายท่ี 8 การบริหารจดั การศึกษาโรงเรยี นขนาดเลก็
(สพป./สพม.)

8.1 การจดั ทาแผนและยุทธศาสตร์การบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก

KPI : จานวนสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามแี ผนบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก

KPI : จานวนสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามีแผนบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ ที่มีชั้นเรียนไม่เหมาะสม

KPI : จานวนสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาทีม่ โี รงเรยี นขนาดเล็กลดลง

(หมายเหตุ โรงเรยี นขนาดเล็กลดลง หมายถึง จานวนโรงเรียนทดี่ าเนนิ การยุบ/ควบรวมสถานศึกษา)

ผลการดาเนนิ งาน

1. ผลการดาเนินงานตามประเดน็ โยบายและตวั ชี้วดั

1.1 สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา มกี ารจัดทาแผนบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็กหรือไม่

 ไม่มี  มี

1.2 รูปแบบการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กของสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา มีดังน้ี

สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๑ พบวา่

- จัดทาแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ ของสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาฯ

- จัดทาขอ้ มูลพน้ื ฐานของโรงเรียนขนาดเล็กในสงั กัดเปน็ รายโรงเรียน

- แต่งตัง้ คณะทางานตามแผนบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็

- ดาเนินการตามแผนการบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก

- สร้างความตระหนักรับรู้กับผู้บริหารโรงเรียนครูบุคลากรผู้ปกครององค์กรและ

ผู้ เ กี่ ย ว ข้ อ ง เ พื่ อ ใ ห้ เ ห็ น ช อ บ ใ น ห ลั ก ก า ร ต า ม น โ ย บ า ย ข อ ง ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร โ ร ง เ รี ย น ข น า ด เ ล็ ก ข อ ง

กระทรวงศกึ ษาธิการ

- ดาเนินการนเิ ทศตดิ ตามกากบั และประเมินผลการจดั การศึกษาอย่างตอ่ เนอื่ ง

- ดาเนินการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบท่ีหลากหลายเพื่อกระตุ้นให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

เหน็ ชอบและให้ความร่วมมือในการดาเนินการส่งบุตรหลานไปเรียนในโรงเรยี นทมี่ คี วามพรอ้ มมากกวา่

- รายงานผลการดาเนินการตอ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๒ พบวา่

- การควบรวม

- การจดั การเรียนรว่ ม

- การจดั ครู/พนกั งานราชการไปช่วยจดั การเรยี นการสอน

- การจัดสรรงบประมาณให้เครือข่ายโรงเรียนขนาดเล็กในการพัฒนาครู จัดกิจกรรม

การเรียนการสอน และปรับปรงุ ซอ่ มแซมอาคารเรียน

สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๓ พบวา่ ๑) มีการประชมุ ชแี้ จงการรบั รู้

นโยบายและมอบนโยบายการบริหารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก ๒) ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารจัดทาแผนการบริหาร

จดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก ๓) โรงเรยี นขนาดเล็กสร้างการรับรู้การบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กแก่ครู นักเรียน

คณะกรรมการสถานศึกษา ผปู้ กครอง ชมุ ชน

98

สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยม เขต ๓๓ พบว่า การจดั ทา School Mapping ของโรงเรียน

โดยแบ่งออกเปน็ ๓ กล่มุ คือ ๑) โรงเรียนที่ผ่านการประเมิน สมศ. / และสถานศึกษาที่ไม่ผ่าน สมศ. รอบที่ ๓ ๒)
โรงเรยี นทม่ี ีผลสัมฤทธ์สิ ูงเทา่ กับหรือสูงกว่าระดบั สพฐ. ๓) กลุ่มที่ต้องช่วยเหลือเร่งด่วนขาดแคลนวิชาเอกเฉพาะ
๕ สาระหลัก ๔) พัฒนาผู้บริหาร ครู ด้วยนวัตกรรม วิธีการยกระดับด้วยกระบวนการ PLC ๕) นิเทศ กากับ

ติดตามโรงเรยี นขนาดเลก็ อยา่ งเขม้ ข้น ภาคเรยี นละ ๒ คร้ัง มแี นวทางการดาเนินการ ดงั น้ี
๑. ศกึ ษาระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ เกีย่ วกบั นโยบายการบริหารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ ใน

ระดับ สพฐ.
๒. แตง่ ต้ังคณะกรรมการพิจารณาแนวทางกาหนดทางเลอื กในการจัดประเภทและหาแนวทาง

ในการพฒั นา ประกอบด้วย

- รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ี ผูร้ ับผิดชอบพ้นื ท่ี AREA เป็นประธาน
- ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามประเมินผลการศึกษา และศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบงาน

โรงเรียนขนาดเล็ก
- ผอู้ านวยการโรงเรียนในกลมุ่ เครือข่าย เปน็ กรรมการ
- ผอู้ านวยการโรงเรียนหรอื รกั ษาการฯ เป็นกรรมการและเลขานุการ

จัดทาข้อตกลงผลการปฏิบตั ิงาน ดงั นี้
- จานวนนักเรยี นตอ้ งเพม่ิ ขึ้นหรือไมล่ ดลง

- ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นต้องไมต่ า่ กวา่ ค่าเฉล่ยี ของ สพฐ. โดยโรงเรียนตอ้ งแสดง รูปแบบวิธกี าร
เรยี นการสอน, ระบบการประกันคณุ ภาพของสถานศึกษา, รูปแบบการวัดและการประเมินผลท่ีโรงเรียนใช้ในการ
วดั นักเรียน, การมีเครอื ขา่ ยและการสว่ นรว่ มของชุมชน

- ให้มีการดาเนินการพัฒนาโรงเรียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ส่งโรงเรียน ผู้บริการโรงเรียน
(๑๐๐%) ครูผู้สอน (ไม่น้อยกว่า ๒๐ %) ในการคัดเลือกประกวดผลงานท่ีสหวิทยาเขต สานักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษาจังหวัด ประเทศจัดการประกวดคัดเลือก, จัดทา / จัดพัฒนาดาเนินการหาวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best
Practice), ประเมินผลการทางานเทียบกับเป้าหมายที่กาหนด (Performance auditing) , กาให้อานาจและ
อิสระในการทางาน (Devolution and autonomy)

1.3 สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา มกี ารจัดทาแผนบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ ทีม่ ชี น้ั เรียน

ไมเ่ หมาะสมหรือไม่

 ไม่มี  มี

1.4 รปู แบบการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ ทม่ี ีชน้ั เรยี นไมเ่ หมาะสมของสานกั งานเขตพนื้ ที่

การศึกษามีดงั นี้

พบว่า สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๒ มกี ารจดั การเรียนการสอน

แบบคละชน้ั ตามสภาพของแตล่ ะโรงเรียน

99

1.5 ปกี ารศึกษา 2559 สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามโี รงเรยี นขนาดเลก็ จานวน ๘๔๔ แหง่

ดาเนนิ การยุบ/ควบรวมสถานศกึ ษาตามแผนบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ จานวน ๔ แห่ง ดังนี้ (ตารางที่ ๒๙)

สงั กดั จานวนโรงเรียนขนาดเล็ก (แห่ง) ดาเนินการได้ (แห่ง)

สพป.สร.๑ ๑๒๕ ๑

สพป.สร.๒ ๑๐๙ ๒

สพป.สร.๓ ๖๑ ๑

1.6 ปีการศกึ ษา 2560 สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามโี รงเรียนขนาดเล็ก จานวน ๒๙๕ แห่ง

ดาเนนิ การยบุ /ควบรวมสถานศึกษาตามแผนบริหารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ จานวน ๓ แห่ง ดงั นี้ (ตารางท่ี ๓๐)

สังกัด จานวนโรงเรียนขนาดเลก็ (แห่ง) ดาเนนิ การได้ (แหง่ )

สพป.สร.๑ ๑๒๕ ๒

สพป.สร.๒ ๑๑๐ ๑

สพป.สร.๓ ๖๐ ๐

2. ความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอย่างทดี่ ีในการดาเนินงานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเด่น จดุ แข็ง นวตั กรรมในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย มปี ระโยชนห์ รอื

เกดิ ผลดตี อ่ ผู้เรยี นอย่างไรบา้ ง
- นวัตกรรมในการดาเนินงาน “การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยใชเ้ ครือข่าย (Networks –

Participation Management : N-PM)”โดยการ ร่วมคิด ร่วมทา รว่ มติดตาม/ตรวจสอบ ร่วมปรับปรุง/พัฒนา
ร่วมรายงานผล และร่วมช่ืนชมในความสาเร็จ โรงเรียนบ้านระเภาว์ ได้พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนอย่าง
ต่อเน่อื ง ผู้บริหาร ครู และบุคลากร ผูป้ กครองนักเรยี น กรรมการสถานศกึ ษา ศิษย์เกา่ และชุมชนรว่ มกันใหค้ วามรู้
ความรัก และความอบอุ่นให้แก่เด็กนักเรียนด้วยความมุ่งมั่น ทุมเท เสียสละ รวมทั้งร่วมพัฒนาโรงเรียนอย่าง
สม่าเสมอ ส่งผลให้ นักเรียน ครู ผู้บรหิ ารและโรงเรียนมีผลงาน เปน็ ทป่ี ระจักษ์

- มีเครือขา่ ย/ชมรม การพฒั นาโรงเรยี นขนาดเลก็ /มกี ารจัดการศกึ ษาแบบเรยี นรวม/ควบรวม และ
มีการสนับสนุนและพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ซึ่งส่ิงที่เกิดขึ้นข้างต้นส่งผลโดยต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นที่ดีข้ึนของผ้เู รียน

- การจัดเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV, DLIT ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้เท่าทันการ
เปลีย่ นแปลง ลดความเหลื่อมลา้ ได้เรียนร้พู ร้อมๆ กนั ทงั้ ประเทศ

- พัฒนาครูผู้สอนโดยเฉพาะอย่างย่ิง กลุ่มครูผู้ช่วยด้วยการอบรมสัมมนาช้ีแจงให้ความสาคัญ
หลักสูตรสถานศึกษา โดยเน้นใหค้ รจู ัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามตัวช้ีวัดทต่ี ้องรแู้ ละควรรู้ในสาระการเรียนรู้
พ้ืนฐานและการออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการออกแบบทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั

- พฒั นาครใู นการจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรทู้ ีอ่ ิงมาตรฐาน ตัวชว้ี ดั ให้ครูนาแนวทางการออกแบบ
ไปใชใ้ นการจดั กจิ กรรมในระดบั ห้องเรยี น

- การพัฒนาครูดว้ ยกระบวนการ PLC เพ่ือใหค้ รูดาเนนิ การพฒั นาในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม

100

- นิเทศกากับติดตามกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูด้วยการนิเทศ สังเกตชั้นเรยี นใน ๓
ระดับ ดังนี้ ๑) ระดับเขตพื้นท่ี โดยศึกษานิเทศก์ กากับ ติดตามเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก สังเกตชั้นเรียนทุก
โรงเรียน รายงานผ่าน Google form ๒) ระดับเครือข่ายสหวิทยาเขต ให้สหวิทยาเขต โดยมีประธานสหและ
คณะกรรมการนิเทศ กากบั ติดตาม งานนโยบายของ สพม. สพฐ. กระทรวง และการสงั เกตช้นั เรียน รายงานผา่ น
Google form ทกุ โรงเรียน ๓) ระดับสถานศึกษา โดยทุกโรงเรยี นมีการนิเทศภายในสถานศึกษา ด้วยการแต่งต้ัง
คณะกรรมการนิเทศ ติดตามภายในทุกโรงเรยี น

2.2 รายช่ือหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาที่เปน็ ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งที่ดี ในการดาเนินงานตามประเด็น

นโยบายดงั น้ี (ตารางที่ ๓๑)

รายชือ่ หนว่ ยงาน/ ทต่ี ั้ง รายการและรายละเอียด
สถานศกึ ษาต้นแบบหรอื หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งทีด่ ี

สพป.สร.๑ หมู่ 12 ต.ท่าสวา่ ง เปน็ ร.ร.ขนาดเล็กที่มวี ิธีปฏบิ ัตงิ านทเี่ ป็นเลิศ ปี
1.โรงเรยี นบ้านระเภาว์เปน็ อ.เมืองสรุ ินทร์ การศกึ ษา 2559 มนี วตั กรรมบรหิ ารจัดการ
จงั หวัดสุรนิ ทร์ แบบมสี ว่ นร่วมโดยใช้เครอื ขา่ ย(Networks -
Participation Management : N-PM)

ด้านบริบทโรงเรียนได้รับความร่วมมือ
จาก ชุมชนใน การ พัฒน าด้านบริบทอ ย่าง

สม่าเสมอ บริเวณอาคารต่างๆ สะอาดร่มรื่น
สวยงาม เหมาะท่ีจะใช้ประกอบกิจกรรมการ

เรียนการสอน ให้การเรียนรู้น่าอยู่ น่าเรยี น
ด้านผลสัมฤทธิ์ ความสามัคคี ความ

ร่วมมือในหมู่คณะทาให้นักเรียนมีความสนใจใน

การรว่ มจัดกิจกรรมดา้ นการเรียนการสอน ส่งผล
ให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สูงกว่าค่าเฉล่ีย

ระดับชาติ 5 ปีซ้อน (ปีการศึกษา 2555-
2559)

ด้านบุคคล ความสามัคคีในหมู่คณะ ลด

ความขัดแย้งในการทางาน ชุมชนเพ่ิมความ
ไว้วางใจ สร้างบรรยากาศท่ีดีในการทางาน

ยอมรับความคดิ เหน็ ซึ่งกันและกนั
ด้านงบประมาณ ได้รับการสนับสนุน

จากทกุ ภาคส่วนในการรว่ มพัฒนาการศกึ ษา

101

รายชอ่ื หนว่ ยงาน/ ที่ตั้ง รายการและรายละเอยี ด
สถานศึกษาต้นแบบหรอื หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งท่ีดี ม.๗ ต.ลาดวน อ.ลาดวน เปน็ รร.ขนาดเลก็ ทีม่ ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
2.โรงเรียนบา้ นจรวย จ.สรุ ินทร์ คะแนน O-NET ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ อยู่ใน
ลาดับต้นๆของ สพป.สุรนิ ทร์ เขต ๑ มาโดย
สพป.สร.๒
1. ร.ร.บ้านม่วงหนองตาด ตลอด เชน่
2.ร.ร.บ้านหนองแสง - ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘สงู เป็นอนั ดับ ๑ ของสพป.

3.ร.ร.บ้านโสกแดง สร.๑
- ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ สูงเปน็ อันดับ ๒ ของ
สพป.สร.๑

จดุ แขง็ : ดา้ นการบริหาร มคี วามสามารถในการ
ประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งหมบู่ า้ น วดั

โรงเรยี น และองค์กรทอ้ งถ่ินไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ด้าน
ครแู ละบุคลากรมีประสบการณ์ในการจดั การ
เรยี นการสอนโดยใช้สอ่ื DLTV และใชส้ ่ือ DLTV

อย่างตอ่ เนอ่ื ง (รบั สญั ญาณโทรทศั น์จากโรงเรยี น
วังไกลกังวล)

นวัตกรรมเดน่ : โครงการ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นโดยใช้ DLTV และ PDCA สคู่ วาม
เป็นเลศิ (สญั ญาณจากฟ้า ศาสตร์พระราชา สู่

การศึกษาทยี่ ่งั ยืน) ภายใตม้ าตรการ ๙.๔
กลา่ วคือ ข้อปฏบิ ัติสาหรบั ครู ๙ ขัน้ ตอนและข้อ

ปฏิบตั ิสาหรับผู้บริหาร ๔ ข้ันตอน

อ.โนนนารายณ์ จ.สรุ นิ ทร์ ร.ร.ตน้ แบบของการบรหิ ารจัดการ ร.ร.ขนาดเล็ก

อ.ทา่ ตมู จ.สรุ นิ ทร์ ร.ร.ที่เปน็ ต้นแบบของการดึงชุมชนเขา้ มามีสว่ น
ร่วมในการบรหิ ารจดั การ เช่น การใชป้ ราชญ์
ชาวบา้ นมาชว่ ยสอนใหค้ วามรูน้ กั เรียน การมจี ิต
อาสาของครทู ี่เกษียณแลว้ ในเขตพ้ืนทบ่ี ริการของ
ร.ร.มาชว่ ยสอน

อ.สนม จ.สรุ ินทร์ ร.ร.ทส่ี ามารถนาแนวทางการจดั การศึกษาโดยใช้
DLTV มาใชอ้ ยา่ งได้ผล

102

รายชื่อหนว่ ยงาน/ ทตี่ ั้ง รายการและรายละเอยี ด
สถานศกึ ษาตน้ แบบหรือ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งทด่ี ี ต.บ้านไทร อ.ปราสาท ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรูใ้ นเน้อื หาทีค่ รสู อนพร้อมกัน
สพป.สร.๓ ต.ตาตมุ อ.สังขะ ทวั่ ประเทศ เพิ่มโอกาสและลดความเหลอ่ื มล้า
1. รร.บ้านลาดวนพัฒนา ต.ตาตุม อ.สังขะ ทางการศึกษา
2. รร.บ้านภมู ินิยมพฒั นา
3. รร.สตรีวทิ ยาสมาคม หมทู่ ี่ ๔ บ้านตาคง ต.ตา โรงเรยี น BP ด้านงานทักษะอาชพี มลู นิธิ
สพม. ๓๓ คง อ.สังขะ จ.สุรินทร์ ยุวสถิรคุณ
๑. ร.ร.ตาคงวิทยา โรงเรยี นพฒั นาทกั ษะด้านอาชพี
รชั มังคลาภิเษก หมูที่ ๑ บ้านนาบวั ต.นา
๒. ร.ร.นาบัววทิ ยา บวั อ.เมอื ง จ.สรุ นิ ทร์ นวตั กรรมการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโย
พัฒนาจิตปญั ญาและจิตศกึ ษา
๓. ร.ร.เมืองแกพิทยาสรรค์ หมู่ ๑๐ บา้ นกุง ต.เมอื ง
แก อ.ทา่ ตมู จ.สรุ นิ ทร์

3. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

- ได้รับการสนับสนนุ งบประมาณที่ไม่ต่อเนอ่ื งในการดาเนนิ ตามนโยบาย
- การเปล่ียนแปลงนโยบายบ่อย ทาใหข้ าดความต่อเนอ่ื งในการดาเนนิ การ
- ภาคส่วนของชมุ ชนยงั ไมม่ คี วามเข้าใจในตวั นโยบาย และการชงั่ น้าหนักส่วนไดส้ ว่ นเสีย ซึง่ มีผลกระทบ
โดยตรงต่อผู้เรยี นที่เปน็ ลกู หลานของคนในชมุ ชน การยดึ ตดิ ค่านยิ มบางอยา่ ง เปน็ อุปสรรคต่อการขับเคลอ่ื น
นโยบาย
- โรงเรียนห่างไกลรบั สัญญาณอนิ เตอร์เน็ตไมไ่ ด้
- ครูมที ักษะการจดั การยังไม่เพียงพอ
- มีความไม่พรอ้ มของอปุ กรณ์ครุภัณฑ์ ส่อื สัญญาณทางดาวเทียม
- การขาดแคลนครูทีไ่ ม่ตรงวชิ าเอก /บางวิชาเอกมมี ากเกนิ ไป
- จดั สรรงบประมาณให้พอเพียงตอ่ การบรหิ ารจดั การ จัดให้มีครคู รบชัน้ ครบตามวชิ ากเอก

4. ข้อเสนอแนะ
4.1 ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุง/พฒั นานโยบาย
- ควรมีความชัดเจนตอ่ เนอ่ื งและสอดคลอ้ งกับแผนพฒั นาประเทศระยะยาว
- การรกั ษารากเหง้าของความเป็นไทยควบคู่ไปกบั การพฒั นาของโลก
- ควรเน้นการพฒั นาด้านจติ ใจมากกวา่ ด้านวัตถุ
- นโยบายไมต่ ่อเนอ่ื ง ท้ังที่เป็นเร่อื งที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและสมา่ เสมอ เนอ่ื งจากเป็นการ

สร้างแนวความคิด ค่านิยมและความตระหนักรู้ท่ีถูกต้อง เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของโรงเรียน
ขนาดเล็ก รวมถึงการสนับสนุนงบประมาณไม่ต่อเนื่อง ล้วนส่งผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายเป็นไปด้วยความ
ยากลาบาก

- หน่วยเหนือประสานการพฒั นากับองค์กรเจ้าของสัญญาณอินเตอร์เน็ต

103

- พฒั นาครเู พอ่ื เพมิ่ ทักษะการจัดการ
- สนับสนุนและจดั หาอุปกรณค์ รภุ ัณฑ์ทไ่ี ด้คุณภาพมาตรฐาน
- โรงเรยี นท่มี ีความพร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรควรใหค้ วามชว่ ยเหลอื
- ชุมชน ผู้ปกครอง และองค์กรส่วนท้องถ่ินควรให้การขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ส่ือ วัสดุ
อปุ กรณท์ ่ีจาเป็น
4.2 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
- สรา้ งความตระหนกั และทักษะแกผ่ ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา เพอื่ การบริหารจัดการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม

นโยบายท่ี 9 การอ่านออกเขียนได้
(สพป./สศศ./สช.)

9.1 การอ่านออก เขยี นได้
KPI : รอ้ ยละของนักเรยี นชัน้ ป.1 อ่านออก เขียนได้

9.2 การอา่ นคลอ่ ง เขียนคลอ่ ง
KPI : รอ้ ยละของนกั เรยี นชนั้ ป.2–ป.3 อ่านคลอ่ ง เขียนคล่อง

ผลการดาเนนิ งาน
1. ผลการดาเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชวี้ ัด
1.1 จานวนนักเรียนทอ่ี ่านออกเขียนได้ และอ่านคลอ่ งเขียนคลอ่ งปกี ารศกึ ษา 2560 (ตารางท่ี ๓๒)

อา่ นออกเขียนได้ ปีการศกึ ษา 2560 อา่ นคลอ่ ง เขียนคลอ่ ง ปกี ารศกึ ษา 2560

จานวนนักเรยี น จานวนนักเรยี น จานวนนกั เรยี น จานวนนกั เรียน
ช้นั ป.1 ทง้ั หมด อา่ นออก
สังกัด (เฉพาะเดก็ ปกติ) เขยี นได้ ชน้ั ป.2–ป.3 ท่ีอา่ นคล่อง

สพป. (คน) (เฉพาะเดก็ ปกติ) ร้อยละ ทง้ั หมด เขียนคล่อง รอ้ ยละ
สศศ.(โสต) (คน)
สช. (เฉพาะเด็กปกติ) (เฉพาะเด็กปกติ)
อ่ืนๆ (ระบ)ุ ....
(คน) (คน)

๑๔,๐๓๘ 11,259 ๘๐.๒๐ ๒๕,๙๔๙ ๒๓,๔๖๗ ๙๐.๔๔

๒๔ ๒๔ ๑๐๐ ๔๓ ๔๓ ๑๐๐

๓๓๗ ๒๗๗ ๘๑.๔๔ ๔๕๐ ๔๑๘ ๙๒.๘๙

- -- - --

1.2 หน่วยงาน/สถานศกึ ษา มรี ปู แบบหรอื วิธกี ารเพอ่ื ใหน้ กั เรียนช้นั ป.1 อ่านออกเขียนได้ ดังน้ี

- สถานศึกษาให้นักเรยี นฝกึ อา่ น และคดั คาใหมใ่ นบทเรยี น ทาซ้าๆ บอ่ ย ๆ
- นักเรยี นฝกึ อ่าน และสะกดคากอ่ นเรยี นทุกวนั และเขียนตามคาบอกวันละ ๑๐ คา
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบโรงเรยี นบา้ นเปรยี ง, โรงเรียนบา้ น
กะลัน, โรงเรียนบา้ นแจรน (ปอเกยี -พลินอุทศิ 1) ท่ีมรี ูปแบบและวธิ ใี ห้นักเรยี น ป.๑ อ่านออกเขยี นได้
- แต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินผลการอ่านการเขียนของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6
แบบมสี ว่ นรว่ มประกอบด้วยรองผอ.สพป.สร.2 ,ศึกษานิเทศก์,ประธานเครอื ขา่ ยโรงเรียน,ผูบ้ ริหารโรงเรียนท่ี

104

รับผดิ ชอบวิชาการเครอื ข่ายและครูผูส้ อนภาษาไทยคณะละ 6 – 8 คนโดยใช้ผลการประเมนิ การอ่านการเขียนปี
การศกึ ษา 2559 มาเป็นฐานในการพฒั นา

- จัดประชมุ ปฏิบัติการพัฒนาครูผู้สอนภาษาไทย ป.1 ทุกคนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการ
สอนแบบแจกลกู สะกดคาและกระบวนการอ่านคดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียนโดยใชว้ รรณคดีเปน็ ฐาน (แนวทางPISA)

- จัดหาและพฒั นา ส่งเสริมสนับสนุนสอื่ นวัตกรรมการอ่านการเขียน
- อบรมพัฒนาครผู ู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1
- นิเทศ ติดตามการอ่านการเขียนของนักเรียน
- สถานศึกษาการจดั การศึกษาตามแนวของวอลดอรฟ์ (การเรยี นการสอนแบบสองภาษา) ซงึ่ ทา
การสอนโดยใช้ภาษามือและควบคู่กับภาษาไทยทาให้นักเรียนได้เรียนรู้ท้ังภาษามือและภาษาไทยไปพร้อมกัน
การสื่อสารดว้ ยการเขียนของนกั เรยี นที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน มคี วามสาคัญมากท่ีนักเรยี นใช้สื่อสารกับ
ผู้ปกครอง และบคุ คลภายนอก ดงั นั้นทักษะการเขยี นเปน็ สิง่ ท่จี าเป็นอย่างยิ่ง

1.3 หน่วยงาน/สถานศึกษา มีรูปแบบหรอื วธิ ีการเพ่ือใหน้ ักเรยี นชนั้ ป.2–ป.3 อา่ นคลอ่ ง
เขียนคล่อง ดงั นี้

- คัดแยกแบ่งกลมุ่ เดก็ ทีอ่ ่านไดแ้ ละไมไ่ ด้ เด็กที่อา่ นไม่ค่อยได้ ครูจะช่วยเสริมใหน้ กั เรียนเปน็
รายบคุ คลตอนเย็นกอ่ นกลับบา้ น

- ใหน้ กั เรยี นคัดลายมือซา้ ๆ บ่อย ๆ วนั ละ ๔ บรรทดั (บทความ/ตามรอยประ)
- สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๑ พบ โรงเรียนอนบุ าลลาดวน,
โรงเรียนบ้านตาเปาว์, โรงเรียนบา้ นผกั ไหม
- มีคณะกรรมการประเมินผลการอ่านการเขียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 แบบมี
ส่วนร่วม ประกอบด้วย รองผอ.สพป.สร.2 ,ศึกษานิเทศก์ ,ประธานเครือข่ายโรงเรียน ,ผู้บริหารโรงเรียนท่ี
รับผิดชอบวิชาการเครือขา่ ยและครผู ู้สอนภาษาไทย คณะละ 6 – 8 คน โดยใช้ผลการประเมินการอา่ นการเขียน
ปีการศึกษา2559มาเป็นฐานในการพัฒนา และการพัฒนาครูผสู้ อนตามหลกั สตู รทเ่ี หมาะสมในแตล่ ะระดับชน้ั
- จัดประชมุ สมั มนาการอ่านการเขียนภาษาไทย
- นิเทศ ตดิ ตามโครงการด้านการอ่านการเขยี น
- ทาวิจัยดา้ นการอา่ นการเขียน
- จัดหาและพฒั นาสอื่ นวัตกรรมการเรียนการสอนดา้ นภาษาไทย
- สถานศึกษาการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการอ่านคล่องเขียนคล่อง เช่น การจัดกิจกรรมวัน
ภาษาไทย กจิ กรรมวันสุนทรภู่ และกิจกรรมอื่นๆ ซง่ึ ทุกกิจกรรมล้วนเน้นการมสี ่วนร่วมและการลงมือปฏิบัติ
จริง รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการอ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง สาหรับนักเรียนทีมี
ความบกพรอ่ งทางการได้ยิน

105

2. ความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม/ตน้ แบบหรือแบบอย่างท่ีดีในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน่ จุดแขง็ นวัตกรรมในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย มีประโยชนห์ รือ

เกดิ ผลดีต่อผู้เรียนอยา่ งไรบา้ ง

- จากการที่ได้อ่านและฝึกคัดลายมือ ทาให้ประสบผลสาเร็จ นักเรียนสามารถแข่งขันทักษะ
วิชาการปีการศึกษา ๒๕๖๐ ณ ร.ร.เซนตย์ อแซฟกาฬสทิ ธ์ุ ไดค้ ะแนนอนั ดบั ทดี่ ี

- การอ่านและใช้ภาษาไทยเป็นพ้ืนฐานในการดาเนินชีวิตขั้นต้นของผู้เรียน เนื่องจากเป็นเรื่อง
ของการสนับสนุนและสร้างพื้นฐานการสื่อสาร หากผู้เรียนมีความเข้าใจในการเขยี นอา่ นภาษาไทยเป็นต้นทนุ จะ
ทาให้การสง่ เสรมิ พฒั นาทกั ษะด้านอืน่ ๆมปี ระสทิ ธิภาพ

- ทาใหโ้ รงเรยี นมคี วามกระตือรอื รน้ ในการดาเนินงานมากยงิ่ ขึน้
- ครมู ีการพัฒนาสือ่ นวตั กรรมของตนเอง เพ่อื นาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- โรงเรยี นและสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินงานไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ
- สถานศึกษาการจดั การศึกษาตามแนวของวอลดอรฟ์ (การเรยี นการสอนแบบสองภาษา) ซ่ึงทา
การสอนโดยใช้ภาษามือและควบคู่กับภาษาไทย ทาให้นักเรียนได้เรียนรู้ทั้งภาษามือและภาษาไทยไปพร้อมกัน
การสื่อสารดว้ ยการเขียนของนักเรยี นท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน มีความสาคัญมากท่ีนกั เรยี นใช้สอื่ สารกับ
ผ้ปู กครอง และบคุ คลภายนอก ดงั น้นั ทักษะการเขยี นเปน็ สง่ิ ท่ีจาเปน็ อยา่ งยง่ิ

2.2 รายช่อื หน่วยงาน/สถานศึกษาที่เปน็ ตน้ แบบหรอื แบบอย่างท่ดี ี ในการดาเนนิ งานตามประเด็น

นโยบายดงั น้ี (ตารางที่ ๓๓)

รายชอ่ื หนว่ ยงาน/ ท่ตี ้งั รายการและรายละเอยี ด
สถานศึกษาตน้ แบบหรอื หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งที่ดี

เอกชน

1. ร.ร.สรุ ินทรศกึ ษา กิจกรรมการแข่งขนั คดั ลายมือสอ่ื ภาษาไทย ป.๔-๖

ประเภทบุคคล จานวน ๑ คน

สพป.สร.๑

1. โรงเรียนบา้ นเปรยี ง เครือข่าย ศีขรภมู ิ 2 ไดร้ ับการประเมนิ เชงิ ประจกั ษ์ โครงการคดั เลอื ก
ผลงานการส่งเสรมิ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
ประสบผลสาเรจ็ เพือ่ รบั โล่รางวลั เน่อื งในวัน
ภาษาไทยแหง่ ชาติ ประจาปี 2560 “โรงเรียนที่
ส่งเสรมิ และพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาไทย
ประสบผลสาเร็จ” จากสานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เมอื่ วนั ที่ 25 พฤษภาคม
2560

2.โรงเรียนดงเค็ง เครือข่ายจอมพระ 1 ไดร้ บั รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั 1 การแขง่ ขนั
ท่องอาขยานทานองเสนาะ ม.1-ม.3 งาน
ศิลปหัตถกรรมระดบั ชาติ

106

รายช่ือหน่วยงาน/ ทีต่ ้งั รายการและรายละเอยี ด
สถานศกึ ษาตน้ แบบหรือ หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งทีด่ ี เครอื ข่ายเมอื งสุรนิ ทร์ 4 โรงเรยี นทีส่ นับสนนุ ใหน้ ักเรียนใชภ้ าษาไทยดเี ดน่
3.โรงเรยี นอนุบาลสรุ นิ ทร์ พุทธศกั ราช 2560
อ.โนนนารายณ์ จ.สรุ ินทร์
สพป.สร.๒ อ.สนม จ.สุรินทร์ - การสอนแบบแจกลูกสะกดคา
1. บ้านผา ต.ทมอ อ.ปราสาท และการบรู ณาการในกิจกรรมเพิม่ เวลารู้
2.บา้ นแคนน้อย
สพป.สร.๓ ไดร้ บั คัดเลือกจากสถานบันภาษาไทย เรอ่ื ง การใช้
1. รร.บา้ นโคกบ(ุ บอนประชา ส่ือนวตั กรรมทีป่ ระสบความสาเรจ็ ดา้ นการอ่านออก
รัฐบารุง) เขยี นได้ โดยใชห้ นังสืออ่านเพ่ิมเติม สาหรับช้นั
ประถมศึกษาปีท่ี 1

2. รร.บา้ นพระจันทร์ศรสี ุข ต.ศรีสุข อ.ศรณี รงค์ ไดร้ ับคัดเลอื กจากสถาบนั ภาษาไทย เรอ่ื ง การใชส้ ่ือ
(นายประสพ แก้วหอม) นวตั กรรมทีป่ ระสบความสาเรจ็ ด้านการอ่านออก
เขียนได้ โดยใช้หนงั สอื อ่านเพิ่มเติม สาหรบั ชน้ั
ประถมศึกษาปีที่ 2

3. รร.บ้านจารย์ ต.โคกตะเคียน อ.กาบเชิง ผู้บรหิ ารสถานศึกษาขนาดกลาง ไดร้ บั รางวลั
OBEC AWARDs เหรยี ญทอง รองชนะเลิศอนั ดบั 2
ด้านวิชาการ ซึ่งใชน้ วตั กรรมท่เี นน้ การอ่านออก
เขียนได้

3. ปัญหาอุปสรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

- ได้รับงบประมาณลา่ ชา้ ทาให้การปฏิบตั ิงานตามนโยบายไมต่ ่อเนอื่ ง
- มกี ลุ่มนักเรยี นท่ีบกพร่องทางสติปญั ญาและบกพร่องทางการเรียนร้อู ยู่ปะปนกบั นักเรียนปกติ ซงึ่ ทาง
รร.ไม่ไดค้ ดั กรองเป็นเด็กพิการเรียนรวม จึงต้องรบั การประเมินการอา่ นการเขียนเหมอื นกับเด็กปกตทิ าให้จานวน
เด็กมผี ลการประเมนิ อยใู่ นกลุ่มปรับปรุงจานวนมาก
- ปัญหาเรื่องการบูรณาการหลักสูตรการเรียนรู้ด้านการอ่านเขียนบางอย่างไม่ตอบสนองต่อการเรียนรู้
ของผู้เรียน บางคร้ังพบว่าหลักสูตรเดิมสร้างทักษะในการอา่ นเขียนไดด้ ีกว่าแตต่ ้องถูกปรบั เปล่ียนไปตามนโยบาย
หลักสูตรทนี่ กั วิชาการคดิ ข้นึ
- นักเรยี นมีปัญหาทางการเรยี นรู้
- ครมู ีภาระงานอ่นื นอกเหนอื จากงานสอน และตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย
- การมีสว่ นร่วมของผปู้ กครอง

107

- หลักสูตรการเรียนการสอนไม่สอดกับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินและกิจกรรมที่ส่งเสริม
การอ่านออกเขยี นได้ให้มากขึ้น

- มาตรฐานตัวช้ีวัดบางตัวชี้วัดไม่สอดคล้องกับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน เช่น สาระเร่ือง
การอ่าน สาระวรรณคดี วรรณกรรม บทรอ้ ยกรองรอ้ ยแก้ว เปน็ ตน้

- สถานศึกษามีนกั เรยี นท่ีมคี วามบกพร่องทางสติปัญญาท่ีไมส่ ามารถอา่ นออกเขยี นได้ แตส่ ถานศึกษาได้
จัดกจิ กรรมที่สง่ เสริมการฝึกเขียนภาษาไทยตามศักยภาพ

4. ขอ้ เสนอแนะ
4.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นานโยบาย
- กาหนดนโยบายในการพัฒนาอยา่ งชดั เจนและต่อเนอ่ื งเพอ่ื ใหโ้ รงเรียนไดพ้ ัฒนาผูเ้ รียนได้ตรง

ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์
- ไดแ้ นะนาใหค้ รูผสู้ อนคัดกรองนักเรียนพิการเรียนรวมและจดั การเรียนการสอนซอ่ มเสริมให้

ตรงประเด็นกบั ปญั หาท่ีนกั เรยี นมี แล้ววดั ประเมนิ ผลตามความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
- ควรมีความร่วมมอื ในการแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบในทกุ ภาคสว่ น
- การบริหารเชิงบรู ณาการและเชงิ นโยบาย
- ควรมีการจัดสรรงบประมาณอยา่ งเพียงพอ
- การมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวขอ้ ง

4.2 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ
- การสง่ เสรมิ สือ่ นวัตกรรม
- การทาวิจัยในช้ันเรียน
- เรง่ ปรบั สภาพพืน้ ฐานของผ้เู รยี นทยี่ ังอ่านไม่ออก เขยี นไม่ได้

นโยบายที่ 10 การสง่ เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในสถานศกึ ษา

(สพป./สพม./สศศ./สช./สกอ.(ร.ร.สาธิตฯ)/สอศ./กศน.)

10.1 การจดั กระบวนการเรยี นรูแ้ ละพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมตามโครงการของต้นสังกดั และ
มูลนิธยิ ุวสถิรคุณ
KPI : ร้อยละของสถานศกึ ษาใช้กระบวนการเรยี นรู้และพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมแบบมสี ่วนรว่ ม

10.2 การจดั กระบวนการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดาเนินชวี ติ
KPI : รอ้ ยละของนักเรียนทีเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมตามโครงการนอ้ มนาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งในการดาเนนิ ชวี ิต

ผลการดาเนนิ งาน
1. ผลการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบายและตวั ชวี้ ดั
1.1 จานวนสถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรมตามโครงการของ

ต้นสังกัด และมูลนิธยิ ุวสถริ คุณ หรอื อื่นๆ แบบมีส่วนร่วม (ตารางที่ ๓๔)

108

สถานศึกษาท่ีใชก้ ระบวนการ ผูเ้ รียนที่เขา้ รว่ มกิจกรรมตาม
เรยี นรแู้ ละพัฒนาคณุ ธรรม
จรยิ ธรรมตามโครงการของ โครงการนอ้ มนาแนวคิดหลกั
ต้นสังกดั และมลู นธิ ิยุวสถิรคณุ
จานวน จานวนผเู้ รยี น หรือโครงการอืน่ ๆ แบบมี ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
สถานศึกษา ท้งั หมด (คน)
สังกดั ท้ังหมด (แห่ง) สว่ นร่วม (แห่ง) หรือน้อมนาแนวคดิ ตามหลัก
140,547 จานวน (แห่ง) ร้อยละ
สพป. ๗๔๖ ๕๒,๗๙๑ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
สพม. ๘๕ ๖๑๙ ๘๒.๙๘
สศศ.(โสต) ๑ ๓๐๖ ๘๕ ๑๐๐ ในการดาเนินชีวิต (คน)
สศศ.(ศูนย)์ ๑ ๔๐๐ ๐๐
สช. ๑๐ ๔,๖๑๘ ๑ ๑๐๐ จานวน (คน) ร้อยละ
สกอ.(รร.สาธิต) ๐ ๐ ๑๐ ๑๐๐
สอศ. (รัฐบาล) ๘ ๑๖,๒๒๙ ๐๐ 140,172 ๙๙.๗๓
สอศ. (เอกชน) - ๕ ๖๒.๕๐
กศน. ๑๗ - -- ๘๕ ๑๐๐
อ่ืนๆ (ระบ)ุ ........ - ๒๒,๙๔๗ ๑๗ ๑๐๐
-- ๓๐๖ ๑๐๐
-
๔๐ ๑๐๐

๔,๖๑๘ ๑๐๐

๐๐

๙,๒๒๕ ๕๖.๘๔

--

1๒,๒๗๕ ๕๓.๔๙

--

1.2 สถานศึกษาใช้กระบวนการเรยี นรแู้ ละพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามโครงการของต้นสงั กัด

หรือมลู นธิ ยิ ุวสถิรคณุ หรือโครงการอื่นๆ แบบมีส่วนร่วม ดังน้ี

สพป.สุรินทร์เขต 1 มีโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรมตามแนวมูลนิธิยุวสถิรคุณ
ท้ังหมด ๒๙๔ โรงหรือคิดเป็นร้อยละ๑๐๐ของโรงเรียนท้ังหมดซ่ึงโรงเรียนมีการนากระบวนการเรียนรู้แบบ
โครงงานมาใชใ้ นการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมที่เนน้ การมีส่วนรว่ มไดแ้ ก่

- การสรา้ งและพัฒนาครแู กนนานกั เรยี นแกนนา
- การศึกษาดูงานโรงเรยี นท่มี กี ารดาเนินงานแล้ว
- การระดมสมองเพ่อื กาหนดคณุ ธรรมเป้าหมายและพฤตกิ รรมเชิงบวก
- การประชมุ กล่มุ ย่อยเพื่อจดั ทาโครงงานคุณธรรม
- การดาเนินงานตามโครงการคุณธรรมมีการนาเสนอแลกเปล่ียนและมีการติดตามผลการ
ดาเนนิ งานเปน็ ระยะๆ
- การดาเนินโครงงานคณุ ธรรมตามแนวมูลนธิ ยิ ุวสถิรคุณนเ้ี ปน็ การดาเนินงานทีเ่ ร่ิมจากตัวบคุ คล
ท้ังนกั เรยี นครแู ละผบู้ รหิ ารและขยายไปยังครอบครวั ชุมชน
- โรงเรียนในสงั กัด สพป.สรุ ินทร์ เขต 2 จานวน 219 โรงเรียน ไดม้ กี ารนาแนวคิดกระบวนการ
ขับเคล่ือนพัฒนาคุณธรรม ตามแนวทางของมูลนิธิยุวสถิรคุณ และได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัด
สุรนิ ทรผ์ ่านรูปแบบกระบวนการพัฒนาสรา้ งความดีด้วยโครงงานคณุ ธรรม
- สร้างการรับรู้และยอมรบั จากทกุ ภาคส่วน ท้ังในโรงเรียน ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ใน
การสร้างความเปลีย่ นแปลงในทางท่ีดีขน้ึ และรว่ มกนั ปฏบิ ตั ใิ หเ้ กิดผล
- ร่วมกันระดมความคิดจากทุกภาคสว่ น
- การช้ีแจงทาความเข้าใจร่วมกัน, การกาหนดคุณธรรมเป้าหมายและคุณธรรมอัตลักษณ์ของ
โรงเรียน, การจัดทาโครงงานคณุ ธรรม, การลงมือรว่ มกนั ปฏบิ ัติ, การนเิ ทศติดตามประเมนิ ผลและเสริมแรงกัน

109

- โครงการปลกู ฝงั คณุ ธรรม-จรยิ ธรรม
- โครงการประหยัดอดออม
- โครงการเศรษฐกิจพอเพยี ง
- โครงการชมรมธรรมะ
- โครงการสถานศกึ ษาสขี าวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ
- สถานศึกษาในสังกัดดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมการมีคุณธรรม จริยธรรมอันพึง
ประสงค์แก่ผู้เรียนและบุคลากร ตามนโยบายของสถานศึกษา อาทิ โครงการการทาบุญตักบาตร โครงการวัน
สาคญั ของชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม เปน็ ตน้ สถานศึกษาใช้กระบวนการ
เรยี นรแู้ ละพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมแบบมีสว่ นร่วม คิดเป็นรอ้ ยละ 100
- การจัดกระบวนการเรยี นรูแ้ ละพฒั นาโรงเรียนคุณธรรมตามมูลนิธิยุวสถริ คุณ (อยู่ระหว่างการ
ดาเนนิ การ)
- ดาเนินการขับเคลื่อนกระบวนการเรียนร้แู ละพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรมผ่านกระบวนการของ
หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน และเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หน้าท่ีพลเมือง กิจกรรมสาคัญ เช่น
โครงการค่ายคณุ ธรรม จริยธรรม การเขา้ ร่วมกิจกรรมสาคญั ทางศาสนา
- ส่งเสริมการสรา้ งอดุ มการณ์รักชาติ ศาสนาพระมหากษตั ริย์ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี
และวัฒนธรรมอันดงี ามของชาตใิ หม้ ีความมน่ั คงถาวรใหก้ บั ผู้เรยี น
- จดั กิจกรรมเขา้ ค่ายคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมหนา้ เสาธงทกุ เชา้ วัน
อังคาร การอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรมทุกเช้า ของครูเวรประจาวนั ครูประจาหอนอน ครูประจาช้ัน ครปู ระจาวิชา
การอบรมนักเรียนโดยฝ่ายบริหารโรงเรียน กิจกรรมวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมวันสาคัญต่างๆ
กจิ กรรมเข้าค่ายบูรณาการวิชาการนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดกิจกรรมเข้า
คา่ ยคุณธรรมจริยธรรมทวี่ ัดมุนนี ิรมิตโดยมีพระวิทยากรร่วม กิจกรรมอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรมจากพระธรรมทูต
กิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมหน้าเสาธงทุกเช้าวันอังคาร การอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรมทุกเช้า ของครูเวร
ประจาวัน ครูประจาหอนอน ครูประจาช้ัน ครูประจาวิชา การอบรมนักเรียนโดยฝ่ายบริหารโรงเรียน
กจิ กรรมวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา กิจกรรมวันสาคัญต่างๆ กิจกรรมเข้าค่ายบูรณาการวิชาการนักเรียนช้ัน
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ ง
ที่ดีแก่นักเรียน นักเรียนสามารถเป็นแบบอย่างทีดีแก่ผู้อ่ืนได้ เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรม
ต่างๆ ส่งผลให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม มีความซ่ือสัตย์สุจริตเก็บเงนิ หรือส่ิงของมีค่าไดน้ าส่งให้ครู
ตามหาเจ้าของ ได้รับมีเกียรติบตั รทัง้ จากโรงเรียน ได้รับโล่และเข็มเชิดชูเกยี รติพร้อมเงินรางวัล รางวัลเด็กดเี ด่น
(ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม) สภาสังคมสงเคราะห์ ปี ๒๕๕๙ และ ปี ๒๕๖๐ จากสภาสังคมสงเคราะห์ และได้รับ
ทนุ การศึกษาจากหนว่ ยงานตา่ งๆทัง้ ภายในและภายนอก
- จัดกิจกรรมประเพณแี ละวนั สาคัญทางพทุ ธศาสนา
- กจิ กรรมวันวิสาขบูชา
- กจิ กรรมวนั ไหว้ครู
- กจิ กรรมวนั อาสาฬหบชู าและเข้าพรรษา
- กจิ กรรมวนั แม่แห่งชาติ
- กิจกรรมวนั ลอยกระทง
- กจิ กรรมสาดความสุขชืน่ ใจปีใหม่ไทย

110

เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงการปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ
ของไทย ให้รจู้ ักการมีคุณธรรมจริยธรรมต่อการปฏิบตั ติ นต่อตนเองและผ้อู น่ื

- จัดกิจกรรมธรรมเติมใจ โดยดาเนินการพาผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม ท่ีวัดปา่ นิมิตรมงคลในวัน
พระสุดท้ายของเดือน จานวน 12 เดือนโดยทากิจกรรม ฝึกสมาธิ , ฟังเทศน์ , ถวายข้าวสารอาหารแห้ง , ทา
ความสะอาดรอบ ๆ ท้ังภายใน ภายนอกวัด เป็นการฝึกให้ผู้เรียนเป็นศาสนิกชนที่ดีปฏิบัตติ ามหลักคาสอนของ
พระพุทธศาสนา ปฏิบัติตามหลักธรรมคือ เว้นจากการทาความชั่ว ทาแต่ความดี และทาจิตใจให้หมดจดจาก
กเิ ลส ด้วยการบาเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนา เช่น ใหท้ าน รักษาศีล และเจรญิ ภาวนาเพอ่ื ขัดเกลา อบรม บม่ เพาะ
กาย วาจา ใจใหง้ ดงามเรยี บรอ้ ย ใหส้ งบนง่ิ มีจิตอาสา

1.3 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมตามโครงการน้อมนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งหรอื น้อมนาแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบัติให้กับนักเรยี น ดงั น้ี

- การจัดการการผลิต/การบริโภคในโรงเรียน/ชุมชนให้เกิดความพอเพียงและสมดุลกินพอดีอยู่
พอดีเช่นโครงการอาหารกลางวันการส่งเสริมการผลิตเกษตรอินทรีย์ / เกษตรผสมผสานบนพื้นฐานของการ
พงึ่ ตนเองการรกั ษาสมดลุ ของสงั คมและธรรมชาติ

- การพัฒนาอาชีพ/สร้างรายได้เสริมโดยประยุกต์ใช้ทรัพยากรท้องถิน่ ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ หรือ
โดยการพฒั นาเทคโนโลยีที่เหมาะสมหรือต่อยอดกบั ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน

- การจัดการ (รักษา/ฟนื้ ฟู) ทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม/ขยะทั้งในโรงเรียนและในชุมชน
อยา่ งยัง่ ยืนโดยใชห้ ลักวชิ าการความประหยดั ความรอบคอบ

- การจัดการระบบพลังงานของโรงเรียน/ชุมชนให้สามารถพ่ึงตนเองได้มากขน้ึ (ประหยัดผลิต
เอง / ทดแทน)

- การอนเุ คราะหเ์ ก้ือกูลช่วยเหลอื คนยากจนผู้ด้อยโอกาส (เช่นเด็กกาพร้าเด็กยากจน) ในสงั คม
ให้มคี ณุ ภาพชวี ิตทีด่ ีข้ึน

- การสร้างจิตสานึกรักท้องถน่ิ /รักชมุ ชนเชน่ การรกั ษา/ฟน้ื ฟูประเพณี/วัฒนธรรมไทยภูมปิ ัญญา
ท้องถนิ่ สถานท่ีทางประวตั ิศาสตร/์ โบราณสถานการสรา้ งความรสู้ ึกเป็นเจา้ ของ/มสี ่วนรว่ มในการพฒั นาชมุ ชน

- การสร้างจิตสานึกรักชาติ-ศาสน์-กษัตริย์เช่นรณรงค์การเห็นคุณค่าของสินค้าไทยการเรียนรู้
ประวัติความเป็นมาของชาติความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์การเข้าร่วมในกิจกรรมทางศาสนาตา่ งๆการ
เรยี นรคู้ าสอนในศาสนาการฝึกปฏบิ ตั ธิ รรมเป็นตน้

- การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มุ่งไปท่ีการบูรณาการในแต่ละรายวิชาสู่การปฏิบัติ นาไป
ปรบั ใช้ในการดาเนินชวี ิต เชน่ กิจกรรมเกษตรพอเพียง กิจกรรมการจดั ทาบญั ชีในครัวเรอื น

- สถานศึกษามีการปรับบริบทใหม้ ีอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อม สะอาด ร่มร่ืน ปลอดภยั เอ้ือ
ต่อการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

- สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้วิถีพอเพียงและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี
บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

- จัดอบรมเพ่ือสร้างบ่มเพาะอุปนิสัยพอเพียง ท้ังภายในและภายนอกให้กับนักเรียน โดยมีครู
เป็นผูท้ ่ีสามารถอธบิ ายแนะนา และเป็นแบบอย่างให้กับนกั เรียน

- สถานศึกษามีการจัดทาโครงการท่ีน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ
จัดการเรียนการสอนใหก้ บั นกั เรียน

111

- นานโยบายเข้าสู่กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนา แผนปฏิบัติการพัฒนาของเขตพื้นที่และ
โรงเรียนในสังกัด

- ขับเคลื่อนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ท้ังด้านหลักสูตร กิจกรรม ลงสู่แผนการจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอน

- โรงเรียนจัดกิจกรรมท่ีเชื่อมโยงสู่การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ เช่น
กิจกรรมด้านอาชีพ, กิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม, กิจกรรมตามรอยพ่อ, กิจกรรมรู้คิดตามศาสตร์
พระราชา

- สถานศึกษาในสงั กดั สง่ เสรมิ ให้ครูบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจดั การ
เรียนการสอนทุกรายวิชา โดยกาหนดกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนการจัดการเรียนรู้
เพ่ือให้ผู้เรียนได้น้อมนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปปฏิบัติตนโดยใช้ความรู้ต่างๆอย่างถูก
หลักวิชาการ ดว้ ยความรอบคอบ มีคณุ ธรรม มีเหตมุ ีผลทถี่ ูกตอ้ งตามความเป็นจริง มภี ูมคิ ุม้ กันที่ดใี นตวั เอง ซ่ึง
สถานศึกษาเป็นศูนย์โครงการชีววิถีเพื่อการพฒั นาอย่างย่ังยืน และดาเนินโครงการธนาคารโรงเรียนส่งเสริมการ
ออม มีผู้เรียนฝากเงินออมทรัพย์กับธนาคารออมสิน(ธนาคารโรงเรียน) จานวน 4,526 คน คิดเป็นร้อยละ
90.41

- สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมโครงการที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผา่ นกิจกรรมโครงการ ได้แก่ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเกษตรกรรม Smart ONIE
เพื่อสร้าง Smart farmer โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพเกษตรกรรม โครงการศึกษาแหล่ง
เรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งตามรอยพระราชาวิถชี ีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยเน้นการเสรมิ สร้าง
วินัยในตนเอง โครงการทาบัญชีครัวเรือน เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และรู้จักการออม โครงการปลูกผักปลอด
สารพิษ / การทาปุ๋ยอินทรยี ์ไวใ้ ช้ในการเกษตร กจิ กรรมบรู ณาการเสริมสรา้ งความร้อู ยูอ่ ย่างพอเพียง

- โรงเรียนเป็นโรงเรียนทร่ี ับนกั เรยี นพักอยู่ประจาในโรงเรียน นากระบวนการจัดการเรยี นรู้ตาม
แนวทางการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ทุกกิจกรรมในแต่ละวัน จัดกิจกรรมทักษะชีวิตให้กับ
นกั เรียนเรมิ่ ตั้งแตต่ ่นื นอนตอนเชา้ ที่หอนอน นกั เรียนไดร้ บั การฝึกใหร้ ับผดิ ชอบพบั เก็บผ้าห่มที่นอนหมอนให้เป็น
ระเบียบ การเข้าแถว การเกบ็ ของ การพับเสื้อผา้ การรับผดิ ชอบงานเป็นกล่มุ ๆ พ่ดี ูแลน้อง มีความเกื้อกลู ต่อกัน
การรู้จักเป็นผู้ให้และเป็นผู้รับ รู้จักใช้ส่ิงของอย่างประหยัดคุ้มค่า รู้จักการออมซ่ึงนักเรียนทุกคนมีการฝากเงิน
ออมกับธนาคารชุมชนโรงเรียนโสตศึกษา และธนาคารอาคารสงเคราะห์โรงเรยี นโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ ใช้
เหตุผลในการใช้จ่ายไปเพ่ือความจาเปน็ มีภูมิคุ้มกันท่ีดี รู้จักแยกแยะสิ่งผิดสงิ่ ถูก โดยใช้ ๒ เงือนไข ได้แก่ ใช้
ความรู้ และคุณธรรมในการตัดสนิ ใจดาเนินกิจกรรมต่างๆ ท้ังกจิ กรรมการเรยี นและกจิ วัตรประจาวนั

- จดั ทาโครงการสวนเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ โดยดาเนนิ การคอื ทาเปน็ ฐานการ
เรียนรู้คือ ๑. การปลูกพืชผักสวนครัวร้ัวกินได้ ๒.การเลี้ยงปลา ๓. การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์โดยให้นักเรียน
ผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกันในการดูและในแต่ละฐานการเรียนรู้ เมื่อได้ผลผลิตดังกล่าว ก็จะดาเนินการจาหน่าย
ให้กับโรงครวั เพอ่ื ทาอาหารกลางวนั ใหก้ บั นักเรยี นเพอื่ รับประทาน และจาหน่ายให้กบั ผปู้ กครองร้านค้าในหมบู่ า้ น
จะแกโกนต่อไป

112

2. ความโดดเด่น/จดุ แข็ง/นวตั กรรม/ต้นแบบหรือแบบอยา่ งที่ดีในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน่ จดุ แข็ง นวัตกรรมในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย มปี ระโยชนห์ รือ

เกิดผลดตี อ่ ผู้เรยี นอย่างไรบ้าง

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 1 ดาเนินการจัดกิจกรรมโดยผู้มีส่วน
เก่ียวข้องในการจัดการศึกษาทุกระดับ รับรู้ ฝึกปฏิบัติการและนาไปประยุกต์ใช้กับบุคลากรในโรงเรียนทุกคน
โดยเฉพาะนักเรียนในสังกัด และท่ีสาคัญอย่างยิ่งก็คือ ได้รับความร่วมมือ สนับสนุนทั้งจากหน่วยงานต้นสังกัด
คอื สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืน สานักงานจังหวัดสุรินทร์ และองค์การบริหารสว่ นจังหวัดสุรินทร์

กระบวนเรียนรู้จากโครงงานคุณธรรม ส่งผลให้นักเรยี นกลา้ แสดงออก มีทักษะการสื่อสารทีด่ ี มี
ความรกั ความสามัคคี และซมึ ซบั เรื่องราวดีจากโครงงานคณุ ธรรม (การสร้างจติ สานึกทางอ้อม)

- ใชเ้ ปน็ หลกั ในการดาเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
- สถานศึกษาประสบผลสาเร็จในการบริหารจัดการ และพัฒนาตนเองจนได้รับการยอมรับจาก
หน่วยงานอ่ืน
- ขยายผลสู่ภายนอกสถานศกึ ษานอกสงั กัด เช่น ชุมชน สถานศกึ ษาเอกชน
- เปน็ ทย่ี อมรับจากทุกหน่วยงาน ทุกองคก์ รท่ีเข้ามารว่ มแลกเปลย่ี นเรียนรู้
- โรงเรยี นในสกั กัดจานวน ๒ แหง่ เปน็ โรงเรียนขับเคลือ่ นคุณธรรม สพฐ.เขตตรวจราชการที่ ๑๔
- โรงเรียนในสงั กดั จานวน ๘๕ แหง่ เปน็ สถานศึกษาพอเพียงครบ ๑๐๐%
- โรงเรียนในสังกัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ศรร.) ๑ ศูนย์
การเรยี นรู้
- โรงเรยี นในสังกัดมีวิธีปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลิศ (สปล.) จานวน ๕ แห่ง
- สร้างอาชพี ให้กับนักเรียนได้
- ผู้เรียนมีความรอบรู้วิชาการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องอย่างรอบดา้ น ใช้ความรอบคอบที่จะนาความรู้
เหลา่ นนั้ มาพิจารณาใหเ้ ช่ือมโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผน และมคี วามระมดั ระวังในข้ันปฏิบตั ทิ กุ ขัน้ ตอน
- ผู้เรียนมีความตระหนักในคุณธรรม การตั้งม่ันในความดี มีความซ่ือสัตย์สุจริต ความอดทน
ความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนนิ ชีวิต
- ผู้เรียนรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า รู้จักเสียสละแบ่งปันทรัพยากรท่ีมีเพ่ือ
ประโยชน์ต่อสว่ นรวม
- นาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตอย่างสมดุล และพร้อมรับต่อการ
เปลี่ยนแปลงภายใต้กระแสโลกาภวิ ตั น์
- ผเู้ รยี นมวี ินยั ทางดา้ นการเงินโดยการเกบ็ ออมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
- ผู้เรียนสามารถดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล มีความซื่อสัตย์ สุจริตท้ังต่อตนเองและผู้อื่น รวมทั้ง
สรา้ งประโยชน์ให้กับสังคม
- จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยสอดแทรกคุณธรรม เรอ่ื งความกตัญญรู คู้ ณุ
ยกยอ่ งเชดิ ชบู พุ การี ครู อาจารย์ เพื่อใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และเนน้ การนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
- ผู้เรียนสามารถนาหลักธรรมคาสอนของศาสนาท่ีตนนับถือมาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมใน
ชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งมีความสขุ
- ผู้เรียนมีคุณลักษณะท่พี ึงประสงคต์ ามหลักสูตรและปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถานศึกษาได้
อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมไปในทศิ ทางเดยี วกนั

113

- ผ้เู รียนสามารถดาเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและรจู้ ัก

วางแผน การดาเนินชวี ิตใหม้ ีคุณคา่ และรู้ตวั มากข้ึน
- กิจกรรมที่โรงเรยี นฝึกนักเรียนส่งผลให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบพับเก็บผ้าห่มท่ีนอน

หมอนให้เปน็ ระเบียบ การเขา้ แถว การเก็บของ การพับเส้อื ผ้า การรับผิดชอบงานเป็นกลุ่มๆ พีด่ ูแลน้อง มคี วาม

เกื้อกลู ต่อกันการรู้จักเป็นผู้ให้และเป็นผรู้ ับ รู้จักใช้สิ่งของอย่างประหยดั คุ้มค่า รู้จกั การออมซ่ึงนักเรียนทกุ คนมี
การฝากเงินออมกับธนาคารชมุ ชนโรงเรียนโสตศึกษา และธนาคารอาคารสงเคราะห์โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัด

สรุ นิ ทร์ ใช้เหตผุ ลในการใชจ้ ่ายไปเพ่อื ความจาเป็น มภี ูมคิ ุม้ กนั ที่ดี รู้จกั แยกแยะส่ิงผดิ สง่ิ ถูก โดยใช้ ๒ เงือนไข
ได้แก่ ใช้ความรู้ และคุณธรรมในการตัดสินใจดาเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิจกรรมการเรียนและกิจวัตรประจาวัน
เป็นผู้ท่ีมีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีความซ่ือสัตย์สุจริตเก็บเงินหรือสิ่งของมีค่าได้นาส่งให้ครูตามหาเจ้าของ ได้รับมี

เกยี รตบิ ตั รทั้งจากโรงเรียน ได้รบั โล่และเข็มเชิดชเู กียรตพิ ร้อมเงินรางวัล รางวัลเด็กดเี ด่น(ด้านคุณธรรมจริยธรรม)
สภาสังคมสงเคราะห์ ปี ๒๕๕๙ และ ปี ๒๕๖๐ จากสภาสังคมสงเคราะห์ และได้รับทุนการศึกษาจาก

หนว่ ยงานตา่ งๆท้งั ภายในและภายนอก
- ผู้เรียนได้เรียนรู้ในการเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีปฏิบัติตามหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา

ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม

- ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงกระบวนการ ข้ันตอนการปฏิบัติตนต่าง ๆ ตามหลักขนบธรรมเนียม
ประเพณีของไทย

- ผเู้ รียนไดร้ ับความรู้จากการจัดกิจกรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนาไปปรับ
ใช้ทบี่ ้านของตนเอง

2.2 รายช่ือหน่วยงาน/สถานศึกษาทเ่ี ปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่างทดี่ ี ในการดาเนินงานตามประเด็น

นโยบายดังนี้ (ตารางท่ี ๓๕)

รายชอ่ื หนว่ ยงาน/ ท่ตี ั้ง รายการและรายละเอียด
สถานศกึ ษาต้นแบบหรือ หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งที่ดี

สพป.สร.๑

1. โรงเรียนบ้านใหม่ อาเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ ไดร้ บั เลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล

2. โรงเรียนบ้านคอโค อาเภอเมอื งสรุ ินทร์ ได้รบั เลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล

3. โรงเรยี นบ้านตะบัล อาเภอเมืองสุรินทร์ ไดร้ บั เลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล

4. โรงเรียนบา้ นตะตงึ ไถง อาเภอเมืองสรุ ินทร์ ได้รบั เลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล

5. โรงเรยี นราชวถิ ี (ประสาทราษฎรบ์ ารงุ ) อาเภอเมืองสุรนิ ทร์ ได้รับเลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล

6. โรงเรยี นบ้านสวาย อาเภอเมอื งสรุ ินทร์ ได้รับเลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล

7. โรงเรียนบา้ นนาบวั อาเภอเมอื งสุรินทร์ ได้รบั เลือกเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล

8. โรงเรียนบ้านระกาสงั แก อาเภอเมืองสุรนิ ทร์ ไดร้ บั เลอื กเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล

9. โรงเรยี นบ้านสาโรงนาดี อาเภอเมอื งสุรินทร์ ได้รับเลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล

10. โรงเรยี นบา้ นเพ้ียราม อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ ไดร้ บั เลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล

11. โรงเรยี นบ้านโคกอารักษ์ อาเภอเมอื งสุรนิ ทร์ ได้รบั เลือกเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล

12. โรงเรยี นบา้ นตาอ็อง อาเภอเมอื งสุรนิ ทร์ ไดร้ บั เลอื กเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล

114

รายชือ่ หนว่ ยงาน/ ทตี่ ั้ง รายการและรายละเอยี ด
หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จดุ แข็ง/นวตั กรรม
สถานศกึ ษาตน้ แบบหรือ
อาเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ ได้รบั เลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
แบบอยา่ งทดี่ ี อาเภอเมืองสรุ ินทร์ ได้รบั เลอื กเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล

13. โรงเรียนบา้ นเทนมยี ์ อาเภอเมอื งสุรินทร์ ได้รบั เลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
14. โรงเรยี นหนองโต อาเภอเมืองสุรนิ ทร์ ได้รบั เลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
“สรุ วิทยาคม” อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ ได้รบั เลอื กเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
15. โรงเรยี นบ้านแกใหญ่
16. โรงเรยี นบ้านระเภาว์ อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ ไดร้ ับเลอื กเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
17. โรงเรียนบา้ นโสน (พทิ ย อาเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ ไดร้ ับเลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
ศกึ ษา) อาเภอเมืองสุรินทร์ ได้รับเลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
18. โรงเรียนบา้ นทพั กระบือ อาเภอเมอื งสรุ ินทร์ ได้รบั เลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
19. โรงเรียนบา้ นราม อาเภอศีขรภูมิ ได้รบั เลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
20. โรงเรยี นบา้ นบุฤาษี อาเภอศีขรภมู ิ ไดร้ ับเลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
21. โรงเรยี นเมืองที อาเภอศขี รภูมิ ไดร้ บั เลอื กเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
22. โรงเรยี นบ้านระเวยี ง
23. โรงเรียนบา้ นอนนั ต์ อาเภอศีขรภมู ิ ไดร้ ับเลือกเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
24. โรงเรียนบ้านกระแสร์ อาเภอศขี รภมู ิ ได้รบั เลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
อดุ มท่าโคราช อาเภอศีขรภูมิ ไดร้ บั เลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
25. โรงเรียนบ้านกรวดนาฮัง อาเภอศีขรภมู ิ ไดร้ ับเลอื กเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
26. โรงเรียนบ้านโคกลาดวน อาเภอศขี รภูมิ ได้รบั เลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
27. โรงเรยี นบ้านจารพัต อาเภอศขี รภมู ิ ไดร้ ับเลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
28. โรงเรียนบา้ นตรมไพร
29. โรงเรียนบ้านทงุ่ รงู อาเภอศขี รภมู ิ ได้รบั เลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
30. โรงเรยี นบ้านโพธ์ิ “โพธิ์ อาเภอศีขรภูมิ ได้รบั เลือกเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
ศรีวิทยา”
31. โรงเรยี นบา้ นคาละแมะ อาเภอศีขรภมู ิ ไดร้ ับเลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
32. โรงเรียนบา้ นม่วงทรพั ย์ อาเภอศีขรภมู ิ ไดร้ บั เลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
โกฏิ
33. โรงเรียนบ้านดอู่ าราง
34. โรงเรียนบา้ นชา่ งป่ี

35. โรงเรยี นบ้านไพรษร อาเภอศขี รภูมิ ได้รบั เลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
สาโรง อาเภอศขี รภมู ิ ไดร้ ับเลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล

36. โรงเรยี นบา้ นประทนุ อา
ยอง

115

รายชอ่ื หน่วยงาน/ ทตี่ ง้ั รายการและรายละเอียด
หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม
สถานศกึ ษาต้นแบบหรือ
อาเภอสาโรงทาบ ได้รบั เลอื กเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
แบบอยา่ งท่ีดี
อาเภอสาโรงทาบ ได้รับเลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
37. โรงเรียนบ้านตะมะหนอง
กระจาน อาเภอสาโรงทาบ ไดร้ บั เลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
38. โรงเรยี นบ้านตะเคยี นกยู
วิทยา อาเภอสาโรงทาบ ได้รับเลอื กเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
39. โรงเรียนหม่นื ศรปี ระชา อาเภอสาโรงทาบ ได้รับเลอื กเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
สรรค์ อาเภอสาโรงทาบ ไดร้ บั เลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
40. โรงเรียนบ้านจังเกา อาเภอสาโรงทาบ ได้รับเลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
41. โรงเรยี นการญุ วทิ ยา
42. โรงเรยี นบ้านหนองฮะ อาเภอสาโรงทาบ ไดร้ บั เลือกเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
43. โรงเรียนหนองเหล็ก อาเภอสาโรงทาบ ไดร้ ับเลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
เบญจวิทยา อาเภอสาโรงทาบ ได้รับเลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
44. โรงเรียนบ้านดู่ อาเภอจอมพระ ได้รับเลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
45. โรงเรยี นบ้านหนองดมุ อาเภอจอมพระ ไดร้ บั เลือกเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
46. โรงเรยี นสะโนวิทยา อาเภอจอมพระ ไดร้ บั เลอื กเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
47. โรงเรยี นบ้านอันโนง อาเภอจอมพระ ไดร้ ับเลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
48. โรงเรียนบา้ นชุมแสง
49. โรงเรียนบา้ นทงุ่ นาค อาเภอจอมพระ ได้รบั เลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
50. โรงเรียนบา้ นขม้ิน “เรือง อาเภอจอมพระ ไดร้ ับเลอื กเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
ราษฎร์รังสรรค์” อาเภอจอมพระ ได้รับเลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
51. โรงเรยี นบ้านหนองพลวง
52. โรงเรยี นอนบุ าลจอพระ อาเภอจอมพระ ได้รับเลือกเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
53. โรงเรียนบา้ นขามศกึ ษา อาเภอจอมพระ ได้รับเลอื กเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
คาร อาเภอจอมพระ ได้รับเลอื กเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
54. โรงเรยี นบา้ นผอื อาเภอเขวาสินรินทร์ ได้รับเลอื กเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
55. โรงเรียนบา้ นโนนงิว้ อาเภอเขวาสินรนิ ทร์ ไดร้ บั เลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
56. โรงเรียนบ้านสนวนนางแก้ว อาเภอเขวาสินรินทร์ ไดร้ ับเลอื กเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
57. โรงเรยี นบ้านสดอ อาเภอเขวาสนิ รินทร์ ได้รับเลือกเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
58. โรงเรยี นบน้ กนั เตรยี ง อาเภอลาดวน ได้รับเลอื กเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
59. โรงเรียนบา้ นตากกู อาเภอลาดวน ไดร้ ับเลือกเปน็ สถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
60. โรงเรียนบา้ นแสรออ อาเภอลาดวน ไดร้ บั เลือกเป็นสถานศกึ ษาคุณธรรมประจาตาบล
61. โรงเรยี นบา้ นตราดม
62. โรงเรยี นวดั ทกั ษณิ วารี
63. โรงเรยี นอมรินทร์ราษฎร์วทิ ยา

116

รายช่อื หน่วยงาน/ ทีต่ งั้ รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาตน้ แบบหรอื หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม

แบบอย่างทด่ี ี อาเภอลาดวน ได้รบั เลือกเป็นสถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
64. โรงเรียนภมู สิ ตึง อาเภอลาดวน ได้รบั เลอื กเปน็ สถานศึกษาคุณธรรมประจาตาบล
65. โรงเรยี นบ้านอโู่ ลก อาเภอเมอื งสรุ ินทร์ ไดร้ ับเลือกเปน็ สถานศกึ ษาพอเพียง
66. โรงเรียนพรมประสาท
ราษฎร์นกุ ูล อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ ได้รับเลอื กเปน็ สถานศึกษาพอเพียง
67. โรงเรียนเมืองสรุ นิ ทร์ อาเภอสาโรงทาบ ได้รบั เลอื กเป็นสถานศกึ ษาพอเพยี ง ปี 2560
68. โรงเรยี นบา้ นเกาะแกว้ อาเภอศีขรภมู ิ ได้รับเลือกเปน็ สถานศึกษาพอเพยี ง ปี 2560
69. โรงเรยี นบา้ นโคกลาดวน อาเภอเมอื งสรุ นิ ทร์ ไดร้ บั เลือกเป็นสถานศึกษาพอเพยี ง ปี 2560
70. โรงเรยี นบ้านตาเพชร อาเภอศีขรภูมิ ได้รับเลือกเปน็ สถานศกึ ษาพอเพียง ปี 2560
71. โรงเรยี นบา้ นหนองขนาด อาเภอจอมพระ ได้รบั เลือกเปน็ สถานศกึ ษาพอเพียง ปี 2560
72. โรงเรยี นบา้ นขมนิ้ (เรอื ง
ราษฎรร์ ังสรรค)์ อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ ไดร้ บั เลอื กเปน็ สถานศกึ ษาพอเพียง ปี 2560
73. โรงเรียนบา้ นไถงตรง อาเภอศขี รภมู ิ ได้รบั เลอื กเปน็ สถานศึกษาพอเพยี ง ปี 2560
74. โรงเรยี นบา้ นสวายไตร
ภมู ิ อาเภอศขี รภูมิ ไดร้ ับเลือกเป็นสถานศกึ ษาพอเพยี ง ปี 2560
75. โรงเรยี นบ้านหนองจิก อาเภอศขี รภมู ิ ไดร้ ับเลอื กเปน็ สถานศกึ ษาพอเพยี ง ปี 2560
76. โรงเรยี นบา้ นตรมึ “ตรึ
มวทิ ยานุเคราะห์) อาเภอสาโรงทาบ ได้รบั เลือกเป็นสถานศึกษาพอเพียง ปี 2560
77. โรงเรียนบา้ นตะมะหนอง
กระจาน อาเภอจอมพระ ไดร้ ับเลือกเปน็ สถานศกึ ษาพอเพียง ปี 2560
78. โรงเรยี นบา้ นผางอดุ ม
สมบูรณว์ ิทยา อาเภอเมอื งสุรินทร์ ได้รบั เลอื กเปน็ สถานศึกษาพอเพียง ปี 2560
79. โรงเรยี นบ้านแจรน (ปอ
เกยี –พลนิ อทุ ิศ) อาเภอเมอื งสุรนิ ทร์ ได้รบั เลือกเป็นสถานศึกษาพอเพียง ปี 2560
80. โรงเรียนบา้ นประทัดบุ
อาลอ อาเภอศขี รภมู ิ ไดร้ บั เลือกเป็นสถานศกึ ษาพอเพียง ปี 2560
81. โรงเรียนบา้ นเปรยี ง อาเภอสาโรงทาบ ไดร้ ับเลือกเปน็ สถานศึกษาพอเพียง ปี 2560
82. โรงเรยี นบา้ นหมื่นศรี
น้อย อ.โนนนารายณ์ ต้นแบบการใชโ้ ครงงานคุณธรรม เพ่ือส่งเสริม
สพป.สร.๒ จ.สรุ นิ ทร์ คณุ ธรรมจริยธรรมในสถานศกึ ษา
1. โนนนารายณ์วทิ ยา อ.รัตนบุรี จ.สรุ ินทร์ เปน็ ศนู ย์การเรียนรูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ท่ี
เป็นตน้ แบบ
2. ไตรคามวทิ ยา อ.ท่าตมู จ.สรุ ินทร์ ต้นแบบกจิ กรรมส่งเสรมิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. บา้ นลุงปงุ

117

รายช่ือหน่วยงาน/สถานศกึ ษา ทต่ี ้ัง รายการและรายละเอยี ด
ของความโดดเด่น/จดุ แขง็ /นวัตกรรม
ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ี หน่วยงาน/สถานศกึ ษา
ไดร้ บั รางวัลสูงสุดระดบั ชาติสถานศกึ ษาพอเพยี ง ที่
สพป.สร.๓ มีผลการปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลิศ ปี 2560 โครงงานศนู ย์
การเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. รร.กาบเชิงมติ รภาพที่ ต.กาบเชงิ อ.กาบเชิง

190

2. รร.บ้านแนงมุด ต.แนงมุด อ.กาบเชิง ได้รบั รางวัลสูงสุดระดบั ชาติสถานศึกษาพอเพยี ง ท่ี
มีผลการปฏิบัตทิ เี่ ป็นเลิศ ปี 2560 โครงงานสรา้ ง
คน สร้างงาน สรา้ งอาชีพ ส่วู ิถพี อเพียง

3. รร.สตรวี ทิ ยาสมาคม ต.ตาตมุ อ.สังขะ ไดร้ บั รางวลั ดา้ นการอนรุ กั ษโ์ ครงการปลกู ป่าจาก
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด

สพม.๓๓

๑. ร.ร.รามวทิ ยารัชมังคลา อ.เมอื ง จ.สุรินทร์ โรงเรยี นขับเคลอื่ นคุณธรรม สพฐ. โครงงานคณุ ธรม

ภิเษก

๒. ร.ร.ศรีสุขวิทยา อ.สาโรงทาบ จ.สุรินทร์ โรงเรยี นตน้ แบบโครงงานคณุ ธรรม สพฐ.

๓. ร.ร.ศีขรภมู ิพิสยั อ.ศขี รภูมิ จ.สรุ นิ ทร์ ศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี งด้านการศกึ ษา

๔. ร.ร.สาโรงทาบวิทยา อ.สาโรงทาบ จ.สรุ นิ ทร์ ศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี งดา้ นการศึกษา

๕. ร.ร.สุริวทยาคาร อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ ศูนย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี งด้านการศึกษา

๖. ร.ร.สนมวทิ ยาคาร อ.สนม จ.สรุ นิ ทร์ วธิ ปี ฏิบัติทเ่ี ปน็ เลศิ มูลนิธยิ วุ สถริ คณุ

๗. ร.ร.รตั นบรุ ี อ.รัตนบุรี จ.สุรนิ ทร์ วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลิศ มูลนิธยิ ุวสถิรคุณ

๘. ร.ร.หนองแวงวทิ ยา อ.ศีขรภมู ิ จ.สรุ ินทร์ วธิ ีปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลิศ มูลนธิ ยิ ุวสถริ คุณ

๙. ร.ร.ตาคงวิทยารัชมังคลา อ.สังขะ จ.สุรินทร์ วิธปี ฏบิ ตั ิที่เปน็ เลิศ มูลนิธิยวุ สถิรคุณ

ภิเษก

เอกชน

1. ร.ร.บวรธรรมประยตุ วทิ ยา ๕๙/๒ ถ.กรุงศรนี อก ต. โครงการเพาะเหด็ เพื่ออาหารกลางวนั

ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.สรุ นิ ทร์

2.ร.ร.สุรนิ ทรศกึ ษา ๒/๒ ถนนปอยปริง ต.ใน โครงการประหยัดอดออม นกั เรยี นสามารถมเี งิน

เมือง อ.เมอื ง จ.สรุ นิ ทร์ ออมใชจ้ ่ายเมอื่ ยามจาเปน็ ได้

118

รายชอ่ื หน่วยงาน/ ที่ตงั้ รายการและรายละเอียด
สถานศกึ ษาต้นแบบหรอื หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม

แบบอย่างทด่ี ี 329 หมู่ 1 กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้ เกิดการปฏิบัติ และ
กศน. ตาบลชุมพลบุรี อาเภอ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันน้อมนาแนวคิดหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรือนอ้ มนาแนวคิด
1. กศน.อาเภอชุมพลบรุ ี ชุมพลบรุ ี จังหวัดสุรนิ ทร์ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ
ดาเนินชวี ติ

อาชวี ศึกษา ถ.เทศบาล 1 ต.ในเมือง รู้จักประหยัด เก็บออม สามารถนาหลักปรัชญา
1. วิทยาลัยอาชีวศกึ ษา อ.เมือง จ.สรุ นิ ทร์ เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
สรุ นิ ทร์ เป็นอย่างดี
2. วทิ ยาลยั เทคนคิ สุรนิ ทร์ ถ.หลกั เมือง ต.ในเมือง
อ.เมือง จ.สุรินทร์
ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ
1. ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ๓๓๓ หมู่ ๕ บา้ นจะแก ๑.ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรูก้ จิ กรรมท่สี ่งเสริมคณุ ธรรม
ประจาจังหวดั สุรินทร์ โกน ตาบลท่าสวา่ ง จรยิ ธรรมจากสถานการณ์จรงิ
อาเภอเมือง จังหวดั
สรุ ินทร์ ๓๒๐๐๐ ๒.ผ้เู รยี นไดล้ งมือปฏิบตั จิ ริงจากฐานการเรยี นรู้
กจิ กรรมตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง

3. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย

- เนื่องจากเป็นโครงการท่ีต้องปลูกฝังในการสร้างนิสัยและต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง หาก
บุคลากรในสังกัดมีการโยกย้ายหรอื เปลี่ยนแปลงผู้บรหิ าร อาจทาใหเ้ กดิ การชะงัก

- งบประมาณที่ได้รบั การสนบั สนุนค่อนขา้ งล่าชา้ ทุกปี
- งบประมาณในการดาเนนิ งานไม่เพยี งพอ
- ครมู ภี าระงานอ่นื นอกเหนอื จากงานสอน
- การมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน
- สถานศกึ ษาเปน็ หนว่ ยงานทต่ี ้องทาตามนโยบายทุกขอ้ ทาให้ดาเนนิ การไม่ทัน
- การทางานซา้ ซ้อน หลายข้ันตอน เปน็ อุปสรรคในการดาเนินงานของเขตพื้นท่ี และโรงเรยี น
- การเก็บข้อมูลสารสนเทศ ควรเก็บแล้วสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ทุกหน่วยงาน เพื่อเป็น
การบรู ณาการกนั
- เกณฑ์ การประเมนิ ตดิ ตาม มคี วามยงุ่ ยากซบั ซ้อน ไมท่ นั สมยั ตามนโยบายไมท่ ัน

119

- สถานศกึ ษาอยากให้สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค และจังหวดั มสี ว่ นรว่ มประสานงานกบั โรงเรียน

มากขนึ้ เชน่ การจดั อบรมพัฒนาความร้สู าหรับบคุ ลากร ดา้ นต่าง ๆ
- ขาดงบประมาณสนับสนุนหลักในการทาโครงการ
- ขาดการประชาสมั พันธ์โครงการ

- เป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการในการดาเนินงานไม่ตรงตามเป้าหมายที่กาหนด (เน่ืองจาก
ข้อจากดั ในความพิการ)

- การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ต้องใช้ระยะเวลาในการบ่มเพาะจึงจะเกิดการเปล่ียนแปลง
ประกอบกับการปลูกฝังคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยมของแตล่ ะครอบครัวมไี มเ่ ท่ากัน

4. ข้อเสนอแนะ

4.1 ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /พฒั นานโยบาย

- สถานศึกษาควรใหผ้ ู้เรียนและผูเ้ กย่ี วขอ้ งมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมสาคัญต่าง ๆ
- ครูผู้สอนควรใชห้ ลักประชาธิปไตยในห้องเรียน โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นใช้
สถานการณ์จาลอง หรือแสดงบทบาทสมมติเร่ืองคุณธรรมจริยธรรมในห้องเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้ร่วมวิเคราะห์
สถานการณแ์ ละมีความรบั ผิดชอบต่อการทางานเปน็ กลุ่ม
- ควรมีการนเิ ทศตดิ ตาม ตรวจสอบ ให้กาลังใจจากหนว่ ยงานต้นสงั กัดอยา่ งต่อเนอ่ื ง
- หน่วยงานต้นสงั กดั จดั สรรงบประมาณให้รวดเร็ว
- การบริหารเชงิ บรู ณาการและเชงิ นโยบาย
- ควรมกี ารจดั สรรงบประมาณสนบั สนุนอย่างเพยี งพอ
- การมีสว่ นรว่ มของผู้เกยี่ วข้อง
- ลดข้ันตอนการทางานในแตล่ ะโครงการ
- พัฒนาเทคโนโลยีขอ้ มูลสารสนเทศเพ่อื การพัฒนาอยา่ งแทจ้ รงิ
- ปรบั เกณฑ์ การตดิ ตาม ประเมนิ ให้ทันสมยั ทันเหตุการณ์ เปน็ ปจั จบุ นั

แบบอย่าง 4.2 ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ
- สง่ เสรมิ สนบั สนุนและสรา้ งขวัญกาลงั ใจให้กบั สถานศกึ ษาท่ปี ฏบิ ัติไดเ้ ปน็ แบบอยา่ ง
- ส่งเสริมสนับสนุนและสร้างขวัญกาลังใจให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติได้เป็น

- งบประมาณควรลงในไตรมาสท่ี ๑

120

นโยบายที่ 11 การขบั เคลอ่ื นนโยบายการจดั การศกึ ษาในระดบั ภมู ิภาค

(ศธจ.)

11.1 การวางแผนบรู ณาการเพอื่ การขับเคลอื่ นนโยบายการจดั การศกึ ษาระดบั จงั หวัดและระดับภาค
KPI : รอ้ ยละของสานักงานศกึ ษาธิการภาคและระดบั จงั หวัด สามารถขับเคล่อื นยุทธศาสตร์ชาติและ
ยุทธศาสตรก์ ระทรวงส่กู ารปฏิบัติได้

11.2 การจัดระบบและพัฒนาระบบขอ้ มูล สารสนเทศและเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพอ่ื การศกึ ษาเพอื่ การวางแผน
และการกากบั ตดิ ตาม ประเมินผล
KPI : รอ้ ยละของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาคและระดบั จังหวัด สามารถจัดระบบ ข้อมลู สารสนเทศและ
เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอ่ื การศกึ ษาไดต้ ามอานาจหน้าทแ่ี ละภารกิจ

11.3 การประสานงานและพฒั นาเครือขา่ ยการปฏบิ ัตงิ านในระดบั พน้ื ที่
KPI : ร้อยละของสานกั งานศึกษาธกิ ารภาคและระดบั จงั หวดั มกี ระบวนการประสานงานและพฒั นา
เครือข่ายการปฏบิ ัติงานทม่ี ปี ระสิทธภิ าพเป็นท่พี งึ พอใจของผู้รับบรกิ ารและผ้เู กย่ี วข้อง

ผลการดาเนินงาน
1. ผลการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบายและตัวชีว้ ดั
1.1 สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ไดด้ าเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตรช์ าติและยทุ ธศาสตร์

กระทรวงสู่การปฏิบัตหิ รอื ไม่ และดาเนนิ การอย่างไร
 ไมม่ ี
 มี โดยดาเนินการดงั น้ี

- สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ขบั เคลอ่ื นนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษาในภูมิภาคตามยธุ ศาสตร์ชาติ
และยทุ ธศาสตร์กระทรวง ตามบทบาทหน้าท่ีของ กศจ.

- ติดตามการขับเคล่ือนนโยบายสู่การปฏิบัติ ตามการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ รอบที่ ๑ ปงี บประมาณ 256๑

1.2 สานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือ
การศึกษาไดต้ ามอานาจหน้าที่และภารกจิ หรือไม่ อยา่ งไร

 ไมม่ ี
 มี โดยดาเนนิ การดงั นี้
- สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัด ประสานให้หนว่ ยงานทางการศกึ ษาไดจ้ ดั เกบ็ ขอ้ มลู ผา่ นระบบ
คลังขอ้ มูลของกระทรวงศกึ ษาธิการ
1.3 สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั มกี ระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการปฏิบตั งิ านทม่ี ี
ประสทิ ธิภาพและเปน็ ที่พงึ พอใจของผู้รับบรกิ ารและผ้เู กี่ยวขอ้ ง หรือไม่
 ไม่มี
 มี โดยดาเนนิ การดังนี้
- ดาเนินการประชุม ๔ องค์คณะ และ ภาคีเครือข่าย โดยการมสี ว่ นรว่ มทุกหน่วยงานในจังหวดั

121

2. ความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน่ จดุ แข็ง นวตั กรรมในการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบาย มีประโยชน์หรือ

เกิดผลดตี ่อผู้เรยี นอยา่ งไรบ้าง

- ไม่มี -

2.2 รายช่ือหน่วยงาน/สถานศกึ ษาที่เป็นต้นแบบหรือแบบอยา่ งท่ีดี ในการดาเนินงานตามประเด็น

นโยบายดงั น้ี

รายช่อื หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ที่ตง้ั รายการและรายละเอียด

ต้นแบบหรอื แบบอย่างทีด่ ี หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จุดแขง็ /นวตั กรรม

1.

2.

3.

3. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย
- ไมม่ ี -

4. ขอ้ เสนอแนะ
4.1 ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นานโยบาย
- ไม่มี -
4.2 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
- ไมม่ ี -

122

นโยบายที่ 14 การพฒั นาครทู ัง้ ระบบ
(สพป./สพม./สศศ./สช./สอศ./กศน.)

14.1 การพฒั นาครูตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร

KPI : ร้อยละของครทู ี่ผ่านการพัฒนาตามโครงการพฒั นาครูรปู แบบครบวงจร นาผลการพัฒนามาใช้

ในการเรียนการสอน

14.2การพฒั นาครตู ามกระบวนการสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ : PLC

KPI : ร้อยละของครูทผ่ี ่านการพฒั นาตามกระบวนการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) นาผล

การพัฒนามาปรับการเรยี นการสอน

ผลการดาเนินงาน

1. ผลการดาเนนิ งานตามนโยบาย

1.1 จานวนและร้อยละครูท่ีผ่านการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร นาผลการ

พฒั นามาใช้ในการเรียนการสอน และครูทผ่ี ่านการพฒั นาตามกระบวนการสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) นา

ผลการพฒั นามาปรบั การเรยี นการสอน (ตารางที่ ๓๖)

การพัฒนาครรู ปู แบบครบวงจร การพัฒนาครตู ามกระบวนการ PLC

สังกัด ครูท่ีผ่านการ ครูทผี่ า่ นการพัฒนา ครทู ี่ผ่านการ ครูท่ีผ่านการพัฒนา
พัฒนาตาม ตามโครงการพัฒนา พัฒนาตาม ตามกระบวนการสร้าง
โครงการ ครรู ปู แบบครบวงจร ร้อยละ กระบวนการ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ รอ้ ยละ
พฒั นาครู นาผลการพัฒนามา สรา้ งชมุ ชน
รปู แบบครบ แห่งการ (PLC) นาผลการ
วงจร(คน) ใชใ้ นการเรยี น เรียนรู้ (PLC) พฒั นามาปรบั การ
การสอน (คน) เรียนการสอน (คน)
(คน)

สพป. ๔,๒๕๐ ๓,๕๔๗ ๘๓.๔๖ ๗,๙๗๓ ๗,๙๗๓ ๑๐๐

สพม. ๑,๖๒๗ ๑,๖๒๗ ๑๐๐ ๒,๑๗๐ ๒,๑๗๐ ๙๘

สศศ.(โสต) ๑๖ ๑๖ ๑๐๐ ๑๖ ๑๖ ๑๐๐

สศศ.(ศนู ย)์ ๑๑ ๑๑ ๑๐๐ - - -

สช. ๑๘๐ ๑๘๐ ๑๐๐ ๑๘๐ ๑๘๐ ๑๐๐

สอศ. (รัฐบาล) ๒๖ ๒๖ ๑๐๐ ๒๖ ๒๖ ๑๐๐

สอศ. (เอกชน) - - -- - -

กศน. - - -- - -

อ่ืนๆ (ระบุ).... - - -- - -

123

1.2 ครูท่ผี า่ นการพฒั นาตามโครงการพฒั นาครรู ปู แบบครบวงจร นาผลการพฒั นามาใช้ในการ

เรยี นการสอนดังน้ี

- จัดทาส่ือการเรยี นการสอน การจัดทานวตั กรรมทางเทคโนโลยี การคิดวเิ คราะห์
- การจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา (STEM Education)
- นามาประยุกต์สาระวิชาท่ีสอนและแชร์ความรู้ให้กับครูในกลุ่มเครือข่ายของสาระวิชาการ
เรยี นรู้
- จดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้
- จดั กิจกรรม/กระบวนการการเรียนรู้
- พัฒนา/แสวงหา/สืบคน้ เครือ่ งมอื การจัดการเรียนรู้
- นามาปรบั วิธกี ารสอนในหอ้ งเรยี น
- นาความรู้มาพัฒนาสื่อการเรียนการสอนและการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
- ครูท่ีผ่านการพฒั นาโครงการพัฒนาครูรปู แบบครบวงจร ได้นาผลมาพัฒนาการเรยี นการสอน
ตรงตามหลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรูท้ ี่ตนเองรับผิดชอบ
- ครูผู้สอนที่ผ่านการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูนาผลการพัฒนามาใช้ในการเรียนการสอน
จากภายในสถานศึกษาจานวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ครไู ด้เข้ารว่ มการประชมุ อบรม สัมมนา ประจาปี
งบประมาณ 2560 คิดเปน็ รอ้ ยละ 96.55 และครไู ด้รับการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานภายนอกสถานศึกษา
จานวน 18 คน คิดเปน็ ร้อยละ 20.69
- ครูประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และเป็นแบบอย่างท่ีดีต่อผู้เรียน ผู้ปกครอง
ชมุ ชน สังคม ครูตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อผลิตและพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะอันพึงประสงค์
สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และเปน็ คนดี เกง่ ดารงชวี ติ อย่ใู นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ
- พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพทางการศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดแรงงาน เป็นคนดแี ละดารงชวี ติ อยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
- ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะและกระบวนการคิด วิเคราะห์ การแก้ปัญหา ให้กับ
ผูเ้ รียน
- หลักสูตรฝึกอบรมการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาจากส่ือธรรมชาติครูได้นามาใช้ในการพัฒนาการ
เรียนการสอน โดยการจัดทาสือ่ การเรียนการสอน จากวัสดุธรรมชาติ การจัดเกมส์การศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยนามา
ปรบั ใชใ้ ห้เมาะสมกับเดก็ ทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ
- หลักสูตรการพัฒนาสมรรถภาพที่จะเป็นด้านการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ครูได้มีการจัดทาการ
วิจยั ในช้นั เรียนเพ่ือพฒั นาผู้เรียน
- หลักสูตรโครงการเทคนิคการสอนเด็กพิเศษในห้องเรียนรวมแบบ Co-teaching ตามหลักสูตร
แกนกลางครไู ด้นามาใช้ในการนาเทคนิคการสอน ปรับใชก้ บั ผู้เรียนในศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวัดสุรนิ ทร์

124

1.3 ครทู ผ่ี ่านการพัฒนาตามกระบวนการสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) นาผลการพฒั นามา
ปรับการเรยี นการสอน ดงั นี้

- ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นร้,ู พฒั นานวตั กรรมเพื่อการเรียนรู้, การปรับปรุงการเรยี นการสอนใน
ชัน้ เรยี น, จัดการเรยี นรูท้ างวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง

ใชใ้ นการยกระดบั คุณภาพการศึกษาทกุ กล่มุ สาระวิชาการเรยี นรู้ โดยแบง่ อยเู่ ป็น 2 กล่มุ
- กลุ่มที่มีผลการสอบ O-NET ต่ากว่าระดับชาติ จานวน ๑๒๒ โรงเรียน
- กลมุ่ ท่ีมีผลการสอบ O-NET สงู กว่าระดับชาติ จานวน ๑๗๒ โรงเรียน
- วางรปู แบบและแผนทก่ี ารเรียนรใู้ ห้นักเรยี นมีกิจกรรมการเรยี นการสอนทีม่ เี ปา้ หมายชัดเจนเน้น
การมีส่วนร่วมในการเรียนรรู้ ่วมกนั
- ครูนารูปแบบการจดั การเรยี นการสอนทปี่ ระสบความสาเรจ็ ในกลุ่ม PLC ไปใชใ้ นการจัดการเรียน
เรยี นการสอน
รูปแบบท่ี ๑ การพัฒนางานการเรยี นการสอน โดยผา่ นห้องเรียนคณุ ภาพ ตามกระบวนการดังนี้
๑. จบั คู่ Buddy/กลุ่มยอ่ ย ในการพฒั นางาน ซง่ึ อาจจับภายในกลมุ่ สาระการเรียนรูเ้ ดียวกนั หรอื
นอกกลมุ่ สาระ ฯ ก็ได้ ภายใต้เง่ือนไข คอื "อยากเรยี นรู้งานกับคู่ Buddy หรือเห็นว่าคู่ Buddy เปน็ ผ้มู ีความรู้
ความสามารถทจ่ี ะชว่ ยพฒั นาการเรียนการสอนของเราได"้
๒. คู่ Buddy/กลุ่มยอ่ ย จะผลดั กันทาหน้าท่ี เป็น Master teacher, Buddy teacher ผทู้ ี่ทา
หนา้ ทเ่ี ปน็ Buddy teacher จะเปน็ Coach ใหก้ ับ Master teacher ขณะเดยี วกนั Master teacher กจ็ ะ
เปล่ียนบทบาทเป็น Buddy teacher ให้กับเพ่ือน ดังนน้ั ทกุ คนจะทาหน้าทท่ี ้งั เป็น Buddy teacher และ
Master teacher
๓. คู่ Buddy/กลุ่มย่อยจะร่วมกันพัฒนางานผ่านห้องเรียนคุณภาพโดยดาเนินการ ๓ ขนั้ ตอน คือ
ขั้น PLAN : วางแผนการสอน โดยทุกคนจะออกแบบการสอนในรายวิชาท่ีตนสอนมาก่อน แผนที่ออกแบบคน
เดียว เรียกแผน A คู่ Buddy / กลุ่มย่อย จะมาร่วมกันพัฒนาแผนการสอนโดยเชิญผู้เชี่ยวชาญคนอ่ืน หรือ
Mentor มารว่ ม PLC ดว้ ย แผนท่สี มาชกิ ด้วยกันปรบั แต่ง เรียกแผน B
ข้ัน DO : ลงมือสอน Master teacher จะนาแผน B ไปสอนในช่ัวโมงตามตาราง โดย Buddy
teacher Expert และ Mentor ร่วมสังเกตชั้นเรียน เพ่ือช่วยกันดูว่าเกิดอะไรขึ้นกับนักเรียน นักเรียนได้เรียนรู้
อะไรจากการจัดกิจกรรมของครู พร้อมจดบันทึกไว้ (ทั้งน้ีผู้สังเกตช้ันเรียนต้องไม่แทรกแซงการจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอนของคร)ู
ขั้น SEE/Reflect : สะท้อนผลการสอน หลังจากจบการสอน Buddy teacher Expert และ
Mentor ทรี่ ่วมกันสังเกตช้นั เรียนจะช่วยกันสะท้อนผลการสอนให้กบั Master teacher เพื่อการปรับปรุงพัฒนา
ต่อไป แผนที่ได้รับการปรับปรุงในข้ันน้ี เรยี กแผนก C ซึ่งเป็นแผนทไ่ี ด้คณุ ภาพ ผ่านกระบวนการพัฒนาปรับปรุง
การใช้ ซ่งึ ครูสามารถนาไปใช้ในการสอนปีการศึกษาต่อไปได้

125

รปู แบบที่ ๒ การปรับปรุง พัฒนา แกไ้ ขปัญหานักเรยี น
ในรูปแบบนี้ ครูจะหาสมาชิกที่จะร่วมทา PLC โดยสมาชิกต้องเป็นผู้ที่สามารถให้คาแนะนา
ช่วยเหลือหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาหรือพฤติกรรมของนักเรียนที่จะต้องแก้ไขในการดาเนินงานท่ีจะทา ๔
ข้นั ตอน คอื
ขนั้ ท่ี ๑ นาเสนอปัญหาหรอื ส่ิงท่ีต้องการแกไ้ ข พัฒนา ใหส้ มาชิกรบั ทราบ
ขนั้ ท่ี ๒ สมาชกิ รว่ มกนั ให้ข้อเสนอแนะ แนวทางแกไ้ ข
ขน้ั ท่ี ๓ นาแนวทางแกไ้ ขไปดาเนินการ (ซง่ึ ตอ้ งกาหนดระยะเวลาในการดาเนินการ) พร้อมบันทึก
ผลที่เกดิ ข้นึ
ข้นั ท่ี ๔ สมาชิกรว่ มกนั ประเมินผลท่ีเกดิ ข้ึน หากประสบผลสาเร็จ ก็เผยแพร่ตอ่ ไปหากยงั ไม่ประสบ
ผลสาเร็จตามที่ต้ังเป้าหมายไว้ ก็จะร่วมกันหาแนวทางการปรับปรุง พัฒนาใหม่ ทั้งน้ี ในการดาเนินงานทั้ง ๒
รปู แบบ ครจู ะบันทกึ การดาเนนิ งานลงใน Log Book
- ครูมีการรวมกลมุ่ กนั ตามกลุ่มสาระฯ เพ่อื คน้ หาปัญหาทีพ่ บในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
แล้วร่วมกนั หาแนวทางในการแก้ปัญหาออกแบบกจิ กรรมการแก้ปัญหาร่วมกนั ออกแบบใหน้ ักเรียนได้ทางาน
ร่วมกัน ไดแ้ ลกเปล่ียนเรยี นรู้ โดยการนาปัญหา สถานการณจ์ าลองหรือเหตุการณท์ ่ีเกดิ ในชุมชนมาร่วมวางแผน
แก้ปญั หากจิ กรรมเพอื่ แสวงหาคาตอบทส่ี มเหตุสมผล

1.4 หลกั สตู รการพฒั นาครูทีเ่ ป็นจุดเน้นของสังกัด ไดแ้ ก่
- การพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ กระบวนการเรยี นรแู้ ละลงมือปฏบิ ัตขิ องผู้เรียน (Active

Learning) และการมีทักษะอาชพี
- เนน้ ทกุ กลุม่ สาระ และอยูท่ ่คี วามพงึ พอใจหรือสนใจของครูท่ีจะเขา้ รบั การพฒั นา
- ครูนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ประสบความสาเร็จในกล่มุ PLC ไปใชใ้ นการจัดการเรียน

การสอน
- หลักสูตรทต่ี รงกับความต้องการของครูผเู้ ข้ารับการพัฒนา มีความเหมาะสม สามารถนาไปปฏิบัติ

ไดจ้ รงิ ในหอ้ งเรยี น
- มีความสอดคล้องกบั งบประมาณท่ี สพฐ จดั สรรให้ ๑๐,๐๐๐ บาท / ต่อคน
- การบูรณาการแนวทางการพัฒนางานดว้ ย PLC ในการพฒั นาครทู ุกกจิ กรรม / โครงการ
- การเสริมสร้างศักยภาพ ความรู้ ความสามารถใหก้ ับบุคลากรในโรงเรียนเพื่อทาหน้าที่ชว่ ยเหลือ

แนะนา เป็น Coach ใหก้ บั เพื่อนครไู ด้ โดยการฝึกปฏิบัติการเกีย่ วกับ การออกแบบการเรียนการสอนที่สอดคลอ้ ง
กับหลกั สตู รแกนกลางฯ การเสรมิ สรา้ งระบบการนิเทศภายในโรงเรียนให้เข้มแข็ง เป็นต้น

- หลักสตู รการพฒั นาครูด้านวธิ กี ารสอนและการใชส้ ือ่ การเรียนการสอนทม่ี ีความทนั สมยั สอดคล้อง
กบั ข้อมลู สารสนเทศที่เป็นปจั จุบนั

- โครงการสะเต็มศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่
วทิ ยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรม (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics)
โดยเน้นการนาความรไู้ ปใชแ้ ก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์

126

ตอ่ การดาเนนิ ชีวิต และการทางาน ชว่ ยนักเรยี นสร้างความเชือ่ มโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชวี ิตจริงและการ
ทางาน

- หลกั สูตรการฝึกอบรมการจดั กจิ กรรมเกมการศกึ ษาจากสื่อธรรมชาติ
- หลกั สูตรการพัฒนาสมรรถภาพท่จี ะเปน็ ด้านการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้
- หลักสูตรโครงการเทคนิคการสอนเด็กพิเศษในห้องเรียนรวมแบบ Co-teaching ตามหลักสูตร
แกนกลาง

2. ความโดดเดน่ /จุดแข็ง/นวตั กรรม/ตน้ แบบหรือแบบอย่างท่ดี ใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเดน่ จุดแข็ง นวตั กรรมในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย มปี ระโยชนห์ รือ

เกดิ ผลดตี อ่ ผู้เรียนอย่างไรบ้าง
- ลดอัตราการขาดเรียน
- นักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงขึ้น
- ลดอัตราการตกซา้ ช้ัน
- เป็นการพัฒนาพน้ื ฐานการเรียนรู้๔ H (Head Heart Hand Health)
- นักเรียนรจู้ ักคดิ วเิ คราะห์ แยกแยะปัญหาและเรียนรูก้ ารแกป้ ญั หาร่วมกัน
- มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการพัฒนาครู ในรูปแบบ PLC หรอื ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพด้วยการ

แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และแบง่ ปันความรู้ซ่งึ กันและกัน
- ทาให้เกิดการรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทา และร่วมเรียนรู้ ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และบุคลากร

ทางการศกึ ษา บนพน้ื ฐานวัฒนธรรม ความสมั พันธแ์ บบกัลยาณมิตรสู่คุณภาพการจดั การเรยี นร้ทู ี่เน้นความสาเร็จ
หรอื ประสิทธผิ ลของผเู้ รียนเป็นสาคัญ

- ครูที่เข้ารับการอบรมพัฒนาโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร จานวน ๑,๖๒๗ คน ได้นาผลมา
พฒั นาการเรียนการสอนในหอ้ งเรยี นไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ เนื่องจากเป็นหลกั สูตรทีค่ รเู ลือกเองตามความตอ้ งการ

- ครูที่ผ่านกระบวนการพัฒนาโดยใช้ PLC มีความกระตือรือร้นท่ีครูเลือกเองตามความต้องการขน้ั ตอน
ทั้งนี้เพราะเป็นการพัฒนาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ครูทุกคนในโรงเรียนได้รับการพัฒนาและลงมือปฏิบัติจริง
เกิดผลในเชิงรูปธรรมท่ีชัดเจน ทาให้ครูมีกาลังใจที่จะดาเนินการต่อไป อีกทั้งโรงเรียนใช้ระบบการนิเทศภายใน
เข้าไปเสริมทาให้งานการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นระบบท่ีชัดเจน มองเห็นภาพงานที่ไม่
ซา้ ซอ้ นประการสาคัญการพัฒนางานน้มี งุ่ เนน้ ให้ครู "ปรบั วิธีเรยี น เปลีย่ นวธิ ีสอน" ซ่ึงส่งผลต่อนกั เรียนโดยตรง

- ครูประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และเป็นแบบอย่างท่ีดีต่อผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน
สังคม

- ครูตระหนกั ถึงบทบาทหน้าทค่ี วามรับผิดชอบ เพอื่ ผลิตและพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีสมรรถนะอันพึงประสงค์
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และเป็นคนดี เกง่ ดารงชีวติ อย่ใู นสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ

- ครูมีความสามารถในการใช้นวัตกรรมการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะวิชาการและ
วชิ าชีพ

- ผ้เู รยี นรักและเห็นคณุ คา่ ของการเรียนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์

127

- ครู สามารถเลือกหลักสูตรท่ีตนเองมีความสนใจ และนามาปรับใช้กับผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมและ
นามาพฒั นาผูเ้ รยี นตามศักยภาพของแต่ละบุคคล

2.2 รายชอ่ื หน่วยงาน/สถานศึกษาทเ่ี ปน็ ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ี ในการดาเนนิ งานตามประเดน็

นโยบาย ดังน้ี (ตารางท่ี ๓๗)

รายช่ือหน่วยงาน/ ทตี่ ้งั รายการและรายละเอยี ด
สถานศึกษาต้นแบบหรอื หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งที่ดี

สพป.สร.๑

๑.ราชวิถ(ี ประสาทราษฎร์ หมู่ท่ี ๑๙ บา้ นโคกเพชร นวัตกรรม “ราชวิถี...ใบไม้ตามหาตน้ ...

บารุง) ต.เฉนยี ง อ.เมือง สสู่ ่ิงแวดล้อมทีย่ ั่งยืน”

จ.สุรินทร์ ความโดดเดน่ เปน็ กจิ กรรมเลก็ ๆท่ไี ม่ต้องลงทุน
สูง มปี ระโยชน์มากมายโดยกการปลูก การดูแล

รกั ษาไมต้ ้น รกั ษส์ ิง่ แวดล้อม เปน็ การพฒั นา

พ้ืนฐานการเรยี นรู้ ๔ H (Head Heart Hand

Health)

จุดแขง็ ปลกู ฝงั ให้เดก็ ๆ รกั ตน้ ไม้ ชา่ งสงั เกต
จดจา อ่านออกเขียนได้

2.บ้านกนั เตรยี ง หมู่ท่ี ๕ บ้านกนั เตรยี ง นวัตกรรม “กนั เตรียงวิถปี ระชาธิปไตยหัวใจ๓D”
ต.แร่ อ.เขวาสนิ รนิ ทร์ ความโดดเดน่ ใช้กิจกรรมสภานกั เรียน
จ.สรุ ินทร์ มาขับเคลอ่ื นประชาธิปไตยในโรงเรยี นสู่ชมุ ชน

จดุ แขง็ นักเรยี นมีความภูมิใจในความเปน็ ไทย รู้
สิทธิหนา้ ที่ของตนเอง มภี าวะผู้นาผ่านกิจกรรม
สภานักเรียน ชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการ
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

3.บา้ นดงเค็ง หมทู่ ี่ ๘บ้านดงเค็ง นวตั กรรม “๔วธิ ีตีแสกหน้า ดงเคง็ ดงแหง่
ต.เมอื งลีง อ.จอมพระ การศึกษา คุณภาพสงู กว่าระดบั ชาติ”

จ.สุรินทร์ ความโดดเดน่
๑.วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์

๒.ยึดตดิ ตัวช้วี ดั
๓.ถนดั กับขอ้ สอบ รอบคอบฝกึ ฝน
๔.ทกุ คนมีส่วนร่วม

จุดแข็งผลสอบ NT ของนกั เรียนชั้น ป.3
และผลการสอบ O-NET ของนกั เรียนช้นั

ป.๖ และ ชัน้ ม.๓ มีคา่ เฉลยี่ สูงกวา่ ระดับชาติ
เปน็ เวลา ๕ ปตี ิดตอ่ กัน

128

รายชื่อหนว่ ยงาน/ ที่ตั้ง รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาตน้ แบบหรอื หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จุดแข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งทด่ี ี อ.โนนนารายณ์ จ.สรุ นิ ทร์ ใช้กระบวนการ PLC ในการจดั การเรยี นการสอน
สพป.สร.๒ อ.รัตนบุรี จ.สุรินทร์ ใชก้ ระบวนการ PLC ในการจดั การเรยี นการสอน
1. โนนนารายณ์วทิ ยา อ.โนนนารายณ์ จ.สุรนิ ทร์ ใชก้ ระบวนการ PLC ในการจัดการเรียนการสอน
2. บ้านหนองบวั บาน
3. บ้านมว่ งหนองตาด ต.สะเดา อ.บัวเชด พัฒนาครไู ด้ครบร้อยละ 100 และนาไปพฒั นา
สพป.สร.๓ ตอ่ ยอดได้อยา่ งเหมาะสม
1. รร.บา้ นสะเดา ต.สังขะ อ.สังขะ
พัฒนาครไู ดค้ รบร้อยละ 100 และนาไปพฒั นา
2. รร.สังขะวิทยาคม ต.โคกตะเคียน ต่อยอดไดอ้ ย่างเหมาะสม
อ.กาบเชิง
3. รร.บ้านจารย์ พัฒนาครไู ด้ครบรอ้ ยละ 100 และนาไปพัฒนา
ต่อยอดได้อยา่ งเหมาะสม
สพม.๓๓
๑. ร.ร.จอมพระประชาสรรค์ สพม.๓๓ เปน็ โรงเรยี นทส่ี นบั สนุนใหค้ รูไดส้ ังกดั เขา้ รับการ
๒. ร.ร.แนงมุดวิทยา สพม.๓๓ อบรมพัฒนาตามโครงการพฒั นาครูรูปแบบครบ
๓. ร.ร.บัวเชดวิทยา สพม.๓๓ วงจรประจาปี ๒๕๖๐ คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๐ ข้ึนไป
๔. ร.ร.เบดิ พทิ ยาสรรค์ สพม.๓๓
๕. ร.ร.ศรีสุขวทิ ยา สพม.๓๓ ครูทกุ คน ใช้ PLC ในการพัฒนาการเรียนการ
๖. ร.ร.สวายวิทยาคาร สพม.๓๓ สอนการแก้ไข พัฒนาพฤติกรรมนกั เรียน มี
๗. ร.ร.หนองแวงวทิ ยาคม สพม.๓๓ กระบวนการพฒั นาที่ชดั เจน รวมทั้งมีการบันทึก
๘. ร.ร.สวายวทิ ยาคาร สพม.๓๓ ใน Log book อยา่ งสม่าเสมอ
๙. ร.ร.กระเทยี มวทิ ยา สพม.๓๓
๑๐. ร.ร.กาบเชิงวิทยา สพม.๓๓
๑๑. ร.ร.ชุมพลวิทยาสรรค์ สพม.๓๓
๑๒. ร.ร.ลานทรายพิทยา สพม.๓๓
๑๓. ร.ร.รามวิทยาฯ สพม.๓๓
๑๔. ร.ร.แตลศริ วิ ิทยา สพม.๓๓
๑๕. ร.ร.ประสาทวทิ ยาคาร สพม.๓๓
เอกชน
1. ร.ร.สวุ รรณวจิ ิตร หมู่ท่ี ๑ ต.กงั แอน การทาบายศรี,การรา
อ.ปราสาท จ.สุรนิ ทร์ โครงการเพาะเห็ดเพื่ออาหารกลางวนั
2.ร.ร.บวรธรรมประยตุ วทิ ยา
๕๙/๒ ถ.กรงุ ศรีนอก
ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.สุรินทร์

129

รายช่อื หนว่ ยงาน/ ทีต่ ัง้ รายการและรายละเอียด
หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จดุ แข็ง/นวตั กรรม
สถานศึกษาต้นแบบหรือ
ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ - รบั รางวัลชนะเลิศ ระดับเหรยี ญทอง ด้าน
แบบอยา่ งท่ดี ี ประจาจงั หวัดสุรนิ ทร์ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ - รบั รางวัลชนะเลศิ ระดบั เหรียญทอง ด้านการ
ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจา วจิ ยั และพฒั นาการจดั การศึกษาสาหรับ
จังหวดั สรุ นิ ทร์
ข้าราชการ
- รบั รางวลั ชนะเลศิ ระดบั เหรยี ญทอง ด้านการ
วิจยั และพัฒนาการจดั การศึกษาสาหรับ

พนักงานราชการ
- รบั รางวลั ชนะเลศิ ระดับเหรียญทอง ดา้ นการ

ผลติ สื่อนวตั กรรมภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ สาหรบั พี่
เลยี้ งเด็กพิการ

3. ปญั หาอุปสรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย

- กระบวนการขับเคล่ือน PLC ในระดับเครือข่ายฯ และระดับสถานศึกษา มีการขยายผล ๑๐๐% ท้ัง
ผ้บู ริหารและครูทกุ คน มคี วามรู้ ความเข้าใจ สามารถขับเคลอื่ นคณุ ภาพการศกึ ษา โดยใชก้ ระบวนการ PLC ได้
ในระดับหนึ่ง ซึ่งอาจยงั ไม่ครอบคลุมในเนื้อหาต่าง ๆ ตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ตามระดับสายชัน้ หรอื ตามความ
สนใจ และการสร้างเครอื ข่ายการเรียนรตู้ อ่ ไป

- การรายงานผลต่อผบู้ ริหารโรงเรยี นเขา้ สู่ระบบไมต่ อ่ เนอื่ งและไม่เปน็ ปัจจบุ นั
- ครูทีผ่ ่านการอบรมเลอื กหลกั สตู รการอบรมไมต่ รงกับกลุ่มสาระวิชาท่ีรับผดิ ชอบ
- การเดินทางเข้ารบั การอบรม ทาให้ครูต้องทิง้ ห้องเรียนและเด็กนกั เรียน ซ่ึงไมเ่ ป็นไปตามนโยบายของ
กระทรวงที่ไมใ่ ห้ครูทิง้ เดก็ นักเรยี น
- การส่งใช้เงินยืมการอบรม ไม่เป็นไปตามกาหนดเวลาในระเบียบการยืมเงินราชการ ทาให้เกิดปัญหา
การเป็นหน้ีผกู พัน สง่ ผลกระทบต่อการบริหารงบประมาณ และระบบการเงิน การบญั ชี
- ระยะเวลาในการเลือกหลักสตู รอบรมกระชัน้ เกินไป ครบู างคนไม่สามารถลงทะเบียนได้ทันตามกาหนด
- หลักสตู รที่ตรงกับความตอ้ งการของครู มจี านวนจากดั อยู่ห่างไกล ไม่เพียงพอกับความตอ้ งการ
- ระบบการลงทะเบียนครูมีข้อจากดั อยู่มาก
- การพัฒนางานดว้ ยวิธกี าร PLC ต้องดาเนินการให้กับครูในโรงเรยี นทุกคน ในโรงเรยี นขนาดใหญ่ หรือ
ใหญพ่ เิ ศษ ซง่ึ เกดิ ปัญหาในการดาเนินการในโรงเรยี นเหล่านี้
- การพัฒนางานด้วยวิธกี าร PLC มีหลายหนว่ ยงานทดี่ าเนนิ งานครูบางคนไปรับหลกั การมาไมเ่ หมอื นกัน
ก่อให้เกิดความขดั แยง้ ภายในแนวทางการปฏิบตั ิ
- ครูมีภาระงานนอกเหนือจากสอนมาก อาทิ งานดา้ นธุรการสง่ ผลใหค้ รไู มม่ ีเวลาในการพัฒนาตนเองใน
การจัดการเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ

130

- ระบบการลงทะเบยี นไมส่ มบรู ณ์, ระยะเวลาในการลงทะเบยี นนอ้ ย
- ลงทะเบยี นหลักสูตรท่คี รสู นใจไม่ทันหรอื สถานทีอ่ บรมอยู่ไกลและคา่ ใชจ้ า่ ยสงู
- ไมม่ หี ลักสตู รทเี่ กีย่ วข้องกบั ผู้พิการโดยตรง
- ระยะเวลาในการเลอื กและฝึกอบรมกระชัน้ ชดิ
- หลักสตู รไม่มีความหลากหลายสาหรบั ครกู ารศกึ ษาพเิ ศษ และโรงเรยี นเฉพาะทาง
- บางหลักสูตรไมม่ ีคาชแี้ จงทช่ี ดั เจนเก่ียวกับรายละเอียดของการใชง้ บประมาณ
- ขาดงบประมาณสนบั สนนุ
- ขาดจานวนบคุ ลากรทม่ี คี วามชานาญ
- บคุ ลากรหนว่ ยงานเอกชน มกี ารเข้า-ออกไมเ่ ปน็ ปัจจุบนั

4. ขอ้ เสนอแนะ

4.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /พฒั นานโยบาย

- เพิ่มงบประมาณสนบั สนนุ
- ให้หน่วยงานตน้ สังกดั จัดอบรมโดยเพม่ิ จานวนบุคลากรในการเข้ารับอบรมมากข้ึน 1) พัฒนา
ครูในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นActive Learning และจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based
Learning: BBL) รว่ มกันบอกเล่าเรอ่ื งราวประสบการณ์และวธิ กี ารนาแนวคิดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง
ไปปรับใช้ในการพัฒนาศกั ยภาพของนักเรียนเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ท่ียั่งยืนโดยมีหลักการสาคัญคือ“เล่นคือเรียน
เรียนคือเล่น”ต้องเรียนด้วยความเข้าใจมากกว่าความจา 2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีDLIT และDLTVเพ่ือ
แก้ปัญหาขาดแคลนครูไม่ตรงเอกโดยครูศึกษาการถ่ายทอดการจัดการเรียนรู้หัวข้อเร่ืองที่ยากจากครูต้นแบบใน
หอ้ งเรยี นDLIT เพื่อชว่ ยครใู นห้องเรียนโดยเฉพาะกรณที คี่ รผู ู้สอนในโรงเรียนไม่ใชค่ รตู รงกล่มุ สาระการเรยี นรหู้ รือ
ครปู ระสบปญั หาการสอนหัวขอ้ เร่ืองท่ียาก 3) ครทู กุ คนพัฒนานวตั กรรม นาไปสกู่ ารวิจยั ในช้ันเรยี น
- เพ่มิ ระยะเวลาในการเลือกหลกั สูตร
- ควรมกี ารสารวจความต้องการหลกั สตู รท่ีสอดคล้องสาหรับการจดั การศึกษาสาหรับเดก็ พกิ าร
- การจัดทาคู่มือในการใช้จา่ ยงบประมาณอยา่ งชัดเจน พร้อมคาอธิบาย
- ควรจัดสรรงบประมาณให้หอ้ งเรียนโดยตรง ดาหนดกรอบใหค้ รพู ัฒนาหอ้ งเรียน นิเทศ ตดิ ตาม
และรายงาน
- ควรเปดิ โอกาสให้โรงเรยี นสามารถเสนอขอรบั การพัฒนาผ่านเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ซึ่งจะชว่ ยลด
ปัญหาการลงทะเบียนพัฒนาตนเอง (คูปองครู) เพราะครูทุกคนไม่สามารถลงทะเบียนเข้ารับการพัฒนาใน
หลกั สตู รเดียวกันได้
- ในทางปฏิบัติ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง (สพฐ.) ควรมีการกาหนดหลักการร่วมที่ชัดเจนและเปิด
โอกาสให้โรงเรียนสามารถพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งหลากหลายวธิ ี แต่ภายใตห้ ลักการเดียวกนั
- หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการพัฒนาระบบ ควรจัดทาระบบให้ผู้รับผิดชอบ (เจ้าหน้าท่ีเขต)
สามารถเข้าไปดูข้อมูลของผเู้ ขา้ รับการอบรมได้ เพือ่ จะไดน้ ารายละเอียดข้อมลู มารายงานและเป็นข้อมลู สนับสนุน
ในการบริหารต่อไป
- ก่อนเปดิ หลักสตู รการอบรมควรจัดอบรมการใช้ระบบใหท้ ั้งผูบ้ รหิ ารและครูได้เขา้ ใจข้นั ตอนใน
การลงทะเบียน
- ช่วงระยะเวลาการเปิดใหล้ งทะเบียนหลกั สตู รอบรมควรเป็นช่วงเดยี วกัน
- บางหลักสตู รไมต่ รงกบั ความตอ้ งการครู

131

4.2 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
- หลักสูตรทจ่ี ัดควรมกี ารระบุสถานท่ใี ห้ชัดเจนในแตล่ ะจังหวดั หรอื ภมู ภิ าค
- ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตอ้ งตระหนกั และให้ความรว่ มมือ ร่วมแรง รว่ มใจ ร่วม
พลัง ร่วมทา และรว่ มเรียนรู้ร่วมกนั เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ผู้เรียนตอ่ ไป
- งบพฒั นาครูตามคูปองพฒั นาครู ควรจัดสรรใหเ้ ขตพน้ื ทพ่ี ฒั นาครไู ด้ตามความต้องการของ
โรงเรียน
- สารวจความต้องการของครกู ่อนว่าตอ้ งการอบรมเก่ียวกบั อะไร จะได้ตรงกบั ความต้องการของผู้
เขา้ รับการอบรมอย่างแทจ้ รงิ
- รวมกลุ่มครูทมี่ ีปญั หา/ความตอ้ งการ เดยี วกนั เชน่ ครูกลุ่มสาระเดยี วกนั ครทู ี่สอนในระดับชน้ั
เดยี วกัน เปน็ ตน้
- ค้นหาปญั หา ความตอ้ งการ

1) รว่ มกนั เสนอปญั หา/ความต้องการ
2) จดั กล่มุ ปัญหา
3) ความจาเป็นเร่งดว่ น
4) เลอื กปญั หาเพียง 1 ปญั หา โดยการพจิ ารณารว่ มกนั
- ร่วมกนั หาแนวทางในการแกป้ ญั หา
1) เรอื่ งเล่าเรา้ พลงั /บอกเล่าประสบการณ์ท่ีแกป้ ัญหาไดส้ าเร็จ
2) คน้ หาตวั อยา่ ง/รปู แบบที่ประสบความสาเรจ็
3) ร่วมกนั ตดั สนิ ใจเลือกรูปแบบ/วิธกี าร/นวัตกรรมในการแกป้ ญั หา
- ออกแบบกิจกรรมการแกป้ ัญหา
- ออกแบบกิจกรรมตามวธิ ีการ/นวัตกรรมที่กลมุ่ เลือก
- แลกเปล่ียนเสนอแนะ
- นาเสนอกิจกรรมการแก้ปญั หา ให้ผ้เู ชี่ยวชาญหรอื ผูท้ ่มี ีประสบการณ์ใหข้ ้อเสนอแนะ
- นาสูก่ ารปฏบิ ัติ /สังเกตการอสน
1) นากิจกรรมไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา
2) ผสู้ งั เกตการณ์เข้ารว่ มสังเกตในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เช่น การเยย่ี มชั้นเรียน
สงั เกตการสอน เป็นต้น
- สะท้อนผล
1) สรปุ ผลการนารปู แบบ/วธิ ีการ ในการนาไปแกป้ ญั หา
2) อภิปรายผลการแก้ปญั หา เสนอแนะแนวทางในการพฒั นา

132

นโยบายที่ 15 การพัฒนาผ้เู รียนและเยาวชนผ่านกระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด

(ศธจ./สพป./สพม./สศศ./สกอ.(ร.ร.สาธิตฯ)/สช./สอศ./กศน.)

15.1 การจดั ทาแผนพฒั นาลูกเสอื จงั หวัดและลูกเสือระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา
KPI : จานวนสานกั งานศึกษาธิการจังหวดั /สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาได้จัดทาแผนพฒั นาลูกเสือ
จังหวดั /แผนพฒั นาลกู เสอื เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
KPI : จานวนสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั /สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา เขต 1 ได้ขบั เคล่อื น
การดาเนินงานตามแผนพฒั นาลกู เสอื จงั หวัด/แผนพัฒนาลกู เสอื เขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา

15.2 การใช้กระบวนการลกู เสือและยวุ กาชาดในการจัดการเรียนการสอน/กจิ กรรมเพอ่ื เสริมสร้างความเป็น
พลเมอื งดี (Civic Education)
KPI : ร้อยละของสถานศกึ ษาที่ใช้กระบวนการลกู เสอื /ยวุ กาชาด/เนตรนารใี นการจดั การเรียนการสอน/
กจิ กรรมเพ่ือเสรมิ สรา้ งความเป็นพลเมอื งดี (Civic Education)

ผลการดาเนินงาน
1. ผลการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบายและตวั ชว้ี ัด
1.1 สานกั งานศึกษาธิการจังหวัด/สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาไดจ้ ดั ทาแผนพฒั นาลกู เสอื จังหวดั /

แผนพัฒนาลกู เสือเขตพื้นท่กี ารศึกษา หรอื ไม่
 ไมไ่ ด้ดาเนนิ การ
 ดาเนินการ (ถ้าดาเนินการ) ดาเนินการอยา่ งไร

สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต ๑ ได้ดาเนนิ การดงั น้ี
1. ให้สถานศกึ ษาทกุ แห่งถอื วา่ กิจกรรมลกู เสือ- เนตรนารยี ุวกาชาดและผ้บู าเพ็ญประโยชน์เป็นกจิ กรรม
หลกั ในการพฒั นาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
2. ให้สถานศกึ ษาทุกแห่งจัดกิจกรรมการเรียนการสอนฝึกอบรมลูกเสอื เนตรนารียุวกาชาดและผบู้ าเพ็ญ
ประโยชนต์ ามหลักการที่กาหนดในกลักสตู ร
3. ใหส้ ถานศกึ ษาทุกแหง่ จดั ใหม้ ีกิจกรรมการปฏิบัตจิ รงิ ตามอุดมการณ์และหลกั การของลูกเสอื เนตรนารี
ยุวกาชาดและผู้บาเพญ็ ประโยชนโ์ ดยเฉพาะกจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ ความจงรกั ภักดีต่อชาตศิ าสนาพระมหากษตั ริย์
ประชาธิปไตยความสามัคคีปรองดองและการเสริมสรา้ งทกั ษะชวี ิตคณุ ธรรมจริยธรรมและบาเพ็ญประโยชน์
4. ใหผ้ บู้ ริหารสถานศกึ ษาและรองผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาทกุ คนผ่านการฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลกู เสือ
ขน้ั ความร้ชู นั้ สงู และได้รบั เครอ่ื งหมายวดู แบดจแ์ ละส่งเสรมิ ใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศึกษาผ่านการฝึกอบรม
และมีวุฒทิ างลกู เสือ
5. ให้มกี ารนเิ ทศกากับตดิ ตามและประเมินผลกจิ กรรมลูกเสือเนตรนารยี ุวกาชาดและผ้บู าเพญ็ ประโยชน์
ในสถานศึกษาอย่างต่อเนอ่ื งและเปน็ ระบบ
6. ใหส้ ถานศกึ ษาทุกแหง่ สนบั สนุนสง่ เสริมใหข้ วญั กาลงั ใจแกบ่ ุคลากรทางการลกู เสือและลกู เสอื

133

สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๓ ไดด้ าเนินการดงั นี้
1. แผนงานสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั กิจกรรมลูกเสือให้ผู้เรยี นระดบั การศึกษาภาคบงั คับได้รับการศกึ ษา
อยา่ งท่ัวถงึ และมคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน

๑.๑ การจัดงานวนั วชริ าวธุ
1.2 การฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลูกเสอื หลกั สูตรวชิ าผกู้ ากับลูกเสือข้ันความร้ทู ว่ั ไป
1.3 การฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลูกเสือ หลักสูตรวชิ าผกู้ ากับลกู เสอื ขนั้ ความรเู้ บื้องตน้ (B.T.C.)
1.4 การฝกึ อบรมบุคลากรทางการลกู เสอื หลักสูตรวชิ าผูก้ ากับลกู เสือ ขั้นความรชู้ น้ั สูง (A.T.C.)
1.5 การประกวดระเบียบแถวและสวนสนามลูกเสอื เนตรนารี
1.6 การจัดงานวนั สถาปนาคณะลกู เสอื แห่งชาติ
1.7 การฝกึ อบรมลูกเสอื ตา้ ยภัยยาเสพตดิ
2. แผนงานส่งเสรมิ สนับสนนุ บคุ ลากรทางการลูกเสือในสงั กดั
2.1 กิจกรรมการฝกึ อบรม เช่น โครงการฝึกอบรมบุคลากรทางการลกู เสือ
2.2 กจิ กรรมวันสาคัญทางลูกเสือ เช่น วันวชริ าวธุ ในวันท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2561 และวันคล้าย
วันสถาปนาลกู เสอื แหง่ ชาติ ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2561
2.3 กจิ กรรมการนเิ ทศ กากบั ติดตามการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนลกู เสอื ในสถานศึกษา
2.4 กจิ กรรมแข่งขนั ทกั ษะ เชน่ กจิ กรรมการแขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรม
3. การยกย่องเชิดชเู กยี รตบิ ุคลากรทางการลกู เสือ
3.1 บคุ ลากรทางการลกู เสอื ได้รับพระราชทานเหรียญสดุดีลกู เสอื
3.2 บคุ ลากรทางการลกู เสอื ได้รับการคัดเลือกเป็นผูบ้ ังคบั บญั ชาลูกเสือดีเด่น
4. แผนการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ระบบการบริหารการจัดการกิจการลกู เสอื
4.1 การนิเทศ ติดตาม กากบั การดาเนนิ กจิ การลูกเสือ
4.2 การคัดเลือกโรงเรยี นต้นแบบลูกเสือ
4.3 การจัดงานวนั คล้ายวนั สถาปนาคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ ๑ กรกฎาคม ของทกุ ปี
4.4 การจัดงานวันวชริ าวุธ วนั ท่ี 25 พฤศจิกายน ของทกุ ปี

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ไดด้ าเนนิ การดังน้ี
1. จดั ทาแผนปฏิบัตกิ าร พัฒนากิจกรรมลกู เสือทุกปี
๒. มีโครงการ / กจิ กรรมเพอ่ื ดาเนินการในแตล่ ะปี

1.2 สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั /สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาไดข้ ับเคลอ่ื นการดาเนนิ งานตาม
แผนพฒั นาลูกเสือจังหวัด/แผนพัฒนาลกู เสอื เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา หรอื ไม่

 ไมไ่ ดด้ าเนินการ
 ดาเนินการ (ถ้าดาเนนิ การ) ดาเนนิ การอย่างไร

134

สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 1 ได้ดาเนินการขบั เคล่ือนโครงการ
กิจกรรมพัฒนาลกู เสอื ในสถานศกึ ษาในสงั กดั ตามกาหนดขัน้ ตอนดงั น้ี

๑. ประชมุ ประสาน คณะทางานขบั เคลื่อนกิจกรรมลกู เสอื ในสถานศกึ ษา
๒. การพฒั นาผู้บรหิ ารและบุคลากร ทางการลูกเสือ
๓. ฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลกู เสอื วชิ าผกู้ ากับลูกเสือ ขั้นความร้เู บ้ืองตน้ (B.T.C.) ฝึกอบรม
บุคลากรทางการลูกเสอื วชิ าผ้กู ากับลกู เสือ ข้ันความรู้ชัน้ สูง(A.T.C สารอง) (A.T.C สามญั ) (A.T.C สามัญรนุ่
ใหญ)่
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๓ ดาเนินการ ดังนี้
1. ส่งเสริมสนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนลูกเสือ เนตรนารี ตามหลกั การที่
กาหนดในหลกั สตู ร เพอื่ เสรมิ สรา้ งให้มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
2. พัฒนาบคุ ลากรทางการลกู เสือให้มีความรู้ ความเขา้ ใจในกระบวนการลกู เสือ และไดร้ ับวุฒิทาง
ลกู เสือ
3. จัดกิจกรรมเพอื่ พฒั นาทักษะชวี ติ กจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์และจิตสาธารณะในวนั สาคัญทาง
ลูกเสอื กิจกรรมเสรมิ สร้างความเป็นพลเมืองดี กิจกรรมลูกเสือตา้ ยภัยยาเสพติด ลูกเสือจิตอาสา โดยผา่ น
กระบวนการลูกเสอื
4. ดาเนนิ การคัดเลอื กบุคลากรทางการลกู เสือได้รับพระราชทานเหรยี ญสดดุ ลี กู เสือ และการ
คัดเลือกผ้บู ังคบั บญั ชาลูกเสอื ดีเด่น ประจาปี 2561
5. จดั ทาแผนกาหนดการออกนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการจดั การเรียนการสอนและ
กจิ กรรมลกู เสอื ในสถานศกึ ษา
สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๓๓ ดาเนนิ การ ดังน้ี
1. แจ้งสถานศึกษาในสังกัดทกุ แหง่ ดาเนินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนโดยผา่ นกระบวนการลูกเสือ ตาม
แนวทางทีส่ านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานกาหนด
๒. ดาเนนิ โครงการกจิ กรรมตามแผนปฏิบัติการประจาปี โดยในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ดาเนินการ
ดงั ต่อไปน้ี
โครงการฝึกอบรมบุคลากรทางการลกู เสือ หลักสูตรผู้กากับลกู เสอื สามญั รุ่นใหญ่ขน้ั ความรู้ทั่วไป
และขัน้ ความรเู้ บ้อื งต้น (B.T.C.) โครงการอบรมลูกเสือตา้ นยาเสพตดิ , โครงการนิเทศติดตามประเมินผลการจดั
กิจกรรมลูกเสอื ในสถานศึกษา
๓. สรุปผลการดาเนินงานการจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นรวมทั้งตรวจสอบผลการแข่งขันงาน
ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นและกจิ กรรมอน่ื ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
๔. นาผลการดาเนินงานไปพฒั นาในปตี ่อไป

135

1.3 สถานศกึ ษาที่ใช้กระบวนการลกู เสือ/ยวุ กาชาด/เนตรนารีในการจัดการเรียนการสอน/

กจิ กรรมเพ่ือเสริมสรา้ งความเปน็ พลเมืองดี (Civic Education) (ตารางที่ ๓๘)

จานวนสถานศกึ ษาท่ีใช้กระบวนการ

จานวน ลกู เสอื / ยุวกาชาด/เนตรนารใี นการ

สงั กัด สถานศึกษา จัดการเรยี น รอ้ ยละ

ท้งั หมด (แหง่ ) การสอน/กจิ กรรมเพอ่ื เสริมสรา้ งความ

เป็นพลเมอื งดี (แห่ง)

สพป. ๕๒๗ ๕๒๗ ๑๐๐

สพม. ๘๕ ๘๕ ๑๐๐

สศศ.(โสต) ๑ ๑ ๑๐๐

สช. ๑๐ ๘ ๘๐

สกอ. (ร.ร.สาธติ ฯ) ๐ ๐ ๐

สอศ. (รัฐบาล) ๘ ๘ ๑๐๐

สอศ. (เอกชน) ๐ ๐ ๐

กศน. ๑๗ ๑๗ ๑๐๐

อน่ื ๆ (ระบ)ุ ............ - - -

1.4 สถานศึกษาใช้กระบวนการลูกเสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาดในการจดั การเรยี นการสอน/กจิ กรรม

เพือ่ เสรมิ สร้างความเปน็ พลเมอื งดี(Civic Education) อยา่ งไร

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ ได้ บูรณาการในหลักสูตรของ
สถานศกึ ษา

- ด้านระเบียบวินยั ใชก้ ารฝึกระเบยี บแถวมาฝึกระเบียบวินัยและการร้จู กั รอคอย
- ด้านความซ่ือสัตยไ์ ม่โกงเม่ือเด็กเก็บของได้จะนามามอบให้ครปู ระกาศหาเจ้าของท่ีหน้าเสาธง
และบนั ทกึ ความดไี ว้
- ด้านความพอเพียงใช้สง่ิ ของที่มใี นโรงเรียนสรา้ งและต่อยอดตอ่ ไปเช่นมกี ระถางหรือถงุ ดาทไ่ี ม่
ใชแ้ ล้วก็นามาปลูกต้นไม้ขยายเพาะพันธ์ุต้นไม้เมล็ดพนั ธ์ผุ ักในโรงเรยี น
- ภาวะผนู้ าผู้ตามมกี ารรวมกลุม่ ในการจัดทาPLC เดก็ ๆเพื่อแกไ้ ขปญั หาในโรงเรียนโดยใชป้ ญั หา
ง่ายๆในโรงเรียนเพื่อแก้ไขและดูแลให้ต่อเน่ืองเช่นการเขา้ เขตบริการทาความสะอาดแต่ละชั้นเรียนการดูแลห้อง
สขุ าให้สะอาดน่าใช้และปอ้ งกนั ยงุ ลายวางไขโ่ ดยมหี วั หน้ากลุม่ และทีมงาน
- การมีจิตอาสาบาเพ็ญประโยชน์ในสถานศกึ ษาและเขตบริการรวมถึงช่วยงานวดั รว่ มกับชุมชน
ในวันสาคัญทางศาสนาและช่วยเปน็ จิตอาสาในวนั ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ ร.๙
- สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ไดส้ ง่ เสริมสนับสนุนให้สถานศึกษา
ทกุ แห่งในสังกัด จัดกิจกรรมการเรียนการสอนลูกเสือ ตามมาตรการและแนวทางยกระดับคณุ ภาพการเรียนการ
สอนและการจัดกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา เพ่ือเสริมสร้างความเป็นพลเมืองที่ดี ตามคาปฏิญาณและกฎ
ลูกเสือ โดยผ่านกระบวนการลูกเสือ เช่น จัดโครงการลูกเสือจิตอาสา โครงการลูกเสือต้านภัย ยาเสพติด
โครงการลูกเสือประชาธิปไตย และกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์และจิตสาธารณะในวันสาคัญต่างๆ ของลูกเสือ

136

ตลอดทั้งโครงการต่างๆ เสริมสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมหลักของคนไทย 12
ประการ

- สถานศึกษาในสังกัดอาชวี ศึกษา ได้ดาเนนิ การจดั การเรียนการสอนวชิ าลูกเสอื วิสามัญ จานวน
2 คาบ/สัปดาห์ สาหรับนักเรียน ปวช. 1 ทุกคน ทุกสาขาวิชา ซ่ึงหลักสูตรรายวิชาประกอบด้วยเนื้อหาสาระ
ดังนี้ การลูกเสือ การบริการ การเดนิ ทางไกลอยู่คา่ ยพักแรม การปฐมพยาบาล สูทกรรม ศลิ ปะประยกุ ต์ รวมทั้ง
กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรเพ่อื พฒั นาผูเ้ รยี นให้เป็นพลเมืองดี ผลนกั เรียนระดับปวช. 1 เข้าร่วมทกุ คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ
100

- จดั กิจกรรมจติ อาสา เพอ่ื ชว่ ยเหลอื สงั คม สาธารณประโยชน์ เพอ่ื สร้างสรรค์สังคม
- จดั กิจกรรมเรยี นรู้ เพ่ือสร้างพลเมืองประชาธปิ ไตย โดยใช้กระบวนการลกู เสือ-เนตรนารี
- โครงการลกู เสือ กศน. เป็นกระบวนการมุ่งพัฒนาสมรรถภาพของผเู้ รียนท้ังทางสมอง ร่างกาย
จิตใจและศีลธรรม เพื่อให้เป็นบุคคลท่ีมีความประพฤติดีงาม ไม่กระทาตนให้เป็นปัญหาต่อสังคมและดารงชีวิต
อยา่ งมคี วามหมาย และสุขสบาย
- โครงการยุวกาชาด กศน. มุ่งพฒั นาผู้เรยี นให้มคี ุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัยมีจิตสานึกใน
การทาประโยชนแ์ ก่สงั คมและมีคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์
- โครงการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองโดยใช้กระบวนการลูกเสือและดาเนินการจัดโครงการ
เสรมิ สร้างอดุ มการณร์ กั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้มีพัฒนาการท้ัง ๘ ประการ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
ศลี ธรรม และอารมณ์
- โรงเรียนโสตศึกษาสุรินทร์ได้ดาเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยการใช้กระบวนการลูกเสือที่
สอดคล้องกบั หลักสตู รสถานศกึ ษา บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ สง่ เสริมความเป็นพลเมอื งดี

2. ความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม/ตน้ แบบหรอื แบบอย่างทีด่ ีในการดาเนินงานตามนโยบาย

2.1 ความโดดเดน่ จดุ แขง็ นวัตกรรมในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย มีประโยชนห์ รือ

เกิดผลดีตอ่ ผู้เรยี นอยา่ งไรบา้ ง

- นวตั กรรมในการดาเนินงาน“โรงเรยี นร่มรืน่ งามสวยดว้ ยมือเรา”โครงงาน“ใบไม้ตามหาต้น”
เป็นการอนุรักษ์ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มโดยใช้ความอยากรู้อยากเห็นแบบเดก็ ๆมาทาการอ่านเขียนและเรียนรู้
จกั ต้นไม้ใบไม้ประโยชนข์ องต้นไม้แตล่ ะชนิดการบารุงรักษาเพาะพันธ์ุขยายพนั ธุป์ ลุกจิตสานกึ ใหร้ ักษ์สงิ่ แวดล้อม
และมีจิตสาธารณะโดยเร่ิมจากใกล้ตัวไปยังบ้านและชุมชนทัศนศึกษาโดยใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นนามาถอด
บทเรียนและเลือกใช้ในสว่ นทีเ่ กย่ี วขอ้ งใกลต้ วั

- กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผู้บาเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ช่วยเสริมสร้าง
ค่านิยมของคนไทย 12 ประการ เป็นอย่างดี เพราะกิจกรรมลูกเสือมีวัตถุประสงค์ท่ีมุ่งพัฒนาเยาวชนให้เป็น
พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ ช่วยสร้างสรรค์สังคมให้มีความเจริญก้าวหน้า อีกทั้งกิจกรรมลูกเสือยังเป็น
แนวทางในการช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนได้ เสริมสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของนกั เรยี น 8 ประการ ผูเ้ รียนมีระเบียบวินัย เสริมสร้างทกั ษะชวี ติ คุณธรรม จริยธรรมและบาเพ็ญประโยชน์

- กลุ่มลูกเสือวิสามัญ-เนตรนารีวิสามัญทุกสถานศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษา ได้ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินลูกเสือวสิ ามัญระดบั อาชวี ศึกษาจังหวัดสรุ ินทร์ และจดั ให้ลูกเสือวิสามญั เข้าร่วมกจิ กรรมชุมนุมลกู เสือใน
ระดับภาค และระดบั ชาติ

137

- โรงเรียนโสตศึกษาสุรนิ ทร์ ได้ดาเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยจัดกจิ กรรมลูกเสือในชั่วโมง
เรยี นที่สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รสถานศกึ ษา

- มีการนากจิ กรรมลกู เสือมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน
- สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมที่สาคัญทางลูกเสือ เช่น เข้าร่วมกิจกรรมวันวชิราวุธ
กจิ กรรมวนั คล้ายวนั สถาปนาลกู เสอื แหง่ ชาติ
- ส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้มีพัฒนาการทั้ง ๘ ประการ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ศีลธรรม
และอารมณ์
- นักศกึ ษาได้เรียนวชิ าลกู เสอื ครบตามกระบวนการของหลกั สูตร
- นักศึกษามีระเบียบวินัยและได้บาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์และช่วยเหลือผู้อ่ืนได้รับ
ประสบการณต์ รง โดยการฝกึ และทดสอบในสถานทที่ ่เี หมาะสม
- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือและยุวกาชาด ได้รับการพัฒนาตนเองตาม
ศักยภาพ และสามารถปรับตนให้อยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข เกิดความอดทน มคี วามสามคั คแี ละมีคณุ ลกั ษรท่ี
พึงประสงค์ตรงตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช พ.ศ.๒๕๕๑ ของ
สถานศึกษา
- ความโดดเด่น ไปร่วมพิธีถวายพระพรชัยมงคลทบทวนคาปฏิญาณและสวนสนามโครงการ
เฉลมิ พระเกยี รติ พระเจา้ อยูห่ ัวมหาวชิราลงกรณบดทิ รเทพยวรางกรู
- ประโยชนท์ ี่เกดิ ขนึ้ ความสามัคคี ความสขุ ในสงั คมและเป็นพลเมืองดี

2.2 รายช่ือหน่วยงาน/สถานศกึ ษาทเี่ ปน็ ต้นแบบหรอื แบบอย่างที่ดี ในการดาเนินงานตามประเด็น

นโยบายดงั นี้ (ตารางที่ ๓๙)

รายชื่อหน่วยงาน/ ทตี่ ัง้ รายการและรายละเอยี ด
สถานศกึ ษาต้นแบบหรอื หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งที่ดี การจัดการเรยี นการสอนวิชาลกู เสือใหน้ ักเรียนทกุ
เอกชน ระดับชนั้
1. สรุ นิ ทรศึกษา
การจัดการเรียนการสอนวิชาลกู เสอื ให้นักเรียนทกุ
2. บวรธรรมประยุตวทิ ยา ระดับชนั้

กศน. ตาบลจอมพระ อาเภอ จั ด โ ค ร ง ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ศั ก ย ภ า พ นั ก ศึ ก ษ า ใ ห้ มี
1. กศน.อาเภอจอมพระ จอมพระ จังหวัดสรุ นิ ทร์ พฒั นาการท้ัง ๘ ประการ ร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา
๓๒๑๘๐ ศีลธรรม และอารมณ์ ฝึกความมีระเบียบ วินัย มี
ความซือ่ สัตยส์ จุ ริต

138

รายชอ่ื หน่วยงาน/ ทต่ี ั้ง รายการและรายละเอยี ด
สถานศึกษาตน้ แบบหรอื หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จุดแข็ง/นวัตกรรม

แบบอย่างที่ดี 329 หมู่ 1 ตาบลชมุ จัดโครงการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองโดยใช้
๒. กศน.อาเภอชมุ พลบรุ ี พลบุรี อาเภอชุมพลบรุ ี กระบวนการลูกเสือและดาเนินการจัดโครงการ
จังหวดั สรุ นิ ทร์ เ ส ริ ม ส ร้ า ง อุ ด ม ก า ร ณ์ รั ก ช า ติ ศ า ส น า
สพป.๑ พระมหากษัตริย์ผู้เรียนได้รับการสร้างจิตสานึกรัก
1. ร.ร.ราชวถิ ี (ประสาท ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และความเป็น
ราษฎรบ์ ารงุ ) พลเมอื งดี

2.โรงเรียนเมืองสุรินทร์ ม.19 ต.เฉนยี ง ร.ร.ตน้ แบบลกู เสือ ขนาดเลก็ นกั เรยี น 110 คน
อ.เมอื สุรินทร์ จุดแขง็ ครู 7 คน ผ่านการอบรมข้ัน
จ.สรุ นิ ทร์ L.T. จานวน 2 คน

ถนนจางวาง ต.ในเมือง W.B. จานวน 5 คน
อ.เมอื ง จ.สรุ ินทร์
นวัตกรรมในการดาเนินงาน “โรงเรยี นรม่ รน่ื งามสวยด้วย
มือเรา”

โครงงาน “ใบไม้ตามหาต้น”เป็นการอนุรักษ์
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยใช้ความอยากรู้อยากเห็น
แบบเดก็ ๆ มาทาการอ่านเขียนและเรียนรู้จกั ต้นไม้ ใบไม้
ประโยชน์ของตน้ ไมแ้ ต่ละชนดิ การบารงุ รักษา เพาะพนั ธ์ุ
ขยายพันธุ์ ปลุกจิตสานึกให้รักษ์สิ่งแวดล้อมโดยเร่ิมจาก
ใกล้ตวั ไปยงั บา้ น และชมุ ชน

ทัศนศึกษา โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถน่ิ นามา
ถอดบทเรียน และเลือกใชใ้ นสว่ นที่เก่ียวข้องใกล้ตัว

- ไดร้ ับรางวลั การประกวดสวนสนามชนะเลศิ
ประเภท เนตรนารี สามญั ระดบั เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 1 ทกุ ปี
- มกี ารจดั การเรยี นการสอนเนตรนารี ลูกเสอื
สารองและสามัญ ยวุ กาชาด และผ้บู าเพ็ญ
ประโยชนอ์ ย่างสมา่ เสมอ
- มีการจัดกจิ กรรมการเดินทางไกลเข้าคา่ ยพักแรม
ตามหลักสตู รโดยใชบ้ ุคลากรในโรงเรียน กิจกรรม
เดน่ ของสายชั้น ป.1-3 มกี ารเดนิ ทางไกลการเปดิ
ประชมุ กองพเิ ศษของลูกเสือสารองเตม็ รปู แบบ
สายช้ัน ป.4-6 จดั กิจกรรมเป็นไปตามหลกั สูตร
-บคุ ลากรในโรงเรยี น ได้รบั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ทาให้มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเตม็
ประสทิ ธิภาพ

139

รายช่อื หนว่ ยงาน/ ที่ตัง้ รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาตน้ แบบหรือ หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งที่ดี ต.กาบเชิง อ.กาบเชิง โรงเรียนต้นแบบลูกเสือ
สพป.สร.๓ ต.เช้ือเพลงิ อ.ปราสาท โรงเรียนต้นแบบลูกเสือ
1. รร.บ้านปราสาทเบง ต.กาบเชงิ อ.กาบเชิง โรงเรยี นดาเนนิ การลูกเสอื ประชาธปิ ไตย
2. รร.รัฐประชาสามัคคี
3. รร.กาบเชงิ มติ รภาพที่ 2/2 ถนนปอยปริง การจัดการเรยี นการสอนวิชาลูกเสอื ให้นักเรยี นทกุ
190
เอกชน ต.ในเมอื ง อ.เมืองสุรนิ ทร์ ระดับชั้น
ร.ร.สุรินทรศึกษา
จ.สรุ ินทร์
ร.ร.บวรธรรมประยุตวิทยา
๕๙/๒ ถ.กรงุ ศรนี อก การจัดการเรียนการสอนวิชาลกู เสอื ใหน้ กั เรยี นทุก
อาชวี ศกึ ษา ต.ในเมือง อ.เมอื งสุรนิ ทร์ ระดับช้ัน
1. วทิ ยาลยั เทคนิคสรุ นิ ทร์ จ.สรุ ินทร์ ๓๒๐๐๐

2. วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษา ต.ในเมือง อ.เมือง จ. เป็นสถานศกึ ษาท่ีผ่านการประเมนิ คัดเลอื กลกู เสอื
สรุ ินทร์ สรุ นิ ทร์ เนตรนารี

ถ.เทศบาล 1 ต.ในเมอื ง
อ.เมือง จ.สรุ ินทร์

3. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

- ผเู้ รียนบางสว่ นยงั ขาดทักษะการใช้ชีวติ ทักษะการตัดสนิ ใจ และทกั ษะในการเผชิญกบั ปัญหาทาให้ต้อง
ปรบั ตวั ในการร่วมกิจกรรม

- ครทู ่ไี ด้รับมอบหมายใหเ้ ปน็ ผู้กากับลูกเสือยังไมไ่ ด้รบั การอบรมเป็นผู้กากบั ข้ันสงู (A.T.C) ซ่งึ มจี านวน
ไม่เพยี งพอตอ่ จานวนผู้เรียน

- ผู้กากับลกู เสือบางคนยงั ไมม่ วี ฒุ ิทางลกู เสือ

4. ข้อเสนอแนะ

4.1 ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นานโยบาย

- พัฒนาบคุ ลากร โดยนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการให้ทกุ สถานศกึ ษามีการจัดตั้งกอง
ลูกเสือ และจัดกจิ กรรมลกู เสอื รว่ มกบั ลูกเสือท้ังในและนอกระบบรวมทงั้ ลูกเสอื ชาวบา้ น

140

- พฒั นาหลักสูตรคู่มือลูกเสอื เพ่ือให้มีการบูรณาการร่วมกับหลักสตู รการใช้การศึกษาเพือ่ สร้าง
ความเป็นพลเมือง

- ส่งเสริมให้ครู กศน.มีการสอดแทรกกิจกรรมทักษะการใช้ชีวิตในวิชาลูกเสือ 5 ด้าน คือ
กจิ กรรมโครงการเพ่ือพฒั นาตนเอง , กจิ กรรมโครงการเพ่ือชว่ ยเหลือผอู้ ่นื , กจิ กรรมโครงการเพ่อื ช่วยเหลอื ชมุ ชน
, กจิ กรรมโครงการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ชาตบิ ้านเมอื ง และกิจกรรมโครงการเพอื่ ชว่ ยเหลอื โลก

- ผกู้ ากบั ลูกเสือต้องไดร้ บั การพัฒนาให้มวี ุฒิทางลกู เสือใหส้ ูงขั้น
- จัดสรรให้โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมลูกเสือ เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย
ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี มีความรับผิดชอบ มีการทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม
ความมีเหตผุ ล การชว่ ยเหลือแบ่งปนั กนั เอ้อื อาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความ
ถนดั และความสนใจของผเู้ รยี นมากข้ึน

141

บทที่ ๕
สรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา

การตรวจราชการติดตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ ๑ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑
(นางสาวดรุ ิยา อมตววิ ฒั น)์ เพอื่ รับฟังปญั หา / อุปสรรค ในการดาเนนิ งานของหน่วยงาน / สถานศึกษาทกุ สังกดั
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในจังหวดั สุรนิ ทร์ สรุปได้ดังนี้

นโยบายท่ี 1 การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาทส่ี ังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการในจงั หวัดสรุ ินทร์ท้ังหมด จานวน ๘๖๘ แหง่ มี

การตรวจสอบ/วเิ คราะหจ์ ุดอ่อนจุดแข็งผลการทดสอบ O-NET/N-NET/V-NET จานวน ๘๖๕ แหง่ คิดเป็นร้อยละ
๙๙.๖๕ มีสถานศกึ ษาได้จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และแก้ปญั หาจุดอ่อนเพอื่ พฒั นาจุดแข็งรายสาระ จานวน
๘๖๕ แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๙.๖๕ และ มีสถานศกึ ษาทก่ี าหนดเปา้ หมายการยกระดับคา่ เฉลี่ O–NET/ N–
NET/V–NET ตามแนวทางกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซ่ึงออกตามกฎกระทรวงว่าดว้ ยหลักเกณฑ์
และวธิ กี าร การประกันคุณภาพการศึกษา จานวน ๘๖๕ แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๙.๖๕

สถานศึกษาทกุ ระดับท่ีได้เตรียมความพร้อมของครเู พอื่ รองรบั การทดสอบ PISA, สถานศึกษาที่เปิดสอน
ช้นั ม.3 ไดป้ รบั กระบวนการเรียนการสอนที่สอดคลอ้ งกับการทดสอบ PISA และ สถานศึกษาทเ่ี ปดิ สอนชั้น ม.3
ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเสริมสร้างประสบการณ์การทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แก่
ผเู้ รยี น จานวน ๒๙๘ แห่ง จากทง้ั หมด ๓๐๑ แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๙.๐๐

นโยบายท่ี 2 การจัดการศึกษาปฐมวัย
ประชากรวยั เรียน อายุ ๓-๕ ปี ของจงั หวัดสุรินทร์ มจี านวน ๔๒,๑๘๕ คน พบวา่ มนี ักเรยี นปฐมวยั

(อนุบาล ๑-๓ และเด็กเล็ก) มีจานวน ๓๒,๙๙๖ คน คดิ เป็นร้อยละ ๗๘.๒๒ คน สถานศึกษาทม่ี ีระบบป้องกันท้ัง
ภายในและภายนอกสถานศึกษาของจังหวัดสุรนิ ทร์ ๗๔๕ แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐

นโยบายที่ 3 การพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษ
ครูผู้ผ่านการอบรมโครงการ Boot Camp ในสถานศึกษาสามารถนาเทคนิคการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษไปใช้ในการสอน พบว่ามีจานวน ๑๗๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ Master Trainer (ตามโครงการ
Boot Camp) ในสถานศึกษาสามารถเป็นครูแกนนา มีจานวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สถานศึกษาที่
สามารถจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียนเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้/ทักษะภาษาอังกฤษ มี
จานวน ๕๖๐ แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐

142

นโยบายที่ 4 การพัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
สถานศึกษาท่ีจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อสร้างกระบวนการคิดวิเคราะห์ พบว่ามีจานวน

๘๖๗ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สถานศึกษาท่ีมีนวัตกรรมเพื่อเพ่ิมทักษะการคิดวิเคราะห์แก่ผู้เรียน พบว่ามี
จานวน ๕๓๓ แห่ง จาก ๘๖๗ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๖๑.๔๘ และสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาโดยบูรณาการองค์
ความรู้แบบสะเต็มศกึ ษา พบวา่ มี ๔๐๐ แห่ง จาก ๘๖๗ แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๖.๑๔

นโยบายที่ 5 การเพมิ่ สดั ส่วนผเู้ รียนสายอาชพี
สานักงานศกึ ษาจังหวัดได้จดั ทาแผนและยทุ ธศาสตร์การรับนักเรียนเพอื่ เพิ่มผู้เรียนสายอาชีพ (โดย

มกี ารจดั ทาแผนการแนะแนวนักเรยี นเรียนจบชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ เรยี นต่อสายอาชพี ของ สพป.สร.๒) นกั เรียน
ระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาที่ได้รับการสร้างทัศนคติที่ดีต่ออาชี พและการแนะแนวการศึกษาเพื่อ
อาชพี พบวา่ มีจานวน ๑๐๔,๖๑๕ คน จาก ๑๑๖,๒๒๙ คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๐๑

นโยบายที่ 6 การพฒั นากาลงั คนตามความต้องการของสถานประกอบการภายในประเทศ
ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อสมรรถนะผู้สาเร็จอาชีวศึกษา ท้ัง ๘ แห่ง ประกอบไปด้วย
วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ วิทยาลัยสารพัดช่างสุรินทร์ วิทยาลัยการอาชีพท่าตูม
วิทยาลัยการอาชีพศีขรภมู ิ วทิ ยาลัยการอาชีพสงั ขะ วิทยาลัยการอาชีพปราสาท และวิทยาลยั เทคโนโลยีและการ
จัดการรัตนบุรี มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาระดับ
ปวช. มีงานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี มีจานวน ๑,๘๘๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และผู้สาเร็จ
การศึกษาอาชวี ศึกษาระดับ ปวส. มีงานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี มจี านวน ๒,๕๐๙ คน คิดเป็น
รอ้ ยละ ๑๐๐ คน ผเู้ รยี นอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พบวา่ มีจานวน ๓,๘๘๖ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐

นโยบายท่ี 7 การยกระดับคณุ ภาพสถานศกึ ษาที่ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื และพัฒนาเป็นพเิ ศษอยา่ ง
เร่งด่วน (ICU) (ไมเ่ กบ็ ผลการดาเนินการ)

นโยบายท่ี 8 การบรหิ ารจดั การศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ครบทุกเขตพื้นท่ี มีแผนบริหาร
จัดการโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีช้ันเรียนไม่เหมาะสม ครบทุกเขตพื้นที่ จานวนสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามี
โรงเรียนขนาดเลก็ จานวน ๒๙๕ แห่ง ดาเนินการยบุ /ควบรวมสถานศึกษาตามแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาด
เลก็ จานวน ๓ แห่ง

143
นโยบายท่ี 9 การอ่านออกเขียนได้
นกั เรียนช้ัน ป.1 อ่านออก เขยี นได้ สังกัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา, สศศ., สช. พบว่ามี
จานวน ๑๑,๕๖๐ คน จากจานวนท้ังส้ิน ๑๔,๓๙๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๒๘ และนักเรียนชน้ั ป.2–ป.3 อ่าน
คลอ่ ง เขยี นคล่อง พบวา่ มีจานวน ๒๓,๙๘๒ คน จากจานวนทั้งสนิ้ ๒๖,๔๔๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๔.๔๙
นโยบายที่ 10 การสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรมในสถานศกึ ษา
สถานศกึ ษาในจังหวัดสุรนิ ทร์ใช้กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแบบมีส่วนร่วม พบว่า
มีจานวน ๗๓๗ แห่ง จากจานวน ๘๖๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๘๔.๙๑ นักเรียนที่เข้าร่วมกจิ กรรมตามโครงการนอ้ ม
นาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนนิ ชีวิต พบว่า มีจานวน ๑๖๖,๗๒๑ คน จากจานวน
๒๓๗,๘๓๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๗๐.๑๐
นโยบายที่ 11 การขบั เคลอื่ นนโยบายการจดั การศึกษาในระดับภูมภิ าค

สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ ินทร์สามารถขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์กระทรวงสู่
การปฏิบัติได้ พร้อมสามารถจัดระบบ ข้อมลู สารสนเทศ และเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อการศึกษาได้ตามอานาจหน้าท่ี
และภารกิจ และมีกระบวนการประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพเป็นท่ีพึงพอใจ
ของผู้รับบริการและผูเ้ กย่ี วขอ้ ง

นโยบายที่ 12 การเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรเพื่อการศึกษา (ข้อมูลจากระบบ ของ
สานกั งานปลัดกระทรวง)

ภาพท่ี ๘ ความสามารถในการรบั นกั เรียนของสถานศกึ ษา


Click to View FlipBook Version