รายงานศึกษาอสิ ระทางสงั คมศึกษา
เรอ่ื ง
การพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวชิ าเศรษฐศาสตร์
ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ โรงเรยี นพระธาตขุ ามแกน่ พทิ ยาลยั
โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning
โดย
นางสาวอนศุ รา พลดงนอก
รหัส ๖๑๐๕๕๐๒๐๗๖
งานวจิ ัยเล่มนเี้ ป็นส่วนหน่งึ ของวชิ า (๒๐๓ ๔๒๐)
การศกึ ษาอสิ ระทางสงั คมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ตามหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าสังคมศึกษา คณะครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
แบบอนมุ ตั ผิ ลงานวจิ ยั
ด้วยหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น อนุมัติให้นับการวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา
เศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัยโดยใช้รูปแบบ
การจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
ให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาภาคปฏิบัติของรายวิชาการศึกษาอิสระทางสังคมศึกษา
จำนวน ๓ หน่วยกิต ตามวัตถุประสงค์หลักสูตรปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ประจำภาคเรียนที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ลงชื่อ.....................................ผวู้ จิ ยั
(.....................................................)
................/................../..............
คณะกรรมการประเมนิ / อนมุ ัติการศึกษาอิสระทางสงั คมศกึ ษา
ลงช่ือ.......................................อาจารย์ท่ปี รึกษา/อาจารย์
(................................................)
............./............../...............
ลงชือ่ .....................................กรรมการ/อาจารย์
(................................................)
............../................/............
ลงช่ือ.....................................กรรมการ/อาจารย์
(................................................)
............../................/............
ลงชื่อ.....................................กรรมการ/อาจารย์
(................................................)
............../................/............
ลงชื่อ.....................................กรรมการ/อาจารย์
(................................................)
............../................/............
ลงชือ่ ...................................... ประธานกรรมการ/ประธานหลักสูตร
(................................................)
............../................/............
ก
ช่อื งานวจิ ัย : เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียน
ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนพระธาตขุ ามแกน่ พิทยาลยั โดยใชร้ ูปแบบการ
ผู้วิจัย
ปรญิ ญา จัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
อาจารย์ที่ปรึกษา : นางสาวอนุศรา พลดงนอก
ปกี ารศกึ ษา
: ครุศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าสังคมศึกษา
: อาจารย์วิรตั น์ ทองภู
: ๒๕๖๔
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียน
การสอนแบบ Active Learning มีคะแนนเพ่ิมขึ้นร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ๒) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์กิ ่อน
และหลังเรียน รายวิชา เศรษฐศาสตร์ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ โรงเรยี นพระธาตขุ ามแก่นพิทยา
ลัย โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ๓) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนท่ี
เรียนโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย จำนวน ๒๐ คน โดยเป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental
Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ๑) แผนการจัดการเรียนรู้ ๒) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น เปน็ แบบปรนัย ๔ ตัวเลอื ก จำนวน ๓๐ ขอ้ ๓) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มี
ต่อรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
คา่ ร้อยละ (%) ค่าเฉล่ยี ( ̅ ) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าสถติ ิ t-test
ผลการวจิ ยั พบว่า
๑. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีนักเรียนผ่านเกณฑ์จำนวน ๑๕ คน
คิดเป็นร้อยละ ๗๕.๐๐ คะแนนสูงสุด ๒๘ คะแนน คะแนนต่ำสุด ๗ คะแนน จากคะแนน ๓๐ คะแนน
คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๒๑.๓๐ คะแนน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๐๐ ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ นักเรียน
จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
และนกั เรียนท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์ จำนวน ๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๕.๐๐
๒. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๔ พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนยั สำคัญ
ทางสถติ ิระดับ ๐.๐๐ โดยมีคะแนนเฉลยี่ หลงั เรยี น ค่าเฉลย่ี ๒๑.๓๐ (S.D.=๖.๗๘) คดิ เป็นร้อยละ ๗๑.๐๐
สูงกว่าคะแนนเฉลย่ี กอ่ นเรยี น ค่าเฉลี่ย ๙.๑๕ (S.D.=๕.๒๐ ) คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๐.๕๐
ข
๓. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนพระธาตุขามแกน่
พทิ ยาลยั ทมี่ ีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning โดยรวม
พบว่า ความพึงพอใจของนกั เรียน ที่มีต่อแบบประเมินความพึงพอใจ อยู่ในระดบั มาก ( ̅ = ๔.๓๘. S.D.
= ๐.๙๐)
ค
กติ ติกรรมประกาศ
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ
Active Learning เล่มนสี้ ำเรจ็ สมบูรณ์ได้ ดว้ ยความกรุณาและความช่วยเหลอื ใหค้ ำแนะนำอยา่ งดยี ิ่ง จา
อาจารย์วิรัตน์ ทองภู อาจารย์ที่ปรึกษาที่กรุณาให้คำปรึกษา ตลอดจนการตรวจแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งต่างๆ
และใหก้ ำลงั ใจในการศึกษามาโดยตลอด ผ้วู ิจยั ขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูง
ขอขอบพระคุณในความกรุณาของผู้เชี่ยวชาญทั้ง ๓ ท่าน ได้แก่ ผศ.ดร.อนุสรณ์ นามทะราช
อาจารย์บุญส่ง นาแสวง และอาจารย์พันทิวา ทับภูมี ที่ได้ให้ความอนเุ คราะห์ในการตรวจสอบเครือ่ งมือ
สำหรับใช้ในงานวิจัยและให้คำปรึกษาเพื่อแก้ไขจนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีความถูกต้องสมบูรณ์
ครบถว้ น
ขอขอบพระคุณท่านผู้อำนวยการ คณะครู โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ที่อำนวยความ
สะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลในระหว่างการทำวิจัย ให้คำแนะนำ และแก้ไขข้อบกพร่องให้งานวิจัยน้ี
สมบูรณย์ ่งิ ขึ้น
ขอขอบพระคุณคณาจารย์ นักวิชาการทุกท่านที่เป็นเจ้าของหนังสือและงานวิจัยที่มีคุณค่า
ซึง่ ท่านได้เขียนงานเอกสารไว้ให้ได้ศึกษาคน้ ควา้ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการเขียนงานวิจยั ในครงั้ น้ี
ขอขอบคุณเพื่อน ครอบครัว และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือสนับสนุน
ให้คำแนะนำ และให้กำลังใจตลอดการทำวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยเล่มนี้จะเป็น
ประโยชน์แก่ผทู้ ี่สนใจตอ่ ไป
นางสางอนุศรา พลดงนอก
ผวู้ จิ ยั
ง
สารบัญ หนา้
เรื่อง ก
ข
บทคัดย่อ ค
กิตติกรรมประกาศ จ
สารบัญ ฉ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ ๑
บทที่ ๑ บทนำ ๓
๓
๑.๑ ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา ๔
๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย ๕
๑.๓ ขอบเขตการวิจยั
๑.๔ นิยามศัพท์เฉพาะ ๖
๑.๕ ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการวิจยั
บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ๑๒
๒.๑ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ
๒๘
ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ๓๖
๒.๒ แนวคิดและทฤษฎที ี่เก่ยี วข้องกบั รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบ ๔๑
๔๓
Active Learning
๒.๓ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ๔๔
๒.๔ แบบวดั ความพึงพอใจ ๔๔
๒.๕ งานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง ๔๕
๒.๖ กรอบแนวคดิ งานวจิ ยั ๕๔
บทท่ี ๓ ระเบยี บวธิ วี จิ ัย ๕๕
๓.๑ รปู แบบการวิจัย ๕๖
๓.๒ ประชากรกลุ่มเปา้ หมาย
๓.๓ เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั
๓.๔ การเก็บรวบรวมข้อมลู
๓.๕ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
๓.๖ สถติ ิที่ใช้ในการวิจยั
จ
สารบญั ต่อ หนา้
เรอื่ ง
๕๘
บทท่ี ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
๕๙
๔.๑ ผลการวเิ คราะหก์ ารพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น รายวิชา
เศรษฐศาสตร์ ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ โรงเรียนพระธาตุขาม ๖๐
แก่นพทิ ยาลัย โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบ Active ๖๑
Learning มคี ะแนนเพมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ ๗๐ ข้ึนไป
๔.๒ ผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธก์ิ ่อนและหลงั เรียน รายวิชา ๖๔
๖๔
เศรษฐศาสตร์ ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนพระธาตขุ าม ๗๐
แกน่ พิทยาลยั โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active ๗๑
๗๔
Learning ๗๕
๔.๓ ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ โรงเรียน ๗๗
๙๘
พระธาตุขามแกน่ พิทยาลัย ทม่ี ตี ่อการจัดการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการ ๑๐๓
๑๒๑
จดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ๑๒๗
๔.๔ องคค์ วามรู้ท่ไี ดจ้ ากงานวจิ ยั เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
๑๒๙
รายวชิ า เศรษฐศาสตร์ ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนพระ ๑๓๒
ธาตขุ ามแก่นพทิ ยาลัย โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ
Active Learning
บทที่ ๕ สรปุ อภปิ รายผลการวจิ ยั และข้อเสนอแนะ
๕.๑ สรุปผลการศึกษา
๕.๒ อภปิ รายผลการวจิ ัย
๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ชีย่ วชาญ
ภาคผนวก ข แบบประเมนิ คณุ ภาพเคร่อื งมอื โดยผู้เช่ียวชาญ
ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะห์ข้อมลู
ภาคผนวก ง แผนการจดั การเรียนรู้
ภาคผนวก จ ขอ้ สอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น กอ่ นเรียนและหลงั เรยี น
ภาคผนวก ฉ ตวั อย่างแบบประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีตอ่ รูปแบบ
การเรียนการสอนแบบ Active Learning
ภาคผนวก ช ภาพประกอบการเก็บรวบรวมข้อมลู
ประวตั ผิ ทู้ ำวิจยั
ฉ
สารบัญตาราง
ตารางท่ี หนา้
ตารางท่ี ๔.๑ ผลการวเิ คราะหก์ ารพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน รายวิชา ๕๘
เศรษฐศาสตร์ ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรยี นพระธาตุ
ขามแก่นพิทยาลัย โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active ๕๙
Learning ให้นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ และมคี ะแนนไม่น้อยกวา่
ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ๖๐
ตารางที่ ๔.๒ ผลการวิเคราะห์เปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิก่อนและหลงั เรยี น ๙๙
รายวิชา เศรษฐศาสตร์ ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ โรงเรยี นพระ ๙๙
ธาตขุ ามแก่นพิทยาลัย โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ ๑๐๑
Active Learning ๑๐๒
ตารางท่ี ๔.๓ ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔
โรงเรยี นพระธาตขุ ามแกน่ พทิ ยาลัย ทมี่ ีตอ่ การจัดการเรียนรู้ โดยใช้
รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
ตารางท่ี ๔.๔ ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้
เรอื่ ง หน่วย เศรษฐกจิ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ โดยใชแ้ ผนการ
จัดการเรียนร้แู บบ Active Learning
ตารางท่ี ๔.๕ ผลการประเมนิ ความสอดคลอ้ งระหว่างแบบทดสอบกับตวั ช้วี ดั
ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน ๔๐ ข้อ
ตารางที่ ๔.๖ ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของความพงึ พอใจของนกั เรยี น
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ทมี่ ีตอ่ การจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning
จำนวน ๒๐ ข้อ
ตารางที่ ๔.๗ ผลการวิเคราะหค์ า่ ความยากงา่ ยและคา่ อำนาจจำแนกรายขอ้
ของข้อสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน แบบองิ เกณฑ์
สารบญั ภาพ ช
ภาพที่ หนา้
ภาพที่ ๒.๑ กรอบแนวคิดการวจิ ยั ๔๓
ภาพที่ ๓.๑ ขั้นตอนในการจดั การเรยี นรู้ ๔๙
ภาพที่ ๔.๑ องค์ความร้ทู ี่ได้จากงานวิจยั ๖๒
บทท่ี ๑
บทนำ
๑.๑ ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา
ในยุคปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากปัญหาโรคระบาดในช่วงสถานการณ์
โควิด -๑๙ ส่งผลกระทบต่อการศึกษาไทยอย่างรุนแรง เพราะเป็นการซ้ำเติมปัญหาที่มีอยู่แต่เดิม
คือ คุณภาพการศึกษา และความเหลื่อมล้ำสูง เพิ่มความยากลำบากต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งนักเรียน
ครู ผปู้ กครอง และสถานศึกษาที่ทำให้กิจกรรมการเรียนการสอนเปลี่ยนไปจากรปู แบบเดมิ จากออนไซต์
เป็นแบบออนไลน์ นักเรียนส่วนมากจึงไม่ค่อยให้ความสนใจกับการเรียนและขาดการมีปฏิสัมพันธ์
กบั บุคคลอนื่ เพราะเปน็ รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ และยังทำใหน้ ักเรียนส่วน
ใหญ่ตกหล่นไปกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เด็กมีความเครียด ส่งผลให้นักเรียน
ส่วนมากมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์ทีก่ ำหนดไว้1
การเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีทำให้วงการการศึกษาทั่วโลกได้รู้จักกับการเรียนการสอนใน
รูปแบบ “ออนไลน์” มาแล้วไดพ้ กั ใหญ่ แต่กย็ อ่ มปฏิเสธไมไ่ ด้ว่าการเรียนผ่านจอไมอ่ าจได้ผลลัพธ์ดีเท่ากับ
การเรียนในห้องเรยี น ทคี่ รกู ับนักเรียน รวมถงึ นกั เรยี นด้วยกนั เองได้มีปฏสิ ัมพนั ธ์กนั แบบเหน็ หนา้ กนั จริงๆ
การเรยี นออนไลนท์ ่ีผ่านมาจงึ เป็นเพยี งทางเลือกหนึ่งทีถ่ ูกใชบ้ างโอกาสเทา่ นน้ั ทว่าเม่ือเกิดการระบาดของ
โควิด-๑๙ การเรียนในโหมดออนไลน์ก็ได้กลายจากทางเลือกมาเปน็ “ทางหลัก”ของการเรียนการสอนใน
หลายพื้นที่ทนั ที แตล่ ะโรงเรียนจงึ ต่างพฒั นาแพลตฟอร์มการเรียนการสอนออนไลน์ของตวั เองออกมาใน
รูปแบบต่างๆ หรอื ไม่ก็นำโปรแกรมเดิมท่ีมีอยู่มาประยกุ ต์ใชก้ ารปรับโหมดการเรยี นการสอนมาสู่ออนไลน์
แบบฉับพลันทันที ย่อมไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับเกือบทุกโรงเรียนที่ไม่เคยเรียนผ่านหน้าจอกันแบบร้อย
เปอร์เซนต์กันมาก่อน แต่อีกปัญหาหนึ่งที่สำคัญยิ่งไปกว่าเรื่องความไม่คุ้นชิน ก็คือความจริงที่ว่า
ไม่ใชน่ กั เรยี นทุกคนท่ีพรอ้ มจะเปล่ียนไปเรียนออนไลน์เต็มรูปแบบได้เหมอื นกันหมดการทำให้นักเรียนทุก
คนสามารถเข้าถึงการเรียนออนไลนไ์ ด้อย่างเทา่ เทียมจงึ กลายเป็นโจทย์ใหญข่ องคนวางนโยบายการศึกษา
ทั่วโลก เร่ิมจากโจทย์พื้นฐานท่ีสดุ ก็คือจะทำอย่างให้เด็กๆ มีอปุ กรณส์ ำหรบั การเรยี นออนไลน์ ไม่ว่าจะอยู่
ในพนื้ ท่ีไหนหรอื มีพื้นฐานการเงนิ ระดับไหนก็ตาม2
1 พริษฐ์ วัชรสินธ, วิบากกรรมระบบการศึกษาไทย สู่ข้อเสนอ ๖ มาตรการ (6 Re’s) เพื่อหาทางออก
ร่วมกนั ในช่วงโควดิ , สบื ค้นเม่ือ ๒๙ มนี าคม ๒๕๖๓, แหลง่ ท่มี า : https://workpointtoday.com.
2 วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา, เพราะการศึกษาหยุดไม่ได้, สืบค้นเมื่อ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๕, แหล่งที่มา :
https://www.eef.or.th/education-abroad-covid.
๒
ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด -๑๙ ทำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลายๆ
โรงเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ท่ีต่ำกว่าการเรียนแบบในช้นั เรียนเน่ืองจากรปู แบบการสอนที่เปล่ียนไป นักเรียน
บางคนขาดความพร้อมทางด้านเทคโนโลยี สื่อ อุปกรณ์ที่เป็นส่ือกลางระหว่างครผู ู้สอนและนักเรยี น
นักเรียนบางคนขาดปฏิสมั พันธก์ บั บุคคลรอบขา้ งทำให้นักเรียนบางคนไมส่ ามารถเขา้ สงั คมได้ นกั เรียน
บางคนไม่รู้จักเพื่อน นักเรียนบางกลุ่มต้องช่วยงานผู้ปกครองเนื่องจากผู้ปกครองบางคนขาดความ
เข้าใจเก่ียวกับการเรียนแบบออนไลน์ ทำให้นักเรียนบางกลุ่มตกหล่นจากระบบการศึกษา
และขาดปฏสิ ัมพนั ธ์กับบคุ คลรอบข้างโดยสิน้ เชิง
รปู แบบ Active Learning เปน็ รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทจ่ี ะชว่ ยให้นักเรียน
มีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง และฝึกการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นขั้นตอน การจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active learning) เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความ
สะดวก (Facilitator) สร้างแรงบันดาลใจ ให้คำปรึกษา ดูแล แนะนำทำหน้าที่เป็นโค้ชและพี่เลี้ยง
(Coach & Mentor) แสวงหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ผู้เรียน
ได้เรยี นรู้อย่างมคี วามหมาย (Meaningful learning) ผเู้ รยี นสร้างองค์ความรูไ้ ด้ มีความขา้ ใจในตนเอง
ใชส้ ตปิ ญั ญา คดิ วเิ คราะห์ สร้างสรรคผ์ ลงานนวัตกรรมที่บง่ บอกถึงการมีสมรรถนะสำคัญในศตวรรษ
ที่ ๒๑ มีทกั ษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ติ และทักษะวชิ าชพี บรรลุเปา้ หมายการเรยี นรู้ตามระดับชว่ งวยั ๓
ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะนำรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning
เข้ามาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน เนื่องจากกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active
Learning เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญาที่เน้นกระบวนการ
เรียนรู้ด้วยตนเองมากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้
ให้เกิดข้นึ ในตนเอง ด้วยการลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ ผ่านส่ือหรือกิจกรรมการเรียนรู้ท่มี ีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ
กระตนุ้ หรอื อำนวยความสะดวก ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรียนรขู้ ้นึ โดยกระบวนการคิดขน้ั สงู คอื ผู้เรียนมี
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมนิ ค่าจากสง่ิ ท่ไี ด้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้
เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ และรูจ้ ักภาวะการเป็นผ้นู ำผ้ตู ามเน่อื งจากกระบวนการ Active Learning
จะเน้นไปยังการทำงานร่วมกันเปน็ กลมุ่ จึงทำให้นักเรียนมีปฏสิ ัมพันธ์กบั บุคคลรอบข้าง
๓ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน, แนวทางการนเิ ทศ เพื่อพัฒนาและ
ส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ , (กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์กรมสามัญศึกษา, ๒๕๕๗), หน้า ๔.
๓
๑.๒ วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย
๑.๒.๑ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียน
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ โรงเรียนพระธาตขุ ามแก่นพิทยาลยั โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบ
Active Learning ให้นักเรยี นผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ ๗๐ และมคี ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป
๑.๒.๒ เพ่อื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์กอ่ นและหลังเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ ของนกั เรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๔ โรงเรียนพระธาตุขามแกน่ พทิ ยาลยั โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ
Active Learning
๑.๒.๓ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ โรงเรียนพระธาตุขาม
แกน่ พทิ ยาลยั ทม่ี ตี อ่ การจดั การเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning
๑.๓ ขอบเขตการวิจยั
๑.๓.๑ ขอบเขตด้านกลุ่มเปา้ หมาย
กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๑ ของโรงเรียนพระธาตุขามแก่น
พิทยาลัย ภาคเรียนที่ ๒๕๖๔ จำนวน ๒๐ คน เป็นชาย ๗ คน เป็นหญงิ ๑๓ คน
๑.๓.๒ ขอบเขตด้านตัวแปรทจ่ี ะศกึ ษา
- ตัวแปรตน้ คือ รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
รายวิชาเศรษฐศาสตร์
- ตัวแปรตาม คือ ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ ของนักเรยี น
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ โรงเรียนพระธาตขุ ามแกน่ พิทยาลยั
๒. ความพึงพอใจของนักเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ท่ี๔/๑ ที่มตี ่อรปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning
๑.๓.๓ ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา
รายวิชา ส ๑๓๒๓๓ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
สาระการเรียนรู้ที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
จำนวน ๓ แผน
๑.๓.๔ ขอบเขตดา้ นสถานที่
โรงเรยี นพระธาตุขามแก่นพิทยาลยั ตำบลบ้านขาม อำเภอนำ้ พอง จงั หวัดขอนแก่น
๑.๓.๕ ขอบเขตดา้ นระยะเวลา
การวิจัยคร้ังนี้ ผูว้ จิ ัยได้ใชร้ ะยะเวลาทดลองในภาคการศึกษาที่ ๒/๒๕๖๔
เดือนพฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ – เดอื นมนี าคม ๒๕๖๕
๔
๑.๔ นยิ ามศัพท์เฉพาะ
๑.๔.๑ การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถงึ การพัฒนานกั เรียนให้มีความสามารถ
ความสำเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆของผู้เรียนที่ได้จากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการเรียน
การสอน การฝึกฝน หรือประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งสามารถวัดได้จากการทดสอบด้วยวิธีการ
ต่างๆ อันเป็นผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ครั้งนี้ผู้วิจัยได้พัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ รายวิชาเศรษฐศาสตร์ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน โดยใช้
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๑ ให้นักเรียนผ่าน
เกณฑร์ ้อยละ ๗๐ และมีคะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๗๐ ขนึ้ ไป
๑.๔.๒ แบบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน หมายถงึ แบบทดสอบหรือ ชดุ ของข้อสอบที่ใช้วัด
ความสำเร็จหรือความสามารถในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนที่เป็นผลมาจากการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนว่าผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้เพียงใด
เป็นแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อวัดคะแนนความสามารถของผู้เรียนใน รายวิชาเศรษฐศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๑ โดยเป็น
แบบทดสอบปรนยั ๔ ตวั เลอื ก จำนวน ๓๐ ขอ้
๑.๔.๓ รายวิชาเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การนำสาระการเรียนรู้ที่ ๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
เรอื่ งระบบเศรษฐกจิ ในโลกยุคปัจจบุ นั ประกอบดว้ ย ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ มาประยุกต์กับรูปแบบ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning เศรษฐศาสตร์เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิชา
หนึ่งของวิชาสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวขอ้ งกับการดำเนนิ ชีวิตของประชาชนทกุ คน เพราะเป็นวิชาที่ศึกษา
ถึงพฤตกิ รรมของมนุษยใ์ นการแสวงหาวธิ นี ำทรพั ยากรที่มอี ยู่อย่างจำกัดมาผลิตเปน็ สินค้าและบริการ
เพื่อสนองตอบความต้องการที่มอี ย่างไม่จำกัดของตนเองให้ได้มากที่สุดโดยต้องให้เกิดปะโยชน์อย่าง
เต็มที่ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว ประเทศชาติ รวมทั้งระดับโลก ทำให้วิชาเศรษฐศาสตร์มีขอบเขต
กวา้ งขวาง และมผี ลต่อความอยรู่ อดของสงั คมด้วย
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรอื่ งระบบเศรษฐกจิ ในโลกปจั จบุ นั
แผนการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรอ่ื ง หน่วยเศรษฐกจิ
แผนการเรียนรู้ที่ ๒ เรือ่ ง ระบบเศรษฐกิจ
แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง การกำหนดราคาสนิ คา้
๑.๔.๔ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning๔ หมายถึง กระบวนการ
จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้
มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง
ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านส่ือหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น
หรอื อำนวยความสะดวก ให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการสอน ๔ ข้นั ตอน คือ
๑. ขั้นเตรียมความพร้อม เป็นขั้นที่ผู้สอนนำผู้เรียนเข้าสู่เนื้อหาโดยการสร้าง
แรงจงู ใจให้ผู้เรียน เกิดความกระตือรอื รน้ และอยากท่ีจะเรียนร้ตู ่อไป
๔ สถาพร พฤฑฒิกุล, การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning, (สระแก้ว: คณะเทคโนโลยี
การเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแกว้ , ๒๕๔๒), หน้า ๕๖.
๕
๒. ขั้นปฏิบตั ิงานกลมุ่ เปน็ ขัน้ ท่ีผสู้ อนใหผ้ ู้เรยี นเข้ากลมุ่ ย่อย เพอ่ื ทำงานร่วมกัน
และสรปุ ความ คดิ เห็นของกลุม่ ทง้ั นีจ้ ะตอ้ งมกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหว่างกลุ่มอื่นๆโดยที่ผู้สอนต้อง
คอยเสรมิ ขอ้ มูลหรือ ความรทู้ ีส่ ำคัญใหส้ มบูรณย์ งิ่ ขึ้น
๓. ขั้นประยุกต์ใช้ เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดหรือทำแบบทดสอบหลัง
เรียน
๔. ขั้นติดตามผล เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าอิสระเพิ่มเติมโดยจัดทำเป็น
รายงาน หรือให้ผู้เรยี น เขียนบนั ทึกประจำวนั รวมถึงใหผ้ ู้เรยี นเขยี นสรุปความรู้ทีไ่ ด้จากการเรียนรู้ใน
คาบเรียนนัน้ ๆ
๑.๔.๕ เกณฑ์ หมายถึง เป้าหมายคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยกำหนดเกณฑ์
คือ นักเรียนร้อยละ ๗๐ ของจำนวนของนักเรยี นทัง้ หมด มีคะแนนผ่านเกณฑ์ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๗๐
ของคะแนนเต็มด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น นักเรียนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ผ่านเกณฑ์ของจำนวน
นักเรยี นท้ังหมด และมคี ะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ข้ึนไป ของคะแนนเต็ม
๑.๕ ประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการวจิ ัย
๑.๕.๑ ได้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สำหรับ
นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔/๑ ของโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย
๑.๕.๒ ได้รูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning เพ่อื นำไปปรบั ใช้
ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนรายวิชาอ่ืนได้
๑.๕.๓ สถานศึกษาได้แนวทางในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน โดยใช้รปู แบบ
การจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning
บทท่ี ๒
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง
การวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี
๔ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
ผู้วิจยั ไดศ้ กึ ษาแนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจยั ที่ เกีย่ วขอ้ งเสนอตามลำดบั หวั ข้อ ดงั ตอ่ ไปนี้
๒.๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง
พทุ ธศกั ราช 2560)
๒.๒ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active
Learning
๒.๓ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
๒.๔ แบบวัดความพงึ พอใจ
๒.๕ งานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๒.๖ กรอบแนวคิดงานวิจัย
๒.๑ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช
๒๕๖o)5
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อเป็น
แนวทางสำหรับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในสถานศึกษาต่างๆ ซึง่ มีรายละเอียดดังน้ี
๒.๑.๑ วิสัยทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาติ
ใหเ้ ป็นมนษุ ยท์ มี่ ีความสมดลุ ท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น
พลโลกยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้
และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ิต
โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม
ศักยภาพ
๖ กระทรวงศึกษาธิการ, พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และแกไ้ ขเพ่ิมเติม ฉบบั ที่ ๒ พ.ศ.
๒๕๔๕, (กรุงเทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๒), หน้า ๖.
๗
๒.๑.๒ หลักการ
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มหี ลักการที่สำคญั ดังน้ี
๑) เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาเพอื่ ความเปน็ เอกภาพของชาติ มจี ุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพ้ืนฐาน ของความ
เปน็ ไทยควบคกู่ บั ความเปน็ สากล
๒) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอ
ภาคและมีคุณภาพ
๓) เป็นหลกั สตู รการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ใหส้ ังคมมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคล้องกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถ่นิ
๔) เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาทม่ี ีโครงสร้างยืดหยนุ่ ท้ังด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการ
เรียนรู้
๕) เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
๖) เปน็ หลักสตู รการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลุม
ทุกกลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
๒.๑.๓ จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา
มีความสุขมีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน
เมอ่ื จบการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ดังน้ี
๑) มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒) มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยีและ
มีทักษะชวี ติ
๓) มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ดี ี มีสุขนสิ ัย และรักการออกกำลงั กาย
๔) มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
๕) มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
มีความสุข
๒.๑.๔ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
ในการพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน มุง่ เน้นพฒั นาผู้เรียนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ดังนี้
๘
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ
ดังน้ี
๑) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร
มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง
เพ่ือแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคมรวมท้ัง
การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปญั หาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรบั หรือไม่รบั ข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่
เกดิ ขึ้นตอ่ ตนเองและสงั คม
๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด
สังเคราะห์ การคิดอย่างสรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอื่ นำไปสกู่ ารสรา้ ง
องค์ความรหู้ รอื สารสนเทศเพือ่ การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรค
ต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศเข้าใจ
ความสมั พนั ธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึน
ต่อตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม
๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการ
ต่างๆไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน
และการอยรู่ ว่ มกันในสงั คมด้วยการสร้างเสริมความสมั พันธอ์ ันดรี ะหวา่ งบุคคลการจัดการปญั หาและความ
ขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรูจ้ กั หลกี เลี่ยงพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น
๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้
เทคโนโลยดี า้ นตา่ งๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการ
เรียนรู้การส่ือสาร การทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม
๒.๑.๕ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
เพ่ือให้สามารถอยู่รว่ มกับผ้อู ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
๑) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒) ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ
๓) มีวินยั
๔) ใฝเ่ รียนรู้
๕) อยอู่ ยา่ งพอเพียง
๖) มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
๙
๗) รกั ความเปน็ ไทย
๘) มจี ติ สาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม
บริบท และจุดเนน้ ของตนเอง
๒.๑.๖ มาตรฐานการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมอง
และพหุปัญญาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน จึงกำหนดใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ดังนี้
๑) ภาษาไทย
๒) คณติ ศาสตร์
๓) วทิ ยาศาสตร์
๔) สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕) สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
๖) ศลิ ปะ
๗) การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘) ภาษาตา่ งประเทศ
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ปฏิบัติได้มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม
ที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสำคัญ ในการ
ขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร
จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาโดยใช้ระบบการประเมินคณุ ภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอกซ่งึ รวมถึงการทดสอบ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกล่าว
เป็นสงิ่ สำคัญทีช่ ่วยสะท้อนภาพการจัดการศกึ ษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณภาพตามทมี่ าตรฐานการ
เรียนรู้กำหนดเพียงใด
๒.๑.๗ ตัวช้วี ดั
ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละ
ระดับช้ันซึง่ สะทอ้ นถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปน็ รูปธรรม นำไปใช้ในการ
กำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัด
ประเมนิ ผลเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพผู้เรยี น
๑) ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษา
ภาคบังคบั (ประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓)
๑๐
๒) ตวั ชว้ี ัดชว่ งชัน้ เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาผ้เู รียนในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
(มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ – ๖)
๒.๑.๘ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม
ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเอง
กับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยม
ทีเ่ หมาะสมโดยได้กำหนดสาระตา่ งๆไว้ ดังนี้
ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา
ตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
รวมทั้งบำเพ็ญประโยชน์ตอ่ สังคมและสว่ นรวม
หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม
ปัจจุบนั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญ
การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม ค่านิยม ความเชื่อปลูกฝังค่านิยม
ดา้ นประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หนา้ ที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิตอย่างสันติสุข
ในสังคมไทยและสงั คมโลก
เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหาร
จัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมดี ุลยภาพ และการนำหลัก
เศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ประวตั ศิ าสตร์ เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์พัฒนาการ
ของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจบุ นั ความสัมพันธแ์ ละเปล่ยี นแปลงของเหตกุ ารณต์ ่างๆผลกระทบทีเ่ กิดจาก
เหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญท่ีมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงตา่ งๆ ในอดีตความเป็นมาของชาติ
ไทย วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย แหลง่ อารยธรรมท่ีสำคัญของโลก
ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากรและ
ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ความสมั พนั ธ์กันของสง่ิ ต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพนั ธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
และสิ่งทมี่ นุษยส์ รา้ งขน้ึ การนำเสนอขอ้ มลู ภูมิสารสนเทศ การอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อมเพอ่ื การพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือและศาสนาอื่น มีศรทั ธาท่ีถูกต้อง ยึดมน่ั และปฏบิ ัติตามหลกั ธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันตสิ ขุ
๑๑
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนกั และปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนับถือ
สาระท่ี ๒ หนา้ ที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าที่ของการเปน็ พลเมอื งดี มคี ่านิยมท่ี
ดีงาม และธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่รว่ มกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่าง
สนั ตสิ ขุ
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จบุ นั ยดึ มั่น ศรัทธา
และธำรงรกั ษาไวซ้ ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต
และการบรโิ ภคการใช้ทรัพยากรท่มี ีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุม้ ค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื การดำรงชวี ิตอยา่ งมดี ุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกจิ และความจำเปน็ ของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก
สาระท่ี ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัย
ทางประวตั ิศาสตรส์ ามารถใชว้ ิธีการทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ต่างๆอยา่ งเปน็ ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้าน
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบท่เี กิดข้ึน
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยมี
ความรัก ความภมู ิใจและธำรงความเปน็ ไทย
สาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖o)
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์
ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล
ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู สิ ารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร
และสงิ่ แวดลอ้ มเพือ่ การพฒั นาท่ีย่งั ยนื
ผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา ส ๑๓๒๓๓
เศรษฐศาสตร์ โดยเลอื กจากหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรือ่ งระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่
๔ เพอ่ื จะพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นโรงเรียนพระธาตุขามแกน่ พิทยาลัย โดยใช้รูปแบบ
การเรียนการสอนแบบ Active Learning
๑๒
๒.๒ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active
Learning
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) 6 เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
ใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรียน สร้างปฏสิ มั พันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน มุ่งใหผ้ ู้เรียนลงมือปฏิบัติโดยมี
ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) สร้างแรงบันดาลใจ ให้คำปรึกษา ดูแล แนะนำ ทำหน้าที่เปน็
โค้ชและ พเี่ ลี้ยง (Coach & Mentor) แสวงหาเทคนิควิธกี ารจัดการเรยี นรู้ และแหลง่ เรยี นรู้ที่หลากหลาย
ใหผ้ เู้ รยี น ไดเ้ รียนรอู้ ย่างมคี วามหมาย (Meaningful learning) ผู้เรียนสร้างองค์ความรูไ้ ด้มีความข้าใจใน
ตนเอง ใช้สติปัญญา คิดวิเคราะห์สร้างสรรค์ ผลงานนวัตกรรมที่บ่งบอกถึงการมีสมรรถนะสำคัญ
ในศตวรรษท่ี ๒๑ มที ักษะวชิ าการ ทักษะชวี ิและทกั ษะวชิ าชพี บรรลเุ ป้าหมายการเรียนรู้ตามระดับช่วงวัย
๒.๒.๑ ความหมายของ Active Learning (การจดั การเรียนร้เู ชิงรุก) การจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active learning) คือการเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนการสอน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด
กระบวนการคิดขั้นสูง (Higher-Order Thinking) ด้วยการวิเคราะห์ ประเมินค่า และสร้างสรรค์
ไม่เพียงแต่เป็นผูฟ้ ัง ผู้เรียนต้องอ่าน เขียน ตั้งคำถาม และถาม อภิปรายร่วมกัน ผู้เรียนลงมือปฏบิ ัติจริง
โดยต้องคำนึงถึงความรู้เดิมและความต้องการของผู้เรียนเป็นสำคัญ ทั้งนี้ผู้เรียนจะถูกเปลี่ยนบทบาท
จากเปน็ ผู้รับความรู้ไปสกู่ ารมสี ว่ นร่วมในการสรา้ งความรู้
๒.๒.๒ ความสำคญั ของ Active Learning (การจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ )
๑. Active Learning ส่งเสริมการมีอิสระทางด้านความคิดและการกระทำของผู้เรียน
การมีวิจารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ ผู้เรียนจะมีโอกาส มีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริงและมีการใช้
วิจารณญาณในการคิดและ ตัดสินใจในการปฏิบัติกิจกรรมนัน้ มุ่งสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้กำกบั ทิศทางการ
เรียนรู้ค้นหาสไตล์การเรียนรู้ของตนเอง สู่การเป็นผู้รู้คิด รู้ตัดสินใจด้วยตนเอง (Metacognition)
เพราะฉะนน้ั Active Learning จึงเป็นแนวทางการจดั การเรียนรูท้ ี่มุง่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถพฒั นาความคิดขั้น
สูง (Higher order thinking) ในการมีวจิ ารณญาณ การวิเคราะห์ การคิดแก้ปญั หา การประเมิน ตัดสินใจ
และการสร้างสรรค์
๒. Active Leaning สนับสนุนส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ
ซง่ึ ความร่วมมอื ในการปฏิบัติงานกลุ่มจะนำไปสู่ความสำเรจ็ ในภาพรวม
๓. Active Learning ทำใหผ้ ู้เรียนทุ่มเทในการเรยี น จูงใจในการเรียน และทำให้ผู้เรียน
แสดงออกถึง ความรู้ความสามารถ เมื่อผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมอย่างกระตือรือร้น
ในสภาพแวดล้อม ที่เอื้ออำนวย ผ่านการใช้กิจกรรมที่ครูจัดเตรียมไว้ให้อย่างหลากหลาย ผู้เรียนเลือก
เรียนรู้กิจกรรมต่างๆ ตามความ สนใจและความถนัดของตนเอง เกิดความรับผิดชอบและทุ่มเทเพื่อมุ่งสู่
ความสำเร็จ
6 สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๑, แนวทางการนเิ ทศเพือ่ พฒั นาและส่งเสริม
การจดั การเรยี นเชงิ รกุ , (อบุ ลราชธานี : หนว่ ยศึกษานเิ ทศกก์ รมสามญั ศึกษา, ๒๕๖๐), หนา้ ๒.
๑๓
๔. Active Learning ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดการพัฒนาเชิงบวกทั้งตัว
ผู้เรียน และตัวครูเป็นการปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน ผู้เรียนจะมีโอกาสได้เลือกใช้ความถนัด
ความสนใจ ความสามารถที่เป็นความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (Individual Different) สอดรับกับแนวคิด
พหุปญั ญา (Multiple Intelligence) เพอื่ แสดงออกถึงตวั ตนและศักยภาพของตัวเอง ส่วนครูผู้สอนต้องมี
ความตระหนัก
จากการศึกษาความหมายของ Active Learning เป็นทฤษฎีท่ีส่งเสริมอิสระทางความคิด
และการกระทำของผู้เรียน การมีวิจารณญาณ การพัฒนาเชิงบวกทั้งตัวผู้เรียน และตัวครู และการคิด
สร้างสรรค์ สนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นการลงมือทำ และการทำงานเป็นกลุ่ม ก่อให้เกิดการคิด
วิเคราะดว้ ยตนเองและกระบวนการทำงานเป็นกลมุ่
๒.๒.๓ ลกั ษณะกิจกรรมที่เป็น Active Learning (การจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก)
๑. กระบวนการเรียนรู้ที่ลดบทบาทการสอนและการให้ความรู้โดยตรงของครูแต่เปิด
โอกาสใหผ้ ้เู รยี นมสี ่วนร่วมสรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละจัดระบบการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
๒. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้นำความรู้ความเข้าใจไปประยกุ ต์ใช้สามารถ
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ คา่ คดิ สร้างสรรคส์ ิง่ ต่างๆ พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ไปสรู่ ะดบั ทสี่ งู ขึ้น
๓. กิจกรรมเชื่อมโยงกับนักเรียน กับสภาพแวดล้อมใกล้ตัว ปัญหาของชุมชน สังคม
หรอื ประเทศชาติ
๔. กจิ กรรมเป็นการนำความรูท้ ่ีได้ไปใช้แก้ปญั หาใหม่ หรอื ใช้ในสถานการณ์ใหม่
๕. กจิ กรรมเน้นใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ช้ความคิดของตนเองอย่างมีเหตมุ ีผล มีโอกาสร่วมอภิปราย
และนำเสนอผลงาน
๖. กิจกรรมเน้นการมีปฏสิ มั พันธก์ ันระหวา่ งผเู้ รียนกับผ้สู อน และปฏิสมั พันธก์ ันระหว่าง
ผเู้ รยี นดว้ ยกนั
จากการศึกษาลักษณะกิจกรรมที่เป็นการเรียนโดยใช้รูปแบบ Active Learning ครูผู้สอนเป็น
เพียงผู้ชี้แนะ นักเรียนสามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ เป็นการเรียนที่เน้นกระบวนการกลุ่ม
และศึกษาสืบค้นด้วยตนเองเป็นกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับนักเรียน กับสภาพแวดล้อมใกล้ตัว ปัญหาของ
ชมุ ชน สังคม หรือประเทศชาติ
๒.๒.๔ รูปแบบวธิ กี ารจดั กิจกรรมการเรียนรู้ Active Learning (การจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ )
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ในลักษณะการจัดการ
เรยี นร้เู ชงิ รกุ (Active Learning) มวี ิธีการจดั การเรียนร้หู ลากหลายวิธีเช่น
- การเรยี นรโู้ ดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning)
- การเรียนรู้เชงิ ประสบการณ์ (Experiential Learning)
- การเรียนร้โู ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning)
๑๔
- การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) อย่างไรก็ตาม
รปู แบบ วธิ ีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เหลา่ นี้มีพืน้ ฐานมาจากแนวคิดเดยี วกนั คอื ใหผ้ ้เู รยี นเป็นผู้มีบทบาท
หลกั ในการเรยี นรูข้ องตนเอง
จากการศึกษารูปแบบวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Active Learning วิธีการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ Active Learning มีหลากหลายวิธี จะเน้นบทบาทการมีส่วนร่วมของนักเรียน รูปแบบการจัด
กิจกรรมกจ็ ะเน้นใหน้ ักเรียนทำงานรว่ มกนั ศกึ ษาค้นควา้ เปน็ กลุ่ม
๒.๒.๕ บทบาทของครใู นการเรยี นรแู้ บบ Active Learning (การจดั การเรยี นรูเ้ ชิงรุก)
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แนวทาง Active Learning ครูผู้สอนต้องออกแบบ
กิจกรรมท่ีสะท้อนการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้และเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริ ง
โดยดำเนินการดงั นี้
๑. สร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบ ส่งเสริมให้ผู้เรียน
มปี ฏสิ มั พนั ธท์ ่ดี ีกบั ผสู้ อนและเพ่ือนในชัน้ เรยี น
๒. ลดบทบาทการสอน และการให้ความรู้โดยตรง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วน
ร่วมในการจดั ระบบการเรียนรู้ แสวงหาความรแู้ ละสรา้ งองคค์ วามร้ดู ้วยตนเอง
๓. ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ใหเ้ ป็นพลวัต (มกี ารเคลอ่ื นไหว/การขับเคล่ือน)
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม กระตุ้นให้ผู้เรียนค้นพบความสำเร็จในการเรียนรู้สามารถ
นำความรู้ ความเข้าใจ ไปประยุกตใ์ ช้ สามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ค่า และคดิ สร้างสรรคส์ งิ่ ต่างๆ
โดยเชอื่ มโยงกบั สภาพแวดลอ้ มใกล้ตวั ปญั หา ของชุมชน สังคม หรือประเทศชาติ
๔. จัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในกลุ่มผู้เรียน
วางแผนเกย่ี วกบั เวลาในจดั การเรียนรอู้ ย่างชัดเจน รวมถึงเนือ้ หาและกจิ กรรม
๕. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ท้าทาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากวิธีการ
สอนท่ีหลากหลาย
๖. เปิดใจกว้างยอมรับในความสามารถ การแสดงออกและการแสดง
ความคดิ เห็นของผเู้ รยี น
๗. ผู้สอนควรทราบวา่ ผ้เู รียนมีความถนัดทแ่ี ตกตา่ งกนั และทราบความร้พู นื้ ฐาน
ของผู้เรยี น
๘. ผู้สอนควรสร้างบรรยากาศในการเรียน ให้ผู้เรียนกล้าพูด กล้าตอบและ
มคี วามสุข ในการเรยี นรู้ การจดั การเรียนรทู้ ส่ี ่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนได้มสี ว่ นร่วมมากทสี่ ดุ ครผู ู้สอนตอ้ งพยายาม
สร้างลักษณะการเรียนรู้เชิงรุกให้เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอโดยจะต้องให้ผู้เรียนได้เข้าใจและรู้ว่าในขณะ
ท่กี ำลงั เรียนร้นู ้ัน ผู้เรยี นจะตอ้ งมลี กั ษณะดงั น้ี
๑) รวู้ ่าตวั เองจะต้องเรียนรู้เกี่ยวกบั อะไรบา้ ง รู้ส่งิ ท่ีจะเรียน
๒) สง่ิ ทจ่ี ะเรียนรู้น้นั เกย่ี วข้องกบั เรอื่ งที่เรียนไปแล้วอยา่ งไร
๑๕
๓) สิ่งที่จะเรียนรู้นั้น สอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับความเปน็ ไปของโลก
ปัจจบุ ันอยา่ งไร
๔) ผเู้ รียนตอ้ งรวู้ ่า ทำอย่างไร จึงจะร้วู ่าขอ้ เทจ็ จริงหรือข้อความรู้ที่ได้รับรู้
น้ัน ถูกตอ้ งแน่นอน
๕) ผู้เรียนจะต้องกลับไปตรวจสอบการบ้าน หรือส่ิงที่ค้นคว้าใหม่
ว่าได้คำตอบที่ถูกต้องหรอื ไม่ หรอื ตอบถูกตอ้ งตรงกบั คำถามขอ้ ไหน
๖) สามารถสอบถามความรู้เพิ่มเติมจากผู้อื่น หรือทางานร่วมกับผู้อ่ืน
เพื่อให้ได้คำตอบก่อนที่จะสรุป คำตอบสุดท้าย โดยต้องฟังหรือหาคำตอบให้ได้มาอย่างสมบูรณ์ที่สุด
กอ่ นที่จะสรุปนำเสนอ
จากการศึกษา บทบาทของครูผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
จะสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนกล้าโต้ตอบและแสดงความคิดเห็นในชัน้ เรียน ครูจะลดบทบาทลงเป็นเพียงผู้ช้ีแนะ
เท่านนั้ และจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเป็นแบบร่วมมือ
๒.๒.๖ ข้ันตอนในการจัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning 7
ได้มีนักการศึกษาที่สนใจการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยได้เสนอขั้นตอน
ของการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ไว้ดังนี้
Baldwin; & William 8 ได้เสนอขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกไว้ ๔ ขั้นตอน
ดงั นี้
๑. ขั้นเตรียมความพร้อม เป็นขั้นที่ผู้สอนนำผู้เรียนเข้าสู่เนื้อหาโดยการสร้าง
แรงจูงใจให้ผู้เรียน เกดิ ความกระตือรอื ร้นและอยากทีจ่ ะเรยี นร้ตู ่อไป
๒. ขัน้ ปฏบิ ตั งิ านกลุ่ม เปน็ ข้ันท่ผี ู้สอนใหผ้ ู้เรียนเข้ากลมุ่ ย่อย เพ่อื ทำงานร่วมกัน
และสรุปความคดิ เหน็ ของกลุ่ม ทัง้ นีจ้ ะต้องมีการแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ะหว่างกลมุ่ อืน่ ๆ โดยทผ่ี ู้สอนต้องคอย
เสรมิ ขอ้ มลู หรือความรู้ทีส่ ำคัญให้สมบรู ณย์ ิ่งขึ้น
๓. ขั้นประยุกต์ใช้ เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดหรือทำแบบทดสอบหลัง
เรยี น
๔. ขั้นติดตามผล เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าอิสระเพิ่มเติมโดยจัดทำเป็น
รายงาน หรือใหผ้ ้เู รียนเขียนบนั ทึกประจำวนั รวมถงึ ใหผ้ ู้เรยี นเขียนสรปุ ความรู้ที่ไดจ้ ากการเรียนรู้ในคาบ
เรยี นน้นั ๆ
7 กมล โพธิเย็น, Active Learning การจัดการเรียนรู้ที่ตอบโจทย์การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑,
(กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๖๔), หนา้ ๒๒.
8 Baldwin, Jill.; & Williams, Active Learning : a Trainer’s Guide,(England: Blackwell Education.),
1988.
๑๖
Johnson; et al9 เสนอว่า การจัดการเรียนรู้เชิงรุก สามารถทำตามขั้นตอน
ไดด้ งั นี้
๑. ขั้นนำ (Advance Organizer) ใช้เวลา ๓ ถึง ๕ นาที ในขั้นนี้จะเป็นการท่ี
ผู้สอนแสดงให้ผู้เรียนเห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาที่จะสอนกับสิ่งทีผ่ ู้เรียนมีพื้นฐานอยู่ก่อนแล้ว
พร้อมทั้งระบโุ ครงร่าง เนื้อหา แนวคิด ประเด็นหลักในการสอนเพ่ือทำใหผ้ ู้เรียนเห็นความสำคัญและเกิด
ความอยากรู้และอยาก เรียนรเู้ รื่องนัน้ มากยิง่ ขึ้น
๒. ขั้นสอน (Collaborative activities) ใช้เวลา ๑๐ - ๑๕ นาที ในขั้นนี้ผ้สู อน
จะสอนเนอื้ หาแล้ว ตามด้วยกจิ กรรมอนื่ จากการวิจัยพบวา่ สมาธหิ รือความสนใจของผู้เรียนจะลดลงอย่าง
รวดเร็วภายในเวลา ๑๕ นาที ดังนั้น ผู้สอนจึงควรใช้เวลาในการแนะนำเนือ้ หา ๑๐ - ๑๕ นาที แล้วตาม
ด้วยกิจกรรมอื่นในเวลา ๓ - ๔ นาที เพื่อเป็นการเปลี่ยนบรรยากาศและให้โอกาสที่ผู้เรียน จะสร้าง
ปฏสิ มั พันธ์กบั ผสู้ อน เชน่ ต้งั คำถามใหต้ อบ ให้ผู้เรียนช่วยกันคิดเปน็ กลมุ่ เพอื่ ผเู้ รยี นจะไดจ้ ำเนอ้ื หาที่เรยี น
ได้นานกว่าการอภิปรายร่วมกันทั้งชั้นเรียน ในขั้นนี้ผู้สอนจะทำซ้ำกันไปในเนื้อหาที่แบ่งไว้เป็นตอนๆ
จนครบเน้ือหาท่จี ะสอน
๓. ขั้นสรุป (Individual Summaries) ใช้เวลา ๔ – ๖ นาที ในขั้นนี้ผู้เรียน
จะต้องสรปุ เนือ้ หาที่ได้ เรียนรู้ด้วยตนเอง เปน็ การสรุปตามความเขา้ ใจของตนเอง โดยเขยี นใจความสำคัญ
ของเนื้อหาลงใน แผ่นกระดาษ แล้วแลกเปลี่ยนกันอ่านกับเพื่อนข้าง ๆ กัน หรือผู้สอนอาจสุ่มให้ผู้เรียน
ออกมาอา่ นให้เพ่ือน ๆ ฟงั หน้าชั้นเรียน
จากการศึกษาขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผู้วิจัยได้นำขั้นตอน
ของ Baldwin; & William ซงึ่ ไดเ้ สนอขัน้ ตอนของการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุกไว้ ๔ ขั้นตอนดงั นี้ ๑. ขนั้ เตรยี ม
ความพรอ้ ม ๒. ขั้นปฏิบตั ิงานกลมุ่ ๓. ข้นั ประยุกต์ใช้ ๔. ขั้นตดิ ตามผล
๒.๒.๗ แนวคิดของ บลมู (Bloom’s Taxonomy) 10
บลูม ( Benjamin S. Bloom.๑๙๗๖) นักการศึกษาชาวอเมริกัน เชื่อว่า การเรียนการ
สอนที่จะประสบความสำเร็จและมีประสิทธิภาพนั้น ผู้สอนจะต้องกำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน เพื่อให้
ผู้สอนกำหนดและจดั กิจกรรมการเรียน รวมทั้งวดั ประเมินผลไดถ้ ูกต้อง โดยได้จำแนกจดุ มงุ่ หมายทางการ
ศึกษา ที่เรียกว่า Taxonomy of Educational Objectives ออกเป็น ๓ ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย
ด้านจติ พิสยั และดา้ นทักษะพสิ ัย
๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) หมายถึง การเรียนรู้ทางด้าน ความรู้
ความคิด การแก้ปญั หา จัดเป็นพฤตกิ รรมด้านสมองเกี่ยวกับสติปัญญา ความคดิ ความสามารถในการคิด
เรื่องราวตา่ งๆ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เปน็ ๖ ระดับ ดงั นี้
9 Johnson, David W.; et al, Active Learning : Cooperation in the College Classroom, (Edina,
MN : Interaction Book Company), 1991.
10 Bloom, Benjamin S., Taxonomy of Education Objective, Handbook : Cognitive Domain.
(New York : David Mckay), 1976.
๑๗
๑.๑ จำ (Remember) หมายถึงความสามารถในการดึงเอาความรู้ที่มีอยูใ่ น
หน่วยความจำระยะยาวออกมา แบ่งประเภทย่อยได้๒ ลักษณะคือ จำได้ (Recognizing) ระลึกได้
(Recalling)
๑.๒ เข้าใจ (Understand) หมายถงึ ความสามารถในการกำหนดความหมาย
ของคำพูดตัวอกั ษรและ การส่ือสารจากสื่อตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ ผลมาจากการสอน แบง่ ประเภทยอ่ ยได้ ๗ ลกั ษณะ
คือ ตีความ (Interpreting) ยกตัวอย่าง (Exemplifying) จำแนกประเภท (Classifying) สรุป
(Summarizing) อนุมาน (Inferring) เปรยี บเทียบ (Comparing) อธิบาย (Explaining)
๑.๓ ประยุกต์ใช้ (Apply) หมายถึงความสามารถในการดำเนินการหรือ
ใช้ระเบียบวิธีการภายใต้สถานการณ์ที่กำหนดให้แบ่งประเภทย่อยได้ ๒ ลักษณะคือ ดำเนินงาน
(Executing) ใช้เปน็ เคร่ืองมือ (Implementing)
๑.๔ วิเคราะห์ (Analyze) หมายถึงความสามารถในการแยกส่วนประกอบ
ของสิ่งต่างๆ และค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบ ความสัมพันธ์ระหว่างของส่วนประกอบกับ
โครงสร้างรวมหรือส่วนประกอบเฉพาะ แบ่งประเภทย่อยได้ ๓ ลักษณะคือ บอกความแตกต่าง
(Differentiating) จัดโครงสรา้ ง (Organizing) ระบุคุณลกั ษณะ (Attributing)
๑.๕ ประเมนิ ค่า (Evaluate) หมายถงึ ความสามารถในการตดั สนิ ใจโดยอาศัย
เกณฑ์หรือมาตรฐาน แบ่งประเภทย่อยได้ ๒ ลักษณะคือ ตรวจสอบ (Checking) วิพากษ์วิจารณ์
(Critiquing)
๑.๖ สร้างสรรค์ (Create) หมายถึงความสามารถในการรวมส่วนประกอบ
ต่างๆเข้าด้วยกัน ด้วยรูปแบบใหม่ๆ ที่มีความเชื่อมโยงกันอย่างมีเหตุผล หรือทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็น
ต้นแบบ แบง่ ประเภทย่อยได้ ๓ ลกั ษณะคือ สรา้ ง (Generating) วางแผน (Planning) ผลิต (Producing)
๒. ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) พฤติกรรมด้านจิตพิสัยเป็นค่านิยม
ความรู้สึกความซาบซึ้ง ทัศนคติความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้นทันที
ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และสอดแทรกส่ิงที่ดีงาม
ตลอดเวลาจะทำให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้จิตพิสัย ประกอบด้วย
พฤติกรรม ๕ ระดบั ไดแ้ ก่
๒.๑ การรับรู้ (Receiving/Attending) เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏ
การณห์ รือสงิ่ เรา้ อยา่ งใด อยา่ งหน่งึ ซึง่ เป็นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสิง่ เร้านน้ั ว่าคืออะไร
แลว้ จะแสดงออกมาในรูปของความรู้สึกท่เี กดิ ขึน้
๒.๒ การตอบสนอง (Responding) เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของ
ความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อสิ่งเร้านั้น ซ่ึงเป็นการตอบสนองทเี่ กดิ จากการเลอื กสรรแล้ว
๒.๓ การเกิดค่านิยม (Valuing) การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกัน
ในสังคม การยอมรับนบั ถือในคุณค่าน้ันๆ หรอื ปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหน่งึ จนกลายเป็นความเช่ือแล้ว
จงึ เกดิ ทัศนคติทีด่ ใี นสิง่ นน้ั
๑๘
๒.๔ การจัดระบบ (Organizing) การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยม
ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ ถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับ อาจจะยอมรับ
คา่ นยิ มใหม่โดยยกเลกิ ค่านิยมเกา่
๒.๕ บคุ ลกิ ภาพ (Characterizing) การนำค่านิยมท่ียึดถือมาแสดงพฤติกรรม
ที่เป็นนิสัยประจำตัวให้ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม พฤติกรรมด้านนี้จะเกี่ยวกับความรู้สึก
และจติ ใจ ซงึ่ จะเรมิ่ จากการไดร้ บั รู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกริ ิยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึก
ด้านต่างๆ จนกลายเป็นค่านิยม และยังพัฒนาต่อไปเป็นความคิด อุดมคติ ซึ่งจะเป็นการควบคุมทิศทาง
พฤตกิ รรมของคน
๓. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
เป็นพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว ชำนิชำนาญ ซึ่งแสดง
ออกมาไดโ้ ดยตรง มเี วลาและคณุ ภาพของงานเปน็ ตัวช้ีระดบั ของทักษะประกอบด้วย ๕ ข้นั ดงั น้ี
๓.๑ การรับรู้เลียนแบบทำตาม (Imitation) เป็นการให้ผู้เรียนได้รับรู้
หลกั การปฏบิ ตั ทิ ่ีถูกต้อง หรอื เป็นการเลอื กหาตัวแบบที่สนใจ
๓.๒ การทำเองการปรับให้เหมาะสม (Manipulation) เป็นพฤติกรรมที่
ผู้เรยี นพยายามฝึกตามแบบท่ี ตนสนใจและพยายามทำซ้ำ เพื่อทจ่ี ะใหเ้ กิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจให้ได้
หรอื สามารถปฏิบัติงานไดต้ ามข้อแนะนำ
๓.๓ การหาความถูกต้อง (Precision) พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วย
ตนเอง โดยไม่ตอ้ งอาศยั เคร่ืองชี้แนะ เมื่อไดก้ ระทำซำ้ แลว้ กพ็ ยายามหาความถูกตอ้ งในการปฏบิ ตั ิ
๓.๔ การทำอย่างต่อเนื่อง (Articulation) หลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบ
ที่เป็นของตัวเองจะกระทำตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว
ถกู ตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว การทผ่ี เู้ รยี นเกดิ ทกั ษะไดต้ ้องอาศัยการฝกึ ฝนและกระทำอยา่ งสม่ำเสมอ
๓.๕ การทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization) พฤติกรรมที่ได้จาก
การฝึกอย่างตอ่ เนือ่ งจนสามารถปฏิบัติได้คลอ่ งแคล่ววอ่ งไวโดยอัตโนมัตเิ ป็นไปอย่างธรรมชาติซึง่ ถือเป็น
ความสามารถของการปฏบิ ัตใิ นระดับสงู
๒.๒.๘ แนวคดิ สีเ่ สาหลักของการศึกษา (Four Pillars of Education)11
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก
ได้ศึกษาแนวทางการจดั การศกึ ษาท่ีเหมาะสมในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยเสนอส่ีเสาหลักของการศึกษา (Four
Pillars of Education) ประกอบด้วยการเรียนรู้ ๔ ลักษณะ ได้แก่ การเรียนเพ่ือรู้ (Learning to know)
11 สำนกั เขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๑, แนวทางการนิเทศเพ่อื พัฒนาและส่งสงเสริม
การจดั การเรยี นเชิงรกุ , (อบุ ลราชธานี : หนว่ ยศึกษานเิ ทศกก์ รมสามญั ศกึ ษา, ๒๕๖๐), หน้า ๖.
๑๙
การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง (Learning to do) การเรียนรู้เพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน และการเรียนรู้ที่จะอยู่
รว่ มกบั ผู้อ่นื (Learning to Live together) และการเรยี นรู้เพอ่ื ชวี ิต (Learning to be)
Learning to know : หมายถึง การเรียนเพื่อรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง อันจะเป็น
ประโยชน์ตอ่ ไป ไดแ้ ก่ การแสวงหาใหไ้ ด้มาซงึ่ ความรู้ท่ีตอ้ งการ การต่อยอดความรู้ทม่ี ีอยู่รวมทั้งการสร้าง
ความรู้ขน้ึ ใหม่ เปน็ การจัดการเรยี นรู้ ท่ีมงุ่ พฒั นากระบวนการคิด กระบวนการเรยี นรกู้ ารแสวงหาความรู้
และวิธีการเรยี นรู้ของผ้เู รียน เพือ่ ใหส้ ามารถเรียนรูแ้ ละพฒั นาตนเองได้ตลอดชีวิต กระบวนการเรียนรูเ้ นน้
การฝึกสติ สมาธิ ความจำ ความคดิ ผสมผสานกบั สภาพจริงและประสบการณใ์ นการปฏบิ ตั ิ
Learning to do : หมายถึง การเรียนเพื่อการปฏิบัติหรือลงมือทำ มุ่งพัฒนา
ความสามารถและความชำนาญ รวมทั้งสมรรถนะทางด้านวิชาชีพ สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ
ปรบั ประยกุ ต์องค์ความร้ไู ปสู่การปฏบิ ัติงาน และอาชีพ กระบวนการเรียนรเู้ นน้ บูรณาการระหว่างความรู้
ภาคทฤษฎีและการฝึกปฏบิ ัตงิ านทเี่ น้นประสบการณ์ต่างๆทางสงั คม ซง่ึ อาจนำไปสู่การประกอบอาชีพจาก
ความรทู้ ี่ไดศ้ กึ ษามา รวมทง้ั การปฏิบัตเิ พือ่ สร้างประโยชนใ์ ห้สังคมทีส่ ามารถทำงานได้หลายอยา่ ง
Learning to live together : หมายถึงการเรียนรู้เพื่อการดำเนินชีวิตอยู่
ร่วมกับผูอ้ ่ืนไดอ้ ย่างมีความสุข ทั้งการดำเนินชวี ิตในการเรียน ครอบครัว สังคม และการทำงาน เป็นการ
ดำรงชวี ิตอย่างมคี ุณภาพดว้ ยการสร้างสรรค์ประโยชน์ให้สังคม การจดั การเรยี นรมู้ ุ่งใหผ้ ู้เรยี นดำรงชีวิตอยู่
ร่วมกับผู้อื่นในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข มีความตระหนักในการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
การแก้ปัญหา การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีมีความเคารพสิทธิและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เข้า
ใจความแตกตา่ งและหลากหลายดา้ นวัฒนธรรม ประเพณคี วามเช่ือของแตล่ ะบคุ คลในสงั คม
Learning to be : หมายถึง การเรียนรู้เพื่อให้รู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้รู้ถึง
ศักยภาพ ความถนัด ความสนใจของตนเอง สามารถใช้ความรู้ความสามารถของตนเองให้เกิดประโยชน์
ต่อสังคม เลือกแนวทางการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ วางแผนการเรียนต่อ การประกอบอาชีพท่ี
สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพตนเองได้การจดั การเรียนรู้ ม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นทุกดา้ นทง้ั จติ ใจและร่างกาย สติปัญญา
ให้ความสำคัญกบั จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาความเปน็ มนษุ ย์ท่ี
สมบรู ณม์ คี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคม สงิ่ แวดล้อม ศีลธรรม สามารถปรบั ตัว และปรับปรุงบคุ ลกิ ภาพของตน
เข้าใจตนเองและผู้อ่ืน
๒.๒.๙ ทฤษฎีแนวคิด อ้างใน สถาพร พฤฑฒิกุล12 Active Learning จึงเป็นกระบวนการ
จัดการเรียนร้ตู ามแนวคดิ การสรา้ งสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ทีเ่ น้นกระบวนการเรยี นรู้มากกว่า
เน้ือหาวชิ า เพ่อื ชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสรา้ งความรู้ให้เกิดขน้ึ ในตนเอง ดว้ ยการลงมือ
ปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีมีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์
12 สถาพร พฤฑฒิกุล, การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning, (สระแก้ว: คณะเทคโนโลยีการ
เกษตร มหาวิทยาลัยบรู พาวทิ ยาเขตสระแก้ว, ๒๕๔๒), หนา้ ๔๙.
๒๐
และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมาย
และนำไปใชใ้ นสถานการณ์อ่นื ๆได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning เป็นดังน้ี13
๑. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา
และการนำความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้
๒. เปน็ การเรยี นการสอนที่เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรยี นรู้สงู สดุ
๓. ผเู้ รียนสร้างองค์ความรแู้ ละจดั กระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
๔. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้าง
ปฏิสัมพนั ธร์ ว่ มกัน รว่ มมือกนั มากกวา่ การแขง่ ขนั
๕. ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าที่
ความรับผิดชอบ
๖. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะ
เป็นผจู้ ดั ระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
๗. เปน็ กจิ กรรมการเรียนการสอนท่เี น้นทักษะการคดิ ขัน้ สูง
๘. เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ
และหลักการความคิดรวบยอด
๙. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติ
ดว้ ยตนเอง
๑๐. ความรู้เกดิ จากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนของผเู้ รียน
บทบาทของอาจารย์ผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางของ Active
Learning ดังนี้14 จดั ให้ผเู้ รยี นเป็นศูนยก์ ลางของการเรียนการสอน กจิ กรรมต้องสะทอ้ นความตอ้ งการใน
การพัฒนาผเู้ รียนและเน้นการนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ จรงิ ของผเู้ รียน
๑. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
มปี ฏสิ ัมพันธท์ ่ดี ีกบั ผสู้ อนและเพือ่ นในช้ันเรยี น
๒. จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหเ้ ปน็ พลวัต ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในทกุ กิจกรรม
รวมทง้ั กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้
๓. จดั สภาพการเรยี นรูแ้ บบร่วมมอื สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การรว่ มมอื ในกลุม่ ผเู้ รยี น
๔. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนที่
หลากหลาย
13 ไชยยศ เรอื งสุวรรณ, การออกแบบพัฒนาโปรแกรมบทเรยี นและบทเรียนบนเวบ็ , (มหาสารคาม : ภาควชิ า
เทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม), ๒๕๒๓.
14 ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ, ภาวะผูน้ ำและนวัตกรรมทางการศึกษา:บทบาทของครกู ับ Active Learning,
สืบค้นเมื่อ ๒๐ มกราคา ๒๕๖๕, แหลง่ ขอ้ มลู : http://www.pochanukul.com.
๒๑
๕. วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของเนื้อหา
และกิจกรรม
๖. ครผู ้สู อนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเหน็ ของ
ผูเ้ รียน
ตัวอย่างเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สามารถสร้างให้เกิดขึ้นได้ทั้งในห้องเรียน
และนอกห้องเรียน รวมท้ังสามารถใชไ้ ด้กบั นักเรียนทกุ ระดบั ท้ังการเรยี นรเู้ ปน็ รายบคุ คล การเรียนรู้แบบ
กลุม่ เลก็ และการเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่ McKinney15 ไดเ้ สนอตวั อยา่ งรูปแบบหรือเทคนคิ การจดั กจิ กรรม
การเรยี นรทู้ จี่ ะชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ได้ดี ได้แก่
๑. การเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think-Pair-Share) คือการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีให้ผเู้ รียนคิดเกีย่ วกับประเด็นท่ีกำหนดแตล่ ะคน ประมาณ ๒-๓ นาที (Think) จากน้ัน
ให้แลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อนอีกคน ๓-๕ นาที (Pair) และนำเสนอความคิดเห็นต่อผู้เรียนทั้งหมด
(Share)
๒. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative learning group) คือการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ทใ่ี ห้ผเู้ รียนได้ทำงานร่วมกับผูอ้ ่ืน โดยจัดเป็นกลุม่ ๆละ ๓-๖ คน
๓. การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions)
คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้ทบทวนความรู้และพิจารณาขอ้ สงสัยตา่ งๆ ในการ
ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลอื กรณที ีม่ ีปญั หา
๔. การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอน
นำเกมเข้าบูรณาการในการเรียนการสอน ซึ่งใช้ไดท้ ั้งในขั้นการนำเข้าสู่บทเรียน การสอน การมอบหมาย
งาน และหรือขัน้ การประเมนิ ผล
๕. การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos)
คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ ๕-๒๐ นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น
หรือสะท้อนความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู อาจโดยวิธีการพูดโต้ตอบกัน การเขียน หรือ การร่วมกันสรุป
เป็นรายกลมุ่
๖. การเรียนรู้แบบโต้วาที (Student debates) คือการจัดกิจกรรมการ
เรียนรทู้ จี่ ัดให้ผเู้ รียนได้นำเสนอข้อมูลทไี่ ด้จากประสบการณ์และการเรียนรู้ เพือ่ ยืนยันแนวคิดของตนเอง
หรอื กล่มุ
๗. การเรียนรู้แบบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam
questions) คอื การจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ีใ่ หผ้ ูเ้ รยี นสร้างแบบทดสอบจากสิ่งท่ไี ด้เรียนรู้มาแลว้
15 Mckinney, S. E., Developing teachers for high-poverty schools: The role of the internship
experience,Urban Education, [Online], Available : http://www.eric.ed.gor (2022, 3 February), 2008.
๒๒
๘. การเรียนรู้แบบกระบวนการวิจัย (Mini-research proposals or
project) คอื การจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีองิ กระบวนการวจิ ัย โดยใหผ้ ้เู รียนกำหนดหวั ขอ้ ที่ตอ้ งการเรียนรู้
วางแผนการเรียน เรียนรู้ตามแผน สรุปความรู้หรือสร้างผลงาน และสะท้อนความคิดในสิ่งที่ได้เรียนรู้
หรืออาจเรียกว่าการสอนแบบโครงงาน (project-based learning) หรือการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
(problem-based learning)
๙. การเรยี นรู้แบบกรณศี ึกษา (Analyze case studies) คอื การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ทใี่ หผ้ ูเ้ รยี นไดอ้ ่านกรณตี ัวอยา่ งทต่ี ้องการศกึ ษา จากน้ันใหผ้ ูเ้ รียนวิเคราะหแ์ ละแลกเปลีย่ นความ
คดิ เห็นหรอื แนวทางแก้ปญั หาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ ผู้เรยี นทั้งหมด
๑๐. การเรียนรู้แบบการเขียนบันทกึ (Keeping journals or logs) คือการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจดบันทึกเรื่องราวต่างๆที่ได้พบเห็น หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
รวมทง้ั เสนอความคิดเพิม่ เตมิ เกี่ยวกบั บันทึกท่ีเขยี น
๑๑. การเรียนรู้แบบการเขียนจดหมายข่าว (Write and produce
a newsletter) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนร่วมกันผลิตจดหมายข่าว อันประกอบด้วย
บทความ ขอ้ มูลสารสนเทศ ข่าวสาร และเหตกุ ารณ์ทเี่ กิดขึ้น แลว้ แจกจา่ ยไปยังบุคคลอนื่ ๆ
๑๒. การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด (Concept mapping) คือการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนออกแบบแผนผังความคิด เพื่อนำเสนอความคิดรวบยอด และความ
เชื่อมโยงกนั ของกรอบความคดิ โดยการใชเ้ ส้นเปน็ ตวั เชื่อมโยง อาจจดั ทำเป็นรายบคุ คลหรืองานกลมุ่ แล้ว
นำเสนอผลงานตอ่ ผเู้ รียนอน่ื ๆ จากนั้นเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนคนอื่นได้ซักถามและแสดงความคดิ เหน็ เพม่ิ เติม
๒.๒.๑๐ ทฤษฎีแนวคดิ อา้ งใน นายนรรชั ต์ ฝนั เชยี ร16 ปจั จุบนั น้ี เรอื่ งของ Active Learning
นับเป็นสิ่งที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุดในการศึกษาช่วงศตวรรษที่ ๒๑ นี้ ด้วยเพราะเป็นแนวจัดการเรียนรู้ท่ี
จะชว่ ยให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้และตอบสนองต่อการพฒั นาของสงั คมโลกที่เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
โดยความหมายของ Active Learning (การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ) นั้น หมายถึงกระบวนการเรียนรู้ท่ี
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเขา้ ใจและเรียนรู้อย่างมคี วามหมาย โดยผ่านการกระทำและร่วมมือกันระหว่าง
ผเู้ รยี นดว้ ยกัน ซง่ึ เกิดข้ึนจากสมมตฐิ าน ๒ ประการ อนั ไดแ้ ก่
๑. การเรยี นรเู้ ปน็ ความพยายามโดยธรรมชาติของมนษุ ย์
๒. แต่ละคนมีแนวทางในการเรยี นรูท้ ่ีแตกต่างกนั
กอ่ นที่จะเราจะมาเจาะลึกในเรื่องของ Active Learning เราควรจะมาทำความเข้าใจในเรื่องของ
พีรามิดแห่งการเรียนรู้กนั กอ่ น พีรามิดแหง่ การเรียนรู้ คือ การแสดงให้เหน็ ถึงประสิทธิภาพในการเรียนรู้
ของมนุษย์ผ่านวิธีการตา่ งๆ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ระดับ คอื
ระดบั ท่ี ๑ กระบวนการเรยี นรแู้ บบ Passive Learning
16 นนทลพี ร พรธำดำวทิ ย,์ สรุปองค์ความรเู้ ร่ือง Active Learning, พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๒, (กรุงเทพฯ : บริษทั ทริป
เพลิ้ เอด็ ดเู คช่ัน จำกดั , ๒๕๖๑), หนา้ ๙๐.
๒๓
ได้แก่ การเรียนรู้ที่เกิดจากการฟัง การท่องจำ การเห็น การรับชม ตามลำดับซึ่ง
กระบวนการเรยี นรู้แบบ Passive Learning นี้ จะเน้นใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ผ่านทางการถ่ายทอดของ
ผูส้ อนเป็นหลัก ซ่งึ วธิ กี ารเหลา่ นีส้ ามารถสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเรียนรไู้ ดไ้ มเ่ กิน ๕๐%
ระดับท่ี ๒ กระบวนการเรียนรแู้ บบ Active Learning
ได้แก่ การพูดคุยแสดงความคิดเห็น และการลงมือปฏิบัติ และการประยุกต์ใช้
ซึ่งกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning นั้น จะเน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วย
ตัวเอง จากการประสานงานร่วมกันระหว่างผู้เรียน โดยมีผู้สอนคอยชี้แนะและให้คำแนะนำ ซึ่งวิธีการ
เหล่าน้ี นับเป็นขนั้ ทสี่ งู กวา่ Passive Learning ทำใหส้ ามารถส่งเสรมิ การเรียนรขู้ องผเู้ รียนได้ถงึ ๙๐%
สำหรับลกั ษณะของกระบวนการเรยี นรแู้ บบ Active Learning น้ันรองศาสตราจารย์ ดร.ไชย
ยศ เรืองสุวรรณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ณ ขณะนั้น ได้อธิบายถึงลักษณะของ
กระบวนการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ไว้อยา่ งนา่ สนใจ ดงั น้ีวา่ 17
๑. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
๒. เป็นการเรยี นการสอนท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนมีส่วนรว่ มในการเรียนรู้
๓. ผู้เรยี นสร้างองค์ความรู้และจดั ระบบการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
๔. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน มีการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์
รว่ มกนั และรว่ มมอื กนั มากกวา่ การแขง่ ขัน
๕. ผ้เู รยี นได้เรยี นร้คู วามรับผิดชอบร่วมกัน การมวี ินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าท่ี
ความรบั ผิดชอบ
๖. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คดิ
๗. เป็นกิจกรรมการเรยี นการสอนเนน้ ทักษะการคิดขนั้ สูง
๘. เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ,
และหลกั การสู่การสร้างความคิดรวบยอดความคดิ รวบยอด
๙. ผู้สอนจะเป็นผู้อํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติ
ด้วยตนเอง
๑๐. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนของผูเ้ รยี น
ซึ่งจากลักษณะโดยทั่วไปของกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning นี้ เราสามารถนำ
กระบวนการนี้มาประยุกต์ใช้ในการจัดเรียนการสอนได้ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
กระบวนการเรยี นรแู้ บบ Active Learning มาประยกุ ตใ์ ช้ ไว้ดังนี้
๑. การเรียนรู้ผ่านการทำงาน (Work-based Learning) เป็นการจัดการเรียนการ
สอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้เนื้อหาสาระ การฝึกปฏิบัติจริง
17 ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ, การออกแบบพฒั นาโปรแกรมบทเรียนและบทเรยี นบนเว็บ, (มหาสารคาม : ภาควชิ า
เทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม), ๒๕๒๓.
๒๔
ฝึกฝนทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง โดยสถาบันการศึกษา
มักร่วมมือกับแหล่งงานในชุมชน รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน ตั้งแต่การกำหนด
วัตถปุ ระสงค์ การกำหนดเนอ้ื หากิจกรรม และวิธกี ารประเมนิ
๒. การเรียนรู้ผ่านโครงงาน (Project-based Learning) การเรียนรู้ด้วยโครงงาน
เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
ในลักษณะของการศกึ ษา สำรวจ คน้ ควา้ ทดลอง ประดิษฐ์คดิ ค้น โดยครเู ปลย่ี นบทบาทจากการเป็นผู้ให้
ความรู้ (teacher) เปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวก (facilitator) หรือผ้ใู ห้คำแนะนำ (guide) ทำหนา้ ท่อี อกแบบ
กระบวนการเรยี นรูใ้ หผ้ ู้เรียนทำงานเปน็ ทมี กระตนุ้ แนะนำ และใหค้ ำปรกึ ษา เพอ่ื ใหโ้ ครงการสำเรจ็ ลุล่วง
ประโยชน์ของการเรียนรู้ด้วยโครงงาน สิ่งที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนรู้ด้วย PBL จึงมิใช่ตัวความรู้
(knowledge) หรอื วธิ กี ารหาความรู้ (searching) แต่เปน็ ทกั ษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (learning and
innovation skills) ทักษะชีวิตและประกอบอาชีพ (Life and Career skills) ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร
การสื่อสารและเทคโนโลยี (Information Media and Technology Skills) การออกแบบโครงงานที่ดี
จะกระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้นและผู้เรียนจะได้ฝึกการใช้ทักษะการคิดเชิงวิพ ากษ์
และแก้ปัญหา (critical thinking & problem solving) ทักษะการสื่อ สาร (communicating)
และทกั ษะการสร้างความรว่ มมอื (collaboration) ประโยชนท์ ี่ได้สำหรับครูท่นี อกจากจะเป็นการพัฒนา
คุณภาพด้านวิชาชีพแล้ว ยังช่วยให้เกิดการทำงานแบบร่วมมือกับเพ่ือนครดู ้วยกัน รวมทั้งโอกาสที่จะได้
สรา้ งสัมพนั ธท์ ดี่ ีกบั นกั เรยี นด้วย
๓. การเรียนร้ผู ่านกจิ กรรม (Activity-based Learning) ในการยดึ หลักการใหผ้ ูเ้ รียน
สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง “Child Centered” การเรียนโดยการปฏิบัติจริง Learning by Doing
และปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และแก้ปัญหาได้ Doing by Learning จึงถูกนำมาใช้อย่างจรงิ จังในการ
ปฏิรูปการศกึ ษาของไทย การเรยี นรู้ชนิดนเ้ี อง ท่มี ีผตู้ ง้ั ฉายาวา่ “สอนแตน่ อ้ ย ใหเ้ รยี นมากๆ Teach less
Learn More” การเรยี นแบบ Learning by Doing นั้นใช้ “กจิ กรรม Activity” เป็นหลักในการเรียนการ
สอนโดยการ “ปฏิบัติจริง Doing” ในเนื้อหาทุกขั้นตอนของการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ทุกคนในกลุ่มเป็นผู้ปฏิบัติ คุณครูเป็นพี่เลี้ยงและเทรนเนอร์ แต่กิจกรรมที่นำมาใช้นี้ต้องมีประสิทธภิ าพ
ในการเรียนรู้เนื้อหานั้นๆ มีจุดมุ่งหมาย สนุก และน่าสนใจ ไม่ซ้ำซากจนก่อใหเ้ กิดความเบือ่ หน่าย ดังนนั้
คณุ ครจู งึ เป็น “นักออกแบบกจิ กรรม Activity Designer” มืออาชพี ทีส่ ามารถ “มองเหน็ ภาพกิจกรรม”
ไดท้ ันที
๔. การเรยี นรู้ผา่ นการแกป้ ัญหา (Problem-based Learning) เปน็ รปู แบบการเรียน
อีกรปู แบบหนงึ่ ที่เน้นผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง และรจู้ ักการทำงานรว่ มกันเปน็ ทีมของผู้เรียน โดยผู้สอนมีส่วน
ร่วมน้อยแต่ก็ทา้ ทายผู้สอนมากที่สุด กระบวนการการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน จะจัดผู้เรยี นเปน็ กล่มุ
ย่อย ขนาดประมาณ ๘ - ๑๐ คน โดยมีครูหรือผู้สอนประจำกลุ่ม ๑ คน ทำหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนการ
เรียนรู้ (facilitator)
๒๕
๕. การเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีวิจัย (Research-based
Learning) การเรียนรู้ที่เน้นการวิจัยถือได้ว่าเป็นหัวใจของบัณฑิตศึกษา เพราะเป็นการเรียนที่เน้น
การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนโดยตรง เป็นการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู้ และการ
ทดสอบความสามารถทางการเรียนรดู้ ้วยตนเองของผเู้ รยี น
จากวิธีการเรยี นรทู้ ั้งหมดนี้ จะสงั เกตได้ว่า เปน็ การเรยี นรูท้ เ่ี นน้ ให้ผ้เู รียนลงมือทำ คิดวิเคราะห์
และร่วมมือกันแก้ไขปัญหา ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning
ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ในลักษณะของ Active Learning น้ี ถ้าประสบความสำเรจ็ จะทำให้ผเู้ รียนสามารถ
รักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มากและนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning ซึ่งถ้าเรา
สามารถพาผูเ้ รยี นไปถงึ ขัน้ นนั้ ได้ จะเป็นการปฏิวัติวงการการศกึ ษาของไทยเลยทเี ดยี ว เพราะกระบวนการ
เรียนรู้แบบ Active Learning นั้น ตัวแปรสำคัญในการเรียนรู้จะไปอยู่ที่ตัวผู้เรียนเป็นหลัก ซึ่งแตกต่าง
จากการเรียนรูท้ เี่ คยเปน็ มาในอดีตทคี่ รผู ู้สอนเปน็ ผู้ถ่ายทอดให้ แต่อย่างไรกต็ าม การจะพัฒนาไปถงึ ขนั้ น้นั
ได้ ผู้เรียนจะต้องมีทักษะและความพร้อมในการเรียนรู้อย่างเหมาะสมในระดับหนึ่ง ซึ่งทักษะพื้นฐาน
เชน่ การอา่ น การเขียน การคิดคำนวณ และทกั ษะการใชภ้ าษาต่างประเทศ นับเปน็ เรือ่ งท่ีสำคัญที่ผู้เรียน
จะต้องมีความพร้อม เพื่อที่จะก้าวสู่การเรียนรู้แบบ Active learning ได้โดยสมบูรณ์ ซึ่ง ณ ปัจจุบัน
เด็กไทยน้ันพรอ้ มแล้วหรือยัง?
๒.๓.๕ ทฤษฎีการคิด อ้างใน ดร.จิรายทุ ธ์ิ อ่อนศรี18 Active Learning คือกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไปเป็นการจัด
กจิ กรรมการเรียนรภู้ ายใต้สมมติฐานพน้ื ฐาน ๒ ประการคือ ๑) การเรียนรู้เปน็ ความพยายามโดยธรรมชาติ
ของมนุษย์ และ ๒) แต่ละบคุ คลมีแนวทางในการเรียนรทู้ แ่ี ตกต่างกนั โดยผู้เรยี นจะถูกเปลี่ยนบทบาทจาก
ผู้รับความรู้ (receive) ไปส่กู ารมสี ่วนรว่ มในการสรา้ งความรู้ (co-creators)
Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนอย่างหนึ่ง แปลตามตัวก็คือเป็นการ
เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือ การลงมือทำซึ่ง “ความรู้” ที่เกิดขึ้นก็เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์
กระบวนการในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ีผ่ ู้เรียนต้องได้มีโอกาสลงมือกระทำมากกว่าการฟังเพียงอย่าง
เดยี ว ต้องจัดกจิ กรรมให้ผู้เรยี นไดก้ ารเรียนรู้โดยการอา่ น, การเขยี น, การโต้ตอบ, และการวเิ คราะหป์ ัญหา
อีกทั้งให้ผู้เรียนได้ใช้ กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์, การสังเคราะห์, และการประเมินค่า
ดังกล่าวนั่นเอง หรือพูดให้ง่ายขึ้นมาหน่อยก็คือ หากเปรียบความรู้เป็น “กับข้าว” อย่างหนึ่งแล้ว
Active learning ก็คือ “วิธีการปรุง” กับข้าวชนิดนัน้ ดังนั้นเพื่อให้ไดก้ ับข้าวดังกลา่ ว เราก็ต้องใชว้ ธิ กี าร
ปรุงอันนี้แหละแต่ว่ารสชาติจะออกมา อย่างไรก็ขึ้นกับประสบการณ์ความชำนาญของผู้ปรุงนั่นเอง
(สว่ นหน่ึงจากผู้สอนให้ปรงุ ด้วย) “เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้อย่างมีความหมายโดยการ
ร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ในการนี้ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความรู้แก่ผู้เรียน
โดยตรง แตไ่ ปเพ่มิ กระบวนการและกิจกรรมทีจ่ ะทำให้ผู้เรียนเกดิ ความกระตือรือร้นในการจะทำกิจกรรม
18 จิรายุทธ์ิ ออ่ นศรี, Active Learning การเรยี นรู้แบบลงมอื , สืบคน้ เมื่อ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔,
แหลง่ ทมี่ า : http://www.nwm.ac.th.
๒๖
ต่างๆมากขึ้น และอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์โดยการพูด การเขียน
การอภิปรายกบั เพ่อื นๆ”
กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทำให้ผู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่
คงทนได้มาก และนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้
Active Learning สอดคลอ้ งกบั การทำงานของสมองท่เี ก่ียวข้องกับความจำ โดยสามารถเก็บและจำส่ิงท่ี
ผู้เรยี นเรียนรู้อย่างมีส่วนรว่ ม มปี ฏิสมั พนั ธ์ กับเพอื่ น ผสู้ อน ส่ิงแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง
จะสามารถเก็บจำในระบบความจำระยะยาว (Long Term Memory) ทำให้ผลการเรียนรู้ ยังคงอยู่ไดใ้ น
ปริมาณท่ีมากกว่า มีระยะยาวกว่า
การบวนการเรยี นรู้ Active Learning
๑. การให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ
และพัฒนาตนเอง เต็มความสามารถ รวมถงึ การจัดประสบการณ์การเรียนร้ใู หเ้ ขาได้มโี อกาสร่วมอภิปราย
ใหม้ ีโอกาสฝึกทักษะการสอ่ื สารทำให้ผลการเรียนรู้เพ่มิ ขึน้ ๗๐%
๒. การนำเสนองานทางวิชาการเรียนรู้ในสถานการณ์จำลอง ทั้งมีการฝึกปฏิบตั ใิ นสภาพ
จริง มีการเชื่อมโยงกบั สถานการณ์ตา่ งๆ ซ่ึงจะทำใหผ้ ลการเรยี นรู้เกิดขน้ึ ถงึ ๙๐%
ลกั ษณะของ Active Learning
๑. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา
การนำความรไู้ ป ประยกุ ต์ใช้
๒. เป็นการเรียนการสอนทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้
๓. ผู้เรียนสร้างองคค์ วามรแู้ ละจดั ระบบการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
๔. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน มีการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์
ร่วมกัน และร่วมมอื กนั มากกวา่ การแข่งขัน
๕. ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรคู้ วามรบั ผิดชอบรว่ มกนั การมวี นิ ยั ในการทำงาน และการแบ่งหน้าท่ี
ความรบั ผิดชอบ
๖. เป็นกระบวนการสรา้ งสถานการณใ์ หผ้ เู้ รยี นอา่ น พูด ฟงั คิด
๗. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนเนน้ ทักษะการคิดข้นั สงู
๘. เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ,
และหลกั การสกู่ ารสรา้ ง ความคดิ รวบยอดความคิดรวบยอด
๙. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏบิ ัติ
ดว้ ยตนเอง
๑๐. ความรเู้ กดิ จากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนของผเู้ รยี น
๒๗
บทบาทของครูกับ Active Learning ได้กล่าวถึงบทบาทของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ตามแนวทางของ Active Learning ดังน1้ี 9
๑. จดั ใหผ้ ู้เรียนเปน็ ศูนย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมตอ้ งสะท้อนความต้องการ
ในการพัฒนาผเู้ รยี นและเน้นการนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตจริงของผู้เรยี น
๒. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
มีปฏสิ มั พันธ์ทด่ี กี บั ผสู้ อน และเพ่ือนในช้ันเรยี น
๓. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้เป็นพลวัต สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมสี ่วนรว่ มในทุกกิจกรรม
รวมท้งั กระตุ้นให้ ผู้เรียนประสบความสำเรจ็ ในการเรยี นรู้
๔. จดั สภาพการเรยี นรูแ้ บบร่วมมือ สง่ เสริมใหเ้ กดิ การร่วมมอื ในกลุ่มผู้เรยี น
๕. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอน
ท่หี ลากหลาย
๖. วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ทั้งในส่วนของเนื้อหา
และกิจกรรม
๗. ครูผู้สอนตอ้ งใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของท่ี
ผเู้ รียน
จากการศึกษา แนวคิดทฤษฎี Active Learning เป็นกระบวนการการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการ
เรียนเป็นกลุ่ม ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าคิด กล้าแสดงออก และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง นักเรียนเป็น
ผู้ออกแบบแนวคดิ ด้วยตนเอง ครผู ู้สอนเป็นเพียงผ้ชู ีแ้ นะเท่านนั้ ทำใหเ้ หน็ ประสทิ ธิภาพของผูเ้ รยี นได้อย่าง
เต็มที่ กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทำให้ผู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ใหอ้ ยู่คงทนไดม้ าก
และ นานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้ Active Learning
สอดคล้องกับ การทำงานของสมองท่ีเก่ยี วข้องกับความจำ โดยสามารถเกบ็ และจำสิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้อย่าง
มีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์ กับเพื่อน ผู้สอน สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บ
ความจำในระบบความจำระยะยาว (Long Term Memory) ทำให้ผลการเรียนรู้ ยังคงอยู่ได้ในปริมาณท่ี
มากกว่า มีระยะยาวกว่า การจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning ได้นำแนวคิด ทฤษฎีของบลูม
มาจัดการเรยี นการสอนร่วมกนั ซง่ึ เปน็ การพัฒนานักเรียนทั้งดา้ น พทุ ธพสิ ยั ทักษะพสิ ัย และจิตพสิ ยั และ
เป็นการวัดประเมนิ ผลทางการเรียนของนักเรียน และแนวคิด สี่เสาหลักของการศึกษา (Four Pillars of
Education) ประกอบดว้ ยการเรียนรู้ ๔ ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การเรยี นเพอ่ื รู้ (Learning to know) การเรียนรู้
เพื่อปฏิบัติได้จริง (Learning to do) การเรียนรู้เพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน และการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อนื่
(Learning to Live together) และการเรียนรูเ้ พ่อื ชวี ิต ซง่ึ ทำให้นกั เรยี นเรียนรูไ้ ด้จรงิ ปฏบิ ัตจิ ริง และยัง
ชว่ ยสร้างปฏิสมั พันธ์ระหว่างนักเรยี นและครูผูส้ อน
19 ณชั นัน แก้วชัยเจริญกิจ, ภาวะผูน้ ำและนวตั กรรมทางการศึกษา: บทบาทของครูกับ Active Learning,
สืบคน้ เมอื่ ๗ มกราคม ๒๕๖๔, แหล่งท่ีมา : http://www.pochanukul.com.
๒๘
๒.๓ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
๒.๓.๑ ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช20 ให้ความหมายว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปน็
การวัดความสำเร็จทางการเรียน หรือวัดประสบการณท์ างการเรียนท่ีผู้เรียนได้รบั จากการเรียนการสอน
โดยวัดตามจดุ มงุ่ หมายของการสอนหรือวัดผลสำเรจ็ จากการศึกษาอบรมในโปรแกรมต่างๆ
จันทิมา เมยประโคน21 ได้ให้ความหมายว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปน็ ความสามารถดา้ น
การเรียนของแต่ละบุคคลที่ประเมิลได้จากการทำแบบทดสอบหรือการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งทางด้านทักษะปฏิบัติโดยการใช้แบบทดสอบภาคปฏิบัติ และการวัดทางด้านเนื้อหา
โดยใช้แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
ไพโรจน์ คะเชนทร์22 ได้ให้ความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่า คือคุณลักษณะ รวมถึง
ความรู้ ความสามารถของบุคคลอนั เปน็ ผลมาจากการเรยี นการสอน หรือมวลประสบการณ์ทง้ั ปวงที่บุคคล
ได้รับจากการเรียนการสอน ทำใหบ้ ุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพทาง
สมอง ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการตรวจสอบระดบั ความสามารถสมองของบุคคลว่าเรยี นแลว้ รู้อะไรบ้าง
และมคี วามสามารถดา้ นใดมากนอ้ ยเทา่ ไร ตลอดจนผลท่เี กิดขนึ้ จากการเรียนการฝกึ ฝนหรอื ประสบการณ์
ต่างๆ ทั้งในโรงเรียน ที่บ้าน และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ รวมทั้งความรูส้ ึก ค่านิยม จริยธรรมต่างๆ ก็เป็นผลมา
จากการฝึกฝนดว้ ย
ศริ ิชัย กาญจนวาสี23 ได้ใหค้ วามหมายวา่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิเ์ ป็นแบบทดสอบท่ีใช้วัด
ความรู้ความสามารถของผู้สอบจากการเรียนรู้ ซึ่งมักจะเป็นข้อคำถามให้นักเรียนตอบด้วยกระดาษ
และดนิ สอกับใหน้ ักเรียนปฏิบตั ิจรงิ โดยตอ้ งการทราบวา่ ผู้สอบมีความรอู้ ะไรบ้างมากนอ้ ยเพียงใดเม่ือผ่าน
การเรียนไปแลว้ ทำให้ผ้สู อนทราบวา่ ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นาความรู้ ความสามารถของตนเอง ถงึ ระดับมาตรฐาน
ท่ผี ้สู อนกำหนดไวห้ รอื ยงั หรอื มคี วามรูค้ วามสามารถถงึ ระดับใด
20 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, การจัดระบบการศึกษา, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธริ าช, ๒๕๔๖), หนา้ ๒๓.
21 จนั ทิมา เมยประโคน, การศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและความพึงพอใจในการเรียน วชิ าศิลปะ เรื่อง
การสร้างสรรคจ์ ากเศษวสั ดุ ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 5 ทเี่ รียนด้วยการจัดการเรยี นรู้แบบ 4 MAT, ปรญิ ญา
นพิ นธ์ กศ.ม. (ศลิ ปศึกษา), (กรงุ เทพฯ : บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร, ๒๕๕๕), หนา้ ๘๙.
22 ไพโรจน์ คะเชนทร์, การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, สืบค้นเมื่อ ๖ เดือนมกราคม ๒๕๕๖, แหล่งที่มา :
https://kruoiysmarteng.blogspot.com.
23 ศริ ชิ ัย กาญจนวาส, ทฤษฎกี ารประเมนิ , พมิ พ์คร้ังท่ี ๘, (กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยา
ลยั , ๒๕๕๖), หน้า ๑๖๕.
๒๙
สมฤดีพิพิธกล24 ได้ให้ความหมายว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง
แบบทดสอบทใ่ี ชว้ ดั ความสามารถของบคุ คล ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการเรยี นรูใ้ นเนอื้ หาวิชาทส่ี อนนน้ั ซ่งึ ในการ
วจิ ยั คร้ังน้ีใช้แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนที่เปน็ แบบทดสอบอิงเกณฑ์และเปน็ แบบทดสอบของ
ครูแนวคิดและทฤษฎีที่เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการสร้าง
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แนวความคดิ ในการวดั ทน่ี ยิ ม ไดแ้ ก่ การเขยี นขอ้ สอบวัดตามการ
จัดประเภทจุดมุ่งหมายของการศึกษาด้านพุทธพิสัย ซึ่งจำแนกจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธพิสัย
ออกเป็น ๖ ประเภท ไดแ้ ก่
๑. ความรู้ (Knowledge) ๒. ความเข้าใจ (Comprehension)
๓. การนำไปใช้ (Application) ๔.การวิเคราะห์ (Analysis)
๕.การสังเคราะห์ (Synthesis) ๖.การประเมินค่า (Evaluation)
จากการศึกษาความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ที่ครูสร้างขึ้นควรคำนึง จุดมุ่งหมายของกลุ่มการศึกษาด้านพุทธพิสัย และให้นักเรียนบรรลุผลสำเร็จ
ในด้านของความรู้ ด้านทักษะตา่ งๆตามแนวคิดและทฤษฎีการเขียนข้อสอบของบลูม ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน คือผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร ได้มาตามหลักการวัดและประเมินผล ที่ครอบคลุมทั้งด้านความรู้
ความคิดหรือพุทธิพิสัย ด้านอารมณ์และความรู้สึกหรือจิตพิสัย และด้านทักษะปฏิบัติหรือทักษะพิสัย
ทผี่ ูส้ อนกำหนดไว้ในชว่ งเวลาใดเวลาหนึ่ง
๒.๓.๒ ลกั ษณะของการวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
จนั ทิมา เมยประโคน25 ไดแ้ บง่ การวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นตามจดุ มงุ่ หมายและลกั ษณะ
วิชาท่สี อน ซ่ึงสามารถ วัดได้ ๒ แบบ คือ
๑. การวัดด้านปฏิบัติ เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบัติหรือทักษะ
ของผเู้ รียน โดยมุ่งเนน้ ให้ผู้เรยี นไดแ้ สดงความสามารถดงั กล่าวในรปู ของการกระทำจริงใหอ้ อกเป็นผลงาน
เชน่ วชิ าศลิ ปศกึ ษา พลศกึ ษา การชา่ ง เป็นต้น การวดั แบบน้ีจงึ ต้องใช้ขอ้ สอบภาคปฏิบัติ (Performance
Test)
๒. การวัดด้านเนื้อหา เป็นการตรวจความสามารถเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา อันเป็น
ประสบการณ์ การเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึงพฤติกรรมความสามารถในด้านต่างๆ สามารถวัดได้โดยใช้
24 สมฤดี พิพิธกุล, การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น เรือ่ ง เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การพฒั นา เศรษฐกจิ ของ
ไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แผนจัดการเรียนรูปแบบกล่มุ ร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับสื่อประสม,
(สารคาม : บรษิ ทั สารคามการพมิ พ์ จำกัด, ๒๕๕๙), หน้า ๖๒
25 จนั ทมิ า เมยประโคน, การศึกษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการเรียน วชิ าศลิ ปะ เรื่อง
การสร้างสรรค์จากเศษวัสดุ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT,
ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (ศิลปศึกษา), (กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒประสานมิตร,
๒๕๔๑), หนา้ ๕๖.
๓๐
ข้อสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะต้องสอดคล้อง
กบั วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ๓ ด้าน คือ
๑) ด้านความรู้ ความคิด (Cognitive Domain) พฤติกรรมด้านนี้เก่ียวกับ
กระบวนการตา่ งๆทางดา้ นสติปัญญา และสมอง ประกอบดว้ ยพฤตกิ รรม ๖ ดา้ น ดังนี้
๑.๑ ด้านความรู้ความจํา หมายถึง ความสามารถระลึกถึงประสบการณ์
ทผ่ี ่านมา
๑.๒ ด้านความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการจับใจความ การแปล
ความ การตีความ การขยายความของเรื่องได้
๑.๓ การนําไปใช้ หมายถึง ความสามารถในการนําความรู้หรือหลักวิชา
ท่ีเรยี นมาแล้ว ในการสรา้ งสถานการณจ์ รงิ ๆ หรอื สถานการณท์ ี่คล้ายคลึงกัน
๑.๔ การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเรื่องราวต่างๆ
หรือวัตถุ สิ่งของเพื่อต้องการค้นหาสาเหตุเบื้องต้น หาความสัมพันธ์ระหว่างใจความ ระหว่างส่วนรวม
ระหว่างตอน ตลอดจนหาหลกั การท่ีแฝงอยใู่ นเร่อื ง
๑.๕ การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการนําความรู้มาจัดระบบ
ใหม่ เป็น เรอื่ งใหมท่ ี่ไมเ่ หมือนเดมิ มคี วามหมายและประสทิ ธภิ าพสูงกวา่ เดมิ
๑.๖ การประเมินค่า หมายถึง การวินิจฉัยคุณค่าของสิ่งต่างๆ อย่างมี
หลักเกณฑ์
๒) ด้านความรู้สึก (Affective Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการ
เจรญิ เติบโต และพัฒนาการในดา้ นความสนใจ คณุ ค่า ความซาบซง้ึ และเจตคติตา่ งๆของนกั เรยี น
๓) ด้านการปฏิบัติการ (Psycho-motor Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้อง
กับการพัฒนาทักษะในการปฏิบัติและการดำเนินการ เช่น การทดลอง เป็นต้น จากการศึกษาลักษณะ
ของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถสรุปได้ว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดมุ่งหมาย
และลักษณะวิชาที่สอน นั้นมี ๒ แบบหลักๆ ได้แก่ การวัดด้านปฏิบัติและการวัดด้านเนื้อหา ซึ่งควร
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๓ ด้าน คือ ด้านความรู้ ความคิด ด้านความรู้สึก และด้าน
การปฏบิ ัตกิ าร
จากการศึกษาการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ การวัดแบบเนื้อหา
เป็นการวัดความรู้ ความจำ การนำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลในเนื้อหาเรื่องที่เรียน
และการวัดดา้ นปฏิบตั ิ การแสดงความคิดเห็น การนำเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น การผลิตชน้ิ งาน
๓๑
๒.๓.๓ ปัจจัยทส่ี ง่ ผลกระทบต่อผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
อารีย์ คงสวัสด์ิ26 กลา่ วถงึ ปัจจยั ที่ท่ที ำใหเ้ กิดผลกระทบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ดงั นี้
๑) ด้านคุณลกั ษณะการจัดระบบในโรงเรียน ตวั แปรด้านนี้จะประกอบไปด้วยขนาดของ
โรงเรียน อัตราส่วนของนักเรียนต่อครู นักเรียนต่อห้อง นักเรียนเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน
๒) ดา้ นคณุ ลักษณะของคุณครู ตัวแปรด้านคุณลักษณะของครปู ระกอบดว้ ย อายุ วุฒิครู
ประสบการณ์ของครู ความเอาใจใส่ในหน้าที่ ตัวแปรเหล่านี้ล้วนมีความสัมพันธ์ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นทง้ั สนิ้
๓) ด้านคุณลักษณะของนักเรียน ประกอบด้วยตัวแปรที่เกี่ยวกับการเรียน สมาชิกใน
ครอบครัว ความพร้อม ทัศนคติเกี่ยวกับการเรียนการสอน ตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน
๔) ด้านภูมิหลังทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของนักเรียน การศึกษาเกี่ยว
กบั ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสภาพทางเศรษฐกิจสังคมกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
อัญชนา โพธิพลาการ27 กล่าวว่า มีองค์ประกอบหลายประการที่ทำให้เกิดผลกระทบต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ ด้านตัวนักเรียน เช่น สติปัญญา อารมณ์ ความสนใจ เจตคติต่อการเรียน
ด้านตัวครู เช่น คุณภาพของครู การจัดระบบการบริหารของผู้บริหาร ด้านสังคม เช่น สภาพเศรษฐกิจ
และสังคมของครอบครัวนักเรียน เป็นต้น แต่ปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทัง้ ทางตรง
และทางอ้อม เช่น ความสนใจ สติปัญญา เจตคติต่อการเรียน ตัวครู สังคม สิ่งแวดล้อมของนักเรียน
และองคป์ ระกอบท่สี ำคัญทีท่ ำใหน้ กั เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีโดยตรง คอื วธิ ีการสอนของครู
บลูม28 กลา่ วถงึ สิง่ ทีม่ ีอิทธิพลต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวา่ มอี ยู่ ๓ ตัวแปร คอื
๑) พฤติกรรมทางสติปัญญา เป็นพฤติกรรมด้านความรู้ ความคิด ความเข้าใจ หมายถงึ
การเรียนรู้ที่จําเป็นต่อการเรียนเรื่องนั้นๆ และมีมาก่อนเรียน ได้แก่ ความถนัด และพื้นฐานความรู้เดิม
ของผ้เู รียน
26 อารีย์ คงสวัสดิ์, การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อมั่นในการเรียน คณิตศาสตร์กับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓, วิทยานพิ นธ์ กศ.ม., (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ : กรงุ เทพฯ, ๒๕๔๔), หน้า ๕๕.
27 อญั ชนา โพธพิ ลากร, การพฒั นาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์ท่ีเน้นทกั ษะการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ด้วย
การเรียนแบบร่วมมือ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓, วิทยานิพนธ์ กศ.ม., ( มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,
กรงุ เทพฯ,๒๕๔๕), หน้า ๖๐.
28 Bloom,Taxonomy of Educational Objectives, Handbook : The Cognitive Domain.
(New York : David McKay Co Inc.), 1956.
๓๒
๒) ลักษณะทางอารมณ์ เป็นตัวกำหนดด้านอารมณ์ หมายถึง แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
ความกระตือรือร้นที่มีต่อเนื้อหาการเรียน รวมถึงทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อเนื้อหาวิชาต่อโรงเรียน
ระบบการเรยี น และมโนภาพเก่ยี วกับตนเอง
๓) คุณภาพของการสอน เป็นตัวกำหนดประสิทธิภาพในการเรียนของผู้เรียน
ซึ่งประกอบด้วย การชี้แนะ หมายถึงการบอกจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน และงานที่จะต้องทำให้
นักเรียนทราบอย่างชัดเจน การให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การให้การเสริมแรงของครู
การใช้ขอ้ มูลยอ้ นกลับหรือการใหผ้ ู้เรียนรู้ผลวา่ ตนเองกระทำได้ถกู ตอ้ งหรอื ไม่
จากการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสิ่งที่มีผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ได้แก่ ด้านคุณลักษณะการจัดระบบในโรงเรียน คุณลักษณะของคุณครู คุณลักษณะของ
นักเรียน ภูมิหลังทางเศรษฐกิจ และองค์ประกอบที่สำคัญที่ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี
โดยตรง คือ วิธีการสอนของครูหรอื คุณภาพของการสอนน่นั เอง
๒.๓.๔ หลกั เกณฑ์เบื้องต้นในการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
รัชนีพร มีสี29 กล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นมีหลักเกณฑ์
เบอื้ งต้น ท่คี วรพจิ ารณาประกอบในการสร้างแบบทดสอบดังตอ่ ไปนี้
๑) วดั ใหต้ รงกับวตั ถปุ ระสงค์ การสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนควรจะวัด
ตามจุดมุ่งหมายทุกอย่างของการสอน และจะต้องมั่นใจได้ว่าสิ่งที่ต้องการจะวัดได้จริงในปัจจุบัน
กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ในทุกรายวิชา ดังนั้นจึงจำเป็นต้องวัดให้ตรงและ
ครบจดุ ประสงค์
๒) การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นการวัดความเจริญงอกงามของนักเรียน
การเปล่ียนแปลงและความกา้ วหนา้ ไปสู่จุดมุง่ หมายท่วี างไว้ ดังนัน้ ครูควรจะทราบว่า ก่อนเรียนนักเรียนมี
ความรูค้ วามสามารถอย่างไร
๓) การวดั ผลเปน็ การวดั ทางอ้อม เป็นการยากทจ่ี ะใช้สอบแบบเขียนตอบ วดั พฤติกรรม
ท่จี ะ สอบวดั จะต้องทำอย่างรอบครอบและถูกตอ้ ง
๔) การวดั ผลการศกึ ษาเปน็ การวดั ท่ไี ม่สมบูรณ์ เป็นการยากที่จะวดั ทกุ ส่งิ ทกุ อย่างที่สอน
ไว้ ภายในเวลาจํากดั ส่ิงทสี่ อบไดว้ ัดได้เปน็ เพียงตวั แทนของพฤติกรรมท้งั หมดเท่าน้ัน ดังน้ันจึงต้องมั่นใจ
ว่าสิง่ ท่ีสอบวดั นนั้ เปน็ ตัวแทนทแ่ี ท้จรงิ ได้
๕) การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษานั้น มิใช่เพียงเพื่อจะให้เกรดเท่านั้น การวัดผลเป็น
เครื่องช่วยในการพัฒนาการสอนของครู เป็นเครื่องช่วยในการเรียนของนักเรียน ดังนั้นการสอบปลาย
ภาคคร้งั เดยี วจงึ ไม่พอที่จะวดั กระบวนการเจรญิ งอกงามของนกั เรียนได้
29 รชั นพี ร มสี ี, การพัฒนาชุดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ส่ี ง่ เสริมความสามารถในการคิดวิเคราะหแ์ ละ ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน เรื่อง สิ่งมีชีวติ กับสิ่งแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
๖, (กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, ๒๕๕๔), หน้า ๗๐.
๓๓
๖) ในการให้การศึกษาที่สมบรู ณน์ ้ัน สิ่งสำคัญไม่ได้อยู่ท่ีการทดสอบแค่เพียงอย่างเดียว
กระบวนการสอนของครูก็เป็นสงิ่ สำคัญย่งิ
๗) การวัดผลการศึกษามีความผิดพลาด ของที่ชั่งได้น้ำหนักเท่ากันโดย ตาชั่งหยาบๆ
อาจมีน้ำหนักต่างกัน ถ้าชั่งโดยตาชั่งละเอียด ทฤษฎีการวัดผล เชื่อว่าคะแนนที่สอบได้ = คะแนนจริง +
ความผิดพลาดในการวัด
๘) การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรจะเน้นการวัดความสามารถในการใช้ความรู้ให้
เป็นประโยชน์ หรือการนาํ ความรไู้ ปใชใ้ นสถานการณใ์ หม่ๆ
๙) ควรคำนึงถึงขีดจาํ กัดของเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เครื่องมือที่
ใช้โดยมากคือข้อสอบขีดจํากัดของข้อสอบได้แก่การเลือกตัวแทนของเนื้อหา เพื่อมาเขียนข้อสอบความ
เชอ่ื ถือไดค้ ะแนน และการตีความหมายของคะแนน เป็นตน้
๑๐) ควรจะใช้ชนิดของแบบทดสอบ หรือคําถามให้สอดคล้องกับเนื้อหาเพื่อวิชาที่สอบ
และจดุ ประสงค์ทส่ี อบวดั
๑๑) ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน คะแนนที่สอบได้อาจแตกต่างกัน ดังนั้น ในการวัดผล
การศึกษาจงึ จะทำข้อสอบไดเ้ สร็จ
๑๒) ให้ขอ้ สอบมีความเหมาะสมกบั นกั เรยี นในดา้ นตา่ งๆ เชน่ มีความยาก งา่ ยพอเหมาะ
มีระดบั ความยากง่ายของภาษาท่ีใชเ้ หมาะสมมเี วลาสอบนานพอทน่ี ักเรียนสว่ นใหญ่จะทำข้อสอบได้เสรจ็
จากการศึกษาหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสร้าง
แบบทดสอบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ควรม่งุ วดั ให้ตรงกบั วัตถปุ ระสงค์ ซึ่งการวดั ทด่ี ีจะการเป็นเคร่ืองมือท่ี
ชว่ ยในการพฒั นาการสอนของครู ควรเนน้ การวดั ความสามารถในการใช้ความรใู้ หเ้ ป็นประโยชน์ หรอื การ
นําความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ สร้างข้อสอบมีความเหมาะสมกับนักเรียนในด้านต่างๆ และควร
คำนึงถึงกระบวนการสอนของครูวา่ สามารถจดั การเรียนรู้ไดต้ รงกบั วตั ถปุ ระสงค์ ท่ตี ัง้ ไว้ไดห้ รอื ไมอ่ ย่างไร
๒.๓.๕ การวัดและประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
๑. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รัชนีพร มีสี 30 กล่าวว่าการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนว่าเป็นการตรวจสอบระดับความสามารถหรอื สัมฤทธ์ิผล (level of accomplishment ) ของบุคคล
ว่าเรียนแลว้ รู้เทา่ ไร มคี วามสามารถชนิดใด ซึง่ สามารถวดั ได้๒ แบบ ตามจดุ มุง่ หมายและวชิ าทส่ี อน คือ
๑.๑ การวัดด้านปฏิบัติ เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบัติ
หรือทกั ษะของผเู้ รยี น โดยมงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนแสดงความสามารถดังกล่าวในรปู การกระทำจริงใหอ้ อกมาเป็น
ผลงาน เชน่ วิชาศลิ ปศึกษา พลศกึ ษา การชา่ ง เปน็ ตน้ การวัดแบบนีจ้ งึ ตอ้ งวัด โดยใช้ ข้อสอบ ภาคปฏิบัติ
(performance test)
30 รชั นพี ร มีสี, การพัฒนาชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์และผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน เรอ่ื ง สิง่ มีชวี ติ กบั ส่งิ แวดลอ้ ม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรส์ ำหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖,
วทิ ยานพิ นธ์ ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ , (มหาวิทยาลัยนเรศวร, ๒๕๕๔), หนา้ ๗๕.
๓๔
๑.๒ การวัดด้านเนื้อหา เป็นการตรวจสอบความสามรถเกี่ยวกับ เนื้อหาวิชา
(content) อันเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึงพฤติกรรมความสามารถในด้าน ต่างๆ
สามารถวัดได้โดยใช้ข้อสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ (achievement test)
๒. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในการกำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่พงึ
ประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ลำดับขั้นตอนที่ใช้ในการเขียน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้ความคดิ ไว้ ๖ ข้นั ดงั น้ี
2.๑ ความรคู้ วามจาํ หมายถงึ การระลกึ หรอื ทอ่ งจำความรู้ตา่ งๆ ท่ีได้เรยี นมาแล้ว
โดยตรงในขั้นนี้รวมถึงการระลึกถึงข้อมูลข้อเท็จจริงต่างๆ ไปจนถึงกฎเกณฑ์ ทฤษฎี จากตํารา ดังนั้น
ขั้นความรู้ ความจํา จงึ จัดไดว้ า่ เป็นขั้นตำ่ สุด
๒.๒ ความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถจับใจความสำคัญของ เน้ือหาที่ได้เรียน
หรืออาจแปลความจากตัวเลข การสรุป การย่อความต่างๆ การเรยี นรู้ในข้ันนี้ ถอื วา่ เป็นขั้นที่สูงกว่าการ
ท่องจำตามปกติอีกขัน้ หนง่ึ
๒.๓ การนําไปใช้ หมายถงึ ความสามารถทจี่ ะนาํ ความรูท้ ่นี กั เรยี นได้เรยี นมาแล้ว
ไปใช้ในสถานการณใ์ หม่ ดังนั้นในข้ันนี้จงึ รวมถึงความสามารถในการเอากฎ มโนทัศน์หลกั สำคัญ วิธีการ
นําไปใช้ การเรียนรู้ในขั้นนี้ถือว่านักเรียนจะต้องมีความเข้าใจในเนื้อหา เป็นอย่างดีเสียก่อนจึงจะนํา
ความร้ไู ปใชไ้ ด้ ดังน้ันจงึ จัดอันดบั ให้สูงกว่าความเขา้ ใจ
๒.๔ การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถที่จะแยกแยะเนื้อหาวิชา ลงไปเป็น
องค์ประกอบย่อยๆ เหล่านั้นเพื่อที่จะได้มองเห็นหรือเข้าใจความเกี่ยวโยงต่างๆในขั้นนี้ จึงรวมถึงการ
แยกแยะหาส่วนประกอบย่อยๆ หาความสัมพันธ์ระหว่างส่วนยอ่ ยๆ เหล่านั้น ตลอดจนหลักสำคัญต่างๆ
ที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ในขั้นนี้ ถือว่าสูงกว่าการนําเอาไปใช้ และต้องเข้าใจทั้งเนื้อหา
และโครงสร้างของบทเรียน
๒.๕ การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถที่จะนําเอาส่วนย่อยๆ มาประกอบ
กันเป็นสิ่งใหม่ การสังเคราะห์จึงเกี่ยวกับการวางแผน การออกแบบการทดลอง การตั้งสมมติฐาน
การแก้ปัญหาทย่ี ากการเรียนร้ใู นระดบั น้ี เปน็ การเนน้ พฤตกิ รรมทส่ี ร้างสรรค์
๒.๖ การประเมินค่า หมายถึง ความสามารถที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับคุณค่าต่างๆ
ซงึ่ ต้องวางแผนอยูบ่ นเกณฑ์ทีแ่ น่นอน การเรยี นรู้ในขัน้ น้ถี ือวา่ เป็นการเรียนรขู้ ้นั สูงสุดของความรคู้ วามจำ
จากการศึกษาการวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเป็นการวดั ระดับความสามารถหรือผลสัมฤทธิข์ อง
แต่ละบุคคลว่าแตล่ ะบุคคลน้ันมพี ัฒนาการ ความสามารถเป็นอย่างไร ซึ่งการวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
มี ๒ รปู แบบคือ การวัดดา้ นปฏิบัติและการวัดด้านเนือ้ หา
๓๕
๒.๓.๖ การสรา้ งแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
บุญชม ศรีสะอาด31 กล่าวว่า การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอิง
เกณฑ์ มีขนั้ ตอนดังน้ี
๑. วิเคราะห์จุดประสงค์ เนื้อหาขั้นแรกจะต้องทำการวิเคราะห์ว่ามีเนื้อหาใดบ้าง
ท่ตี ้องการให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรแู้ ละเกิดพฤติกรรมหรือสมรรถภาพ
๒. กำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและกำหนดจำนวนข้อในการสอบ โดยควรออก
ข้อสอบเกินกว่าจำนวนที่จะนำไปใช้จริง เพราะหลังการนำไปทดลองใช้และวิเคราะห์หาคุณภาพ
ของข้อสอบรายขอ้ แลว้ อาจจะได้ตดั ขอ้ ทมี่ คี ณุ ภาพตำ่ กวา่ เกณฑท์ งิ้
๓. กำหนดรูปแบบของข้อคำถามและศกึ ษาวิธีการเขียนขอ้ สอบ เช่น ศึกษาหลักในการ
เขียน คำถามแบบนั้นๆ ศึกษาวิธีเขียนข้อสอบเพื่อวัดจุดประสงค์ประเภทต่างๆ ศึกษาเทคโนโลยีในการ
เขียนข้อสอบ
๔. เขียนขอ้ สอบ เขยี นขอ้ สอบตามจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ตามตารางที่กำหนดจำนวน
ขอ้ สอบของแตล่ ะจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม และใชร้ ูปแบบเทคนคิ การเขียนตามทศ่ี ึกษาในขัน้ ท่ี ๓
๕. ตรวจทานข้อสอบ นำข้อสอบที่เขียนไว้ มาพิจารณาทบทวนตามความถูกต้องตาม
หลกั วิชาว่าแต่ละขอ้ วัดพฤตกิ รรมยอ่ ยหรอื จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ตอ้ งการหรือไม่ ตวั ถกู ลวงเหมาะสม
เขา้ เกณฑ์หรือไม่ และทำการปรบั ปรุงให้เหมาะสมยิง่ ขนึ้
๖. ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา นำจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
และขอ้ สอบ ท่ีวัดแต่ละจุดประสงคไ์ ปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผลและด้านเนือ้ หาจำนวนไม่ต่ำกว่า ๓ คน
พิจารณา ว่าข้อสอบแต่ละข้อวัดตามจุดประสงค์ที่ระบุไว้นั้นหรอื ไม่ ถ้ามีข้อที่ไม่เข้าเกณฑ์ ควรพิจารณา
ปรับปรงุ ให้เหมาะสม เว้นแต่จะไม่สามารถปรับปรุงให้ดีข้นึ ไดอ้ ยา่ งชัดเจน
๗. พิมพ์แบบทดสอบฉบับทดลอง นำข้อสอบทั้งหมดที่ผ่านการพิจารณาว่าเหมาะสม
เข้าเกณฑ์ในขั้นที่ ๖ มาพิมพ์เป็นแบบทดสอบ มีคำชี้แจงเกี่ยวกับแบบทดสอบ วิธีตอบ จัดวาง รูปแบบ
การพิมพ์ใหเ้ หมาสม
๘. ทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์หาคุณภาพของข้อสอบ ได้แก่ ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจ
จำแนก และความเชือ่ มั่นของข้อสอบท้ังฉบบั
๙. พิมพ์แบบทดสอบฉบับจริง นำข้อสอบที่มีค่าอำนาจจำแนกเข้าเกณฑ์ จากผลการ
วเิ คราะห์ ในขัน้ ที่ ๘ มาพิมพ์เปน็ แบบทดสอบฉบับจรงิ ตอ่ ไป
วรรณรัตน์ อึ้งสุประเสริฐ32 ได้กล่าวถึง ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนไว้ดังน้ี
31 บุญชม ศรีสะอาด, การวจิ ัยเบอื้ งต้น, พิมพค์ ร้ังท่ี ๗, (กรุงเทพฯ : สวุ ริ ิยาสาส์น, ๒๕๔๕), หน้า ๘๐.
32 วรรณรัตน์ องึ้ สุประเสรฐิ , การวจิ ยั ทางการศกึ ษา, คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏจันทร์เกษม, (กรงุ เทพฯ :
๒๕๔๔), หนา้ ๕๓.
๓๖
๑. กำหนดจุดมุ่งหมายในการสรา้ งแบบทดสอบให้ชดั เจนว่า ต้องการนำแบบทดสอบไป
ใช้กับ บุคคลกลุ่มใดโดยมีวัตถปุ ระสงค์อย่างไร เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการกำหนดเน้ือหาพฤติกรรม
และรปู แบบของขอ้ สอบ
๒. กำหนดเนอื้ หาและพฤตกิ รรมท่ีตอ้ งการวดั
๓. สร้างตารางวิเคราะห์เนื้อหาและพฤติกรรม (test blueprint) โดยกำหนดกรอบ
เน้อื หาทีต่ อ้ งการวดั ใหช้ ดั เจน และพจิ ารณาว่าเนื้อหาทจ่ี ะวัดนน้ั ควรวดั พฤตกิ รรมในระดบั ใด
๔. เขยี นขอ้ สอบตามรปู แบบทเี่ หมาะสมลงในบตั รคำ บตั รละ ๑ ข้อ
๕. เรียบเรียงข้อสอบแล้วจัดให้เป็นรูปแบบที่เหมาะสม ซึ่งต้องสะดวกแก่การตอบ
และการตรวจใหค้ ะแนน
๖. ให้ผเู้ ชย่ี วชาญตรวจดูความเทยี่ งตรงตามเนอื้ หาของขอ้ สอบ
๗. แกไ้ ข ปรบั ปรงุ แล้วนำไปทดลองใช้
๘. วิเคราะหห์ าความเชือ่ ม่ันของแบบทดสอบ
๙. แกไ้ ขปรบั ปรงุ
๑๐. ได้แบบทดสอบท่มี คี ณุ ภาพ
จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบใน
รายวิชา ส ๑๓๒๓๓ เศรษฐศาสตร์ โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นเครื่องมือในการ
เกบ็ ข้อมลู ซึ่งเปน็ แบบทดสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ ๔ ตวั เลอื ก จำนวน ๓๐ ขอ้
๒.๔ แบบวดั ความพงึ พอใจ
๒.๔.๑ ความหมายความพงึ พอใจ
ราชบัณฑิตยสถาน33 ได้ให้ความหมายว่า ความสำเร็จในชีวิตของคนปัจจุบันมิได้
วัด ด้วยความสุข หรือความพึงพอใจจากภาวะภายใน หากเอาปัจจัยภายนอก หรือค่านิยมที่คนทั่วไป
ยึดถือเป็นเกณฑก์ ำหนด
พัฒนา พรหมณ34 ไดใ้ ห้ความหมายว่า ภาวะของอารมณ์ ความรู้สกึ รว่ มของบุคคลท่ีมี
ต่อการเรียนรู้ประสบการณท์ ี่เกิดจากแรงจูงใจซึ่งเปน็ พลังภายในของแต่ละบุคคล อันเป็นความสัมพันธ์
ระหวา่ งเปา้ หมายทีค่ าดหวงั และความต้องการดา้ นจติ ใจ นำไปสกู่ ารคน้ หาส่ิงท่ตี ้องการ
นางสาววิจิตรา พลสำโรงคณะและคณะ35 ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ ความสำคญั ของความ
พึงพอใจ เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยใหง้ านประสบผลสำเร็จโดยเฉพาะ เป็นงานเกี่ยวกับการใหบ้ ริการซ่ึงเป็น
33 ราชบัณฑิตยสถาน, ความพึงพอใจ, สืบค้นเมื่อ ๑๑ เดือนธันวาคม ๒๕๖๔, แหล่งที่มา : www.Dictiona
ry.sanook.com.
34 พัฒนา พรหมณ, แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและการสร้างแบบสอบถาม, (กรุงเทพ : สุวิริยาสาส์น
๒๕๖๓), หนา้ ๗๐.
35 นางสาววจิ ติ รา พลสำโรงและคณะ, สืบค้นเมอื่ ๑๑ เดอื นธันวาคม ๒๕๖๔, แหลง่ ทม่ี า www.mbuisc.ac.th
๓๗
ปัจจัยสำคัญประการแรกที่เป็นตัวบ่งชี้ถึงความก้าวหน้าของงาน และเป็นปัจจัยในการพัฒนาคุณภาพ
ของการบริการและการดำเนินงานบรกิ ารให้ประสบผลสำเร็จ เพื่อสร้างและรกั ษาความรู้สึกที่ดตี ่อบคุ คล
ทุกคนที่เกี่ยวข้องกับการบริการ และเป็นตัวขับเคลื่อนในการทำงานเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีกำลังใจที่จะ
ปฏิบัตงิ านตอ่ ไป
มหาวิทยาลัยเทพสตรี36 ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานหมายถึง ความรู้สึกที่ดี เจต
คติที่ดีและมีความสุขต่อการปฏิบัติงานที่มีต่อสิ่งแวดล้อมภายในองค์กรโดยมีองค์ประกอบต่างๆ
เช่น ความมน่ั คงในอาชพี ขนาดของหนว่ ยงานลักษณะของงาน ความกา้ วหน้าในงานและอื่นๆ ซึ่งจะส่งผล
ให้การทำงานนั้นประสบผลสำเร็จสนองนโยบายและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร ก่อให้เกิดการ
พัฒนาขึ้นในองคก์ รอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
จากการศึกษาความหมายความพึงพอใจ ความพอใจหมายถึง ความชอบใจ และมีความสุข
ที่ความต้องการ หรือเป้าหมายที่ตั้งใจไว้บรรลุผลหรือสมหวังนั้นเอง ซึ่งสามารถวัดได้จากแบบสอบถาม
วดั ระดบั ความพงึ พอใจ
๒.๔.๒ ความสำคญั ของความพึงพอใจ37
ความพึงพอใจมีความสำคญั ต่อการดำเนินการกจิ กรรมหรือการปฏิบตั งิ านต่างๆ ดงั นี้
๑. ช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ในการปฏิบัตงิ านหรอื ทำกิจกรรมต่างๆ หากมีความ
พึงพอใจ จะส่งผลต่อความตั้งใจในการปฏิบัติงาน หรือทำกิจกรรมส่งผลให้เกิดผลงานที่ดีนำมา
ซงึ่ ผลตอบแทนที่สงู ขนึ้ มีการดำรงชีวิตและคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ
๒. เกิดความรู้สึกกระตือรือร้น มีความเชื่อมั่นและความมุ่งมั่นในการทำงาน
ความพงึ พอใจทำให้เกิดความสขุ จากการปฏบิ ตั ิงาน ตอ้ งการให้งานมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประโยชน์สูงสุด
ชว่ ยใหป้ ระสบความสำเรจ็ ในการปฏบิ ตั ิงาน
๓. เป็นสิ่งกำหนดลักษณะการดำเนินงาน หรือการปฏิบัติงานที่ดี มีคุณภาพ
ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการและความคาดหวังของผรู้ บั บรกิ ารทเ่ี หมาะสม เกิดความประทับใจ
๔. ช่วยพัฒนาคุณภาพของงาน หากมีความพึงพอใจจะเกิดความเต็มใจ ทุ่มเท
สรา้ งสรรค์ และส่งเสริมมาตรฐานของงานทีส่ งู ขน้ึ
จากการศึกษาความสำคัญของความพึงพอใจ ความพึงพอใจมีความสำคัญต่อบุคคล ต่องาน
และหนว่ ยงาน ทำให้เปน็ สขุ เกดิ แรงจงู ใจและกำลังใจทด่ี ี มคี วามเช่อื มนั่ ในการปฏบิ ตั ิงาน ผู้ปฏิบัตงิ านได้
แสดงศักยภาพของตนเองอยา่ งเต็มที่ เกิดความสำเร็จอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ เกดิ ความร่วมมอื ร่วมใจในการ
ปฏิบัติงาน ทำให้ระบบงานดำเนินไปด้วย ความราบรื่ นเรียบร้อย และหน่วยงานมีบรรยากาศ
36 มหาวิทยาลัยเทพสตรี, ทฤษฎีที่เกี่ยวกับความพึงพอใจ, สืบค้นเมื่อ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๔, แหล่งที่มา :
www.oic.go.th.
37 พฒั นา พรหมณี ยพุ ิน พทิ ยาวฒั นชัย และ จีระศกั ดิ์ ทพั ผา, แนวคิดเกีย่ วกบั ความพึงพอใจและการสร้าง
แบบสอบถามความพงึ พอใจในงาน, (อยธุ ยา : สถาบนั วทิ ยาการประกอบการแหง่ อโยธยา, ๒๕๖๓), หนา้ ๑๗.
๓๘
และภาพลักษณ์ที่ดีอีกทั้งช่วยให้เกิดความรักความสามัคคีมีพลังผลักดันให้หน่วยงาน เจริญก้าวหน้า
ท่สี ำคญั ทีส่ ุด ผรู้ ับบรกิ ารเกิดความ พึงพอใจในระดับสูงสดุ
๒.๔.๓ องค์ประกอบของการเกิดความพึงพอใจ38
ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกที่บุคคลมีต่อสิ่งที่ได้รับประสบการณ์และแสดงออกทาง
พฤติกรรมที่ตอบสนองในลักษณะแตกต่างกันไป ความพึงพอใจในสิ่งต่างๆ จะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับแรงจูงใจหรือการกระตนุ้ ใหเ้ กดิ แรงจูงใจ และการตอบสนองความตอ้ งการท่ีมอี ยู่ ความพึงพอใจจึงเป็น
สิง่ จำเป็นเพ่อื ให้งานหรอื กจิ กรรมตา่ งๆ ทก่ี ระต้นุ ให้ส่งิ ท่ีทำนั้น ประสบความสำเรจ็ โดยมอี งคป์ ระกอบของ
การเกิดความพึงพอใจดังนี้
๑. ความพึงพอใจที่เกิดจากการได้รับการตอบสนองความตอ้ งการของร่างกาย
เป็นการตอบสนองความตอ้ งการในปจั จัยทจ่ี ำเป็นเพือ่
๑) การดำรงชีวิต (Existence Needs) ได้แก่ อาหาร เครื่องนุง่ ห่ม ที่อยู่
อาศัย และยารกั ษาโรค
๒) ความปลอดภัย เกิดความอบอุ่นและมั่นคงในชีวิต เป็นความต้องการ
ระดับแรกของมนุษย์ เม่อื ได้รบั การตอบสนองแล้วจะเกิดความต้องการองคป์ ระกอบอ่นื ต่อไป
๒. ความพึงพอใจที่เกิดจากการได้รับ การตอบสนองความต้องการของจิตใจ
เปน็ แรงจูงใจในการตอบสนองความตอ้ งการ
๑) ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (Relatedness Needs) เช่น สมาชิกใน
ครอบครัว หรือเพื่อน ร่วมงาน เป็นความปรารถนาที่จะสร้างมิตรภาพ หรือมีความสัมพันธ์อันดีกบั ผู้อ่นื
หรือต้องการ ควบคมุ ผอู้ ื่น ความตอ้ งการอำนาจ (Needs for Power)
๒) ความต้องการทางสังคม (Social or Belonging Needs) ได้แก่
ความตอ้ งการเข้ารว่ ม กจิ กรรมของสังคม ได้รบั การยอมรับในสังคม ได้รับการยกย่องหรือมชี ่ือเสียงรวมถึง
ความสำเร็จ ความรู้ความสามารถ ความเป็นอิสระและเสรีภาพ และการเป็นที่ยอมรับนับถือของคน
ท้ังหลาย
๓) ความต้องการที่จะได้รับความสำเร็จในชีวิต (Self-actualization)
เปน็ ความต้องการระดับสงู สุดของมนุษยส์ ว่ นมาก เปน็ เรอื่ งการอยากจะเปน็ อยากจะได้ ตามความคิดของ
ตนเอง แตไ่ มส่ ามารถเสาะแสวงหาได้
๓. ความพึงพอใจทีเ่ กดิ จากการไดร้ ับการตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้
การเรียนรู้เกิดจากการสร้างความสัมพันธ์บางอย่าง ระหว่างสิ่งเร้ากับพฤติกรรมการตอบสนอง กล่าวคอื
เมื่อสถานการณ์หรือสิ่งที่เป็นปัญหาเกิดขึ้นร่างกายจะเกิดความพยายามที่จะแก้ปัญหานั้น โดยแสดง
พฤติกรรมการตอบสนองออกมาหลายๆรูปแบบ ซึ่งบุคคลจะเลือกพฤติกรรมตอบสนองที่พอใจที่สุดไป
เชื่อมโยงสิ่งเร้าหรือปัญหานั้น ทำให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์เดิม ซึ่งประสบการณ์จะมีอิทธิพล
ต่อการรบั รูส้ ถานการณ์ และเกดิ แรงจงู ใจสูเ่ ป้าหมาย เม่ือถงึ เป้าหมายแล้วจะเกิดความพึงพอใจ เมือ่ บคุ คล
38 เติมศักดิ์ คทวณิช, จิตวิทยาทวั่ ไป, (กรุงเทพฯ : ซเี อ็ดยูเคช่นั , ๒๕๔๖), หนา้ ๕๓.
๓๙
ได้รับการตอบสนอง ความต้องการของร่างกายและจิตใจจนเป็นที่ พึงพอใจแล้วจะเกิดความต้องในการ
เรียนรู้ทีเ่ กิด จากแรงจูงใจเพือ่ สนองความต้องการสิง่ ใหมเ่ พิ่มขึ้นไม่ซ้ำสิ่งเดิม โดยที่บุคคลนัน้ ต้องมีความ
พร้อมทั้ง ทางร่างกายและจิตใจก่อนจึงจะมีความต้องการในการกระทำหรือปฏิบัติการเพื่อตอบสนอง
ความต้องการนั้นๆ เมื่อได้ปฏิบัติแล้วจะเกิดความพอใจ หากไม่ได้กระทำหรือปฏิบัติการเพื่อตอบสนอง
ความต้องการจะเกิดความรำคาญใจ และหากบุคคลไม่พร้อม แต่ถูกบังคับให้กระทำหรือปฏิบัติการ
บางอย่างก็จะเกิดความไมพ่ อใจ อาจกล่าวไดว้ า่
๑) ความพงึ พอใจนำไปส่กู ารเรียนรู้ เพ่ือตอบสนองความต้องการจนเกิด
ความพงึ พอใจทำใหเ้ กดิ แรงจงู ใจในการเพิ่มประสิทธภิ าพการเรยี นรู้สงู ขนึ้
๒) ผลของการเรียนรู้นำไปสู่ความพึงพอใจ ความสัมพันธ์ระหว่างความ
พึงพอใจและผลการเรยี น จะถูกเชื่อมโยงด้วยปัจจัยอนื่ ๆ ผลการเรียนรู้ทีด่ ีจะนำไปสู่การตอบสนองความ
พึงพอใจในรูปของรางวัลหรือผลตอบแทน ทั้งที่เป็นผลตอบแทนภายใน ( Intrinsic Rewards)
หรอื ผลตอบแทนภายนอก (Extrinsic Rewards)
จากการศึกษาองคป์ ระกอบของความพงึ พอใจ ความพงึ พอใจเป็นมีองค์ประกอบไปดว้ ยความรู้สึก
ที่มีต่อสิ่งที่ได้รับ ไม่ว่าจะเป็นการดำรงชีวิต อาหาร เครื่องนุ่งห่ม การรับการบริการที่ดี หรือไม่ดี
หรือความพงึ พอใจท่ีมตี อ่ การจดั การเรยี นการสอน ยอ่ มสง่ ผลตอ่ ระดับความพึงพอใจ
๒.๔.๔ การสร้างความพึงพอใจ
การสร้างความพึงพอใจใหเ้ กดิ ขึ้นในบุคคล อาจกลา่ วโดยรวมได้ ดงั นี้39
๑. จัดหาหรือให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายด้วยสิ่งที่มี
คุณภาพตามความต้องการของบุคคล
๒. อำนวยความสะดวกในการเข้าถงึ สิ่งทีบ่ ุคคลตอ้ งการอยา่ งทว่ั ถงึ และเท่าเทียมกัน
ตามความสามารถและมีการอำนวยความสะดวกตามความเหมาะสม
๓. ในการส่งเสริมให้เกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ควรจัดแนวปฏิบัติ
ที่เหมาะสมและท้าทายตามความสามารถของแต่ละบุคคล
๔. เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในสังคมหรือในการวางแผนการดำเนนิ งาน
ซงึ่ เปน็ แรงจูงใจในการทำงานประการหนง่ึ ที่นำไปสกู่ ารเกิดความพึงพอใจ
๕. ใหก้ ารยกยอ่ งชมเชยดว้ ยความจรงิ ใจ
๖. มอบความไว้วางใจให้รับผิดชอบมากขึ้น ให้อำนาจเพิ่มขึ้น เลื่อนขั้นหรือเลื่อน
ตำแหนง่ ใหส้ ูงขึ้น
๗. ให้ความมั่นคงและความปลอดภยั
๘. ใหค้ วามเป็นอิสระในการทำงาน
39 สุนันทา เลาหนันท์, การสร้างทีมงาน, พิมพ์ครั้งที่ 4, (กรุงเทพฯ : แฮนดเมดสติกเกอร์ แอนดดีไซน์),
2551.
๔๐
๙. เปิดโอกาสให้เจริญก้าวหน้าในหน้าที่ การงาน ได้มีโอกาสเข้าร่วมฝึกอบรม
ศกึ ษาดูงาน การหมนุ เวยี นงานและการสรา้ งประสบการณจ์ าก การใชเ้ ทคโนโลยีต่างๆ
๑๐. ให้เงนิ รางวัลหรือรางวัลตามลักษณะงาน
๑๑. ให้โอกาสในการแข่งขันเพื่อความเป็นเลิศในการปฏิบตั ิงานอันเป็นแรงกระตนุ้
ในการแสวงหาแนวคดิ ใหมๆ่ สำหรบั นำมาใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน
จากการศึกษาการสร้างความพึงพอใจที่ดีมีหลายวิธีการ ไม่ว่าจะเป็นการจัดหาหรือให้บริการ
เพ่ือตอบสนองความต้องการทางด้านรา่ งกายดว้ ยส่ิงทมี่ ีคณุ ภาพตามความตอ้ งการของบุคคล การบริการท่ี
ดีการทำให้เกิดคุณค่าตอ่ บคุ คล การยกย่องหรือชมเชย หรอื การดแู ลและใสใ่ จ ยอ่ มเป็นการสร้างความพึง
พอใจต่อบคุ คล
๒.๔.๕ ลกั ษณะและวิธกี ารประเมนิ ความพึงพอใจ 40
ความพึงพอใจเป็นสิ่งที่เกิดจากแรงจูงใจ ซึ่งเป็นพลังภายในผลักดันให้เกิดความรู้สึกชอบ
ไม่ชอบ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ยินดี ไม่ยินดี เมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการและ ความคาดหวัง ท่ี
เกดิ จากการประมาณค่าอันเป็นการเรียนรปู้ ระสบการณ์จากการกระทำกิจกรรมเพ่ือให้เกิดการตอบสนอง
ความต้องการตามเป้าหมายของแต่ละบุคคล เป็นกระบวนการทางจิตวิทยา การประเมินความพึงพอใจ
เป็นการประเมินค่าความรู้สึกไปในทางที่พอใจและไม่พอใจในเชิงปริมาณ (magnitude) มีรายละเอียด
ดงั น้ี
๑. ลกั ษณะของการประเมินความพึงพอใจ มีดังนี้
๑.๑ การประเมินความพึงพอใจ ด้านความรู้สึก เป็นลักษณะการประเมินทาง
ความรู้สึก หรืออารมณ์ของบุคคลตามองค์ประกอบทาง ความรู้สึก ได้แก่ ความรู้สึกทางบวก
เป็นความชอบ พอใจ และความรสู้ ึกทางลบ เปน็ ความไมช่ อบ ไมพ่ อใจ กลัว รังเกียจ
๑.๒ การประเมินความพึงพอใจ ด้านความคิด เป็นการประเมินการรับรู้ของบุคคล
และ วินิจฉัยข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับที่เกิดเป็นความรู้ ความคิด เกี่ยวข้องกับการพิจารณาที่มาของทัศนคติ
ออกมากวา่ ถกู หรอื ผิด ดีหรือไม่ดี ทเ่ี กดิ จากการประมวลผลของสมอง
๑.๓ การวัดความพึงพอใจในด้านพฤติกรรม เป็นการวัดความพร้อมที่จะกระทำ
หรือพร้อมทจ่ี ะตอบสนองที่มาของพฤติกรรม
๒. วิธีประเมินความพึงพอใจ การประเมินความพึงพอใจมีการประเมินหลายวิธี ได้แก่
การสังเกต การสัมภาษณ์ และการใชแ้ บบสอบถาม ซง่ึ มีรายละเอียด ดังน้ี
๒.๑ การสังเกตเป็นวิธีการสำหรับใช้ ตรวจสอบบุคคลอื่นโดยการสังเกตพฤติกรรม
และ จดบันทกึ ความพึงพอใจทีแ่ สดงออกมาในประเด็น ท่ีต้องการประเมนิ อย่างมแี บบแผน โดยผู้สังเกตจะ
ไม่มีการปฏบิ ัติการหรือมสี ่วนร่วมกบั ผูถ้ กู สงั เกต ต่อจากนัน้ จึงนำข้อมลู ที่ได้มาวิเคราะห์ สรุปและตีความ
40 บังอร ผงผ่าน, ความพึงพอใจของผูรับบริการตองานบริการของโรงพยาบาลกันทรลักษณ จังหวัด
ศรีษะเกษ. ภาคนิพนธพบ.ม.(พฒั นาสังคม), (กรงุ เทพฯ : บัณฑิตวทิ ยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร), ๒๕๓๘.