The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surin.inspection, 2019-07-07 11:56:07

ตรวจราชการ1_61

ตรวจราชการ1_61

44

ศึกษานเิ ทศกผ์ รู้ ับผิดชอบประจาอาเภอ สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั สุรินทร์ (ตารางท่ี ๗)

อาเภอ ศึกษานิเทศก์ประจาอาเภอ

๑. อาเภอเมือง นายสมโพธ์ิ มฆิ เนตร
นางศิรเิ พญ็ จันพุทซา
๒. อาเภอศรีขรภูมิ นายพษิ ณุ ชนิ ชนะ
นายเกยี รติศกั ด์ิ สะอาดย่งิ
๓. อาเภอจอมพระ นายสมหมาย แกว้ กนั หา
๔. อาเภอสาโรงทาบ นางสาวเมธาวี ตณิ านนันท์
๕. อาเภอเขาสนิ รินทร์ นายองอาจ ดปี ระดวง
๖. อาเภอลาดวน นายมนตรี ดอกแก้ว
๗. อาเภอรตั นบุรี นายชัดเจน ณรัตนค์ ณาสริ ิ
๘. อาเภอท่าตมู นายนิวตั ิ ทมโคตร
๙. อาเภอชมุ พลบรุ ี นางสาววราภรณ์ บุญเจียม
๑๐. อาเภอสนม นายทองคา อาไพ
๑๑. อาเภอโนนนารายณ์ นางวันดี สขุ ชพี
๑๒. อาเภอปราสาท นางธัญลกั ษณ์ จนั ทร์ศรี
๑๓. อาเภอสังขะ นางชดั ดา เศลาอนันต์
๑๔. อาเภอกาบเชิง นางวลิ าวลั ย์ จดุ โต
๑๕. อาเภอบัวเชิด นายวชั รพงษ์ วันดี
๑๖. อาเภอพนมดงรกั นายกระแส มิฆะเนตร
๑๗. อาเภอศรีณรงค์ นายพนสั พรมดา้ ว
นายสุภกั ด์ิ สุภาลกั ษณ์

45

ผู้รับผดิ ชอบตามนโนบายกระทรวงศึกษาธกิ าร ในการประสานและสนับสนุนการตรวจราชการ
สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖1 (ตารางท่ี ๘)

นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผรู้ บั ผิดชอบ
๑. ยกระดบั คุณภาพการศึกษา
นางวนั ดี สขุ ชีพ /นายสมหมาย แกว้ กนั หา/
๒. การจดั การศกึ ษาปฐมวยั นางสาวเมธาวี ติณานันท/์ นายทองคา อาไพ
นางสาววราภรณ์ บุญเจียม/นายมนตรี ดอกแกว้
๓. การพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษ /นางวลิ าวลั ย์ จุดโต
นางศิริเพญ็ จันพุทซา /นางธญั ลักษณ์ จันทร์ศรี /
๔. การพฒั นาทักษะการคิดวิเคราะห์ นางชนัดดา เศลาอนันต์
นางวนั ดี สขุ ชีพ /นางสาวเมธาวี ตณิ านันท/์ นาย
๕. การเพม่ิ สัดสว่ นผ้เู รยี นสายอาชพี ชัดเจน ณรัตนค์ ณาสริ ิ
นายสภุ กั ดิ์ สภุ าลักษณ์/นายองอาจ ดปี ระดวง
๖. การพฒั นากาลังคนตามความต้องการของสถาน /นายวัชรพงษ์ วนั ดี /นายพนสั พรมดา้ ว
ประกอบการภายในประเทศ นายสุภกั ดิ์ สภุ าลกั ษณ์/นายองอาจ ดีประดวง
๗. การยกระดบั คณุ ภาพสถานศึกษาท่ีตอ้ งการความ /นายวัชรพงษ์ วนั ดี /นายพนัส พรมด้าว
ช่วยเหลอื และพฒั นาเป็นพิเศษอย่างเรง่ ดว่ น(ICU) นายพษิ ณุ ชนิ ชนะ /นายนวิ ัติ ทมโคตร/นาย
๘. การบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก สมหมาย แก้วกนั หา
นายทองคา อาไพ/นายเกยี รตศิ กั ด์ิ สอาดยง่ิ /
๙. การอา่ นออกเขียนได้ นายนิวตั ิ ทมโคตร
นางธญั ลักษณ์ จนั ทรศรี/นางศิรเิ พ็ญ จันพุทซา/
๑๐. การสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรมในสถานศกึ ษา นายนวิ ตั ิ ทมโคตร
นางวิลาวลั ย์ จุดโต /นางชนัดดา เศลาอนนั ต/์ นาย
๑๑. การขับเคลอื่ นนโยบายการจัดการศึกษาในระดบั มนตรี ดอกแก้ว/นางสาววราภรณ์ บุญเจยี ม
ภูมิภาค นายชัดเจน ณรัตนค์ ณาสิร/ิ นายพษิ ณุ ชนิ ชนะ /
๑๒. การเพิ่มประสทิ ธภิ าพใช้ทรัพยากรเพื่อการศึกษา นายกระแส มฆิ ะเนตร
นางชนดั ดา เศลาอนันต/์ นายสมโพธ์ิ มิฆเนตร/นาย
๑๓. การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาในเขตพัฒนา ทองคา อาไพ
พิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพน้ื ทพี่ ิเศษ นายกระแส มิฆะเนตร /นายมนตรี ดอกแกว้ /
นายเกียรติศกั ด์ิ สอาดยง่ิ /นางวลิ าวัลย์ จุดโต /
๑๔. พฒั นาครูทง้ั ระบบ นางสาววราภรณ์ บุญเจยี ม
นางสาววราภรณ์ บญุ เจียม/นางวิลาวัลย์ จุดโต /
๑๕. การพัฒนานักเรยี นและเยาวชนผ่านกระบวนการ นางชนัดดา เศลาอนันต์/นายมนตรี ดอกแก้ว
ลกู เสือและยวุ กาชาด นายนิวตั ิ ทมโคตร/นายวชั รพงษ์ วนั ดี

46

บทที่ ๔
ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศึกษา

นโยบายที่ 1 การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา
(สพป./สพม./สศศ./สช./สกอ.(ร.ร.สาธติ ฯ)/สอศ./กศน.)

1.1 การยกระดบั คะแนน O–NET/N–NET/V–NET
1.1.1 การตรวจสอบ/วิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแขง็ ท้ังรายกลุ่มสาระและรายสาระ
KPI : ร้อยละของสถานศึกษาทไี่ ดต้ รวจสอบ/วเิ คราะห์จุดออ่ นจดุ แข็ง ทั้งรายกลมุ่ สาระ
และรายสาระ
1.1.2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และแก้ปญั หาจดุ อ่อน เพ่อื พฒั นาจุดแข็งรายสาระ
KPI : ร้อยละของสถานศกึ ษาที่ไดจ้ ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน และแก้ปัญหาจดุ อ่อน
เพอื่ พฒั นาจุดแข็งรายสาระ
1.1.3 การกาหนดเป้าหมาย การยกระดบั คา่ เฉลี่ย O–NET/N–NET/V–NET ตามแนวทางกาหนด
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ซึ่งออกตามกฎกระทรวงว่าดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี าร
การประกนั คุณภาพการศึกษา
KPI : รอ้ ยละของสถานศึกษาท่มี ีการกาหนดเปา้ หมายการยกระดับคา่ เฉลย่ี O–NET/N–NET/
V–NET ตามแนวทางกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาซึ่งออกตามกฎกระทรวง
ว่าด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี าร การประกันคณุ ภาพการศึกษา

ผลการดาเนินงาน
1. ผลการดาเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชว้ี ัด
1.1 จานวนสถานศกึ ษาที่มีการดาเนนิ งานตามประเดน็ การตรวจราชการและตวั ช้ีวัด (ตารางท่ี ๙)

จานวน การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
สถานศึกษา
หน่วยงาน/ มีการตรวจสอบ/วิเคราะห์ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน กาหนดเปา้ หมาย
สถานศึกษา ทงั้ หมด การยกระดบั ค่าเฉล่ยี
(แหง่ ) จุดออ่ นจุดแข็งผลการทดสอบ และแกป้ ัญหาจุดออ่ นเพอ่ื O–NET/N–NET/V–NET
(สังกดั ) จานวน (แห่ง) ร้อยละ
๗๔๖ O–NET/N–NET/V–NET พฒั นาจดุ แขง็ รายสาระ ๗๔๖ ๑๐๐
สพป. ๘๕ ๘๕ ๑๐๐
สพม. ๑ จานวน (แห่ง) ร้อยละ จานวน (แห่ง) ร้อยละ
สศศ.(โสต) ๑๐ ๑ ๑๐๐
สช.(รร.ในระบบ) ๑ ๗๔๖ ๑๐๐ ๗๔๖ ๑๐๐ ๗ ๗๐
สกอ. (ร.ร.สาธติ ) ๘ ๑ ๑๐๐
สอศ. (รฐั บาล) ๑๗ ๘๕ ๑๐๐ ๘๕ ๑๐๐ ๘ ๑๐๐
กศน. - ๑๗ ๑๐๐
อนื่ ๆ (ระบ)ุ ....... ๑ ๑๐๐ ๑ ๑๐๐ --

๗ ๗๐ ๗ ๗๐

๑ ๑๐๐ ๑ ๑

๘ ๑๐๐ ๘ ๑๐๐

๑๗ ๑๐๐ ๑๗ ๑๐๐

----

47

1.2 รายสาระ/กลุม่ สาระ หรือรายทักษะ/รายสมรรถนะใด ทีเ่ ปน็ จุดแขง็ จากการวิเคราะหผ์ ลการ

ทดสอบ O–NET/N–NET/V–NET ของสถานศึกษา โดยเรียงลาดับมากไปหานอ้ ย

สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (O-NET)

1) รายสาระ/รายทกั ษะ การฟงั การดู การพูด กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะ ภาษาไทย

2) รายสาระ/รายทกั ษะ หนา้ ที่พลเมือง กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะ สังคมศึกษาฯ

3) รายสาระ/รายทักษะ ภูมศิ าสตร์ กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะ สงั คมศึกษาฯ

4) รายสาระ/รายทักษะ ภาษากบั ความสัมพนั ธ์ กล่มุ สาระ/รายสมรรถนะ ภาษาต่างประเทศ

5) รายสาระ/รายทกั ษะ ภาษาเพ่อื การส่อื สาร กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะ ภาษาตา่ งประเทศ

สังกดั สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (กศน.) (N-NET) (ตารางที่ ๑๐)

ระดับ รายสาระวชิ าทเ่ี ปน็ จดุ แขง็ จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบ N-NET

อันดับ ๑ อนั ดับ ๒ อนั ดับ ๓ อันดับ ๔ อนั ดบั ๕

ประถมศึกษา สาระพัฒนาสังคม สาระทักษะ สาระทกั ษะ สาระการ สาระความรู้
การเรยี นรู้ พื้นฐาน
การดาเนนิ ชีวิต ประกอบอาชพี

ม.ตน้ สาระ สาระทกั ษะ สาระพฒั นาสังคม สาระความรู้ สาระทักษะ
การประกอบอาชีพ การดาเนนิ ชวี ิต พนื้ ฐาน การเรียนรู้

ม.ปลาย สาระทักษะ สาระ สาระทกั ษะ สาระพัฒนาสังคม สาระความรู้
การดาเนนิ ชีวิต การประกอบอาชีพ การเรียนรู้ พน้ื ฐาน

สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) (V-NET)

ระดบั ปวช. ปกี ารศึกษา 2559

1) รายสาระ/รายทักษะ ทางสังคมและการดารงชวี ติ กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะหลกั และสมรรถนะท่ัวไป

2) รายสาระ/รายทักษะ การจดั การงานอาชพี กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะหลักและสมรรถนะทัว่ ไป

3) รายสาระ/รายทักษะ - กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะ -

4) รายสาระ/รายทกั ษะ ภาษาและการสอื่ สาร กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะหลักและสมรรถนะทัว่ ไป

5) รายสาระ/รายทักษะ การคิดและการแกป้ ญั หา กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไป

ระดับ ปวส. ปีการศึกษา 2559

1) รายสาระ/รายทกั ษะ ทางสังคมและการดารงชวี ิตกลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไป

2) รายสาระ/รายทกั ษะ - กล่มุ สาระ/รายสมรรถนะ -

3) รายสาระ/รายทกั ษะ การจดั การงานอาชีพ กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะหลกั และสมรรถนะท่วั ไป

4) รายสาระ/รายทกั ษะ ภาษาและการสอื่ สาร กล่มุ สาระ/รายสมรรถนะหลักและสมรรถนะทว่ั ไป

5) รายสาระ/รายทักษะ การคดิ และการแกป้ ญั หา กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะหลักและสมรรถนะทว่ั ไป

48

1.3 รายสาระ/กล่มุ สาระ หรอื รายทกั ษะ/รายสมรรถนะใด ท่ีเปน็ จุดออ่ นจากการวิเคราะห์ผลการ

ทดสอบ O–NET/N–NET/V–NET ของสถานศกึ ษาโดยเรียงลาดบั มากไปหาน้อย

สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET)

1) รายสาระ/รายทกั ษะ ภาษาเพื่อการส่อื สาร กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะ ภาษาตา่ งประเทศ

2) รายสาระ/รายทักษะ ประวตั ศิ าสตร,์ ภมู ิศาสตร์ กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะ สงั คมศกึ ษาฯ

3) รายสาระ/รายทกั ษะ ชีวติ ิกับส่งิ แวดลอ้ ม,พลังงาน กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะ วทิ ยาศาสตร์

4) รายสาระ/รายทกั ษะ วรรณคดีและวรรณกรรม กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะ ภาษาตา่ งประเทศ

5) รายสาระ/รายทักษะ ความนา่ จะเปน็ ,การวัด กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะ คณติ ศาสตร์

สงั กัดสานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.) (N-NET) (ตารางท่ี ๑๑)

ระดับ รายสาระวิชาทเี่ ป็นจดุ อ่อนจากการวิเคราะหผ์ ลการทดสอบN-NET

อนั ดบั ๑ อันดับ ๒ อนั ดบั ๓ อนั ดบั ๔ อันดบั ๕

ประถมศกึ ษา สาระความรู้ สาระการ สาระทักษะ สาระทักษะ สาระพฒั นาสังคม
พนื้ ฐาน การเรยี นรู้
ประกอบอาชพี การดาเนินชีวิต

ม.ตน้ สาระทักษะ สาระความรู้ สาระพฒั นาสังคม สาระทกั ษะ สาระ
การเรียนรู้ พื้นฐาน การดาเนินชวี ิต การประกอบอาชีพ

ม.ปลาย สาระความรู้ สาระพฒั นาสงั คม สาระทักษะ สาระ สาระทักษะ
พนื้ ฐาน การเรียนรู้ การประกอบอาชีพ การดาเนนิ ชีวิต

สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.) (V-NET)

(ระดบั ปวช.) ปกี ารศึกษา 2560

1) รายสาระ/รายทกั ษะ การคิดและการแกป้ ัญหา กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะหลักและสมรรถนะทว่ั ไป

2) รายสาระ/รายทักษะ การจัดการงานอาชีพ กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะหลักและสมรรถนะทว่ั ไป

3) รายสาระ/รายทกั ษะ - กลุม่ สาระ/รายสมรรถนะ -

4) รายสาระ/รายทักษะ ภาษาและการสอ่ื สาร กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทั่วไป

5) รายสาระ/รายทกั ษะ ทางสังคมและการดารงชีวติ กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป

(ระดับ ปวส.) ปกี ารศึกษา 2560

1) รายสาระ/รายทักษะ การคิดและการแกป้ ญั หา กลุม่ สาระ/รายสมรรถนะ -

2) รายสาระ/รายทกั ษะ การจัดการงานอาชพี กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะ -

3) รายสาระ/รายทกั ษะ - กล่มุ สาระ/รายสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทว่ั ไป

4) รายสาระ/รายทกั ษะ ภาษาและการส่อื สาร กลุ่มสาระ/รายสมรรถนะ -

5) รายสาระ/รายทกั ษะ ทางสงั คมและการดารงชีวติ กลมุ่ สาระ/รายสมรรถนะ -

49

1.4 สถานศึกษามวี ิธีการวิเคราะหจ์ ุดแข็งจุดออ่ นผลการทดสอบ O–NET/N–NET/V–NETดังน้ี
โรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ผลการสอบโรงเรียนทุกโรงเรียนใน
สงั กัด โดยเชิญผู้บรหิ ารและครวู ิชาการนาเอาข้อมลู สารสนเทศผลการสอบ O-NET ท่ี สทศ. ได้ออกรายงานแต่ละ
ฉบบั มาวเิ คราะห์จุดเด่นและจดุ ที่ควรพัฒนา โดยใช้กระบวนการ PLC แยกโรงเรียนเปน็ 2 กลุ่ม คือ โรงเรียนท่ีมี
ผลการสอบคา่ เฉลยี่ สูงกวา่ ระดับชาติ 172 โรงเรียน เรยี กว่าการประชุมปฏิบัติการ PLC 172 และโรงเรียนที่
มีผลการสอบคา่ เฉลี่ยต่ากว่าระดับชาติ 122 โรงเรียน เรียกวา่ การประชุมปฏิบัติการ PLC 122 ทาให้โรงเรียน
รู้ตวั ตนของตนเองไดช้ ัดเจน
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ ได้นาข้อมูลผลการทดสอบมา
เปรียบเทียบผลการพัฒนาระหว่างปีการศึกษา ของแต่ละกลุ่มสาระมาเป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนา และ
เพ่ิมประสิทธิภาพการออกนิเทศ ติดตาม รวมถึงการสร้างโมเดลต้นแบบ โดยภาพรวมสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ ทุกโรงเรียนมีการวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนผลการสอบ O-NET ส่วน
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ พบว่า ๑) สถานศึกษานารายงานผลการสอบ O-NET ของ
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์กรมหาชน) มาวิเคราะห์ผลการสอบของนักเรียนรายบุคคล ราย
โรงเรียนจาแนกตามสาระการเรียนรูแ้ ละมาตรฐานการเรียนรู้ โดยพิจารณาคะแนนเฉล่ียของผลการสอบในแต่ละ
กลุ่มแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒) เปรียบเทียบผลการสอบของโรงเรียน จาแนกตามสาระการเรียนรู้และ
มาตรฐานการเรียนรู้ โดยพิจารณาคะแนนเฉล่ียของผลการสอบในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เพื่อตรวจสอบสาระ
การเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ที่ควรเร่งพัฒนา เนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าปีท่ีผ่านมา ๓) วิเคราะห์
กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในปีท่ีผ่านว่ามีกระบวนการอย่างไร และมีผลการ
ดาเนนิ การทสี่ อดคลอ้ งกบั ผลการสอบ O-NET อยา่ งไรโดยวเิ คราะหจ์ ากแผนการจัดการเรียนร้ขู องครู และผลการ
นิเทศภายในของโรงเรยี น
โรงเรยี นในสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช.) ในระบบ พบวา่ มีการนา
ผลการทดสอบมาวิเคราะห์ สาระใด มาตรฐานใดทีม่ ีคะแนนสงู สดุ และสาระใดมาตรฐานใดทีม่ ีคะแนนต่าสุด แล้ว
นามาวิเคราะห์หาสาเหตุ และสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั (กศน.) ได้ตรวจสอบ/วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง ใน ๕ สาระการเรียนรู้ ซึง่ ประกอบด้วย สาระทักษะการ
เรียนรู้ , สาระความรู้พนื้ ฐาน , สาระการประกอบอาชพี , สาระทกั ษะการดาเนินชวี ิต และสาระการพัฒนาสังคม
ทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
คะแนนสอบ N-NET ในทุกสาระการเรียนรู้ในแต่ละภาคเรียน เพื่อนามาวิเคราะห์ในการจัดกิจกรรมให้กับ
นักศึกษา
สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนผลการ
ทดสอบ V-NET ดังน้ี 1. สถานศึกษาในสังกัดได้ตรวจสอบ/วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง ผู้เรียนทุกสาขาวิชา ระดับ
ปวช. และระดับปวส. จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระหว่างปี 2558-
2560 รอ้ ยละ 100 2. ผู้เรียนระดับปวช. และ ระดับปวส. มีคะแนนเฉล่ียจากการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่คะแนนเฉลี่ยระดบั ชาติข้ึนไปผ่านเกณฑ์การประเมินทุกด้านประกอบ

50

ดว้ ยด้านความรู้สมรรถนะหลักและสมรรถนะท่วั ไป ทกั ษะภาษาและการสื่อสาร ทักษะการคิดและการแกป้ ัญหา
ทักษะทางสงั คมและการดารงชวี ติ และทักษะการจดั การงานอาชพี

1.5 หน่วยงาน/สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนับสนนุ หรือจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เพ่อื แก้ปัญหา
จุดออ่ นท่ีพบจากการผลการทดสอบ O–NET/N–NET/V–NET ดงั นี้

โรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๑ พบว่า มีการจัดกิจกรรมพัฒนาครผู ู้สอนโดยใชก้ ระบวนการเรียนการสอนตามแนว
Active Learning ให้ครูได้ปรับเปล่ียนห้องเรียน วิธีการสอนได้อย่างเต็มพื้นท่ี เพื่อให้นักเรียนเกิดกระบวนการ
เรียนรู้ผ่านส่ือที่หลากหลายและใช้เครื่องมือประเมินผลตามแนวทาง PISA และสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๒ นาจุดอ่อนท่ีพบว่าวเิ คราะห์รายสาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้ แล้วคิดหาวิธี นวัตกรรม
การเรียนรู้มาใช้ในการแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอน สาหรับสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

มธั ยมศกึ ษาเขต ๓๓ สถานศึกษาสง่ เสริมดังน้ี ๑) พัฒนาครูให้นากระบวนการ PLC ในการพัฒนาตนเอง และการ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ๒) จัดทีมนิเทศภายในทั้งในระดับโรงเรียน และระดับ
สหวิทยาเขตเพ่ือช่วยเหลือครูในช้ันเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓) จัดงบประมาณช่วยเหลือให้โรงเรียนและ
ระดับสหวิทยาเขตให้จัดกิจกรรมพัฒนาครูหรือกิจกรรมให้นักเรียนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ๔)
ศึกษานิเทศก์ดาเนินการนิเทศ โดยสังเกตการณส์ อนในช้ันเรียนเพื่อให้ครูจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
๕) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ครูนานวัตกรรมหรือผลงานต่าง ๆ มา
แสดงและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ๖) ให้รางวัลสาหรับครทู ม่ี ีงานดีเยี่ยมในการพัฒนาในดา้ นต่าง ๆ

สาหรับสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(กศน.) พบว่า สถานศึกษาดาเนินการจัดโครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับ
นกั ศึกษาทุกระดับท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนน้อยกว่าเกณฑ์ที่กาหนด รวมทั้งสถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนเสริมและนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยเร่งพัฒนา
ผู้เรียนก่อนสอบจริง นาข้อบกพร่องในการสอบมาปรับปรุงช่วยให้ผู้เรียนสามารถทาข้อสอบได้อย่างเต็มตาม
ศกั ยภาพ

โรงเรยี นในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ในระบบ พบว่า โรงเรยี น
ได้นาสาระและมาตรฐานท่ตี ่าท่สี ดุ มาวเิ คราะห์ว่า ต่าเพราะอะไร และหาแนวทางแก้ไข

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพ
ผู้เรียน เพ่ือเตรียมความรู้การสอบ V-NET และจัดทาโครงการสอนเสริมวิชาความรู้ด้านสมรรถนะหลักและ
สมรรถนะท่ัวไป คือ 1) ทักษะภาษาและการสอ่ื สาร ได้แก่ วิชาภาษาไทย , วิชาภาษาอังกฤษ 2) ทักษะเพอ่ื การ
คิดและการแก้ปัญหา ได้แก่ วิชาวิทยาศาสตร์ , วิชาคณิตศาสตร์ 3) ทักษะทางสังคมและการดารงชีวิต ได้แก่
วิชาสงั คมศกึ ษา , วชิ าพลศึกษา และ วิชาสุขศึกษา 4) ทักษะการจัดการงานอาชีพ ได้แก่ วิชาวิทยาศาสตร์ , วิชา
คณิตศาสตร์ , วิชาคอมพิวเตอรร์ ว่ มกับการจัดโครงการกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนและทกั ษะการเรียนรู้ ทั้ง 4 ด้านท่ี
เกิดขึ้นโดยตรงจากประสบการณ์ของผู้เรียนและ มีการจัดโครงการติว V-NET ทุกรายวิชาให้กับผู้เรียนที่จะเข้า
สอบ V-NET ลงในแผนปฏิบตั ริ าชการ และนาผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติ ด้านอาชวี ศึกษา มาใชเ้ ป็น
ขอ้ มูลในการพัฒนาผู้เรียนต่อไป โครงการดังกล่าว สามารถแก้ปญั หาจดุ ออ่ นของ ผ้เู รียนระดับปวช. และระดับ

51

ปวส. สง่ ผลให้ผู้เรียนมีคะแนนเฉล่ยี จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นอาชีวศกึ ษา (V-NET) ผา่ นเกณฑ์
การประเมินทกุ ด้าน คิดเป็นร้อยละ 100

1.6 หนว่ ยงาน/สถานศึกษามกี ารจดั กจิ กรรมเพ่อื เสรมิ จุดแขง็ ผลการทดสอบ O–NET/N–NET/
V–NET ของสถานศึกษาดังนี้

สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 มกี ารประชาสมั พันธ์การจดั สอบ O-NET
ในหลายช่องทางอย่างต่อเน่ือง ท้ังการทาป้ายคัดเอาต์ส่ือสารทางอินเตอร์เน็ต หนังสือราชการ เป็นต้น เพื่อให้
โรงเรียนได้ต่ืนตวั รูเ้ ท่าทนั การเคลือ่ นไหวและข่าวสารตา่ งๆ โรงเรียนใช้โครงสร้างข้อสอบมาเปน็ แนวในการสอน
เสริมให้นักเรียน รวมถึงการสอบ Pre O-NET และนาผลการสอบมาแก้ไขปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน สานักงานเขต
พื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๒ ไดจ้ ัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างจุดแข็งดงั น้ี 1. ส่งเสริมให้ข้อเสนอแนะ
เก่ียวกับนวัตกรรมการเรียนรู้ 2. สนับสนุนวิทยากรให้ความรู้ในการพัฒนาการเรียนรู้ 3.สนับสนุนงบประมาณ
เพ่ือใช้ในการพัฒนาครูผู้สอน เพื่อส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 4. เสริมพลังโดยการ
ประกาศเกียรติคณุ แด่โรงเรียน/นักเรยี นท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นร้สู ูง 5. จัดให้มกี ารแสดงผลงานของโรงเรียน/
นักเรียนที่ประสบผลสาเร็จ และสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ ได้จัดกิจกรรมดังนี้
สอนเสริมเพิ่มเติม, ทาแบบทดสอบของปีที่ผ่านมา (๑-๓ปี), เข้าค่ายเตรียมพร้อมก่อนสอบ O-NET และพ่อแม่
ผปู้ กครอง ให้การสนับสนุนในการสอบเป็นอย่างดี ส่วนสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ ได้จัด
กจิ กรรมดังน้ี ๑) ประกาศยกย่องชมเชย และถอดบทเรียนในโรงเรียนที่มีผลงานดี เพื่อนาไปเป็นบทเรียนให้กับ
สถานศึกษาอื่น ๒) จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้สาหรับครูท่ีมีผลงานดีเยี่ยมในการพัฒนานักเรียนให้บรรลุ
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั ท่ีกาหนดไวใ้ นหลกั สูตรสถานศึกษา ๓) ใชร้ ะบบการนิเทศภายในระดับโรงเรยี น ระดับสหวิทยา
เขต และระดบั เขตพืน้ ท่ีการศึกษาในการพฒั นาครูใหส้ ามารถจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพมาก
ข้นึ

สาหรับโรงเรียนในสังกัดการศึกษาเอกชน ได้จัดการเรียนเสริมเพิ่มความรู้และทักษะตามชั่วโมง
เรยี น และในช่ัวโมงสุดทา้ ยของทกุ ๆวัน จัดการเรยี นเสริมเพ่ิมความร้ใู นชว่ งเวลา ๐๗.๐๐-๐๘.๐๐ น. ก่อนเขา้ แถว
ในภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ และเรยี นในวนั เสาร์ ในภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐

การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยนั้น สถานศึกษาจัดกิจกรรมโครงการให้กับ
นักศึกษาในสาระวิชาท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีและให้ครูสอดแทรกเนื้อหาเพิ่มเติมในระหว่างการจัด
กระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้เพ่ิมมากข้ึน จัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น
โครงการติวสอบ N-NET , โครงการติวเข้มยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ N-NET ,โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้
ตลอดชีวิต , โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมคี วามพร้อมและเห็นความสาคัญของการสอบ

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพ
ผู้เรียน เพ่ือเตรียมความรู้การสอบ V-NET มีการสอนเสริมวิชาความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
คือ 1) ทักษะภาษาและการส่ือสาร 2) ทกั ษะเพ่อื การคดิ และการแก้ปญั หา 3) ทกั ษะทางสังคมและการดารงชวี ิต
4) ทักษะการจัดการงานอาชีพ ทุกรายวิชาให้กับผู้เรียนที่จะเข้าสอบ V-NET เพ่ือเป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผู้เรียนตามสาระและตัวชี้วัดตามโครงสร้างหลักสูตร ทาให้ผู้เรียนมีความสนใจและ มีความ
พรอ้ มในการเข้าสอบ V-NET และผู้เรียนเขา้ รับการทดสอบในแต่ละปีการศึกษาเพิ่มมากข้ึน อาทิเช่นปีการศกึ ษา

52

2558 มผี ้เู ขา้ รบั การทดสอบร้อยละ 95.49 ปีการศึกษา 2559 มผี ู้เข้ารบั การทดสอบร้อยละ 90.38 และ
ปีการศึกษา 2560 มผี ู้เข้ารบั การทดสอบรอ้ ยละ 96.15 เป็นตน้

1.7 สถานศกึ ษากาหนดเป้าหมายในการยกระดบั ค่าเฉลย่ี O–NET/N–NET/V–NET ได้เหมาะสม
และสอดคลอ้ งกับข้อมลู สารสนเทศในปจั จบุ ันหรอื ไม่/อยา่ งไร

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ เมื่อโรงเรียนได้
วิเคราะห์ผลการสอบของปีท่ีผา่ นมาแลว้ รู้ตัวตนของตนเอง จึงกาหนดเป้าหมายในการพัฒนายกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน และสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1ได้กาหนดเป้าหมายในปีการศึกษา
2560 ทุกโรงเรียนต้องมีค่าเฉล่ียสูงกว่าระดับชาติ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒
สถานศึกษาแต่ละโรง กาหนดเป้าหมายการยกระดับผลสัมฤทธ์ิให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ ๓
ส่วนสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ สถานศึกษาทุกแห่งกาหนดเป้าหมายสอดคล้อง
และเหมาะสมกับข้อมูลผลการสอบ O-NET ของโรงเรียนตัวเอง โดยกาหนดเป้าหมายให้เพ่ิมขึ้นจากปีที่ผ่านมา
ร้อยละ ๓ และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ พบว่า การกาหนดเป้าหมายในการยกระดับ
ค่าเฉล่ีย O-NET ของแต่ละโรงเรียน จะดาเนินการโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศจากผลการสอบ O-NET ของปี
การศึกษาที่ผ่านมา ซ่ึงแต่ละโรงเรียนจะกาหนดให้ยกระดับผลสัมฤทธ์ิให้สูงข้ึน หรือมีผลการสอบ O-NET สูงขึ้น
+๓ ในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ทีม่ ีการจัดสอบซ่ึงเป็นไปตามนโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน

ส่วนโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กาหนดเป้าหมาย ร้อยละ ๓
(บางโรงเรยี นใช้ค่าเฉลย่ี ปีฐาน ๓ ปยี ้อนหลงั ท่ีเพ่ิมขน้ึ ) และ สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัยสถานศึกษาได้กาหนดทิศทางการดาเนินงานยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน N-NET โดยกาหนด
เป้าหมายการยกระดับค่าเฉล่ียการสอบเพ่ิมขึ้นทุกสาระไว้ที่ร้อยละ ๒ หรือมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าคะแนน
เฉลี่ยระดับประเทศ สถานศึกษาในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีการกาหนดเป้าหมายเพอื่ เป็น
การยกระดบั คา่ เฉล่ียคะแนน V-NET ใหส้ งู ขึ้นโดยมีการสร้างความตระหนักให้ครผู ู้สอนได้มกี ารวิเคราะห์หลักสูตร
รายวิชาให้เป็นปัจจุบันให้สอดคล้องกับข้อมูลสารสนเทศ ตลอดท้ังสถานศึกษาได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพ
ผู้เรียน เพ่ือเตรียมความรู้การสอบ V-NET จัดสอนเสริมความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป ให้
สอดคล้องกับข้อมูลสารสนเทศในปัจจุบัน เพ่ือท่ีจะให้นักเรียนได้รับความรู้ที่เป็นปัจจุบันมากยิ่งขึ้น และผลการ
ทดสอบ V-NET สามารถนาไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนของครู อันจะส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนกั ศกึ ษาสูงขนึ้ ได้

2. ความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม/ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งท่ดี ใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเด่น จดุ แข็ง นวัตกรรมในการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบายมปี ระโยชน์หรือ

เกิดผลดีต่อผู้เรยี นอย่างไรบา้ ง
สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า โรงเรียนใน

สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 1 ได้ดาเนินการตามนโนบายการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ

53

ทางการภายใต้การนาข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากการทดสอบ O-NET มาวิเคราะห์วางแผนพัฒนา จึงเป็นการ
พัฒนาท่ตี รงเป้าหมาย พรอ้ มรเู้ ท่าทันการสอบ O-NET จากการประชาสัมพันธแ์ ละให้ความสาคญั เป็นอันดบั ตน้

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า แต่ละ
โรงเรียนมรการนาเสนอข้อมูลผ้เู รยี นมาวเิ คราะห์หาจดุ เด่นท่ีควรพัฒนาต่อยอด เพอ่ื สรา้ งนวตั กรรมการเรียนรู้ไปสู่
การพฒั นาผูเ้ รียน

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า นักเรียนมี
ความรู้ความสามารถ, นกั เรียนมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์, นักเรยี นมคี ุณธรรมและมจี ติ อาสา รักความเป็นไทย

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ พบว่า ๑) สถานศึกษาใช้
ระบบข้อมูลสารสนเทศในการวางแผนการดาเนินงานทาให้มีเป้าหมายที่ชัดเจนและพัฒนานักเรียนได้ตรงตาม
เปา้ หมาย ๒) นกั เรียนได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง

สถานศึกษาในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน พบวา่ ทาให้ผู้เรียนเกิดการ
พฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง

สถานศึกษาในสงั กัดสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยนน้ั ผู้เรียน
ได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมในการสอบ ทาให้ตระหนักถึงความสาคัญของการสอบ มีความต้ังใจ
กระตอื รือร้นในการสอบมากขนึ้ มกี จิ กรรมการเรียนการสอนเสรมิ และการจดั โครงการตวิ เขม้ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
N-NETประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ชว่ ยยกระดับผลสัมฤทธ์ิ N-NET ให้สงู ข้ึน และทาให้ผเู้ รียนรจู้ ัก
คดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบได้

สถานศึกษาในสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา พบว่า ผู้เรียนมีผลคะแนนเฉล่ียจาก
คะแนน V-NET เพ่ิมมากขนึ้ เนือ่ งจากผเู้ รยี นได้ผ่านการพฒั นาศักยภาพผ้เู รยี น เพ่ือเตรียมความรูก้ ารสอบ V-
NET จึงทาให้สามารถสรา้ งองค์ความรู้ที่ต่อยอดได้ และเกิดประโยชนต์ ่อผ้เู รียนเองในอนาคต

2.2 รายชือ่ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่างทด่ี ใี นการดาเนนิ งานตาม
ประเด็นนโยบายดังน้ี (ตารางที่ ๑๒)

รายชื่อหนว่ ยงาน/ ทีต่ ้ัง รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาต้นแบบหรอื หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งที่ดี

สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๑

1. โรงเรยี นบ้านสามโค อาเภอเขวาสนิ รินทร์ ใชข้ ้อมูลเป็นฐานในการวางแผนพัฒนาภายใต้การ
สร้างเครือขา่ ยความร่วมมือและการแลกเปลีย่ น
เรียนรรู้ ว่ มกนั

2. โรงเรียนบ้านจรวย อาเภอลาดวน ใชข้ อ้ มลู เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาภายใต้การ
สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื และการแลกเปลยี่ น
เรยี นรูร้ ่วมกนั

54

รายชอื่ หน่วยงาน/ ที่ตงั้ รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาตน้ แบบหรือ หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งท่ดี ี

สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต ๑ (ต่อ)

3.โรงเรียนอนุบาลสรุ ินทร์ อาเภอเมอื งสุรนิ ทร์ ใช้ขอ้ มูลเป็นฐานในการวางแผนพัฒนาภายใต้การ
สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือและการแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้รว่ มกนั

4. โรงเรยี นบา้ นหนองจิก อาเภอศขี รภมู ิ ใช้ขอ้ มูลเปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนาภายใต้การ
สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมือและการแลกเปลย่ี น
เรยี นรรู้ ว่ มกนั

5. โรงเรยี นบ้านรัตนะ อาเภอเมืองสรุ ินทร์ ใชข้ ้อมลู เปน็ ฐานในการวางแผนพฒั นาภายใต้การ
สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือและการแลกเปลย่ี น
เรยี นรู้ร่วมกนั

6. โรงเรียนบา้ นโคกปราสาท อาเภอเมืองสุรินทร์ ใช้ข้อมลู เปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนาภายใตก้ าร
สรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือและการแลกเปลย่ี น
เรียนรู้ร่วมกนั

7. โรงเรยี นบ้านตาเมาะ อาเภอลาดวน ใช้ขอ้ มลู เปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนาภายใตก้ าร
สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื และการแลกเปล่ียน
เรียนรูร้ ว่ มกนั

8. โรงเรียนบ้านสังแก อาเภอสาโรงทาบ ใชข้ ้อมูลเปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนาภายใต้การ
สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือและการแลกเปลี่ยน
เรยี นรรู้ ่วมกนั

9. โรงเรยี นบา้ นต้ังใจ อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ ใชข้ ้อมูลเปน็ ฐานในการวางแผนพัฒนาภายใตก้ าร
สร้างเครอื ข่ายความร่วมมอื และการแลกเปล่ียน
เรยี นรูร้ ว่ มกนั

10. โรงเรยี นบ้านใตฆ้ ้องโนนจกิ อาเภอเมอื งสุรินทร์ ใชข้ ้อมูลเปน็ ฐานในการวางแผนพฒั นาภายใตก้ าร
สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื และการแลกเปลี่ยน
เรยี นรรู้ ่วมกนั

55

รายชือ่ หน่วยงาน/ ทต่ี ้ัง รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาต้นแบบหรือ หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม

แบบอย่างทดี่ ี

สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๒

1. บา้ นสาโรง อ.สนม จ.สรุ ินทร์ ร.ร.ขนาดเล็กทม่ี ีการบรหิ ารจัดการการเรียน

การสอนทด่ี ี จนมคี ะแนนผลสัมฤทธิ์สงู

2. บา้ นข้เี หล็ก อ.โนนนารายณ์ จ.สรุ นิ ทร์ ร.ร.ขนาดเลก็ ที่มีการบรหิ ารจัดการการเรยี น

การสอนที่ดี จนมคี ะแนนผลสัมฤทธิ์สูง

3. บ้านหนองครก อ.โนนนารายณ์ จ.สรุ ินทร์ ร.ร.ขนาดเล็กทม่ี กี ารบรหิ ารจัดการการเรียน

การสอนที่ดี จนมคี ะแนนผลสมั ฤทธิ์สงู

4. บา้ นโสกแดง อ.สนม จ.สรุ ินทร์ เปน็ ร.ร.ทใี่ ชก้ ารเรียนการสอนแบบ DLTV

เพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ

สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓

๑.รร.บ้านลาดวนพฒั นา ต.บา้ นไทร อ.ปราสาท จดั การเรยี นการสอนผา่ นระบบ DLTV ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ได้รับรางวลั ระดับชาติ

๒. รร.บา้ นปราสาท ต.ปราสาททนง จัดการเรียนการสอนคณติ ศาสตร์ ชน้ั ป.6 ไดอ้ ย่าง
อ.ปราสาท มปี ระสิทธิภาพ ผลสัมฤทธส์ิ งู ตดิ ต่อกันทุกปี

๓. รร.บา้ นโชคนาสาม ต.โชคนาสาม อ.ปราสาท จดั การเรยี นการสอนดา้ นแนะแนวได้เปน็ อยา่ งดี
เป็นศนู ย์แนะแนวของเขตพื้นทแี่ ละศนู ย์ตวั อยา่ งใน
การเรียนรู้ ในการแนะแนวของ สพฐ.

สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๓๓

๑. รร.สริ นิ ธร อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ มีผลการสอบ O-NET เพิม่ ขึ้นอย่างตอ่ เนื่อง
มีผลการสอบ O-NET เพิม่ ขน้ึ อย่างตอ่ เนื่อง
๒. รร.สรุ วิทยาคาร อ.เมือง จ.สุรินทร์ มผี ลการสอบ O-NET เพิ่มขึ้นอยา่ งต่อเน่ือง

๓. รร.จอมพระประชาสรรค์ อ.เมือง จ.สรุ นิ ทร์

สงั กัดสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน

1. ร.ร.วาณชิ ย์นกุ ลู ๑๐ ถ.ศรจี ุมพล ต.ใน ความสามารถทางด้านภาษาจีน ภาษาอังกฤษ
2. ร.ร.พระกุมารสรุ นิ ทร์ เมอื ง อ.เมอื ง จ.สุรินทร์ ความสามารถทางดา้ นภาษาอังกฤษ
3. ร.ร.สรุ นิ ทร์ศกึ ษา ๓๒๐๐๐ ความสามารถทางดา้ นภาษาจนี ภาษาอังกฤษ

๖๒ หมู่ ๑ ต.แสลงพันธ์
อ.เมือง จ.สุรินทร์
๓๒๐๐๐

๒/๒ ถ.ปอยปรงิ ต.ใน
เมือง อ.เมือง จ.สรุ ินทร์
๓๒๐๐๐

56

รายชอื่ หน่วยงาน/ ทีต่ ั้ง รายการและรายละเอยี ด
สถานศึกษาตน้ แบบหรอื หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอย่างทีด่ ี

สังกัดสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน (ตอ่ )

๔. ร.ร.แงงกวง ๖๑๕ หมู่ ๑๓ ถ.เทศบาล ความสามารถทางด้านภาษาจีน
๒ ต.ระแรง อ.ศขี รภมู ิ จ.
สรุ นิ ทร์ ๓๒๑๑๐

สงั กัดสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

1. กศน.อาเภอชมุ พลบรุ ี ๓๒๙ ม.๑ ต.ชมุ พลบุรี การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสริม
และการจัดโครงการติวเข้มยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
อ.ชมุ พลบุรีจ.สุรินทร์ N-NET ประจาภาคเรียน ๒/๒๕๖๐ เพ่ือยกระดับ
๓๒๑๙๐ ผลสัมฤทธิ์ N-NET ให้สูงขึ้น รอ้ ยละ ๒ ทุกสาระวิชา
และรายวิชาท่ีตา่ กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ใน

ภาคเรยี น ๒/๒๕๖๐

2.กศน.อาเภอปราสาท ต.กงั แอน อ.ปราสาท จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเสรมิ และโครงการตวิ
จ.สุรนิ ทร์ 32140 เข้มเติมเตม็ ความรู้ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

3. กศน.อาเภอพนมดงรกั บา้ นพนมดงรัก หมู่ ๑๘ จัดกจิ กรรมเน้นใหผ้ ู้เรยี นมที ักษะการคิดวิเคราะห์

ต.บักได อ.พนมดงรัก จัดทาแบบฝึกหัดและแบบทดสอบโดยเนน้ ด้านที่

จ.สรุ นิ ทร์ ๓๒๑๔๐ นักเรยี นอ่อนหรอื มีปัญหาเพ่อื นามาฝึกและพฒั นา
นกั เรียนให้เกิดทักษะและคนุ้ เคยกับข้อสอบหรอื

แบบฝกึ หดั โดยฝึกทาซ้าๆหลายๆครั้ง

สังกดั สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. วทิ ยาลัยเทคนคิ สุรินทร์ 346 ถ.หลักเมือง อ.เมอื ง มรี ูปแบบการจดั การเรยี นการสอนเปน็ โครงการ

จ.สรุ นิ ทร์ ผู้เรยี นไดบ้ ูรณาการจากรายวชิ าทีเ่ รียนสูก่ ารจัดทา

2. วิทยาลยั อาชีวศึกษา ถ.เทศบาล 1 ต.ในเมือง สิง่ ประดษิ ฐ์ นวตั กรรม ก่อใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์จิ ากการ
เรียน
สุรินทร์ อ.เมือง จ.สรุ นิ ทร์

3. ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย
สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า ๑) หลาย

โรงเรยี นมีครไู มค่ รบช้นั ๒) หลายโรงเรียนไมม่ คี รใู นสาขาวชิ าหลกั ทต่ี อ้ งการพฒั นาคณุ ภาพ

สถานศึกษาในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) ครูผู้สอน
ถูกเบียดบังชั่วโมงการสอน จากการรับภาระการรายงานข้อมูลในระบบต่างๆตามนโยบาย ๒) นโยบายภาครัฐ
หล่ังไหลเข้ามาในสถานศึกษามากเกินไป ทาให้มีเป้าหมายท่ีไม่ชัดเจน สร้างภาระงานให้สถานศึกษา ครู และ
นักเรียนต้องได้รับผลกระทบ ๓) ครูและนักเรียนกลายเป็นกลุ่มเป้าหมาย ตามภาระงานของแต่ละหน่วยงานที่
เก่ียวขอ้ งมากเกนิ ไป

57

สถานศึกษาในสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบวา่ การคาดหวัง
ผลสูงมาก ทาให้การดาเนินการตามนโยบายลาบาก บริบทบางพ้นที่ในการจัดการศึกษาไม่เท่าเทียมกัน มี
นโยบายมากเกนิ ไป ทาให้การปฏบิ ตั ไิ ม่คอ่ ยได้ผล

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต ๓๓ พบว่า ๑) ในระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษา ในการดาเนินการนิเทศ ตดิ ตามชว่ ยเหลือครู จะดาเนินการชว่ ยเหลอื ครูได้จานวนนอ้ ย ในแตล่ ะครง้ั ๒)
ในระดบั โรงเรียนครูมีภาระหน้าทอ่ี น่ื ๆ มาก ทาให้มีเวลาทจ่ี ะดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนลดลง

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า
นกั ศึกษามีความร้พู ื้นฐาน และช่วงอายุที่แตกต่างกันทาให้การเรยี นรู้ทาได้ไม่เทา่ กัน กศน. ได้สง่ เสริม สนับสนุน
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลในการขับเคลอื่ นงานในพ้ืนที่จังหวดั สุรินทร์ พบว่าการจัดการเรียนการสอนไมเ่ ป็นไป
ตามแผนการเรียนการสอน นโยบาย กศน.มุ่งดาเนินงานกับภาคีเครือข่ายมากเกนิ ไปสง่ ผลต่อการดาเนินงานตาม
แผน นักศกึ ษาบางส่วนเป็นผู้มีงานทา ประกอบอาชพี ทาใหม้ ีเวลามาร่วมกจิ กรรมค่อนข้างน้อย นกั ศึกษาท่อี อก
กลางคัน ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ มาเรียน กศน.เพม่ิ ขน้ึ ซง่ึ นกั ศกึ ษากลุ่มนี้มปี ญั หาตดิ ตามมา นักศกึ ษาขาดทักษะการ
คิดวเิ คราะห์เนื่องจากแบบทดสอบ N-NET จะเน้นการคิดวเิ คราะห์หาคาตอบมากกว่าการจดจา คาถามประเภท
ความจามีน้อยมาก เพราะฉะน้ัน สถานศึกษาจาเป็นต้องฝึกผู้เรยี นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์จึงจะสามารถตอบ
คาถามได้ถูกตอ้ ง

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบว่า การสอบ V-NET ทาให้
นักศึกษามเี วลาฝกึ งานน้อยลง เพราะต้องมเี ตรียมตัวเพ่อื สอบ V-NET ๑) ผูเ้ รยี นระดบั ปวช.3 และปวส. 2 ทอี่ ยู่
ในระหว่างฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ในสถานประกอบการ ซึง่ ผู้เรียนไม่ไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพผ้เู รยี น เพือ่ เตรียม
ความรู้การสอบ V-NET วิชาความรู้ดา้ นสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไปจากครูที่มีความชานาญก่อนเขา้ สอบ
V-NET ในสถานศึกษา ส่งผลกระทบอย่างย่ิงต่อผลคะแนนการสอบของผู้เรียน ๒) เวลาในการพัฒนาศักยภาพ
ผู้เรียน เพ่ือเตรียมความรู้การสอบ V-NET อบรมสอนเสริมความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป มี
ระยะเวลาไม่เพียงพอ ส่งผลกระทบต่อผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนไม่สามารถต่อยอดองค์ความรู้ได้เท่าที่ควร ซึ่ง
สถานศึกษาควรเพิ่มระยะเวลาในการจัดการอบรมในครง้ั นี้ให้มากข้นึ เพื่อเป็นการทบทวนความรู้ และสร้างองค์
ความรใู้ หมๆ่ ใหก้ บั ผู้เรยี น ๓) นกั เรียนนักศึกษาไม่ตัง้ ใจในการสอบ ไม่ให้ความสาคญั ในการสอบ V-NET

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน พบว่า ขาดแคลนบุคลากรที่
เช่ียวชาญทางด้านภาษา

4. ขอ้ เสนอแนะ
4.1 ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /พฒั นานโยบาย
สถานศึกษาในสังกัดสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า สทศ. ควรจดั

สอบเพ่อื วัดพฒั นาการของนกั เรยี น (สอบ ม.๑, ม.๒, ม.๔, ม.๕) ไม่ควรสอบ ม.๓, ม.๖
สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๒ พบวา่ ๑) หน่วยงาน

ภาครฐั ควรบรู ณาการหรอื ลดภาระงานที่เก่ียวข้องกบั ครแู ละนักเรยี นให้น้อยลง ๒ )จั ดส ร ร ง บ ปร ะ ม าณ แล ะ

58

บคุ ลากรให้เพียงพอ และสามารถใช้พัฒนาผูเ้ รยี นได้อย่างจรงิ จงั และยั่งยืน ๓) หน่วยงานต้นสังกัดสนับสนุนดา้ น
การพฒั นาครผู ู้สอน ใหม้ คี วามรแู้ ละประสบการณ์ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

สถานศึกษาในสังกดั สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๓ พบวา่ การคาดหวัง
ผลให้อยู่ในระดับกลาง ๆ การจัดการศึกษา ควรเป็นเรอื่ งของส่วนทอ้ งถิ่นเป็นส่วนใหญ่ นโยบายไมต่ ้องมาก เน้น
เฉพาะทสี่ าคัญ ๆ และควรเกดิ จากความตอ้ งการของท้องถน่ิ

สถานศึกษาในสงั กัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า ควร
จัดกิจกรรมโครงการสอนเสริมเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธ์ิในสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง ผู้บริหาร
สถานศึกษา นิเทศ กากับ ติดตามการออกแบบการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลของ
ครูผู้สอนให้มีความสอดคล้องกันและเพิ่มผลการนิเทศให้ครูปรับปรุง แก้ไขอย่างต่อเน่ือง ครูผู้สอนต้องให้
ความสาคัญกับการประเมินเพ่ือปรับปรุงและพฒั นาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการนาผลการประเมนิ มาใช้ในการพฒั นา
คุณภาพผู้เรียนแต่ละคนอย่างแท้จริง ครูผู้สอนควรจัดโครงการให้สอดคล้องกับนักศึกษาแต่ละกลุ่มให้ได้ร่วม
กิจกรรมครบถ้วน ครผู ู้สอนควรจัดทาหรือหาแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นาความรู้ความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตร ในกลุ่มสาระวิชาท้ัง ๕
สาระ

สถานศึกษาในสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา พบว่า สทศ. ควรจัดสอบ V-NET ให้
มีความสมั พันธ์สอดคล้องการแนวคดิ การจัดการศึกษามุ่งสู่อาชีพ ๑) อยากให้นาผลสอบ V-NET ไปใช้ประโยชน์
ทางการศึกษาอย่างจริงจัง เพราะมคี ่าใช้จ่ายสูง 2) ควรปรับปรุงข้อสอบให้สอดคล้องกับหลกั สูตรการเรยี นการ
สอนในแตล่ ะระดับ 3) ข้อสอบน่าจะวัดทางดา้ นวิชาชพี มากวา่ วชิ าสามญั เพราะเปน็ เดก็ ทเี่ รียนทางด้านสายอาชีพ
4) ควรหาวธิ ีการอืน่ ในการวัดผลประเมินผลการเรยี นเพอ่ื พฒั นาผเู้ รียนใหต้ รงตามความตอ้ งการ

4.2 ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า ควรมีครู ส.

(สายสนบั สนนุ การสอน เพือ่ ใหค้ รู ป. (สายปฏบิ ตั ิการสอน) ได้ทางานด้านคณุ ภาพเต็มเวลาเต็มศกั ยภาพ

สถานศึกษาในสังกัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต ๒ พบวา่ ๑)

สถานศึกษามีการพัฒนาบุคลากร มกี ารนิเทศภายในอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๒) สถานศกึ ษามีการพัฒนาผเู้ รียนและ

ประเมินผลการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง เพื่อพัฒนาจุดที่ควรพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพทางการเรียนรู้ และมี

คุณลักษณะอันพึงประสงคย์ งิ่ ขึ้นตามท่ีหลักสูตรกาหนด

สถานศึกษาในสังกดั สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต ๓ พบวา่ นโยบายควร

เป็นนโยบายตอ่ เนื่อง และปฏบิ ัตไิ ด้จริง ส่งผลตอ่ นกั เรยี น และสามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้

สถานศึกษาในสังกดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยม เขต ๓๓ พบว่า ๑) ควรจัดสรรให้มบี คุ ลากร

ให้ครบตามกรอบโครงสร้างของเขตพื้นที่การศึกษา ๒) ควรลดกิจกรรมพิเศษจากส่วนกลางหรือหน่วยงานอ่ืนที่

มอบหมายให้ครูทา

59

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบว่า ควรร่วมมือกันกับกรมฝีมือ
แรงงาน ดาเนินการจดั สอบ V-NET ในสถานประกอบการโดยใช้ข้อสอบทีส่ ัมพนั ธ์เก่ียวข้องกันกบั การไดร้ บั ใบผ่าน
งานในคณุ ภาพการของการศึกษาสายอาชีพ เพอื่ ใชใ้ นการสมัครงานหรอื การมงี านทาของนักศกึ ษา

1.2 การยกระดับคะแนนเฉลยี่ PISA
1.2.1 การเตรยี มความพรอ้ มของครเู พอ่ื รองรบั การทดสอบ PISA (เช่น การศกึ ษาเรียนรแู้ บบทดสอบPISA)
KPI : ร้อยละของสถานศึกษาทุกระดับท่ีได้เตรียมความพรอ้ มของครเู พอ่ื รองรับการทดสอบ PISA
(เชน่ การศึกษาเรียนรู้แบบทดสอบ PISA)
1.2.2 การปรบั กระบวนการเรียนการสอนท่สี อดคล้องกับการทดสอบ PISA
KPI : ร้อยละของสถานศึกษาทีเ่ ปิดสอนชนั้ ม.3 ไดป้ รบั กระบวนการเรยี นการสอนที่สอดคล้อง
กบั การทดสอบ PISA
1.2.3 การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนใหน้ กั เรยี นฝกึ ทาแบบทดสอบตามแนวทางของ PISA
KPI : รอ้ ยละของสถานศึกษาที่เปดิ สอนช้ัน ม.3 ไดจ้ ดั กิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือเสรมิ สรา้ ง
ประสบการณก์ ารทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แกผ่ ูเ้ รยี น

ผลการดาเนินงาน
1. ผลการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบายและตวั ชวี้ ดั
1.1 จานวนสถานศึกษาทมี่ กี ารดาเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการและตัวชี้วัด(ตารางท่ี ๑๓)

จานวน สถานศกึ ษาทีม่ ี สถานศึกษาที่มนี กั เรียนอายุ 15

หนว่ ยงาน/ จานวน สถานศึกษา สถานศกึ ษาทเ่ี ตรียม นักเรียนอายุ 15 ปี ปี (ม.ต้น,
สถานศึกษา สถาน ทมี่ นี กั เรยี น ความพร้อมให้กบั ครู (ม.ตน้ , ม.ปลาย, ม.ปลาย, ปวช.) ได้จดั กจิ กรรม
ศกึ ษา อายุ 15ปี ปวช.)ไดป้ รับ
(สังกดั ) ท้งั หมด เพือ่ รองรับการ กระบวนการเรียน การเรยี น
(ม.ตน้ , ทดสอบ PISA การสอนท่ีสอดคลอ้ ง การสอนเพือ่ เสรมิ สรา้ ง
ม.ปลาย, ประสบการณก์ ารทดสอบตาม

(แหง่ ) ปวช.) กับการทดสอบ PISA แนวทางของการทดสอบ PISA

ทงั้ หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

(แห่ง) (แห่ง) (แห่ง) (แหง่ )

สพป. ๗๔๖ ๒๑๓ ๒๑๓ ๑๐๐ ๒๑๓ ๑๐๐ ๒๑๓ ๑๐๐

สพม. ๘๕ ๘๕ ๘๕ ๑๐๐ ๘๕ ๑๐๐ ๘๕ ๑๐๐

สศศ. - - --- - - -

สช.(ร.ร.ในระบบ) ๑๐ ๓ --- - - -

สกอ.(ร.ร.สาธติ ฯ) - - --- - - -

สอศ.(รฐั บาล) - - --- - - -

สอศ.(เอกชน) - - --- - - -

อ่ืนๆ (ระบ)ุ ................ - - - - - - - -

60

1.2 สถานศึกษามีการเตรยี มความพร้อมให้กบั ครู เพ่ือรองรบั การทดสอบ PISA ดังนี้
สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า โรงเรียน

ทราบขอ้ มูลจากเขตพ้ืนท่เี กีย่ วกบั การประเมิน PISA ซ่ึงจะมีการประเมนิ ในปี 2018 จึงมกี ารเตรียมความพรอ้ ม
อย่างเป็นระบบผ่านกระบวนการเรียนการสอนในทกุ ระดับช้ันอยา่ งต่อเนื่องไมใ่ ช่ว่าเตรยี มเฉพาะนักเรยี นท่จี ะอายุ
ย่างเขา้ ปที ่ี 15 เทา่ น้ัน

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า พัฒนาครู
ภาษาไทยเพือ่ จดั การเรยี นการสอนตามแนวทาง PISA ทกุ โรงเรียนในสังกดั

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ พบว่า จัดกิจกรรม
การเรียนการสอนท่ีสอดคล้องแนว PISA

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม เขต ๓๓ พบว่า ๑) นานโยบายและ
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนเพ่ือยกระดับผลการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ของ สพม.
๓๓ ประกาศและชี้แจงในท่ีประชมุ ประจาเดือนให้ครูและบุคลากรทุกคนในโรงเรยี นทราบ ๒) สร้างความรู้ความ
เข้าใจและสร้างความตระหนักให้กับครูผู้สอน เกี่ยวกับการรู้และเข้าใจเร่ือง PISA และความสาคัญของผลการ
ทดสอบ PISA ที่มีตอ่ ประเทศ ๓) นิเทศ ติดตาม การจดั การเรยี นการสอนของครูในกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ท่ีมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นการฝึกทักษะการคิด และฝึกให้นักเรียนได้ทา
ข้อสอบตามแนว PISA และ PISA Like ๔) กระตุ้นและติดตามให้ครูได้เข้าฝึกทาตัวอย่างข้อสอบ PISA แบบ
ออนไลน์ในเว็บของ สสวท.

1.3 สถานศึกษาทีม่ ีนกั เรยี นอายุ 15 ปี (ม.ตน้ , ม.ปลาย, ปวช.) มกี ารปรบั กระบวนการเรียนการ
สอนทีส่ อดคล้องกับการทดสอบ PISA ดงั นี้

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า โรงเรียนใน
สังกัดทุกโรงมีการปรับกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียน
โดยเฉพาะกระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ปญั หาเชิงเหตุผลซ่งึ มีความจาเปน็ ต่อการประเมนิ แบบ PISA

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า ๑) จัดทา
แผนการเรียนการสอนให้สอดคล้องตามแนว PISA ๒) มีเครือข่ายโรงเรียนท่ีใช้แนวทาง PISA ร่วมกัน เพ่ือ
ถ่ายทอดประสบการณ์ ข้อมูล และแนวคดิ

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยม เขต ๓๓ พบว่า ๑) กระตุ้นและส่งเสริมให้
ครจู ดั กิจกรรมท่ีเน้นการฝกึ ทกั ษะการคิดจากสถานการณป์ ัญหา ๒) จัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ เ่ี น้นการฝึกให้นักเรยี น
ไดท้ าและรลู้ ักษณะขอ้ สอบตามแนว PISA และ PISA Like ท้งั แบบกระดาษและด้วยคอมพิวเตอร์

1.4 สถานศึกษาท่มี นี ักเรียนอายุ 15 ปี (ม.ต้น, ม.ปลาย, ปวช.)จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อ
เสริมสร้างประสบการณ์การทดสอบตามแนวทางของการทดสอบ PISA แก่ผู้เรยี น ดังน้ี

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ พบว่า การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียนท่ีจะสนองตอบต่อการทดสอบตามแนวทาง PISA จะเริ่มต้ังแต่การ

61

ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทาง Active Learning รวมถึงการใช้สื่อและต้ังประเด็น
คาถามท่ีมุง่ เนน้ ให้นักเรยี นได้ใช้กระบวนการคิด รวมทั้งเครอ่ื งมือการประเมินผลทีใ่ หน้ ักเรียนแสดงเหตผุ ลในการ
หาคาตอบ

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ พบว่า กิจกรรม
แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และถอดบทเรียนตามแนวทาง PISA ร่วมกัน

สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยม เขต ๓๓ พบว่า ๑) จัดกิจกรรมที่ส่งเสริม
การอ่านเอาเร่ือง (ตามแนวการรู้เร่ืองการอ่าน) ในกิจกรรมตอนเช้า หน้าเสาธง กิจกรรมชุมนุม และกิจกรรม
ห้องสมดุ เปน็ ต้น ๒) สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นอ่านความรู้ ข่าวสาร เหตุการณ์ ประเด็นตา่ ง ๆ จากสื่อดิจทิ ัล

2. ความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม/ตน้ แบบหรือแบบอย่างท่ดี ีในการดาเนินงานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเด่น จุดแข็ง นวตั กรรมในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย มปี ระโยชน์หรอื

เกดิ ผลดตี อ่ ผู้เรยี นอย่างไรบ้าง
สถานศึกษาในสงั กัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๑ พบว่า ความโดดเด่น

ของโรงเรียนในสังกัดที่ส่งผลต่อการดาเนินการตามนโยบาย คือ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตาม
แนวทาง Active Learning ท่ีนักเรียนได้เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยต้นเองผ่านกิจกรรมท่ีครูออกแบบที่
สนองตอบต่อการประเมินเชิง PISA

สถานศกึ ษาในสังกดั สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๒ พบว่า กระบวนการ
เรียนการสอน PBL สามารถพฒั นาให้ผูเ้ รยี นอา่ นออกเขยี นได้ และทาขอ้ สอบแบบเขียนตอบ อธบิ ายความได้ดขี น้ึ

สถานศกึ ษาในสังกัดสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยม เขต ๓๓ พบวา่ ๑) การสรา้ งความเขม้ แข็ง
เชิงนโยบายของผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษา และกากับติดตามการนิเทศติดตามของผู้นิเทศระดับเขตพ้ืนที่
การศึกษา ๒) ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด มีความตระหนักรู้และให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อนนโยบายเป็น
อย่างดี ๓) การมีโรงเรียนท่ีเคยเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สุ่มสอบ PISA ๒๐๑๕ จานวน ๓ โรงเรียน ท่ีสามารถเป็น
ต้นแบบการขับเคลื่อน ให้คาปรึกษาในการเตรียมความพร้อมนักเรียน และการเตรียมระบบทดสอบด้วย
คอมพวิ เตอรแ์ ก่โรงเรยี นอ่ืน ๆ ได้ ๔) มบี คุ ลากรในสกั งัด สพม.๓๓ ท่ีเปน็ วิทยากรหรือคณะทางานของ สพฐ. ดา้ น
ต่าง ๆ ที่เก่ียวกับ PISA ที่พร้อมให้คาแนะนาแก่ครูในสังกัด เช่น ศึกษานิเทศก์ ๒ คน (ศน.วิไลวรรณ ศน.ณัฐ
กานต์) เป็นคณะทางานของ สพฐ. ในการพัฒนาส่ือต้นแบบ (แบบฝึกทักษะ) จากผู้เชี่ยวชาญของ สสวท. ครู
ประสงค์ โสมรัตนานนท์ ครูเช่ียวชาญสาขาภาษาไทย โรงเรียนสิรินธร ได้รับคัดเลือกเป็นวิทยากร PISA ของ
สพฐ. ครูในโรงเรียนโนนเทพ และท่าตมู ประชาเสริมวิทย์ เป็นตัวแทนเพ่อื เปน็ คณะทางานตรวจข้อสอบ PISA ครู
ทีร่ ับผิดชอบดูแลระบบทดสอบจากโรงเรียนที่เคยเป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีสุ่มสอบ PISA ๒๐๑๕ จานวน ๓ โรงเรียน
(รร.สนิ รนิ ทร์วิทยา, รร.พนาสนวทิ ยา และ รร.ประดูแ่ ก้วประชาสรรค์)

62

2.2 รายชื่อหน่วยงาน/สถานศึกษาทเ่ี ปน็ ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งท่ดี ี ในการดาเนินงานตามประเด็น

นโยบายดงั น้ี (ตารางที่ ๑๔)

รายชอ่ื หนว่ ยงาน/ ท่ีตัง้ รายการและรายละเอียด
สถานศกึ ษาต้นแบบหรือ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอย่างทด่ี ี

สพป.สร.๑

1. โรงเรียนบ้านดงเคง็ อาเภอจอมพระ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมนิ ผลตามแนว PISA

2.โรงเรยี นบ้านโนนสวรรค์ อาเภอสาโรงทาบ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมนิ ผลตามแนว PISA

3.โรงเรยี นบ้านผอื อาเภอจอมพระ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมนิ ผลตามแนว PISA

4. โรงเรียนบา้ นหนองฮะ อาเภอสาโรงทาบ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมินผลตามแนว PISA

5. โรงเรยี นบ้านม่วง อาเภอจอมพระ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมินผลตามแนว PISA

6. โรงเรียนบา้ นขอนแก่น อาเภอสาโรงทาบ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมินผลตามแนว PISA

7. โรงเรยี นบ้านสดอ อาเภอเขวาสนิ รินทร์ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมนิ ผลตามแนว PISA

8. โรงเรียนบ้านโคกอารักษ์ อาเภอเมืองสรุ นิ ทร์ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมินผลตามแนว PISA

9. โรงเรยี นบ้านตระแสง อาเภอเมอื งสุรินทร์ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมนิ ผลตามแนว PISA

10. โรงเรยี นศิริราษฎรว์ ทิ ยา อาเภอลาดวน การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามแนวทาง
Active Learning และประเมนิ ผลตามแนว PISA

63

รายชอ่ื หน่วยงาน/ ทีต่ ้งั รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาต้นแบบหรือ หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งที่ดี อ.สนม จ.สุรินทร์ ดา้ นการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
สพป.สร.๒ อ.ชมุ พลบุรี จ.สุรินทร์ ท่สี อดคล้องกับแนวทาง PISA
1. บา้ นอาเลา อ.รัตนบุรี จ.สุรนิ ทร์
ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนวชิ าคณติ ศาสตร์
2. บ้านไพรขลา ทีส่ อดคลอ้ งกับแนวทาง PISA

3. บ้านหนองบวั บาน ด้านการจัดการเรยี นการสอนวิชาภาษาไทย
โดยใชก้ ระบวนการ PBL
สพม.๓๓
1. ร.ร.สริ นิ ธร อ.เมือง จ.สุรินทร์ ๑. โรงเรียนเป็นศูนย์พฒั นาการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาตร์
ทมี่ ีความพร้อมสูงในการบริการวชิ าการด้าน
วิทยาศาสตร์แกโ่ รงเรียนอน่ื ๆ ในสงั กดั

๒. การมจี านวนครทู ี่มคี วามเชยี่ วชาญและ
ชานาญในการปรบั การสอนทเี่ น้นกจิ กรรมตาม
แนวทางของ PISA และส่งผลใหน้ ักเรยี นไดร้ บั
รางวลั หลายรายการในดา้ นหรอื ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับ
PISA

๓. การเปน็ ผูน้ าดา้ นวชิ าการและการทดสอบดว้ ย
ระบบคอมพวิ เตอร์

๔. ความทันสมัยของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์
และความเรว็ ของระบบอินเตอร์เนต็

๕. มีผูบ้ รหิ ารฝ่ายวชิ าการทีม่ ีความชานาญในการ
บรหิ ารระบบการจัดสอบ

64

รายชื่อหน่วยงาน/ ท่ตี ง้ั รายการและรายละเอยี ด
สถานศึกษาต้นแบบหรือ หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งที่ดี อ.เมือง จ.สุรนิ ทร์ ๑. โรงเรยี นเป็นศูนยก์ ารพฒั นาการเรยี นรู้
2. ร.ร.สรุ วทิ ยาคาร คณิตศาสตรท์ ่ีมีความพร้อมสงู ในการบริการ
วิชาการดา้ นคณิตสาสตร์แกโ่ รงเรียนอน่ื ๆ ใน
3. ร.ร.โนนเทพ สงั กัด
๔. ร.ร.ศรีขรภมู พิ ิสัย
๒. การมีจานวนครูท่มี คี วามเชี่ยวชาญและ
๕. ร.ร.สนิ รนิ ทรว์ ทิ ยา ชานาญในการปรบั การสอนท่เี น้นกจิ กรรมตาม
แนวทางของ PISA และสง่ ผลให้นักเรยี นได้รบั
รางวลั หลายรายการในด้านหรือทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั
PISA

๓. การเป็นผู้นาดา้ นวชิ าการและการทดสอบดว้ ย
ระบบคอมพวิ เตอร์

๔. ความทนั สมัยของห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์
และความเรว็ ของระบบอินเตอรเ์ นต็

๕. มีผ้บู ริหารฝ่ายวิชาการทมี่ ีความชานาญในการ
บริหารระบบการจดั สอบ

อ.โนนนารายณ์ จ.สุรนิ ทร์ มคี รทู ่ีชานาญการในการสอนทีเ่ น้นและ
สอดแทรกวธิ กี ารทบ่ี รู ณาการกับการประเมิน
PISA

อ.ศขี รภมู ิ จ.สุรินทร์ ๑. โรงเรียนเป็นศูนย์พฒั นาการเรียนรู้ภาษาไทย
ทม่ี คี วามพร้อมในการบรกิ ารแก่โรงเรียนอื่น ๆ

๒. มีครทู ีช่ านาญการในการสอนทเี่ น้นและ
สอดแทรกวิธีการทีบ่ รู ณาการกับการประเมนิ
PISA

อ.เขวาสินรนิ ทร์ จ.สุรินทร์ ๑. โรงเรียนท่ีเคยถกู สุ่มสอบจริง

๒. ความเชี่ยวชาญของครทู ี่รับผิดชอบและดแู ล
ระบบการสอบด้วยคอมพิวเตอร์

๓. ความทันสมยั ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์
และความเร็วของระบบอินเตอรเ์ นต็

65

รายช่อื หนว่ ยงาน/ ทีต่ ง้ั รายการและรายละเอยี ด
สถานศกึ ษาตน้ แบบหรอื หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จดุ แข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งทีด่ ี

๖. ร.ร.ประด่แู กว้ ประชาสรรค์ อ.โนนนารายณ์ จ.สรุ ินทร์ ๑. โรงเรียนทเ่ี คยสมุ่ สอบจรงิ

๒. ความชานาญในการบริหารระบบการจัดสอบ
PISA ๒๐๑๕ และการเตรียมความพรอ้ มแก่
นกั เรียน

๗. ร.ร.พนาสนวทิ ยา อ.ลาดวน จ.สรุ ินทร์ ๑. โรงเรียนทเี่ คยสมุ่ สอบจริง

๒. การเตรียมความพรอ้ มแกน่ กั เรียนกลมุ่ สุ่ม
สอบ

3. ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย

- นักเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสว่ นหนง่ึ ขาดแรงจงู ใจในการใฝ่เรียนรู้
- ส่อื การเรียนรู้ที่ใชใ้ นการจัดกิจกรรมคอ่ นข้างนอ้ ย
- ครูผสู้ อนมภี าระงานอื่นมาก นอกเหนอื งานสอน และการบริหารจัดการเวลา
- รูปแบบการประเมนิ ตามแนว PISA และลกั ษณะรูปแบบขอ้ สอบเป็นเร่อื งใหม่สาหรับครูและนักเรียน
จึงอาจตอ้ งใช้เวลาในการพัฒนาและสร้างความคุน้ เคย

4. ข้อเสนอแนะ
4.1 ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นานโยบาย
- สนับสนนุ สอื่ การเรยี นการสอนเพมิ่ เตมิ
- แนะแนว สรา้ งแรงบนั ดานใจใหน้ กั เรียน
- การพฒั นาคลงั ขอ้ สอบ หรือ แบบฝกึ ทักษะการคิดตามแนว PISA บนระบบฐานขอ้ มูล

หรอื บนเครือขา่ ยออนไลน์ อาจตอ้ งใช้ผูเ้ ชย่ี วชาญเฉพาะทางหลากหลายสาขา
4.2 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
- ควรได้จัดประชุมเชงิ ปฏิบัติการเฉพาะเร่อื งใดเรอ่ื งหนึ่ง หรือหัวขอ้ ย่อย / ทเ่ี ฉพาะเจาะจง

ของการประเมนิ ผลตามแนว PISA เพอื่ ให้ผู้รบการพัฒนามคี วามเขา้ ใจทีถ่ ่องแท้ และมีทักษะในการวัดและ
ประเมนิ ผลตามแนว PISA

- ควรนาองค์ความรู้ทไี่ ด้จากการศกึ ษาเอกสาร กิจกรรมการประชุม การเผยแพรง่ าน และ
การแลกเปลี่ยนเรียนรไู้ ปพฒั นางานวดั ผลและประเมนิ ผลตามแนว PISA ในระดบั ชน้ั เรียนอยา่ งจรงิ จัง

- ควรได้มีการจัดกิจกรรมสมั มนาการพัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นการสอนเพื่อยกระดับ
ผลสัมฤทธิก์ ารประเมินผลนานาชาติ PISA เพือ่ รับการสะท้อนผลการทางานและปรับแกก้ ารทางาน การสอน การ
สอบไปพร้อม ๆ กนั และเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกันในระดับเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา

66

นโยบายท่ี 2 การจดั การศึกษาปฐมวัย

(สพป./สศศ./สช./สกอ.(ร.ร.สาธิตฯ)/อปท./ตชด./อ่นื ๆ)

2.1 การเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาปฐมวัย
KPI : รอ้ ยละของนกั เรยี นปฐมวัยต่อประชากรกลุ่มอายุ ๓–๕ ปี
KPI : ร้อยละของสถานศึกษาทมี่ กี ารจัดทาระบบป้องกนั ภัยทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา
(นยิ าม: ระบบปอ้ งกันภัยทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาหมายถงึ การดาเนินงานดา้ นอาคาร
สถานที่ ดา้ นอปุ กรณเ์ ครอื่ งใช้ตา่ งๆ ดา้ นเครื่องเลน่ ด้านการรบั สง่ นักเรยี นและการจราจร)

ผลการดาเนนิ งาน
1. ผลการดาเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวช้ีวัด
1.1 จานวนนกั เรยี นปฐมวยั (อนบุ าล 1–3 และเด็กเลก็ )และจานวนสถานศกึ ษาท่ีเปิดสอนระดบั

ปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2560 (ตารางท่ี ๑๕)

หน่วยงาน/สถานศึกษา จานวน จานวน นักเรยี นปฐมวยั สถานศกึ ษาที่มีระบบ
(สงั กัด) สถานศึกษาทเ่ี ปดิ ประชากร (อนบุ าล 1–3 ป้องกนั ภยั ทั้งภายใน
สอนระดบั ปฐมวัย วัยเรียน และเด็กเลก็ )
ท้งั หมด(แหง่ ) อายุ 3–5 ปี และภายนอก
จานวน (คน) ร้อยละ สถานศึกษา
(คน)
จานวน ร้อยละ
(แหง่ )

สพป. ๗๔๕ ๔๒,๑๑๓ ๓๐,๘๓๖ ๗๓.๒๒ ๗๔๕ ๑๐๐

สศศ.(โสต) ๑ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐ ๑ ๑๐๐

สศศ.(ศูนย)์ ๑ ๖๒ ๔๐๐ ๑ ๑ ๑๐๐

สช. ๘ - ๑,๗๕๐ - ๘ -

สกอ. (ร.ร.สาธิตฯ) - - - - --

อปท. - - - - - -

ตชด. - - - - - -

อ่ืนๆ (ระบุ)............... - - - - --

หมายเหตุ : จานวนประชากรวัยเรียน อายุ 3–5 ปี ใชข้ ้อมูลจากสานกั ทะเบียนราษฎร์ของแต่ละพื้นท่ี (อาเภอ/จงั หวัด)

1.2 สถานศกึ ษาไดด้ าเนินการในดา้ นตา่ งๆ เพือ่ เป็นการปอ้ งกันภัยทง้ั ภายในและภายนอก
สถานศึกษาใหก้ บั ผู้เรียนระดับปฐมวัยดงั น้ี

ดา้ นอาคารสถานที่
- มกี ารตรวจสอบโครงสรา้ งและส่วนประกอบอาคารอย่างสมา่ เสมอ
- สร้างความตระหนกั และให้ความรกู้ ารรักษาความปลอดภัยแก่เดก็
- ซ่อมแซมส่วนประกอบอาคารใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีปลอดภยั

67

- โรงเรียนจะมรี วั้ ปอ้ งกนั เด็กออกนอกบริเวณโรงเรยี น มีหอ้ งน้าภายในโรงเรยี นสาหรับเดก็ ปฐมวยั
ภายในหอ้ งเรยี นมีแสงสว่างเพียงพอ

- มีอาคารเป็นเอกเทศ การจัดบริบทและสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและเหมาะสมต่อผู้เรียน
เช่น มีห้องน้าห้องส้วมท่ีอยู่ในบริเวณที่ไม่เป็นมุมอับหรือจุดเสี่ยงการรักษาความสะอาดของห้องเรียนเพ่ือ
สขุ อนามยั มีบรเิ วณทีส่ ามารถควบคุมความเส่ยี งหรือการเข้าออกของเด็กนักเรยี น เป็นต้น

ดา้ นอปุ กรณเ์ ครอื่ งใช้ตา่ งๆ
- ตรวจสอบเคร่อื งมือ เครอ่ื งใช้และอุปกรณต์ า่ ง ๆ กอ่ นใช้ทกุ คร้งั
- หา้ มใชเ้ คร่อื งมอื เครื่องใช้ และอปุ กรณต์ ่าง ๆ ที่ชารุด
- เกบ็ เคร่อื งมอื เครือ่ งใช้ อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ทกุ ครั้งอย่างเป็นระเบยี บและปลอดภยั
- โรงเรยี นจะมีต้แู ยกเก็บอุปกรณข์ องเด็กอย่างเป็นหมวดหมู่ อย่างมีความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย
และเพยี งพอสาหรับเด็กปฐมวัยทกุ คนในแต่ละหอ้ งเรียน
- การรักษาความสะอาด มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยของวสั ดกุ ารจดั หมวดหมแู่ ละ
แยกประเภท เพอื่ ความเหมาะสมในแต่ละกจิ กรรมฝึกประสบการณ์และการพัฒนาทักษะ
ด้านเคร่ืองเล่น
- มีครเู วรคอยให้การดูแลขณะเดก็ เลน่ เครอ่ื งเลน่
- แนะนาวธิ กี ารเลน่ เครอื่ งเล่นอยา่ งอยา่ งปลอดภยั
- หมั่นตรวจสอบสภาพเครือ่ งเล่นใหอ้ ยู่ในสภาพที่ใชง้ านไดต้ ลอดเวลา
- โรงเรยี นขนาดใหญ่ ยงั มีเคร่ืองเลน่ ไม่เพยี งพอสาหรับเดก็ ปฐมวยั และเคร่ืองเลน่ สาหรับเดก็
ปฐมวยั ควรเปน็ เคร่ืองเลน่ ทผี่ ลิตจากพลาสติก เพื่อปอ้ งกันการเกดิ อันตรายกบั เด็กปฐมวัย
- มสี นามเด็กเล่นทีไ่ ดม้ าตรฐาน อยใู่ นจดุ ท่โี ลง่ ปลอดภัย ใกล้ชดิ ในสายตาครู
ดา้ นการรบั ส่งนักเรียน และการจราจร
- สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 1 รว่ มกับ สานกั งานป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย จังหวัดสุรินทร์ และสานักงานขนส่งจังหวัดสุรินทร์ ได้ร่วมกันจัดอบรมให้แก่ผู้ขับรถรับส่งนักเรียน
สาหรับในโรงเรียนมีการจัดครูเวรรับส่งนักเรียนปฐมวัย หน้าประตูโรงเรียน มีการลงชื่อผู้ปกครองท่ีมารับเด็ก
นักเรียนก่อนกลับบ้าน หรือให้ผู้ปกครองแจ้งครูทางโทรศัพท์หากมีผู้อ่ืนมารับแทน เน่ืองจากมีนักเรียนปฐมวัย
จานวนมาก ผู้ปกครองท่ีมาส่ง- รับนักเรียน ยังขาดวินัยในการจอดรถ ซ่ึงจะจอดรถในท่ีห้ามจอดรถทาให้ขาด
ความเปน็ ระเบยี บ
- มจี ุดรบั -สง่ สาหรบั ผู้ปกครอง และมาตรการความปลอดภัยทางจราจร
- ครเู วรและ อพปร. คอยรับนกั เรยี นชว่ งเช้าหนา้ ประตู
- เด็กได้รบั การชงั่ นา้ หนัก วดั ส่วนสงู ตลอดปี ๔ คร้ัง
- หลงั รบั ประทานอาหารเด็กทุกคนแปรงฟันทกุ วัน
- มีการตรวจสุขภาพทุกวัย

68

ดา้ นโภชนาการ
- สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 จัดอบรมให้แก่ครูผู้รับผิดชอบอาหาร
กลางวันในโรงเรียน เพ่อื อบรมการจัดทาเมนอู าหารกลางวัน โดยใชโ้ ปรแกรม Thai school lunch ในการจัดทา
เมนูอาหารกลางวันในโรงเรียนทุกโรงเรียน เด็กนักเรียนปฐมวัยได้รับสารอาหารเพียงพอ และมีอาหารที่ถูก
สขุ ลักษณะครบทั้ง 5 หมู่ เด็กไดร้ บั อาหารว่างพรอ้ มเครอ่ื งดมื่ (นม) เพยี งพอทุกวัน
- สถานศกึ ษาจดั อาหารท่ีคานงึ ถึงคุณค่าทางโภชนาการตอ่ ผเู้ รยี น เพื่อเสริมสรา้ งความเจริญเติบโต
และพัฒนาสตปิ ญั ญา ให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือสร้างภาวะโภชนาการทีด่ ตี อ่ ผเู้ รยี น
- เดก็ ๆ ทุกคนไดร้ ับคุณคา่ ทางโภชนาการ ๕ หมู่ และอาหารไม่หวานจัด- เด็กไดร้ ับการชัง่ นา้ หนัก
วดั สว่ นสูง ตลอดปี ๔ ครง้ั - หลงั รบั ประทานอาหารเด็กทุกคนแปลงฟันทกุ วัน- มกี ารตรวจสุขภาพทกุ วยั
ด้านสุขอนามัย

- โรงพยาบาลสุรินทร์ ได้จัดอบรมครูอนามัยให้แก่โรงเรียน ทุกโรงเรยี นในสังกดั สานักงานเขต
พนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 1, สานักงานธารณสขุ อาเภอทุกอาเภอ จัดโครงการประเมนิ โรงเรยี น
สง่ เสรมิ สุขภาพ

- สาหรบั โรงเรยี นมีการสอนใหเ้ ด็กปฐมวยั ล้างมอื ก่อนเขา้ หอ้ งเรียนในภาคเชา้ และกอ่ นการ
รบั ประทานอาหาร และเมื่อรับประทานอาหารเสร็จ จะใหน้ ักเรียนแปรงฟัน แตส่ ถานท่แี ปรงฟันท่ีถูกสขุ ลักษณะ
ยังไมเ่ พียงพอกบั จานวนเดก็ มีการสอนใหเ้ ด็กลา้ งมือหลังจากการเข้าห้องนา้ มีห้องสว้ มท่ถี กู สุขอนามยั เพียงพอ
สาหรบั นกั เรียน และมีการตรวจสุขภาพนักเรียนเป็นประจา

- สถานศึกษาได้สรา้ งแนวทางและกจิ กรรมการสง่ เสริมความสะอาดและสุขอนามยั สว่ นบุคคล
ให้แกผ่ ้เู รียน เชน่ กจิ กรรมตรวจผม/เล็บ/ฟัน และความสะอาดของเสือ้ ผา้ ทีน่ อน กจิ กรรมให้ความรจู้ าก
โรงพยาบาล หรือโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล ในเขตพ้นื ทีบ่ ริการนัน้ ๆ กิจกรรมสอดแทรกการสรา้ งนิสยั
การรักษาความสะอาดจากสื่อและเพลงประกอบ

- อาหารปรงุ สกุ สะอาด ถกู สุขลักษณะ
- น้าตม้ สกุ
- ชอ้ นต้มฆ่าเชอื้ โรคทุกวัน
ดา้ นอ่ืนๆ (ถ้ามี)
- ห้องปฏบิ ัติการ อาหาร สะอาดและปลอดภัย
- ภายในอาคารเรยี น มีประตู หนา้ ตา่ ง ภายในหอ้ งเรยี นมคี วามสว่างเพยี งพอ
- ภายในห้องมีหอ้ งน้า ห้องสว้ ม ถูกสขุ ลกั ษณะสาหรับเด็ก

69

2. ความโดดเดน่ /จุดแข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรอื แบบอยา่ งที่ดใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเด่น จดุ แขง็ นวตั กรรมในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย มปี ระโยชน์หรือ

เกิดผลดตี อ่ ผู้เรียนอย่างไรบ้าง

- มกี ารจดั กจิ กรรม "open house" ในแต่ละโรงเรยี นตามบริบทตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น ทาใหเ้ ดก็ เกิด
การเรยี นรู้ และไดป้ ฏิบตั จิ ริง มีผลงานเป็นทป่ี ระจักษแ์ กผ่ ู้ปกครอง มีการเชิญผปู้ กครองมาร่วมงานและชนื่ ชม
ผลงานของนักเรยี น

- ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสูงสดุ ตามศกั ยภาพ กล้าคดิ กลา้ ทา ไดร้ ับประสบการณ์การเรียนรทู้ ี่
เหมาะสม

2.2 รายชื่อหน่วยงาน/สถานศกึ ษาทีเ่ ป็นต้นแบบหรือแบบอย่างทด่ี ี ในการดาเนินงานตามประเดน็
นโยบายดงั น้ี (ตารางที่ ๑๖)

รายชือ่ หนว่ ยงาน/ ทต่ี งั้ รายการและรายละเอยี ด
สถานศกึ ษาต้นแบบหรือ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอย่างทีด่ ี

เอกชน

1. ร.ร.สุรินทรศกึ ษา 2/2 ถนนปอยปริง อนุ่ ไอรกั วนั เปิดบา้ น

ต.ในเมือง อ.เมืองสุรนิ ทร์

จ.สรุ นิ ทร์

2. ร.ร.วาณชิ ยน์ กุ ลู 10 ถ.ศรีจุมพล Open House

ต.ในเมือง อ.เมืองสรุ นิ ทร์
จ.สรุ ินทร์ 32000

3. ร.ร.อนบุ าลทองอนุ่ 251 หมทู่ ่ี 7 ถ.พรหม Open House
กสิกรต.ท่าตมู อ.ท่าตูม จ.
สรุ ินทร์, 32120

สพป.สร.๑ โรงเรียนต้นแบบสนามเด็กเลน่ BBL : เลน่ ตาม
๑.โรงเรยี นบ้านขามศึกษาคาร อ.จอมพระ จ.สุรินทร์

รอยพระยุคลบาท และนานวัตกรรมมอนเตสซอรี่
มาใช้ การพฒั นาทักษะ EF และทักษะพื้นฐาน
ทางวทิ ยาศาสตร์

๒.โรงเรยี นอนุบาลเขวา อ.เขวาสนิ รนิ ทร์ โรงเรียนต้นแบบเครือข่ายสนามเดก็ เลน่ BBL :
สนิ รนิ ทร์ จ.สุรินทร์ เลน่ ตามรอยพระยุคลบาท

๓.โรงเรยี นอนุบาลลาดวน อ.ลาดวน จ.สุรนิ ทร์ มีอาคารเรียนเอกเทศเหมาะสม สรา้ งสนามเด็ก
เลน่ BBL : เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท พัฒนา
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย

70

รายชอ่ื หนว่ ยงาน/ ท่ีตั้ง รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาต้นแบบหรอื หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งทดี่ ี อ.เมืองสุรนิ ทร์ จ.สุรนิ ทร์ นานวตั กรรมมอนเตสซอร่ีมาจดั ประสบการณ์
๔.โรงเรยี นพรหมประสาท อ.เมืองสุรนิ ทร์ จ.สรุ นิ ทร์ การเรียนรูใ้ หเ้ ดก็ ปฐมวัย และพัฒนาทกั ษะ
ราษฎรน์ ุกลู อ.เมืองสุรินทร์ จ.สรุ ินทร์ พ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวยั

๕.โรงเรียนหนองโตง อ.เมืองสุรินทร์ จ.สรุ นิ ทร์ มีอาคารเรียนเอกเทศ ขนาดห้องเรียนเหมาะสม
สุรวิทยาคม มหี อ้ งนา้ ห้องสว้ ม ทีส่ ะดวกตอ่ การใช้ของเดก็
ปฐมวัย
๖.โรงเรียนบ้านสวาย
เป็นโรงเรยี นทดลองใช้แนวทางการจดั
๗.โรงเรียนเมอื งสุรนิ ทร์ ประสบการณก์ ารเรียนรู้ STEM ศึกษา สาหรบั
เดก็ ปฐมวัย ของ สสวท. และ มีการจัดอาหาร
สพป.สร.๒ กลางวัน อาหารเสริมท่มี ีคุณภาพ เหมาะสม
1. ร.ร.บ้านโพนครก
2.ร.ร.บา้ นกระโพ มอี าคารเรยี นเอกเทศ ขนาดหอ้ งเรียนเหมาะสม
3. ร.ร.อนุบาลรัตนบุรี มีห้องน้า ห้องส้วม ทส่ี ะดวกตอ่ การใช้ของเดก็
ปฐมวัย

อ.ท่าตมู จ.สุรินทร์ เป็นโรงเรยี นพระราชทานระดบั ปฐมวยั
อ.ทา่ ตูม จ.สุรนิ ทร์
อ.รัตนบรุ ี จ.สรุ ินทร์ เปน็ โรงเรียนพระราชทานระดับปฐมวยั

เปน็ โรงเรยี นทีม่ ีรปู แบบการจดั กิจกรรมที่
หลากหลายในการส่งเสริมศักยภาพผเู้ รยี นระดับ
ปฐมวัย

3. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

3.1 ด้านความรคู้ วามเข้าใจของบุคลากรทีเ่ ก่ยี วข้อง

3.1.1 ผู้บริหารโรงเรียนและบุคลากรครูบางส่วนมีความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนด้านการจัด

ประสบการณ์การการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยเช่นการจัดกิจกรรมที่มีรูปแบบเหมือนเด็กประถมศึกษาเร่งอ่าน

เขียนคิดคานวณส่งผลให้การสนับสนุนส่ืออุปกรณ์แหล่งเรียนรู้ต่างๆไม่เหมาะสมกับวัยเด็กปฐมวัย ไม่ได้รับการ

ส่งเสริมพฒั นาการแบบองคร์ วมตามหลกั การปฐมวยั

3.1.2 การขาดความรูค้ วามเขา้ ใจของบุคลากรครชู ้ันอน่ื ๆท่คี าดหวงั ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั อา่ นออก

เขียนไดก้ อ่ นขนึ้ ไปเรียนในระดับประถมศกึ ษาปีที่๑ส่งผลกระทบต่อการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ที่ไม่สอดคลอ้ ง
กับหลกั การปฐมวัย

3.2 ด้านคุณสมบัติของครูปฐมวัยโรงเรียนขนาดเล็กจานวนมากในสงั กัดสพป.สุรินทร์เขต๑ขาดบุคลากร
ครูทีม่ ีความร้คู วามเข้าใจในการส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัยเช่นครจู ้างที่จบการศึกษาสาขาอ่ืนบางแหง่ ใชพ้ ่ีเลยี้ ง
เด็กพิการบางแห่งจ้างผู้ผู้มีคุณวุฒิระดับม.๖หรือต่ากว่ามาสอนและอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยซึ่งส่งผลกระทบต่อ
พฒั นาการเดก็ ปฐมวัยในดา้ นต่างๆและตอ่ เนื่องในระดบั การศึกษาทส่ี ูงขนึ้ ต่อไป

71

3.3 ด้านอาหารและสุขนิสัยโรงเรียนบางแห่งจัดอาหารกลางวันและอาหารเสริมที่ยังไม่เหมาะสม
ตลอดจนสุขอนามยั ต่างๆเชน่ การรบั ประทานจานเดยี วกนั โดยไมม่ ชี อ้ นกลาง

3.4 ด้านท่ตี ้ังของห้องเรียนปฐมวัยโรงเรยี นบางแห่งจดั หอ้ งเรยี นปฐมวยั ไวใ้ นตาแหน่งที่ไม่เหมาะสมโดย
จัดไวใ้ กล้บันไดขน้ึ -ลงอาคารมีเสียงรบกวนจากการเดนิ ผา่ นไป-มาโดยตลอดหรือบางแหง่ จัดไว้บนช้ัน๒ของอาคาร
เด็กปฐมวัยไม่สะดวกในการไปใช้แหล่งเรียนรู้อื่นๆเช่นไปสนามเด็กเล่นเป็นต้นซึ่งส่งผลกระทบต่อการส่งเสริม
พฒั นาการด้านต่างๆ

3.5 ดา้ นการบริหารจัดการช้นั เรียนของห้องเรยี นคละอายุโรงเรยี นขนาดเล็กบางแห่งรับเด็กปฐมวัยอายุ
๓-๖ปีมาเข้าเรยี นในช้ันอนบุ าล๑-๒-๓ในขณะทข่ี าดแคลนบคุ ลากรทงั้ บางแห่งเป็นครูจ้างที่จบสาขาการศึกษาอื่น
หรือพ่ีเล้ียงเด็กพกิ ารครมู ีอุปสรรคตอ่ การบริหารจดั การชัน้ เรยี นและกระทบตอ่ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย

๓.๖ การตคี วาม และแนวทางท่ีถูกตอ้ ง/ตรงจุดของนโยบายจากครูผู้สอนส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัด
ประสบการณ์แก่ผู้เรยี น

๓.๗ สภาพสังคมชนบท วัฒนธรรมการย้ายถิ่นฐานของผู้ปกครอง และสภาวการณ์ของครอบครัวท่ีต้อง
ฝากเดก็ ไว้กับผู้สูงอายุ ทาใหก้ ารพฒั นาศกั ยภาพจากโรงเรียนไปทีบ่ ้านของนกั เรยี นไมต่ ่อเน่อื ง

4. ข้อเสนอแนะ
4.1 ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นานโยบาย
๑) ตรวจสอบทบทวนนโยบายการรบั นักเรียนชน้ั อนบุ าลอายุ๓ขวบและความสอดคลอ้ งกบั จานวน

คร/ู คุณสมบตั ิของครผู ู้จดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
๒) สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจทีถ่ ูกต้องในการจดั การศึกษาปฐมวยั แก่ผ้ทู ี่เกี่ยวขอ้ งไดแ้ กผ่ ้บู รหิ าร

ศึกษานเิ ทศก์ครผู ้ปู กครองชุมชนและผ้เู กย่ี วข้องอื่นๆ
๓) ผลกั ดนั พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาปฐมวัยใหม้ คี วามถูกตอ้ งกบั หลักการปฐมวัยเช่นสาระบัญญัติที่

เกีย่ วกบั นิยามเด็กปฐมวยั ใหม้ ีความสอดคลอ้ งกับสากลกล่าวคือเดก็ ปฐมวยั หมายถึงเดก็ แรกเกิดถงึ อายุแปดปี
๔) พฒั นาความร้คู วามเข้าใจกบั พ่อแม่ผู้ปกครองและผทู้ ่อี ยูใ่ นวัยเจรญิ พันธุ์ท่จี ะเป็นพอ่ แม่ให้มี

ความรูค้ วามเข้าใจท่ีถูกตอ้ งในการเล้ยี งดสู ง่ เสริมพฒั นาการองค์รวมสมดุลในเด็กปฐมวยั
๕) ระดมทนุ สรรพกาลงั ในการพัฒนาทุนมนุษยใ์ นระดับปฐมวัยเพือ่ ใหเ้ กดิ ผลในทางปฏิบตั อิ ยา่ งเป็น

รูปธรรม
๖) ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาเด็กปฐมวัยเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานองค์กรต่างๆ

อยา่ งชัดเจน
๗) พัฒนาครูปฐมวัย และสร้างค่านยิ ม ความตระหนกั รู้แก่ผู้ปกครองใหเ้ ห็นความสาคัญของการจัด

การศกึ ษาระดับปฐมวัย
4.2 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ
๑) สนบั สนนุ บุคลากรดา้ นการศึกษาปฐมวยั ใหเ้ พียงพอในทุกระดบั
๒) แกป้ ัญหาเรื่องโรงเรียนขนาดเล็กทีม่ หี อ้ งเรยี นคละอายุ๓วัยให้สามารถนาแนวคิดมอนเตสซอร่ีไป

จดั ประสบการณ์การเรยี นรูใ้ ห้เกดิ ขึน้ อย่างเปน็ รูปธรรม
๓) พฒั นาปรบั ความรคู้ วามเขา้ ใจทคี่ ลาดเคลอื่ นของผู้บริหารครศู ึกษานเิ ทศก์และผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ ง

กับการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหม้ ีความถกู ตอ้ งตามหลักการปฐมวัย

72

นโยบายที่ 3 การพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษ

(สพป./สพม./สศศ./สช./สอศ./กศน.)

3.1 การขยายผลการอบรมโครงการ Boot Camp และการจดั การอบรมขยายผลให้โรงเรียนเครือขา่ ยของ
Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษา
KPI : รอ้ ยละของครผู ้ผู ่านการอบรมโครงการ Boot Camp ในสถานศึกษาสามารถนาเทคนิคการเรียน
การสอนภาษาองั กฤษไปใช้ในการสอน
KPI : ร้อยละของ Master Trainer (ตามโครงการ Boot Camp) ในสถานศึกษาสามารถเป็นครแู กนนา

3.2 การจัดสภาพแวดล้อมเพอื่ สง่ เสริมการเรยี นรู้ (เช่น ป้ายชื่อต่างๆ ใหม้ ภี าษาองั กฤษควบค่ภู าษาไทย
รวมทง้ั ครู นกั เรียน ไดส้ นทนาภาษาองั กฤษ วันละ 1 ประโยค)
KPI : ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีสามารถจดั สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรียน และนอกห้องเรียน
เพ่อื ส่งเสริมการเรียนร/ู้ ทักษะภาษาองั กฤษ

ผลการดาเนินงาน
1. ผลการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบายและตวั ช้ีวดั
1.1 ข้อมูลการดาเนินงานตามตวั ชีว้ ัด (ตารางท่ี ๑๗)

ครูผู้ผ่านการอบรมโครงการ Master Trainer ตามโครงการ

Boot Camp Boot Camp สถานศกึ ษาท่ี

ครทู ผ่ี า่ นการ Master จดั
Trainer
ครูท่ผี ่าน อบรม Boot Master สภาพแวดลอ้ ม
การอบรม Camp สามารถ ตาม
สงั กัด นาเทคนคิ การ โครงการ Trainer ตาม ภายในห้องเรียน
Boot เรยี นการสอน Boot
สพป. Camp ภาษาอังกฤษไป รอ้ ยละ Camp โครงการ Boot รอ้ ยละ และนอก
สพม. (คน) ใช้ในการสอน Camp ห้องเรยี น เพอ่ื
สศศ.(โสต) (คน)
สช. ทสี่ ามารถเปน็ ครู สง่ เสริมการ
สอศ.(รัฐบาล)
สอศ.(เอกชน) แกนนา(คน) เรียนรู้ (แห่ง)
กศน.
อน่ื ๆ (ระบุ).... (คน)

๙๗ ๙๗ ๑๐๐ ๑ ๑ ๑๐๐ ๔๖๒

๗๒ ๗๒ ๑๐๐ ๑ ๑ ๑๐๐ ๘๕
- - -๑
- -- ๗ ๗ ๑๐๐ ๒
- - -๘
๗ ๗ ๑๐๐ - ---
๒ ๒ ๑๐๐ ๒
- -- - ---

- --

๒ ๒ ๑๐๐

- --

73

1.2 สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และนอกหอ้ งเรยี นทสี่ ถานศกึ ษาจัดเพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรู้
ภาษาองั กฤษมดี งั นี้

สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรียน ได้แก่
- มีครตู า่ งชาติจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้กับเดก็ สามารถสนทนาภาษาองั กฤษประโยคส้นั ๆ ได้
- ครูต่างชาติใช้บทสนทนาง่าย ๆ สนทนากับเด็กภายในห้องเรียน และนักเรียนสามารถนาไปใช้ใน
ชวี ิตประจาวันได้
- มีสื่อ อุปกรณ์การเรียนรู้ท่ีทันสมัยเพียงพอกับความต้องการเช่นคอมพิวเตอร์เช่ือมต่อระบบ
อินเตอร์เนต็ สาหรับบรกิ ารสืบคน้ ข้อมูล โปรเจค็ เตอรโ์ ทรทศั น์เครอื่ งเลน่ ดวี ีดีอปุ กรณ์รับสญั ญาณดาวเทียมวิทยมุ ุม
ปฏบิ ัติการทางภาษา (Sound Lab) ฯลฯ
- มีส่ือการเรียนรู้ทุกประเภท เช่นหนังสือแบบเรียนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ชุดการเรียนหนังสือทั่วไป
ข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับภาษา เศรษฐกิจ สงั คมและการเมืองของประเทศในอาเซียน
- มบี อรด์ หรอื ปา้ ยคาศพั ท์ภาษาองั กฤษเกยี่ วกบั ชวี ิตประจาวนั
- ส่ือประกอบการเรยี นการสอนรายหน่วย/รายวิชา
- ป้ายนิเทศในห้องเรียน/หน้าช้ันเรยี น/ชื่อนักเรียน(เพ่ือนรว่ มชั้นเรยี น)
- มุมนาเสนอผลงานนกั เรียน
- สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรียน ได้แก่มมุ การเรียนรู้ ปา้ ยนเิ ทศ
- สภาพแวดลอ้ มภายนอกห้องเรียน ได้แก่ หอ้ งสมุดเคล่ือนที่ ศาลาฝึกการอา่ น
- สถานศึกษาในสงั กดั ไดจ้ ัดโครงการหอ้ งเรยี นภาษาตา่ งประเทศ เป็นสถานท่ีเรยี นรเู้ ทคโนโลยี
เฉพาะทางด้านภาษาต่างประเทศ ผู้เรียนทุกสาขาวิชามีห้องเรียนรู้ทางเทคโนโลยีเฉพาะทาง เพ่ือฝึกฝนทักษะ
การใช้ภาษาต่างประเทศ มีห้องเรียนภาษาต่างประเทศครบวงจร (ห้องเรียนภาษาเกาหลี ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น
และภาษาองั กฤษ)
- สถานศึกษาจัดหอ้ งเรยี นเพื่อรองรับผูเ้ รยี นทุกสาขาวชิ าชพี มีการจดั บอร์ด นทิ รรศการเกี่ยวกับ
ภาษาองั กฤษในหอ้ งเรียน ตดิ หน้าห้องทางานในแต่ละหอ้ งเป็นภาษาอังกฤษ และห้องครูผู้สอนทกุ สาขาวิชา
- การจัดปา้ ยนเิ ทศสาหรับการเรยี นรแู้ กน่ ักเรียน
- การจัดส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ที่จาเป็นในการเรียนรู้แก่นักเรียน อาทิ บัตรคา แผ่นประโยค เครื่อง
คอมพิวเตอร์พร้อมอปุ กรณใ์ นการใช้เทคโนโลยี
- การจัดสภาพห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการจัดกิจกรรม เช่น การจัดโต๊ะ เก้าอ้ี กลุ่มนักเรียนที่สามารถ
เคลื่อนย้ายและพร้อมทากจิ กรรมได้อยา่ งสะดวก
สภาพแวดลอ้ มภายนอกห้องเรยี น ไดแ้ ก่
- นกั เรียนออกมานาเสนอหนา้ เสาธงภาษาองั กฤษวันละคา
- ครจู ัดกิจกรรมให้นกั เรียนไดแ้ สดงออกอยา่ งเต็มท่ี เชน่ กจิ กรรมรอ้ งเพลงและทาท่าทางประกอบ
- นักเรยี นเรยี นรบู้ ทเรียน โดยการศึกษาสภาพแวดลอ้ มนอกหอ้ งเรยี นนาความรู้ไปทาแบบฝึกต่อไป
- ปรบั ปรงุ ภมู ิทัศน์ให้มีความสะอาด ร่มรื่นมสี ภาพเอ้ือต่อการเรยี นรู้
- จัดบรบิ ท โดยการจดั ชน้ั หนังสือ สอื่ ภาษาองั กฤษ เพ่อื ดงึ ดูดความสนใจ กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนเกดิ
กระบวนการคดิ และสามารถจดจาได้

74

- ปา้ ยคาศัพท/์ แถบประโยค/สานวนในบริเวณโรงเรียน
- ปา้ ยหอ้ งเรียน/หอ้ งปฏิบตั ิการต่างๆ
- ป้ายช่อื บคุ ลากรในโรงเรียน
- ป้ายนิเทศภาษาองั กฤษวันละคา
- สถานศกึ ษาในสังกัดได้จดั กจิ กรรมฝึกพูดส่ือสารภาษาตา่ งประเทศวันละประโยค โดยให้ผเู้ รยี นท่ี
เป็นตัวแทนของครูผู้สอนภาษาต่างประเทศนาเสนอประโยคสนทนาในชีวิตประจาวันท้ังภาษาอังกฤษ ภาษาจีน
กลาง ภาษาเกาหลี และภาษาญี่ปนุ่ ในชว่ งกิจกรรมหน้าเสาธงทกุ วัน พรอ้ มทั้งให้ผู้เรียนทุกคนฝกึ สนทนาตามและ
จดบันทึกประโยคสนทนาประจาวัน รวมทั้งจัดกิจกรรม English Conner ให้ผู้เรียนท่ีสนใจเข้าพบครู
ภาษาต่างประเทศทุกวัน เพ่อื ฝึกทกั ษะภาษาต่างประเทศโดยเน้นการสนทนาเพอ่ื การสื่อสาร

1.3 สถานศึกษามีวธิ ีการหรือจดั กิจกรรมเพือ่ ส่งเสรมิ การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สารดังนี้
- สถานศึกษาจัดกจิ กรรมเพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษโดยมีโครงการ English Camp นักเรียน
สนทนาโต้ตฺอบอย่างสนุกสนานกับเจ้าของภาษา สามารถสนทนาสื่อสารและตอบคาถามง่าย ๆ ได้ จัดอบรมครู
ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สาร (English Book Camp)
- การพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษให้ความสาคัญกบั การสอนภาษาองั กฤษ โครงการติวเข้มยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิ n-net ใน 4 วิชาหลัก คือ ภาษาไทย,ภาษาอังกฤษ,คณิตศาสตร์,วิทยาศาสตร์ ประจาภาคเรียนท่ี 2
ปีการศึกษา 2560
- โครงการพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สารด้านอาชีพให้ผเู้ รยี นสามารถนาความรู้ที่ได้รับ
ไปประยุกตใ์ ช้ในการประกอบอาชพี และดาเนินชีวิตประจาวันได้ได้แก่ การเกษตร การท่องเทย่ี วการนวดแผนไทย
การค้าขาย การเสรมิ สวย และการบริการรถรับจ้าง โดยสถานศึกษาจัดทาหลักสูตรการฝึกอบรมของแต่ละอาชีพ
ตามความเหมาะสมในแต่ละบริบทของพน้ื ที่
- ส่งเสริมองค์ความรู้ ด้านอาเซียนจัดทาสื่อเอกสารเพื่อสร้างความเข้าใจเก่ียวกับอาเซียน เช่น ธง
ชาติ ปา้ ยชอื่ ลกู โลก แผนท่ี ปา้ ยคาศัพท์ CD/DVD หนงั สือ วารสาร ฯลฯ
- จัดกิจกรรมอาเซียนอย่างตอ่ เนื่องในทกุ ๆ ภาคเรียน และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ จากสื่อ
ต่าง ๆ เชน่ จากหนังสอื CD/DVD วารสาร ฝึกพูด อา่ น เขยี น ใหม้ ากข้ึน
- การจัดมุมอาเซียนใน กศน. ตาบลและให้ อาสาสมัคร กศน. นักศึกษา กศน. แนะนาให้ความรู้
ภาษาอังกฤษสชู่ ุมชน
- จัดกิจกรรมอาเภอยิ้มเคลื่อนทร่ี ว่ มกบั หน่วยงานพร้อมประชาสัมพนั ธ์ให้ความร้ใู นเร่อื งอาเซียน
- ส่งเสริมการเรียนรู้สู่อาเซียนในด้านกระบวนการสอดแทรกเน้ือหาในการจัดการเรียนการสอน/
การพบกลุ่ม ให้บริการอินเตอร์เน็ตแกน่ ักศึกษา เพื่อสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมเกยี่ วกับกลุ่มประเทศอาเซียน ถือเป็น
ส่วนหนง่ึ ในการเผยแพรค่ วามรู้ ประชาสัมพนั ธแ์ ก่ผสู้ นใจ
- ภาษาองั กฤษวันละคา/ประโยคหนา้ เสาธง
- กจิ กรรมเสยี งตามสายพักกลางวัน
- ฟังนทิ านกอ่ นกลับบา้ น

75

- เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาเพื่อการส่ือสาร(Communication Language

Teaching)การสอนเชิงรุก (Active Learning)การสอนาท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง (Brain-based

Learning)

- สถานศึกษาในสังกัด ดาเนินโครงการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาองั กฤษของผู้เรียนในสถานศึกษา

อย่างน้อย 8 โครงการ/กิจกรรม อาทิ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่อาเซียน โครงการเตรียมความพร้อมสู่

ประชาคมอาเซียน โครงการปรับปรุงห้องเรียนอาเซียนศึกษา โครงการครูอาสาสมัครตา่ งชาติ โครงการจ้างครู

ต่างชาติ โครงการ English Camp โครงการ English Conner โครงการศึกษาดูงานของนกั เรียน MEP โครงการ

แลกเปลย่ี นนกั เรียน AFS โครงการส่งเสรมิ ทักษะการสือ่ สารภาษาต่างประเทศ หนา้ เสาธง โครงการ

อบรมเตรียมความพร้อมการสอบ Toeic และโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ิมเติมใหก้ บั นักเรยี นนักศึกษา

ที่จะจบการศกึ ษาและนักเรยี นภาคภาษาองั กฤษ เป็นตน้

2. ความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทดี่ ีในการดาเนินงานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเดน่ จุดแขง็ นวตั กรรมในการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบาย มปี ระโยชนห์ รือ

เกิดผลดตี ่อผู้เรียนอยา่ งไรบ้าง
- นกั เรียนมกี ารพฒั นาได้ดีขึน้
- ประโยชนก์ บั ผูป้ กครองใหก้ ารยอมรับในการจัดการศึกษาเอกชน
- สถานศึกษาไดใ้ ช้วิทยากรซง่ึ เป็นชาวต่างชาติมาถา่ ยทอดความรู้ดา้ นภาษาองั กฤษให้กับนักศกึ ษา
- ส่งเสรมิ ให้บคุ ลากรในสังกดั เรียนรูท้ กั ษะกระบวนการเรยี นภาษาองั กฤษพรอ้ มกบั ขยายผลการ

เรยี นรู้ส่ผู ้เู รียนโดยวธิ ีการจดั กระบวนการเรยี นการสอนทห่ี ลากหลายวิธเี พอื่ ยกระดับการเรียนร้แู ละการเขา้ ถึง
ทักษะการเรยี นรู้ดา้ นภาษาองั กฤษ

- มกี ารวเิ คราะห์ และจาแนกผูเ้ รียนเปน็ กลุ่มเก่ง กลมุ่ ปานกลาง และกลมุ่ อ่อน เพอ่ื พฒั นาใหต้ รง
กับความสามารถของนักเรยี นและจดั สอนเสริมพิเศษ (ตวิ เข้ม) เกี่ยวกบั ทักษะภาษาอังกฤษและฝกึ ทาข้อสอบใน
ระดับชาติ ขอ้ สอบ “N-net”

- ใช้ส่ือและแหล่งการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย เช่นแบบฝกึ ชุดฝึกทกั ษะในการอา่ น ฟงั พูด และเขียน ,
สอ่ื มัลตมิ ิเดีย ส่อื คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (CAI) สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร (ICT) ,ของจรงิ ,บทเรียน
สาเรจ็ รูป ,บัตรคา บัตรภาพ , บญั ชคี าศัพท์ คลงั คาศัพท์ , หนังสือเสริมทักษะ , ตวั อย่างขอ้ สอบสาหรบั การฝึก
ทกั ษะดา้ นต่าง ๆ

- การยกตัวอย่างบุคคลหรือสถานศึกษาที่มีผลทาให้ผูเ้ รียนได้เกดิ แรงกระตุ้นเพอ่ื ใหเ้ กิดความสนใจ
ต่อการเรียนรู้

- มที กั ษะการใชภ้ าษาอังกฤษมากขึ้น
- ผลสมั ฤทธ์วิ ิชาภาษาอังกฤษสงู ข้ึน
- มเี จตคติทด่ี ีและรกั ที่จะเรยี นภาษาองั กฤษมากข้ึน
- ได้นาภาษาองั กฤษไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั มากขึ้น
- สื่อการเรยี นทีห่ ลากหลาย
- เทคนคิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่เี ป็นห้องเรยี น

76

- สถานศึกษาสามารถจัดสภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรียน และนอกห้องเรียนเพ่อื เสรมิ การเรยี นรู้
ทกั ษะภาษาองั กฤษ ร้อยละ 100

- ผเู้ รียนมคี วามรู้ทักษะการใช้ภาษาองั กฤษ สอื่ สารได้ และมีความพรอ้ มในการออกสูต่ ลาดแรงงาน
- ครูท่ีผ่านกระบวนการพฒั นา Boot Camp ได้ผ่านกระบวนการฝึกอบรมอยา่ งเขม้ ทาให้สามารถ
นาความรู้ทีไ่ ด้มาประยกุ ตใ์ นห้องเรยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ท้งั ยังสามารถเป็นวทิ ยากรขยายผลสู่ครคู นอ่นื ๆ ได้

2.2 รายช่ือหนว่ ยงาน/สถานศึกษาท่ีเปน็ ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งท่ีดี ในการดาเนินงานตามประเด็น

นโยบายดงั นี้ (ตารางที่ ๑๘)

รายช่อื หน่วยงาน/ ทตี่ ้งั รายการและรายละเอยี ด
สถานศกึ ษาตน้ แบบหรอื หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม

แบบอยา่ งท่ีดี

เอกชน

1. ร.ร.อนบุ าลทองอุ่น 251 หมู่ที่ 7 ถ.พรหม - โครงการ English Camp

กสกิ รต.ทา่ ตูม อ.ทา่ ตูม - องั กฤษวนั ละคา

จ.สรุ ินทร์, 32120

2. ร.ร.พระกุมารสรุ นิ ทร์ ๖๒ หมู่ ๑ ต.แสลงพนั ธ์ - โครงการ English Camp
อ.เมืองสุรินทร์ จ.สุรนิ ทร์ - ตน้ ไมพ้ ูดได้
๓๒๐๐๐

3.ร.ร.สรุ ินทรศึกษา 2/2 ถนนปอยปรงิ - โครงการ English Camp

ต.ในเมือง อ.เมืองสรุ ินทร์ - ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English Book
Camp)
จ.สุรินทร์ ๓๒๐๐๐

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

1. กศน.อาเภอเมืองสรุ ินทร์ กศน.อาเภอเมืองสุรนิ ทร์ มีศูนย์อาเซียนศึกษาและการจัดการเรียนการสอน
ถนนคชสาร ตาบลในเมือง ด้านภาษาอาเซียนเพื่อการส่ือสาร โดยวิทยากรซึ่ง

อาเภอเมือง จังหวัดสุรนิ ทร์ เปน็ เจา้ ของภาษามาสอนใหค้ วามรู้ดา้ นภาษาองั กฤษ

๓๒๐๐๐ ใหแ้ ก่บคุ ลากร นักศกึ ษา ประชาชน

2. กศน.อาเภอชุมพลบรุ ี 329 หมู่ 1 ตาบลชมุ มหี ลักสตู ร ภาษาองั กฤษ สือ่ การเรียนการสอน
พลบรุ ี อาเภอชมุ พลบุรี ทาใหก้ ลุ่มเป้าหมายได้เรยี นรู้ การส่ือสาร

จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ภาษาอังกฤษเบอ้ื งตน้

สพป.สร.๑

1. โรงเรยี นอนบุ าลสุรนิ ทร์ อ.เมอื งสุรินทร์ เปิดสอนEP/มีครูชาวต่างชาต/ิ มคี รูจบเอก

ภาษาองั กฤษที่เพยี งพอ

2. โรงเรยี นเมอื งสุรนิ ทร์ อ.เมอื งสรุ นิ ทร์ เปดิ สอนMEP/มคี รูชาวต่างชาติ/มีครจู บเอก
ภาษาองั กฤษทเี่ พียงพอ/เป็นศูนย์ PEER

77

รายชอ่ื หน่วยงาน/ ทต่ี ้งั รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาตน้ แบบหรอื หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จุดแข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งที่ดี อ.เมอื งสุรินทร์ เปดิ สอนMEP/มคี รูชาวต่างชาติ/มคี รจู บเอก
3. โรงเรียนหนองโตง ภาษาองั กฤษทเ่ี พยี งพอ
“สรุ วิทยาคม” อ.ศขี รภูมิ
4. โรงเรียนอนุบาลศขี รภมู ิ เปิดสอนEIS/มีครชู าวต่างชาติ/มคี รูจบเอก
อ.จอมพระ ภาษาองั กฤษที่เพียงพอ/เป็นศนู ย์ PEER
5. โรงเรียนอนุบาลจอมพระ
อ.จอมพระ เปดิ สอนEIS/มีครูชาวต่างชาต/ิ มคี รจู บเอก
6. โรงเรียนบ้านจอมพระ อ.ลาดวน ภาษาองั กฤษทเ่ี พียงพอ/เปน็ ศนู ย์ PEER
7. โรงเรยี นอนบุ าลลาดวน อ.ลาดวน
8. โรงเรยี นวัดทกั ษิณวารี อ.เขวาสินรินทร์ เปน็ โรงเรียนในฝนั
9. โรงเรยี นบ้านแสรออ อ.สาโรงทาบ
10. โรงเรยี นบ้านตางมาง เปน็ โรงเรียนในฝนั

สพป.สร.๒ เป็นศูนย์ PEER
1. โนนนารายณ์วิทยา
2. บ้านหวั งวั เป็นศนู ย์ PEER
3. ชมุ ชนบ้านซาต
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษา มีครสู อนภาษาองั กฤษที่มปี ระสบการณส์ ามารถ
วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสุรินทร์ สอนไดผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียน O-NET สงู มาก

อ.โนนนารายณ์ จ.สุรินทร์ เป็นโรงเรยี นเปิดศูนย์ Peer
อ.สนม จ.สรุ นิ ทร์ เป็นโรงเรยี นเปดิ ศนู ย์ Peer
อ.โนนนารายณ์ จ.สรุ นิ ทร์ เปน็ โรงเรียนเปิดศนู ย์ Peer

ถ.เทศบาล 1 ต.ในเมือง เ ป็ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ส า ม า ร ถ จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม
อ.เมอื ง จ.สุรินทร์ ภายในห้องเรยี น และนอกห้องเรียนเพื่อเสรมิ การ
เรียนรู้ ทักษะภาษาอังกฤษ ร้อยละ 100 และ
ผู้เรียนมคี วามรทู้ ักษะการใช้ภาษาองั กฤษ สอ่ื สาร
ได้ และมีความพร้อมในการออกสู่ตลาดแรงงาน

สพม.๓๓ สพม.เขต ๓๓ เป็นโรงเรียนท่ีเข้าโครงการ EP ทั้งยังเป็นศูนย์
ร.ร.สิรินธร ASEAN ไ ด้ จั ด กิ จ ก ร ร ม ท่ี ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม รู้
ความสามารถ ด้านภาษาอังกฤษให้กับนักเรียน
เป็นประจา สม่าเสมอ นักเรียนสือ่ สารได้

78

รายชอื่ หน่วยงาน/ ท่ีต้งั รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาต้นแบบหรอื หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จุดแข็ง/นวัตกรรม

แบบอย่างที่ดี สพม.เขต ๓๓ เป็นโรงเรยี นศนู ย์ ERIC ทีส่ ามารถดาเนนิ การ
๒. ร.ร.จอมพระประชาสรรค์ สพม.เขต ๓๓ พฒั นาการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเปน็
สพม.เขต ๓๓ แบบอย่างแกค่ รคู นอ่นื ๆ ท้งั ยังสามารถเป็นศนู ย์
๓. ร.ร.ชุมพลวิทยาสรรค์ พฒั นา ขยายผลแก่ครูในสังกดั ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
๔. ร.ร.ประสาทวทิ ยาคาร
เปน็ โรงเรียนศนู ย์ ERIC ที่สามารถดาเนนิ การ
พฒั นาการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเปน็
แบบอยา่ งแก่ครูคนอนื่ ๆ ทั้งยงั สามารถเปน็ ศนู ย์
พัฒนา ขยายผลแก่ครูในสงั กัดได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

๑. เปน็ โรงเรยี นศูนย์ ERIC ทส่ี ามารถดาเนนิ การ
พัฒนาการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเปน็
แบบอยา่ งแก่ครูคนอน่ื ๆ ทง้ั ยงั สามารถเป็นศูนย์
พัฒนา ขยายผลแก่ครูในสงั กดั ได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ

๒. เปน็ โรงเรียน E-Hub ท่ีสามารถดาเนนิ การ
เปน็ แม่ขา่ ยในการเผยแพร่ ขยายผล และ
ชว่ ยเหลือครู นักเรยี น และบริการแก่ภาค
ประชาชนด้านภาษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เชน่
ภาษาองั กฤษ ภาษาเขมร เปน็ ตน้

3. ปญั หาอุปสรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

- ผเู้ รียนยงั ขาดทักษะกระบวนการเรยี นรู้และมพี นื้ ฐานทางการเรียนร้คู อ่ นขา้ งนอ้ ย
- ผูเ้ รียน กศน. มีหลายช่วงวัย และประกอบอาชีพทหี่ ลากหลาย ทาใหไ้ ม่มเี วลามาเรยี นไดต้ อ่ เนื่อง
- ผเู้ รียนมีความกงั วลและเขินอายท่จี ะพูดภาษาอังกฤษ/ผเู้ รียนสว่ นใหญส่ ามารถอา่ นภาษาองั กฤษได้แต่
แปลไมอ่ อก
- วทิ ยากรภาษาอังกฤษค่อนข้างขาดแคลน และตัวครผู ูส้ อนมคี วามพรอ้ มในการจดั การเรียนการสอน
นอ้ ย ไม่สามารถดาเนนิ การการสอนได้ดเี ทา่ ท่คี วร
- กรอบการดาเนนิ งานตามนโยบายที่ สพฐ. กาหนดมขี ้อจากดั ไมเ่ ปิดโอกาสให้เขตพื้นที่ดาเนนิ งานภายใต้
บริบทสภาพปัญหาหรอื ความต้องการ
- PM ของเขตพน้ื ที่เปน็ จุดผ่านการทางานของ สพฐ.
- โรงเรยี นที่เปน็ ศูนย์ PEERประจาอาเภอ (โรงเรียนบา้ นหนองฮะ ครูย้ายออกไมม่ ีครูภาษาองั กฤษ)

79

- ขาดบคุ ลากร บคุ ลากรสายตรงมไี มเ่ พียงพอ ในการการดาเนนิ งานพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ
- ความพร้อมของผเู้ รยี น ด้านการเปิดรับการเรียนรูแ้ ละพฒั นาความรู้ด้านภาษาต่างประเทศยงั ไมเ่ ตม็ ที่
- ครู บุคลากรทางการศกึ ษา ผูเ้ รียน ส่วนใหญ่ยังไม่สามารถที่จะส่อื สารภาษาองั กฤษกับชาวต่างชาติได้
อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์
- การพัฒนาครู Boot Camp ใช้ระยะเวลานาน ส่งผลให้ครูในโรงเรียนขนาดเลก็ ทีม่ ีครจู ากัดไม่สามารถ
เขา้ รบั การพฒั นาได้
- การจดั สรรโควตาการเข้ารบั การพัฒนามจี านวนจากัด ทาให้ครูได้รับการพฒั นานอ้ ยมาก
4. ขอ้ เสนอแนะ

4.1 ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุง/พฒั นานโยบาย
- ควรมกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผล รบั ทราบความก้าวหน้าในการผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั ศึกษา
รายสถานศกึ ษา อย่างน้อยภาคเรียนละ ๒คร้งั เพ่อื กระตุ้นให้มีการดาเนนิ งานพฒั นาเพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นอย่างต่อเนือ่ ง
- จดั กิจกรรม ยกย่อง ชมเชย เชดิ ชูเกยี รตใิ ห้แก่ ครู กศน. ทีส่ ามารถ ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการ
เรียนได้ระดับทน่ี า่ พอใจตามเกณฑ์ทก่ี าหนด เพือ่ สรา้ งขวัญกาลังใหบ้ ุคลการและสง่ เสรมิ ใหม้ ีพลงั ใจในการพฒั นา
งานใหม้ ีคุณภาพสูงย่งิ ๆ ขึ้นไป
- การจดั สรรงบประมาณควรเปิดกว้างให้เขตพ้ืนทไ่ี ดก้ าหนดกจิ กรรมการดาเนินงานได้ด้วยตนเอง
ภายใต้บรบิ ทความตอ้ งการ
- การเพิ่มจานวนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมการ
เรียนร้ภู าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ให้กับโรงเรียนและส่งเสริมกจิ กรรมพัฒนาศกั ยภาพทางภาษา
- ควรใช้เวลาในการพัฒนาชว่ งปดิ ภาคเรียน
- ควรจดั สรรงบประมาณในการจา้ งครูทดแทนในชว่ งทีค่ รูตอ้ งเขา้ รบั การพัฒนา Boot Camp
- เปิดศูนยพ์ ัฒนาใหม้ ากขึน้ เพือ่ ทาให้ครไู ด้เข้ารับการพฒั นามากขึน้
- จัดครตู า่ งชาติใหส้ ถานศกึ ษาเพือ่ ได้แลกเปลย่ี นเรียนรดู้ ้านภาษาอังกฤษกับชาวตา่ งชาติอย่าง
ตอ่ เนือ่ ง
- ครู บุคลากรทางการศกึ ษา ผเู้ รียน ได้แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ดา้ นภาษาองั กฤษกับชาวต่างชาตอิ ยา่ ง
ตอ่ เนื่อง
- ควรมีการจัดอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาเก่ยี วกบั ภาษาอังกฤษอยา่ งตอ่ เนื่อง
4.2 ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ

1) การวางแผนอัตรากาลังของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตอ้ งสัมพนั ธ์กบั
คุณภาพตามที่นโยบายตอ้ งการ

2) การสรรหา ยา้ ย บรรจุ ครู ควรรวดเร็ว เพือ่ มคี รู บุคลากรทางการศึกษาดาเนินงาน
สนองนโยบายเพ่อื ประโยชน์ของเยาวชนของชาติ

80

นโยบายท่ี 4 การพัฒนาทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
(สพป./สพม./สช./สอศ./กศน.)

4.1 การจัดกระบวนการเรียนการสอนเพอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะการคิดวเิ คราะห์
KPI : ร้อยละของสถานศกึ ษาที่จัดกระบวนการเรยี นการสอนเพ่ือสรา้ งกระบวนการคิดวเิ คราะห์
KPI : รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทมี่ นี วตั กรรมเพือ่ เพ่มิ ทักษะการคิดวิเคราะห์แกผ่ ู้เรียน

4.2 การจดั การเรยี นร้แู บบสะเต็มศกึ ษา (STEM Education)
KPI : ร้อยละของสถานศึกษาทจ่ี ัดการศกึ ษาโดยบูรณาการองคค์ วามรแู้ บบสะเต็มศกึ ษา

ผลการดาเนนิ งาน
1. ผลการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบายและตวั ช้ีวัด
1.1 ข้อมลู การดาเนินงานตามตวั ชีว้ ดั (ตารางท่ี ๑๙)

จดั กระบวนการเรียนการสอนเพือ่ มนี วัตกรรมเพื่อเพ่มิ ทักษะ จัดการศกึ ษาโดยบูรณาการ
สร้างกระบวนการคดิ วิเคราะห์ การคดิ วเิ คราะหแ์ กผ่ เู้ รยี น
องค์ความรูแ้ บบสะเต็มศกึ ษา

จานวน จานวน จานวน จานวน
สถานศึกษา สถานศกึ ษา
จานวน สถานศึกษา สถานศกึ ษา
สถานศึกษา ท่ีมี ที่มี
นวตั กรรม นวัตกรรม ทีจ่ ัดการ ท่จี ดั การ
ทจ่ี ัด เพอ่ื เพมิ่ เพ่อื เพมิ่
จานวน กระบวนการ ทกั ษะการ ทักษะการ ศึกษาโดย ศกึ ษาโดย
สถาน เรียนการ คิดวิเคราะห์ คิดวิเคราะห์
สังกัด ศึกษา รอ้ ย แกผ่ ู้เรียน แก่ผู้เรียน เพ่ิมขนึ้ / บรู ณาการ บูรณาการ เพม่ิ ขนึ้ /
ทัง้ หมด สอนเพื่อ ละ ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ลดลง องคค์ วามรู้ องคค์ วามรู้ ลดลง
สพป. (แห่ง) สร้าง 2559 2560 ร้อยละ รอ้ ยละ
สพม. กระบวนการ แบบ แบบ
สช. คิดวเิ คราะห์ (แห่ง) (แห่ง) สะเต็ม สะเตม็
สอศ.(รฐั บาล) (แหง่ )
กศน. ศกึ ษา ศกึ ษา
สศศ.(โสต)
ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา

2559 2560

(แหง่ ) (แห่ง)

๗๔๖ ๗๔๖ ๑๐๐ ๑๘๙ ๔๑๓ ๔๐.๒๑ ๒๔๘ ๒๗๙ ๕๖.๐๒

๘๕ ๘๕ ๑๐๐ ๘๕ ๘๕ - ๘๕ ๘๕ ๑๐๐
๑๐ ๑๐ ๑๐๐
๘ ๘ ๑๐๐ ๑๐ ๑๐ - ๑๐ ๑๐ -
๑๗ ๑๗ ๑๐๐
๑ ๑ ๑๐๐ ๘๘- ๘๘-

๑๕ ๑๖ ๕๐.๐๐ ๑๖ ๑๗ -

๑๑- ๑๑-

2. ความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวตั กรรม/ตน้ แบบหรอื แบบอย่างที่ดใี นการดาเนินงานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเดน่ จุดแขง็ นวัตกรรมในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย มีประโยชน์หรือ

เกิดผลดตี อ่ ผู้เรียนอยา่ งไรบ้าง
- ความโดดเดน่ ครไู ด้จัดการเรยี นรสู้ ะเต็มศกึ ษา นกั เรียนเกิดการเรยี นรู้และไดป้ ฏิบตั ิจรงิ
- ประโยชน์ นกั เรียนมีกระบวนการเรียนรแู้ บบบรู ณาการตามการเรียนร้สู ะเตม็ ศกึ ษาและนาไปปฏิบัตไิ ด้

81

- ฝึกให้ผู้เรียนคิดหลากหลายรูปแบบ ฝึกปฏิบตั ิถูกตอ้ งตามขน้ั ตอน แล้วฝกึ หาวธิ กี ารรปู แบบท่ีเปน็ ของ
ตนเอง สามารถสรา้ งสรรค์ผลงาน ประเมนิ ชิ้นงานการแสดงและการค้นพบใหมๆ่

- จดั บรรยากาศที่จูงใจให้ผ้เู รียนอยากเรียนรู้
- ใชส้ อ่ื การเรียนรทู้ ห่ี ลากหลายเชอ่ื มโยงธรรมชาติแหลง่ การเรียนร้สู ถานการณ์จริง ระบบสารสนเทศ ให้
นกั เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และสัมผัสได้แก่ ๑) ฝึกปฏิบัติจริง เช่น การทากระถางแก้มลิง (นวัตกรรมท่ี
สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการปลกู พืชได้หลายชนิดอาศัยหลักการจากน้าใต้ดินทาให้ไม่ต้องรดน้าต้นไม้ทุกวัน)
ก๊าซชีวมวล ชุดนอนนา เตาเผาไร้ควัน พลังงานไฮโดรเจน พลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย์๒)ใช้สื่อในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์ชุดสาธิตต่าง ๆ ๓) ระดมความคิด
ประดิษฐ์สง่ิ ของร่วมกัน แลว้ ให้อธิบายถงึ กระบวนการทาในกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ หาเหตุผลโดยใชท้ ักษะวิชา
คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ในการผลติ ใชเ้ ทคโนโลยี วศิ วกรรมในการออกแบบใหม้ ีศิลปะให้ผลิตภัณฑส์ วยงาม
- มีทกั ษะการคดิ สามารถวเิ คราะห์แยกแยะสรา้ งสรรค์กจิ กรรมหรือผลงานคดิ เชงิ บวกมากข้นึ
- ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ข้ึนในทุกวิชา
- มีคุณลักษณะอันพึงประสงคม์ พี ฤติกรรมการแสดงออกอย่างเป็นเหตุเป็นผลมากข้นึ
- ได้คดิ ลงมอื ปฏิบัตกิ รรมและนาเสนอผลงานด้วยตนเองมากขนึ้
- นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวันแก้ไขสถานการณ์ปญั หาได้อยา่ งเหมาะสมมากขึ้น
- ทาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เกิดความเช่ือมั่น ทักษะการคิดวิเคราะห์ และวางแผน
อยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน
- จุดแข็งของนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้บูรณาการ 5H (Head Health Heart Hand and
Happiness) เรียนร้ดู ้วยโครงงานโดยฝกึ การสังเกตุ จัดกระทาขอ้ มลู ดว้ ยตาราง กราฟ และสรปุ แผนผังความคิด
เกิดผลดีต่อผเู้ รียน คือ นักเรียนไดเ้ รียนรู้อย่างมีความสุข ไดล้ งมอื ปฏิบัติจริงตอ่ ยอดเป็นโครงการจากปัญหาใน
ทอ้ งถ่นิ ฝกึ ทักษะชวี ิต และนาไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้
- พฒั นาครูผู้สอนโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งกล่มุ ครูผชู้ ่วยให้อบรมสัมมนาช้ีแจงให้ความสาคัญกับตัวช้ีวดั ทตี่ ้องรู้
และควรรู้ในสาระการเรียนรพู้ ้ืนฐาน และการออกแบบหน่วยการเรยี นร้ตู ามแนวทาง Active Learning โดยเน้น
กระบวนการออกแบบท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั
- พฒั นาครูในการจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ ทอ่ี ิงมาตรฐาน เพื่อให้ครูได้นาไปใช้ในการออกแบบท่เี น้น
กระบวนการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ด้วยรูปแบบ Active Learning ท่ีหลากหลาย ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอนในระดบั หอ้ งเรียน
- พัฒนาครดู ้วยกระบวนการ PLC เพื่อใหค้ รูดาเนนิ การพฒั นาในรูปแบบกระบวนการกลุ่มแบบ PLC ใน
โรงเรียน
- นเิ ทศ กากับตดิ ตามกระบวนการจดั การศกึ ษาของครดู ว้ ยการนิเทศ สังเกตชั้นเรยี น ๑) ตรวจสอบหน่วย
การเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีครูออกแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ด้วย
รูปแบบ Active Learning ๒) สังเกตช้ันเรียนตามการออกแบบการสอน และ Coaching ครู ๓) สะท้อนผล
Reflect กับครูผู้สอนตามแนว Active Learning ๔) ร่วม AAR กับครูผู้สอนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในปัญหา
อปุ สรรค และแนวทางในการพัฒนา

82

- ยกย่องเชิดชูเกียรติครูผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ ดาเนินการจัดการประกวดคัดเลือกหน่วยการเรียนรู้

แผนการเรียนรู้และส่ือการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ด้วยรูปแบบ Active Learning โดย

แบ่งการคัดเลอื กตามขนาดโรงเรียน

- ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้ ซ่ึงผู้เรียนได้บรู ณาการความรู้ในรายวิชาตา่ งๆ ส่งผลให้มี

ความรู้ ทักษะ การคดิ วิเคราะห์ และการแก้ปัญหา สามารถประมวลผลจากองค์ความรู้ทักษะวิชาการและวิชาชีพ

พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ ส่นู วตั กรรมสิง่ ประดษิ ฐ์ แผนธุรกจิ ได้ทกุ สาขาวิชากอ่ นสาเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตร

- ผู้เรยี นสามารถคิดค้น นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ฯ ได้อย่างมีคณุ ภาพ ซ่ึงผลงานส่ิงประดษิ ฐ์ฯ เพ่ิมมากขึ้น

เป็นผลงานที่มีคุณภาพและได้เผยแพร่องค์ความรู้สู่ชุมชนและภาคธุรกิจมากขึ้น โดยมีการต่อยอดเชิงพาณิช

รวมท้งั สร้างช่ือเสยี งใหก้ บั สถานศึกษา

- ผลจากการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรยี นรู้ ส่งผลให้ผเู้ รียนสามารถนาทกั ษะองค์

ความรู้จากกลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาโครงการตลอดท้ังวชิ าชีพ มาพัฒนาสร้างผลิตเป็นชนิ้ งาน

โครงงาน นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์ จดั ทาธุรกิจและบริการสาหรบั นักเรยี น ระดบั ปวช.3 และนกั ศกึ ษา ระดับ

ปวส.2 ทุกสาขาวิชา

- จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และประดิษฐ์นวตั กรรมที่ได้จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการจัดการเรียนการ

สอนโดยใช้เทคนคิ STEM

- จัดกจิ กรรมพฒั นาศูนย์การเรียนรู้หรอื แหลง่ เรยี นรู้ดา้ น STEM ศึกษาในโรงเรยี น

- กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรูร้ ะหว่างครกู ับนกั เรียนในเรื่อง STEM ศึกษา

- จดั กิจกรรมการจดั นิทรรศการแสดงผลงานนกั เรียนทเ่ี ป็นผลงานจาก STEM ศึกษา

.

2.2 รายช่ือหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาทีเ่ ปน็ ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทดี่ ี ในการดาเนินงานตามประเด็น

นโยบายดังนี้ (ตารางท่ี ๒๐)

รายชอ่ื หนว่ ยงาน/ ท่ตี ัง้ รายการและรายละเอียด
สถานศึกษาต้นแบบหรือ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งทด่ี ี

การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธัยาศยั

๑. กศน.อาเภอเมืองสุรนิ ทร์ กศน.อาเภอเมอื งสุรินทร์ 1. โครงการประกวดโครงงานนักศึกษา
ถนนคชสาร ตาบลในเมือง ๒. โครงการเรยี นการสอนเทคโนโลยีเบ้ืองต้น
อาเภอเมือง จังหวัดสรุ นิ ทร์
๓๒๐๐๐ ๓. โครงการปรับพ้ืนฐานการศกึ ษา

๒. กศน.อาเภอจอมพระ ตาบลจอมพระ อาเภอ ๑.การใช้พลงั งานโซลารเ์ ซลล์
จอมพระ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ๒. การทาเกษตรอินทรยี ด์ จิ ิทัล,ความหลากหลาย
๓๒๑๘๐ ของแหล่งเรยี นรู้

3. กศน.อาเภอสังขะ ตาบลสังขะ อาเภอสงั ขะ ๑. การลดเวลาทาไขเ่ ค็ม

จงั หวัดสุรนิ ทร์ ๓๒๑๕๐

83

รายชอื่ หน่วยงาน/ ท่ีตง้ั รายการและรายละเอียด
สถานศกึ ษาต้นแบบหรอื หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จุดแข็ง/นวตั กรรม

แบบอย่างทด่ี ี 2/2 ถนนปอยปรงิ มศี นู ย์สะเต็มศึกษา ๒ ศนู ยใ์ ห้ความร้เู พ่ิมเติม
เอกชน ต.ในเมอื ง อ.เมืองสุรินทร์
1. ร.ร.สุรนิ ทรศกึ ษา จ.สรุ ินทร์

สพป.สร.๑ อ.เมอื งสรุ นิ ทร์ สถานศกึ ษาพอเพยี งจิตศกึ ษา ทกั ษะอาชพี
1. โรงเรยี นพรหมประสาท
ราษฎรน์ ุกูล อ.เมืองสุรินทร์ สถานศึกษาพอเพียงพัฒนาทักษะการคดิ
2. โรงเรียนราชวิถี กระบวนการเรยี นรู้โครงงาน
อ.เมืองสรุ นิ ทร์ พฒั นาทกั ษะอาชีพ กระบวนการเรียนรูโ้ ครงงาน
3. โรงเรยี นบา้ นแจรน บูรณาการหลกั สูตร
อ.เมืองสุรนิ ทร์ สถานศึกษาพอเพยี งทกั ษะอาชีพ
4. โรงเรียนเมอื งที อ.ศีขรภูมิ สถานศกึ ษาพอเพียงกระบวนการเรยี นรโู้ ครงงาน
5. โรงเรียนบ้านสะโน อ.ศขี รภูมิ สถานศึกษาพอเพียง ทักษะชวี ิต กระบวนการคดิ
6. โรงเรยี นอนุบาลศขี รภูมิ อ.เขวาสินรินทร์ สถานศึกษาพอเพยี งทกั ษะอาชพี
7. โรงเรียนบา้ นกันตรง อ.เขวาสินรนิ ทร์ สถานศกึ ษาพอเพยี งกระบวนการเรียนรโู้ ครงงาน
8. โรงเรียนบา้ นสามโค อ.สาโรงทาบ สถานศึกษาพอเพียง ทกั ษะชีวติ ทักษะอาชพี
9. โรงเรยี นสะโนวิทยา อ.ลาดวน สถานศกึ ษาพอเพยี งกระบวนการเรียนรโู้ ครงงาน
10. โรงเรียนบา้ นโชกใต้
สพป.สร.๒ อ.ท่าตมู จ.สุรินทร์ พัฒนาการเรียนการสอนสะเตม็ ศึกษา
บ้านลงุ ปุง โดยใช้โครงงาน
อ.รัตนบุรี จ.สุรนิ ทร์ พัฒนาการเรียนการสอนกระบวนการคดิ
บ้านหนองกา วเิ คราะห์ โดยการสอดแทรกกิจกรรม
การจดั การขยะอยา่ งเปน็ ระบบ

84

รายช่อื หนว่ ยงาน/ ท่ีตงั้ รายการและรายละเอยี ด
สถานศึกษาต้นแบบหรือ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม

แบบอย่างทดี่ ี ต.กงั แอน อ.ปราสาท การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการทดลองต่อ
ยอดโครงงานวิทยาศาสตร์
สพป.สร.๓ การจดั การเรยี นรบู้ รู ณาการโดยใช้สวน
1. รร.อนุบาลปราสาทศกึ ษาคาร พฤกษศาสตร์ สรุปความคดิ ดว้ ย Mind
Mapping
2. รร.บา้ นก็วล ต.หนองใหญ่ อ.ปราสาท การใชแ้ ละสรา้ งสือ่ ICT ตามมาตรฐานและ
ตัวช้ีวัด
3. รร.บา้ นโชคนาสาม ต.โชคนาสาม อ.ปราสาท ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้คูก่ บั การเรยี นด้วยทางไกล
4. รร.บ้านตะคร้อ ผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)
5. รร.บ้านปราสาท ต.ตาเบา อ.ปราสาท ชุดกจิ กรรมเรยี นเวทคณิต กบั การอา่ นออกเขยี น
6. รร.บ้านภูมินยิ มพฒั นา ได้
ต.ปราสาททนง Phumniyom Model ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ
อ.ปราสาท ทางการเรียนโดยใช้คูก่ ับสอื่ ทรูปลูกปญั ญาและ
ต.ตาตมุ อ.สังขะ การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
การพัฒนาอจั ฉริยะภาพทางวิทยาศาสตร์ และ
7. รร.บา้ นพระแก้ว ต.พระแกว้ อ.สงั ขะ กจิ กรรมการทดลองวทิ ยาศาสตร์
8. รร.บ้านเลิศอรณุ ต.ทับทัน อ.สงั ขะ การทดลองวทิ ยาศาสตร์ คูก่ ับการใช้สื่อ ICT
9. รร.บา้ นสระแก้ว ต.โคกกลาง อ.พนมดงรกั ตามมาตรฐานและตวั ช้วี ัด
ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้ดู ว้ ยโครงงาน โดยต้งั
10. รร.บ้านโนนทอง ต.ตรวจ อ.ศรีณรงค์ ประเด็นปัญหาจากห้องเรียน ชวี ติ ประจาวนั จาก
ชมุ ชน ระดมพลังสมอง ทดลองทา นาเสนอ
สพม.๓๓ หม่ทู ่ี ๖ บ้านกระทุ่ม ผลงานและจัดนทิ รรศการ
๑. ร.ร.จอมพระประชาสรรค์ ต.จอมพระ อ.จอมพระ การเรียนร้อู ยา่ งมีความสขุ ด้วยการแสดงทาง
จ.สุรินทร์ วทิ ยาศาสตร์
๒. ร.ร.หนองแวงวิทยาคม
หมทู ่ี ๙ บ้านหนองแวง การเปิดประเดน็ ปัญหา
ต.ผกั ไหม อ.ศีขรภมู ิ
จ.สุรินทร์ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

85

รายชอ่ื หนว่ ยงาน/ ท่ีต้งั รายการและรายละเอยี ด
สถานศกึ ษาตน้ แบบหรือ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม

แบบอยา่ งทีด่ ี

๓. ร.ร.ตาเบาวิทยา หมทู่ ี่ ๑๐ บา้ นละเบกิ การใชโ้ ปรแกรมสรา้ งภาพกราฟฟิก

ต.ตาเบา อ.ปราสาท
จ.สรุ นิ ทร์

๔. ร.ร.ศีขรภมู พิ สิ ัย หมู่ท่ี ๑ บ้านปราสาท "อาเซยี นรกั ษว์ ถิ ี ประเพณลี อยกระทง ดารงตน
ต.ระแงง อ.ศขี รภมู ิ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง" บรู ณาการ
จ.สรุ นิ ทร์ แบบสหวทิ ยากร ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓

๕. ร.ร.ท่าตมู ประชาเสรมิ หมทู่ ่ี ๙ บ้านท่าตมู กระถางต้นไมจ้ ากฟางข้าว (มลู ชา้ ง)
วทิ ย์
ต.ทา่ ตมู อ.ทา่ ตูม
จ.สุรนิ ทร์

๖. ร.ร.นารายณ์คาผงวทิ ยา หมทู่ ี่ ๑๒ บ้านอีแฮด Let's go shopping

ต.คาผง อ.โนนนารายณ์

จ.สุรินทร์

อาชวี ศึกษา

1. วทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ นิ ทร์ 346 ถ.หลกั เมอื ง ต.ในเมอง
อ.เมอื ง จ.สรุ ินทร์

2. วทิ ยาลยั อาชีวศึกษา 426 ถ.เทศบาล 1 ต.ในเมือง
สรุ นิ ทร์ อ.เมอื ง จ.สรุ ินทร์

3. วทิ ยาลยั สารพดั ช่าง 778 หมู่ 20 บ้านหนองโตง การจดั เรยี นการสอนมีประสิทธภิ าพ ที่ดี
สรุ ินทร์ พัฒนา ถ.สรุ นิ ทร์- เพ่มิ ข้นึ ผูเ้ รียนสามารถเกิดการเรียนรไู้ ด้
ปราสาท ต.นอกเมอื ง อยา่ งรวดเร็ว และทาให้เกิดแรงจูงใจ ดา้ น
4. วทิ ยาลัยการอาชพี ท่าตมู อ.เมือง จ.สรุ ินทร์
นวตั กรรมทางการศึกษา
405 หมู่ 7 ถ.ปทั มานนท์
ต.ท่าตูม อ.ทา่ ตมู จ.สรุ ินทร์

5. วิทยาลยั การอาชีพศีขรภูมิ ต.ระแงง อ.ศีขรภมู ิ จ.สรุ นิ ทร์

6. วทิ ยาลัยการอาชีพสงั ขะ 49 หมู่ 7 ถ.โชคชัย-เดชอุดม
อ.สงั ขะ จ.สรุ นิ ทร์
7. วิทยาลัยการอาชพี
ปราสาท 221 หมู่ 5 ถ.โชคชัย-เดชอุดม
ต.ปรอื อ.ปราสาท จ.สุรินทร์

86

3. ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย

- ครผู ู้สอนให้ความสาคัญกบั คาตอบมากกว่ากระบวนการคดิ
- ผเู้ รียนขาดเครอ่ื งมอื ช่วยคดิ ในระหวา่ งเรยี นรู้
- ผเู้ รียนไมเ่ กดิ การเช่ือมโยงความรแู้ ละประสบการณ์
- ระบบการศึกษาขาดการประเมนิ ผลสัมฤทธใ์ิ นส่วนของกระบวนการเรยี นรู้
- ผเู้ รยี นขาดประสบการณ์ความภาคภูมิใจจากผลงานที่คดิ ได้
- การติดตามงานตามนโยบายให้เป็นไปตามเป้าหมายไมต่ ่อเน่อื ง
- เป้าหมายของโรงเรียนไม่ชดั เจน
- ครูขาดความรทู้ กั ษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้
- ขาดส่ือ/ อุปกรณ/์ งบประมาณในการจัดกระบวนการเรียนรู้
- ครูผู้สอนยังไมเ่ ข้าใจชดั เจนเกี่ยวกบั กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทสี่ อดคลอ้ งกบั นโยบายดังกล่าว
- การจัดกจิ กรรมการเรียนรไู้ ม่ตอ่ เนอ่ื ง
- การใหม้ หาวิทยาลัยในพืน้ ทเ่ี ป็นพเ่ี ลย้ี ง ไมไ่ ด้มาดแู ลตามนโยบายท่กี าหนด และสานกั งานเขตพ้นื ที่
การศึกษา ไม่ทราบหนา้ ที่ทช่ี ัดเจนวา่ มหาวิทยาลัยมขี อบข่ายบทบาทการดแู ลโรงเรียนอยา่ งไรบ้าง เพราะไมไ่ ดร้ ับ
การประสานงานแต่อย่างใด (SETM)
- โครงการที่ดาเนินงานมาจากหน่วยงานต้นสงั กดั (สพฐ.) ลา่ ช้าและให้ดาเนนิ การในเวลาทจี่ ากดั
- ความไมต่ ่อเนอ่ื งของโครงการในแต่ละปี เป้าหมายเปลยี่ นแปลงตลอด
- พัฒนาครู ส่งผลกระทบทาให้ครูท้ิงห้องเรยี นเข้ารบั การประชมุ อบรม สมั มนา
- บุคลากรบางสว่ นยงั ขาดความรู้ความสามารถในการใชส้ ่อื เทคโนโลยี นวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ์
และอุปกรณ์ใหม่ ๆ ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นขาดโอกาสในการเรียนร้ใู นสง่ิ ใหม่ๆ
- ขาดงบประมาณในการสนับสนุนผู้เรยี นเพื่อจดั ทานวตั กรรม
- ครยู ังขาดทักษะในการบรู ณาการการเรียนการสอน
- ครูไม่ไดร้ ับการอบรมเทคนิค STEM ศกึ ษา
- นักเรียนท่มี ีความบกพรอ่ งทางการได้ยินมปี ัญหาและขอ้ จากดั ในการสื่อสาร โดยตอ้ งใชภ้ าษามอื เป็น
หลักในการสอ่ื สาร
- การจัดกระบวนการเรยี นการสอนสาหรับครทู เี่ ข้ามาทางานใหม่ ยังไม่ชานาญภาษามือสง่ ผลให้ขาด
- ความตอ่ เน่ืองในการสอน ดังนน้ั สถานศกึ ษาจงึ ได้จดั การอบรมภาษามอื ใหก้ บั ครู
4. ขอ้ เสนอแนะ

4.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นานโยบาย

- ครคู วรไดร้ บั การพฒั นาการเรียนรู้สะเตม็ ศกึ ษาเพิ่มเติมตอ่ เนื่อง

- ให้มกี ารจัดอบรมให้กบั ครแู ละบคุ ลากรรว่ มกบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาในจังหวัดสรุ ินทร์

- ควรจดั สรรงบประมาณเพิม่ ตามความต้องการ

- ควรจดั อบรมให้ความรู้ ใหม้ ที กั ษะในการบรู ณาการจดั การเรียนการสอน

- การสอดแทรกกจิ กรรมในโครงการเขา้ คา่ ยต่าง ๆ ฝกึ ใหผ้ ้เู รยี นมีทักษะการคิดในเร่ืองของการแก้ปัญหา

การปรับตวั เขา้ กบั สภาพแวดล้อมใหม่ ๆ และการมีปฏสิ มั พนั ธ์กบั ผู้อ่ืน

87

- ครูเลือกเน้ือหาที่จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวางแผนจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้และจัดทาแผนการเรียนรู้รู้และมีการวัดและประเมินผลท่ีครอบคลุมทั้งด้านเน้ือหาวิชา คือ ผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนและทกั ษะในการคดิ ของผู้เรยี น

- ตั้งเป้าหมายหรอื กาหนดผลลัพธแ์ ละความสาเร็จของการนานโยบายส่กู ารปฏิบัติให้ชัดเจนเปน็ รูปธรรม

- สรา้ งแรงบันดาลใจในการไปถงึ เป้าหมายใหก้ บั โรงเรียนและครู

- สร้างเครอื ข่ายต้นแบบเพอ่ื พัฒนาการจดั การเรียนการสอนแบบสะเต็มศกึ ษา

- มหี ลกั สูตร แนวทางทชี่ ัดเจน เพอ่ื พัฒนาครูผู้สอน

- การจัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษาอย่างท่ัวถึง

และเพยี งพอ

- สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ควรได้ดูแลโรงเรียนต้ังแต่การมอบนโยบาย การอบรมให้ความรู้ การ

สนับสนุนและการนิเทศ ติดตาม ซ่ึงทุกส่วนมีความเชื่อมโยงกัน และโรงเรียนกับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามี

ความสัมพนั ธก์ ันโดยปกติของการปฏบิ ตั งิ านอย่แู ล้ว จึงไม่ควรแยกส่วนการดาเนินกจิ กรรม

- ให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นผู้ดาเนินการอบรมครู เพื่อให้มีความเช่ือมโยงในการนิเทศ

ช่วยเหลอื การจัดกิจกรรมของครู เนื่องจากเม่ือครไู ด้รบั การอบรมความรูจ้ ากศูนย์ STEM ศกึ ษาประจาจังหวัด แต่

ศูนย์ไม่ได้ประสานข้อมูลความรู้และการติดตาม นิเทศกับสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จึงทาให้ขาดความ

เช่ือมโยงระหวา่ งผูม้ อบนโยบาย ผู้จัดอบรม โรงเรียน และสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา

- การจัดอบรมให้ความรู้กับครูท่ีเข้าร่วมโครงการด้วยทีมงานของ SMART TEAM ซึ่งเป็นครูที่อยู่ใน

สังกัดสานักงานเดียวกันกับครูที่เข้าร่วมโครงการ ทาให้สะดวกในการใหค้ วามช่วยเหลือการจัดกิจกรรมและการ

นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล .

4.2 ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ

- ควรดาเนนิ การพฒั นาครูผูส้ อนอย่างเป็นระบบจรงิ จังและใหค้ รอบคลุม (สะเต็มศึกษา)

- สนับสนุนสือ่ วสั ดอุ ุปกรณ์อย่างเพียงพอ

- สนบั สนนุ งบประมาณให้โรงเรยี นสามารถดาเนนิ การได้ตามบรบิ ทความตอ้ งการอย่างเพยี งพอ

- ให้งบประมาณและสนบั สนนุ การขยายเครือข่ายเพอ่ื พัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง

- ตดิ ตามอย่างต่อเน่ือง

- ผู้ทาหน้าท่ีนเิ ทศ ติดตาม แนะนาชว่ ยเหลือโรงเรียน ควรศึกษาความเข้าใจการจดั การระบบ

STEM เพอื่ ใหก้ ารขับเคลอ่ื นมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล

- หน่วยงานต้นสังกัดควรให้ความจริงจังในการขับเคล่ือน และสรรหาวิธีในการสร้างความเช่ือท่ีจะ

พัฒนาและขับเคลื่อนท่ีเปน็ รูปธรรมของผู้ที่จะสามารถนาการเปลย่ี นแปลงและปฏบิ ัติในระดบั สถานศกึ ษาทจ่ี รงิ จัง

และเสรมิ กาลังใจ

- หน่วยงานตน้ สังกัดควรได้สร้างและพฒั นาส่ือตั้งตน้ ท่ีหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้โรงเรยี นได้เลือก

และนาไปใช้ให้เหมาะสมกบั บริบทของตนเอง

88

นโยบายท่ี 5 การเพมิ่ สัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ

(สพป./สพม./สศศ./สกอ./สช./สอศ.)

5.1 การจัดทาแผนบูรณาการการรับนกั เรยี นเพื่อเพิม่ สัดส่วนผูเ้ รียนสายอาชีพระดับจงั หวัด
KPI : จานวนจงั หวัดทไี่ ด้จัดทาแผนและยทุ ธศาสตรก์ ารรบั นกั เรยี นเพื่อเพ่ิมผเู้ รยี นสายอาชพี

5.2 มาตรการ/เป้าหมายการเพม่ิ สดั สว่ นผู้เรียนสายอาชีพ
KPI : ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศกึ ษาถึงระดับมธั ยมศึกษาทไี่ ดร้ บั การสรา้ งทัศนคตทิ ดี่ ีต่ออาชีพ
และการแนะแนวการศึกษาเพอ่ื อาชพี
KPI : สดั ส่วนผู้เรยี นสายอาชวี ศึกษากับผเู้ รียนสายสามัญศึกษา

ผลการดาเนินงาน
1. ผลการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบายและตวั ช้วี ดั
1.1 สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั ไดจ้ ัดทาแผนและยทุ ธศาสตร์การรบั นกั เรียนเพ่ือเพมิ่ ผู้เรยี น

สายอาชีพ หรอื ไม่
 จดั ทาแผนฯ (จัดทาแผนการแนะแนวนกั เรียนจบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เรียนตอ่ สาย

อาชพี สพป.สร.๒)
 ไม่ไดจ้ ดั ทาแผนฯ

1.2 ยุทธศาสตร/์ มาตรการในการรบั นักเรียนเพ่ือเพ่ิมผู้เรยี นสายอาชีพของจังหวัด (สพป.สร.๒)
มดี ังนี้

1.2.1 จัดต้งั ศนู ย์แนะแนวการเรยี นตอ่ สายอาชพี ประจาสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา
สุรนิ ทร์ เขต 2 ตั้งอยทู่ ่ีกลมุ่ ส่งเสริมการจัดการศึกษา (ชนั้ 2) โทร. 044-598893

1.2.2 การแนะแนวการเรยี นต่อสายอาชีพของนักเรียนท่ีกาลังศึกษาอยู่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
โดยร่วมดาเนนิ การกับวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการรัตนบุรี และวทิ ยาการอาชีพท่าตูมออกแนะนาแนวทาง
ศึกษาตอ่ สายอาชีพ จานวน 15 เครือข่ายโรงเรยี นในเขตพน้ื ทบ่ี รกิ าร

1.2.3 จัดงานมหกรรมอาชีพร่วมกับผู้ประกอบการอาชีพให้กบั กลุ่มเป้าหมาย เช่น นักเรียนระดับ
มธั ยมศึกษาตอนต้น ท่ีกาลังจะเลือกเรียนสายอาชีพ หรืออาจเป็นการต่อยอดนาไปประกอบอาชีพกรณีเรียนต่อ
นอกระบบและประกอบอาชพี ไปด้วย

1.2.4 การฝึกประสบการณ์อาชีพ (Work Experience) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2ใน
หน่วยงาน สถานประกอบการในเขตพ้ืนที่ เพื่อเตรยี มเขา้ สู่ตลาดแรงงาน หรือเลือกศึกษาต่อสายอาชพี ที่มีความ
ถนัดเหมาะสมกบั สภาพการจา้ งงานในพนื้ ท่ี

89

1.3 จานวนนกั เรยี นประถมศกึ ษาถึงระดบั มธั ยมศึกษาที่ไดร้ ับการสรา้ งทศั นคติท่ดี ตี อ่ อาชีพและ
การแนะแนวการศึกษาเพอื่ อาชพี ปีการศึกษา 2560 (ตารางที่ ๒๑)

สังกัด จานวนนักเรยี นทงั้ หมด จานวนนักเรียนที่ได้รบั การสร้างทัศนคตทิ ดี่ ี รอ้ ยละ
(คน) ต่ออาชีพและการแนะแนวการศกึ ษา
สพป เพื่ออาชีพ (คน) ๘๑.๖๑
สพม. ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม ๙๘.๑๔
ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม
สศศ. 52,213 10,560 369 63,142 ๑๐๐
สกอ. (ร.ร.สาธติ ฯ) - ๒๙,๔๑๘ ๒๓,๓๗๓ ๕๓,๗๙๑ 40,962 10,197 369 51,528 -
สช. - ๒๙,๔๑๘ ๒๓,๓๗๓ ๕๒,๗๙๑ -
อืน่ ๆ (ระบ)ุ ......... ๑๓๐ ๗๘ ๘๘ ๒๙๖ -
- - - - ๑๓๐ ๗๘ ๘๘ ๒๙๖
- - - - - - --
- - - - - - --
- - --

1.4 หนว่ ยงาน/สถานศึกษาสรา้ งทัศนคติท่ีดตี ่ออาชพี และการแนะแนวการศึกษาเพือ่ อาชพี ใหก้ บั

ผู้เรียนดงั น้ี

- โรงเรยี นไดส้ รา้ งความตระหนักในการสร้างงานสรา้ งอาชพี ใหก้ ับผู้เรยี น โดยมีจัดการเรยี นการ
สอนเปน็ รายวชิ าเพิม่ เติมในกลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ซ่งึ สง่ ผลใหม้ ีเจตคติที่ดีต่อการเรยี น
สายอาชีพ

- มกี ารจดั กิจกรรมการแนะแนวเกยี่ วกบั การศึกษาตอ่ ในสายอาชีพ
- สง่ เสริม/สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาในสังกดั จัดการศกึ ษาเพื่อการมีงานทา หลากหลายรปู แบบ
ตามแนวทางการจัดการศกึ ษาในศตวรรษที่ ๒๑
- ส่งเสริม/สนับสนนุ ให้มกี ารแนะแนวการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทา แนะแนวอาชพี ของ
หนว่ ยงาน / สถานศกึ ษาในสงั กัดอาชวี ศึกษา
- สง่ เสรมิ / สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาในสงั กัด ท่จี ัดการศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทาในรูปแบบต่าง ๆ
จัดทาข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) กบั สถานศกึ ษาระดบั อาชีวศกึ ษาในพื้นท่ใี กล้เคียง
- จดั เวลาการแนะแนวใหผ้ เู้ รียนรับรู้อาชพี ต่าง ๆ และการค้นพบตัวเองในอาชีพทตี่ นชอบ และมี
ความถนัด
- แนะนาให้ผูป้ กครองปรับเปลยี่ นค่านิยมที่ผกู ติดกับการเรยี นต่อสายสามญั ของนักเรยี นท่มี ุ่งสู่
การศกึ ษาตอ่ มหาวทิ ยาลัยชอ่ื ดังตา่ งๆโดยไมค่ านงึ ถึงเร่ืองการประกอบอาชพี ในอนาคตของผู้เรยี น
- แนะนานกั เรียนท่มี ผี ลการเรียนคอ่ นขา้ งตา่ โดยเน้นวา่ ควรเรยี นต่อสายอาชีพปวช./ปวส. ทง้ั นี้
กลุ่มที่เรยี นเกง่ อย่แู ลว้ ก็สามารถเลือกเรียนไดเ้ พราะเรียนงา่ ยกว่าจบแลว้ สามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานรอ้ ยละ 100
หรือประกอบอาชพี ธุรกิจสว่ นตัว
- สนับสนุนให้โรงเรียนจดั การเรียนการสอนลดเวลาเรียนเพิม่ เวลาร้สู นับสนุนให้นักเรียนเลอื ก
เรียนตามความถนดั เพ่อื คน้ พบตนเองตอ่ ยอดในการประกอบอาชีพในอนาคต
- สนับสนนุ ให้โรงเรยี นจัดกจิ กรรมแนะแนวการศกึ ษาต่อ

90

1.5 จานวนผูเ้ รยี นสายอาชวี ศึกษากบั ผู้เรยี นสายสามญั ศึกษา ปีการศกึ ษา 2560 (ตารางท่ี ๒๒)

สังกัด ผู้เรียนระดับ ผู้เรยี นระบบ ผู้เรียนระดบั
ม.ปลาย (คน) ทวศิ กึ ษา (คน) ปวช.(คน)
สพป. (สายสามัญ: ม.4–ม.6) (ปวช.1–ปวช.3)
สพม. *ไม่รวมทวศิ ึกษา ๒๕๙ *ไมร่ วมทวิศึกษา
สศศ.โสต ๑,๑๔๕
สช. ๔๖๑ ๙๐๑
สกอ. (ร.ร.สาธติ ) ๒๒,๒๒๘ - -
สอศ. (รัฐบาล) - -
สอศ. (เอกชน) ๘๘ - -
อืน่ ๆ (ระบ)ุ เชน่ อปท.............. - - -
- - -
- - -
- -
-

2. ความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดีในการดาเนินงานตามนโยบาย
2.1 ความโดดเด่น จุดแขง็ นวัตกรรมในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย มีประโยชนห์ รือ

เกดิ ผลดตี อ่ ผู้เรียนอย่างไรบา้ ง
- โรงเรียนทีจ่ ัดการเรียนการสอนทวิศึกษา เมือ่ เรยี นจบหลักสตู รแล้ว จะไดร้ ับใบประกาศฯ ทัง้ สาย

สามญั และ สายอาชพี ซ่ึงเป็นผลดีต่อนักเรียนที่ตอ้ งการออกไปประกอบอาชพี
- ผเู้ รยี นทจี่ บการศึกษาระบบทวิศึกษาได้รับใบประกาศนยี บัตร 2 ประเภท คือ ใบประกาศนียบัตร

สายสามญั (ม.6) และใบประกาศนียบัตรสายอาชีพ (ปวช.) การหางานทาง่ายและมีรายได้สงู ขน้ึ กว่าการจบสาย
สามญั

- ผูเ้ รยี นมีความร้แู ละประสบการณจ์ ริง สามารถออกไปประกอบอาชพี ไดเ้ มื่อจบการศึกษา
- โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการฝึกทักษะอาชีพให้กับผู้เรียนกับหน่วยงานต่างๆ เช่น
วิทยาลัยสารพัดช่างสุรินทร์ วิทยาลัยการอาชีพศรีขรภูมิ โรงแรมทองธารินทร์ โดยมีการทาบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมอื ในด้านต่างๆ เชน่ การฝกึ อาชีพระยะสั้น การฝกึ งานในสถานประกอบการ จนเกิดทกั ษะและความ
ชานาญ
- นักเรียนมีโอกาสที่จะศึกษาต่อในระดับ ปวส.หรือระดับที่สูงขึ้นกับสถานศึกษา ต่างๆ เช่น
วิทยาลยั สารพดั ชา่ งสุรินทร์ วทิ ยาลยั การอาชีพศีขรภูมิ

91

2.2 รายชื่อหนว่ ยงาน/สถานศึกษาที่เป็นต้นแบบหรอื แบบอย่างที่ดี ในการดาเนินงานตามประเดน็

นโยบายดงั น้ี (ตารางที่ ๒๓)

รายชอื่ หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ทตี่ ั้ง รายการและรายละเอียด

ต้นแบบหรอื แบบอยา่ งทีด่ ี หน่วยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จดุ แขง็ /นวัตกรรม

สพป.สร.๑

1. โรงเรยี นบ้านตรมึ “ตรึม อ.ศขี รภูมิ จ.สรุ ินทร์ จัดการเรยี นการสอนแบบทวศิ กึ ษา

วิทยานเุ คราะห์”

2. โรงเรยี นพรหมปราสาท อ.เมือง จ.สุรินทร์ เปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

ราษฎร์นุกูล พอเพียง

3. โรงเรยี นบา้ นกันเตรียง อ.เมอื ง จ.สุรินทร์ โรงเรยี นสีขาว ระดบั ประเทศ

สพป.สร.๒

๑.โรงเรยี นสระขดุ ดงสาราญ ต.สระขุด อ.ชุมพลบุรี จ. -ส่งเสรมิ การเรยี นเพ่อื การมงี านทา

วทิ ยา สรุ ินทร์

๒.โรงเรยี นบ้านทา่ ศลิ า ต.เมืองแก อ.ทา่ ตูม จ. -สง่ เสรมิ การส่งต่อนกั เรียนเรยี นตอ่

สุรนิ ทร์ สายอาชพี คดิ เปน็ ร้อยและ 90

สพป.สร.๓

1. รร.บ้านสะเดา ต.สะเดา อ.บวั เชด 1.โรงเรยี นจดั การศกึ ษา 2 สาย ในคราวเดยี วกัน

2. รร.บา้ นตรวจ ต.ตรวจ อ.ศรีณรงค์ 2.ผเู้ รียนมแี รงบันดาลใจต่ออาชีพและรายได้

3. รร.บา้ นรนุ ต.บกั ได อ.พนมดงรกั

สพม.๓๓ อ.พนมดงรัก จ.สรุ ินทร์ ประดษิ ฐ์ของใชจ้ ากเศษไม้ ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญ
๑. ร.ร.พนมดงรกั วิทยา ทองชนะเลศิ ในการแขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรม
นักเรียน ๑๐๐ คะแนน เต็ม
๒. ร.ร.สาโรงทาบวิทยาคม อ.สาโรงทาบ จ.สรุ นิ ทร์
เหลก็ ดดั (โลหะการ) นกั เรียนไดม้ งี านทาทุกคน
๓. ร.ร.สนมวทิ ยาคาร อ.สนม จ.สรุ นิ ทร์
จดั สอนสาขาวิชาบญั ชี ระดับ ปวช. นกั เรยี นจบ
๔. ร.ร.บุแกรงวทิ ยาคม อ.จอมพระ จ.สรุ ินทร์ การศึกษามีงานทาทกุ คน
จัดสอนการเลีย้ งสัตว์และการเกษตรแบบครบ
๕. ร.ร.กุดไผทประชาสรรค์ อ.ศขี รภูมิ จ.สุรินทร์ วงจร

๖. ร.ร.โคกยางวทิ ยา อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ หลกั สตู รการทาอาหารและการทานา้ มะนาวจาก
ผลผลิตในทอ้ งถิน่
๗. ร.ร.ตาคงวทิ ยา รัชมงั คลา อ.สงั ขะ จ.สรุ นิ ทร์
น้าหมักชีวภาพ และผลิตภณั ฑเ์ กษตร

การแปรรูปอาหาร/อาหารพ้ืนบา้ น

ภิเษก

92

3. ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย
- ปัจจุบันทาได้เพียงรณรงค์ให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สนใจเข้าเรียนต่อสายอาชีพรวมถึง
ประชาสัมพันธ์แหล่งที่นักเรียนจะเรียนต่อสายอาชีพ ท้ังสถาบันของรัฐ และสถานเอกชนที่เปิดเรียนโดยไม่มี
คา่ ใช้จา่ ย ท้ังนี้ เน่ืองจากงบประมาณสามารถจดั งานนิทรรศการเก่ียวกบั งานอาชีพได้เพียง 1 ครั้ง/ปี เท่าน้ันซ่ึง
เป้าหมายของสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ไดเ้ ปา้ ไว้ในปีการศึกษา 2562 ผู้เรียนต่อ
สายอาชีพคดิ เปน็ ร้อยละ 60 ปัจจุบันปกี ารศกึ ษา 2560 เกนิ เป้าทกี่ าหนดไว้แลว้ ร้อยละ 72.48
- ทวิศึกษาไม่ได้รบั การสนับสนนุ งบประมาณเพอื่ การดาเนินการ สง่ ผลให้คุณภาพผเู้ รยี นและการบริหาร
จดั การไมม่ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเท่าทค่ี วร
- นกั เรยี นท่ีมีความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ มปี ัญหาและอุปสรรคในการสอ่ื สารดว้ ยภาษาพดู ต้องใชภ้ าษา
มอื ในการสอื่ สาร ทาให้มอี ุปสรรคในการเรียนหรือการฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ
- คา่ นิยมของผู้ปกครองยังมุ่งให้ลูกเรียนเพ่ือไปรับราชการ การแย่ง หรือดึงผู้เรียนเพ่ืองานงบประมาณ
รายหัวในการบรหิ ารจดั การ
4. ข้อเสนอแนะ

4.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นานโยบาย
- ภาพรวมระดับประเทศ ช่วงระยะเวลาท่ีเปิดรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อ จะต้องประชาสัมพันธ์ทุก
ช่องทาง เพื่อสือ่ ไปถึงผปู้ กครองของนักเรยี นได้รบั ทราบข้อดขี องการเรยี นตอ่ สายอาชพี ใหเ้ ป็นไปอยา่ งทว่ั ถงึ
- รณรงค์ปรับภาพลักษณ์ของนักเรียนอาชีวะ โดยเฉพาะกลุ่มสถาบันอาชีวศึกษาท่ีเปิดสอนอยู่ท่ี
กรุงเทพมหานคร ที่เป็นตัวสรา้ งภาพใหผ้ ู้ปกครองที่แม้อยู่ต่างจังหวัดหรือพื้นท่ีห่างไกลเกิดความกังวลในการส่ง
เดก็ เขา้ ศกึ ษาตอ่ สายอาชวี ศกึ ษา ท้ังทตี่ ่างจงั หวัดไม่คอ่ ยมีปัญหาเรอ่ื งดงั กล่าวตามท่ที ราบโดยทัว่ กนั
- จัดงบประมาณสนับสนุนผู้เรียนตามนโยบายทวิศึกษา เชน่ ค่าพาหนะ คา่ อาหารเพ่ือการเดินทาง
ไปเรียนในระบบทวิศึกษาเนอ่ื งจากโรงเรียนขาดงบประมาณไมส่ ามารถบรหิ ารจัดการไดต้ ลอดปกี ารศึกษา
- มีบรกิ ารลา่ มภาษามือในชั่วโมงเรียนหรือการฝึกทกั ษะการปฏบิ ัตงิ าน นเิ ทศติดตามอย่างตอ่ เนื่อง
- ใหค้ วามรเู้ พอ่ื ปรับเปลีย่ นคา่ นิยมของผปู้ กครองมุ่งใหล้ กู เรียนเพื่อม่งุ สู่การมีงานทา
- ประสานความร่วมมือผู้เกี่ยวข้องทุกสังกัดเพื่อการจัดการศึกษาท่ีมุ่งให้ผู้เรียนมีงานทา โดยไม่
ขดั แยง้ และรว่ มมือกันอยา่ งจริงจัง
4.2 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
- ในส่วนท่ีต้องใช้งบประมาณในการแนะแนวหรือรณรงค์ เช่น การจัดกิจกรรม Road Show
ปจั จุบันสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ดาเนินการร่วมกับสถานศึกษาอาชีวศึกษาใน
พ้ืนที่อยู่แล้ว (โดยไม่มีงบประมาณ) หรือการเย่ียมชมสถานศึกษาที่เปิดสอนสายอาชีพ เช่น กิจกรรม Open
House ควรมีการจดั สรรงบประมาณเหมาะสมเพียงพอตอ่ จานวนนักเรียน เพราะการนานักเรียนไปดสู ถานศกึ ษา
ที่เปิดสอนสายอาชีพได้เห็นบรรยากาศการเรียนการสอน หรือได้รับการแนะแนวจากครู หรือนักศึกษารุ่นพี่ใน
สถานศึกษาสายอาชีพท่ีเปิดกิจกรรม Open House จะเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนต้องการเข้าเรียนสายอาชีพ
มากข้นึ หรือแนะนาเพ่อื นนกั เรยี นด้วยกันให้สนใจหนั ไปเรียนตอ่ สายอาชพี มากขน้ึ
- ควรสนับสนุนและส่งเสริม นิเทศ ติดตาม ประเมินผล จากหน่วยงานภายในและภายนอกใน
รูปแบบการมีสว่ นร่วมจากทกุ ภาคสว่ น
- ควรมยี ุทธศาสตร์ แนวทางการปฏบิ ัติท่สี อดคลอ้ งกันในทกุ ระดบั และทุกสงั กัดท่เี กีย่ วขอ้ ง

93

นโยบายท่ี 6 การพัฒนากาลังคนตามความต้องการของสถานประกอบการภายในประเทศ

(สอศ./สพม./สศศ./กศน.)

6.1 สมรรถนะของผูส้ าเร็จอาชวี ศึกษา
KPI : ร้อยละความพึงพอใจของสถานประกอบการตอ่ สมรรถนะผสู้ าเร็จอาชีวศึกษา

6.2 การเข้าส่กู ารมีงานทาหรอื ประกอบอาชีพอสิ ระ
KPI : รอ้ ยละของผสู้ าเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาระดับ ปวช. มีงานทาหรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี
KPI : ร้อยละของผู้สาเรจ็ การศึกษาอาชีวศกึ ษาระดับ ปวส. มงี านทาหรือประกอบอาชพี อิสระภายใน ๑ ปี

6.3 การจดั อาชวี ศกึ ษาแบบมสี ่วนร่วมกับสถานประกอบการเพอ่ื ใหผ้ ้สู าเร็จอาชวี ศกึ ษามีประสบการณ์ตรง
ในการฝกึ อาชพี และมสี มรรถนะทีส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการตลาดแรงงาน
KPI : รอ้ ยละของผูเ้ รียนอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี

ผลการดาเนินงาน
1. ผลการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบายและตัวช้ีวดั
1.1 ระดบั ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อสมรรถนะผ้สู าเรจ็ อาชวี ศกึ ษา (จาแนกเปน็

รายสถานศกึ ษา) (ตารางที่ ๒๔)

สถานศกึ ษา ระดับความพงึ พอใจ
มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ดุ
1.วิทยาลยั เทคนคิ สุรินทร์
2.วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสุรนิ ทร์ 
3.วทิ ยาลัยสารพดั ช่างสรุ ินทร์ 
๔. วิทยาลยั การอาชีพท่าตูม 
๕. วทิ ยาลัยการอาชีพศขี รภูมิ 
๖. วทิ ยาลยั การอาชพี สังขะ 
๗. วิทยาลยั การอาชพี ปราสาท 

๘. วทิ ยาลยั เทคโนโลยีและการจัดการรตั นบรุ ี 

หมายเหตุ : รวมสถานศึกษาเอกชนประเภทอาชวี ศกึ ษาด้วย


Click to View FlipBook Version