The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือครู ฉบับ try out

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by komboo20053, 2021-09-20 02:32:24

คู่มือครู ฉบับ try out

คู่มือครู ฉบับ try out

50

51

52

โปรแกรมเดสท็อปออเทอร์ (Desktop Author)

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถนำเสนอข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว
เสียง วีดิทัศน์ และเชื่อมโยงเนื้อหาสาระภายในแฟ้มเดียวกันหรือแฟ้มอื่นๆ อาจมีการโต้ตอบหรือการเชื่อมโยง
เนื้อหาสาระตามท่ีผู้ใช้ต้องการ มีลักษณะเหมือนหนังสือทั่วไป คือ มีปกหน้า-หลัง สารบัญ เนื้อหาภายในเล่ม และ
ดัชนี เนื้อหาภายในเล่มอาจจะแบ่งออกเป็น บทแต่ละบทมีจำนวนหน้ามากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละหน้า
ประกอบด้วยตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิทัศน์ โดยอาจจะแสดงทันทีหรือปรากฏเป็นปุ่มไว้ให้กด
เรยี กกไ็ ด้ ทงั้ น้ี โครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกสแ์ ต่ละเล่มอาจจะแตกต่างกนั ขน้ึ อยู่กับจุดประสงค์การใช้งาน ใน
หน่วยการเรียนรู้นี้นกั เรียนจะได้เรียนรู้การทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยนักเรียนรับใบความรู้ที่ 1.4 เรื่อง การทำ
หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Book) ด้วยโปรแกรมเดสท็อปออเทอร์ (Desktop Author) พรอ้ มทงั้ สาธิตการทำหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ และให้นักเรียนได้ฝกึ ปฏบิ ัติตามคลิปสัน้ ครูอธิบายใบงานที่ 1.4 และให้นักเรียนฝึกปฏิบัติใบงานท่ี
1.4 โดยครใู หค้ ำแนะนำการปฏบิ ัติของนกั เรยี น

การบูรณาการ เป็นการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบบรู ณาการเนือ้ หาสาระ ดงั นี้

รายวชิ าที่บรู ณาการ เนื้อหาการบรู ณาการ

1. วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. การทำหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Book) ดว้ ยโปรแกรมเดสทอ็ ปออ

เทอร์ (Desktop Author)

2 ภาษาไทย (Th) 2. การอา่ น

สอื่ การเรยี นรู้

สือ่ การเรียนรู้ สง่ เสรมิ ทักษะ/สมรรถนะ

1.ใบความรู้ที่ 1.4 เรื่อง การทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e- ทกั ษะการอา่ น

Book) ด้วยโปรแกรมเดสท็อปออเทอร์ (Desktop Author)

2. ใบงานท่ี 1.4 เรื่อง การทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ทักษะทางการใช้เทคโนโลยี

ด้วยโปรแกรมเดสท็อปออเทอร์ (Desktop Author)

รายละเอยี ดดงั เอกสาร ดังตอ่ ไปน้ี

53

54

55

56

57

58

59

60

61

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 โรงเรยี นของฉนั (My School)

ในหน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 โรงเรยี นของฉนั (My School) เป็นกิจกรรมท่นี ำเอาเทคโนโลยีมาใช้เปน็ เครื่องมือ

ในการเรียนรู้ทั้งการสืบค้นข้อมูล สถานที่ คำศัพท์ ตลอดจนทำวีดีทัศน์ และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการ

นำเสนอข้อมูลจากการเรียนรู้ ทั้งการเขียนคำศัพท์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประโยค การเขียนบรรยายการ

เดนิ เมอื ง การแยกสถานะของสสาร การบอกมมุ และประเภทของมมุ

รายวชิ าท่ีบรู ณาการ เน้อื หาการบูรณาการ

1. วทิ ยาศาสตร์ 1. การแยกสถานะของสสาร

2. เทคโนโลยี 2. การทำ e-Book และการทำ Vlog

3. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 3. การวางแผนการทำงานและแก้ไขปญั หา

4. คณติ ศาสตร์ 4. การทำแผนที่และบอกตำแหน่งของสถานที่ ขนาดของมุม

และประเภทของมุม

5. ภาษาองั กฤษ 5. คำศพั ทจ์ ากเน้อื หาท่เี รยี น

6. ภาษาไทย 6. การเขียนบรรยายเหตุการณ์การเดินเมือง และคำศัพท์จาก

เนอ้ื หาท่ีเรียน

ส่ือการเรียนรู้ สง่ เสริมทักษะ/สมรรถนะ
สื่อการเรียนรู้ ทักษะทางการใช้เทคโนโลยี
ความรว่ มมือในการเรียน
1. ใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง Where is it? มรี ะเบยี บวินยั
2. ใบงานที่ 2.2 เร่อื ง การเขียนสอตร่บี อรด์ ดา้ นความรู้ความเข้าใจ (Knowledge)
3. ใบกจิ กรรมท่ี 2.1 เรื่อง หนา้ ทขี่ องฉนั
4. ใบกิจกรรมท่ี 2.2 เร่อื ง บนั ทกึ การเดนิ เมอื ง 1. สถานะของสสาร
2. มุม และประเภทของมมุ
5. ใบงานที่ 2.3 เรือ่ ง การบรู ณาการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะทางการใช้เทคโนโลยี
2. ดา้ นความรู้ความเข้าใจ
(Knowledge)
2.1 คำศัพทภ์ าษาไทย

62

6. ผลงานนำเสนอ 2.2 คำศัพทภ์ าษาองั กฤษ
ทกั ษะด้านการส่อื สาร

นกั เรียนจะได้รับความรจู้ ากการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ดงั น้ี

สถานะของสสาร

เม่ือจำแนกสารโดยใช้การจัดเรียงตวั ของอนุภาคท่ีเป็นองค์ประกอบเป็นเกณฑ์ สารแบ่งออกเปน็ 3 สถานะ

ดังน้ี (ที่มา : https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/8793-3)

ของแขง็ ( Solid ) ของเหลว ( Liquid ) แกส๊ ( Gas )

สารที่มีลักษณะรูปรา่ งและปรมิ าตร สารที่มีปริมาตรคงที่ แต่รูปร่าง สารที่มีรูปร่าง และปริมาตรไม่คงที่

คงที่ มีรูปร่างเฉพาะตัว เนื่องจาก เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ มี

อนุภาคในของแข็งจดั เรียงชิดติดกัน สามารถไหลได้ เนอื่ งจากอนุภาคใน ลักษณะฟุ้งกระจายเต็มภาชนะท่ี

และอัดแน่นอย่างมีระเบียบ มีแรง ของเหลวอยู่ห่างกันมากกว่า บรรจุ เนื่องจากอนุภาคของแก๊สอยู่

ยึดเหนี่ยวระหว่างกันสูงมากทำให้ ของแข็ง อนุภาคไม่ยึดติดกันจึง ห่างกันมาก มีพลังงานในการ

อนุภาคไม่มีการเคลื่อนที่หรือ สามารถเคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ เคลื่อนที่อย่างรวดเร็วไปได้ในทุก

เคลื่อนที่ได้น้อยมาก เปลี่ยนแปลง และมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน ทิศทางตลอดเวลา จึงมีแรงดึงดูด

รูปร่างได้ยาก เช่น ไม้ หิน เหล็ก สามารถทะลุผ่านได้ เช่น น้ำ ระหว่างอนุภาคน้อยมาก สามารถ

ท อ ง ค ำ ด ิ น ท ร า ย พ ล า สติก แอลกอฮอล์ น้ำมันพืช น้ำมัน ทะลุผ่านได้ง่าย และบีบอัดให้เล็ก

กระดาษ น้ำตาล เกลือแกง ตะก่ัว เบนซิน น้ำส้มสายชู น้ำหมึก ลงได้ง่าย เช ่น อากาศ แก๊ส

ถา่ นไฟฉาย ยางรถยนต์ เป็นตน้ น้ำอัดลม น้ำปลา เปน็ ต้น ออกซิเจน แกส๊ หงุ ต้ม ไอน้ำ เป็นตน้

63

มุมและประเภทของมมุ

มมุ เกดิ จาก รงั สหี รอื ส่วนของเสน้ ตรงสองเสน้ ทีม่ ีจดุ ปลายเป็นจุดเดยี วกนั จุดนเ้ี รียกวา่ จุดยอดมมุ และ

รงั สีหรอื สว่ นของเสน้ ตรงแตล่ ะเส้นเรยี กวา่ แขนของมมุ
การเรียกช่ือมุม จะเรยี กด้วยตัวอักษรท้ังสามตัว ซึง่ จะเรียกชือ่ จดุ บนแขนของมมุ ขา้ งหนึ่งข้างใดก่อนตาม

ด้วยช่ือจุดยอดมุม และชือ่ จดุ บนแขนของมุมข้างทเ่ี หลือตามลำดบั หรืออาจเรียกช่ือมุมตามช่ือจดุ ยอดมุม
มุมฉาก คือ มุมที่มีขนาดเทา่ กับ 90 องศา

มุมแหลม คือ มุมที่มีขนาดเล็กกวา่ มุมฉาก เป็นมุมที่มีขนาดมากกว่า 0 องศา
แตไ่ ม่ถึง 90 องศา
มุมปา้ น คือ มุมท่ีมีขนาดใหญ่กว่ามุมฉาก แตไ่ ม่ถงึ 2 มุมฉาก
เป็นมุมที่มีขนาดมากกวา่ 90 องศา แต่ไมถ่ ึง 180 องศา

มุมตรง คอื มุมท่ีมขี นาดเท่ากับ 180 องศา หรอื 2 มุมฉาก

มุมกลับ คือ มุมที่มขี นาดใหญ่กวา่ 2 มุมฉาก แต่ไม่ถงึ 4 มุมฉาก
เปน็ มุมที่มีขนาดมากกว่า 180 องศา แตไ่ มถ่ งึ 360 องศา
ตัวอย่าง

A ชื่อมมุ ABC เป็น มุมป้าน

BC

64

65

66

67

68

69

70

71

72

73

74

75

76

77

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 บา้ นหลังนัน้ มอี ะไร (What are there in that house?)

ในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 บ้านหลังนั้นมีอะไร (What are there in that house?) เป็นกิจกรรมที่นำเอา

เทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ทั้งการสืบค้นข้อมูล สถานที่ คำศัพท์ ตลอดจนทำวีดีทัศน์ และหนังสือ

อิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการนำเสนอข้อมูลจากการเรียนรู้ ทั้งการเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ การแต่งประโยค

ภาษาไทย การเขียนบรรยายการเดินเมือง ประเภทของวัสดุ และสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก นักเรียนจะได้รับ

ความรูจ้ ากการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ดังนี้

รายวิชาที่บูรณาการ เน้ือหาการบรู ณาการ

1. วทิ ยาศาสตร์ 1. การบอกประเภทของวัสดุ

2. เทคโนโลยี 2. การทำ e-Book และการทำ Vlog

3. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 3. การวางแผนการทำงานและแกไ้ ขปัญหา

4. คณติ ศาสตร์ 4. การบอกสมบัติของรปู สเ่ี หล่ยี มมุมฉาก

5. ภาษาองั กฤษ 5. เขียนคำศพั ทภ์ าษาองั กฤษ

6. ภาษาไทย 6. การเขียนบรรยายเหตุการณ์การเดินเมือง และแต่งประโยค

ภาษาไทย

สอื่ การเรียนรู้ สง่ เสริมทักษะ/สมรรถนะ
สอื่ การเรยี นรู้ 1. ความรว่ มมอื ในการเรยี น
2. การวางแผนการทำงานและแก้ไข
1. ใบงานที่ 3.1 เร่อื ง การเขยี นสอตรี่บอร์ด ปัญหา
มีระเบียบวินยั
2. ใบกจิ กรรมท่ี 3.1 เรอ่ื ง หน้าที่ของฉัน 1. ทักษะทางการใช้เทคโนโลยี
3. ใบกจิ กรรมท่ี 3.2 เร่อื ง บันทกึ การเดินเมอื ง 2. ดา้ นความรู้ความเข้าใจ
(Knowledge)

1. ประเภทของวสั ดุ
2. สมบตั ขิ องรูปสี่เหลย่ี มมุมฉาก

78

4. ใบงานที่ 3.2 เรือ่ ง การบรู ณาการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะทางการใช้เทคโนโลยี
5. ผลงานนำเสนอ 2. ดา้ นความรู้ความเข้าใจ
(Knowledge)

2.1 คำศัพทภ์ าษาไทย
2.2 คำศพั ท์ภาษาองั กฤษ
ทกั ษะดา้ นการส่ือสาร

นกั เรียนจะไดร้ บั ความรู้จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดงั

ประเภทของวสั ดุ

ประเภทของวัสดุ ลักษณะของวสั ดุ

โลหะ เปน็ สารอนนิ ทรยี ์ที่นำมาใช้ในชวี ติ ประจำวนั เชน่ เหล็ก ตะกว่ั

ทองแดง สังกะสี เงนิ โลหะเป็นวสั ดุทีม่ ีความแข็งแรงและความ

เหนยี วสงู นอกจากนย้ี ังเป็นตัวนำไฟฟ้าและเปน็ ตัวนำความร้อนท่ี

ดี

เซรามิก เป็นวัสดุท่ีไดจ้ ากการนำเอาวัตถดุ ิบตา่ งๆ เชน่ หินเขยี้ วหนุมาน

หนิ ฟนั มา้ ดนิ เปน็ ตน้ มาขน้ึ รปู รา่ ง และผา่ นความร้อนสูง เพื่อให้

เกดิ ความแข็งแรง เซรามกิ เป็นวสั ดทุ ่เี ปราะ และเป็นวัสดุท่ีไมย่ อม

ให้ กระแสไฟฟา้ ไหลผ่าน

พอลเิ มอร์ เป็นวสั ดทุ ี่ไดจ้ ากธรรมชาติ เชน่ ฝ้าย ไม้ ยางพารา เส้นใย

ธรรมชาตแิ ละได้จากการสังเคราะห์ เชน่ ยางสงั เคราะห์ เสน้ ใย

สงั เคราะห์ พลาสติก เปน็ ต้น พอลิเมอร์เปน็ วสั ดทุ ่มี ีน้ำหนักเบา

ทำให้มีสสี นั ไดง้ ่าย และเป็นวัสดุทไี่ มย่ อมให้กระแสไฟฟ้าผา่ น

(ที่มา : https://www.kroobannok.com/news_file/p91694141930.pdf)

79

สมบัติของรูปส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก

รปู ส่เี หลย่ี มมมุ ฉาก (rectangle) คือ รปู สี่เหลี่ยมท่ีมีมมุ ทุกมุมเป็นมมุ ฉาก หรือเรยี กอีกช่ือหนงึ่ ว่า
สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้

คุณสมบตั ิ
1. มีด้านตรงขา้ มยาวเทา่ กนั
2. มมี ุมทกุ มุมกาง 90 องศา
3. เสน้ ทแยงมุมยาวเท่ากนั แตไ่ มต่ ัง้ ฉากซึ่งกนั และกัน
4. เส้นทแยงมุมแบ่งคร่งึ ซึ่งกันและกนั
ตวั อย่าง เชน่ ซองจดหมาย ไม้บรรทัด กระดาน ธงชาติ เป็นต้น

80

81

82

83

84

85

86

87

88

89

90

91

92

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 ร้านคา้ ทีฉ่ ันชอบ (My favorite shop)

ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ร้านค้าที่ฉันชอบ (My favorite shop) เป็นจุดเรียนรู้ท่ีที่อยู่ในชุมชนที่นักเรียน

อาศัยอยู่ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีนำเอาเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ทั้งการสืบค้นข้อมูล

สถานที่ คำศัพท์ ตลอดจนทำวีดที ัศน์ และหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ในการนำเสนอข้อมลู จากการเรียนรู้ โดยครู

ตอ้ งเตรียมเนอื้ หาเพื่อนำไปจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้กบั นักเรียน ได้แก่ การเขยี นคำศัพทภ์ าษาอังกฤษ แต่งประโยค

ภาษาไทย การเขียนบรรยายการเดนิ เมือง การจำแนกวัตถุเป็นตวั กลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง

และการอา่ นและเขยี นแผนภูมิแทง่ นักเรียนจะไดร้ บั ความร้จู ากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดงั น้ี

รายวชิ าท่ีบูรณาการ เน้อื หาการบรู ณาการ

1. วทิ ยาศาสตร์ 1. การจำแนกวัตถุท่ีเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง

และวัตถทุ บึ แสง

2. เทคโนโลยี 2. การทำ e-Book และการทำ Vlog

3. กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม 3. การวางแผนการทำงานและแกไ้ ขปญั หา

4. คณติ ศาสตร์ 4. เขียนแผนภมู แิ ทง่

5. ภาษาอังกฤษ 5. เขียนคำศัพทภ์ าษาอังกฤษ

6. ภาษาไทย 6. การเขียนบรรยายเหตุการณ์การเดินเมือง และแต่งประโยค

ภาษาไทย

สื่อการเรยี นรู้ สง่ เสรมิ ทักษะ/สมรรถนะ
สอ่ื การเรยี นรู้ 1. ความรว่ มมือในการเรียน
2. การวางแผนการทำงานและแก้ไข
1. ใบงานที่ 4.1 เร่อื ง การเขียนสอตร่ีบอรด์ ปญั หา
มรี ะเบียบวนิ ยั
2. ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 เรือ่ ง หน้าทข่ี องฉัน 1. ทักษะทางการใชเ้ ทคโนโลยี
3. ใบกจิ กรรมท่ี 4.2 เรอ่ื ง บันทกึ การเดนิ เมอื ง

93

4. ใบงานท่ี 4.2 เร่อื ง การบรู ณาการเรยี นรู้ 2. ดา้ นความรู้ความเข้าใจ
5. ผลงานนำเสนอ (Knowledge)

1. จำแนกวัตถทุ เ่ี ปน็ ตัวกลาง
2. เขยี นแผนภมู ิแท่ง
1. ทักษะทางการใช้เทคโนโลยี
2. ดา้ นความรู้ความเข้าใจ
(Knowledge)
2.1 แตง่ ประโยคภาษาไทย
2.2 คำศพั ทภ์ าษาองั กฤษ
ทักษะด้านการส่ือสาร

นักเรยี นจะไดร้ บั ความรจู้ ากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดงั

ตวั กลางของแสง

ตัวกลางของแสงเป็นตัวกน้ั การเดนิ ทางของแสง มี 3 ประเภท ได้แก่ ตัวกลางโปรง่ ใส ตวั กลางโปรง่ แสง
และตัวกลางทบึ แสง (ที่มา https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/33734)

ตัวกลาง เป็นตัวกลางที่ยอมให้แสงเดินทางผา่ นได้ท้ังหมด โดยแสงสามารถทะลผุ ่านได้
โปร่งใส อย่างเปน็ ระเบียบ เราสามารถทีจ่ ะมองทะลุผา่ นวัตถุโปร่งใส จนเห็นวัตถุอ่ืน
ทอี่ ย่ดู า้ นหลังวัตถุโปร่งใสนนั้ ได้ เช่น แกว้ ใส พลาสติกใส อากาศ นำ้ เปน็ ตน้

เป็นตัวกลางที่ยอมให้แสงผา่ นได้บ้างเปน็ บางสว่ น แสงผา่ นอยา่ งไม่เปน็ ระเบียบ ตัวกลาง
ทำให้มองเหน็ วัตถุด้านหลังตัวกลางโปร่งแสงได้ไม่ชดั เจนมากนัก เช่น โปร่งแสง
กระจกฝ้า กระดาษไข พลาสติกฝา้ ผา้ บาง ๆ หมอก ควนั เปน็ ต้น

ตวั กลาง เป็นตวั กลางทไ่ี ม่ยอมใหแ้ สงทะลุผ่านได้เลย ทำให้เกิดเงามืดด้านหลงั
ทบึ แสง ตัวกลางทึบแสงนั้น เช่น ไม้ หนิ เหลก็ ปนู ผนงั คอนกรีต กระดาษหนา ๆ เป็นต้น

94

ชนิดของประโยค

ชนดิ ของประโยค ความหมาย ประโยคตวั อยา่ ง

ประโยคบอกเล่า ประโยคทีม่ ีเนื้อหารายละเอียดเพยี งเพอื่ ให้คน  วนั นี้เราไปซอ้ื ของท่ีรา้ นค้า

ฟงั รับทราบ รับรูเ้ พียงเท่านัน้ ว่าใคร ทำอะไร  ฉนั ชอบทานไอศกรมี มาก

ท่ีไหน อย่างไร เม่ือไหร่

ประโยคปฏิเสธ ประโยคที่บอกถึงการไม่ยอมรับ ข้อเสนอ หรือ  แมย่ ังไม่ได้กลบั บา้ นเลย

ข้อตกลงต่างๆ ซึง่ มักจะมีคำวา่ ไม่ ไม่ใช่ ไม่ได้  ฉนั ไม่ต้องการขายของตอนนี้

ประกอบอยู่ในประโยคดว้ ย  ปา้ นน้อยไม่ใชแ่ ม่ค้า

ประโยคคำถาม ประโยคคำถาม คือ ประโยคท่ีต้องการ  อะไรอยู่ในรา้ นค้านน้ั ? (คำตอบ

คำตอบในสิ่งที่ถามมีอยู่ ๒ ลักษณะ คือ จะเป็นอะไรก็ได้)

๑. ประโยคคำถามทตี่ ้องการคำตอบเปน็  ใครดมื่ นำ้ หมด? (อาจจะเปน็ ใคร

คำอน่ื แทนที่ใชค้ ำถาม (คำถามปลายเปดิ กไ็ ด้)

ตอบแบบไหนก็ได้) มักจะมคี ำวา่ ใคร อะไร  เหตุใดถึงมาโรงเรียนสาย
เหตใุ ด (เหตผุ ลเป็นร้อยเปน็ พนั เก้าท่ีจะ

ตอบ)

๒. ประโยคคำถามที่ต้องการคำตอบรบั  เธอจะไปซื้อของกับฉนั ไหม ?

หรอื ปฏิเสธ ซง่ึ จะมคี ำวา่ ไหม หรือ หรอื ไม่ (คำตอบคือ ไป กับ ไม่ไป ซงึ่ ถ้าไม่

อยู่ในประโยคคำถาม ไปกจ็ ะได้ใชป้ ระโยคปฏิเสธในข้อ ๒

มาเกีย่ วด้วย)

 เธอชอบกนิ ขนมน้ันรึเปลา่ ?

(คำตอบคือ ชอบ กับ ไม่ชอบ)

ทม่ี า : https://sites.google.com/site/reiynruphasathiykabxdisa/phl-ngan-khxng-chan-1/chnid-

khxng-prayokh

95

การอ่านและเขยี นแผนภูมแิ ท่ง

การอ่านและเขียนแผนภูมิแท่ง พิจารณาจากความยาวของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่เขียนแทนข้อมูล การ
เขียนแผนภูมิแท่ง เขียนโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนข้อมูล รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละรูปต้องเริ่มต้นจากระดั บ
เดียวกัน มีความกว้างเท่ากัน และมีระยะห่างระหว่างรูปเท่ากัน เราสามารถนำความรู้เรื่องนี้ไปใช้ในการจำแนก
ขอ้ มลู ในชีวติ ประจำวนั ใหเ้ ป็นระบบและให้งา่ ยต่อการศกึ ษาข้อมูล
เช่น แผนภมู ิแท่งแสดงอายเุ ฉลย่ี ของสัตว์ 5 ชนดิ

อายุเฉลยี่ (ปี)

ชนดิ ของสัตว์

96

97

98

99


Click to View FlipBook Version