The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sepakna64mai, 2021-11-03 05:44:43

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) กรณีศึกษา : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

รูปเล่มสมบูรณ์ ล่าสุดปรับแก้ปก

82

- โอกาส
............................................................................................................................. .........................................
................................................................................................................................................... ...................
............................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. .........................................

- อุปสรรค

............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

๔.๒ การจดั การเรยี นรู้ 5 รปู แบบของโรงเรียน
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- การจัดการเรยี นรูแ้ บบ On Site
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................

- การจัดการเรียนรู้แบบ On Hand มกี ารจดั การเรียนรู้อย่างไรบา้ ง
......................................................................................................... .............................................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................... .............
...................................................................................................................... ................................................

83

- การจัดการเรยี นร้แู บบ Online
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.............................................................................................................................................. ........................

การวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ (SWOT)
- จดุ แขง็

............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- จุดออ่ น
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................
....................................................................................................... ...............................................................

- โอกาส
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- อปุ สรรค
.................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.................................................................................................................................... ..................................
................................................................................................. .....................................................................

84

๔.๓ การดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
ด้านการเรยี น
- ระดบั ปฐมวยั

............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- ระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
....................................................................................... ...............................................................................

ดา้ นการติดตามสง่ ตอ่ การเรียนรู้
- ระดับประถมศกึ ษา
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................
ด้านความปลอดภัย
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

85

การวิเคราะห์การดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน(SWOT)
- จุดแขง็

............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- จดุ ออ่ น
............................................................................................. .........................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................................. .........................
.......................................................................................................... ............................................................

- โอกาส
............................................................................................................................. .........................................
................................................................................................................................................... ...................
............................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. .........................................

- อุปสรรค
..................................................................................................................................................... .................
.................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. .........................................
.................................................................................................................................................................. ....

86

ภาคผนวก ข
ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจัดการศกึ ษา
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

87

แบบสัมภาษณเ์ ชิงลึกของครูและผู้บริหาร
ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2

คำช้แี จง โปรดกรอกข้อมลู ตามความคิดเหน็ ของทา่ นตามความเปน็ จริงเพื่อเปน็ ประโยชน์ในการจัดทำ
ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายของสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาต่อไป โดยในการเกบ็ ข้อมูลเพอ่ื การวิจัยครงั้ น้ี มี
วัตถปุ ระสงค์ดังนี้

1. เพ่ือวิเคราะห์สภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนในลักษณะตา่ ง ๆ ด้านข้อดี ข้อเสยี โอกาส
อปุ สรรค (SWOT) ในการบริหารจดั การ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน

2. เพ่ือพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหารจัดการ การ
จดั การเรยี นรู้ และการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน

3. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้
ไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา และระดับสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

การให้ข้อมูล ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของท่านจะเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยในครั้งนี้เป็น
อยา่ งย่งิ และคณะผู้วิจัยจะเก็บรกั ษาข้อมลู ของท่านเพ่ือใช้ประโยชน์เฉพาะงานวจิ ยั นี้เท่านั้น

1 ข้อมูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
1.1 ขอ้ มลู ผู้ตอบแบบสอบถาม
 ผ้บู รหิ าร
 ครู
ระดบั ช้นั ทสี่ อน
 ปฐมวยั
 ประถมศึกษาตอนตน้
 ประถมศกึ ษาตอนปลาย
 มัธยมศึกษาตอนต้น
1.2 โรงเรยี น บา้ นผกั หวานโนนสวาง อำเภอ บ้านไผ่
1.3 ลกั ษณะโรงเรยี น (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
 ปกติ
 โรงเรยี นประชารฐั
 โรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
 โรงเรียนคณุ ประจำตำบล (ประถมศกึ ษา)
 โรงเรยี น Stand Alone

88

1.4 ขนาดโรงเรยี น  ขนาดกลาง
 ขนาดเลก็  ขนาดใหญ่พเิ ศษ

 ขนาดใหญ่

๒. บทบาทของโรงเรยี นท่มี ีต่อชมุ ชน และการให้ความรว่ มมือในการบรหิ ารจัดการแพร่ระบาดของเช้ือ

ไวรสั โคโรนา (COVID 19) ( เลอื กได้มากว่า 1 ข้อ ถา้ ไม่มีส่วนเก่ยี วขอ้ งใดๆ ข้ามไป ข้อ 1.๕ )

 โรงพยาบาลสนาม  สถานทก่ี ักตวั

 สถานทีพ่ กั คอย  สถานที่ปลกู สมุนไพรทางเลอื ก

 สถานท่ีผลิตเจลแอลกอฮอล หนา้ กากอนามยั

 ดำเนินงานจิตอาสาอืน่ ๆ

๓. จดั รูปแบบการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบ (สามารถเลอื กไดม้ ากกว่า 1 รูปแบบ)

 On Site

 On Air

 On Demand
 On Hand
 On Line

 อน่ื ๆ .....................................

๔. แนวทางการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรยี นรู้ 5 รูปแบบของโรงเรยี น และการดูแลช่วยเหลอื
นักเรยี น

๔.๑ การบรหิ ารจดั การ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของวิกฤต COVID-19 ครั้งนี้เป็นโอกาสสำคญั ในการจัด

การศกึ ษาตามวถิ ี New Normal ซง่ึ เปน็ การปรบั เปลย่ี นแนวคิดครงั้ ใหญ่ที่ตอ้ งสอดคล้องและเช่อื มโยง
กบั การเรยี นร้ขู องนักเรียน โดยการปรบั หลกั สตู รให้สอดคล้องกับสถานการณโ์ ควิด-19 และสื่อสารให้
ผเู้ กี่ยวขอ้ งทุกภาคส่วนทราบ เพิม่ ความยดื หย่นุ ของ โครงสรา้ งเวลาเรียน และความหลากหลายของ
รูปแบบการเรยี นร้ขู องครู การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ และสอนอยา่ งมีแผนทเ่ี หมาะสมรวมถึงการ
ยกระดบั การประเมินเพ่ือการพัฒนาเพื่อไม่ให้นักเรยี นเสียโอกาสพัฒนาความรู้และ ทกั ษะ โดยเฉพาะ
ความรดู้ ้านภาษาและการคำนวณ แมไ้ ม่มโี ควิด-19 ระบบการศกึ ษาไทยกก็ ำลงั เปลยี่ นแปลงอยู่
ตลอดเวลาจากปจั จัยขับเคลือ่ นจำนวนมาก ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คม

89

- ดา้ นบคุ คล (Man)
โรงเรยี นบา้ นผกั หวานโนนสวางได้ให้ความสำคัญต่อครผู ู้ซ่ึงมีบทบาทสำคญั ต่อการจดั

การศกึ ษาและเป็นผู้ท่ีขับเคลื่อนการทำงานให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์หรือเปา้ หมายของสถานศกึ ษา
โดยเฉพาะในสถานการณ์ปจั จุบันท่ีครตู ้องปรับวิธีคดิ เปล่ยี นวธิ สี อนใหเ้ กิดความสอดคล้องและเหมาะสม
กบั ผ้เู รียน

ดงั นนั้ ในการพัฒนาครจู ึงเปน็ ภารกิจท่ีสำคญั และเรง่ ด่วน โรงเรยี นไดก้ ำหนดการอบรม
พัฒนาครูในเนื้อหาหลักสูตรระยะสน้ั เกี่ยวกับทักษะทจี่ ำเป็นตอ้ งมี ต้องใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ พร้อมทั้ง
ส่งเสรมิ ใหค้ รูไดเ้ ข้ารับการพัฒนาตนเองผา่ นระบบออนไลนอ์ ยเู่ ปน็ ประจำ และกำหนดแนวทางวาง
กรอบการทำงานทีเ่ น้นสร้างความเข้าใจร่วมกันในการพฒั นาทักษะ ตลอดจนสมรรถนะที่สำคญั ต่อการ
จดั การเรยี นการสอนของครู

- ดา้ นงบประมาณ (Money)
ทางโรงเรียนจะตอ้ งร่วมกันวางแผนในการจัดต้ังงบประมาณเพอ่ื มาใช้ดำเนินการเกย่ี วกับการ

เตรียมการเพอื่ ใช้ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาโดยจดั ทำในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 2565 พร้อม
ทง้ั นำเสนอและขอความเห็นชอบและการสนบั สนุนจากหนว่ ยงานภายนอกท่เี ก่ียวขอ้ งเพือ่ นำบริหารจัด
การศกึ ษาใหเ้ กิดคุณภาพ และสามารถบรหิ ารจดั การได้บรรลตุ ามเปา้ หมายของสถานศึกษาต่อไป

- ดา้ นวัตถดุ บิ (Material)
จากผลดำเนนิ งานในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 สะท้อนผลเก่ยี วกับการจดั การเรียน

การสอนทย่ี งั ไม่มปี ระสิทธิภาพเทา่ ที่ควร ทงั้ นป้ี ัญหาท่ีสำคัญสว่ นหนง่ึ เกดิ จากการขาดความพรอ้ ม
เกี่ยวกบั สื่อ วสั ดอุ ปุ กรณ์ท่นี ำมาใช้จดั การเรียนรใู้ นรปู แบบ On Hand และ Online ไมว่ า่ จะเป็นกระดาษ
เครือ่ งพรน้ิ ทเ์ ตอร์ และคอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์สำหรับสอนออนไลน์

ดงั นัน้ แนวทางการบริหารจดั การเก่ยี วกบั เร่ืองสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ จะตอ้ งมกี ารประชมุ
วางแผนร่วมกันเพื่อจัดทำเปน็ โครงการรองรบั ไว้ในแผนปฏิบตั ิการประจำปี พร้อมท้งั ร่วมกันพิจารณาถึง
ความเหมาะสมของสื่อ อปุ กรณป์ ระกอบการเรยี นรูว้ า่ มีความเหมาะสมและสามารถดึงดูดความสนใจของ
นักเรยี นให้กบั มาสนใจการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองเพิ่มมากขน้ึ ไดห้ รือไม่ ทัง้ นจ้ี ะต้องพิจารณาถึงรปู แบบของสอื่ ท่ี
นกั เรยี นสามารถเข้าไปศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองอย่างมีความสุขเพ่ือให้เกิดเป็นกระบวนการเรยี นรู้ทมี่ ี
ความหมายต่อไป

- ดา้ นการบรหิ ารจัดการ (Management
ทางโรงเรียนไดใ้ ช้การบริหารแบบมสี ่วนรว่ มโดยใช้ PAKWAN MODEL โดยมเี ป้าหมายคือ

การจดั การศึกษาใหเ้ กิดคุณภาพ มกี ารใช้ทรัพยากรอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเนน้ การมีสว่ นร่วมกบั ชุมชน
ทัง้ น้ี เปน็ การบริหารทีเ่ ปิดโอกาสให้มีการพฒั นาแบบองคร์ วมซงึ่ ชุมชนและผู้มีสว่ นเกยี่ วข้องทกุ ภาคส่วนได้
เข้ามามสี ่วนรว่ ม เขา้ มาตระหนกั รับรู้ถงึ ปัญหาที่เกิดขึน้ และรว่ มมือกนั ในการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน

ท้ังนี้ การบริหารจัดการทสี่ ถานศกึ ษาควรกำหนดแนวทางในการดำเนินการเพื่อจัดการศึกษา
ใหเ้ กิดมีคณุ ภาพและเกิดความเหมาะสมควรพจิ ารณาถงึ บทบาทความร่วมมือกับครู ใน 7 ขอ้ ดงั น้ี

90

1. รบั ฟังเสียงของครูในการกำหนดนโยบาย และแผนการเพราะการพูดคุยเปน็ สง่ิ สำคัญใน
การวางแผนเปดิ โรงเรียนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ผู้บริหาร ครู พอ่ แม่ ชุมชน รวมถงึ นักเรียน ควรมกี าร
พดู คยุ กนั เพ่ือให้ความต้องการ ของนกั เรยี นทุกคนได้รับการดูแลอย่างทัว่ ถึง

2. สร้างสภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภยั สำหรบั ทุกคนในโรงเรยี น ความปลอดภยั และความ
เป็นอยขู่ องนกั เรียน และครูคือสิง่ สำคัญทสี่ ุดเมือ่ เปิดโรงเรยี น โรงเรยี นต้องสร้างความรสู้ ึกอุ่นใจใหท้ ุกคน
ในในช่วงทีย่ ังมีการระบาดของ ไวรสั รวมถึงเมอื่ โรคหยดุ การระบาดลงแลว้

3. ใหค้ วามสำคญั กบั สภาพจิตใจ สงั คมและอารมณ์ของครูและนักเรยี น COVID-19 อาจทำ
ใหค้ รู นกั เรยี น รวมถึงครอบครวั ของทุกคนรู้สกึ เครียด หากความเครียดน้นั ไม่ไดร้ บั การจัดการอย่าง
เหมาะสม อาจส่งผลตอ่ การ เรยี นรูใ้ นระยะยาวและการเรียนรูใ้ นภาพรวมของนักเรยี นได้ สำหรับครูอาจ
เกิดภาวะหมดไฟในการสอน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนต้องใหค้ วามมั่นใจกับครูว่าจะได้รับการ ชว่ ยเหลอื อยา่ ง
ตอ่ เน่ือง เมอื่ ครเู กิดปญั หาด้านสภาพจิตใจ

4. ชว่ ยให้ครปู รบั ตัวเข้ากับ New Normal เมอื่ กลับมาสอนในชัน้ เรยี นตามปกติ ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ต้องได้รับการสนับสนุน และไดร้ ับทรพั ยากรทเี่ พียงพอในการจัดการเรียนรู้ใน
หอ้ งเรียนอีกครั้ง ครหู ลายคนอาจต้อง สอนซ่อมเสรมิ ในชว่ งน้ี หรอื ไม่ก็ต้องสอนท้ังในห้องเรียนควบค่ไู ป
กับการสอนออนไลน์

5. จัดให้มีครูเพียงพอ และให้ครูไดท้ ำงานในสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม การที่ครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา มคี วามสุขกบั มาตรฐานการทำงานท่เี หมาะสม ไดเ้ งินเดอื นตรงตามเวลา หรือลา
ป่วยได้เม่อื รูส้ ึกไมส่ บาย ถอื เป็นเรื่อง สำคัญในช่วงสถานการณ์นี้ ผบู้ ริหารไมค่ วรลดสิทธติ ่างๆ ของครู และ
เงอื่ นไขการทำงานท่ีเหมาะสมสำหรบั ครู

6. ลงทนุ กับภาคการศึกษา ในหลาย ๆ ประเทศ ในเรื่องเงินเดอื นครแู ละสวสั ดิการตา่ งๆ ถือ
เปน็ งบประมาณก้อนใหญ่ที่สุดของประเทศ โดยเฉพาะประเทศท่ีมีรายไดท้ างเศรษฐกิจตำ่ จากวกิ ฤต
COVID-19 ทรัพยากรทมี่ ีอยู่อาจ ลดลงเม่ือรายได้ผูค้ นลดลง เพื่อให้การศึกษายงั คงดำเนินไปอยา่ ง
ต่อเนื่อง ฝ่ายบริหารดา้ นการศึกษาจำเปน็ ตอ้ งลงทนุ กับครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ไม่ใชแ่ คก่ ารไม่ลด
เงินเดอื นเท่านน้ั แตย่ ังต้องจัดการอบรมทีจ่ ำเปน็ รวมถึงให้การ สนบั สนนุ ด้านสภาพจติ ใจดว้ ย

7. คอยเชค็ สถานการณ์และข้อเสนอแนะจากครเู มื่อโรงเรยี นเปิดเรยี นตอ้ งคอยเชค็ และ
ประเมนิ สถานการณ์ พร้อมท้ังปรบั แผนเม่อื จำเป็น กระทรวงศึกษาธกิ าร ฝา่ ยบรหิ าร ผอู้ ำนวยการต้องเชค็
และประเมนิ กรอบการทำงาน เพือ่ วัดความกา้ วหนา้ ซ่ึงกรอบการทำงานเหลา่ นี้ควรคำนึงถึงบทบาทการ
สอนทมี่ ีคุณภาพของครู และส่งเสรมิ สภาพ การเรียนรูท้ ่ีดี โรงเรียนต้องไมล่ มื เปดิ โอกาสให้ครูไดเ้ สนอความ
คิดเห็น และประเมนิ การทำงานของโรงเรียนดว้ ย

91

การวิเคราะห์การบริหารจดั การ (SWOT)
- จดุ แข็ง
โรงเรียนมีการบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นร่วมจากผู้มีสว่ นเกยี่ วขอ้ งทุกภาคส่วน ทง้ั ครูบุคลากร

ผปู้ กครอง ชมุ ชมทำให้การพัฒนา และการจดั การศึกษาเป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย มีบรรยากาศในการ
ทำงานแบบกัลยาณมิตร รว่ มรับผิดชอบและมีความรู้สกึ เป็นเจา้ ของสถานศึกษาร่วมกนั

- จุดออ่ น
กระบวนการทำงานเนื่องจากมคี วามสามัคคเี ปน็ เอกภาพ แตบ่ างคร้งั ทำใหก้ ารบรหิ ารจดั การ

ไมม่ ีการสะท้อนผลในทุกมติ สิ ่งผลให้การบริหารจัดการเปน็ ไปแบบมองเพียงมุมเดียว และขาดความ
พรอ้ มของสือ่ อุปกรณ์ในการเรียนการสอนท่ีทันสมัยโดยเฉพาะในด้านเทคโนโลยีดจิ ิทลั ทีเ่ พียงพอสำหรับ
ครูและนกั เรียน

- โอกาส
ดา้ นครู บคุ ลากรมคี วามตืน่ ตวั และพร้อมรบั การเปล่ยี นแปลง และดา้ นผูป้ กครองชุมชนให้

ความร่วมมือช่วยเหลือสถานศึกษาในด้านการระดมทุนในการนำมาพฒั นาอยเู่ ปน็ ประจำ พรอ้ มทั้งเป็น
สงั คมชมุ ชนทีม่ ีความศรทั ธาเล่อื มใสในพทุ ธศาสนาซ่ึงสง่ ผลดตี ่อการปลูกฝังและเสรมิ สร้างคุณลักษณะท่ดี ี
ใหก้ บั นกั เรียนอกี ทางหนง่ึ

- อุปสรรค
ปญั หาความเหล่ือมล้ำและโอกาสทางการศึกษาของนักเรยี น เพราะผ้ปู กครองส่วนมากขาด

ความพร้อมในการสนับสนุนสอ่ื อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการเรยี นออนไลน์ของนักเรยี น และผ้ปู กครองไมม่ เี วลาใน
การติดตามและช่วยเหลอื นักเรยี นไดค้ รบทุกคน สถานศกึ ษายงั ไม่มคี วามพร้อมในการสร้างระบบสง่ เสริม
และสนบั สนุนการสอนของครู

๔.๒ การจดั การเรยี นรู้ 5 รปู แบบของโรงเรียน
โรงเรยี นได้ประชมุ วางแผน เพ่ือเลือกการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาในชว่ งสถานการณก์ าร
แพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรน่า2019 โดยเป็นรูปแบบ On Hand แต่หลังจากไดต้ ิดตามผลการจดั การ
เรียนการสอนในระยะ หนง่ึ เดือนท่เี ริ่มการจดั การเรียนรู้การสอนผลปรากฏวา่ พบปญั หาที่เกดิ กบั การ
เรียนรู้ของนักเรียนที่ไม่สามารถศกึ ษาและปฏบิ ตั ิตามรปู แบบ On Hand ไดอ้ ยา่ งเกิดประสทิ ธิภาพตามท่ี
คาดหวัง ทางโรงเรียนจงึ ไดป้ ระชมุ และเสนอให้มีการจดั การเรียนการสอนเพ่มิ เป็นแบบผสมผสาน ใช้
รูปแบบ On line เพิ่มเขา้ มาในระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4-6 แต่ไดม้ กี ารวางกรอบการดำเนินการจดั การ
เรยี นการสอนวา่ หากสถานการณด์ ีขนึ้ กจ็ ะมีการจดั การเรียนร้แู บบ On Site โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี
- การจัดการเรยี นรูแ้ บบ On Site

โรงเรยี นบ้านผักหวานโนนสวางมีความเหมาะสมในการจดั การเรียนในรปู แบบ On Site
เพราะห้องเรียนมีความ เหมาะสำหรบั โรงเรยี นทมี่ ีนกั เรียนจำนวนไมม่ าก และพ้นื ทม่ี ากพอให้สามารถ
ปฏิบตั ิ ตามนโยบาย Social Distancing เพื่อรักษาระยะห่าง และการดูแลสขุ อนามยั ของนักเรยี นได้อยา่ ง

92

เขม้ ขน้ และเคร่งครดั ควบคู่กับการให้นักเรยี นทุกคนตอ้ งใส่หนา้ กากอนามัย และหมั่นทำความสะอาดมือ
ดว้ ยแอลกอฮอลน์ อกจากน้ี ทาง โรงเรยี นตอ้ งหมนั่ ฆ่าเชื้อโรคทกุ จดุ ในโรงเรยี นอยา่ งสม่ำเสมอ เพื่อป้องกัน
ไม่ใหเ้ กิดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ซำ้

- การจดั การเรียนรแู้ บบ On Hand มีการจดั การเรียนรู้อย่างไรบา้ ง
สถานศกึ ษาต้องร่วมกันปรบั ปรุงโครงสร้างหลกั สูตรให้มีความยดื หยุ่น เหมาะสมกบั การออกแบบ
การจัดการเรยี นรู้ เน้นให้ครูวิเคราะห์ผเู้ รียนรายบคุ คลเพ่ือนำมาส่กู ารออกแบบสื่อ เอกสาร ใบงาน
แบบฝกึ หดั ที่ยดึ ตรงตามตัวชว้ี ัดทตี่ อ้ งเรยี นเปน็ สำคญั เพอ่ื ช่วยลดภาระงานของครพู ร้อมทงั้ เปน็ การสอน
ให้ครอบคลมุ ตัวชี้วัดที่สำคัญ พร้อมท้งั มีการประสานความรว่ มมือไปยังผ้ปู กครองไดต้ ดิ ตามชว่ ยเหลือ
การเรียนของนกั เรยี นท่ีบ้าน โดยเฉพาะในกลุ่มเดก็ อนุบาล และ ป.1-3 ทต่ี อ้ งดูแลอยา่ งใกล้ชดิ
สำหรบั แนวทางการจดั ตารางเรียน ทางโรงเรยี นไดจ้ ดั การเรยี นการสอนแบบยืดหยนุ่ หมายถงึ มี
การจดั ตารางเรยี นเนน้ กลุ่มเนื้อหาสาระหลัก 5 วิชา คอื วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ วิชา
วิทยาศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา สว่ นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทเ่ี หลือเปน็ การบูรณาการ
ผา่ นโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และการสังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการเรยี น
การสอน
- การจดั การเรียนรู้แบบ Online

เนื่องจากการจดั การเรียนรรู้ ูปแบบ Onlineเหมาะกับโรงเรียนท่ีมคี วามพร้อมทง้ั ด้านระบบ
การเรยี นการสอนและหลักสูตรสำหรบั การเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ ผเู้ รยี นมีความพร้อมในการเรียนผา่ น
ระบบออนไลน์ และผ้ปู กครองต่างมคี วามพร้อมในการให้ความช่วยเหลือสนบั สนุน รวมทัง้ มเี ครื่องมือ
สนับสนุนการเรียน เช่น คอมพวิ เตอร์โน้ตบ๊คุ แท็บแลต สมาร์ทโฟน และอนิ เทอรเ์ น็ต ดงั น้นั ทาง
โรงเรียนบ้านผักหวานโนนสวางได้รว่ มกนั พจิ ารณาถึงความพร้อมของนกั เรียนและผู้ปกครองว่าสามารถ
จัดการเรียนแบบนี้ ไดใ้ นกลุ่มนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ทพี่ อจะสามารถมโี อกาสในการเรียนได้
โดยขอบข่ายการสอนเนน้ การตดิ ตาม ทบทวนเน้ือหาตา่ ง ๆ ท่นี ักเรยี นไดร้ ับจากการเรยี นในรปู แบบ On
Hand ซง่ึ ถอื เป็นการส่งเสริมและพัฒนาทั้งครผู ้สู อนและนกั เรียนใหเ้ กิดการเรยี นรู้ในมิตใิ หม่ New
Normal ทเี่ น้นการเรียนรแู้ บบออนไลนม์ ากขึน้

นอกจากนี้ในเรอ่ื ง การออกแบบการเรยี นรใู้ น New Normal มีจุดเนน้ อย่ทู ีก่ ารทำใหผ้ เู้ รียน
เกิดการเรยี นรทู้ ี่มีคุณภาพทเ่ี ป็นการ เรยี นรเู้ ชงิ ลึก คือ รจู้ ริง รชู้ ดั นำไปประยกุ ต์ใช้ และสรา้ งสรรค์
นวัตกรรมได้การออกแบบการเรียนรทู้ ีจ่ ะตอบสนอง จดุ เน้นดงั กลา่ วควรดำเนนิ การตามข้ันตอนดงั น้ี

1. วิเคราะห์ความตอ้ งการของผเู้ รยี นวา่ อะไรทส่ี ามารถกระตนุ้ ผู้เรียนให้มคี วามต้องการ
ในการเรียนรู้ ซ่งึ ผเู้ รียนแตล่ ะ คนจะมีส่งิ กระตนุ้ แตกต่างกนั หากผสู้ อนคน้ พบส่งิ กระตุ้นความตอ้ งการ
ดงั กล่าวจะเปน็ จุดเร่ิมต้นของพฤติกรรมการเรยี นรู้ อันพึงประสงค์ของผู้เรยี นเช่น ความกระตือรือร้น การ
แสวงหาความรู้ การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ เปน็ ต้น

2. วเิ คราะห์สาระและกิจกรรมการเรยี นรทู้ สี่ อดคล้องกบั ความต้องการของผเู้ รียน
กลา่ วอกี นยั หนึง่ คอื สาระและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ตอบสนองความความสงสัยใคร่รู้ของผเู้ รียน กิจกรรม

93

การเรียนร้ทู สี่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการจะช่วย ทำใหผ้ ู้เรียนใชพ้ ้นื ที่การเรยี นรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตรงกนั ข้ามหากกจิ กรรมการเรียนรไู้ ม่สอดคล้องกับ ความต้องการผ้เู รยี นจะมีพฤติกรรมไมอ่ ยากเรยี นรู้

3. วเิ คราะหร์ ูปแบบ และวิธกี ารเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับผูเ้ รยี น การวิเคราะหใ์ นข้ันตอนนี้
ชว่ ยทำใหผ้ ูเ้ รยี นมี ทางเลอื กที่จะเรยี นรดู้ ้วยวิธกี ารตา่ งๆ สอดคลอ้ งกบั วถิ ีชีวติ ของตนเอง (หลายเส้นทาง
เป้าหมายเดยี วกัน)สำหรบั รูปแบบการเรยี นรนู้ ้นั อาจจะเป็นการเรยี นรบู้ นโลกออนไลน์ การเรียนรูท้ ่ี
โรงเรียน การเรยี นรูท้ ี่บ้านการเรียนรูท้ ี่ ชมุ ชน ส่วนวธิ ีการเรียนรคู้ วรเนน้ วธิ ีการเรยี นรูต้ ามแนวทาง Active
Learning ในทุก รปู แบบ เพือ่ ให้ผู้เรยี นได้ลงมือ ปฏิบัติ สะทอ้ นคดิ และถอดบทเรยี นเป็นแก่นของความรู้
ซงึ่ การถอดบทเรียนจะชว่ ยทำให้เกิดการเรยี นรู้เชงิ ลึก

4. เตรียมทรพั ยากรการเรยี นรสู้ ำหรบั การเรียนรใู้ นแต่ละ รูปแบบ และวธิ ีการเรยี นรู้
ขน้ั ตอนนีจ้ ะชว่ ยทำให้ ผู้เรียนมีโอกาสเลอื กพื้นทกี่ ารเรียนรู้ของตนเองในลักษณะการเรยี นร้สู ่วนบุคคล
(Personalized Learning) หรอื การ เรยี นรู้ท่ีตอบสนองความต้องการส่วนบุคคลของผเู้ รียน ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี น
มีจิตใจจดจ่อและมุ่งมั่นอยู่กับการเรียนร้ขู อง ตนเอง

5. จัดกิจกรรมการเรียนร้ใู นลักษณะเปดิ พืน้ ที่การเรียนรู้ท้งั 5 ประการ ได้แก่ 1) เปิด
โอกาสใหผ้ ู้เรียนกำหนด ปา้ หมายในการเรียนรู้ของตนเอง 2) เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นออกแบบและใช้วิธกี าร
เรยี นรขู้ องตนเอง 3) เปดิ โอกาสให้ ผเู้ รยี นประเมินเพ่ือพัฒนาตนเอง 4) เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนนำสง่ิ ทีไ่ ด้
เรียนรู้ไปใช้ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม และ 5) เปิด โอกาสให้ผเู้ รยี นสะท้อนคิดตนเอง เพ่ือนำไปสกู่ ารเรยี นรู้
ครง้ั ใหมห่ ากผู้สอนเปิดพื้นท่ีการเรียนรู้ใหก้ บั ผู้เรียนได้มาก เทา่ ใด การเรยี นรเู้ ชงิ ลึกจะเกิดข้นึ ไดม้ าก
เท่านัน้

6. ประเมนิ ประสทิ ธิภาพของ รปู แบบ และวิธกี ารเรียนร้ทู ผ่ี ู้สอนได้ใช้ในการจัดการ
เรียนรวู้ ่าสามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนไดม้ ากน้อยเพยี งใด ซ่ึงผลการประเมินในสว่ นนจ้ี ะ
นำไปสู่การปรับปรุงและ พัฒนาการจัดการเรยี นรู้ให้ผูเ้ รียนมีพนื้ ที่การเรยี นรู้มาก

การวเิ คราะห์การจดั การเรียนรู้ (SWOT)
- จุดแข็ง
ครูและบคุ ลากรมีความพร้อมรบั การเปลี่ยนแปลง สามารถปรบั วธิ คี ิด เปลย่ี นแนวทางวธิ ี

สอนใหก้ ับผู้เรียนตามสถานการณไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม ผู้ปกครองและชมุ ชนมคี วามเช่ือมั่นตอ่ การจดั การ
เรียนการสอนของครู

- จดุ ออ่ น
โรงเรียนขาดความพรอ้ มในการพฒั นาครูในสมรรถนะทีส่ ำคัญบางเร่ือง เช่น การจัดการ
เรยี นการสอนโดยใช้นวตั กรรมให้มีความหลากหลายและสอดคล้องกบั การพฒั นาผเู้ รียนได้เตม็ ตาม
ศกั ยภาพ และระบบสง่ เสรมิ และสนับสนุนการสอนออนไลน์ของครูยังไม่เพียงพอ

94

- โอกาส
ครแู ละบคุ ลกรทางการศึกษามคี วามกระตือรอื ร้นต่อการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ผปู้ กครอง
และชุมชนให้การสนบั สนุนช่วยเหลือในการระดมทุนเพ่ือพัฒนาสถานศกึ ษาเป็นอยา่ งดี
- อปุ สรรค
ผ้ปู กครองนกั เรียนสว่ นมากขาดความร้แู ละประสบการณไ์ ม่สามารถอธบิ ายและชีแ้ นะการ
เรยี นรู้ของนักเรยี นท่ีบา้ นได้ และขาดความพร้อมในการสนับสนนุ ด้านส่อื อุปกรณ์ในการเรยี นออนไลน์

๔.๓ การดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
ด้านการเรยี น
ในสถานการณ์ปจั จบุ นั นี้ ทางโรงเรียนได้ให้ความสำคญั ต่อบทบาทหนา้ ที่ของผูป้ กครอง

มากขึน้ โดยพ่อแม่ผ้ปู กครองจะตอ้ งเปน็ เสมอื นผู้ชว่ ยครู ท่ีต้องทำงานร่วมกบั ครใู นการดูแลการศกึ ษาของ
เด็ก ขณะที่ หนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ งต้องช่วยสนับสนุนการจดั การศกึ ษาทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้ การสรา้ งความ
เขา้ ใจท้งั กับเด็กและ ผปู้ กครอง ซง่ึ ทกุ ฝ่ายต้องชว่ ยกนั ดังน้ัน ทางโรงเรยี นได้ประชมุ วางแผนรว่ มกันกับ
ผ้ปู กครอง และเครือข่ายผปู้ กครองในการมสี ว่ นรว่ มดูแลสังเกตพฤติกรรมการเรยี น และพฤติกรรมทเ่ี ปน็
กลุ่มเสย่ี งด้านตา่ ง ๆ ท้ังน้ไี ด้กำหนดแตง่ ตงั้ กลุม่ ผู้ปกครองในแต่ละห้องเรยี นให้ทำหนา้ ท่ีประสานให้ข้อมูล
ระหวา่ งครูประจำชนั้ อยา่ งสม่ำเสมอ

นอกจากนี้ ทางโรงเรียนได้กำหนดแต่งต้งั ให้มนี ักเรียนแกนนำในแต่ละห้อง เพื่อทำหนา้ ท่ี
ชว่ ยเหลือติดตามเพื่อน ๆ ในหอ้ งใหม้ ีการเรยี นรู้อย่างสม่ำเสมอ และรายงานพฤตกิ รรมที่มีปัญหาให้ครู
ทราบ พรอ้ มท้งั ทางโรงเรยี นไดเ้ น้นใหค้ รปู ระจำช้นั มีหมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถตดิ ต่อกับผู้ปกครอง
นักเรยี นไดโ้ ดยตรง

- ระดับปฐมวัย
สง่ิ สำคญั ในการดูแลคือ การสรา้ งการส่อื สารและความรว่ มมอื ในการดแู ลชว่ ยเหลือใน
การเรียนของนักเรียนเล็ก ๆ ถอื ว่าเปน็ ส่งิ จำเปน็ สำหรบั การทพี่ ่อแม่ผปู้ กครองต้องช่วยสอนการเขยี น การ
ทำงานตามที่ครูมอบหมายใหเ้ พราะเด็กในวยั นย้ี งั ขาดความพรอ้ มในการเขยี น และทำงาน ครตู อ้ งให้การ
ติดตามตลอดจนคำแนะนำกบั ผ้ปู กครองอย่างใกล้ชิด

- ระดับประถมศกึ ษาตอนต้น
จากการจัดการเรียนการสอนในแบบผสมผสานระหวา่ ง On Hand และ Online ใน
ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ยังไมส่ ามารถใช้ Online ไดเ้ พราะครแู ละผู้ปกครองต้องชว่ ยกันสง่ เสริมและ
พัฒนาทกั ษะท่ีสำคัญในเร่อื ง การอ่านออก เขยี นได้ คดิ เลขเป็น ซง่ึ ถือเปน็ สงิ่ ทส่ี ำคญั ท่ตี ้องใหม้ ีการ
เรยี นแบบ On Hand โดยเฉพาะเนน้ ในกล่มุ วชิ าหลกั 3 วชิ า คอื ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และ
วทิ ยาศาสตร์ โดยครูและผปู้ กครองต้องใสใ่ จในการทำแบบฝึกหดั การเขยี น การอา่ นอยา่ งใกล้ชิดและ
ต่อเน่ือง

95

- ระดับประถมศึกษาตอนปลาย
ในระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลายถอื ได้ว่าเปน็ การจัดการเรียนร้ทู ี่ต้องใส่ใจและวางแผนให้
นักเรียนไดเ้ กดิ ทักษะและความรู้เพ่ิมมากขึ้น ดงั น้นั ทางโรงเรียนเน้นกลุม่ เน้ือหาสาระหลัก 5 วิชา คอื
วิชาภาษาไทย วิชาคณติ ศาสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ และสงั คมศึกษา ส่วนในกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ทเี่ หลอื เปน็ การบูรณาการผ่านโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. และการสงั เกตพฤติกรรมการมี
สว่ นร่วมของนกั เรยี นในการเรียนการสอน โดยทางโรงเรียนและผปู้ กครองจะตอ้ งคอยกำกบั ตดิ ตามการ
ทำงานของนกั เรียนรว่ มกนั อย่างสม่ำเสมอเชน่ กนั พร้อมท้ังในการเรียนรปู แบบ Online ทางผปู้ กครอง
ตอ้ งคอยสนับสนุนจัดหาอุปกรณใ์ หน้ ักเรยี นเกดิ ความพร้อมในการเรียนออนไลน์ และประเดน็ สำคญั ต้อง
คอยสร้างวินยั ในการใช้โทรศัพทใ์ ห้เหมาะสม

ด้านการติดตามส่งตอ่ การเรยี นรู้
- ระดบั ประถมศกึ ษา
ในกรณีนักเรียนทีข่ าดเรยี น โดยทางโรงเรียนไดต้ ั้งเกณฑ์เกี่ยวกับการเช็คเวลาเรยี นด้วยการ
ตรวจสอบการส่งเอกสาร แบบฝกึ หัด ใบงาน รวมทัง้ ช้ินงานทม่ี อบหมายให้ ท้ังนี้ ทางโรงเรยี นจะมีการ
ติดตามนกั เรียนท่ขี าดสง่ งานดังกล่าวทนั ที โดยไปพบปะกับนักเรยี นและผ้ปู กครองที่บา้ นเพื่อสอบถามและ
แก้ไขปญั หาทเ่ี กดิ ข้ึน
- ด้านความปลอดภัย
ในกรณีทช่ี ว่ ยเหลอื นักเรียนหรือผปู้ กครองที่เป็นกลุ่มผู้สมั ผัสโรค กลุ่มเสย่ี งหรอื ติดเชื้อไวรสั โคโร
นา ทางโรงเรยี นได้มีมาตรการกำหนดไว้เปน็ ขั้นตอนอยา่ งชัดเจน ทง้ั ในด้านการปฏบิ ัตติ อ่ กล่มุ นักเรยี น
ดงั กล่าว และการชว่ ยเหลอื สนบั สนุนดา้ นเคร่ืองอปุ โภค บริโภคในชว่ ง 14 วนั
การวิเคราะห์การดูแลช่วยเหลือนกั เรียน(SWOT)
- จุดแข็ง

ผู้ปกครองนักเรียนให้ความรว่ มมอื และให้ความเชือ่ มน่ั ในการดูแลส่งั สอนของคณะครูเปน็
อย่างดี และโรงเรยี นเป็นโรงเรยี นขนาดเล็กทำใหม้ กี ารตดิ ต่อสื่อสารอย่างใกล้ชดิ และรวดเร็ว ขา่ วสาร
และการสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเรว็

- จดุ อ่อน
นกั เรยี นบางคนยังไม่สามารถปรับตัวในการเรยี นในช่วงน้ไี ด้อยา่ งเหมาะสม ยงั มพี ฤติกรรม

นอนตนื่ สาย เล่นโทรศพั ท์เยอะ โดยไม่มคี วามยำเกรงต่อคำแนะนำคำตักเตือนของผ้ปู กครอง
- โอกาส
ทางโรงเรยี นและผูป้ กครองสามารถติดต่อสอื่ สารกนั อย่างรวดเร็ว ผูป้ กครองสว่ นมากให้

ความศรัทธาต่อการสอนของคณะครู

96

- อปุ สรรค
ยงั ขาดการสรา้ งความร่วมมือและหามาตรการรว่ มกนั ในการแกไ้ ขพฤติกรรมนักเรียนท่ีมี

พฤติกรรมไมเ่ หมาะสม ส่วนมากผู้ปกครองจะไมส่ ามารถร่วมแสดงความคิดเห็นและมอบความ
รับผดิ ชอบในการดูแลส่ังสอนนกั เรยี นให้กับครเู ป็นสำคญั

97

แบบสัมภาษณ์เชิงลกึ ของครูและผบู้ รหิ าร
ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ของโรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

คำชี้แจง โปรดกรอกข้อมูลตามความคดิ เหน็ ของทา่ นตามความเปน็ จริงเพ่ือเปน็ ประโยชนใ์ นการจดั ทำ
ข้อเสนอเชิงนโยบายของสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาต่อไป โดยในการเก็บข้อมูลเพือ่ การวิจัยครงั้ น้ี
มวี ตั ถุประสงคด์ ังน้ี

1. เพ่อื วิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในลักษณะต่าง ๆ ด้านข้อดี ข้อเสีย โอกาส
อุปสรรค (SWOT) ในการบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ และการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน

2. เพือ่ พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหารจัดการ การ
จัดการเรยี นรู้ และการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

3. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื
ไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา และระดับสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

การให้ข้อมูล ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของท่านจะเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยในครั้งนี้เป็น
อยา่ งยิง่ และคณะผวู้ จิ ัยจะเก็บรักษาข้อมลู ของทา่ นเพื่อใชป้ ระโยชนเ์ ฉพาะงานวิจยั น้เี ท่าน้ัน

1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
1.1 ข้อมลู ผ้ตู อบแบบสอบถาม

 ผู้บริหาร (ไม่ไดจ้ ัดการเรียนการสอนแบบ On Site)
 ครู

ระดับชนั้ ที่สอน
 ปฐมวยั
 ประถมศกึ ษาตอนต้น
 ประถมศึกษาตอนปลาย
 มัธยมศกึ ษาตอนตน้
โรงเรยี นบ้านไผป่ ระถมศึกษา
อำเภอบา้ นไผ่ จงั หวัดขอนแกน่

98

1.2 ลักษณะโรงเรียน (เลอื กไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )

 ปกติ

 โรงเรียนประชารฐั

 โรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล

 โรงเรียนคณุ ประจำตำบล (ประถมศึกษา)

 โรงเรยี น Stand Alone

1.3 ขนาดโรงเรียน

 ขนาดเล็ก  ขนาดกลาง

 ขนาดใหญ่  ขนาดใหญพ่ เิ ศษ

๒. บทบาทของโรงเรยี นท่ีมตี ่อชมุ ชน และการใหค้ วามรว่ มมอื ในการบริหารจดั การแพรร่ ะบาดของเชอื้

ไวรสั โคโรนา (COVID 19) ( เลือกไดม้ ากว่า 1 ข้อ ถ้าไมม่ สี ่วนเกย่ี วขอ้ งใดๆ ขา้ มไป ข้อ 1.๕ )

 โรงพยาบาลสนาม  สถานทก่ี ักตัว

 สถานท่ีพักคอย  สถานทปี่ ลกู สมนุ ไพรทางเลอื ก

 สถานที่ผลิตเจลแอลกอฮอล หน้ากากอนามัย

 ดำเนินงานจิตอาสาอน่ื ๆ

๓. จัดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ (สามารถเลอื กได้มากกวา่ 1 รูปแบบ)

 On Site

 On Air

 On Demand

 On Hand

 On Line

 อนื่ ๆ .....................................

๔. แนวทางการบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ 5 รปู แบบของโรงเรียน และการดแู ลชว่ ยเหลอื
นักเรียน

๔.๑ การบริหารจัดการ
ดา้ นบุคคล (Man)
- โรงเรยี นมีจำนวนครูพอเพียงในการจดั การเรยี นการสอนและสามารถจัดทำคสิ

ปการสอน เพ่ือใช้ในการจดั การเรยี นการสอนได้ 100 %
- โรงเรียนมีการจัดอบรมการใชแ้ อปพลเิ คชัน่ ในการจัดทำสื่อ ทำคลิปการสอนภายใน

โรงเรียน
- ในการจดั การเรียนการสอนในทุกวิชา ครูจะวางแผนการสอน และออกแบบการสอน

ให้สอดคล้องกบั ตัวช้วี ดั รายวิชา และบริบทของนกั เรียน

99

- ครูทกุ สาระวชิ า สามารถจดั ทำคลิปการสอน เพอ่ื นำส่งลงไปใน Line กลุ่มของแต่
ละช้นั เรยี น โดยใช้แอปพลิเคชน่ั ที่หลากหลาย และเหมาะสมกับนกั เรียน

ดา้ นงบประมาณ (Money)
- โรงเรียนมกี ารจดั สรรงบประมาณในการจดั ทำใบงานให้แกน่ ักเรยี นทุกคน
- โรงเรยี นมีการเบิกจ่ายค่าอาหารกลางวนั เพ่ือจ่ายใหก้ ับนักเรยี นทกุ คน ในทุกวันตาม
วนั ทมี่ กี ารจัดการเรียนการสอน
- โรงเรียนมกี ารจัดสรรงบประมาณสนับสนุนให้กับคณะครูเพ่อื ใชใ้ นการจัดทำส่อื การ
สอน
- โรงเรยี นมกี ารจดั สรรงบประมาณในการติตามเยยี่ มบ้านนักเรียนทข่ี าดการติดต่อ
และไม่มารบั ใบงาน

ด้านวตั ถุดบิ (Material)
- โรงเรียนมีใบงานสำหรับแจกใหก้ บั นักเรยี นทุกคน โดยจัดทำแยกเปน็ ครั้ง ครง้ั ละ 2
สัปดาห์
- โรงเรียนจดั ทำกระดานแมเ่ หล็ก เพ่ือใชใ้ นการประสมคำให้กับนกั เรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ทกุ คน
- โรงเรียนแจกอาหารเสรมิ นม ตามท่ไี ดร้ บั จัดสรรให้กำนักเรียนทุกคน
- โรงเรยี นได้รับการสนบั สนุนโทรศัพท์มือถือ มือสองที่มีสภาพใชไ้ ดด้ ีจากผูม้ ีจิตศรัทธา
เพอื่ นำมาให้กับนักเรยี นท่ีมคี วามต้งั ใจเรียนท่ยี ังขาดแคลน

ดา้ นการบรหิ ารจัดการ (Management)
- โรงเรียนมกี ารประชมุ วางแผนการทำงาน และนิเทศตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอน
เพอื่ สนับสนนุ ชว่ ยเหลือ และแก้ปัญหาให้กับคณะครู ผา่ นระบบ Google Meet ทุก 2 สัปดาห์
- โรงเรียนมกี ารส่งเสรมิ และพัฒนาครูในการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (COVID 19) โดยใชร้ ะบบ PLC ในสายชัน้ และเปล่ียนเรยี นรู้แนวคิด
วธิ ีการในการจัดทำส่ือการสอน On Demand และ On hand ทง้ั เป็นกลุ่มเล็กในโรงเรยี น

การวเิ คราะห์การบรหิ ารจัดการ (SWOT)
- จดุ แข็ง
โรงเรยี นเปน็ โรงเรยี นขนาดใหญ่ มีระบบการบรหิ ารจัดการที่ดี มบี คุ ลากรทม่ี ากด้วยความรู้

ความสามารถ มีงบประมาณเพียงพอในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน

100

- จดุ อ่อน
โรงเรียนมนี กั เรยี นจำนวนมาก และเดินทางมาจากหลายพน้ื ที่ หลายหมูบ่ ้าน หลายอำเภอ
- โอกาส
โรงเรยี นเปน็ โรงเรียนทอี่ ยูใ่ นเมืองการคมนาคมสะดวกในการมารบั มาสง่ ใบงาน มีบุคลากรที่
มากด้วยความรู้ความสามารถในการใชส้ ่ือเทคโนโลยเี พ่อื ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน และกำกับตดิ ตาม
นกั เรียนอย่างสม่ำเสมอ ผปู้ กครองให้ความสนใจในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- อุปสรรค
โรงเรียนมีนักเรยี นจำนวนมาก และเดินทางมาจากหลายพนื้ ท่ี หลายหม่บู า้ น หลายอำเภอ
ทำให้ยากลำบากต่อการเดินทางมารบั ใบงาน เด็กบางสว่ นอาศัยอยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย ที่มีอายมุ าก และ
ขาดแคลนเคร่อื งมอื สื่อสาร จงึ ทำใหเ้ รียนรู้ได้ไม่ดีเท่าท่ีควร

๔.๒ การจดั การเรียนรู้ 5 รปู แบบของโรงเรียน
- การจัดการเรียนรแู้ บบ On Site มกี ารจดั การเรียนรอู้ ย่างไรบา้ ง

(ไม่ไดจ้ ดั การเรียนการสอนแบบ On Site)

- การจัดการเรยี นร้แู บบ On Air มีการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งไรบา้ ง
(ไม่ได้จัดการเรยี นการสอนแบบ On Air)

- การจัดการเรียนรูแ้ บบ On Demand มกี ารจัดการเรียนรู้อยา่ งไรบ้าง
ครจู ัดทำคลิปการสอนและสื่อการสอนส่งลงไปในกลมุ่ ไลน์ของแต่ละสายชั้นเพื่อให้

นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้และทำใบงานตามคลปิ การสอนและส่ือการสอื่ สอนท่ีคุณครูกำหนดให้

- การจดั การเรียนรแู้ บบ On Hand มกี ารจัดการเรียนร้อู ย่างไรบา้ ง
คุณครูผ้สู อนในแต่ละรายวิชา จัดทำใบงาน ตามตวั ช้ีวัดทค่ี วรรู้ของแตล่ ะรายวชิ า ให้

นักเรยี นหรอื ผปู้ กครองมารับ ให้ทุกๆ 2 สปั ดาห์ หรือหากไมส่ ะดวกมารบั ก็ใหจ้ ดั ทำเป็นไฟล์แล้วสง่ เขา้
ไปในกล่มุ ไลนข์ องแตล่ ะชั้นเรียนเพอื่ ให้ผู้ปกครองหรือนักเรียนดาวนโ์ หลดและปร้ินทำท่ีบ้าน

- การจดั การเรยี นรูแ้ บบ On Line มีการจัดการเรียนรู้อยา่ งไรบ้าง
มกี ารบูรณาการการสอนแบบ On line

- อ่นื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………

101

การวเิ คราะห์การจัดการเรยี นรู้ (SWOT)
- จุดแขง็
โรงเรียนมีระบบการบรหิ ารจัดการท่ดี ี มบี ุคลากรที่มากดว้ ยความร้คู วามสามารถ มี

งบประมาณมีเพยี งพอในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
- จุดอ่อน
โรงเรียนมีนกั เรยี นจำนวนมากจึงต้องใชง้ บประมาณในการจดั ทำใบงานมากพอสมควร
- โอกาส
โรงเรยี นเป็นโรงเรียนทอี่ ยใู่ นเมืองการคมนาคมสะดวกในการมารบั มาส่งใบงาน ผู้ปกครอง

ให้ความสนใจในการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
- อุปสรรค
โรงเรียนมีนกั เรียนจำนวนมาก และเดนิ ทางมาจากหลายพนื้ ที่ หลายหมู่บา้ น หลายอำเภอ

ทำให้ยากลำบากต่อการเดนิ ทางมารบั ใบงาน เด็กบางส่วนอาศัยอยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย ทมี่ ีอายมุ ากและ
ขาดแคลนเครื่องมือสื่อสาร จงึ ทำใหเ้ รียนรู้ได้ไม่ดีเท่าที่ควร

๔.๓ การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
ด้านการเรียน
1. โรงเรยี นมีการจัดทำใบงานให้แกน่ กั เรยี นทุกคน
๒. โรงเรียนมีการจ่ายคา่ อาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ (นม) ให้กบั นักเรยี นทุกคน ในทุก
วันตามวนั ท่มี ีการจัดการเรยี นการสอน
๓. โรงเรียนมีการออกติตามเยี่ยมบ้านนกั เรียนทขี่ าดการติดตอ่ และไมม่ ารบั ใบงาน
- ระดับปฐมวยั
โรงเรียนใหค้ รูจดั การเรยี นการสอนท่เี หมาะสมกับพัฒนาการตามช่วงวยั ของนกั เรยี น

ไมใ่ หเ้ รียนมากจนเกินไป เนน้ การตดิ ต่อสอ่ื สาร และสรา้ งความค้นุ เคยกับครูเปน็ สว่ นมาก
- ระดบั ประถมศึกษาตอนต้น
ครูจัดการเรียนการสอนเนน้ การอ่านออกเขียนไดใ้ นสาระการเรยี นรู้หลกั คอื วชิ า

ภาษาไทยคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เปน็ สว่ นใหญ่
- ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย
ครูจดั การเรียนการสอนเนน้ ไปที่สาระการเรยี นรหู้ ลัก คือ วิชาภาษาไทยคณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และเพม่ิ เตมิ ในสาระอื่นๆ ตามความเหมาะสม
- ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

……………………………………………ไม่ม…ี ………………………………………………………

102

ดา้ นการติดตามสง่ ต่อการเรยี นรู้
- ระดับประถมศึกษา
มกี ารกำกับตดิ ตาม วัดและประเมนิ ผล ในสิง่ ท่นี ักเรียนควรรู้ และจำเปน็ ตอ้ งรูใ้ นแตล่ ะรายวชิ าอยา่ ง
ตอ่ เนื่อง

- ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
……………………………………………ไม่ม…ี ………………………………………………………

- ดา้ นความปลอดภยั
การรบั ส่งใบงานนักเรยี นไมจ่ ำเปน็ ตอ้ ง เดินทางมารับในวันเดยี วกัน เพื่อลดปัญหาการแพร่

ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โควิช 2019 โรงเรยี นจงึ จดั ครใู ห้มาปฏบิ ัติหนา้ ทีส่ ายชั้นละ 1 คน ในทุกๆ วนั เพื่อ
อำนวยความสะดวกตอ่ ผปู้ กครองและนักเรียนทจ่ี ะมารบั ใบงานในแตล่ ะวนั
การวิเคราะห์การดูแลช่วยเหลือนกั เรียน(SWOT)

- จุดแข็ง
โรงเรียนมรี ะบบการบริหารจัดการทดี่ ี มีบุคลากรเพียงพอและยังมากด้วยความรู้
ความสามารถ อีกทัง้ มีงบประมาณเพียงพอในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
- จุดออ่ น
โรงเรียนมีนกั เรยี นจำนวนมาก และเดินทางมาจากหลายพืน้ ท่ี หลายหมู่บ้าน หลายอำเภอ มี
ความลำบากในการกำกำตดิ ตาม
- โอกาส
โรงเรยี นมรี ถโรงเรียนและคณะครมู ีความพร้อมในเร่อื งของยานพาหนะเพ่ือใชใ้ นการตดิ ตาม
ดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น และผู้ปกครองใหค้ วามสนใจในการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนอีกดว้ ย
- อปุ สรรค
โรงเรยี นมนี กั เรยี นจำนวนมาก และเดินทางมาจากหลายพน้ื ท่ี หลายหมบู่ า้ น หลายอำเภอ
ทำใหย้ ากลำบากต่อการเดนิ ทางออกไปดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน

103

แบบสัมภาษณ์เชงิ ลึกของครูและผ้บู ริหาร
ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ของโรงเรยี นในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2

คำช้ีแจง โปรดกรอกข้อมลู ตามความคดิ เหน็ ของทา่ นตามความเป็นจรงิ เพ่ือเปน็ ประโยชนใ์ นการจัดทำ
ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายของสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาต่อไป โดยในการเกบ็ ข้อมลู เพือ่ การวจิ ัยคร้ังนี้ มี
วตั ถปุ ระสงคด์ ังน้ี

1. เพอ่ื วเิ คราะหส์ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นในลกั ษณะต่าง ๆ ด้านข้อดี ข้อเสยี โอกาส
อุปสรรค (SWOT) ในการบริหารจดั การ การจัดการเรยี นรู้ และการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน

2. เพื่อพฒั นาแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหารจัดการ การ
จัดการเรยี นรู้ และการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น

3. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื
ไวรสั โคโรนา 2019 ในระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา และระดบั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

การให้ข้อมูล ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของท่านจะเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยในครั้งนี้เป็น
อยา่ งยิ่งและคณะผู้วจิ ยั จะเก็บรักษาข้อมูลของทา่ นเพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะงานวิจยั นี้เท่านน้ั

1 ข้อมูลท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
1.1 ข้อมูลผตู้ อบแบบสอบถาม

 ผบู้ รหิ าร
 ครู

ระดบั ชั้นท่สี อน
 ปฐมวัย
 ประถมศกึ ษาตอนต้น
 ประถมศกึ ษาตอนปลาย
 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
โรงเรยี น บ้านป่างิ้วหนองฮี อำเภอ บา้ นไผ่
1.๒ ลักษณะโรงเรียน (เลือกได้มากกว่า 1 ขอ้ )
 ปกติ
 โรงเรยี นประชารัฐ
 โรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
 โรงเรยี นคณุ ประจำตำบล (ประถมศึกษา)
 โรงเรยี น Stand Alone

104

1.๓ ขนาดโรงเรยี น

 ขนาดเลก็  ขนาดกลาง

 ขนาดใหญ่  ขนาดใหญ่พิเศษ

๒. บทบาทของโรงเรียนทม่ี ีตอ่ ชมุ ชน และการให้ความร่วมมอื ในการบริหารจัดการแพร่ระบาด

ของเช้ือไวรสั โคโรนา (COVID 19) ( เลอื กได้มากวา่ 1 ข้อ ถ้าไม่มีส่วนเกยี่ วข้องใดๆ ข้ามไป ข้อ 1.๕ )

 โรงพยาบาลสนาม  สถานทก่ี ักตัว

 สถานท่ีพักคอย  สถานทป่ี ลกู สมุนไพรทางเลอื ก

 สถานท่ีผลติ เจลแอลกอฮอล หน้ากากอนามัย

 ดำเนนิ งานจติ อาสาอนื่ ๆ

๓. จัดรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในรปู แบบ (สามารถเลอื กได้มากกวา่ 1 รปู แบบ)

 On Site

 On Air
 On Demand
 On Hand
 On Line

 อ่นื ๆ .....................................

๔. แนวทางการบรหิ ารจดั การ การจดั การเรียนรู้ 5 รปู แบบของโรงเรยี น และการดูแล
ชว่ ยเหลือนกั เรยี น

๔.๑ การบรหิ ารจดั การ
- ด้านบคุ คล (Man)

ผู้บรหิ ารประชมุ ปรกึ ษาหารือกับคณะครเู พื่อจัดรูปแบบการเรยี นการสอนท่ีเหมาะสมกับ
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID๒๐๑๙) นำข้อสรุปมาดำเนินการ โดยครู

วเิ คราะหต์ ัวชี้วัดในการจัดการเรียนการสอน จดั ทำใบงาน ใบความรู้ ซง่ึ มีท้ังการสอนรูปแบบ On hand,

On Demand, On line ครูเลือกจดั กิจกรรมตามความเหมาะสม ครูได้รับการฝกึ อบรมออนไลนใ์ นการ

ใช้application ตา่ งๆ รวมทงั้ ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ในการจัดทำคลิปการสอน การผลิตสือ่ ตา่ งๆ

เพ่อื ใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนเป็นไปอย่างราบร่นื ครูสนใจ ใส่ใจในการทำกิจกรรม ใบงาน เชค
ตรวจสอบงานของนกั เรียนเป็นประจำ รวมท้ังให้คำแนะนำ คำปรึกษานักเรยี นท่ีมปี ญั หา โรงเรยี นจะแจ้ง

ขา่ วสาร ความเคลอื่ นไหวในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของหม่บู า้ นตา่ งๆ ครู นักเรียนและผู้ปกครอง

ทราบ โดยผบู้ ริหารเปน็ คนสัง่ การ

105

- ดา้ นงบประมาณ (Money)
โรงเรยี นได้รับเงินอดุ หนุนสถานศกึ ษา รวมท้ังทุนนักเรียนยากจน เงนิ ชว่ ยเหลอื จากรัฐบาล
โดยโรงเรยี นเร่งเบิกจา่ ยเพ่ือบรรเทาความเดือดรอ้ นแก่ผปู้ กครอง รวมทั้งเงินอาหารกลางวนั กเ็ บิกจ่ายให้
ครบ ๑๐๐ วัน
- ดา้ นวตั ถุดิบ (Material)
โรงเรยี นดำเนนิ การจัดหากระดาษ เครอื่ งปร้ินส์เตอร์ เครอ่ื งโรเนียวไว้ให้บคุ ลากรอยา่ ง
เพียงพอในกรณีของการจดั ทำใบงาน ใบความรู้
- ด้านการบรหิ ารจดั การ (Management)
ผบู้ ริหารประชมุ ทกุ ฝ่ายเพอ่ื ร่วมกนั ปรกึ ษาหารือ หาทางออกรว่ มกันในช่วงสถานการณก์ าร
แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา2๐๑๙ (COVID๒๐๑๙) โดยครจู ดั การเรียนการสอนผา่ นรูปแบบการสอน
On hand, On lineและ On Demand โดยจัดการเรยี นการสอนให้ครบ ๑๐๐วนั โดยจัดตารางเรยี น
ลดหล่นั ตามจำนวนชว่ั โมงปกติ มตี ารางการสอนชดเชย การทดสอบ การวดั ผลการจดั การเรยี นรู้

การวเิ คราะห์การบรหิ ารจัดการ (SWOT)
- จดุ แขง็
ทุกฝ่ายใหค้ วามร่วมมือในการบริหารจดั การ ครมู ีความสามารถในการบรหิ ารจดั การเรยี น

การสอนเม่ือเกิดปญั หาข้อสงสัย รว่ มกนั แก้ไข หาแนวทางร่วมกัน
- จุดอ่อน
เนือ่ งจากเป็นโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา ทำการสอนในหลายระดับช้ัน แตล่ ะ

ระดับชนั้ มคี วามแตกตา่ ง หลากหลายในความคิด ผูป้ กครองต้องทำมาหากนิ จึงไม่คอ่ ยมเี วลาใส่ใจบุตร
หลานในการเรยี นมากนกั

- โอกาส
ครูวิเคราะหผ์ ู้เรยี นเปน็ รายบุคคล มขี ้อมลู เชงิ ลกึ ของนกั เรียนทตี่ นเป็นครูประจำชน้ั หรอื ครูท่ี
ปรึกษา เยี่ยมบา้ นใหค้ วามช่วยเหลือ ทราบถงึ ปัญหาของนักเรียนแต่ละคน
- อปุ สรรค
เนื่องจากเปน็ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา นกั เรยี นชัน้ มัธยมต้นมาจากหลายหม่บู ้าน
นอกเขตบรกิ ารของโรงเรียนทำใหเ้ ป็นอุปสรรคในการมารบั ใบงาน

106

๔.๒ การจัดการเรียนรู้ 5 รปู แบบของโรงเรยี น
- การจัดการเรียนรแู้ บบ On Site มกี ารจดั การเรียนรูอ้ ย่างไรบ้าง
(ยงั ไม่เปิดเรียน)
- การจดั การเรยี นรแู้ บบ On Air มกี ารจดั การเรียนรูอ้ ยา่ งไรบา้ ง
(ไม่ไดส้ อน)

- การจดั การเรยี นรู้แบบ On Demand มกี ารจัดการเรียนรู้อยา่ งไรบ้าง
ครจู ัดทำคลิปการสอนและส่อื การสอนส่งไปยังกลมุ่ ไลนห์ อ้ งทท่ี ำการเรียนการสอน
ศกึ ษาคลปิ การสอน ทำใบงาน สง่ ครู มีปญั หาสอบถามครูในหัวข้อท่ีไมเ่ ขา้ ใจ

- การจดั การเรียนรู้แบบ On Hand มีการจดั การเรยี นรู้อย่างไรบา้ ง
ครูผูส้ อนแตล่ ะรายวชิ า วิเคราะหต์ ัวช้ีวัดที่จำเป็นและสำคัญ จัดทำใบงาน ใบความรู้
แจกให้นักเรยี นมารับท่โี รงเรียน กำหนดส่งตามท่ีครรู ะบุในแต่ละวชิ า

- การจดั การเรยี นรูแ้ บบ On Line มกี ารจัดการเรยี นรู้อยา่ งไรบ้าง
ครูจดั การเรยี นการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ใช้ Google Meet ในการจัดการเรยี น
การสอนในวชิ าทีต่ ้องอธบิ ายให้นกั เรยี นได้ฟงั อย่างชดั เจน แต่พบปญั หาเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ ของ
นกั เรยี นไม่เสถียร

- อ่ืนๆ

การวเิ คราะห์การจัดการเรยี นรู้ (SWOT)
- จดุ แข็ง
๑. ครูมีความรู้ความสามารถในการบริหารจดั การช้นั เรียน จัดทำใบงาน ใบความรู้ รว่ มทั้ง

คลปิ การสอน สือ่ ตา่ งๆเพ่อื ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน เอาใจใสใ่ ห้ความช่วยเหลอื นกั เรียนเปน็ อย่างดี
๒. นักเรยี นช้นั มธั ยมตน้ สามารถศกึ ษาหาความรูด้ ้วยตนเอง โดยผ่านชอ่ งทางการหาความรู้ท่ี

หลากหลาย
- จดุ ออ่ น
รปู แบบการสอนเช่น On hand นกั เรียนบางคนทีม่ ีการเรียนร้ชู ้า ไม่สามารถทำได้ มีแตค่ อย

ลอกคำตอบจากคนอ่ืนที่สง่ กอ่ น ทำให้นักเรยี นขาดแรงกระตนุ้ แรงผลักดัน (passion) ความสนใจ ไม่ใสใ่ จ
ในการทำงานเทา่ ท่ีควร

107

- โอกาส
ครูได้พัฒนาตนเองในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เข้าฝกึ อบรมในการใช้ application
ต่างๆ นำมาใช้ในการจดั การเรยี นการสอนในยุค New Normal

- อุปสรรค
นักเรียนสว่ นมากขาดอุปกรณ์ computer, tablet , smart phone รวมทง้ั สญั ญาณ
เครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ โดยเฉพาะผูป้ กครองที่มบี ตุ รมากกว่า 1 คนทำใหเ้ กิดปัญหาในการจัดซือ้ เพราะ
สภาพทางครอบครัวส่วนมากคอ่ นข้างมฐี านะยากจน ผู้ปกครองหยา่ ร้าง แยกทาง หรอื ไปทำงาน
ตา่ งจังหวัด ฝากลกู ไว้ให้ป่ยู า่ ตายายเล้ียง เปน็ อปุ สรรคในการจัดการเรยี นออนไลน์

๔.๓ การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
ด้านการเรียน
ครจู ดั ทำใบงาน ใบความรู้ มอบหมายงานให้ทำ นักเรยี นสามารถปรกึ ษาปญั หาในการเรียนได้
โดยผา่ นทางกลมุ่ ไลน์และโทรศพั ท์พดู คุย ทุกปัญหาหาทางออกรว่ มกัน

- ระดับปฐมวัย
ครูประจำช้นั จดั ทำใบงานเป็นแฟม้ สะสมงานที่เหมาะสมกบั ชว่ งวัย รวมทั้งสง่ คลปิ การ
สอนใหน้ กั เรียนผา่ นทางกลุ่มไลน์ผปู้ กครองปฐมวัย
- ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้
ครูประจำชน้ั จดั ทำใบงานเปน็ แฟ้มสะสมงานที่เหมาะสมกับชว่ งวยั นกั เรียนผปู้ กครองมา
รบั -สง่ ท่ีโรงเรยี น ครูใหค้ ำแนะนำ แก้ไขเมอ่ื พบปญั หาในการเรยี น
- ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย
ครปู ระจำชนั้ จัดทำใบงานเปน็ แฟม้ สะสมงานท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย รวมท้ังส่งคลิปการ
สอนให้นักเรยี นผ่านทางกล่มุ ไลน์ ครูให้คำแนะนำ แก้ไขเมื่อพบปัญหาในการเรยี น
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ครูประจำวชิ าจดั ทำการเรียนการสอน โดยผา่ น Application ทั้งรูปแบบการสอนผ่าน
คลิปวีดโื อ การศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยทำลงในสมดุ นักเรียนส่งงานตามวนั เวลาท่ีครกู ำหนด

ด้านการตดิ ตามส่งตอ่ การเรียนรู้
- ระดบั ประถมศกึ ษา
ครูผ้สู อนตดิ ตาม วดั ประเมนิ ผลนกั เรียน โดยการเชคชือ่ เชคการสง่ ใบงาน ความสนใจ

ของนักเรยี น แตป่ ระเมนิ ผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย คอยช่วยเหลือ ใหก้ ำลังใจคำแนะนำอย่เู สมอ

108

- ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
ครูผู้สอนตดิ ตาม วัดประเมินผลนักเรียน โดยการเชคช่ือ เชคการสง่ ใบงาน ความสนใจ
ของนักเรยี น และประเมินผลด้วยวิธีการทห่ี ลากหลาย คอยชว่ ยเหลือ ให้กำลังใจคำแนะนำอยเู่ สมอ
ดา้ นความปลอดภัย
โรงเรียนดำเนนิ การรกั ษาความปลอดภยั ของบคุ ลากร นักเรียน ผปู้ กครอง โดยดำเนนิ การตาม
หลกั ของสาธารณสุข คือ มกี ารตรวจวัดอุณหภูมิ การล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอร์ การสวมหนา้ กาก
อนามยั การเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม เมื่อนักเรยี น ผู้ปกครองมาตดิ ตอ่ งานทโี่ รงเรียน รวมทั้ง หากหมูบ่ า้ น
ใดทเี่ กิดการระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา2๐๑๙ (COVID๒๐๑๙) จะไมใ่ ห้นักเรียนหรือผปู้ กครองเขา้ มา
โรงเรยี น ให้ติดตอ่ ประสานงานทางโทรศัพทห์ รอื ทางไลนเ์ ท่าน้นั

การวเิ คราะห์การดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น(SWOT)
- จดุ แข็ง
ครูประจำช้นั /ครทู ป่ี รึกษามีข้อมูลพื้นฐานของนักเรยี นทำให้ทราบถงึ ปญั หา อุปสรรคของ

การเรียนของนักเรียน พยายามเข้าแกไ้ ขใหค้ ำปรึกษาอย่างเป็นกัลยาณมิตร
- จดุ ออ่ น
นักเรยี นไม่ใส่ใจในการเรียนหรอื ทำใบงาน ขาดความกระตือรอื ร้น สนใจการเล่นเกม การดู

คลปิ วดิ ีโอมากเกนิ ไป
- โอกาส
ครู นกั เรียน ผู้ปกครองมีปฏสิ ัมพันธ์ทดี่ ตี ่อกันมากขน้ึ
- อปุ สรรค
นักเรยี นมาจากหลายหมู่บา้ น ห่างไกลโรงเรียน บางหม่บู า้ นได้ปดิ หมบู่ ้านเพราะการแพร่

ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ( COVID๒๐๑๙) ครไู ดแ้ ค่สอบถามทางโทรศัพท์และไลน์

109

ภาคผนวก ค
ภาพกจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

110

การจดั การเรยี นรูแ้ บบ Online

111

การจดั การเรียนรู้แบบ On-hand

112

การจดั การเรยี นรู้แบบ On-demand

113

ภาคผนวก ง
เอกสารเผยแพรก่ ารดำเนินงาน

114

115

116

ภาคผนวก จ
คำส่งั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งาน

117

118

119

120

การวจิ ัยเร่ือง ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษา
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)

กรณีศึกษา : สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2


Click to View FlipBook Version