The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sepakna64mai, 2021-11-03 05:44:43

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) กรณีศึกษา : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

รูปเล่มสมบูรณ์ ล่าสุดปรับแก้ปก

38

ตารางที่ 4 จำนวนโรงเรียนขยายโอกาส ขนาดเล็ก โรงเรียนในฝัน โรงเรยี นดศี รีตำบล

อำเภอ โรงเรยี นขยายโอกาส โรงเรียนขนาดเลก็ โรงเรยี นในฝนั โรงเรียนดศี รีตำบล

ชนบท 7 27 1 5
บ้านไผ่ 15 32 2 8
เปือยนอ้ ย 5 91 4
มัญจาคีรี 13 51 2 7
โคกโพธ์ิไชย 4 15 1 4
บา้ นแฮด 5 14 1 4
รวมท้ังส้ิน 49 148 8 32

ตารางที่ 5 จำนวนขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ลกู จา้ งประจำ และลูกจา้ งช่วั คราว

ท่ี ตำแหนง่ และสายงานการปฏบิ ัติหนา้ ที่ จำนวน (คน)

 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา/ลูกจา้ ง ใน สพป.

1 ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา 1

2 รองผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 3

3 ศกึ ษานิเทศก์ 17

4 บุคลากรทางการศึกษาอน่ื ตามมาตรา 38 ค (2) 45

5 ลกู จ้างประจำ 2

6 ลูกจ้างชัว่ คราว 11

รวม 79

39

ตารางท่ี 6 จำนวนขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ลกู จา้ งประจำ และลกู จา้ งชวั่ คราวในสถานศกึ ษา

ที่ ตำแหนง่ และสายงานการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี จำนวน (คน)

 ขา้ ราชการครู/พนกั งานราชการ/อัตราจา้ งที่ปฏิบตั งิ านจรงิ ในสถานศกึ ษา

1 ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น 188

2 รองผู้อำนวยการโรงเรียน 2

3 ครูผู้สอน 1,297

4 ลูกจ้างประจำ 47

5 พนกั งานราชการ 129

6 นักการภารโรง 126

7 ธรุ การโรงเรียน 207

8 พีเ่ ลยี้ งเด็กพิการ 103

9 ครูขาดแคลนขน้ั วิกฤติ 38

10 บุคลากรวิทย์ - คณิต 15

รวม 2,152

40

บทท่ี 3
วิธีการดำเนนิ การวจิ ยั

การวิจัย เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 กรณีศึกษา : สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ในครั้งนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะต่าง ๆ ด้านข้อดี ข้อเสีย โอกาส
อุปสรรค (SWOT) ในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อพัฒนา
แนวทางการจัดการศกึ ษา พัฒนาโรงเรียนทกุ ลกั ษณะในการบรหิ ารจดั การ การจัดการเรียนรู้ และการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน และเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 และระดับ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ประกอบด้วยขน้ั ตอนการวจิ ยั 3 ขนั้ ตอน ดงั น้ี คอื

ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ SWOT โดยนำข้อมูลของโรงเรียนจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
มาวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค โดยคณะนักวิจัยร่วมกันวิเคราะห์ การบริหารจัดการ
การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2 ทุกโรงเรยี น โดยจำแนกลักษณะโรงเรียนเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง
ขนาดใหญ่ โรงเรียนคุณภาพ โรงเรียนที่ใช้พื้นที่เป็นโรงพยาบาลสนาม โรงพยาบาลสนาม (สำรอง)
โรงพยาบาลสนามและสถานท่ีกกั ตัว สถานที่พักคอย และโรงเรียนจดั บรรเทาสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ด้านอื่น ๆ ฯลฯ และวิเคราะห์แบ่งระดับชั้น โดยจำแนกเป็น ระดับช้ัน
ปฐมวัย ระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย และระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้น

ขั้นตอนที่ 2 การประชุมระดมความคิด (Brainstorming) โดยนำผลการวิเคราะห์ SWOT
มาประชุมระดมความคิดของคณะวิจัย นักวิชาการ ผู้บริหาร ครู ผู้เกี่ยวข้อง กำหนดแนวทางการจัด
การศึกษา เพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ ในการบริหารจัดการโรงเรียน การจัดการเรียนรู้ และการดูแล
ช่วยเหลือนกั เรยี น

ขั้นตอนที่ 3 การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) เป็นการจัดการสัมมนา
อิงผเู้ ช่ียวชาญด้านการจัดทำแผน และนโยบาย ดา้ นหลักสตู รและการจดั การเรียนรู้ ดา้ นเทคโนโลยี ทาง
การศึกษา ด้านการวัดและประเมินผล ด้านการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ฯลฯ จัดทำข้อเสนอ

41

เชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับ
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

1. เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ SWOT ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเชิงนโยบาย

กลยุทธ์ และแนวโน้มการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยศึกษา
หลักการ แนวคิด ทฤษฎี จากเอกสาร ตำรา บทความ และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศ และ
ต่างประเทศ เพอ่ื สังเคราะหข์ ้อมลู ออกมาเปน็ รายประเด็น ประกอบไปดว้ ยเครอื่ งมือดงั ตอ่ ไปน้ี

1) แบบสัมภาษณ์เชิงลึกของครู และผู้บริหารด้านการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้
และการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนของโรงเรียนลักษณะตา่ ง ๆ

2) แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการ การจัด
การเรยี นรู้ และการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนของโรงเรยี น

3) แบบบันทึกกรณีศึกษาของโรงเรียนที่จัดการศึกษาโดดเด่น และโรงเรียนที่มีปัญหา
อุปสรรคต่อการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรียนรู้ และการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน

ขั้นตอนที่ 2 การประชุมระดมความคิด (Brainstorming) มีประเด็นสำคัญในการประชุมระดม
ความคิด คือ การประชุมระดมความคิดการบริหารจัดการโรงเรียน การจัดการเรียนรู้ และการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบวิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียน
ทุกลกั ษณะ ในการบรหิ ารจัดการโรงเรยี น การจัดการเรียนรู้ และการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น

ขั้นตอนที่ 3 การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) มีประเด็นการสัมมนา และ
เคร่ืองมอื ในการสมั มนาอิงผู้เชย่ี วชาญ ดังน้ี

1) ประเด็นการสัมมนา โดยจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น
เขต 2

2) แบบวิเคราะห์ผลการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ และข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษา
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดบั เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา
ขอนแก่น เขต 2

42

2. การวิเคราะหข์ ้อมูลแบบวิเคราะห์เนือ้ หา (Content Analysis)
ขน้ั ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ SWOT
1) วิเคราะห์ข้อมูลโรงเรียนจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึก โดยจัดทำเป็นสารสนเทศ การจัด

การศกึ ษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2 ด้านการบรหิ าร
จัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น

2) วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้
และการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นของโรงเรยี น จากแบบวิเคราะห์ จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส และอปุ สรรค

3) สรุปนำเสนอกรณีศึกษาของโรงเรียนที่จัดการศึกษาโดดเด่น และโรงเรียนที่มีปัญหา
อปุ สรรคจากแบบบนั ทกึ กรณีศึกษา

ขนั้ ตอนท่ี 2 การประชุมระดมความคดิ (Brainstorming)
วิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะ ในการบริหารจัดการ

โรงเรียน การจดั การเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น จากแบบวเิ คราะห์แนวทางการจดั การศกึ ษา
ข้ันตอนที่ 3 การสมั มนาองิ ผู้เชยี่ วชาญ (Connoisseurship)
กำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

2019 ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 เป็นโครงการ หรือแผนงานย่อย ให้มี
ลักษณะเฉพาะเจาะจงของหลักการเหตุผล วัตถุประสงค์ กลยุทธ์การดำเนินงาน งบประมาณ และผล
ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั

3. การตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือ
ผู้วิจัยพัฒนา และหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัยในขั้นตอนนี้ด้วยการตรวจสอบความตรง

เชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยผู้เชยี่ วชาญ จำนวน 5 คน ใชเ้ ทคนิคการวดั ดัชนคี วามสอดคล้อง หรือ
IOC (Index of Item Objective Consistency) เป็นการพิจารณาขอบเขตเนื้อหา และองค์ประกอบที่ใช้
ในการสร้างเคร่ืองมือ มีความครอบคลุม เหมาะสม และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ใช้ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลการวิจยั ในครง้ั นี้ โดยกำหนดการให้คะแนน ดังนี้

+1 เม่ือแนใ่ จวา่ รายการประเมินสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์
0 เมอ่ื ไม่แนใ่ จวา่ รายการประเมนิ สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์
-1 เมื่อแน่ใจว่า รายการประเมนิ ไม่สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์
ในการวิจัยคร้ังนแี้ บบสัมภาษณ์มีค่าดชั นคี วามสอดคลอั งเทา่ กับ 1.00 ทั้ง 31 ขอ้
การวิจัยทั้ง 3 ขน้ั ตอนทก่ี ล่าวมาข้างตน้ สามารถจดั ทำเปน็ แผนภาพขัน้ ตอนในการวิจัย ดงั แสดง
ในภาพท่ี 3

43

ขนั้ ที่ 1 การวเิ คราะห์ SWOT สภาพการจดั การศกึ ษา
1. วิเคราะหข์ อ้ มลู โรงเรียนจากแบบสัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ โดยจดั ทำ ของโรงเรียนลักษณะต่าง ๆ
เปน็ สารสนเทศ การจดั การศึกษาของโรงเรียนในสงั กัดสำนักงาน ดา้ นข้อดี ข้อเสยี โอกาส อุปสรรค
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ด้านการบรหิ าร (SWOT) ในการบริหารจัดการ
จัดการ การจดั การเรยี นรู้ และการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน การจัดการเรียนรู้ และการดูแล
2. วเิ คราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหาร ช่วยเหลอื นกั เรียน โดยจำแนก
จัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ลักษณะโรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี น
ของโรงเรยี น จากแบบแบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส ขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ่
และอปุ สรรค โรงเรยี นคณุ ภาพ โรงเรยี นทใี่ ช้
3. สรปุ นำเสนอกรณีศกึ ษาของโรงเรยี นทจี่ ัดการศกึ ษา โดดเด่น พืน้ ท่เี ปน็ โรงพยาบาลสนาม
และโรงเรยี นทม่ี ปี ญั หาอปุ สรรคจากแบบบนั ทกึ กรณศี ึกษา โรงเรยี นจดั บรรเทาสถานการณฯ์
ดา้ นอืน่ ๆ และวิเคราะห์แบ่ง
ขั้นท่ี 2 ประชุมระดมความคดิ ระดับชัน้
วเิ คราะห์แนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาโรงเรยี นทุกลักษณะ
ในการบรหิ ารจดั การโรงเรยี น การจัดการเรียนรู้ และการดูแล แนวทางการจดั การศึกษา
ช่วยเหลอื นกั เรียน จากแบบวิเคราะห์แนวทางการจดั การศึกษา เพอื่ พฒั นาโรงเรยี นทุกลกั ษณะ
ในการบริหารจัดการ การจดั การ
ขน้ั ท่ี 3 การสมั มนาองิ ผูเ้ ชีย่ วชาญ เรยี นรู้ และการดูแลช่วยเหลอื
กำหนดขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในการแพร่ระบาด นกั เรยี น
ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2 เป็นโครงการ หรอื แผนงานย่อย ให้ ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั
มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงของหลกั การเหตุผล วัตถปุ ระสงค์ กลยทุ ธ์ การศึกษาในสถานการณ์
การดำเนินงาน งบประมาณ และผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื
ไวรสั โคโรนา 2019 ในระดบั เขต
ภาพที่ 3 ขน้ั ตอนการวจิ ยั พ้ืนท่กี ารศึกษา ประถมศึกษา
ขอนแก่น เขต 2

44

บทท่ี 4
การวิเคราะหข์ ้อมูล

การวิจยั เชิงนโยบาย เพ่อื จดั ทำขอเสนอเชงิ นโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ระดับสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2ผู้วจิ ยั
นำเสนอผลการวิเคราะห์ขอมูล ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
ผวู้ จิ ัยนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 3 ตอน ดงั น้ี คือ
ขั้นตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะต่าง ๆ ด้านข้อดี ข้อเสีย

โอกาส อุปสรรค (SWOT) ในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ใน
สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ในสถานการณ การแพรระบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ข้ันตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์ SWOT เพื่อพฒั นาแนวทางการจดั การศึกษาในการบรหิ ารจัดการ การ
จดั การเรยี นรู้ และการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

ขั้นตอนที่ 3 ผลการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ระดับสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2
ซึ่งมรี ายละเอียดดงั น้ี

ขั้นตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะต่าง ๆ ด้านข้อดี
ขอ้ เสีย โอกาส อุปสรรค (SWOT) ในการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรยี นรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ในสถานการณการแพร
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผู้วิจัยทำการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน เกี่ยวกับการบริหารจัดการ
การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ทุกโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
ในประเด็น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค เพื่อวิเคราะห์ SWOT แล้วนำเสนอผลการวิเคราะห์ SWOT
โดยจำแนกลกั ษณะโรงเรียนเป็นโรงเรียนขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ โรงเรยี นคุณภาพ โรงเรียนทีใ่ ช้พื้นท่ี
เป็นโรงพยาบาลสนาม โรงพยาบาลสนาม (สำรอง) โรงพยาบาลสนามและสถานที่กักตัว สถานที่พักคอย และ
โรงเรียนจัดบรรเทาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ด้านอื่น ๆ และวิเคราะห์

45

แบ่งระดับชั้น โดยจำแนกเป็น ระดับชั้นปฐมวัย ระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น ระดับชั้นประถมศึกษาตอน
ปลาย และระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โดยนำเสนอ ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี

1. สภาพขอมลู พ้ืนฐานของสถานศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ขอนแก่น เขต 2 ดานขนาด จำนวนโรงเรยี น ลกั ษณะ และรูปแบบการจดั การเรยี นรู้ในสถานการณแพรระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ดงั ตาราง 7

1. ขอ้ มูลพ้นื ฐาน
ตารางที่ 7 จำนวนโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 จำแนกตาม
ขนาด ลักษณะโรงเรียน และรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019

ที่ ขนาด จำนวน ลกั ษณะโรงเรียน รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน
รร. รร.
1 รร.ขนาดเลก็ ทว่ั ไป รร. สนาม อื่น ๆ On On On On On
2 รร.ขนาดกลาง 148 127
3 รร.ขนาดใหญ่ 59 31 คณุ ภาพ พักคอย Hand Line Demand Site Air
4 รร.ขนาดใหญ่ 11
-- 11 19 - 147 46 101 - 21
พิเศษ
รวม 27 3 - 58 36 36 - 7

- - - 11 1 --

- - - - - - --

208 159 38 22 206 83 138 28

จากตารางท่ี 7 พบวา
1.1 สถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2 ท้ังหมด

จำนวน 208 แหง แบงเปน็ สถานศึกษาขนาดเล็ก จำนวน 148 แหง สถานศึกษาขนาดกลาง จำนวน 59 แห่ง
และสถานศึกษาขนาดใหญ่ จำนวน 1 แหง

1.2 ลกั ษณะของสถานศึกษา จำแนกได้ดงั รายละเอียดดังน้ี
1.2.1 สถานศกึ ษาที่เป็นโรงเรยี นทัว่ ไป จำนวน 159 แหง แบ่งเปน็ สถานศึกษาขนาดเล็ก

จำนวน 127 แหง สถานศึกษาขนาดกลาง จำนวน 31 แหง และสถานศึกษาขนาดใหญ่ จำนวน 1 แหง
1.2.2 สถานศกึ ษาท่ีเป็นโรงเรยี นคุณภาพระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 38 แหง

เป็นสถานศกึ ษาขนาดเล็ก จำนวน 11 แหง่ สถานศกึ ษาขนาดกลาง จำนวน 27 แหง
1.2.3 สถานศึกษาท่ีใชเป็นสถานท่กี ักตัว (สนามพักคอย) จำนวน 22 แหง เป็น

สถานศึกษาขนาดเล็ก 19 แห่ง สถานศึกษาขนาดกลาง 3 แหง่
1.3 รปู แบบการจัดการเรียนรู้ของสถานศกึ ษาลกั ษณะตา่ ง ๆ ในสถานการณการแพร

ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดังนี้

46

1.3.1 สถานศึกษาขนาดเล็ก จำนวน 148 แหง
1.3.1.1 สถานศึกษาทจ่ี ัดการเรยี นรู้แบบ ON-HAND

มจี ำนวน 147 แหง
1.3.1.2 สถานศึกษาที่จดั การเรียนรู้แบบ ONLINE มจี ำนวน 46 แหง
1.3.1.3 สถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้แบบ ON-DEMAND

มจี ำนวน 101 แหง
1.3.1.4 สถานศกึ ษาทจ่ี ัดการเรียนรู้แบบ ON-AIR มีจำนวน 21 แหง
1.3.1.5 ไม่มสี ถานศึกษาที่จัดการเรยี นรู้แบบ ON-SITE

1.3.2 สถานศกึ ษาขนาดกลาง จำนวน 59 แหง
1.3.2.1 สถานศึกษาท่จี ัดการเรยี นรู้แบบ ON-HAND

มจี ำนวน 58 แหง
1.3.2.2 สถานศกึ ษาที่จดั การเรียนรู้แบบ ONLINE มจี ำนวน 36 แหง
1.3.2.3 สถานศึกษาทจ่ี ดั การเรียนรู้แบบ ON-DEMAND

มีจำนวน 36 แหง
1.3.2.4 สถานศกึ ษาที่จัดการเรยี นรู้แบบ ON-AIR มีจำนวน 7 แหง
1.3.2.5 ไมม่ สี ถานศึกษาที่จดั การเรยี นรู้แบบ ON-SITE

1.3.3 สถานศึกษาขนาดใหญ่ จำนวน 1 แหง
1.3.3.1 สถานศกึ ษาทจ่ี ัดการเรยี นรู้แบบ ON-HAND มีจำนวน 1 แหง
1.3.3.2 สถานศึกษาที่จดั การเรยี นรู้แบบ ONLINE มีจำนวน 1 แหง
1.3.3.3 สถานศึกษาที่จดั การเรยี นรู้แบบ ON-DEMAND

มีจำนวน 1 แหง
1.3.3.4 ไมม่ สี ถานศึกษาท่ีจัดการเรยี นรู้แบบ ON-AIR
1.3.3.5 ไมม่ สี ถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้แบบ ON-SITE

2. สภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น
เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และ Best
practice โรงเรยี น ซง่ึ มีรายละเอยี ดดังนี้

2.1 โรงเรียน Best practice
2.1.1 โรงเรยี นบ้านโคกสำราญ
แนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี คอื

47

2.1.1.1 การจดั การเรียนรแู้ บบ On Hand
โรงเรียนจัดการเรียนรู้แบบ On Hand ในระดับชั้นอนุบาล ชั้นปีที่ 1

–ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยได้มีการประชุมครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อปรับโครงสร้างหลักสูตร
ใหม้ คี วามยดื หย่นุ และปรบั รูปแบบในการจัดการเรียนรู้ใหม้ ีความเหมาะสมกบั สถานการณ์ และมีความซับซ้อน
น้อยลง เพราะผู้ปกครองไม่มีความเชยี่ วชาญเก่ียวกับกลวธิ ีในการจดั การเรยี นรเู้ หมือนกบั ครู รวมทั้งนักเรียนท่ี
มีฐานะยากจนก็ยังขาดความพร้อมในการเข้าถึงอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ และแหล่งข้อมูล เพื่อการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ การกำหนดชดุ เคร่ืองมอื เตรียมเครือ่ งมือ และรปู แบบการจดั การเรียนรทู้ ีค่ รถู นัด พร้อมท้ังสรา้ งความ
พร้อมให้ผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการกำกับดูแลลูกหลานที่บ้านได้อย่างมีทิศทาง
เป็นการสร้างคุณภาพการเรียนรู้ยุคใหม่ที่เด็กเป็นเจ้าของการเรียนรู้ด้วยตัวเอง (Learner Person) เพื่อการ
เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับบริบทของนักเรียนในแต่ละกลุ่ม รวมทั้งการสนับสนุนด้านสุขภาวะ
กาย และจติ ของครู และนักเรยี น มกี ารจดั การเรียนรู้แบบ On Hand โดยการจดั ทำแฟม้ ใบงาน แบบฝึกทักษะ
อุปกรณ์การเรียนรู้เฉพาะบุคคล เช่น หนังสือภาพ สื่ออุปกรณ์สำหรับเด็ก โดยครูเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้อำนวย
ความสะดวกให้เกิดการเรียนรู้ นักออกแบบกิจกรรมในการออกแบบโปรแกรมที่มีความยืดหยุ่นสูง และ
สร้างสรรค์ เหมาะสมกับเดก็ ปฐมวัยแต่ละคน มีการตรวจสอบความเข้าใจการเรียนรู้ของนกั เรียนเป็นสิ่งสำคญั
มีการดำเนินการติดตาม สอบถามผู้ปกครอง ประเมินการเรียนรู้ และพัฒนาการ ของนักเรียนเป็นระยะการ
กำหนดข้อตกลงในการใช้เครื่องมือการเรียนรู้ร่วมกันกับผู้ปกครอง จะได้ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม สำหรับ
เทคโนโลยีที่เลือกใช้ คือ การตั้งกลุ่ม Line ใช้เพื่อการติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองการประชุมออนไลน์ การจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ออนไลน์ โดยการอัดคลิปสั้น ๆ เพื่อส่งต่อกิจกรรมให้ผู้ปกครองทำร่วมกันกับนักเรยี น
การให้นักเรียนได้พบปะ ได้พูดคุยกับเพื่อนและครู การสะท้อนผลการจัดกิจกรรมของผู้ปกครองมายังครู เช่น
การถ่ายรูปใบงาน เอกสารแบบฝึกทักษะส่งงานทางกลุ่ม Line และอัดคลิปวีดิโอการทำกิจกรรมของนักเรียน
ส่งลง กล่มุ Line เพื่อให้ครูสามารถกำกับ ตดิ ตาม ใหค้ ำแนะนำ และประเมินพัฒนาการของนักเรยี นได้เป็นการ
ใหผ้ ้ปู กครองคนอืน่ เรียนรูร้ ว่ มกันได้ดว้ ย เป็นต้น

2.1.2 การจัดการเรยี นรู้แบบ On Line
โรงเรยี นจัดการเรียนรู้แบบ On Line ในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 – ระดับชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 3 เรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กจากโครงการโน้ตบุ๊คเพ่ือ
การศกึ ษา (Notebook for Education) ของบริษัท True Corporation ผ่านเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตของ True
Corporation โดยใช้ True Vroom และแพลตฟอร์ม Brain Cloud ที่ สพฐ. จัดสรรค์แพลตฟอร์มให้เรียนฟรี
โดยได้มีการประชุมครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมด้านสื่อ เทคโนโลยี อุปกรณ์ในการ
จัดการเรียนรู้ และร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตร ปรับเนื้อหา สาระวิชาในหลักสูตรให้มีความกระชับควบคู่ไปกับ
จัดลำดับความสำคัญ รวมทั้งพิจารณาตัวชี้วัดในโครงสร้างเวลาเรียนให้ยังคงคุณภาพ เพิ่มความยืดหยุ่นของ
โครงสร้างเวลาเรียน และความหลากหลายของรูปแบบการเรียนรู้ โดยเน้นเนื้อหาที่จำเป็น น่าสนใจ ตาม
มาตรฐานของแต่ละช่วงวัย เพื่อให้ครูสามารถนำไปวางแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถออกแบบหน่วยการ
เรียนรู้ที่เหมาะสม ให้ร้อยเรียงกันอย่างเป็นระบบทั้งเทอม หรือทั้งปี นำไปสู่การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ

48

และส่งเสริมการเรียนรู้รายบุคคล ตลอดจนให้ครูได้มีอิสระในการจัดการเรียนรู้เนื้อหาส่วนอื่น ๆ ตามความ
เหมาะสมกับระยะเวลาในการประเมินสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อวัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
โดยโรงเรียนได้มีการส่ือสารกบั ผ้ปู กครองของนักเรียนใหท้ ราบถึงบทบาททีจ่ ะเปลี่ยนไป และออกคู่มือหลักสูตร
ฉบับย่อสำหรับผู้ปกครอง เพื่อสื่อสารให้เข้าใจถึงหลักสูตรที่เปลี่ยนแปลงไป และสามารถติดตามการเรียนรู้
ของนักเรียนได้ โดยจัดการเรียนการเรียนรู้แบบ online บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผ่านแพลต ฟอร์ม True
VRoom และ BrainCloud ซึ่งครูกำหนดเน้ือหาการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนเข้าถึงเนื้อหาด้วยตนเองได้ (ทุกที่
ทุกเวลา เนือ้ หาอาจประกอบด้วย ขอ้ ความ, รปู ภาพ, เสยี ง, วดิ โี อ และสือ่ มัลตมิ เี ดียอน่ื ๆ) ซ่ึงนักเรยี น ครู และ
เพื่อนร่วมชั้นเรียน สามารถติดต่อสื่อสาร ปรึกษา หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแบบเดียวกับการเรียนในชั้น
เรียนทั่วไปได้ ดังนั้น การจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย “รายวิชาหลัก” 5 วิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตั้งกลุม่ Line, กล่มุ Facebook สำหรับเปน็ ชอ่ งทางในการสง่ งาน และการติดตามการเรียนรู้ การเข้า
เรียนของนักเรียน การรายงานสะท้อนผลการเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครอง และมีการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านนักเรียน
เพื่อกำกับ ติดตามอย่างใกล้ชิด สำหรับนักเรียนที่ไม่มีความพร้อมในการเรียน ขาดเรียนบ่อย และหาแนว
ทางการแกป้ ัญหาร่วมกับผปู้ กครอง

หนา้ ทส่ี ำคัญของครูในช่วงท่ีต้องจัดการเรียนรู้แบบ On line คือ การแนะนำแหล่งการเรียนรู้ที่ดีให้กับ
นกั เรียน และตดิ อาวธุ ให้นักเรียนสามารถค้นคว้าเองได้อย่างมีวจิ ารณญาณ เชน่ วิธีการค้นหาที่มีประสิทธิภาพ
หรอื การประเมนิ ความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มลู

1.4.1.2 โรงเรยี นบ้านผักหวานโนนสวาง
แนวปฏิบตั ทิ ีด่ ี คือ
โรงเรียนบ้านผักหวานโนนสวางได้ดำเนินการจัดการเรียน รู้

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีขั้นตอนการดำเนินการ
ดังนี้ 1) ขั้นวางแผน (Plan) คณะครู บุคลากรร่วมกันประชุมวางแผนการดำเนินงาน โดยได้มีการสำรวจ
ข้อมูลความพร้อมของนักเรียนและผู้ปกครอง เพื่อวางแผนเลือกรูปแบบการจัดการเรียน รู้ของโรงเรียนให้
เหมาะสมกับบริบท โดยสรุปใช้การเรียนการสอนแบบผสมผสาน ระหว่าง On-hand กับ On-line 2) ข้ัน
ปฏิบัติ (Do)ครูลงมือปฏิบัติจัดทำสื่อ ใบงาน ใบความรู้ และบทเรียนการสอน On-line โดยยึดตามตัวชี้วัดที่
สำคัญที่นักเรียน ต้องเรียนรู้ และนำแจกให้นักเรียนทุกวนั จนั ทรใ์ นแต่ละสัปดาห์ 3) ขั้นตรวจสอบ (Check) มี
การติดตาม ตรวจสอบการจดั การเรียนรู้โดยเก็บใบงานของสปั ดาห์ที่ผ่านมา นำกลับมาตรวจความถูกต้อง และ
เก็บรวบรวมเป็นคะแนนเก็บของนักเรียนต่อไป 4) ขั้นปรับปรุง (Action) การดำเนินการพบปัญหานักเรียนไม่
เข้าใจคำช้แี จงในแบบฝึกหดั ไมส่ ามารถสรปุ องค์ความร้จู ากใบความรู้ในบางประเด็นดว้ ยตนเองได้ จึงทำให้
ทำแบบฝึกหัดทบทวนไดไ้ มส่ มบรู ณ์ โรงเรียนจึงไดป้ รับให้มีวธิ ีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ให้มีการจัดการ
เรียนรู้แบบ On hand เป็นหลัก แต่เพิ่มเติมให้มีการจัดการเรียนรู้แบบ ON line เพื่อทบทวนบทเรียนให้กับ
นักเรียนที่มีความพร้อมดว้ ยในการจดั การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้ปฏิบัตกิ ิจกรรมผ่านการเรียนรู้แบบ On hand
ทุก ๆ ครั้ง ทางโรงเรียนไดม้ ีการสง่ เสริม และสร้างเสริมคุณธรรมให้เกิดข้ึนนักเรยี น โดยคุณครูจะใหแ้ บบ

49

บันทึก “อยู่บ้าน สร้างบุญ” เพื่อให้นักเรียนได้บันทึกความดีที่นักเรียนทำอยู่ ที่บ้าน รวมถึงการทำงานท่ี
คณุ ครูมอบหมายให้ โดยการจดบนั ทกึ ของนักเรียนจะมีคุณธรรมประจำโรงเรียนคือ “รูร้ ับผดิ ชอบ ประกอบจิต
อาสา มวี นิ ยั ทกุ เวลา เห็นคุณค่าความพอเพียง” โดยจะนำคุณธรรมดังกล่าวมาเขยี นกำกบั บนั ทึกความดดี ้วยทุก
ครั้ง และให้ผู้ปกครองของนักเรียนเป็นผูเ้ ซ็นต์รับรอง นอกจากการทำสมุดบันทึกความดี “อยู่บ้าน สร้างบุญ”
แล้วนั้น ทางโรงเรียนยังได้ต่อยอดกิจกรรมของโรงเรียนในการเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” โดยการเล็งเหน็ ชว่ งเวลาว่างของนักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นี้ ทางโรงเรียนจึงได้ทำโครงการ “สร้างสุขด้วยการปลูกผักสวน
ครัว”อยู่ที่บ้านของนักเรียน โดยทางโรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านลาน ใน
การจัดซื้อผัก และเมล็ดพันธุ์ผักต่าง ๆ แจกให้กับนักเรียนนำไปปลูกร่วมกับผู้ปกครอง ที่บ้าน เพื่อไว้ใช้
ประกอบอาหารในครัวเรือน เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย และเป็นการต่อยอดนำหลักความรู้ของศาสตร์
พระราชาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอพียงจากโรงเรียนสู่ครัวเรือนตอ่ ไป

3. ผลการวิเคราะห์สภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นลักษณะตา่ ง ๆ ด้านขอ้ ดี ข้อเสยี โอกาส อปุ สรรค
(SWOT) ในการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบ่งตามลักษณะของ
สถานศกึ ษา ดังนี้

3.1 การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการนักเรียนของ
โรงเรยี นขนาดเล็ก สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 2
ตารางที่ 8 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการนักเรียนของโรงเรียน
ขนาดเลก็ สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2

จุดแข็ง จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค
โรงเรียนมกี ารบริหาร ปญั หาความเหลอ่ื มล้ำ
จัดการแบบมีสว่ นร่วม ความขาดแคลนของงบ ครมู ีความตื่นตัว ความขาดแคลน
จากผู้มีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง ของผปู้ กครอง
ทุกภาคส่วน ทั้งครู และ ประมาณในการบริหาร และพร้อมรบั การ และนกั เรยี นดว้ ยฐานะ
บคุ ลากรทางการศึกษา ทางครอบครวั ยากจน
ผปู้ กครอง ชุมชน ทำให้ จัดการการศกึ ษาเป็น เปล่ียนแปลง ไดเ้ รียนรู้ ผ้ปู กครองมากกวา่
การพัฒนา และการจดั รอ้ ยละ 80 ขาดความ
การศกึ ษาบรรลุ จดุ อ่อนท่ีทำใหผ้ บู้ ริหาร พฒั นาตนเองให้เทา่ ทนั พร้อมในการสนับสนนุ
วัตถุประสงค์ ทต่ี ั้งไว้ ส่อื อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการ
ตลอดจนผูบ้ ริหาร ครู ครแู ละบุคลากรทางการ ตอ่ การเปล่ียนแปลง เรยี นออนไลนข์ อง
และบคุ ลากรทางการ นกั เรยี น และผปู้ กครอง
ศึกษา เปน็ ผมู้ ีศักยภาพ ศึกษามีความยากลำบาก และมีรปู แบบวิธกี าร ไม่มเี วลาในการตดิ ตาม

ในการตดั สินใจดำเนิน จัดการเรยี นรู้ที่

กจิ กรรม หรือโครงการ หลากหลาย มีการ

แต่ละกิจกรรม เพราะ ส่ือสาร ประสาน

ตอ้ งคำนึงถงึ ภาระ ความร่วมมอื ระหว่าง

ค่าใชจ้ ่าย และประโยชน์ ครกู ับผ้ปู กครอง

สงู สุดในการตัดสนิ ใจทำ นกั เรียน และชมุ ชน

50

จดุ แข็ง จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค
อยา่ งสม่ำเสมอ ครูมี และชว่ ยเหลอื นกั เรยี นได้
มีความรู้ ความสามารถ แต่ละกจิ กรรม โรงเรียน โอกาส และผปู้ กครอง ครบทกุ คน และ
เองกเ็ ขา้ ใจบทบาท สถานศึกษายังไม่มีความ
มีประสบการณ์ ขาดความพร้อมของสื่อ หน้าทีข่ องตน ในการ พรอ้ มในการสรา้ งระบบ
ส่งเสริม และสนับสนนุ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ
และความเชี่ยวชาญ อปุ กรณ์ ในการจัดการ การเรียนรู้ของบุตร การจดั การเรยี นรู้ของครู
หลานตนเอง
ทางโรงเรียนมีนโยบาย เรยี นรู้ ที่ทันสมัย

สง่ เสริมให้ครู และ โดยเฉพาะในดา้ น

บุคลากรทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจทิ ลั

ไดพ้ ฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ ท่ีเพยี งพอสำหรบั ครู

ดังนัน้ แม้การจัดการ และบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษาในสถานการณ์ท่ีไม่ ศกึ ษา และนกั เรยี น

ปกติ ดว้ ยการแพร่

ระบาดของโรคตดิ ต่อ

ครสู ามารถเรียนรู้

ปรับตัว และจดั การ

ศกึ ษาได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ

อกี ท้ังโรงเรยี นตัง้ อยู่

กลางชุมชน ซ่งึ ในชุมชน

ประกอบดว้ ย บ้าน วดั

และโรงเรยี น ทำใหม้ ี

ความใกล้ชิดกันระหว่าง

ชมุ ชนกับตวั นักเรียน ทำ

ใหโ้ รงเรียน มกี ารบริหาร

จัดการท่ีง่ายขน้ี มี

บรรยากาศ ในการ

ทำงานแบบกัลยาณมิตร

ร่วมรับผิดชอบ และมี

ความรู้สึกเป็นเจา้ ของ

สถานศกึ ษารว่ มกนั

51

3.2 แบบวิเคราะห์ จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจดั การเรียนรนู้ ักเรยี น ของ
โรงเรยี น ขนาดเลก็ สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2
ตารางท่ี 9 แบบวิเคราะห์ จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจดั การเรียนรนู้ ักเรยี น ของโรงเรียน
ขนาดเล็ก สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่นเขต 2 ดงั ตารางที่ 9

จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อปุ สรรค
ครแู ละบุคลากรทางการ โรงเรยี นขาดความ ครู และบุคลกร นกั เรียนทีม่ าจาก
ศกึ ษา มคี วามพร้อมรบั พรอ้ ม ในการพัฒนาครู ทางการศกึ ษา มคี วาม ครอบครวั ทย่ี ากจน มีสอ่ื
การเปลย่ี นแปลง ปรับ ในสมรรถนะท่ีสำคัญ กระตือรอื รน้ ต่อการ วัสดุ อปุ กรณใ์ นการ
วธิ คี ิด เปลีย่ นแนวทาง บางเรื่อง เชน่ การจดั พฒั นาตนเองอยเู่ สมอ ศกึ ษา ไมเ่ พียงพอ
วิธีการจดั การเรียนรู้ การเรียนรู้ โดยใช้ เพือ่ จดั การเรียนรู้ สำหรบั เรียนในรูปแบบ
ใหก้ ับนักเรยี น ตาม นวตั กรรม ให้มีความ หลากหลายรูปแบบ อ่นื ๆ ท่ตี อ้ งใช้เคร่ืองมือ
สถานการณ์ ไดอ้ ย่าง หลากหลาย และ ผูป้ กครอง และนกั เรยี น อุปกรณ์การเรยี นท่ีมี
เหมาะสมครูมอี งค์ สอดคลอ้ งกับการพฒั นา มีความเข้าใจต่อ คา่ ใชจ้ ่ายสูง ผู้ปกครอง
ความรคู้ วามสามารถ ใน ผเู้ รียนไดเ้ ตม็ ตาม สถานการณ์ทเี่ กดิ ข้นึ นกั เรียนส่วนมากขาด
การวเิ คราะห์ตวั ชีว้ ัด ศักยภาพ และระบบ และเข้าใจรูปแบบการ ความรู้และประสบการณ์
แล้วสงั เคราะห์เพื่อจดั สง่ เสรมิ และสนับสนนุ จัดการเรียนรู้ที่โรงเรยี น ไม่สามารถอธบิ าย
กลุ่มเน้อื หา ความร้ทู ่ี การสอนออนไลนข์ องครู เลือกใช้ ตระหนักเห็น และชแี้ นะการเรียนรู้
นกั เรียนต้องรู้ ทักษะ ยังไม่เพียงพอ คณุ คา่ ของการศึกษา ของนักเรียนที่บา้ นได้
และเจตคติที่นักเรียน แม้อยใู่ นสถานการณ์ และขาดความพร้อม
ควรเกดิ จากการเรียนรู้ ไม่ปกติ ส่งผลให้ครู ในการสนบั สนุนดา้ นส่ือ
สง่ ผลให้สามารถจัด และผปู้ กครองได้ร่วมมือ อปุ กรณ์ในการเรียน
กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้ กนั จัดการศึกษาใหก้ ับ ออนไลน์
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ทำ นักเรียน
ใหผ้ ูป้ กครอง และชุมชน
มคี วามเช่อื ม่ันต่อการ
จดั การเรียนรู้ของครู

52

3.3 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
นักเรยี นของโรงเรยี นขนาดใหญ่ สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2
ตารางที่ 10 แบบวิเคราะห์ จดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น
นักเรยี นของโรงเรียนขนาดใหญ่ สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 2

จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค
ยังขาดการสรา้ งความ
ระบบดูแลชว่ ยเหลือ ระบบการดูแลช่วยเหลอื ทางโรงเรียน ร่วมมือ และหา
มาตรการรว่ มกนั ในการ
นักเรียนของโรงเรยี น นกั เรียนไม่ได้ดำเนินไป และผู้ปกครองสามารถ แก้ไขพฤตกิ รรมนักเรยี น
ท่มี ีพฤติกรรม
มีการดำเนินการมาอยา่ ง ตามปกติ ท่ีครปู ระจำช้ัน ตดิ ต่อสอื่ สารกนั อย่าง ไมเ่ หมาะสม สว่ นมาก
ผปู้ กครองจะไมส่ ามารถ
ต่อเนื่องทุกปี ทำให้ครู ไดม้ ีเวลาสงั เกต และ รวดเรว็ เปน็ โอกาสทค่ี รู ร่วมแสดงความคดิ เห็น
และมอบความ
ทราบวธิ ีการดำเนนิ การ เข้าใจนกั เรยี นในเวลา และผปู้ กครองจะได้ รบั ผิดชอบในการดูแล
สัง่ สอนนกั เรียนให้กับครู
และมแี นวทางรับมือ เรยี น เพราะต้องเรยี น ประสานความร่วมมือ เป็นสำคญั มปี ญั หาการ
หยา่ รา้ ง การประกอบ
แกไ้ ขต่อสถานการณ์ ทบี่ ้าน ส่งผลใหอ้ าจไม่ได้ ในการดูแลชว่ ยเหลอื อาชพี ตา่ งถ่นิ สง่ ผลให้
เด็กตอ้ งอาศัยอยู่กบั ญาติ
ปัญหาท่ีอาจเกดิ ข้ึน เหน็ พฤติกรรมของ นกั เรยี น เกดิ การ ขาดการดูแล เอาใจใส่
ของผู้ปกครอง
มีคำสั่งท่ีระบบุ ทบาท นักเรียนในทุกมิติ แลกเปลีย่ นข้อมูล เพ่ือ อาจส่งผลใหร้ ะบบ
การดแู ลช่วยเหลือ
หนา้ ทใี่ นการปฏิบตั งิ าน นักเรียนบางคนยังไม่ ชว่ ยเหลือนกั เรียนได้ นกั เรียนไม่เกิด
ประสิทธิภาพ ในบาง
อยา่ งละเอียดและ สามารถปรับตวั ในการ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ครอบครวั

ครอบคลุม เรียนในชว่ งนไ้ี ดอ้ ยา่ ง

ผู้ปกครองนักเรียน เหมาะสม ยงั มี

ให้ความร่วมมือ และมี พฤติกรรมนอนต่นื สาย

ความเชือ่ ม่นั ในการ ใช้โทรศัพทใ์ นการเล่น

จัดการเรียนรู้ของครู เกมโดยไม่มคี วามยำ

เป็นอยา่ งดี โรงเรียน เกรงตอ่ คำแนะนำ

เปน็ โรงเรียนขนาดใหญ่ ตักเตือนของผู้ปกครอง

ทำใหม้ กี ารตดิ ต่อสอื่ สาร

อยา่ งใกล้ชดิ และ

รวดเรว็

53

3.4 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการนักเรียนของโรงเรียนขนาด
กลาง สังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2
ตารางที่ 11 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการนักเรียนของโรงเรียน
ขนาดกลาง สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่นเขต 2

จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค
โรงเรียนมีโครงสรา้ ง
การบริหารงานทช่ี ัดเจน โรงเรยี น นกั เรียน มวี ัสดุ ครู และบคุ ลากรทางการ นักเรยี น มีปญั หา
มคี รแู ละบุคลากรทมี่ ี
ความสามารถ อุปกรณจ์ ัดการเรียนรู้ ศกึ ษา มคี วามตื่นตัว ความเหลยี่ มลำ้
ทหี่ ลากหลาย เปน็ ผลดี
ต่อการจัดการเรยี นรู้ ไม่เพยี งพอ และนักเรียน และพร้อมรับการ ทางสังคม ขาดความ
และมกี ารบรหิ ารงาน
แบบมีสว่ นรว่ ม จากทุก ไม่สามารถพฒั นาตนเอง เปลย่ี นแปลง สามารถนำ พร้อมในการสนบั สนุน
ภาคส่วนที่เก่ยี วข้อง
อาทิ ครแู ละบคุ ลากร ได้เต็มตามศักยภาพ เทคโนโลยมี าใช้ในการ จดั หาอุปกรณใ์ นการ
ทางการศกึ ษา
ผ้ปู กครอง ชมุ ชน และโรงเรียนทำการ จัดการเรยี นรู้อยา่ งเตม็ เรียนออนไลน์ และ
คณะกรรมการ
สถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน จดั การเรยี นรู้ ในหลาย ความสามารถ ผู้ปกครองบางสว่ น
ทำใหโ้ รงเรียนสามารถ
บริหารจัดการเรยี นรู้ ระดบั ชน้ั แตล่ ะระดบั ช้นั ครสู ามารถวเิ คราะห์ ไปรับจ้างตา่ งจังหวดั
ไดอ้ ย่างเข้มแขง็
มีความแตกตา่ ง นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ทงิ้ บตุ รหลานไวก้ ับปู่ ย่า

หลากหลาย ในความคดิ มขี อ้ มลู เชงิ ลึก ตา ยาย ซ่ึงเป็นคนแก่

ผู้ปกครองต้องทำมาหา ของนักเรยี นที่ตนเอง ทสี่ งู วัย ไมส่ ามารถกำกับ

กนิ จงึ ไม่ค่อยมเี วลาใสใ่ จ เป็นครปู ระจำชน้ั หรือ ดูแลบตุ รหลานได้อย่าง

บตุ รหลานในการเรยี น ครทู ี่ปรึกษา กำกบั เตม็ ที่ และไม่มีเวลา

มากนกั ตดิ ตาม เยยี่ มบา้ น ในการตดิ ตาม และให้

ใหค้ วามช่วยเหลือ ทำให้ ความชว่ ยเหลอื

ทราบถึงปญั หา เนือ่ งจากเปน็ โรงเรียน

ของนักเรียนแต่ละคน ขยายโอกาสทาง

การศกึ ษา นักเรียนชั้น

มธั ยมตน้ มาจากหลาย

หมบู่ ้านนอกเขตบริการ

ของโรงเรียน ทำให้เปน็

อปุ สรรคในการมารบั ใบ

งาน

54

3.5 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจัดการเรียนรู้ นักเรียนของ
โรงเรียนขนาดกลาง สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2
ตารางที่ 12 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจัดการเรียนรู้ นักเรียน
ของโรงเรยี นขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 2

จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค

ครมู ีความรู้ นกั เรยี นขาดความรู้ ครูได้รับการพฒั นา นกั เรยี นสว่ นมากขาด

ความสามารถในการ ความเขา้ ใจในการใช้ส่ือ ตนเอง ในการจดั การ อปุ กรณ์ computer,

บรหิ ารจัดการช้นั เรียน การเรียนรู้ ขาดความ เรยี นรู้แบบออนไลน์ tablet , smart phone

จัดทำใบงาน ใบความรู้ รบั ผดิ ชอบ เขา้ ฝกึ อบรมในการใช้ รวมทงั้ สัญญาณ

รว่ มทง้ั จดั ทำคลปิ การ ขาดเคร่ืองมือส่อื สาร application ตา่ ง ๆ เครือข่ายอินเทอรเ์ นต็

จัดการเรยี นรู้ และอินเทอร์เนต็ สามารถนำ โดยเฉพาะผู้ปกครองที่มี

สอ่ื ตา่ ง ๆ เพื่อใช้ในการ นักเรียนบางคนทม่ี กี าร application มาใช้ บุตรมากกวา่ 1 คน

จัดการเรยี นรู้ เอาใจใส่ เรียนรชู้ ้า ไมส่ ามารถทำ ในการจัดการเรยี นรู้ ทำใหเ้ กิดปัญหาในการ

ใหค้ วามช่วยเหลอื ตามขน้ั ตอนได้ นักเรยี น ในยุค New Normal จัดซ้อื เพราะสภาพ

นักเรียนเปน็ อย่างดี ขาดแรงกระต้นุ และครเู ปดิ โอกาสให้ ทางครอบครัวส่วนมาก

นกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถม แรงผลกั ดัน (passion) นกั เรียนเขา้ มามสี ่วนร่วม คอ่ นข้างมีฐานะยากจน

ศกึ ษาตอนปลาย และ ความสนใจ ไมใ่ ส่ใจใน ในการจดั กิจกรรม ผูป้ กครองหย่าร้าง

ระดบั ช้นั มัธยมศึกษา การเรยี นเท่าท่ีควร การเรียนรู้ และ แยกทาง หรือไปทำงาน

ตอนตน้ สามารถศึกษา แนะนำให้ผูป้ กครอง ต่างจังหวัด ฝากลกู ไว้ให้

หาความร้ดู ว้ ยตนเอง เป็นผู้ชว่ ยครูในการ ปู่ ย่า ตา ยาย ดูแล

โดยผา่ นช่องทางการหา กระตุน้ การเรยี น และ เปน็ อปุ สรรคในการ

ความรูท้ ่ีหลากหลาย ชว่ ยอธิบายการทำ เรียนออนไลน์ และ

แบบฝกึ หัดท่ีนักเรยี น ผู้ปกครองนักเรยี น

ไม่เขา้ ใจ ส่วนมากขาดความรู้

และประสบการณ์

ไม่สามารถอธบิ าย

และช้ีแนะการเรียนรู้

ของนักเรยี นทเ่ี รียน

ออนไลนท์ ่บี า้ นได้ ทำให้

เกดิ การเรียนรู้ไม่

เต็มตามศักยภาพ

55

3.6 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
นักเรียนของโรงเรยี นขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2
ตารางท่ี 13 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จดุ ออ่ น โอกาส และอปุ สรรค ด้านการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น
นกั เรยี นของโรงเรียนขนาดกลาง สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2

จดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค
ครู นกั เรยี น ผู้ปกครอง นกั เรยี นมาจากหลาย
ครูประจำชัน้ หรอื ครู นกั เรยี นไม่ใส่ใจในการ มปี ฏิสัมพันธท์ ่ดี ีต่อกัน หมู่บ้าน ห่างไกล
มากขึน้ นักเรยี นได้รับ โรงเรียน บางหม่บู ้านได้
ที่ปรกึ ษามีข้อมลู พน้ื ฐาน เรียน หรอื ทำใบงาน การดแู ลอย่างทวั่ ถึง และ ปิดหมู่บา้ น เพราะการ
ตรงตามสภาพปญั หา แพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั
ของนักเรยี น ทำให้ทราบ ขาดความกระตือรือรน้
โคโรนา 2019(COVID-
ถงึ ปัญหา อุปสรรคของ ในการเรียน ให้ความ 19) ครูได้แค่ติดตาม
สอบถาม ทาง
การเรยี น ของ สนใจกบั การเลน่ เกม โทรศัพท์ และกล่มุ ไลน์
ในการเยีย่ มบา้ น
นักเรยี น พยายามเข้า การดคู ลปิ วดิ ีโอมาก บางครงั้ ผู้ปกครองไม่อยู่
บา้ นทำให้ครูประจำชน้ั
แก้ไข ใหค้ ำปรึกษาอยา่ ง เกินไป กับผปู้ กครองไมไ่ ด้พดู คุย
รับทราบปญั หา ความ
เปน็ กลั ยาณมติ ร โดย และผ้ปู กครองไมค่ ่อย เปน็ อยู่ และความ
ต้องการของนกั เรยี น
การเยีย่ มบา้ นชว่ ยเหลอื มเี วลาในการดแู ล

นักเรียนเม่อื มีเหตจุ ำเปน็ กระตุ้นการเรยี นรู้

ครปู ระจำชัน้ มีการ ของนักเรยี น ในบาง

กำกบั ติดตาม ดแู ลแกไ้ ข รายวิชาทีไ่ มเ่ ขา้ ใจ

ปญั หาใหก้ บั นักเรียน นักเรียนควรไดร้ บั การ

อย่างต่อเน่อื ง ดแู ลอย่างใกล้ชิด

ครไู ด้ปรับเน้ือหา

และเวลาในการเรียนรู้

ทีเ่ หมาะสม

กบั สถานการณก์ ารแพร่

ระบาดของโรคไวรัสโคโร

นา 2019

(COVID-19)

56

3.7 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการ นักเรียนของ
โรงเรียนขนาดใหญ่ สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 2
ตารางท่ี 14 แบบวเิ คราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค การบริหารจัดการ นักเรียนของโรงเรียน
ขนาดใหญ่ สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2

จุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค
โรงเรยี นเปน็ โรงเรียน โรงเรยี นมีนักเรยี น โรงเรยี นเปน็ โรงเรยี น โรงเรียนมีนกั เรียน
ขนาดใหญ่ มรี ะบบการ จำนวนมาก และเดนิ ทาง ที่อยใู่ นเมอื ง จำนวนมาก และเดินทาง
บรหิ ารจัดการท่ดี ี มาจากหลายพ้นื ท่ี หลาย การคมนาคมสะดวก มาจากหลายพืน้ ที่
มีบุคลากรที่มาก หมู่บา้ น หลายอำเภอ ในการมารับมาสง่ ใบงาน หลายหม่บู า้ น หลาย
ด้วยความรู้ มคี รู และบุคลากร อำเภอ ทำให้ยากลำบาก
ความสามารถ ทางการศึกษาจำนวน ต่อการเดนิ ทางมารบั ใบ
มีงบประมาณเพียงพอ มาก หลากหลาย งาน เดก็ บางส่วนอาศัย
ในการจดั กจิ กรรม ดว้ ยความรู้ อยูก่ ับ ปู่ ยา่ ตา ยาย ที่
การเรียนรู้ ความสามารถในการใช้ มอี ายมุ าก และ ขาด
สอื่ เทคโนโลยี เพื่อใช้ แคลนเครอ่ื งมือส่ือสาร
การจัดการเรยี นรู้ จึงทำให้เรยี นร้ไู ด้ไมด่ ี
และกำกบั ติดตาม เทา่ ทีค่ วร
นักเรียนอยา่ งสมำ่ เสมอ
ผู้ปกครองใหค้ วามสนใจ
ในการดแู ล ชว่ ยเหลอื
นกั เรียน

57

3.8 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจัดการเรียนรู้ นักเรียนของ
โรงเรียนขนาดใหญ่ สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่นเขต 2
ตารางที่ 15 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการจัดการเรียนรู้ นักเรียน
ของโรงเรียนขนาดใหญ่ สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2

จุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อปุ สรรค
โรงเรียนมีระบบการ โรงเรียนมนี กั เรียน โรงเรียนเปน็ โรงเรยี น โรงเรยี นมีนกั เรียน
บรหิ ารจัดการที่ดี จำนวนมาก จึงตอ้ งใช้ ที่อยูใ่ นเมือง ทำให้การ จำนวนมาก และเดนิ ทาง
มคี รู และบุคลากร งบประมาณในการจัดทำ คมนาคมมีความสะดวก มาจากหลายพืน้ ท่ี หลาย
ทางการศึกษาทม่ี ีความรู้ ใบงานมากพอสมควร ในการมารบั มาสง่ ใบงาน หมู่บ้าน หลายอำเภอ
ความสามารถ มีงบ ผู้ปกครองให้ความสนใจ ทำใหย้ ากลำบากต่อการ
ประมาณเพยี งพอในการ ในการดูแลช่วยเหลือ เดนิ ทางมารับใบงาน
จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ นักเรียน เดก็ บางสว่ นอาศัยอยู่กับ
ปู่ ย่า ตา ยาย ที่มีอายุ
มาก และขาดแคลน
เครือ่ งมอื ส่ือสาร จงึ ทำ
ใหเ้ รียนรู้ได้ไมด่ ี
เทา่ ทคี่ วร

3.9 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
นักเรียนของโรงเรียนขนาดใหญ่ สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่นเขต 2
ตารางที่ 16 แบบวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักเรียน
ของโรงเรียนขนาดใหญ่ สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2

จดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส อปุ สรรค
โรงเรียนมีนักเรียน
โรงเรยี นมรี ะบบการ โรงเรียนมนี ักเรยี น โรงเรียนมรี ถโรงเรยี น จำนวนมาก และเดนิ ทาง
มาจากหลายพ้นื ที่ หลาย
บรหิ ารจดั การที่ดี จำนวนมาก และเดินทาง และคณะครูมีความ หมบู่ า้ น หลายอำเภอ
ทำให้ยากลำบากต่อการ
มีจำนวนครูและบุคลากร มาจากหลายพนื้ ที่ หลาย พร้อมในเร่อื งของ เดินทางออกไปดูแล
ช่วยเหลอื นกั เรียน
ทางการศกึ ษาทเ่ี พยี งพอ หมู่บา้ น หลายอำเภอ ยานพาหนะ เพื่อใช้ใน

มีประสบการณ์ ความรู้ จงึ ทำให้ มีความลำบาก การกำกบั ตดิ ตาม ดูแล

ความสามารถ อีกท้ังมี ในการกำกำติดตาม ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น และ

งบประมาณเพยี งพอ ผปู้ กครองให้มคี วาม

สนใจในการดแู ล

58

จดุ แข็ง จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค
ในการจัดกจิ กรรมการ ชว่ ยเหลือนักเรยี น
เรียนรู้ อีกด้วย

ขั้นตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ SWOT เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาในการบรหิ ารจัดการ
การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโร
น า 2019 ร ะ ด ั บ ส ำ น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ข อ น แ ก ่ น เ ข ต 2

ผู้วิจัยได้ทำการประชุมระดมความคิด (Brainstorming) โดยนำผลการวิเคราะห์ SWOT มาประชุม
ระดมความคดิ ของคณะวจิ ยั นกั วิชาการ ผู้บรหิ าร ครู ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง กำหนดแนวทางการจัดการศึกษา เพือ่ พัฒนา
โรงเรียนทุกลักษณะ ในการบริหารจัดการโรงเรียน การจัดการเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดัง
รายละเอียดต่อไปน้ี

1. ผลการวเิ คราะห์ SWOT ของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา

ขอนแกน่ เขต 2

ตารางท่ี 17 จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ ON HAND

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การบริหารจัดการ และการดูแลช่วยเหลือ

นกั เรยี น

ท่ี จัดการเรยี นรู้ S การจัดการเรยี นแบบ ON HAND
ระดบั WOT

1 ปฐมวยั - มีการจัดทำ - นักเรียนบางคน - ครูแนะนำให้ - ในการเยยี่ ม

แฟ้มใบงาน แบบ มีการเรยี นรูช้ า้ ผู้ปกครองชว่ ย บา้ น ผู้ปกครอง

ฝกึ ทกั ษะอปุ กรณ์ ไม่สามารถทำได้ สอน ไมอ่ ยู่บ้าน ครู

การเรยี นรู้เฉพาะ - นกั เรยี นบาง แบบฝึกหัดที่ ไมไ่ ดพ้ บปะ

บุคคล ให้กบั คนทำงานไม่เสร็จ นักเรียนไม่ พูดคยุ สภาพ

นักเรยี น ขาดความ เข้าใจ ปญั หาความ

- ครเู ยีย่ มบา้ น รับผิดชอบ - นกั เรยี น เปน็ อยู่

นักเรยี น - ผูป้ กครองไม่มี ได้รบั การดูแล - บางครอบครวั

- ครูประจำชน้ั เวลาในการสอน อย่างท่ัวถึง พอ่ แม่หย่าร้าง

กำกบั ติดตาม นักเรียน และตรงตาม

และดแู ลแก้ไข สภาพปญั หา

59

ท่ี จัดการเรยี นรู้ S การจดั การเรียนแบบ ON HAND T
ระดับ WO

ปญั หาใหก้ ับ

นักเรียน

- ครปู ระจำช้ัน

ติดตามการ

ทำงานและ

พฤติกรรมของ

นักเรียน

สม่ำเสมอ

2 ประถมต้น - ครจู ดั ทำ - นักเรยี นบางคน - ครูแนะนำให้ - ในการเยี่ยม
3 ประถมปลาย เอกสาร ใบงาน บา้ น ปกครองไม่
และแบบฝกึ หดั มกี ารเรียนร้ชู า้ ผู้ปกครองชว่ ย อยบู่ ้าน ครไู ม่ได้
ให้กับนักเรยี น พบปะพดู คุย
- ผู้ปกครองให้ ไม่สามารถทำได้ สอน สภาพปัญหา
ความชว่ ยเหลอื ความเป็นอยู่
ให้นกั เรียน - นักเรียนขาด แบบฝึกหัดท่ี - บางครอบครวั
สามารถเรียนได้ พ่อแม่หย่ารา้ ง
อย่างต่อเนื่อง ความเขา้ ใจใน นักเรียนไม่
- ครูเยยี่ มบ้าน - ผู้ปกครองขาด
นกั เรยี น การใช้สอ่ื การ เข้าใจ ความรแู้ ละ
- ครูประจำชั้น ประสบการณ์ไม่
กำกับ ตดิ ตาม เรียนการสอน - นักเรยี น สามารถอธบิ าย
และดูแลแก้ไข
- นกั เรยี นบาง ไดร้ บั การดูแล
ปัญหาใหก้ ับ
นักเรียน คนทำงานไม่เสร็จ อย่างทว่ั ถึง
- ครตู ดิ ตามการ
ทำงานและ ขาดความ และตรงตาม
พฤติกรรมของ
นกั เรียน รบั ผิดชอบ สภาพปญั หา
สมำ่ เสมอ
- ผู้ปกครองไม่มี
- ครแู ต่ละ
รายวชิ าจัดทำใบ เวลาในการสอน

งานตามตวั ชวี้ ดั นักเรียน
ให้กับนกั เรียน
- นกั เรยี นขาด - ครูแนะนำให้
ความเขา้ ใจใน ผปู้ กครองช่วย

การใช้ส่ือการ สอน
เรียนการสอน แบบฝึกหดั ที่

60

ที่ จดั การเรียนรู้ S การจัดการเรยี นแบบ ON HAND T
ระดับ
WO และชี้แนะการ
- ครูเย่ียมบา้ น เรียนร้ขู อง
- นักเรยี นบางคน นักเรียนไม่ นกั เรยี นท่ีบา้ นได้
นกั เรยี น เรียนรู้ชา้ คอย เขา้ ใจ - ในการเยย่ี ม
ลอกคำตอบเพื่อน - นักเรียน บ้าน ปกครองไม่
- ครูประจำชน้ั - นกั เรยี นขาด ไดร้ ับการดูแล อย่บู ้าน ครไู ม่ได้
แรงกระต้นุ อย่างทั่วถึง พบปะพดู คยุ
กำกับ ติดตาม แรงผลักดัน และตรงตาม สภาพปัญหา
ความสนใจและ สภาพปัญหา ความเป็นอยู่
และดูแลแกไ้ ข ไม่ใสใ่ จในการ - บางครอบครวั
ทำงาน พอ่ แมห่ ยา่ ร้าง
ปญั หาใหก้ ับ - นกั เรยี นขาด
ความรบั ผดิ ชอบ
นักเรียน

- ครตู ิดตามการ

ทำงานและ

พฤติกรรมของ

นกั เรยี น

สมำ่ เสมอ

4 มธั ยมต้น - - --
- --
5 มธั ยมปลาย -

ตารางที่ 18 จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรคของรปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบ ON LINE

ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 การบรหิ ารจดั การ และการดูแลช่วยเหลือ

นกั เรยี น

ท่ี จัดการเรยี นรู้ S การจดั การเรียนแบบ ON LINE T
ระดับ WO

1 ปฐมวยั - ครูประจำช้ัน - สภาพเศรษฐกิจ - ผู้ปกครอง - ผู้ปกครอง

จัดการเรียนการ การประกอบ เขา้ ถึงส่ือ บางส่วน

สอนผ่านเครอื ข่าย อาชพี ผ้ปู กครอง ผู้ เทคโนโลยี ทำงาน

อินเตอรเ์ น็ต ปกคอรงไมม่ เี วลา สมัยใหม่ และ ต่างจังหวัด ทำ

- ครูเยี่ยมบา้ น ดูแลกำกับให้ สนบั สนุนการ ใหไ้ มม่ เี วลา

นักเรียน นักเรยี นเข้าเรยี น เรียนรู้ใน ดูแลกำกับ

- ครปู ระจำชนั้ ตามเวลาทกี่ ำหนด รูปแบบ ตดิ ตามบตุ ร

กำกบั ตดิ ตาม และ และทำใบงานท่ี ออนไลนม์ าขน้ึ หลาน

ดูแลแกไ้ ขปัญหา ได้รบั มอบหมาย - บาง

ใหก้ บั นกั เรียน - นักเรยี นขาด ครอบครวั

- ครตู ิดตามการ ความกระตือรือร้น ฐานะยากจน

ทำงานและ ขาดความสนใจ ใน ยังขาดอุปกรณ์

61

ท่ี จดั การเรียนรู้ S การจัดการเรยี นแบบ ON LINE T
ระดับ WO

พฤติกรรมขอ การเขา้ เรียน ON เพือ่ ใชใ้ นการ

นกั เรียนสม่ำเสมอ LINE เรยี น

2 ประถมตน้ - ครปู ระจำชั้น/ ครู - สภาพเศรษฐกิจ - ผู้ปกครอง - ผู้ปกครอง

ประจำวิชา จดั การประกอบ เขา้ ถึงส่ือ บางส่วน

กิจกรรมการเรยี น อาชพี ผ้ปู กครอง ผู้ เทคโนโลยี ทำงาน

การสอนตาม ปกคอรงไมม่ เี วลา สมยั ใหม่ และ ตา่ งจังหวัด ทำ

รายวชิ า ผ่าน ดแู ลกำกับให้ สนับสนนุ การ ให้ไมม่ เี วลา

เครือข่าย นักเรียนเข้าเรียน เรียนรใู้ น ดูแลกำกบั

อนิ เตอร์เน็ต ตามเวลาที่กำหนด รปู แบบ ตดิ ตามบุตร

- ครูเยีย่ มบ้าน และทำใบงานที่ ออนไลน์มาขึ้น หลาน

นักเรยี น ไดร้ บั มอบหมาย - บาง

- ครูประจำชัน้ - นกั เรียนขาด ครอบครัว

กำกบั ติดตาม และ ความกระตอื รือรน้ ฐานะยากจน

ดแู ลแก้ไขปญั หา ขาดความสนใจ ใน ยงั ขาดอุปกรณ์

ให้กบั นักเรยี น การเขา้ เรียน ON เพ่ือใชใ้ นการ

- ครตู ดิ ตามการ LINE เรียน

ทำงานและ - ผ้ปู กครองมี

พฤติกรรมขอ บตุ รหลาน

นักเรยี นสม่ำเสมอ มากกว่า 1 คนิ

ทำใหเ้ กิด

ปัญหาในการ

จัดซ้ืออุปกรณ์

3 ประถมปลาย - ครูประจำช้นั /ครู - สภาพเศรษฐกิจ - ผ้ปู กครอง - ผปู้ กครอง

ประจำวิชา จดั การประกอบ เข้าถงึ สื่อ บางส่วน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ อาชพี ผู้ปกครอง เทคโนโลยี ทำงาน

ตามรายวิชา ผา่ น ผูป้ กครองไม่มี สมยั ใหม่ และ ตา่ งจงั หวัด

เครือข่าย เวลาดูแล กำกับ สนับสนุนการ ทำให้ไมม่ ีเวลา

อินเตอร์เน็ตผ่าน ใหน้ ักเรียนเขา้ เรยี นรใู้ น ดูแล กำกับ

Google Meet , เรียนตามเวลาที่ รูปแบบ ตดิ ตาม

Zoom กำหนด และทำใบ ออนไลน์มาก บตุ รหลาน

- ครูเยี่ยมบ้าน งาน ท่ไี ด้รบั ขน้ึ - บาง

นกั เรยี น มอบหมาย ครอบครวั

62

ที่ จัดการเรียนรู้ S การจดั การเรยี นแบบ ON LINE T
ระดับ WO

- ครปู ระจำชนั้ - นกั เรียนขาด ฐานะยากจน

กำกับ ตดิ ตาม และ ความกระตือรือร้น ยังขาดอุปกรณ์

ดูแลแก้ไขปญั หา ขาดความสนใจ ใน เพ่ือใชใ้ นการ

ให้กับนกั เรียน การเขา้ เรยี น ON เรยี นรู้

- ครตู ิดตามการ LINE - ผปู้ กครอง

ทำงานและ มีบุตรหลาน

พฤติกรรมการ มากกวา่ 1 คน

เรยี นรู้ ทำใหเ้ กดิ

ของนักเรยี น ปัญหาในการ

สมำ่ เสมอ จดั ซอ้ื อุปกรณ์

4 มธั ยมต้น - ครปู ระจำชั้น/ ครู - สภาพเศรษฐกิจ - ผู้ปกครอง - ผู้ปกครอง

ประจำวิชาจัด การประกอบ เขา้ ถงึ ส่ือ บางสว่ น

กิจกรรมการเรียนรู้ อาชพี ผ้ปู กครอง เทคโนโลยี ทำงาน

ตามรายวชิ าผ่าน ผู้ปกครองไม่มี สมัยใหม่ และ ต่างจงั หวดั ทำ

เครือข่าย เวลาดแู ล กำกับ สนับสนุน ใหไ้ มม่ เี วลา

อนิ เตอรเ์ น็ตผ่าน ให้นกั เรียนเขา้ การเรียนรู้ ดูแลกำกบั

Google Meet , เรียนตามเวลาที่ ในรปู แบบ ตดิ ตามบุตร

Zoom นกั เรยี น กำหนด และทำใบ ออนไลน์มาก หลาน

ทำใบงานผ่าน Live งานทไี่ ดร้ ับ ขึ้น - บาง

work sheet มอบหมาย ครอบครัว

- นกั เรยี นขาด ฐานะยากจน

ความกระตือรือรน้ ยังขาดอุปกรณ์

ขาดความสนใจ เพื่อใช้ในการ

เรียน

- ผ้ปู กครอง

มบี ตุ รหลาน

- ครูเย่ียมบา้ น ในการเขา้ เรยี น มากกวา่ 1 คน
นกั เรียน ON LINE ทำใหเ้ กดิ
ปญั หาในการ
- ครปู ระจำชน้ั
กำกบั ติดตาม และ จดั ซ้อื อุปกรณ์

63

ที่ จัดการเรียนรู้ S การจดั การเรียนแบบ ON LINE T
ระดับ WO -
ดูแลแก้ไขปัญหา
5 มัธยมปลาย ให้กับนักเรยี น --
- ครตู ดิ ตามการ
ทำงาน และ
พฤติกรรมของ
นักเรียนอยา่ ง

สม่ำเสมอ

-

ตารางท่ี 19 จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ ON DEMAND ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การบริหารจัดการ และการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรยี น

ท่ี จัดการเรียนรู้ การจดั การเรยี นแบบ ON DEMAND T
ระดับ S WO

1 ปฐมวัย - ครูจดั ทำคลิปการ - สภาพ - ผูป้ กครอง - เดก็ บางสว่ น

สอนและสอ่ื การ เศรษฐกิจ การ ใหค้ วามสนใจ อาศัยอยู่กบั ปู่

สอน ของตนเอง ประกอบอาชีพ ในการดูแล ยา่ ตา ยาย ทีม่ ี

เผยแพร่ใหน้ กั เรยี น ผปู้ กครอง ช่วยเหลอื อายุมาก ขาด

ผา่ นทาง ผู้ปกครองไม่มี นักเรยี น แคนเครื่องมือ

Facebook , Line เวลาดแู ล กำกบั - ครูเปิด สอื่ สาร

- ครูจัดกิจกรรม ใหน้ กั เรียนเข้า โอกาสให้ - ผปู้ กครอง

การเรยี นรู้โดยใชส้ ่อื เรยี น ศึกษาคลปิ นกั เรียนและ บางสว่ นทำงาน

อิเล็กทรอนกิ ส์ การเรียนรู้ และ ผู้ปกครอง ตา่ งจงั หวัด

ผา่ นเวบ็ ไซต์ DLTV สอ่ื การเรียนรู้ สามารถติดต่อ ทำใหไ้ มม่ เี วลา

DLIT YouTube และทำใบงาน สอบถามได้ ดูแล กำกับ

ฯลฯ - นกั เรียน อย่างเข้าถงึ ตดิ ตามบุตร

- ครูเย่ียมบ้าน บางคนทำงาน และรวดเร็ว หลาน

นกั เรยี น ไม่เสรจ็ - บาง

- ครูประจำช้ัน ครอบครวั

กำกบั ติดตาม และ ฐานะยากจน

ดูแลแกไ้ ขปญั หา ยังขาดอุปกรณ์

ให้กับนักเรยี น เพ่ือใชใ้ นการ

เรียนรู้

64

ท่ี จดั การเรยี นรู้ การจัดการเรียนแบบ ON DEMAND T
ระดับ S WO

2 ประถมต้น - ครจู ัดทำคลิปการ - สภาพ - ผปู้ กครองให้ - เดก็ บางสว่ น

สอน และสอื่ เศรษฐกจิ การ ความในการ อาศัยอยู่กบั ปู่

การเรียนรู้ของ ประกอบอาชีพ ดแู ลช่วยเหลอื ย่า ตา ยาย ที่มี

ตนเอง เผยแพร่ให้ ผปู้ กครอง ผปู้ ก นักเรียน อายมุ าก

นักเรยี นผา่ นทาง คอรงไมม่ ีเวลา - ครูเปิด ขาดแคลน

Facebook , Line ดูแลกำกบั ให้ โอกาสให้ เครอ่ื งมอื

- ครจู ัดกิจกรรม นักเรยี นเข้าเรียน นักเรยี นและ สื่อสาร

การเรยี นรูโ้ ดยใช้สือ่ ศกึ ษาคลปิ การ ผูป้ กครอง - ผู้ปกครอง

อิเลก็ ทรอนิกส์ เรยี น และสอื่ สามารถตดิ ต่อ บางสว่ นทำงาน

ผ่านเว็บไซต์ DLTV การเรียนและทำ สอบถามได้ ตา่ งจงั หวัด

DLIT YouTube ใบงาน อย่างเข้าถึง ทำใหไ้ มม่ ีเวลา

ฯลฯ - นกั เรยี นบาง และรวดเรว็ ดูแลกำกับ

- ครเู ยยี่ มบา้ น คนทำงานไม่ ตดิ ตาม

นักเรียน เสร็จ บตุ รหลาน

- ครูประจำชนั้ - บาง

กำกับ ตดิ ตาม และ ครอบครวั

ดแู ลแกไ้ ขปัญหา ฐานะยากจน

ให้กบั นักเรียน ยังขาดอุปกรณ์

เพ่อื ใชใ้ นการ

เรียนรู้

3 ประถมปลาย - ครูจดั ทำคลปิ การ - สภาพ - ผ้ปู กครองให้ - เดก็ บางส่วน

จดั การเรียนรู้ และ เศรษฐกจิ การ ความในการ อาศยั อยู่กับ ปู่

ส่อื การเรียนรู้ ประกอบอาชีพ ดูแลชว่ ยเหลอื ย่า ตา ยาย ทม่ี ี

ของตนเอง เผยแพร่ ผ้ปู กครอง ผูป้ ก นักเรียน อายมุ าก ขาด

ให้นักเรียนผา่ นทาง คอรงไมม่ เี วลา - ครเู ปิด แคนเครื่องมือ

Facebook , Line ดแู ลกำกับให้ โอกาสให้ สื่อสาร

- ครูจดั กิจกรรม นักเรยี นเขา้ เรียน นักเรยี นและ - ผู้ปกครอง

การเรยี นรู้โดยใชส้ อื่ ศกึ ษาคลปิ การ ผ้ปู กครอง บางสว่ นทำงาน

อิเลก็ ทรอนิกส์ เรยี น และสือ่ สามารถติดต่อ ต่างจงั หวดั ทำ

ผา่ นเวบ็ ไซต์ DLTV การเรยี นและทำ สอบถามได้ ให้ไมม่ ีเวลา

DLIT YouTube ใบงาน อยา่ งเข้าถงึ ดูแลกำกับ

ฯลฯ - นักเรียนบาง และรวดเรว็ ตดิ ตามบุตร

- ครเู ยีย่ มบ้าน คนทำงานไม่ หลาน

นกั เรยี น เสร็จ - บาง

ครอบครัว

65

ท่ี จัดการเรียนรู้ การจดั การเรียนแบบ ON DEMAND T
ระดับ S WO

- ครปู ระจำช้ัน ฐานะยากจน

กำกับ ติดตาม และ ยงั ขาดอุปกรณ์

ดูแลแก้ไขปญั หา เพ่ือใชใ้ นการ

ให้กับนกั เรียน เรยี น

4 มธั ยมตน้ - ครูจดั ทำคลิปการ - สภาพ - ผ้ปู กครองให้ - เดก็ บางส่วน

สอน และสื่อการ เศรษฐกจิ การ ความในการ อาศัยอยูก่ บั ปู่

เรียนรู้ ของตนเอง ประกอบอาชีพ ดูแลชว่ ยเหลอื ย่า ตา ยาย ท่ีมี

เผยแพรใ่ ห้นกั เรยี น ผปู้ กครอง นักเรียน อายมุ าก ขาด

ผ่านทาง ผูป้ กครองไม่มี - ครเู ปดิ แคนเคร่ืองมือ

Facebook , Line เวลาดูแล กำกับ โอกาสให้ สื่อสาร

- ครูจัดกจิ กรรม ให้นักเรียนเขา้ นกั เรยี นและ - ผปู้ กครอง

การเรียนรู้โดยใชส้ ื่อ เรยี น ศึกษาคลิป ผ้ปู กครอง บางส่วนทำงาน

อิเล็กทรอนิกส์ การเรยี น และ สามารถตดิ ต่อ ต่างจังหวัด ทำ

ผ่านเวบ็ ไซต์ DLTV สือ่ การเรยี นและ สอบถามได้ ใหไ้ ม่มเี วลา

DLIT YouTube ทำใบงาน อย่างเข้าถงึ ดแู ลกำกบั

ฯลฯ - นกั เรียนบาง และรวดเร็ว ตดิ ตามบตุ ร

- ครเู ยีย่ มบา้ น คนทำงานไม่ หลาน

นักเรียน เสรจ็ - บาง

- ครูประจำช้นั ครอบครวั

กำกบั ติดตาม และ ฐานะยากจน

ดแู ลแก้ไขปญั หา ยงั ขาดอุปกรณ์

ให้กับนักเรียน เพื่อใช้ในการ

เรยี น

5 มัธยมปลาย - - --

66

ตารางที่ 20 จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ ON AIR ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การบริหารจัดการ และการดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี น

ท่ี จดั การเรยี น S การจัดการเรยี นแบบ ON AIR T
การสอนระดบั WO

1 ปฐมวัย - ครจู ัดทำใบงาน - นกั เรียนขาด - สถานศึกษา - เดก็ บางสว่ น

ตารางเรยี น ความรู้ความ มุ่งเน้นให้ครู อาศยั อยู่กับ

ตารางออกอากาศ เขา้ ใจในการใช้ เขา้ ถึง ปู่ ยา่ ตา ยาย

ใหน้ กั เรยี นและ สื่อการเรยี นการ ผู้ปกครอง ที่มีอายุมาก

ผปู้ กครอง สอน ชมุ ชน และให้ ไม่สามารถ

- ผปู้ กครองขาด ความรแู้ ก่ ดูแล

ความรูค้ วาม ผปู้ กครองใน

เขา้ ใจ การ

- ครูและ ในการใชส้ อ่ื จดั การเรยี นรู้ บตุ รหลานได้

ผูป้ กครอง จดั ทำ เทคโนโลยใี นการ เต็มที่

ตารางรับส่งใบ จัดการเรยี นการ - สญั ญาณไม่

งาน แฟ้มงาน เรียนรู้แบบ on เสถียร

- ครูเย่ียมบ้าน air - สภาวะตดิ

นักเรียน จอส่งผลใหม้ ี

- ครูประจำชนั้ ปญั หาทาง

กำกับ ติดตาม สายตา

และดแู ลแก้ไข

ปัญหาใหก้ บั

นักเรียน

2 ประถมต้น - ครูจดั ทำใบงาน - นักเรยี นขาด - สถานศกึ ษา - เดก็ บางส่วน

ตารางเรียน ความรู้ความ ม่งุ เนน้ ใหค้ รู อาศยั อยู่กับ

ตารางออกอากาศ เข้าใจในการใช้ เขา้ ถงึ ปู่ ย่า ตา ยาย

ให้นักเรียนและ สือ่ การเรยี นการ ผ้ปู กครอง ท่มี ีอายุมาก

ผูป้ กครอง สอน ชุมชน และให้ ไมส่ ามารถ

- ครแู ละ - ผปู้ กครองขาด ความรแู้ ก่ ดแู ลบตุ ร

ผปู้ กครอง จัดทำ ความรู้ความ ผปู้ กครอง ใน หลานไดเ้ ต็มที่

เข้าใจในการใช้

67

ท่ี จดั การเรยี น S การจดั การเรยี นแบบ ON AIR T
การสอนระดบั WO

ตารางรบั ส่งใบ สือ่ เทคโนโลยใี น การจดั การเรยี น - สญั ญาณไม่

งาน แฟม้ งาน การจดั การเรียน การสอน เสถียร

- ครูเยี่ยมบ้าน การสอ on air - สภาวะติด

นกั เรียน จอสง่ ผลให้มี

- ครูประจำช้นั ปญั หาทาง

กำกับ ติดตาม สายตา

และดแู ลแก้ไข

ปัญหาให้กบั

นักเรยี น

3 ประถมปลาย - ครจู ดั ทำใบงาน - นกั เรียนขาด - สถานศึกษา - เดก็ บางสว่ น

ตารางเรยี น ความรูค้ วาม มุ่งเน้นใหค้ รู อาศยั อยูก่ บั

ตารางออกอากาศ เข้าใจในการใช้ เข้าถงึ ปู่ ยา่ ตา ยาย

ให้นักเรยี นและ ส่อื การเรยี นการ ผปู้ กครอง ทม่ี อี ายุมาก

ผปู้ กครอง สอน ชมุ ชน และให้ ไม่สามารถ

- ครูและ - ผปู้ กครองขาด ความรู้แก่ ดแู ลบุตร

ผู้ปกครอง จัดทำ ความรู้ความ ผปู้ กครอง ใน หลานไดเ้ ตม็ ที่

ตารางรับส่งใบ เขา้ ใจในการใช้ การจดั การเรียน

งาน แฟม้ งาน สือ่ เทคโนโลยีใน การสอน

การ

- ครูเยย่ี มบา้ น จัดการเรยี นรู้ - สญั ญาณ

นกั เรยี น แบบ on air ไมเ่ สถียร

- ครูประจำชัน้ - สภาวะตดิ

กำกบั ตดิ ตาม จอส่งผลให้มี

และดแู ลแกไ้ ข ปัญหาทาง

ปญั หาใหก้ บั สายตา

นักเรียน

4 มธั ยมตน้ - ครจู ดั ทำใบงาน - นักเรียนขาด - สถานศึกษา - เดก็ บางส่วน

ตารางเรียน ความรคู้ วาม มงุ่ เน้นให้ครู อาศัยอย่กู บั

ตารางออกอากาศ เข้าใจในการใช้ เข้าถึง ปู่ ย่า ตา ยาย

68

ท่ี จดั การเรียน S การจัดการเรียนแบบ ON AIR T
การสอนระดับ ใหน้ กั เรียนและ WO ทม่ี ีอายุมาก

สื่อการเรยี นการ ผปู้ กครอง

ผปู้ กครอง สอน ชมุ ชน และให้ ไม่สามารถ

- ครแู ละ - ผู้ปกครองขาด ความรแู้ ก่ ดูแลบุตร

ผูป้ กครอง จัดทำ ความรคู้ วาม ผปู้ กครอง ใน หลานได้เตม็ ที่

ตารางรบั สง่ ใบ เข้าใจในการใช้ การจัดการเรียน - สญั ญาณไม่

งาน แฟม้ งาน สอื่ เทคโนโลยใี น การสอน เสถยี ร

- ครูเย่ียมบ้าน การจดั การเรยี น - สภาวะติด

นักเรียน การสอ on air จอส่งผลใหม้ ี

- ครูประจำชัน้ ปัญหาทาง

กำกบั ตดิ ตาม สายตา

และดแู ลแกไ้ ข

ปัญหาให้กับ

นกั เรยี น

5 มัธยมปลาย - - --

ตารางท่ี 21 จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรคของรูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบ ON SITE ใน

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 การบริหารจดั การ และการดูแลช่วยเหลือ

นกั เรียน

ที่ จดั การเรียนการสอน S การจดั การเรียนแบบ ON SITE T
ระดับ WO

1 ปฐมวัย - - --

2 ประถมตน้ - - --

3 ประถมปลาย - - --
4 มธั ยมตน้ - - --
5 มัธยมปลาย - - --

หมายเหตุ : แยกตาราง SWOT รายประเภทการจดั การเรียนร้แู บบ ON Hand, ON Line, ON Demand,
ON AIR

69

ขั้นตอนที่ 3 ผลการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 ซึ่งมี
รายละเอียดดงั นี้

ผู้วิจัยไดน้ ำเสนอผลการวเิ คราะห์ขอมูลเปน็ ขอเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในระดบั
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 2 ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID - 19) ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

4. แบบบนั ทึกผลการเสนอทางการจดั การศกึ ษา
ตารางที่ 22 แนวทางการแก้ไขการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2 จำแนกตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019

ท่ี ระดับ แนวทางการจัดการเรียนแบบ
1 ปฐมวยั
On Hand On Line On Demand On Site On Air
- ครูให้
- เยยี่ มบ้าน - จัดการเรียนการ - แนะนำ - คำแนะนำ
วธิ ีการเขา้
นกั เรียน เพ่ือ สอนตามความ ผปู้ กครองใน ห้องเรยี นตาม
ตาราง
ช่วยเหลอื เรื่อง พร้อม และความ การเข้าถงึ
เวลา DLTV
การเรียน เหมาะสม แอปพลิเคชัน่ - ติดตาม
กำกบั ดูแล
ต่าง ๆ นักเรยี นเป็น
รายบุคคล
- ให้นกั เรยี นนำ ของนักเรียน - ครูกำกบั

หนงั สอื แต่ละบุคคล ตดิ ตามงาน ให้

แบบฝกึ หดั ไปทำ ผูป้ กครอง

ท่ีบา้ น และ ช่วยเหลอื ดแู ล

อธบิ ายการ นกั เรียน

ทำงานเปน็

รายบคุ คล

- นักเรียนติดต่อ

ครปู ระจำชัน้ ทาง

ไลน์ เฟสบุค๊ หรอื

โทรศัพท์ หาก

นกั เรยี นมปี ญั หา

เร่อื งเรยี น

70

ท่ี ระดับ แนวทางการจดั การเรยี นแบบ
2 ประถม
On Hand On Line On Demand On Site On Air
ตน้ - ครใู ห้
- เยย่ี มบ้าน - จัดการเรียนการ - จดั ทำบทเรียน - คำแนะนำ
3 ประถม วิธกี ารเข้า
ปลาย นกั เรียน เพ่ือ สอนตามความ คลปิ วิดโี อ ห้องเรยี นตาม
ตาราง
ชว่ ยเหลอื เรื่อง พร้อม และความ เนือ้ หาการสอน เวลา DLTV
- ติดตาม
การเรียน เหมาะสมของ เพ่อื ให้นกั เรยี น กำกบั ดูแล
นกั เรยี นเป็น
- ใหน้ ักเรยี นนำ นักเรยี น สามารถเรยี นรู้ รายบคุ คล

หนังสือ แต่ละบคุ คล ย้อนหลัง และ - ครูให้
คำแนะนำ
แบบฝกึ หดั ไปทำ - บนั ทกึ การจดั การ มอบหมายงาน วธิ ีการเขา้
หอ้ งเรยี นตาม
ทบ่ี า้ น และ เรยี นรู้ไวใ้ ห้นักเรยี น เปน็ รายสัปดาห์ ตาราง
เวลา DLTV
อธบิ ายทำความ สามารถเรยี น - ตดิ ตาม
กำกับดูแล
เข้าใจเกยี่ วกับ ยอ้ นหลังได้ นกั เรยี นเปน็
รายบุคคล
ภาระงานให้ - จดั สภาพ

นักเรียน แวดลอ้ ม โดยให้มี

ขอ้ กำหนดเบ้ืองต้น

ในการเตรียมตวั

เรยี น ในการเรยี น

ออนไลน์

- ใช้วธิ ีพบปะ - จัดการเรยี นรู้ตาม - ครจู ัดทำ -

และติดตามการ ความพร้อม และ บทเรียน คลิป

เรยี นอยา่ ง ความเหมาะสม วิดโี อเน้อื หาการ

ต่อเนือ่ ง เตรยี ม ของนักเรียน สอน เพอื่ ให้

รูปแบบการสอน ในแตล่ ะบุคคล นักเรยี น

และการ - ใชช้ ่องทางการ สามารถเรยี นรู้

มอบหมายงานที่ สือ่ สารออนไลนใ์ น ยอ้ นหลัง และ

หลากหลาย ให้ รูปแบบต่าง ๆ ตาม มอบหมายงาน

เหมาะสมกบั ความเหมาะสม เป็น

สภาพ รายสปั ดาห์

ของนักเรียน - นักเรยี นทำ

- นัดผู้ปกครอง คลิปวดิ ีโอเสนอ

นักเรยี นมารับ สง่ ผลงานของ

งานตามวันเวลา ตนเอง

ทกี่ ำหนด

71

ท่ี ระดบั แนวทางการจัดการเรยี นแบบ
4 มธั ยมต้น
On Hand On Line On Demand On Site On Air
- - ครูให้
- บันทึกการสอนไว้ - ครูจดั ทำ - คำแนะนำ
วิธีการเข้า
ใหน้ ักเรียนสามารถ บทเรียน คลิป หอ้ งเรียนตาม
ตาราง
เรียนย้อนหลังได้ วดิ โี อเนือ้ หาการ เวลา DLTV
- ตดิ ตาม
- ใหน้ กั เรียนทุกคน สอน เพ่อื ให้ กำกบั ดูแล
นักเรียนเปน็
แลกเปล่ยี นเรียนรู้ นักเรียน รายบุคคล

และช่วยแสดงความ สามารถเรยี นรู้

คดิ เหน็ ในห้องเรยี น ย้อนหลงั และ

เพ่อื เป็นการกระตุ้น มอบหมายงาน

ความสนใจ เปน็ รายสปั ดาห์

- นักเรยี นทำ

คลปิ วดิ ีโอเสนอ

ผลงานของ

ตนเอง

4 ประถม - เพ่ิมช่องทางการ - มอบหมายให้ -
ปลาย ส่งงานรวมถึง นกั เรียนศกึ ษา
ระยะเวลาการ จากแหลง่ เรยี นรู้
5 มัธยม ทำงานของนักเรียน อ่ืน ๆ เพม่ิ เตมิ
ปลาย - ติดตามนกั เรยี น
ให้นักเรียนเข้าเรียน
เป็นรายกรณี
- เปดิ โอกาส ใหม้ ี
ปฏสิ มั พนั ธร์ ่วมกนั
เรยี กถามตอบ

- - --

72

บทท่ี 5
ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการสง่ เสริมการจัดการเรียนรขู้ องสถานศึกษา
ในสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่นเขต 2

การวิจยั เรอ่ื ง ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรณีศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2
มีข้อเสนอเชิงนโยบายการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 2 ดงั น้ี

ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาระดับเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
1. ข้อเสนอเชิงนโยบายดา้ นการบริหารจัดการ

1.1 รัฐบาลควรมีนโยบาย แผนและมาตรการรองรบั การจัดการศึกษาในสถานการณ์วิกฤติ
ที่ชัดเจน โดยควรมีแผนในการจัดการเรียนรู้ในวิถีใหม่ (New Normal Learning) และสนับสนุนในด้าน
การพฒั นาเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ และสือ่ อปุ กรณใ์ นการจัดการเรียนรู้

1.2 เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาหน่วยงานต้นสังกัดในระดับพื้นที่ควรมีบทบาท
ในการสนับสนุนช่วยเหลือในการจัดการเรยี นรู้ และแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ตลอดจนเสริมการสร้างความ
เข้มแข็งให้สถานศึกษาสามารถบรหิ ารจัดการในสถานการณว์ ิกฤตใิ นบรบิ ทของตนเอง

1.3 โรงเรยี นควรสร้างความปลอดภัยในสถานศกึ ษาแบบรอบด้าน (Safety School) โดย
ขับเคลื่อนด้วยหลัก 3 ป. ได้แก่ “ป้องกัน” ความเสี่ยงที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยง
ต่อตัวบุคคล หรือต่ออาคารสถานที่ “ปลูกฝัง” ให้นักเรียนรู้วิธีการเอาตัวรอด จัดการเรียนรู้วิชาชีวิต
ที่สำคัญไม่น้อยกว่าการจัดการเรียนรู้วิชาการ และ “ปราบปราม” การกระทำผิดอย่างจริงจัง เน้น
เยียวยาแก่ผู้เสียหายเป็นสำคัญ และมีนโยบายที่จะนำ Big Data เข้ามามีบทบาทสำคัญในการ
วิเคราะห์ และทำนายความเส่ียงเพื่อป้องกันความเสีย่ งท่ีอาจเกิดข้ึนได้ล่วงหน้า และสามารถป้องกนั
ได้อย่างทันทว่ งที

1.4 แต่งต้ังคณะกรรมการร่วมทีม่ าจาก 3 ฝ่าย ได้แก่ 1) สถานศกึ ษา 2) ผปู้ กครอง/ญาติ
ของผเู้ รียน และ 3) ผู้นำชุมชน/ทอ้ งถ่นิ /โรงพยาบาลชุมชน เป็นผ้คู ัดกรองนักเรียนแต่ละคนว่ามีความ
พร้อมเพียงใดในการใช้สื่อการเรียนรู้ และการใช้ชีวิตช่วงการระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ประเมินสถานการณ์ความพร้อมของนักเรียน การปรับนวัตกรรมทางการศึกษา
ด้วยการรวบรวมรูปแบบ วิธีการ กระบวนการ และเทคนิค พฤติกรรมในการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่
(New Normal) มาเผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชน ไปประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาคุณภาพ
ของนกั เรยี น ผ้ปู กครอง ชุมชนให้มคี ณุ ภาพ และปลอดภัยมากขึน้

73

1.5 สถานศึกษาอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ของครูให้ง่ายขึ้น สนับสนุน
งบประมาณดา้ นการจัดหา จดั สรรวัสดุ อปุ กรณ์ เทคโนโลยี อินเตอร์เนต็ ความเร็วสูง เคร่ืองมอื ตา่ ง ๆ
ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของครู เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทุกเนื้อหาได้จากทุกคน ทุกที่
ทุกเวลา และเพอื่ เป็นการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

1.6 ส่งเสริมให้ครูมีการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการจัดการเรียนรู้ Online
และจัดทำระบบการจัดการเรียนรู้ (Learning Management System) ผ่านเว็บไซต์เพื่ออำนวย
ความสะดวก ให้แก่ ครู นักเรียน และผู้ดูแลระบบ โดยทคี่ รูสามารถนำเสนอเนอ้ื หา และสอื่ การเรยี นรู้
ขนึ้ เวบ็ ไซต์เปน็ รายวชิ าตามที่ได้ขอใช้ระบบ เพอ่ื ให้นกั เรยี นเข้าถงึ เน้อื หา และกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่าง
รวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการเรียนผ่านสื่อ การทำแบบฝึกหัด การส่งการบ้าน และการจัดสอบออนไลน์
เ ช ่ น ร ะ บ บ จ ั ด ก า ร ก า ร เ ร ี ย น รู้ Modular Object-Oriented Dynamic Learning
Environment (Moodle)

1.7 ครูควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
มีการนเิ ทศ ชว่ ยเหลือในการจดั การเรยี นรู้ของครูในสถานการณว์ กิ ฤติ และสนบั สนุนสวัสดกิ ารตา่ ง ๆ
ให้กับครใู นการปฏิบตั ิงาน
2. ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านการจัดการเรียนรู้

2.1 หน่วยงานต้นสังกัดควรมีนโยบาย และมาตรการรองรับการจัดการศึกษา
ในสถานการณว์ ิกฤติทชี่ ดั เจน และประกาศนโยบายการจัดการเรยี นรู้ให้ทนั ต่อสถานการณ์ พร้อมท้ัง
สนบั สนุนส่ือ เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ตามความตอ้ งการจำเป็นของสถานศึกษา

2.2 สถานศึกษาควรมีแผน/แนวทางการบริหารจัดการสถานศึกษาในสถานการณ์วิกฤติ
อย่างชัดเจน มีข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน เพื่อใช้ในการจัดการเรยี นรู้และการติดตามนักเรียน มีการ
เตรียมความพร้อมให้แก่ครู นักเรียนและผู้ปกครอง สนับสนุนปัจจัยต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการจัดการ
เรียนรู้ ในสถานการณว์ ิกฤต

2.3 วางแผน และกำหนดเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนยังคงสามารถเรียนรู้ได้ ถึงแม้จะไม่ได้
เรียนในชั้นเรียน โดยประชุมวางแผนเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ ในรูปแบบลักษณะ
ต่าง ๆ ส่งเสริมให้ครูเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรู้ มีการนิเทศ และสร้างขวัญกำลังใจ
แก่ครู

2.4 หน่วยงานตน้ สงั กดั ควรมีนโยบายเสริมสร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียนสามารถบริหาร
จัดการศกึ ษาในสถานการณว์ กิ ฤติไดต้ ามบรบิ ทของตนเอง โดยต้องใหก้ ารสนับสนุนดา้ นวิชาการ (เชน่
วทิ ยากร การนเิ ทศ สื่อ อปุ กรณ์ในการเรยี นรู้ เปน็ ต้น)

2.5 ผู้ปกครองควรจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม และองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ส่งเสริมให้
นกั เรียนเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่อง ประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) โดยเน้น
ประเมินควบคู่ไปกับการจัดการเรียนรู้ และประเมินจากการปฏิบัติงานจริง มีการทำวิจัยในชั้นเรียน

74

2.6 สถานศึกษาตองหาแนวทาง และวิธีการที่หลากหลายในการจัดการศึกษา ซึ่งอาจจะ
จัดการศึกษาท้ังในรูปแบบ Onsite ควบคไู ปกับรปู แบบ On-Air และแบบ Online โดยทีส่ ถานศึกษา
บูรณาการจัดการศึกษาตามหลักสูตรในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย ทั้งนี้ ตองคำนึงถึงปัจจัย
แวดลอม และความพรอมของสถานศกึ ษาแตล่ ะแหงในแตล่ ะพ้นื ท่ีท่มี ีบรบิ ทแตกตางกนั

2.7 การจัดการศึกษาของโรงเรียนควรคำนึงถึงตัวนักเรียนเป็นหลัก โดยใช้โรงเรียน
เป็นฐาน เลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทโรงเรียน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม
แบบภาคีเครือข่ายในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างโรงเรียน นักเรียน และชุมชน
ตลอดจนคำนึงถึงความพร้อมด้านสื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ความต้องการของนักเรียน ความสามารถ
ของนักเรียน ความพร้อมของผู้ปกครองในการดูแลนักเรียน และการกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียน
เลือกใช้เครื่องมือการวัด และการประเมินผลให้สามารถวัดได้อย่างหลากหลาย และตามสภาพจริง
เน้นให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเองนอกห้องเรียนในรูปแบบการเรียนรู้แบบ Online และ
รูปแบบอื่น ๆ มุ่งวัดผลไปยังพฤติกรรมท่ีนักเรียนโดยตรง ยึดความสามารถท่ีนักเรียนพึงปฏิบัติได้
เป็นหลัก ไม่เน้นที่การสอบ เน้นที่ผลงาน และชิ้นงาน ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก
(Active Learning)
3. ขอ้ เสนอเชิงนโยบายด้านการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

3.1 ครูสามารถให้คำแนะนำได้ตลอดเวลา เพราะนักเรียนสามารถสอบถามคำถาม หรือ
ข้อสงสัยไว้ไดต้ ลอดในสื่อออนไลน์ จนกวา่ จะได้รับคำตอบที่พอใจหรือเข้าใจ โดยครูมีการต้ังไลน์กลุ่ม
และเพจเฟซบุ๊กไว้ให้นักเรียนติดต่อสื่อสารได้ตลอดเวลา และคอยให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัว
ของนักเรียนในการเรียน คอยติดตาม ช่วยเหลือการเรียนรู้ สอบถามปัญหา และให้กำลังใจนักเรียน
ในระหว่างการเรียนรู้ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ผา่ นช่องทางการ
สื่อสารต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ กลุ่มไลน์ เป็นต้น มีการสอบถามเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียน
ของนกั เรยี น เชน่ สอบถามความพรอ้ มในการเรยี นออนไลน์ อุปกรณ์ในการเรียน การอบรมใหค้ วามรู้
ในการเรียนออนไลน์ เป็นต้น กลุ่มที่ไม่มีความพร้อมในการเรียนออนไลน์ ครูจะมีการติดตาม
การเรียนรู้ โดยการลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมบ้านเพื่ออธิบายเพิ่มเติม สอนเสริมในส่วนที่นักเรียนไม่เข้าใจ
และลดภาระงานใหน้ ้อยลง ลดความยากของเนอื้ หา บทเรยี น และแบบฝกึ ทกั ษะ ให้นักเรียนสามารถ
ทำได้ง่ายขึ้น ครูจะช่วยเสริมในส่วนที่นักเรียนมีความบกพร่องสม่ำเสมอ เช่นเดียวกับการเรียน
แบบปกติ

3.2 จัดตงั้ กองทุน ส่งิ อำนวยความสะดวก ทุนการศึกษาสำหรบั นักเรียนท่ีครอบครัวได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์วิกฤติอย่างรุนแรง และกลุ่มนักเรียนด้อยโอกาสต่าง ๆ ให้ได้รับความ
ช่วยเหลอื เปน็ พเิ ศษ

3.3 สถานศกึ ษาควรชแ้ี จงทำความเขา้ ใจกับผปู้ กครองในการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์
วิกฤติ และจัดทำคู่มือการเรียน และการปฏิบัติตนสำหรับนักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อเป็นแนวทาง

75

ในการปฏบิ ัติในสถานการณ์การแพรร่ ะระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ใหเ้ กิดความปลอดภยั และ
เข้าถึงการจัดการศึกษาไดร้ วดเรว็ และมีประสิทธิภาพ

3.4 สถานศึกษามีการดำเนินการเพื่อทราบถึงจุดเด่น จุดด้อยของนักเรียน เพื่อให้การ
จัดการเรียนการสอนเป็นไปตามต้องการจำเป็นของผู้เรียน หรือสามารถที่พัฒนาความสามารถด้าน
การเรียนการสอนของนักเรยี นได้เตม็ ศกั ยภาพ

3.5 ครูมกี ารจดั การเรียนร้ดู ้วยการผสมผสานโดยรูปแบบ On hand On demand และ
Online และทางผู้ปกครองต้องคอยสนับสนุนจัดหาอุปกรณ์ให้นักเรียนเกิดความพร้อมในการเรียน
ออนไลน์ และประเด็นสำคัญต้องคอยสร้างวินัยในการใช้โทรศัพท์ให้เหมาะสม แนวทางการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ และสร้างความเข้าใจ หรือชี้แจงให้กับผู้ปกครองในการใช้คู่มือ หรือแนวทาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่บ้าน เพือ่ ใหผ้ ู้ปกครองสามารถจัดกจิ กรรมให้กับนกั เรียนได้อย่างถูกต้อง

3.6 โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง มีระบบข้อมูลสารสนเทศ (Big
Data) เกี่ยวกับนักเรียนอย่างครบถ้วน ครูมีความสารถใช้ระบบออนไลน์ในการติดต่อสื่อสารกับ
ผปู้ กครองในการชว่ ยเหลอื นกั เรียน ขณะอย่ทู บ่ี ้านหรืออยูใ่ นชุมชน

3.7 ครมู กี ารจดั การเรยี นรู้ดว้ ยการผสมผสานโดยรูปแบบ On hand On demand และ
Online และทางผู้ปกครองต้องคอยสนับสนุนจัดหาอุปกรณ์ให้นักเรียนเกิดความพร้อมในการเรียน
ออนไลน์ และประเด็นสำคัญต้องคอยสร้างวินัยในการใช้โทรศัพท์ให้เหมาะสม แนวทางการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ และสร้างความเข้าใจ หรือชี้แจงให้กบั ผูป้ กครองในการใชค้ ู่มือ หรือแนวทางการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บ้าน เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้อย่างถูกต้อง และครู
คอยติดตามชว่ ยเหลือนักเรียนเป็นระยะและรายบุคคล

3.8 ควรจัดเตรียมงบประมาณ และให้การสนับสนุนทรัพยากรการจัดการเรียนรู้
ให้เพียงพอเหมาะสมกับลักษณะ/ขนาดของสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ และโอกาส
ของความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ หรือช่วยเหลือนักเรียนตามนโยบายในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019

3.9 ควรสนบั สนุนเคร่อื งมอื หรือปัจจยั ท่ชี ว่ ยให้ครสู ามารถเยยี่ มบ้านนกั เรียนได้ เพ่ือการ
จดั การเรียนรู้ และดแู ลเอาใจใส่นกั เรยี นไดอ้ ย่างทั่วถึง

76

บรรณานกุ รม

77

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธกิ าร.(2542).พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542 .กรงุ เทพฯ:
บริษทั สยามสปอรต์ ซนิ ดิเคท จำกดั .

_____________.(2545).พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 (ฉบบั ที่ 2) และที่
แกไ้ ขเพิม่ เติม พุทธศกั ราช 2545 .กรุงเทพฯ:บรษิ ัทสยามสปอรต์ ซินดเิ คท จำกัด.
_____________.(2553).พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม

(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๓.กรงุ เทพฯ:บริษทั สยามสปอรต์
ซินดิเคท จำกัด.
_____________.(2553).หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
พมิ พ์ครั้งท่ี 3 กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .
_____________.(2562).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2562.
สบื คน้ วันท่ี 20 สิงหาคม 2564.
จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/057/T_0049.PDF.
กลา้ ทองขาว. (2548). การนำนโยบายและแผนการศึกษาไปปฏิบัติ : แนวคดิ ทฤษฎีและแนวทางการ
ดำเนินงาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.
กานต์ เนตรกลาง.(2556). การพัฒนาขอ้ เสนอเชิงนโยบายเพอื่ ดำเนนิ การเป็นผู้นำจดั การศึกษา
ของโรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาศึกษาศาสตร์
ดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา : บัณฑติ วทิ ยาลยั
มหาววิ ิทยาลยั ราชภัฎนครราชสีมา.
กง่ิ พร ทองใบ. (2547). กลยุทธแ์ ละนโยบายธุรกจิ . นนทบรุ ี : โรงพิมพม์ หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
คนึง สายแก้ว. (2549). ข้อเสนอเชงิ นโยบายการบริหารจัดการศกึ ษาปฐมวัยในจงั หวัดสรุ นิ ทร์.
วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาบริหารการศกึ ษา บณั ฑติ วิทยาลยั .
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. ครั้งที่ 3. นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.
คณะกรรมการอิสระเพอ่ื การปฏริ ปู การศึกษา.(2561).แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศึกษา.
สืบคน้ วันท่ี 20 สงิ หาคม 2564.จาก https://lamphuncity.go.th/wp-
content/uploads/2020/05/แผนปฏิรปู ประเทศด้านการศกึ ษา.pdf.

78

คำแถลงนโยบายทเี่ กยี่ วข้องกับกระทรวงศกึ ษาธกิ ารของคณะรฐั มนตรี “นายประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา
นายกรฐั มนตรี”.(2562). สืบค้นวันท่ี 20 สิงหาคม 2564.
จาก https://moe360.blog/2019/07/22/สรุปคำแถลงนโยบายของ-ครม/.

คาํ แถลงนโยบายการจดั การศึกษารัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ “นางสาวตรีนชุ เทยี นทอง”.
(2564). สบื ค้นวนั ท่ี 21 สิงหาคม 2564.
จาก https://moe360.blog/2021/04/16/education-policy/.

จมุ พล หนมิ พานิช. (2549). การวเิ คราะหน์ โยบาย : ขอบข่ายแนวคิดทฤษฎีและกรณตี วั อยา่ ง.
จมุ พล หนมิ พานิช. (2552). การประเมินผลนโยบาย : หลกั การแนวคดิ และการประยุกตใ์ ช้ : นนทบรุ ี.
ชนนิ ทร์ สารกิ ภูต. (2563). Socila distancing คอื อะไร เเคไ่ หนถึงจะห่างพอ. สบื คน้ 30 พฤษภาคม

2564, จาก https://th.jobsdb.com/th-th/articles/social-distancing.
ไชยา ภาวะบตุ ร. (2549). ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพื่อการพัฒนาการจดั การศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา

มหาวิทยาลัยราชภฎั สกลนคร. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรด์ ษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ.
บรหิ ารการศึกษา, บณั ฑติ วิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.
ไชยา ภาวะบุตร. (2559). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพ่ือการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา.

วิทยานิพนธป์ ริญญาศึกษาศาสตรด์ ษุ ฎีบัณฑติ : มหาวิทยาลัยราชภฎั สกลนคร.
ณรงค์วทิ ย์ แสนทอง. (2551). การบรหิ ารผลงานเชิงกลยุทธ.์ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน่ .เทสโกโ้ ลตสั .
(2559). เกีย่ วกับ Tesco Lotus. สืบคน้ 9 พฤศจิกายน 2563, จาก
ดุสิต สมศร.ี (2551). การพัฒนาตวั แบบการบรหิ ารแผนยุทธศาสตรข์ องสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานในบริบท

การกระจายอำนาจทางการศึกษา. วิทยานพิ นธป์ ริญญาศกึ ษาศาสตรดุษฎีบัณฑติ สาขาวชิ าการ
บริหารการศึกษา, บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ทวีป ศริ ริ ัศมี. (2544). การวางแผนพัฒนาและประเมินโครงการ. (พมิ พ์ครงั้ ท่ี3) : กรงุ เทพฯ.
_______. (2545). การวางแผนพฒั นาและประเมนิ โครงการ. กรุงเทพฯ : สำนกั งานกองทุนสนับสนนุ
การวิจยั . บริษัทบพธิ การพิมพ์ จำกัดบัญญตั ิและนิยามของคำว่า New normal และ New
norm ราชบณั ฑิตยสภาได้แต่งต้ัง คณะกรรมการบัญญัตคิ ำศัพท์ที่เก่ียวข้องกับหลายสาขาวชิ า
และทีจ่ ำเปน็ เป็นเร่งด่วน. สบื ค้น 25 มิถนุ ายน 2564, จาก,
www.facebook.com/surapol.issaragrisil/posts/10207392559168907.

79

ทวปี ศริ ิรศั มี. (2545). การวางแผนพัฒนาและประเมนิ โครงการ/: กรุงเทพฯ : สำนกั งานกองทนุ
สนบั สนุนการวิจัย (สกว.).

ธนาคารกสกิ รไทย (2563). K SME Analysis โอกาสการส่งออก SME ไทยภายใต้ COVID-19
: ศูนยว์ จิ กั สกิ รไทย.

_______(2363). ผลกระทบโควดิ 19 ตอ่ ตลาดแรงงานไทย. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา :
https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_12Oct
2020.aspx.

นภดล พลู สวัสด์.ิ (2551). ยทุ ธศาสตรก์ ารจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาการศึกษาท้องถ่นิ ของมหาวิทยาลัย
ราชภฏั สรุ นิ ทร์. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาศกึ ษาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ : มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.

ประชมุ รอดประเสรฐิ .(2547). นโยบายและการวางแผนงานหลกั การและทฤษฎี (พิมพค์ รั้งที่ 8).
วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ : มหาสารคาม.

พงษ์ศักด์ิ ภกู าบขาว. (2553).ขอ้ เสนอเชิงนโยบายเพื่อความมีประสทิ ธผิ ลของโรงเรียนเรียนรว่ มจังหวดั
ขอนแกน่ : มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ .

พชั รกฤษฎ์ิ พวงนลิ .(2553).กลยทุ ธก์ ารระดมทรพั ยากรทางการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
ของรัฐในจงั หวดั มหาสารคาม. วิทยานิพนธป์ ริญญาศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาการ
บริหารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิธาน พืน้ ทอง. (2548). ข้อเสนอเชงิ นโยบายเพื่อพัฒนาศักยภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ในภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื . มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น/ขอนแก่น พิมพค์ ร้ังที่4. กรงุ เทพฯ : ทพิ ย์วิสุจน์.

พร้ิมเพรา วราพันธุพ์ ิพิธ.(2556). ขอ้ เสนอเชิงนโยบายเพ่ือความเป็นเลศิ ของสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
สงั กดั องค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่นิ . วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรด์ ษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าการ
บริหารการศึกษา บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.

มาลี บุญศิรพิ นั ธ์. (2563). ราชบณั ฑติ บัญญัตศิ พั ทค์ ำวา่ "New normal " การพิจารณาศัพท์
รา้ นอาหาร. สบื คน้ 25 เมษายน 2563, จาก :
https://www.dbd.go.th/news_view.php?nid=4295.

เรืองวทิ ย์ เกษสวุ รรณ (2550). ความรู้เบ้อื งต้นเกีย่ วกับรัฐประศาสนศาสตร์ : กรงุ เทพฯ.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2548). โรงเรียน : องค์การแห่งการเรียนร.ู้ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พท์ ิพยวิสุทธิ์.
วิโรจน์ สารรตั นะ. (2546). การบรหิ ารการศึกษา : หลักการ ทฤษฎี หนา้ ท่ี ประเดน็ และบทวิเคราะห์.

80

สมภาร ศิโล.(2552). ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพื่อพัฒนาวิชาการใน สถาบนั อุดมศึกษา : กรณศี กึ ษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาศึกษาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวชิ า

สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (2562).
ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580.พิมพ์ครง้ั ที่ 2 รงุ เทพฯ : สำนกั งานเลขานุการของ
คณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสงั คมแหง่ ชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน.(2564).รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนท่ี 1
ปีการศึกษา 2564.สืบคน้ วันที่ 20 สงิ หาคม 2564.
จาก http://www.sisaketedu1.go.th/news/?p=90223

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน.(2564).ประชุมทางไกลชีแ้ จงแนวทางปฏิบตั ิภายใต้
สถานการณ์โควดิ -19 สำหรับโรงเรยี นและเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา.สบื ค้นวนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564.
จาก https://www.obec.go.th/archives/363188.

สำนักสง่ เสริมและพฒั นาธุรกิจ. (2552). แนวคิดเก่ียวกับการปรับตัวเพอื่ พฒั นาธรุ กิจ
สำนกั งานสถิตแิ ห่งชาตแิ ละสำนกั งานประกนั สงั คม. (2563) สรปุ ผลการสำรวจภาวะการทำงานของ

ประชากรเดือนกมุ ภาพันธ์ 2563 : สำนกั งานสถิติแหงชาติกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ
และสังคม.
Alberta, A.J. (1994). A general theory of public policy implementation. Dissertation

Abstracts International.
Anderson, J. R. (2000). Learning and memory: An integrated approach.2nd ed. John

Wiley & Sons Inc.
Arenliu, S., Berxulli, D., & Haskuka, S. M. (2013). Social distance in therm of

demographic featrues-Kosovo population study. ILIRIA International Review,
3(1), 293-305.
Banghart, F.W dan Trull, A.J.(1973). Educational Planning. New York : The Macmillan
Comapany. Bintoro, T. (1990). Pengantar. Administrasi. Pembangunan.

81

BBC NEWS.(2564). โควดิ -19: ไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ุ หม่ ภยั คุกคามชาวโลกปี 2020. สบื ค้นเมอื่
15 กนั ยายน 2564,จาก : https://www.bbc.com/thai/international-55217851

Bethlehem, D. W. (2015). A social psychology of prejudice (Vol. 3)
Bogardus, E. S. (1925). Social Distance and its origins. Journal of Applied Sociology, 20,
Brewer, M. B. (1968). Determinants of social distance among East African tribal

Group.
Chakravarthy, B. S. (1982). Adaptation: A Promising Metaphor for Strategic
Management.
Choi , Sung Mo.(1991).A variant theory of policy implementation : Policy

content, policy context and implementation style in Korea.
David, Fred R. (2000). Strategic management: Conceptand Case. 8th ed. n.p.: Prentice.

Dissertation Abstracts International. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.
Hambleton, R.(1983).“planning System and policy implementation.” Journal of public

Journal of Personality and Social Psychology, 10, 279-289.
Krugman.P .(2021). Opinion Trouble With Trade, สืบค้นเมื่อ 2 มถิ นุ ายน 2564.จาก :

https://www.nytimes.com/2007/12/28/opinion/28krugman.html
LINEBERRY, R. L. and I. SHARKANSK .(1971). Urban Politics and Public Policy. New York:

Harper & Row.
Lowi, Th.J. (1964) ´American Business, Public Policy, Case Studies, and Political

Theory.´ World Politics, 16(4), 677-715.
Majchrzak, A. Method for policy Research. California : SAGE Publications. 1984.
Majchrzak, A.(1984).Method for policy Research. California : SAGE Publications.
Marome & Shaw(2021). COVID-19 Response in Thailand and Its Implications on

Future Preparedness. Research Unit in Urban Futures and Policy and Faculty of
Architecture and Planning :Thammasat University.
McKee, R. H., Plutnick, R. T., & Przygoda, R. T. (1989). The carcinogenic initiating and
McMillan & Schumacher, Research in education: a conceptual introduction.

82

Mintzberg, H. (1979).Patterns is strategy formation. International Studies of
Management and Organization IX(3), 67-86. New York: Longman, 2001
Nineteenth edition, Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.

Oaks. M.M., (2003). Policy research for educational leader. A concept paper for a two-
week intensive workshop for student in Doctoral Program in Educational
Administration. Khon Kaen: Faculty of Education,( Khon Kaen University.
Pearson Education.policy. promoting properties of a lightly refined paraffinic
oil (Vol. 12): Fundam Appl

Roy, C.(2009). The roy adaptation model (3 ed.). Upper Saddle River New Jersey:
The Academy of Management Review, 7(1): 35-44.Toxicol.

SCB บลจ.ไทยพาณิชย์ Money DIY 4.0 by SCBAM : ผลกระทบจากการทอ่ งเท่ยี วตอ่ เศรษฐกจิ ไทย
2564.สืบค้น 13 กนั ยายน 2564, จาก :
https://www.scbam.com/th/knowledge/money-diy/money-diy-03112020

Velavan TP, Meyer CG (2020).The COVID-19 epidemic.Trop Med Int Health.
Wheelen, T.L. and Hunger, J.D. (2004). Strategic Management and Business Policy.
Williams, R. M. (1964). Stranger next door: Ethnic relation in American communities.

77

ภาคผนวก

78

ภาคผนวก ก
เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

79

แบบสัมภาษณเ์ ชิงลึกของครูและผ้บู รหิ าร
ข้อเสนอเชิงนโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ของโรงเรยี นในสังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2

คำชีแ้ จง โปรดกรอกข้อมูลตามความคดิ เหน็ ของท่านตามความเป็นจริงเพ่ือเป็นประโยชน์ในการจัดทำ
ขอ้ เสนอเชิงนโยบายของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาต่อไป โดยในการเกบ็ ข้อมูลเพือ่ การวิจัยครั้งนี้ มี
วตั ถุประสงค์ดังน้ี

1. เพอ่ื วเิ คราะห์สภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนในลกั ษณะต่าง ๆ ด้านข้อดี ข้อเสีย โอกาส
อุปสรรค (SWOT) ในการบริหารจดั การ การจดั การเรียนรู้ และการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น

2. เพอ่ื พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงเรียนทุกลักษณะในการบริหารจดั การ การ
จดั การเรยี นรู้ และการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น

3. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 ในระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา และระดับสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

การให้ข้อมูล ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของท่านจะเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยในครั้งนี้เป็น
อยา่ งยิง่ และคณะผูว้ ิจัยจะเกบ็ รักษาข้อมลู ของทา่ นเพื่อใชป้ ระโยชนเ์ ฉพาะงานวิจัยนี้เท่านนั้

1 ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
1.1 ขอ้ มูลผูต้ อบแบบสอบถาม
 ผ้บู รหิ าร
 ครู
ระดับชน้ั ทสี่ อน
 ปฐมวัย
 ประถมศึกษาตอนต้น
 ประถมศกึ ษาตอนปลาย
 มัธยมศกึ ษาตอนต้น
1.2 โรงเรียน ................................................ อำเภอ .....................................
1.3 ลักษณะโรงเรียน (เลือกไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ )
 ปกติ
 โรงเรียนประชารัฐ

80

 โรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล

 โรงเรียนคุณประจำตำบล (ประถมศึกษา)

 โรงเรียน Stand Alone

1.4 ขนาดโรงเรียน

 ขนาดเล็ก  ขนาดกลาง

 ขนาดใหญ่  ขนาดใหญ่พเิ ศษ

๒. บทบาทของโรงเรียนทม่ี ีต่อชุมชน และการให้ความร่วมมอื ในการบรหิ ารจัดการแพรร่ ะบาดของเช้อื

ไวรัสโคโรนา (COVID 19) ( เลือกไดม้ ากว่า 1 ข้อ ถ้าไม่มสี ่วนเก่ยี วข้องใดๆ ขา้ มไป ข้อ 1.๕ )

 โรงพยาบาลสนาม  สถานท่ีกกั ตวั

 สถานที่พักคอย  สถานทปี่ ลูกสมุนไพรทางเลือก

 สถานที่ผลิตเจลแอลกอฮอล หน้ากากอนามยั

 ดำเนินงานจติ อาสาอืน่ ๆ

๓. จดั รปู แบบการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบ (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 รูปแบบ)
 On Site
 On Air
 On Demand
 On Hand
 On Line
 อืน่ ๆ .....................................

๔. แนวทางการบรหิ ารจดั การ การจดั การเรียนรู้ 5 รปู แบบของโรงเรียน และการดูแลชว่ ยเหลอื
นกั เรยี น

๔.๑ การบรหิ ารจัดการ
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

81

- ดา้ นบุคคล (Man)
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- ด้านงบประมาณ (Money)
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
................................................................................................................................. .....................................
.............................................................................................. ........................................................................

- ดา้ นวตั ถดุ ิบ (Material)
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- ด้านการบรหิ ารจัดการ (Management)
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................

การวิเคราะห์การบรหิ ารจัดการ (SWOT)
- จดุ แขง็

............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................................................................... ............................

- จดุ อ่อน
............................................................................................. .........................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................................. .........................
.......................................................................................................... ............................................................


Click to View FlipBook Version