The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sepakna64mai, 2021-11-03 05:44:43

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) กรณีศึกษา : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

รูปเล่มสมบูรณ์ ล่าสุดปรับแก้ปก

การวิจัยเรือ่ ง ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษา
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด

ของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (covid-19)
กรณศี กึ ษา : สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
กรณีศกึ ษา : สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2

คณะวิจัย สพป. ขอนแกน่ เขต 2

ปการศึกษา 2564
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร



ชอ่ื เรื่อง ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพร์ระบาด
ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดบั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2

ช่ือผู้วิจยั คณะผู้วิจยั สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2
กรรมการที่ปรกึ ษา นายสเุ ทพ ปาลสาร

นางสาวดวงใจ ถวิลไพร
นายสเุ นตร์ ทองโพธิ์
นายอดุ มพร กันทะใจ
หน่วยงาน สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2
ปที ่ีพิมพ์ 2564

บทคดั ย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใน
สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2 2) เพ่ือพฒั นาแนวทางการจดั การศึกษา
ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 และ 3) เพื่อจัดทำ
ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019
(COVID - 19) ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย 3 ขั้น คือ
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค (SWOT) นำข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
มาวิเคราะห์การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ขั้นที่ 2 การประชุม
ระดมความคิด (Brainstorming) นำผลการวิเคราะห์ SWOT มาประชุมระดมความคิดและขั้นที่ 3
การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับ
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐานกลุ่มตัวอยา่ งเปน็ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน
208 คน ผู้ให้ข้อมลู จำนวน 32 คน และผู้เช่ียวชาญ จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชงิ คุณภาพ เครือ่ งมือ
ทีใ่ ช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบวิเคราะห์และแบบบันทึกกรณีศึกษา



ผลการวจิ ยั พบว่า
1. สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2 มีสถานศกึ ษาท้งั หมด จำนวน 208
แห่ง แบ่งตามลกั ษณะของสถานศึกษา ประกอบด้วย

1.1 สถานศกึ ษาขนาดเลก็ จำนวน 148 แห่ง
1.2 สถานศกึ ษาขนาดกลาง จำนวน 59 แห่ง
1.3 สถานศึกษาขนาดใหญ่ จำนวน 1 แห่ง
1.4 สถานศกึ ษาทเี่ ป็นโรงเรยี นคณุ ภาพระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 28 แห่ง
1.5 สถานศึกษาที่ใช้เป็นสถานท่พี กั คอย จำนวน 29 แห่ง
2. รปู แบบการจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษาขนาดเล็กในสถานการณ์ การแพร่ระบาด
โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ดงั นี้
2.1 สถานศึกษาทจ่ี ัดการเรียนการสอนแบบ ON-HAND มจี ำนวน 147 แห่ง
2.2 สถานศกึ ษาทจี่ ดั การเรียนการสอนแบบ ON-AIR มจี ำนวน 21 แห่ง
2.3 สถานศึกษาท่จี ัดการเรียนการสอนแบบ ON-DEMAND มีจำนวน 101 แห่ง
2.4 สถานศึกษาทจี่ ัดการเรยี นการสอนแบบ ON LINE มจี ำนวน 46 แห่ง
3. รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนของสถานศกึ ษาขนาดกลางในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ดงั น้ี
3.1 สถานศกึ ษาทจี่ ดั การเรียนการสอนแบบ ON-HAND มีจำนวน 58 แห่ง
3.2 สถานศกึ ษาทีจ่ ดั การเรียนการสอนแบบ ON-AIR มจี ำนวน 7 แห่ง
3.3 สถานศกึ ษาที่จดั การเรียนการสอนแบบ ON-DEMAND มีจำนวน 36 แห่ง
3.4 สถานศึกษาทีจ่ ัดการเรียนการสอนแบบ ON LINE มีจำนวน 36 แห่ง
4. รูปแบบการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี นขนาดใหญ่ในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ดังนี้
4.1 สถานศึกษาทจ่ี ัดการเรยี นการสอนแบบ ON-HAND มจี ำนวน 1 แห่ง
4.2 สถานศกึ ษาทจ่ี ัดการเรียนการสอนแบบ ON-AIR มีจำนวน 1 แห่ง
4.3 สถานศึกษาทจ่ี ดั การเรยี นการสอนแบบ ON-DEMAND มีจำนวน 1 แห่ง
4.4. สถานศกึ ษาทจี่ ัดการเรียนการสอนแบบ ONLINE มจี ำนวน 1 แห่ง



5. สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นในสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
5.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา โดยยึดปัจจยั การบรหิ าร 4M ตามบริบท

โดยเน้นความปลอดภยั ด้านบุคคล ด้านงบประมาณ ด้านวสั ดุอปุ กรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกและ
ด้านการจัดการ

5.2 การจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบ ON-HAND เป็นหลกั และเสริมแบบ
ONLINE, ON-AIR, ON-DEMAND สำหรบั นกั เรียนและผู้ปกครองทีม่ ีความพร้อมตามบริบท

5.3 การดแู ลช่วยเหลือนักเรียนตามบรบิ ทอย่างตอ่ เนอื่ ง
6. แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาทุกลักษณะ แบ่งเป็น 3 ด้าน
ประกอบด้วย การบริหารจัดการโดยยึดปัจจัยการบริหาร 4M การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน โดยดำเนนิ การตามความเหมาะสม ความจำเปน็ และงบประมาณทีไ่ ด้รบั
7. ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 เป็นลักษณะ
โครงการท่ีประกอบด้วย หลกั การและเหตุผล วตั ถุประสงค์ กลยุทธ์การดำเนินงาน งบประมาณ และผลท่ี
คาดวา่ จะไดร้ ับ ท่ีสอดคล้องกับแนวทางการจดั การศกึ ษาที่กล่าวมาข้างต้น



ประกาศคุณปู การ

งานวจิ ัยฉบบั นีส้ ำเร็จไดด้ ว้ ยความกรณุ าจาก ดร. สุเทพ ปาลสาร ผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 นางสาวดวงใจ ถวิลไพร รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ดร.ธนพร นฤนาทวัฒนา ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 พร้อมทั้งทีม
ศึกษานิเทศก์สังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2 ทุกคน ที่ปรึกษางานวิจัยท่ี
ได้กรุณาแนะนำ เสนอแนะและตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ตลอดมาต้ังแต่ต้นจน
สำเร็จเรยี บรอ้ ย คณะวิจยั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณผู้เช่ียวชาญทุกท่านที่กรุณาตรวจสอบโครงร่างแนวทางการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ผู้บริหารสถานศึกษา คุณครูที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ต่อการวิจัย รวมถึงให้ข้อเสนอแนะเพื่อใหง้ านวิจัยมีความสมบูรณม์ ากยิ่งขึ้น ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ทุกฝ่ายที่คอยสนับสนุน ส่งเสริมใหก้ ำลังใจ และขอขอบคุณนักวิจัยทุกคนที่ใหค้ วามรว่ มมือและมีส่วนรว่ ม
ในการจัดทำวจิ ยั นท้ี กุ ขนั้ ตอนจนสำเร็จลลุ ่วงด้วยดี

คณะวิจัย
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

สารบญั จ

บทคดั ย่อ หน้า
ประกาศคณุ ปู การ ก
สารบญั ง
สารบัญตาราง จ
สารบญั ภาพ ซ
บทที่ 1 บทนำ ฎ
1
1. ภมู หิ ลัง 1
2. วัตถุประสงค์ 5
3. ขอบเขตของการวจิ ัย 5
4. นยิ ามศัพท์เฉพาะ 6
5. ประโยชนท์ ่ีได้รับจากการวิจัย 8
6. กรอบแนวคิดการวจิ ัย 10
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง 11
1. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 11
2. แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศึกษา 14
3. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไข
21
เพ่ิมเติม
4. นโยบายของรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา 24

นายกรฐั มนตร)ี 27
5. นโยบายของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
31
(นางสาวตรนี ุช เทียนทอง) 33
6. รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
7. สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2



สารบญั (ตอ่ ) หน้า

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวจิ ัย 40
1. เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวิจยั 41
2. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลแบบวเิ คราะห์เนือ้ หา (Content Analysis) 42
3. การตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมอื 42
4. ข้ันตอนการวจิ ยั 43
44
บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย 45
1. ข้อมลู พนื้ ฐาน
2. สภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัดสำนักงาน 46
เขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2
ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 49
2019VID - 19) และ Best practice โรงเรียน 69
3. ผลการวเิ คราะห์สภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียน
ลักษณะตา่ ง ๆ ดา้ นข้อดี ข้อเสยี โอกาส อุปสรรค (SWOT) 72
ในการบรหิ ารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ และการดูแลชว่ ยเหลอื 72
นักเรียน แบ่งตามลักษณะของสถานศกึ ษา 73
4. แบบบนั ทกึ ผลการเสนอทางการจดั การศกึ ษา 74
76
บทท่ี 5 ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ของ 77
สถานศกึ ษา ในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา 78
ขอนแกน่ เขต 2
1. ขอ้ เสนอเชิงนโยบายด้านการบริหารจัดการ 86
2. ข้อเสนอเชงิ นโยบายด้านการจัดการเรยี นรู้
3. ข้อเสนอเชงิ นโยบายดา้ นการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู
ภาคผนวก ข ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาใน

สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019

สารบญั (ต่อ) ช

ภาคผนวก ค ภาพกจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ หน้า
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
109
ภาคผนวก ง เอกสารเผยแพร่การดำเนินงาน 113
ภาคผนวก จ คำสง่ั แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งาน 116



สารบญั ตาราง

ตารางที่ 1 จำนวนสถานศึกษาในสงั กดั จำแนกตามขนาดจำนวนนักเรียน และราย หน้า
อำเภอ 36
36
ตารางท่ี 2 จำนวนสถานศกึ ษาจำแนกตามระดับชน้ั ท่เี ปิดสอน 37
ตารางที่ 3 จำนวนนักเรียนท้งั หมด จำแนกตามรายชัน้ เรียน แยกรายอำเภอ 38
ตารางท่ี 4 จำนวนโรงเรียนขยายโอกาส ขนาดเล็ก โรงเรยี นในฝัน โรงเรียนดี 38
39
ศรีตำบล
ตารางที่ 5 จำนวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ลกู จ้างประจำ และ 45

ลูกจา้ งชั่วคราว 49
ตารางท่ี 6 จำนวนขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ลกู จา้ งประจำ และ
51
ลกู จา้ งชว่ั คราวในสถานศึกษา
ตารางที่ 7 จำนวนโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา 52

ขอนแก่น เขต 2 จำแนกตามขนาด ลักษณะโรงเรียน และรูปแบบการ 53
จัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019
ตารางที่ 8 แบบวเิ คราะห์ จดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการ
นักเรยี น ของโรงเรยี นขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
ประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2
ตารางที่ 9 แบบวิเคราะห์ จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจดั การ
เรียนรูน้ ักเรยี น ของโรงเรยี นขนาดเลก็ สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่นเขต 2
ตารางที่ 10 แบบวเิ คราะห์ จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการดแู ล
ช่วยเหลอื นักเรยี นนกั เรียนของโรงเรียนขนาดใหญ่ สงั กดั สำนักงานเขต
พ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2
ตารางท่ี 11 แบบวิเคราะห์ จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบรหิ ารจัดการ
นักเรยี นของโรงเรียนขนาดกลาง สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
ประถมศึกษาขอนแก่นเขต 2



สารบัญตาราง (ตอ่ )

ตารางท่ี 12 แบบวเิ คราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจัดการ หน้า
เรยี นรู้ นกั เรียนของโรงเรยี นขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ี 54
การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2 55
56
ตารางที่ 13 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการดูแล 57
ช่วยเหลือนักเรียนนักเรียนของโรงเรียนขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขต 57
พื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่นเขต 2 58
60
ตารางท่ี 14 แบบวิเคราะห์ จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการ 63
นักเรยี ของโรงเรยี นขนาดใหญ่ สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2

ตารางที่ 15 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจัดการ
เรียนรู้ นักเรียนของโรงเรียนขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

ตารางที่ 16 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนนักเรียนของโรงเรียนขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขต
พน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2

ตารางท่ี 17 จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ
ON HAND ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 การบรหิ ารจดั การและการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น

ตารางที่ 18 จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ
ON LINE ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 การบรหิ ารจดั การและการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น

ตารางที่ 19 จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ
ON DEMAND ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา
2019 การบริหารจดั การ และการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น



สารบัญตาราง (ตอ่ )

ตารางที่ 20 จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจัดการ หน้า
ตารางท่ี 21 เรียนรู้แบบ ON AIR ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติด 66
ตารางที่ 22 เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 การบรหิ ารจัดการและการดแู ล 68
ช่วยเหลอื นกั เรยี น
จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจดั การ 69
เรียนรู้แบบ ON SITE ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 การบรหิ ารจดั การ และการดูแล
ช่วยเหลอื นกั เรยี น
แนวทางการแกไ้ ขการจัดการศกึ ษา ของโรงเรียนในสงั กัด
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2
จำแนกตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

สารบญั ภาพ ฎ

ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจยั หน้า
ภาพท่ี 2 แผนภมู โิ ครงสรา้ งของสำนักงานเขตพนื้ ท่ี 10
ภาพท่ี 3 ขัน้ ตอนการวจิ ัย 35
43

1

บทท่ี 1
บทนำ
ภูมิหลงั

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม ได้นยิ ามความหมายคำ
ไว้ในมาตรา 4 ว่า “การศึกษา” คือ กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง
ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้
และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ประกอบกับมาตรา 10 บัญญัติไว้
ความตอนหนึ่งว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกันในการได้รับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
ส่วนมาตรา 22 บัญญัติว่า การจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่า นักเรียนทุกคนมีความสามารถในการ
เรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่านักเรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา
ต้องส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ มาตรา 25 บัญญัติว่า
รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงาน และการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุด
ประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีศูนย์การกีฬาและนันทนาการแหล่งข้อมูล และแหล่งเรียนรู้อื่นอย่างเพียงพอ และมี
ประสิทธิภาพ และมาตรา 31 ได้กำหนดให้กระทรวงมีอำนาจหน้าท่ี เกี่ยวกับการส่งเสริม และกำกับ
ดูแลการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท กำหนดนโยบายแผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุน
ทรัพยากรเพื่อการศึกษา ส่งเสริม และประสานงานด้านการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬา
ทง้ั นี้ ในสว่ นทีเ่ กี่ยวกับการศึกษา รวมทงั้ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา และ
ราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงหรือส่วนราชการที่สั งกัด
กระทรวง โดยหลักการของพระราชบัญญัติดังกล่าวนั้น คือ รัฐต้องจัดการศึกษาให้กับประชาชนได้
เข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของทุกคน
โดยเน้นความเท่าเทียม ทั่วถึงและเป็นธรรม ซึ่งหลักการดังกล่าวสอดคล้องกับหลักยุทธศาสตร์ชาติ
พ.ศ. 2561-2580 ที่ได้กำหนดวสิ ยั ทศั น์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนา
แล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน
มีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ
ท่ีหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางสงั คม สร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐ
ของประชาชน เพื่อประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม แนวทางในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศ

2

ไทย เห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้นเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 อันถือ
เป็นกฎหมายแม่บทในการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ ฉบับแรกของประเทศไทย โดยมีเจตนารมณ์
ให้การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุข (พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : 2542)

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เพื่อเป็นเป้าหมาย และกรอบทิศทางในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรยี น โดยมีจุดหมายเพือ่ มุ่งพฒั นานักเรียนให้เปน็ คนดี มีปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู้ ความสามารถในการคิด
การแกป้ ัญหา และมที กั ษะชวี ติ มคี วามรกั ชาติ มีจติ สำนึกในความเปน็ พลเมืองไทย และพลโลก ยึดมน่ั
ในวิถีชีวิต และการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิต
สาธารณะทม่ี ุ่งทำประโยชน์ และสร้างสิง่ ท่ีดงี ามในสังคม และอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างมีความสุข ทั้งนี้
ในการพฒั นานักเรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ม่งุ เน้นพฒั นานักเรยี นให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานทกี่ ำหนด (กระทรวงศึกษาธิการ : 2551)

จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) “โรงเรียน”
เป็นสถานที่อันดับแรก ๆ ที่ถูกประกาศปิด ส่งผลให้นักเรียน และครูหลายพันล้านคนทั่วโลกต้อง
ปรับเปลย่ี นวธิ กี ารจัดการเรยี นรู้รูปแบบใหม่ โดยแนวทางการจัดการเรยี นรู้ในรปู แบบใหม่ต้องใช้ระบบ
เทคโนโลยีเขา้ มาช่วยอำนวยความสะดวก “การจัดการเรียนรู้ออนไลน์” จึงกลายเป็นเครือ่ งมือสำคัญ
ทรี่ ะบบการศึกษาในหลายประเทศทัว่ โลกนำมาใช้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสดังกล่าว
ซึ่งประเทศไทยเองก็นำวิธีการจัดการเรยี นรู้แบบออนไลน์มาใช้ เพื่อให้โรงเรียนต่าง ๆ สามารถดำเนนิ
การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการไดว้ างไว้ แม้จะเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชว่ ยให้
นักเรียนสามารถศึกษาหาความรู้ต่อไปได้โดยไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสก็ตาม แต่การจัดการเรียน รู้
แบบออนไลน์ก็ถูกตั้งคำถามถึงประสิทธิภาพ และความพร้อมของระบบการศึกษาไทย ที่ไม่เพียง
จะเพิ่มภาระให้กับผู้ปกครองที่ต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ หรือการดูแลบุตรหลานในขณะที่มีการเรียนรู้
แบบออนไลน์ ซึ่งเรื่องดังกล่าวยังเป็นการสะท้อน และตอกย้ำภาพความเหลื่อมล้ำของสังคมไทย
โดยเฉพาะการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ของนักเรียน ที่ชี้ให้เห็นถึงความไม่พร้อมหลาย ๆ ด้าน ในการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ สิ่งสำคัญที่จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมว่า นักเรียนในช่วงชั้นใด
มีเหมาะกับการเรียนในรูปแบบดังกล่าว ซึ่งในระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษานั้นยังคงเปน็ เรือ่ ง
ใหม่ และนักเรียนจะยังไม่พร้อมที่จะรับการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ เนื่องจากช่วงวัยนีค้ วรจะต้อง
ได้รับการเรียนรู้จากครูโดยตรงในลักษณะ Onsite มากกว่า Online นอกจากนี้ ในส่วนของส่ือ

3

การเรียนรู้ และครูผู้ทีท่ ำหน้าท่ีในการจดั การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ดังกล่าว ก็ควรจะต้องเลือกสื่อ
การเรียนรู้ที่ทันสมัย หลากหลาย มีความถูกต้องทั้งในเรื่องของเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และมีความ
เหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั ของนักเรยี นดว้ ย

ช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หลายประเทศใช้รูปแบบ
วิธีการจัดการเรียนรู้ทางไกล ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ผ่าน Massive Open Online
Courseware (MOOC) หรือแอปพลิเคชัน ที่ช่วยให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือน
(Virtual Classroom) หรือใช้การถ่ายทอดการจัดการเรียนรู้ผ่านสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อให้นักเรียน
เรียนรู้ต่อเนื่องที่บ้านได้ขณะปิดโรงเรียน แต่การใช้วิธีดังกล่าวทำให้นักเรียนบางกลุ่ม โดยเฉพาะ
นักเรียนท่ีมฐี านะทางครอบครัวยากจนเกิดความเหล่ือมล้ำในการเขา้ ถงึ การศึกษา เพราะไม่มีอุปกรณ์
ดิจิทัลที่บ้าน นอกจากนี้ในการเรียนรู้ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักเรียนจำเป็นจะต้องได้รับการ
เอาใจใส่ ดังนัน้ การเรยี นท่บี า้ นจงึ เปน็ การผลักภาระให้กบั ผูป้ กครอง หากผู้ปกครองไม่มีความพร้อมใน
การช่วยเหลือบุตรหลานของตนในการเรยี น

แต่การจัดการศึกษาในช่วงปัจจุบัน พบว่า จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ได้มีการระบาดอย่างรุนแรงทั่วประเทศ ทำให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อกระจาย
ไปทั่วทุกพื้นที่ในประเทศ และมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และเกิดสภาวะหยุดชะงัก และไม่
สามารถดำเนินภารกจิ ตา่ ง ๆ ให้เปน็ ไปอย่างราบรื่นได้ ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง วัฒนธรรม
การทอ่ งเทยี่ ว รวมถงึ ระบบการศกึ ษา ซงึ่ เปน็ กลไก หรอื เครอื่ งมือสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ให้มีความรู้ ความสามารถ และความพร้อมในทุก ๆ ด้าน เพื่อเป็นกำลังพลสำคัญในการพัฒนา
ประเทศ ที่จะได้รับผลกระทบในอนาคต ซึ่งไม่สามารถดำเนินภารกิจ หรือสามารถจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ได้อย่างปกติ เกิดผลกระทบเป็นวงกว้าง ทั้งในส่วนของโรงเรียน สถานศึกษา ครู
และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง เป็นต้น และไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าการระบาด
ของโรคดงั กลา่ วน้ีจะส้ินสุดลงเมอื่ ใด

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แจ้งให้ทุกโรงเรียน และทุกสำนักงานเขต
พื้นที่ได้ออกแบบในเรื่องการติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลสภาพจริงของแต่ละพื้นที่ โดยให้
รายงานเป็นรายวัน หรือตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และทันต่อ
สถานการณ์ ส่วนในเร่ืองการเผชิญเหตุ หรือเตรียมพร้อมสำหรับการเผชิญเหตุในจงั หวัดท่ีถูกประกาศ
ให้เป็นพื้นที่สีแดง สีส้ม หรือสีเหลือง หากมีเหตุจำเป็นต้องปิดเรียนทุกโรงเรียนในจังหวัดพื้นที่สีแดง
แจ้งสถานศึกษาให้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ ใน 5 รูปแบบ ได้แก่ 1) On Site คือ ให้มาเรียนตามปกติ
ได้ในพื้นที่ที่ไม่ใช่สีแดง แต่ต้องเว้นระยะ หรือลดจำนวนนักเรียนต่อห้องลง สำหรับจังหวัดในพื้นท่ี
สีเขียว สามารถจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนได้ตามปกติ 2) On Air คือ การออกอากาศผ่าน DLTV
เป็นตัวหลกั ในการกระจายการจัดการเรียนรู้ โดยใช้โรงเรียนวังไกลกังวลเป็นฐานในการจัดการเรียนรู้

4

ซึ่งสามารถดูได้ทั้งรายการที่ออกตามตาราง และรายการที่ดูย้อนหลัง 3) Online ให้ครูเป็นผู้จัดการ
เรียนรู้ ผ่านเครื่องมือที่ทางโรงเรียนกระจายไปสู่นักเรียน เป็นรูปแบบที่ถูกใช้ในการจัดการเรียน รู้
จำนวนมากที่สุด 4) On Demand เป็นการใช้งานผา่ นแอปพลเิ คช่ันตา่ ง ๆ ที่ครูกับนักเรียนใชร้ ่วมกัน
5) On Hand หากจัดในรูปแบบอื่น ๆ ที่กล่าวมาไม่ได้ ให้โรงเรียนจัดแบบ On Hand คือ จัดใบงาน
แบบฝึกทักษะ ให้กับนักเรียนเป็นลักษณะแบบเรียนสำเร็จรูป ให้นักเรียนรับไปเป็นชุด ไปเรียน
ดว้ ยตวั เองที่บา้ น โดยมคี รูออกไปเยี่ยมเปน็ คร้ังคราว หรอื ให้ผ้ปู กครองทำหน้าท่ีเป็นครูคอยช่วยเหลือ
เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ถึงแม้โรงเรียนจะปิด แต่ต้องไม่หยุดการเรียนรู้
(https://www.obec.go.th/archives/363188. สบื คน้ วันท่ี 20 สงิ หาคม 2564)

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ได้ตระหนัก และเล็งเห็น
ถึงความสำคัญของปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ส่งผล
กระทบต่อระบบการจัดการศึกษาและกระบวนการในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดเป็น
อย่างมาก โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ได้พบว่า มีครู
และบุคลากรติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 เป็นต้นมา จึงได้ทบทวนบทเรียน
จากทั้งต่างประเทศ และในประเทศ ท้ังหน่วยงานการศกึ ษา หน่วยงานต่าง ๆ ทม่ี ีส่วนเก่ยี วข้องในการ
จัดการศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่าง ๆ อีกทั้งเพื่อเตรียมตัวให้พร้อมในการจัดการ
เรียนรู้รูปแบบใหมท่ ่ีสอดรับกับมาตรการการป้องกันการระบาด พร้อมกับเตรียมมาตรการต่าง ๆ เพื่อ
รองรับ และป้องกันไม่ให้นักเรียนได้รับผลกระทบ จากรูปแบบการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป อีกท้ัง
สถานศกึ ษา ครู ผู้ปกครอง และภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ และเอกชนท่ีเก่ียวข้อง ไดเ้ ข้ามามีส่วนร่วม
ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพื่อให้การจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) สามารถเดินหน้าไปได้อย่างเป็นรูปธรรมมากที่สุด พร้อมทั้งร่วมกัน
พิจารณาถึงความเหมาะสมว่า สถานศึกษาใดมีความพร้อมในการจัดการศึกษา และไม่มีการแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัสดังกล่าวก็สามารถจัดการศึกษาได้ตามความเหมาะสม แต่ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้
เงื่อนไข และหลักการตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยเฉพาะในเรื่องของ Social Distancing
และชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ที่ต้องมีการให้ความรู้กับครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน
และผปู้ กครอง ในเร่อื งดังกล่าวพรอ้ มกนั ไปด้วย

จากสถานการณ์ข้างต้นและสภาพปญั หาทีเ่ กดิ ขน้ึ กบั การจัดการเรยี นรู้ในชว่ งปจั จุบนั ผู้วิจัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ได้ร่วมกันพิจารณาเห็นว่าเพื่อให้ปัญหา
ดังกล่าวได้รับการแก้ไขได้อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งในลักษณะของผู้ปฏิบัติ และผู้จัดทำนโยบายในระดับ
ส่วนงานต่าง ๆ จึงได้จัดทำวิจัย เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษา ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีศึกษา : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

5

ขอนแก่น เขต 2 เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย อันจะเป็นกลไกสำคัญในการแก้ไขปัญหา
ในการบริหารการจัดการศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในช่วง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เหมาะสมกับ
สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย

1. เพ่อื วเิ คราะห์สภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนลักษณะต่าง ๆ ดา้ นข้อดี ขอ้ เสีย โอกาส
อุปสรรค (SWOT) ในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน

2. เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการ
ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

3. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ในระดบั สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

ขอบเขตการวจิ ยั

ในการพิจารณาศึกษาจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วน ว่าด้วยการบริหารจัดการ
การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เหมาะสมกับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 โดยเป็นการพิจารณาศึกษาแนวคิด ที่มา สภาพปัญหา และผลกระทบ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีต่อระบบ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ในสังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2 เพื่อนำ
ข้อมูลที่ได้ มาศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อหาแนวทางในการจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
อันนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในการบริหารการจัดการศึกษา และการจัดการเรียนรู้ในช่วงสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เหมาะสมกับสถานศึกษาในสังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 อันจะส่งผลไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพอ่ื ใชข้ บั เคลือ่ น และดำเนินการใหเ้ กิดผลอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป โดยมีขอบเขตการวิจัย ดงั น้ี

1. ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
การวจิ ยั ในคร้งั น้ีคณะวิจัย ใชร้ ปู แบบวิจยั เชงิ นโยบาย (Policy Research) ทมี่ ีกระบวนการ
เก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างมีระบบ โดยมีขอบเขตการวิจัยประกอบด้วย
การบริหารการจัดการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ของครู และบุคลากรทางการ
ศึกษา และการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น

6

2. ขอบเขตดา้ นแหลง่ ข้อมูล
แหล่งข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา การจดั การเรียนรู้ของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา และการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 จำนวน
20 คน ซึ่งเป็นตัวแทนเข้าร่วมดำเนินการวิจัย และให้ข้อมูล โดยผ่านการประชุมสรุปข้อมูลกับผู้มี
สว่ นเกีย่ วข้องทกุ ทา่ นภายในสถานศกึ ษา สามารถจำแนกได้ ดงั นี้

2.1 ผู้บรหิ ารโรงเรียน จำนวน 20 คน
2.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำนวน 20 คน
3. ขอบเขตดา้ นระยะเวลา
ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการดำเนนิ การวจิ ยั ครั้งนี้ คอื เดือนสงิ หาคม ถงึ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564

นยิ ามศัพท์เฉพาะ

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา หมายถึง การแตก
นโยบาย การจัดการศึกษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ปีการศึกษา 2565 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ด้านการบริหารโรงเรียน
การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ออกเป็นโครงการ หรือแผนงานย่อย ให้มีลักษณะ
เฉพาะเจาะจงของหลักการ เหตุผล วัตถปุ ระสงค์ กลยุทธ์การดำเนนิ งาน งบประมาณ และผลท่คี าดว่า
จะไดร้ บั

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน หมายถึง การวิเคราะห์ คุณค่าของหลักการ เหตุผล และวัตถุประสงค์ การวิเคราะห์
กลยุทธ์การดำเนินงาน และการเปรียบเทียบ งบประมาณกับผลที่คาดว่าจะได้รับจากข้อเสนอ
เชิงนโยบาย การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ปีการศึกษา 2565 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อตัดสินใจกำหนดเป็นนโยบาย
การจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน

การบรหิ ารจดั การ หมายถึง การอำนวยการ กำกับทศิ ทาง และควบคมุ ให้โรงเรยี นสามารถ
ขับเคลื่อนดำเนินการ จัดการศึกษาไปด้วยดีทั้งด้านบุคลากร (Man) วิธีการ (Management) วัสดุ
อปุ กรณ์ส่ิงอำนวยความสะดวก (Material) และงบประมาณ (Money)

การจัดการเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการ เทคนิค หรือวิธีการที่ครูนำมาใช้ เพื่อให้นักเรียน
เกิดการเรยี นรู้ ในรูปแบบต่าง ๆ ดงั นี้

7

1. On Site หมายถงึ การจดั การเรียนรู้แบบให้มาเรยี นตามปกติได้ในพ้ืนท่ีที่ไม่ใช่สีแดง
แต่ต้องเว้นระยะ หรือลดจำนวนนักเรยี นต่อห้องลง สำหรับจังหวัดพื้นท่ีสีเขียว สามารถจัดการเรียนรู้
ในโรงเรียนได้ตามปกติ

2. On Air หมายถึง การออกอากาศผ่าน DLTV เป็นตัวหลักในการกระจายการจัดการ
เรียนรู้ โดยใช้โรงเรียนวังไกลกังวลเป็นฐานในการจัดการเรียนรู้ สามารถดูได้ทั้งรายการที่ออกตาม
ตาราง และรายการทีด่ ยู ้อนหลงั

3. Online หมายถึง การจัดการเรียนรู้ให้ครูเป็นผู้จัดการเรียนรู้ผ่านเครื่องมือที่ทาง
โรงเรยี นกระจายไปสู่นักเรยี น เปน็ รปู แบบท่ถี กู ใช้ในการจดั การเรียนรู้จำนวนมากทส่ี ดุ

4. On Demand หมายถึง การจัดการเรียนเรียนรู้โดยใช้งานผ่านแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ
ทค่ี รูกับนกั เรียนใชร้ ่วมกัน

5. On Hand หมายถึง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่หากจัดในรูปแบบอื่น ๆ ที่กล่าวมา
ไม่ได้ ให้โรงเรียนจัดแบบ On Hand คือ จัดใบงาน แบบฝึกทักษะ ให้กับนักเรียน เป็นลักษณะ
แบบเรียนสำเร็จรูป ให้นักเรียนรับไปเป็นชุดไปเรียนด้วยตัวเองที่บ้าน โดยมีครูออกไปเยี่ยม
เป็นครั้งคราว หรือให้ผู้ปกครองทำหน้าที่เป็นครูคอยช่วยเหลือ เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนได้อย่าง
ต่อเน่ือง

6. รูปแบบอื่น ๆ หมายถึง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก
5 รูปแบบข้างต้น เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ การวัดผลและประเมินผล ในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

การดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น หมายถึง การส่งเสรมิ สนับสนนุ ป้องกัน และแก้ปัญหา ให้กับ
นักเรียน ให้ได้รับการเรียนรู้ พัฒนาความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ การวัดและประเมินผล การส่งผ่าน
นักเรียนเพื่อเรียนต่อในระดับสูงข้ึน และความปลอดภัยในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

COVID-19 หมายถึง ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เป็นไวรัสที่ถูกพบครั้งแรก ในปี 1965
สามารถติดเชื้อได้ทั้งในมนุษย์ และสัตว์ปัจจุบัน มีการค้นพบไวรัสสายพันธุ์นี้แลว้ ทั้งหมด 6 สายพันธ์ุ
ส่วนสายพันธุ์ที่กำลังแพร่ระบาดหนักทั่วโลกตอนนี้ เป็นสายพันธุ์ที่ยังไม่เคยพบมาก่อน คือ สายพันธ์ุ
ที่ 7 จึงถูก เรียกว่าเป็น “ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่” และในภายหลังถูกตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า
“โควิด-19” (COVID-19)

Social Distancing หมายถงึ การเวน้ ระยะทางกายภาพกบั บุคคลอ่ืน ๆ ในสังคม หรือการ
อยู่ห่างจากคนอื่น ๆ ในสังคมเพียงพอที่จะทำให้เกิดการแพร่เชื้อของโรคน้อยลง หรือช้าลง เป็นหน่ึง
ในมาตรการลดการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งสามารถใช้ได้กับโรคอื่น ๆ ที่เกิดจากการติดเชื้อ
ทางเดินหายใจ หรือจากการสัมผัสอื่น ๆ อีกด้วย อาทิ การยืนนั่งห่างกันอย่างน้อย 1.5 - 2 เมตร

8

การปิดโรงเรียน หรือหันมาเรียนออนไลน์ งดการรวมตัวกันในสถานศึกษา หรือที่ทำงาน การเปลี่ยน
ระบบการทำงาน โดยใช้การติดต่อทางโทรศัพท์ การปรับเวลาการมาทำงานให้ยืดหยุ่น หลีกเลี่ยงการ
เดินทางด้วยขนส่งที่มีคนหนาแนน่ การทำงานทบ่ี ้านแทนที่ทำงาน (work from home) ทำให้ลดการ
เดินทางมาทำงาน และการพบปะคนอ่ืนในท่ีทำงาน ซง่ึ เพมิ่ ท้งั โอกาสการรบั และแพรก่ ระจายของเชื้อ
เปน็ ต้น

New Normal หมายถึง ความปกติใหม่ ฐานวิถีชีวิตใหม่ซึ่งหมายถึง รูปแบบการดำเนิน
ชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจากอดีต อันเนื่องจากมีบางสิ่งมากระทบจนแบบแผน และแนวทางปฏิบัติ
ท่คี นในสงั คมคุ้นเคยอย่างเปน็ ปกติ และเคยคาดหมายล่วงหนา้ ได้ ตอ้ งเปล่ียนแปลงไปสู่วิถีใหม่ ภายใต้
หลกั มาตรฐานใหมท่ ่ีไมค่ ุ้นเคย รปู แบบวถิ ชี ีวติ ใหมน่ ีป้ ระกอบดว้ ย วิธคี ิด วิธเี รียนรู้ วธิ ีสอ่ื สาร วธิ ปี ฏิบัติ
และการจัดการ การใช้ชีวิตในรูปแบบใหม่เกิดขึ้นหลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง
และรุนแรงอย่างใดอย่างหนึ่ง ทำให้มนุษย์ต้องปรับตัวเพื่อรับมือกับสถานการณ์ปัจจุบันมากกว่า
จะธำรงรกั ษาวถิ ดี ั้งเดิมหรือหวนหาถึงอดีต

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หมายถึง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ขอนแกน่ เขต 2

ครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่
ในสถานศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น
เขต 2

นักเรียน หมายถึง นักเรียนที่อยู่ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2 ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564

ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการวิจัย
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ได้รับทราบสภาพปัญหา

อุปสรรค และผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ที่มีต่อ การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ของสถานศึกษาในสงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2

2. ผลจากการศึกษาสามารถใช้เปน็ ขอ้ มูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายสนบั สนุน และการ
นำนโยบายไปปฏิบัติ อันนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่เหมาะสมกับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ให้
เกดิ ผลอย่างเป็นรปู ธรรมตอ่ ไป

9

3. ได้ข้อมูล และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ซึ่งจะนำไปสู่แนวทางในการปรับปรุงการบริหาร
จัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในระดับต่าง ๆ ของสถานศึกษาในสังกัด
สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2 และหนว่ ยงานการศกึ ษาต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เหมาะสม มีคุณภาพ
และรองรบั สถานการณ์โรคระบาดตา่ ง ๆ ทอ่ี าจจะเกิดขนึ้ ในอนาคตตอ่ ไป

4. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ขอนแก่น เขต 2 ไดน้ โยบายและแนวทางการบริหารจดั การการศึกษาของโรงเรียน

5. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ขอนแกน่ 2 เขต ไดน้ โยบาย และแนวทางการจดั การเรียนร้เู พ่อื พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นรปู แบบต่าง ๆ

6. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ขอนแก่น เขต 2 ได้นโยบาย และแนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ด้านการเรียนรู้ การส่งต่อ
นักเรยี น และความปลอดภัย

10

กรอบแนวคิดการวิจัย

การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดจากเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขต
พ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

วิจัยเชงิ นโยบาย ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษา
(Policy Research) ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
1. การบรหิ ารการจัดการศกึ ษา
2. การจัดการเรียนรู้ในช่วงสถานการณ์ ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ข้อมูลเบอื้ งต้น
โคโรนา 2019 (COVID-19) 1. ลักษณะโรงเรียน
3. การดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น 2. รปู แบบการจัดการเรยี นรู้
ดา้ นผ้บู รหิ าร
1. การบริหารการจัดการศึกษา ได้แก่ แนวทาง
การบริหารตามรูปแบบการจัดการเรียน รู้
และแนวทางการดแู ลนกั เรยี น
2. การวิเคราะห์ SWOT ได้แก่ จุดดี จุดอ่อน โอกาส
และอปุ สรรค
3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการบริหาร ได้แก่
ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรยี น
ด้านครู
1. การจัดการเรียนการสอน ได้แก่ แนวทาง การ
จัดการเรยี นการสอน และแนวทางการดแู ลนกั เรียน
2. การวิเคราะห์ SWOT ได้แก่ จุดดี จุดอ่อน โอกาส
และอปุ สรรค
3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการจัดการเรียนรู้ ได้แก่
ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี น

รปู ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย

11

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง

การดำเนินการวิจัยคร้ังน้ี เพ่ือ ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีศึกษา : สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ผู้วิจัยได้
ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง ดังนี้

1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580
2. แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
3. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เตมิ
4. นโยบายของรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตร)ี
5. นโยบายของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรนี ุช เทียนทอง)
6. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
7. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2

1. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตาม

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนำไปสกู่ ารปฏบิ ัติ เพือ่ ให้ประเทศไทยบรรลุวสิ ัยทัศน์ " ประเทศไทยมี
ความมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง " เพื่อ
ความสุขของคนไทยทุกคน ด้วยวิสัยทัศน์ประเทศดังกล่าวน้ัน เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ " ประเทศชาติ
มน่ั คง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเปน็ ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยนื " โดยยก
ระตับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ
สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และมีภาครัฐ
ของประชาชน เพ่ือประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ประกอบดว้ ย

1.1 ความอยูด่ ีมีสขุ ของคนไทย และสงั คมไทย
1.2 ขดี ความสามารถในการแข่งขนั การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
1.3 การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยข์ องประเทศ
1.4 ความเทา่ เทียม และความเสมอภาคของสังคม
1.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม และความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติ
1.6 ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การ และการเข้าถงึ การใหบ้ รกิ ารของภาครฐั

12

การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา
เศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง ยุทธศาสตร์
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ต้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ยทุ ธศาสตร์ตา้ นการสร้างโอกาส และความสมอภาคทางสงั คม ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิต
ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และยุทธศาสตร์ต้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
โดยยุทธศาสตร์ชาติในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา และการพัฒนาการศึกษาจะอยู่ในส่วนของ 5 ยุทธศาสตร์
ท่ีสำคัญ ประกอบด้วย 1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 2) ยุทธศาสตร์ต้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3) ยุทธศาสตร์ต้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางสงั คม และ 5) ยุทธศาสตร์ตา้ นการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ

ยุทธศาสตรด์ า้ นความมน่ั คง มีเป้าหมายการพัฒนาทส่ี ำคัญ คือ ประเทศชาตมิ ่ันคง ประชาชนมีความสุข
เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบ
เรียบร้อยในทุกระดับ ต้ังแต่ระตับชาติ สังคม ขุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบ
ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม และภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความ
รุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต
ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึง
ประเทศเพื่อนบา้ น และมิตรประเทศทวั่ โลกบนพ้ืนฐานของหลกั ธรรมาภบิ าล

ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งชัน มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นการยกระดับ
ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพ้ืนฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ 1) " ตอ่ ยอดอดีต " โดยมองกลับไปท่ี
รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย
รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอ่ืน นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยี
และนวัตกรรม เพ่ือให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ และสังคมโลกสมัยใหม่ 2) " ปรับปัจจุบัน " เพ่ือปูทางสู่
อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ท้ังโครงข่ายระบบคมนาคม และขนส่ง
โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการพัฒนา
อุตสาหกรรม และบริการอนาคต และ 3) " สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต " ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ
พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ท่ี
รองรับอนาคตบนพื้นฐานของการต่อยอดอดีต และปรับปัจจุบัน พรอ้ มทง้ั การส่งเสริม และสนับสนุนจากภาครัฐให้
ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้ และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้า และการลงทนุ ในเวทีโลก ควบคู่
ไปกับการยกระดับรายได้ และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มข้ึนของคนชั้นกลาง และลดความเหลื่อมล้ำของคนใน
ประเทศได้ ในคราวเดยี วกัน

13

ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญ
เพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ
สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้าน และมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคม และผู้อื่น
มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะ
ท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการ
เรียนรู้ และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด
ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอ่นื ๆ โดยมสี ัมมาชีพตามความถนดั ของตนเอง

ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญที่ให้
ความสำคัญต่อการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน
โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนเพ่ือส่วนรวม กระจายอำนาจ และความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหาร
ราชการแผ่นดนิ ในระดับท้องถิ่น การเสริมสรา้ งความเข้มแข็งของชมุ ชน การเตรยี มความพร้อมของประชากร ทงั้ ใน
มติ ิสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประซากรที่มีคุณภาพ พ่ึงพาแก่ครอบครัว ชุมชน และสังคม
ให้นานท่ีสุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการ และสวัสดิการที่มีคุณภาพตนเอง และทำประโยชน์ อย่างเป็น
ธรรมและท่วั ถึง

ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาที่
สำคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครฐั ที่ยึดหลัก " ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม " โดยภาครัฐ
ต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐท่ีทำหน้าท่ีในการกำกับหรือในการ
ให้บริการยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ปรับวัฒนธรรมการทำงานใหม้ ุ่งผลสมั ฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทนั สมัย
และพร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม
เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับ
มาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกัน
ปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิ
ชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าท่ีจำเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล
มปี ระสิทธภิ าพ และนำไปสู่การลดความเหลื่อมลำ้ และเอือ้ ตอ่ การพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมกี ารบริหารท่ีมี
ประสิทธภิ าพ เปน็ ธรรม ไม่เลอื กปฏบิ ัติ และการอำนวยความยตุ ธิ รรมตามหลกั นิติธรรม

14

2. แผนการปฏริ ูปประเทศด้านการศกึ ษา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2520 มาตรา 258 จ. ได้บัญญัติให้มีการดำเนินการปฏิรูป

ประเทศด้านการศึกษา ครอบคลุมให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา เพ่ือให้เด็กเล็กได้รับ
การพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ให้ดำเนินการ
ตรากฎหมายเพื่อจัดต้ังกองทุนเพ่ือลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา ให้มีกลไก และระบบการผลิต คัดกรอง
และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ เพื่อให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ ความสามารถ
อย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถ และประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ รวมท้ังมีกลไก
สร้างระบบคุณธรรมในการบรหิ ารงานบคุ คลของผู้ประกอบวิชาชีพครู ให้มีการปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้ทุกระดับ
เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบรรลุ
เป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติ และระดับพื้นที่ ทั้งน้ี บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ มาตรา
261 กำหนดให้การปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ด้านการศึกษา มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระคณะหนึ่ง
ท่ีคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ดำเนินการศึกษา และจัดทำข้อเสนอแนะ และร่างกฎหมายที่เก่ียวข้องในการดำเนินการ
ให้บรรลุเป้าหมาย เพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรีดำเนินการต่อไป นอกจากน้ี การปฏิรูปการศึกษายังเป็นส่วนหน่ึง
ของการปฏิรูปประเทศ เพื่อสนับสนุนการบรรลุตามยุทธศาสตร์ชาติท่ีกำหนดไว้ในด้านต่าง ๆ เน่ืองด้วยการศึกษา
เป็นพ้ืนฐานท่ีสำคัญของการพัฒนาประเทศ ดังน้ัน แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาจึงเป็นองค์ประกอบสำคัญ
ที่จะสนับสนุนการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ของประเทศ ด้านความเท่าเทียม และความเสมอภาคของสังคม และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ โดยวัตถุประสงค์ของการปฏริ ปู การศกึ ษา มดี ังน้ี

2.1 ยกระดบั คณุ ภาพของการจดั การศึกษา (enhance quality of education) ครอบคลมุ
2.1.1 ผลลัพธ์ทางการศึกษา และการเรียนรู้ (learning outcomes) ทั้งด้านความรู้ ทักษะ

เจตคติท่ีถูกต้อง และรู้จักดูแลสุขภาพ เพื่อการจัดการในเรือ่ งการดำรงชีวิตของตนเอง และการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น
ตามเจตนารมณข์ องรัฐธรรมนญู มาตรา 54 วรรค 4

2.1.2 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาท่ีต้องเป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ครูมีจิต
วญิ ญาณของความเปน็ ครู

2.1.3 หลกั สตู ร และกระบวนการจัดการศกึ ษา และการเรียนรู้ (educational core processes)
ที่ยืดหยุ่น หลากหลาย ถูกต้อง ทันสมัย ทันเวลา และมุ่งเน้นการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทาง
สงั คมทถี่ ูกต้อง

2.1.4 สถานศึกษาและระบบสนับสนุน (educational institutions and support systems)
ที่ตอบสนองต่อความต้องการของการจัดการศึกษา ตลอดจนทรัพยากรต้านการศึกษาที่มีคุณภาพ ได้แก่
งบประมาณและเทคโนโลยี

15

2.2 ลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา (reduce disparity in education) เป็นส่วนหนึ่งของการ
สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา (equity in education) ประกอบดว้ ย

2.2.1 โอกาสในการเขา้ ถงึ การศึกษา และเทคโนโลยีทีส่ นับสนนุ การเรียนรู้ (equity in access)
2.2.2 โอกาสในการได้รับทางเลือกในการศึกษา และการเรียนรู้พัฒนาที่เหมาะสมกับศักยภาพ
ของนกั เรยี น (equity in choosing appropriate process in education)
2.2.3 โอกาสในการได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ และการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ
ที่เหมาะสมกับศักยภาพตามความถนัดของนักเรียน (equity in benefiting from aptitude-based quality of
education) ทงั้ ใน และนอกระบบการศึกษา รวมถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพ
2.3 มุ่งความเป็นเลิศ และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (leverage
excellence and competitiveness) หมายถึง การสร้างสมรรถนะ และคุณลักษณะของนักเรียนที่มีศักยภาพสูง
มีความเป็นผู้นำ ริเริ่มสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ และการผลิตนักวิจัย และนักเทคโนโลยีช้ันแนวหน้าให้สามารถ
ต่อยอดงานวิจัยที่สามารถตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ การสร้างความร่วมมือ และเชื่อมต่อกับสถาบันวิจัยอ่ืน ๆ
ทั่วโลก สอดคล้องกับทิศทางการขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศ อีกท้ัง
สถาบนั การศกึ ษาของไทย และระบบการศึกษาไทยต้องไดร้ ับการยอมรบั วา่ เทยี บเคียงได้กบั ประเทศช้นั นำอน่ื ๆ
2.4 ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพ่ิมความคล่องตัวในการ
รองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษา และสร้างเสริมธรรมาภิบาล (improve efficiency, agility and
good governance) โดยเฉพาะการส่งเสริม และสร้างสมดุลของความคุ้มค่า ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ
คุณธรรม และจริยธรรม ท้ังน้ี ระบบการศึกษาของประเทศท่ีมีธรรมาภิบาลจะเอ้ือต่อการบรรลุวัตถุประสงค์
ข้อ 2.1 - 2.3 ขา้ งตน้ อยา่ งครอบคลมุ และสมดุล (balanced and inclusive achievement)
ท้ังนี้ การศึกษาท่ีจะได้รับการปฏิรูปตามวัตถุประสงค์ท่ีกล่าวถึงข้างตันน้ี จะครอบคลุมถึงการเรียนรู้
ตลอดชีวิต มิได้จำกัดเฉพาะการจัดการศึกษา เพื่อคุณวุฒิตามระดับเท่านั้น และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการ
ปฏริ ูปการศึกษาข้างตน้ จงึ ไดม้ กี ารกำหนดประเด็นการปฏิรูปไว้ 7 เร่ือง ดังนี้
เรื่องท่ี 1 การปฏิรูประบบการศึกษา และการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติ
การศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหม่ และกฎหมายลำดับรอง โดยมเี ปา้ หมายสำคัญ คือ
1) ประเทศไทยมีการบังคับใช้กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการศึกษาเป็นกลไกสำคัญต่อการบริหาร
และจัดการศึกษาทม่ี ีประสทิ ธิภาพอย่างเหมาะสม สอดคลอ้ งกับ (ร่าง) พ.ร.บ. การศกึ ษาแหง่ ชาติ
2) ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนมีความร่วมมือในการจัดการศึกษา
อยา่ งสมดลุ และภาคเอกชนมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษาในรปู แบบตา่ ง ๆ เพม่ิ ขึ้น

16

3) คนไทยทุกช่วงวัยสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิตได้ตามความต้องการ ผ่านการจัดการศึกษา เพ่ือการ
พัฒนาตนเอง และการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่านช่องทางต่าง ๆ ให้เป็นคนไทยท่ีมีศักยภาพ ทักษะ
และความเชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นตามความถนัด และสามารถเทียบมาตรฐานสมรรถะได้ตามกรอบคุณวุฒวิ ิชาชพี

4) การศึกษาไทยมีทิศทาง และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นเอกภาพ ตามแผนการ
ศกึ ษาแหง่ ชาติ เพ่ือใหส้ ามารถยกระดับคุณภาพ ลดความเหล่อื มล้ำ และสามารถแข่งขันได้

5) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งซาติ เป็นหน่วยงานท่ีมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลในระดับสูง เพือ่ การดำเนนิ การตามหน้าที่ และอำนาจที่กำหนดไว้ในร่างพระราชบัญญัติการศึกษา
แหง่ ชาติ

เรอื่ งที่ 2 การปฏริ ูปการพัฒนาเดก็ เลก็ และเด็กก่อนวัยเรยี น โดยมเี ปา้ หมายสำคญั คอื
1) เด็กปฐมวัย ทั้งเด็กกลุม่ ท่ัวไป และกลมุ่ ที่มีความตอ้ งการจำเป็นพิเศษ สามารถเขา้ ถงึ และได้รับ

การดูแล และการศึกษาระตับปฐมวัยอย่างเหมาะสม มีคุณภาพ ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน รวมถึงมีระบบ คัดเลือก
เด็กเข้าเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับช่วงวัย มีระบบฐานข้อมูลท่ีเอื้อ
ต่อการดูแลท่ีเช่ือมโยงกันได้ระหว่างหน่วยงาน และมีการพัฒนาบุคลากรที่เก่ียวข้อง มีกลไกขับเคลื่อน และ
บูรณาการการทำงานระหวา่ งกระทรวง และหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งให้เป็นเอกภาพ

2) พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องได้รับปรับเปลี่ยนกรอบคิด (Mindset) เก่ียวกับ
ความรู้ ความเขา้ ใจทถี่ ูกต้องในการเตรยี มความพร้อมก่อนการต้ังครรภ์ การเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

เรือ่ งท่ี 3 การปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมลำ้ ทางการศกึ ษา โดยมีเปา้ หมายสำคัญ คอื
1) เด็ก เยาวชน และประชาชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือด้อยโอกาส ทุกคนมีความเสมอภาค

ในโอกาส พัฒนาตนเองตามศักยภาพ และเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ รวมถึงเสริมสร้างการพัฒนาครู
และสถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพ และคุณภาพ ตลอดจนวิจัย และพัฒนาองคค์ วามรทู้ ่ีนำไปใช้ใดจ้ ริง เพอื่ ยกระดับ
ความสามารถของคนไทยได้อย่างยั่งยืน

2) บุคคลพิการ บุคคลทม่ี ีความสามารถพิเศษ และบุคคลที่มีความตอ้ งการการดูแลเปน็ พิเศษ ไดร้ ับ
การพัฒนาอยา่ งทว่ั ถึงเตม็ ศักยภาพ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข และมศี กั ดิ์ศรี

3) โรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ห่างไกล และโรงเรียนขนาดกลาง ที่ต้องการการยกระดับคุณภาพ
ของการจดั การศึกษาอย่างเรง่ ดว่ น ไดร้ บั การแกไ้ ขปญั หาอยา่ งเป็นระบบ

4) ครู บุคลากรทางการศึกษาได้รับเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เก้ือกูลอ่ืน
ทเ่ี หมาะสม โดยใหค้ ำนึงถงึ การปฏบิ ัติงานท่ีมีความยากลำบาก หรอื การปฏบิ ตั งิ านในพ้ืนท่ที เี่ สี่ยงภยั หรอื หา่ งไกล

5) ครู และนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ห่างไกล และโรงเรียนขนาดกลาง ท่ีต้องการ
การยกระดับคุณภาพของการจดั การศกึ ษาอยา่ งเร่งดว่ น สามารถเข้าถงึ การสนบั สนนุ ทางวชิ าการไดอ้ ย่างเพยี งพอ

17

เรื่องที่ 4 การปฏิรูปกลไก และระบบการผลติ คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชพี ครู และอาจารย์
โดยมเี ปา้ หมายสำคัญ คือ

1) มีแผนการผลิต และพัฒนาครูตามความต้องการของประเทศ (demand-side financing) โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม สนับสนุนทุนการศึกษา คัดเลือกสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพ
ในการผลิตครูเพือ่ ให้ผรู้ บั ทนุ เขา้ รับการศึกษา เพ่ือให้ไดค้ รูที่มสี มรรถนะตรงกบั ความต้องการของประเทศ

2) ได้ครูสมรรถะสูง และตรงตามความต้องการของประเทศ ท่ีจบการศึกษาจากสถาบันที่ใช้
หลักสูตรฐานสมรรถนะที่ทำให้นิสิต นักศึกษาครูมีความศรัทธาต่อวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณของความเป็นครู
มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับประสบการณ์ด้านวิชาชีพ ครู และการนิเทศที่มีประสิทธิภาพ
อย่างตอ่ เน่ืองตลอดหลักสูตร

3) ได้ครูอาชีวศึกษาท่ีมีจิตวิญญาณความเป็นครู มีสมรรถนะสูง มีความเชี่ยวชาญในการจัดการ
เรียนรู้ ทง้ั ภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ัติ

4) ครู บุคลากรทางการศึกษามีการพัฒนาความรู้ และทักษะ และสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่
ของตนอย่างต่อเนื่อง เพ่ือความก้าวหน้าทางวิชาชีพด้วยระบบ และวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม ในการพัฒนา
แต่ละกลุ่ม โดยคำนึงถึงการปฏิบัติงานในพ้ืนที่ห่างไกล เสี่ยงภัย ยากลำบาก และทุรกันดารให้ได้รับความสะดวก
ในการพฒั นา

5) ครู บุคลากรทางการศึกษามีความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ ได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสม
กับความสามารถ ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ และผลลัพธ์ในการพัฒนานักเรียน โดยคำนึงถึงผู้ปฏิบัติงาน
ในพน้ื ทหี่ า่ งไกล เส่ยี งภยั ยากลำบาก และทรุ กันดาร

6) ผู้บริหารสถานศึกษามีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ และจัด
หรือสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ สมรรถนะ และประสบการณ์ท่ีจำเป็นสำหรับการ
ปฏิบัติหน้าท่ี รวมไปถึงการพัฒนาผู้ท่ีมีโอกาสจะได้รับการคัดเลือก หรือสรรหาเป็นผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ท่ี
ไมผ่ า่ นการประเมนิ

7) ให้คุรสุ ภาเป็นองค์กรวิชาชีพครทู ่ีมีหนา้ ที่กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ควบคุมความประพฤติ และการดำเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง
และผดงุ เกียรติผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา

8) ให้ระบบงานในการบริหารครู และบุคลากรทางการศึกษาภาครัฐ เป็นระบบที่มีการดำเนินการ
เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล มีความคล่องตัว มีการกระจายอำนาจท่ีเหมาะสม เอ้ือต่อการบริหารสถานศึกษาที่มี
ความเปน็ อิสระ

18

เร่ืองที่ 5 การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 โดยมี
เปา้ หมายสำคัญ คอื

1) การจัดการศึกษาทุกระดับใช้หลักสูตรท่ีเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ และแนวทางการจัดการ
เรียนรเู้ ชงิ รุก และการวัดประเมินผลเพือ่ พัฒนานักเรียน

2) นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณธรรม และจริยธรรม เพ่ือเป็นคนดีของสังคม มีวินัย และภูมิใจ
ในชาติ

3) มีระบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติที่ได้รับการปรับปรุงให้สามารถประเมินคุณภาพ
การศึกษา เพื่อใช้ประโยชน์ในการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างมีสัมฤทธิผล และมีแนวทางในการ
คัดเลอื กนักเรยี นเข้าศึกษาตอ่ ด้วยวธิ ีการท่หี ลากหลาย เพือ่ ลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศึกษา

4) สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล โดยมีการ
ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ือง และได้รับการสนับสนุนที่เหมาะสมกับบริบท เพ่ือพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษาทุกระดับตามปรัชญา และเป้าหมายของสถานศึกษา และมีระบบความรับผิดชอบทางการศึกษา
(Educational Accountability) บนพื้นฐานสมรรถนะหลกั ของนักเรียน

5) สถานศึกษาระดับต่าง (มีระบบคุ้มครองด้านความปลอดภัย สุขภาพ และสวั สดิภาพ
อยา่ งเหมาะสม)

6) เพ่ิมจำนวนนักเรียนอาชีวศึกษาในสาขาที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชน
และประเทศ และผู้จบอาชวี ศึกษามีงานทำ

7) นักเรียนอาชีวศึกษามีความรู้ ทักษะ เก่งปฏิบัติ มีสมรรถนะเป็นท่ียอมรับ หรือผ่านการศึกษา
อาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี และการฝกึ งานในสถานประกอบการ

8) ผ้เู รียนทจี่ บการศกึ ษาอาชีวศึกษามีความสามารถท่จี ะเป็นผู้ประกอบการไดเ้ อง
9) บัณฑิตในระดับอุดมศึกษามีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เพ่ิมการ
ผลติ ในสาขาทปี่ ระเทศตอ้ งการ และลดการผลิตในสาขาทีไ่ มต่ รงความตอ้ งการ
10) สถาบันอุดมศึกษาของไทยสามารถตอบสนองความต้องการของประเทศได้ในอนาคต ทั้งใน
ด้านการพัฒนาคน การวิจัย และสร้างสรรค์นวัตกรรม ตลอดจนทำให้สถาบันอุดมศึกษาไทยสามารถปรับตัว
และแข่งขนั ไดใ้ นโลก หรือเป็นสถาบนั ทส่ี ามารถสนับสนนุ การพฒั นาชุมชน และสงั คมไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิผล
11) ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีศักยภาพ
ในการเรยี นระดับอดุ มศึกษาสามรถเข้าเรียนในสาขาท่ีตนถนดั ไต้อยา่ งเต็มศักยภาพ
12) เพิ่มประสิทธิภาพของการใช้งบประมาณของรัฐในการสนับสนุนการจัดการศึกษาในระดับ
อุดมศึกษาของประเทศ รวมถึงปรับปรุงธรรมาภิบาลในการจัดการระบบอุดมศึกษา และธรรมาภิบาลภายใน

19

สถาบันอุดมศึกษาให้การจัดการมีความรับผิดชอบ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วม
อยา่ งเหมาะสม

13) มีสถาบัน หลักสูตร และการเรียนรู้แห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการ
หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าตัวยวิธีการ งบประมาณ หรือกฎหมายอื่น เป็นหน่วยงานท่ีไม่แสวงหาผลกำไร
ทำหน้าท่ีเป็นองค์กรกลางในการพัฒนาหลักสูตร วิธีการจัดการเรียนรู้ การวัด และประเมินผลในระตับขั้นพื้นฐาน
รวมทง้ั การจัดทำ สง่ เสริม สนับสนุนการนำหลักสตู รไปใช้ และติดตามผล

เร่ืองที่ 6 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพ่ือบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุง
การจัดการเรียนรู้ และยกระดบั คณุ ภาพของการจัดการศึกษา โดยมเี ป้าหมายสำคัญ คอื

1) สถานศึกษาของรัฐมีความเป็นอิสระ และมีธรรมาภิบาลในการบริหาร และจัดการศึกษา
ครอบคลุม ด้านการบริหารวชิ าการ ตา้ นการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคลากร ด้านการบริหารงาน
ทว่ั ไป และมคี วามรับผิดชอบตอ่ คณุ ภาพของการจัดการศึกษา

2) ผู้เรียนในพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับ
อตั ลักษณข์ องชมุ ชน และพ้นื ท่ี

3) มีการเรียนรู้ และขยายผลของนวัตกรรมที่ได้จากพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา สู่การจัดการศึกษา
ในพน้ื ที่อ่ืน ๆ

4) กระทรวงศึกษาธิการมีโครงสร้างท่ีแบ่งแยกหน้าที่ และอำนาจ เพื่อรองรับรูปแบบใหม่ท่ีแยก
ความรับผิดชอบในด้านนโยบาย (Policy) ด้านกำกับดูแล ส่งเสริม (Regulator) ด้านการสนับสนุน (Supporter)
และด้านการดำเนินการ หรือการปฏิบัติการ (Operator) มุ่งเน้นการกระจายอำนาจ ธรรมาภิบาล รับผิดชอบ
ต่อการสนับสนุนสถานศกึ ษา และมีบทบาทหนา้ ที่ และอำนาจสอดคล้องกบั บทบัญญัติในกฎหมายว่าด้วยการศกึ ษา
แห่งชาติ

เร่ืองท่ี 7 การปฏิรูปการศึกษา และการเรียนรู้ โดยการพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล (Digitalization
for Educational and Learning Reform) โดยมเี ป้าหมายสำคญั คอื

1) เพื่อพัฒ นาระบบดิจิทัลแพลตฟอร์มการเรียนรู้แห่งชาติ (National Digital Learning
Platform) ในการปรับเปล่ียนระบบการศึกษา สร้างคุณภาพ ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างความสามารถในการ
แข่งขัน เพื่อให้ก้าวกระโดดทันกับพัฒนาการในโลก ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยมี
เป้าหมายจำเพาะ ดงั นี้

1.1) เพ่ือใช้ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ และจะมีการสร้างขึ้นต่อไป ทั้งใน
ประเทศ และต่างประเทศ ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง และทั่วถึง ทั้งเป็นท่ีรวบรวมข้อมูลสื่อการ
เรียนรู้เดมิ ทม่ี อี ย่แู ล้ว

20

1.2) เป็นกลไกในการวบรวม คัดกรอง พัฒนาสื่อการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพให้อยู่ในรูปแบบ
ท่ีสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง และท่ัวถึง ตลอดจนมีกลไกในการเข้าถึง และคัดเลือกส่ิงท่ีต้องการได้
โดยงา่ ย

1.3) เป็นเวทที ่ีมีการเข้ามาแลกเปลีย่ นเรยี นร้ใู นลักษณะชุมชน นำไปสูก่ ารเปิดโอกาสให้ทุกคน
เข้ามาเรียน ซึ่งจะลดความเหล่ือมล้ำ และนำแหล่งข้อมูล ส่ือการเรียนรู้ใหม่เข้ามาได้ และมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้
กนั ตลอดจนเปน็ เวทที ี่มีการให้บรกิ ารเพ่อื การเรียนรู้ (service) ตา่ ง ๆ

1.4) เพื่อเร่งรดั แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ และสร้างเสริมคุณภาพการศึกษาทั้งระบบการศึกษา
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสำหรับผู้ท่ีอยู่ในทอ้ งถิ่นห่างไกล หรือผู้ด้อยโอกาส หรือผู้ท่ีมีความจำเปน็ พเิ ศษ อันเป็นการสร้าง
พลังใหก้ บั นักเรยี น ครู และโรงเรียน

1.5) เพ่ือพัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถปรับบทบาทให้เป็น
ผอู้ ำนวยการเรียนรู้ (facilitator) โดยเนน้ ให้นกั เรียนมีวิธหี าความรู้ในโลกแหง่ ความรู้อันมากมายให้เท่าทันกับความ
เปล่ยี นแปลงของยุคดิจิทลั ในศตวรรษที่ 21

2) มีระบบข้อมูล และสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการระบบการศึกษา ครอบคลุมการจัดทำ
ขอ้ มูลรายบุคคลของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา สถานศึกษา หน่วยงาน และกระบวนการท่ีเกี่ยวข้อง
ในทุกระดับการศกึ ษา และทุกระบบการศึกษา

3) คนไทยมีความฉลาดรู้ มีความเข้าใจ สามารถตัดสินใจ และตอบสนองต่อการใช้ส่ือ และระบบ
ดิจิทัลได้อย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยการบรรลุผล การปฏิรูปการศึกษาตามแผนขา้ งต้น จะแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
(1) ระยะเร่งด่วน (2) ระยะสั้น หรือภายใน 3 ปี และ (3 ระยะกลาง-ระยะยาว หรือภายใน 10 ปี) ท้ังน้ีประเด็น
ปฏิรูปท่มี ลี ำดบั ความสำคญั สงู สุด และตอ้ งดำเนนิ การใหบ้ รรลผุ ลให้ไดใ้ นระยะเรง่ ด่วนมี 6 ประเดน็ ไดแ้ ก่

3.1) ยกเครือ่ งระบบการศึกษาโดยการบังคับใช้รา่ งพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติฉบับใหม่
รวมถึงกฎหมายสำคัญอ่ืน ซง่ึ จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการปฏิรปู การศึกษา ได้แก่ (ร่าง)พระราชบัญญัติการพัฒนา
เด็กปฐมวัย (ร่าง)พระราชบัญญัติพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา (ร่าง)พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา และการจัดต้ัง
สถาบันหลกั สตู ร และการเรียนร้แู ห่งชาติ

3.2) บุกเบิกนวัตกรรมของการจัดการศึกษาระดับโรงเรียน กลุ่มโรงเรียน หรือการจัดการ
ระดับพ้ืนที่ โดยให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของการยกระตับคุณภาพของการศึกษาผ่านการขับเคล่ือน
เร่ือง สถานศึกษาท่ีมีความเป็นอิสระในการบริหารจัดการ และระบบนิเวศที่สนับสนุนการดำเนินการ
ของสถานศกึ ษา

3.3) นำเสนอแนวทางการปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานไปสู่
หลักสูตรฐานสมรรถนะ และรูปแบบการปรับหลักสูตรในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 จัดตั้งสถาบันหลักสูตร

21

และการเรียนรู้แห่งชาติ เพื่อเป็นเสมือนศูนย์ความเป็นเลิศในการวิจัย พัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร การจัดการ
เรยี นรู้ และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้สำหรบั การจดั การศกึ ษาในระดบั ต่าง ๆ

3.4) สร้าง " ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพ่ือการเรียนรู้แห่งชาติ " ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล
นำความรู้ และวธิ ีการเรยี นรไู้ ปสโู่ รงเรยี น นกั เรียน และครูทั่วประเทศ โดยเฉพาะในท้องถิ่นหา่ งไกล

3.5) จัดระบบการผลิตครูให้มีคุณภาพ และสมรรถนะความเป็นครู ผ่านการจัดต้ังกองทุน
หรือแผนงาน เพื่อการผลิต และพัฒนาครูสำหรับครูรุ่นใหม่ และพัฒนาบัณฑิตครูที่มีอยู่ให้ตรงตามความจำเป็น
ของประเทศในระยะแรก เน้นครปู ฐมวยั และครปู ระถมศกึ ษา สำหรับท้องถิน่ ทีม่ คี วามขาดแคลน

3.6) ให้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติ ตามท่ีกำหนดไว้ในร่าง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ เพื่อเป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือนแผนการศึกษาแห่งชาติ และการ
ปฏริ ปู การศกึ ษาให้เรมิ่ ดำเนินการได้ และมีความต่อเนอื่ งในระยะยาว

3. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพิม่ เตมิ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เป็นกฎหมายสำคัญท่ีวางรากฐาน

การจัดการศึกษาของประเทศในภาพรวมเอาไว้ โดยมีหลักการ วิธีการ และแนวปฏิบัติต่าง ๆ อันนำไปสู่
กระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรม รวมทั้งมีการบัญญัติกระบวนการในการ
พัฒนา และยกระดับการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ ท่ีครอบคลุมการจัดการศึกษาของประเทศ ท้ังระบบในภาพรวม แต่ใน
สว่ นนจ้ี ะขอยกเพียงเฉพาะบางมาตราทเ่ี กีย่ วข้อง ดังน้ี

มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี
ความสขุ

มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าท่ี เสรีภาพ
ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษา
ผลประโยชน์ส่วนรวม และของประเทศชาติ รวมทงั้ ส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม
มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเร่ิมสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเอง
อยา่ งตอ่ เนื่อง

มาตรา 8 การจดั การศกึ ษาให้ยืดหลัก ดงั น้ี
1) เป็นการศึกษาตลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชน
2) ใหส้ งั คมมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา

22

3) การพฒั นาสาระ และกระบวนการเรียนร้ใู ห้เป็นไปอย่างตอ่ เนอ่ื ง
มาตรา 9 การจดั ระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจดั การศึกษา ใหย้ ดึ หลักดงั น้ี

1) มเี อกภาพดา้ นนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏบิ ตั ิ
2) มีการกระจ่ายอำนาจไปสเู่ ขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
3) มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระ ดับ
และประเภทการศกึ ษา
4) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนา
ครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอย่างต่อเนอื่ ง
5) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจดั การศึกษา
6) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กร
เอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอน่ื
มาตรา 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกันในการรบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน
ไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาสำหรับบุคคล
ซ่ึงมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสาร และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ
หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพ่ึงตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือต้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าว
มีสทิ ธแิ ละโอกาส ได้รบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเปน็ พเิ ศษ
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า นักเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสดุ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้นกั เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ
และเตม็ ตามศักยภาพ
มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรียนรู้ ใหส้ ถานศึกษา และหน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ งดำเนนิ การ ดังตอ่ ไปน้ี
1) จัดเน้ือหาสาระ และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของนักเรียน
โดยคำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้
เพือ่ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา
3) จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น
รกั การอา่ น และเกดิ การใฝ่รอู้ ย่างต่อเนื่อง
4) จัดการเรียนรู้โดยผสมผสานสาระ ความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝัง
คณุ ธรรม ค่านิยมทดี่ งี าม และคุณลักษณะอนั พึงประสงคไ์ วใ้ นทุกวิชา
5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนรู้ และอำนวย
ความสะดวก เพ่ือให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึง

23

ของกระบวนการเรยี นรู้ ท้งั นี้ ครูและนกั เรยี นอาจเรยี นรูไ้ ปพร้อมกันจากส่อื การเรยี นรู้ และแหล่งวิทยาการประเภท
ต่าง ๆ

6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา
ผปู้ กครอง และบุคคลในชมุ ชนทุกฝ่าย เพือ่ ร่วมกนั พัฒนานักเรยี นตามศกั ยภาพ

มาตรา 25 รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงาน และการจัดต้ังแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุกรูปแบบ ได้แก่
ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ศนู ย์การกฬี า นันทนาการ แหล่งข้อมลู และแหลง่ การเรียนรู้อ่ืนอยา่ งพอเพยี ง และมีประสทิ ธิภาพ

มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินนักเรียน โดยพิจารณาจากพัฒนาการของนักเรียน
ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนรู้
ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ และรูปแบบการศึกษา ให้สถานศึกษาใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการจัดสรร
โอกาสการเข้าศึกษาตอ่ และใหน้ ำผลการประเมินนกั เรียนตามวรรคหน่งึ มาใช้ประกอบการพจิ ารณาด้วย

มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ส่งเสริม
ความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีการจัดการศึกษา อบรม มีการ
แสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญา และวิทยาการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให้สอดคล้อง
กับสภาพปัญหา และความต้องการ รวมท้ังหาวิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปล่ียนประสบการณ์การพัฒนา
ระหว่างชมุ ชน

มาตรา 31 กระทรวงมีอำนาจหน้าทเ่ี ก่ียวกับการสง่ เสริม และกำกับดูแลการศกึ ษาทกุ ระดับ ทุกประเภท
และการอาชีวศึกษา แต่ไม่รวมถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่อยู่ในอำนาจ หน้าท่ีของกระทรวงอ่ืนที่มีกฎหมาย
กำหนดไว้เป็นการเฉพาะ กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากร เพื่อการศึกษา
สง่ เสริม และประสานงานการศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และการกีฬา ทัง้ นี้ ในสว่ นที่เกยี่ วกับการศึกษา รวมทง้ั การ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศกึ ษา และราชการอื่นตามท่ีมกี ฎหมายกำหนด ใหเ้ ป็นอำนาจ หน้าท่ี
ของกระทรวง หรอื ส่วนราชการทส่ี งั กัดกระทรวง

24

4. นโยบายของรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี)
รัฐบาลปัจจุบันภายใต้การนำของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อ

รัฐสภา เมื่อวันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 ในส่วนของนโยบายด้านการศึกษา มีเน้ือหาสาระตอนหนึ่งที่สำคัญในการ
ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกชว่ งวยั ดงั น้ี

4.1 ส่งเสรมิ การพัฒนาเด็กปฐมวัย
4.1.1 จัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องจนถึงเด็กวัยเรียนให้มีโอกาสพัฒนา

ตามศักยภาพ เพื่อสร้างคนไทยที่มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ ผ่านครอบครัวที่อบอุ่น ในทุกรูปแบบครอบครัว
เพื่อส่งต่อการพัฒนาเด็กไทยให้มีคุณภาพ สู่การพัฒนาในระยะถัดไป บนฐานการให้ความช่วยเหลือที่คำนึงถึง
ศกั ยภาพของครอบครัวและพ้ืนท่ี เตรยี มความพร้อมการเป็นพ่อแม่ ความร้เู รือ่ งโภชนาการ และสุขภาพ การอบรม
เล้ียงดู การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยผ่านการให้บริการสาธารณะท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะการยกระดับคุณภาพ
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทั่วประเทศให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษา และผู้ดูแลเด็ก
ปฐมวัยให้สามารถจัดการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ

4.1.2 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยคำนึงถึงพหุปัญญาที่หลากหลายของเด็กแต่ละคน
ให้ได้รับการส่งเสริม และพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ ผ่านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกับระบบ
โรงเรยี นปกตทิ ี่เป็นระบบ และมีทศิ ทางทช่ี ัดเจน

4.2 พัฒนาบัณฑติ พันธใ์ุ หม่
4.2.1 ปรับรูปแบบการเรียนรู้ และการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะ และอาชีพของคน

ทุกช่วงวัย สำหรับศตวรรษที่ 21 โดยปรับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาให้ทันสมัย มีการนำเทคโนโลยี และการ
เรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริงเข้ามามีส่วนในการจัดการเรียนรู้ และปรับระบบตึงดูต การคัดเลือก การผลิต
และพัฒนาครูท่ีนำไปสู่การมีครูสมรรถนะสูง เป็นครูยุคใหม่ท่ีสามารถออกแบบ และจัดระบบ การสร้างความรู้
สร้างวินัย กระตุ้น และสร้างแรงบันตาลใจ เปิดโลกทัศน์มุมมองของเด็กและครู ด้วยการจัดการเรียนรู้ในเชิง
แสดงความคดิ เหน็ ให้มากขึ้น ควบคกู่ บั หลกั การทางวิชาการ

4.2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน เพื่อพัฒนาสมรรถนะของนักเรียน ทั้งใน
ส่วนฐานความรู้ และระบบความคิดในลักษณะสหวิทยาการ และตรงกับความต้องการของประเทศในอนาคต
จะเป็นนกั เรียนท่สี ามารถปฏิบัตไิ ด้จรงิ และสามารถกำกับการเรียนรู้ของตนเองได้ รวมถงึ มีทักษะดา้ นภาษาองั กฤษ
และภาษาท่ีสาม ท่ีสามารถสื่อสาร และแสวงหาความรู้ได้ มีความพร้อม ท้ังทักษะความรู้ ทักษะอาชีพ และทักษะ
ชีวิตกอ่ นเข้าสตู่ ลาดแรงงาน

4.3 พัฒนาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวิชาชีพ และพัฒนาแรงงานรองรับอุตสาหกรรม 4.0 โดยการ
จัดระบบ และกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่ชัดเจน เป็นระบบในการพัฒนากำลังคน
ที่มีทักษะข้ันสูง ให้สามารถนำความรู้ และทักษะมาใช้ในการแก้ไขปัญหา รวมถึงการสร้าง และพัฒนานวัตกรรม

25

ซ่ึงต้องครอบคลุมการพัฒนากำลังคนท่ีอยู่ในอุตสาหกรรมแล้ว กำลังคนที่กำลังจะเข้าสู่อุตสาหกรรม
และเตรียมการสำหรับผลิตกำลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เพือ่ รองรบั อุตสาหกรรม และเทคโนโลยใี นอนาคต รวมทั้ง
เร่งรัด และขยายผลระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การยกระดับฝีมือแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพ
และอุตสาหกรรมที่ใชแ้ รงงานเขม้ ขน้

4.4 ดึงดดู คนเกง่ จากทว่ั โลกเขา้ มารว่ มทำงานกับคนไทย และส่งเสริมผูม้ ีความสามารถสงู สนบั สนุน
ให้ธรุ กิจชน้ั นำในประเทศ ดึงดูดบุคคลที่มคี วามสามารถระดับสูงจากทั่วโลกโดยเฉพาะคนไทย เพื่อกลับมาเป็นผู้นำ
การเปล่ียนแปลง และถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ ความเช่ียวชาญให้แก่บุคลากรในองค์กร ซ่ึงจะช่วยกระตุ้น
ให้เกิดการสร้างธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้ประเทศ โดยระยะแรกให้ความสำคัญกับการดึงดูด
นักวิจัย ผู้เช่ียวชาญจากต่างประเทศมาร่วมวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีช้ันแนวหน้าในสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมาย
รวมท้ังมีพ้ืนที่ให้กลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษท่ีมีศักยภาพสูงได้ทำงานร่วมกัน หรือรว่ มกับเครือข่ายอื่น ๆ เพ่ือสร้าง
องคค์ วามรู้ และนวตั กรรมใหม่ ๆ ใหป้ ระเทศ

4.5 วจิ ัยและพฒั นานวตั กรรมทต่ี อบโจทย์การพฒั นาประเทศ
4.5.1 ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนานวัตกรรม เพื่อขจัดความเหล่ือมล้ำ และความยากจน

ยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมเชงิ สงั คม และนวัตกรรมในเชิงพ้ืนท่ีทีส่ ามารถ
ช่วยแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำสร้างโอกาสสำหรับผู้ด้อยโอกาส และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย ควบคู่ไปกับการ
พัฒนาทุนมนุษย์ให้พร้อมสำหรับโลกยุคดิจิทัล และอุตสาหกรรม 4.0 ตามความเหมาะสม ได้อย่างเป็นรูปธรรม
โดยระยะแรกจะให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาต้านสุขภาพของประชาชนอย่างครบวงจร
ทงั้ ระบบยา วัคซีน เวชภัณฑ์ และเทคโนโลยีท่ีทนั สมัย

4.5.2 ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีข้ันสูง
เพ่ือสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ตอบสนองต่อความเปล่ียนแปลง และสร้างความเป็นเลิศของประเทศ
ในอนาคต โดยมุ่งเน้นการวิจัย และพัฒนานวัตกรรมเพ่ือนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์เชิงธุรกิจ กำหนดวาระการวิจัย
แห่งชาติ ส่งเสริมความร่วมมือ และการเป็นหุ้นส่วนของทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ชุมชน และภาคเอกชน
ในทุกสาขาการผลิต และบริการ สร้างสภาพแวดล้อม และองค์ประกอบของระบบวิจัย และการพัฒนานวัตกรรม
ใหเ้ ขม้ แขง็ รวมท้งั บูรณาการการวิจัย และพฒั นานวตั กรรมกับการนำไปใชป้ ระโยชน์ในเชิงพาณิชย์

4.5.3 สร้างเครือข่ายการทำวิจัยระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ปฏิรูป และบูรณาการระบบ
การจัดการเรียนรู้กับระบบงานวิจัย และพัฒนาให้เอ้ือต่อการเพ่ิมศักยภาพต้านนวัตกรรมของประเทศ
เพ่ือสนับสนุน การสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจไทยทุกระดับในเวทีการค้าโลก ส่งเสริมกระบวนการการทำงาน
ของภาครัฐ และภาคเอกชนในการวิจัย และพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี นวัตกรรมให้เป็นระบบเปิด และมี
การบูรณาการณก์ ารทำงานกนั อยา่ งมีประสิทธภิ าพ รวมท้ังเช่อื มโยงระบบการศึกษากบั ภาคปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจ

26

โดยเฉพาะอย่างย่ิงการสร้างนักวิจัยมืออาชีพ และนวัตกรรมที่สามารถสร้างมูลค่าเพ่ิม และยกระดับงานวิจัยสู่การ
เพม่ิ ศกั ยภาพ ด้านเทคโนโลยี และนวตั กรรมของประเทศ

4.5.6 ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะทุกช่วงวยั
4.5.6.1 มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพิ่มประสิทธิภาพระบบ

บริห ารจัดการศึกษ าใน ทุ กระดับบ นพื้ นฐานการสนั บสนุ นที่ คำนึ งถึงความจำเป็น และศักยภ าพ
ของสถาบันการศึกษาแต่ละแห่ง พร้อมทั้งจัดให้มีมาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียนในทุกระดับ และสร้างระบบวัดผล
โรงเรียน และครูที่สะท้อนความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ท่ีเกิดกับนักเรียน คืนครูให้นักเรียนโดยลดภาระงานท่ีไม่
จำเป็น รวมถึงจัดให้มีระบบฐานข้อมูล เพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์โดยการเชอื่ มโยง หรือส่งตอ่ ขอ้ มลู ครอบครัว
และนักเรียนระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ต้ังแต่แรกเกิดจนถึงการพัฒนาตลอดช่วงชีวิต ตลอดจนพัฒนาช่องทาง
ใหภ้ าคเอกชนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา และการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ

4.5.6.2 พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมท้ังส่งเสริมให้มีการ
นำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสร้างสรรค์ที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบเปิดที่หลากหลาย
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ และเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนาแหล่งเรียนรู้
และอุทยานการเรียนรู้สำหรับเยาวชนท่ีเช่ือมโยงเทคโนโลยีกับวิถีชีวิต และส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม
สำหรับผู้ทเ่ี ข้าสู่สังคมสงู วัย

4.5.6.3 ลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา โดยบูรณาการการดำเนินงาน ระหว่าง
หน่วยจัดการศึกษากับกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา มุ่งเน้นกลุ่มเด็กด้อยโอกาส และกลุ่มเด็ก
นอกระบบการศึกษา ปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับความจำเป็นของนักเรียน และลักษณะ
พืน้ ที่ของสถานศกึ ษา จดั ระบบโรงเรียนพี่เลี้ยง จับค่รู ะหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีคุณภาพการศึกษาดกี ับโรงเรียน
ขนาดเล็ก เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมให้ภาคเอกชน ชุมชน ในพ้ืนที่เข้ามามีส่วนร่วมในการ
ออกแบบการศึกษาในพื้นที่ สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถแต่ไม่มีทุนทรัพย์เป็นกรณีพิเศษ ตลอดจนแก้ไขปัญหา
หนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหน้ีกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา และทบทวนรูปแบบการให้กู้ยืม
เพื่อการศกึ ษาทีเ่ หมาะสม

4.5.6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยกำหนดระบบที่เอ้ือต่อการพัฒนาทักษะ
และเพิ่มประสิทธิภาพของทุกช่วงวัย อาทิการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ให้เช่ือมโยงกับระบบคุณวุฒิ
วิชาชีพโดยมีกลไกการวดั และประเมนิ ผล เพอื่ เทยี บโอนความรู้ และประสบการณห์ นว่ ยการเรยี นท่ชี ัดเจน ส่งเสริม
เยาวชนที่มีศักยภาพต้านกีฬาให้สามารถพัฒนาไปสู่นักกีฬาอาชีพ การกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน การจัดให้มี
ระบบท่ีสามารถรองรับความต้องการพัฒนาปรับปรุงทักษะอาชีพของทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนสายอาชีพ
ใหต้ รงกบั ความต้องการของตลาดแรงงานที่อาจจะเปลี่ยนไปตามแนวโนม้ ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีในอนาคต

27

4.5.6.5 ส่งเสริมหลักคิดที่ถูกต้อง โดยสอดแทรกการปลูกฝังวินัย และอุดมการณ์
ที่ถูกต้องของคนในชาติ หลักคิดท่ีถูกต้อง ต้านคุณธรรม จริยธรรม การมีจิตสาธารณะ การเคารพกฎหมาย และ
กติกาของสังคมเข้าไปในทุกสาระวิชา และในทุกกิจกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกลไกสร้างความเข้มแข็ง
ของสถาบันครอบครัวในทุกมิติอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ปรับสภาพแวดล้อมท้ังภายใน และภายนอก
สถานศึกษาให้เอ้ือต่อการมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมทั้งลงโทษผู้ละเมิดบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม
ตลอดจนส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการขบั เคลื่อนประเทศ

4.5.6.6 จัดทำระบบปริญ ญ าชุมชน และการจัดอบรมหลักสูตรระยะส้ัน
เน้นออกแบบหลักสูตรระยะส้ันตามความสนใจ พัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน และทักษะ
อาชีพของคนทุกช่วงวัยในพื้นที่ และชุมชนเป็นหลัก พร้อมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนา เป็นรูปแบบธนาคาร
หน่วยกิต ซ่ึงเป็นการเรียนเก็บหน่วยกิตของวิชาเรียน เพ่ือให้นักเรียนสามารถเรียนข้ามสาขาวิชา และข้าม
สถาบันการศึกษา หรือทำงานไปพร้อมกัน หรือเลือกเรียนเฉพาะหลักสูตรท่ีสนใจ เพ่ือสร้างโอกาสของคนไทยทุก
ชว่ งวัย และทุกระดับใหส้ ามารถพัฒนาตนเองท้ังในด้านการศึกษา และการดำรงชีวิต

5. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (นางสาวตรนี ชุ เทยี นทอง)
ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนุช เทียนทอง) ได้มอบนโยบาย และ

ยุทธศาสตร์ในการปฏิบัติงานให้กับผู้บริหารระดับสูง บุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานในกํากับ
เม่อื วนั ท่ี 29 มีนาคม 2564 เวลา 09.09 น. ณ ห้องประชมุ ราชวัลลภ ช้นั 2 อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธกิ าร
เพ่ือเป็นแนวทางในการขับเคล่ือนการจัดการศึกษาให้เกิดความเชื่อมั่น และสร้างความมั่นใจให้กับสังคม โดยมอบ
หลักการทํางาน นโยบายหลกั และนโยบายเรง่ ดว่ น ดังตอ่ ไปนี้

1. หลักการทํางาน “สร้างความเชื่อมั่น และความไว้วางใจให้กับสังคม” หรือ “TRUST” ภายใต้
หลกั การ ดงั น้ี

T (Transparency) หมายถึง ความโปร่งใส ทั้งในเชิงกระบวนการทํางานและกระบวนการ
ตรวจสอบจากภาคสว่ นตา่ ง ๆ

R (Responsibility) หมายถึง ความรับผิดชอบ สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดําเนินการ
ตามภารกิจของตนด้วยความรับผิดชอบต่อตัวเอง องค์กร
ประชาชน และประเทศชาติ

U (Unity) หมายถงึ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียว ระหว่างครู บุคลากรทางการศึกษา
ผู้ปกครอง ผู้เรียน และประชาชน

S (Student-Centricity) หมายถึง ผู้เรียนเป็นเป้าหมายแห่งการพัฒนา โดยการทําให้
ผู้เรียน มีวิธีคิดและทักษะที่เป็นสากลสอดคล้องกับพลวัตใน

28

ศตวรรษท่ี ๒๑ ควบคู่ไปกับสํานึกและความเข้าใจ ในความ
เป็นไทย
T (Technology) หมายถึง ความพร้อมด้านเทคโนโลยี ท้ังในเชิงโครงสร้า ง
(Infrastructure) ได้แก่ ส่ิงจําเป็นและส่ิงอํานวยความ
สะดวกด้านการศึกษา เพื่อลดความเหลื่อมล้ําของโอกาสใน
การศึก ษ า แ ละใน เชิ งก ารเรียน รู้ (Learning) ได้ แก่
แหล่งข้อมูล แหล่งเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ ท่ีทันสมัยช่วยให้
ผู้เรียนทุกคน ถึงพร้อมซ่ึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุก
ประการ

2. นโยบายการจัดการศกึ ษาทัง้ 12 ข้อ ดงั น้ี
ขอ้ 1 การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรู้ให้ทันสมัย และทนั การเปลย่ี นแปลง ของโลก

ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับบริบท
สังคมไทย

ข้อ 2 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ ท้ังด้านการ
จัดการเรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทลั สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใชส้ ื่อทนั สมัย และมีความรับผิดชอบ
ต่อผลลพั ธท์ างการศกึ ษาทเี่ กิดกบั ผู้เรยี น

ข้อ 3 การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP)
และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจําวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้
ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ ท่ีสามารถนําไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัย และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่าง
กว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนําฐานข้อมลู กลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประสิทธิภาพ
การบรหิ ารและการจัดการศึกษา

ข้อ 4 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน
สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา โดยใช้จังหวัด
เป็นฐาน โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการปรับปรุง เพื่อกําหนดให้มีระบบบริหารและ
การจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มี
ความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จงั หวัดเป็นฐาน มีระบบการบริหารงานบุคคล
โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

29

ข้อ 5 การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบ วัดความรู้
และทักษะที่จําเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาท้ังสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบการประเมินผล
การศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย ตอบสนองผลลัพธ์
ทางการศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม

ข้อ 6 การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากร
ทางการศึกษาจากความรว่ มมือทุกภาคส่วน เพ่ือให้การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม และสร้าง
โอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอ่ืน ๆ กระจายทรัพยากรท้ังบุคลากรทาง
การศึกษา งบประมาณ และส่ือเทคโนโลยไี ดอ้ ย่างทั่วถงึ

ข้อ 7 การนํากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฏิบัติ
เป็นการผลิตและการพัฒนากําลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศโดยใช้กรอบคณุ วฒุ ิแห่งชาติ เชือ่ มโยงระบบการศึกษา
และการอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิต และการจัดทํามาตรฐานอาชีพใน
สาขาทสี่ ามารถอา้ งองิ อาเซียนได้

ข้อ 8 การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพ่ือพัฒนา ร่างกาย
จติ ใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพ่ือเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการการพัฒนา เด็กปฐมวัย
ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.๒๕๖๒ สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนําไป
เป็นกรอบในการจดั ทาํ แผนปฏิบัติการเพื่อพฒั นาเด็กปฐมวัย และมีการติดตามความก้าวหนา้ เปน็ ระยะ

ข้อ 9 การศึกษาเพ่ืออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพ่ือให้ผู้จบ
การศึกษาระดับปริญญาและอาชีวศึกษามีอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสมกับการดํารงชีพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีส่วน
ชว่ ยเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวทโี ลกได้

ข้อ 10 การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทย ด้วยการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยที ่ีทันสมยั มาใช้ในการ
จดั การศึกษาทกุ ระดบั การศึกษา เพ่ือให้สถาบันการศึกษาทกุ แห่งนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีทท่ี ันสมัยมาใช้ในการ
จัดการศึกษาผ่านระบบดจิ ทิ ลั

ขอ้ 11 การเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ทางการศึกษา และ
ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจําเป็นพิเศษ เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคณุ ภาพของกลมุ่ ผู้ดอ้ ยโอกาสทาง
การศึกษา และผูเ้ รยี นทีม่ ีความต้องการจาํ เป็นพเิ ศษ

ขอ้ 12 การจัดการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั โดยยึดหลักการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตและ
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพือ่ เพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง
การศึกษาและผเู้ รียนทมี่ ีความตอ้ งการจาํ เป็นพิเศษ

เนือ่ งด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในปัจจุบัน ได้
ก่อให้เกิดความนิยมในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ (Online) มากยิ่งข้ึน ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญ ต่อ

30

การเตรียมผู้เรียน ไท ยให้ มี ทั กษ ะที่ จําเป็ น ใน ศตวรรษ ท่ี ๒ ๑ ซ่ึงมุ่งเน้ น ความเป็ น ผู้ป ระกอบ การ
(Entrepreneurship) และความสามารถในการปรบั ตัวเขา้ กับสถานการณ์ตา่ ง ๆ (Resilience) รวมถึงปัญหาความ
ปลอดภยั ของสถานศึกษา และปัญหาความเหลื่อมล้ำของโอกาสในการศึกษา ทน่ี ับวันจะทวคี วามรนุ แรงมากยิง่ ขึ้น

3. นโยบายระยะเร่งด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1) ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล ช่วยเหลือ

นักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครอง ความปลอดภัยทั้ง
ด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเอง จากภัยอันตรายต่าง ๆ
ทา่ มกลางสภาพแวดล้อมทางสงั คม

2) หลักสตู รฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายโดยยดึ ความสามารถของผู้เรียนเป็น
หลกั และพัฒนาผู้เรยี นให้เกิดสมรรถนะทีต่ ้องการ

3) ฐานข้อมูล Big Data พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพื่อให้ได้ข้อมูล
ภาพรวมการศึกษาของประเทศท่ีมีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้
อย่างแท้จรงิ

4) ขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการดําเนินงาน
ของศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) ตามความเป็นเลศิ ของแต่ละสถานศึกษา และตาม
บริบทของพ้ืนท่ี สอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจัดการเรียนการ
สอนดว้ ยเครอื่ งมือท่ที นั สมัย สอดคล้องกบั เทคโนโลยปี ัจจุบนั

5) พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจดั การศึกษา ท่ีเน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต สรา้ งอาชีพและรายไดท้ เ่ี หมาะสม และเพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

6) การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสําหรับประชาชนทุกช่วงวัย ให้มีคุณภาพและ
มาตรฐาน ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสม และเต็มตาม
ศักยภาพต้งั แต่วัยเดก็ จนถึงวัยชรา และพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมเพ่อื เตรยี มความพรอ้ มในการเขา้ ส่สู ังคมผสู้ ูงวยั

7) การจัดการศึกษาสําหรับผู้ท่ีมีความต้องการจําเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษา ให้ผู้ที่มีความ
ตอ้ งการจําเป็นพเิ ศษไดร้ ับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ สามารถดํารงชีวิตในสังคมอย่างมเี กียรติ ศักด์ิศรี เทา่ เทียม
กบั ผู้อ่ืนในสงั คม สามารถชว่ ยเหลอื ตนเอง และมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาประเทศ

31

6. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

ในการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19)
โรงเรียนหลายแห่งไม่สามารถจัดการเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ จงึ อาจนำรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล
(Distance Learning) มาผสมผสาน หรือใช้ในการจัดการเรียนการสอนแทนทวี่ ธิ กี ารแบบปกติ เพ่ือใหเ้ กดิ ความ
เขา้ ใจท่ีถกู ต้องตรงกัน จึงกำหนดขอบขา่ ยความหมายของรูปแบบการเรียนการสอนในลักษณะนยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
ดงั นี้

รปู แบบที่ 1 On-site : การจัดการเรียนการสอนแบบปกติทีโ่ รงเรยี น หมายถงึ การจดั การเรยี นการสอน
แบบปกติทีโ่ รงเรียน โดยโรงเรยี นต้องปฏิบตั ิตามมาตรการท่ีศนู ยบ์ ริหารสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช่ือไวรัส
โคโรนา 2019 (ศบค.) หรอื ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด อย่างเคร่งครัด และมเี งื่อนไขขอ้ ใดข้อหนึ่ง ดงั นี้

1) นกั เรยี นท่ไี ม่มีอุปกรณ์สำหรับการเรยี นการสอนทางไกล หรือ มีอุปกรณส์ ำหรับการเรียนการอสร
ทางไกลไม่เพียงพอ เช่น ครอบครัวมบี ตุ ร 2 คน แตม่ โี ทรทัศน์ 1 เคร่ือง เปน็ ตน้

2) นักเรยี นทีไ่ ม่มีผปู้ กครองดแู ลในขณะเรยี นทางไกลอยู่ที่บา้ น ซึ่งอาจส่งผลต่อความปลอดภัยของ
นกั เรยี น

3) นกั เรียนท่ไี มม่ ีอุปกรณ์สำหรับการเรียนการสอนทางไกล ตามข้อ 1) และไม่มีผ้ปู กครองดูแล ตามขอ้
2)

4) โรงเรียนอยู่ในพ้นื ท่ีทไ่ี มม่ ีการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
5) โรงเรยี นขนาดเลก็ หรอื โรงเรียนขนาดกลาง ท่สี ามารถจดั การเรียนการสอนตามมาตรการเว้น

ระยะห่างทางสงั คม (Soclal Distancing) ท่ีศูนย์บรหิ ารสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั
โคโรนา 2019 (ศบค.) หรือกระทรวงสาธารณสุขหรือศูนย์บริหารสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติด
เชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 จังหวดั กำหนดอย่างเครง่ ครดั
ซ่ึงในการจัดการเรียนการสอนแบบ On-site น้นั สามารถดำเนนิ การได้ ดังน้ี
- แบบที่ 1 มาเรยี นทกุ ระดับช้ัน หมายถงึ โรงเรยี นขนาดเล็ก หรือโรงเรยี นขนาดกลางที่สามารถให้

นกั เรียนมาโรงเรียนได้ตามปกติ ตามเงือ่ นไขในข้อ 5) และรวมถึงโรงเรยี นขนาดอนื่ ทีต่ ้งั อยใู่ น
พน้ื ท่ีที่ไมม่ ีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
- แบบท่ี 2 แบ่ง 2 กลมุ่ สลับเวลามาเรียน รอบเช้า-รอบบา่ ย หมายถงึ โรงเรียนที่จดั การเรียนการ
สอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ท้งั รปู แบบ On-site และในรปู แบบการเรียนการสอน
ทางไกล (Distance Learning) อื่นๆ โดยแบ่งกลมุ่ นักเรยี นออกเป็น 2 กลุม่ ในระดบั ช้ันเรียน
หรอื รายหอ้ งเรยี นตามดุลยพินจิ ของโรงเรียนแตต่ ้องเปน็ ไปตามมาตรการทกี่ ำหนด โดยสลับเวลา

32

มาเรียนในรอบเชา้ และรอบบ่าย เช่น ถ้ามีนักเรยี นต่อหอ้ ง จำนวน 30 คน ใหม้ าเรียนในรอบเชา้
15 คน รอบบ่าย 15 คน สำหรับนักเรยี นที่รอรอบเช้าเรียนหรอื หลงั จากเข้าเรยี นในชนั้ เรียนแล้ว
โรงเรียนอาจจดั การเรียนการสอนทางไกลเสริมในรปู แบบใดรปู แบบหนึง่ ตามความเหมาะสม
- แบบท่ี 3 แบ่ง 2 กล่มุ สลับวนั มาเรียน วนั เวน้ วัน หมายถงึ โรงเรยี นทจ่ี ัดการเรยี นการสอนแบบ
ผสมผสาน (Blended Learning) ท้ังรูปแบบ On-site และในรูปแบบการเรยี นการสอนทางไกล
(Distance Learning) อ่ืนๆ โดยแบง่ นักเรียนในแต่ละห้องเรียน ออกเป็น 2 กลมุ่ สลับเวลามา
เรยี น วันเวน้ วัน แลว้ มาเรยี นทุกชั้นเรยี นสลับกนั ไป หรือแบ่งนกั เรียนออกเป็น 2 กล่มุ ตามช่วงชนั้
แล้วใหเ้ รียนสลบั กันไป เช่น ชั้นอนบุ าล-ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มาเรยี นวันจันทร์ ช้นั
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 มาเรียนวนั อังคาร เปน็ ต้น สำหรับนักเรียนท่อี ยู่ทบี่ ้าน ใหโ้ รงเรียนจดั การ
เรยี นการสอนทางไกลเสรมิ ในรูปแบบใดรปู แบบหนึ่งตามความเหมาะสม
- แบบที่ 4 แบ่ง 3 กลมุ่ สลบั วนั มาเรียน 1 วนั เวน้ 2 วนั หมายถึง โรงเรยี นทจี่ ดั การเรยี นการสอน
แบบผสมผสาน (Blended Learning) ท้ังรปู แบบ On-site และในรูปแบบการเรียนการสอน
ทางไกล (Distance Learning) อน่ื ๆ โดยแบ่งนักเรยี นออกเปน็ 3 กลมุ่ สลบั เวลามาเรียน วนั เวน้
2 วัน แลว้ ให้มาเรยี นทกุ ช้นั เรียนสลับกันไป หรือแบ่งนกั เรียนออกเปน็ 3 กลุ่มตามชว่ งช้ัน แลว้ ให้
มาเรยี งสลบั กนั ไป เชน่ ชนั้ มะยมศกึ ษาปที ี่ 1-2 มาเรยี นวนั จันทร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3-4 มา
เรียนวันอังคาร ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5-6 มาเรยี นวนั พธุ เป็นต้น สำหรบั นักเรียนที่อยู่ที่บ้าน ให้
โรงเรียนจดั การเรยี นการสอนทางไกลเสรมิ ในรปู แบบใดรูปแบบหน่งึ ตามความเหมาะสม
- แบบท่ี 5 รูปแบบอ่ืน หมายถึง โรงเรยี นท่ีจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน(Blended
Learning) ทั้งรปู แบบ On-site และในรูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning)
อืน่ ๆ โดยนอกเหนือจากทก่ี ลา่ วมาทั้ง 4 รูปแบบ โดยทัง้ น้ีจะตอ้ งคำนึงถงึ ความปลอดของนกั เรียน
และครูเปน็ สำคัญ ในแตล่ ะรอบหรือแต่ละวนั นักเรียนที่มาเรยี นต้องมจี ำนวนทีน่ ั่งในห้องเรียนแต่
ละห้องจะต้องเป็นไปตามมาตรการทก่ี ำหนดในกรณนี ักเรยี นบางห้อง เมื่อแบ่งกลมุ่ แล้วมีจำนวน
นักเรียนเกินมาตรการท่ีกำหนด ใหเ้ ลือกห้องเรยี นที่มขี นาดใหญ่ข้ึน เช่น หอ้ งประชมุ ห้อง
อเนกประสงค์ ไดต้ ามความเหมาะสม เปน็ ต้น
รปู แบบท่ี 2 On-air : การจัดการเรียนการสอนผา่ นระบบโทรทศั น์ หมายถงึ การจดั การเรยี น
การสอนผ่านระบบโทรทัศน์ ใชส้ ัญญาณดาวเทียม KU-Band (จานทบึ ) ระบบเคเบล้ิ ทีวี (Cable TV) ระบบ
Application TV และระบบ IPTV ซึ่งเปน็ ช่องทางในการเผยแพร่การเรียนรู้ DLTV ของมูลนธิ กิ ารศกึ ษา
ทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ในระดบั อนุบาลถงึ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

33

รูปแบบท่ี 3 On-demand : การจัดการเรียนการสอนผา่ นสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ หมายถึง การ
จัดการเรยี นการสอนสำหรับนกั เรยี นทสี่ ามารถเรยี นรู้ผ่านเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th), Youtube
(DLTV 1 Channel – DLTV 12 Channels), Application DLTV, DLIT (www.dlit.ac.th), ติวฟรี.com,
Application DLIT, OBEC Content Center ) บนเวบ็ ไซต/์ Smart Phone/Tablet หรือระบบที่โรงเรยี นจัด
ขน้ึ

รปู แบบที่ 4 Online : การจัดการเรียนการสอนแบบถ่ายทอดสด หมายถงึ การจัดกรเรียนการ
สอนผ่านเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต ในลักษณะการสื่อสารสองทาง ซง่ึ เป็นการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้แู บบ
ถา่ ยทอดสด (LIVE) ระหวา่ งครแู ละนักเรียน ทัง้ น้ี นักเรียนจะต้องมีความพร้อมด้านอปุ กรณ์และเครอื ข่าย
อนิ เทอรเ์ น็ต โดยใชเ้ คร่ืองมือต่างๆ เชน่ Goodle Meet, Microsoft Teams,Zoom Meeting, AcuLeaarn,
WebEx, Braincloud, Vroom, Line, Facebook เป็นต้น

รูปแบบที่ 5 On-hand : การจัดการเรยี นการสอนดว้ ยการนำส่งเอกสารทบ่ี า้ น หมายถงึ การ
จัดการเรียนการสอนสำหรับนกั เรยี นท่ีไมม่ ีความพร้อมดา้ นอุปกรณ์สำหรบั การเรียนการสอนทางไกลในรปู แบบ
อน่ื โดยการนำหนงั สือเรยี น แบบฝกึ หัด ใบงาน และส่ือการเรียนรู้อ่นื ๆ ไปใหน้ ักเรียนได้เรยี นรทู้ ่บี า้ น ภายใต้
ความดแู ลช่วยเหลอื ของผูป้ กครองในขณะท่ีเรยี นรู้

7. สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 เป็นหน่วยงานทางการศึกษาท่ีอยู่ภายใต้

การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน
การจัดการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน โรงเรยี นในสังกดั จำนวน 208 แหง่ เขตพืน้ ทรี่ บั ผิดชอบ 6 อำเภอ

7.1 อำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
7.1.1 จัดทำนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ให้สอดคล้อง

กบั นโยบาย มาตรฐานการศกึ ษาแผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และความต้องการของทอ้ งถ่นิ
7.1.2 วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขต

พื้นท่ีการศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณท่ีได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมท้ังกำกับ ตรวจสอบ
ตดิ ตาม การใชจ้ ่ายงบประมาณของหนว่ ยงานดังกลา่ ว

7.1.3 ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา

7.1.4 กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และในเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
7.1.5 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา ในเขตพื้นที่
การศกึ ษา

34

7.1.6 ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน
การจดั และพฒั นาการศกึ ษาในเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา

7.1.7 จดั ระบบประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา
7.1.8 ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถานบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่จัด
การศึกษารปู แบบท่ีหลากหลายในเขตพ้ืนที่การศึกษา
7.1.9 ดำเนินการ และประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาการศึกษาในเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา
7.1.10 ประสาน ส่งเสริม การดำเนนิ การของคณะอนกุ รรมการ และคณะทำงานดา้ นการศกึ ษา
7.1.11 ประสานการปฏิบัติราชการท่ัวไปกับองค์กร หรือหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ เอกชน
และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
7.1.12 ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกับ หรอื สนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอื่นท่เี ก่ียวข้อง หรอื ท่ีไดร้ ับ
มอบหมาย
7.2 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 เป็นหน่วยงานภายใต้การกำกับ
ดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน แบง่ หน่วยงานภายในออกเปน็ 9 กลมุ่ 1 หน่วย ดังนี้
7.2.1 กลุ่มอำนวยการ
7.2.2 กลุ่มนโยบายและแผน
7.2.3 กล่มุ สง่ เสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร
7.2.4 กลุม่ บรหิ ารงานการเงิน และสินทรัพย์
7.2.5 กลุม่ บรหิ ารงานบคุ คล
7.2.6 กลุ่มพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

7.2.7 กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา

7.2.8 กล่มุ ส่งเสริมการจดั การศึกษา

7.2.9 กลุม่ กฎหมายและคดี

7.2.10 หนว่ ยตรวจสอบภายใน

35

แผนภูมิโครงสร้างของสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา

โครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2

สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา

คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ คณะกรรมการลูกเสอื
ประเมินผล และนิเทศการศึกษา เขตพืน้ ที่การศึกษา

(ก.ต.ป.น.)

กลุ่ม กลุ่ม กลุ่มส่งเสริม กล่มุ กลมุ่ กล่มุ กลุ่มนเิ ทศ กลุม่
อำนวย นโยบาย การศึกษา บริหาร
การ และแผน ทางไกล งาน บริหาร พฒั นาครู ติดตาม ส่งเสริม
เทคโนโลยี การเงนิ
สารสนเทศ และ งาน และ และ การจดั
และการ สนิ ทรพั ย์
สื่อสาร บคุ คล บคุ ลากร ประเมินผล การศกึ ษา

ทาง การจดั

การศึกษา การศึกษา

หนว่ ยตรวจสอบภายใน กล่มุ กฎหมายและคดี

สถานศึกษา 208 โรงเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

รูปภาพท่ี 2 แสดงแผนภูมิโครงสร้างของสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา

36

ข้อมูลพนื้ ฐานทางการศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2

ตารางที่ 1 จำนวนสถานศึกษาในสังกดั จำแนกตามขนาดจำนวนนกั เรยี น และรายอำเภอ

ขนาดโรงเรียน

อำเภอ เลก็ กลาง ใหญ่ ใหญพ่ เิ ศษ รวม
ทงั้ ส้นิ
(นร. 1-120 คน) (นร. 120-600คน) (นร.601-1500คน) (นร.1501 คนขน้ึ ไป) 34
53
1. ชนบท 27 7 - - 15
2. บา้ นไผ่ 32 20 1 - 62
3. เปือยน้อย 9 6 - - 22
4. มญั จาครี ี 51 11 - - 22
5. โคกโพธไ์ิ ชย 15 7 - - 208
6. บ้านแฮด 14 8 - -
148 56 1 -
รวม

ตารางท่ี 2 จำนวนสถานศกึ ษาจำแนกตามระดบั ชนั้ ทเ่ี ปดิ สอน

อำเภอ จำนวนโรงเรยี นทเี่ ปดิ สอนระดบั ป.1 - ม.3 รวม

อนุบาล - ป.6 อนบุ าล – ม.3 ป.1 - ป.6 0 34
0 53
1. ชนบท 27 7 0 0 15
0 62
2. บ้านไผ่ 37 15 1 0 22
0 22
3. เปอื ยนอ้ ย 8 5 2 0 208

4. มญั จาครี ี 48 13 1

5. โคกโพธไิ์ ชย 18 40

6. บา้ นแฮด 17 5 0

รวมทั้งสิ้น 155 49 4

37

ตารางที่ 3 จำนวนนักเรยี นท้งั หมด จำแนกตามรายชน้ั เรียน แยกรายอำเภอ

ระดับชั้น อำเภอ บ้านแฮด รวม

ชนบท บา้ นไผ่ เปอื ยนอ้ ย มัญจาครี ี โคกโพธิ์ไชย 78 841
138 1,915
อนบุ าล 1 114 336 45 254 73 170 1,964
386 4,720
อนบุ าล 2 282 580 120 427 195
222 2,276
อนบุ าล 3 342 649 155 478 190 200 2,394
227 2,239
รวมก่อน 738 1,565 320 1,159 458 195 2,318
211 2,289
ประถมศกึ ษา 219 2,308
1,274 13,824
ประถมศึกษาปที ี่ 1 400 719 145 469 165 61 737
74 792
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 421 740 199 524 208 70 769
205 2,298
ประถมศึกษาปีที่ 3 445 821 190 571 195
1,865 20,659
ประถมศึกษาปที ่ี 4 380 792 172 505 208

ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 464 731 173 581 189

ประถมศึกษาปที ี่ 6 444 741 177 521 198

รวมประถมศกึ ษา 2,554 4,544 1,056 3,171 1,163

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 85 346 66 139 52

มัธยมศึกษาปีท่ี 2 99 332 67 129 44

มธั ยมศึกษาปีที่ 3 100 357 64 131 55

รวมมัธยมศกึ ษา 284 1,035 197 399 151

ตอนต้น

รวมท้ังหมด 3,576 7,144 1,573 4,729 1,772


Click to View FlipBook Version