The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-13 21:05:29

วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน2

วิชา ว21102

หลกั สตู รรายวชิ า
และแผนการจดั การเรยี นรู้

รหัสวิชา ว 21102

รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ 2
จำนวน 1.5 หน่วยกติ 3 คาบ/สปั ดาห์
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2

ปีการศึกษา 2562

จดั ทำโดย

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์

ตำแหน่ง ครูชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์
โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม
แขวงศริ ริ าช เขตบางกอกน้อย

กรงุ เทพมหานคร

สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาการมัธยมศึกษา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

1
a

หลักสูตรรายวิชา

(Course Development)

รหัสวชิ า.... ว 21102...รายวชิ า....วทิ ยาศาสตร์..2.......
จำนวน....1.5.... หน่วยกติ ....3..... คาบ/ สัปดาห์
ภาคเรยี นที่ ...2... ปกี ารศกึ ษา …2562…..

จัดทำโดย

.........นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์.........

ตำแหน่ง ....ครชู ำนาญการ...........

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้.....วทิ ยาศาสตร์......
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม แขวงศิรริ าช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาการมัธยมศกึ ษา เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2

คำนำ

หลักสตู รรายวชิ าฉบับนจ้ี ดั ทำขึ้นเพอ่ื เตรียมการในการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาวทิ ยาศาสตร์สรา้ งสรรค์ 1รหัส
วชิ า ว 21101 โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวชิ า กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน กำหนด
ทักษะกระบวนการในการเรยี นการสอนตลอดจนการวดั และประเมนิ ผลการเรียนการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผเู้ รียนโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาการมัธยมศึกษา เขต 1 ต่อไป

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์
ช่ือผจู้ ัดทำ

3

1. หลกั การและจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2551

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มุง่ พัฒนาผู้เรียนทกุ คน ซง่ึ เปน็ กำลังของชาติให้เป็นมนษุ ย์ท่ีมคี วาม
สมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยึดมนั่ ในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรูแ้ ละทักษะพืน้ ฐาน รวมท้งั เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อ
การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยมุ่งเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญบนพื้นฐานความเช่ือวา่
ทุกคนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ

หลกั การ
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน มหี ลักการท่สี ำคญั ดังน้ี
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น

เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคกู่ บั ความเปน็ สากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คณุ ภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของท้องถิ่น

4. เป็น หลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้าน สาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรยี นรู้

5. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กล่มุ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญ ญ า มีความสุข

มีศกั ยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจดุ หมายเพอ่ื ใหเ้ กดิ กับผ้เู รยี น เม่ือจบการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน ดงั น้ี

1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ดี ี มีสขุ นสิ ัย และรกั การออกกำลงั กาย
4. มีความรกั ชาติ มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถชี ีวิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

4

5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะท่ีมุง่ ทำประโยชน์และสรา้ งสงิ่ ที่ดงี ามในสังคม และอยู่ร่วมกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสุข

2. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มุ่งใหผ้ ู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังน้ี
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วธิ ีการสอื่ สาร ทม่ี ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสรา้ งองคค์ วามรู้หรอื สารสนเทศเพ่ือ
การตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่างๆ ทเี่ ผชิญได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตดั สินใจทม่ี ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ
สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้
ทนั กบั การเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบ
ต่อตนเองและผู้อ่นื
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ
แกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มุ่งพัฒนาผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพ่อื ให้สามารถ
อย่รู ว่ มกบั ผูอ้ ่ืนในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง

5

6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

4. วสิ ยั ทัศนข์ องโรงเรียน

โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม เป็นโรงเรียนส่งเสรมิ ทกั ษะการคิด เพือ่ พฒั นาผ้เู รียนใหม้ คี วามรู้
คู่คุณธรรม บนพื้นฐานความเปน็ ไทยและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกจิ

1) จัดการเรยี นการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
2) พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
3) การบริหารจดั การสถานศกึ ษา
4) พัฒนาชมุ ชน สังคม ธำรงสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

เป้าประสงค์
1) ผเู้ รยี นมีคุณสมบตั ิตามมาตรฐานนักเรียนโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม 10 ข้อ ได้แก่ ทดแทนบุญคุณ

บิดามารดา มาโรงเรียนเช้า เข้าห้องเรียนเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพ่ือนดี สามัคคีหมู่คณะ ละเลิกส่ิงชั่ว
ประพฤติตัวดี มนี ำ้ ใจ ใหเ้ กียรตกิ ัน และมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสูตร

2) ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการสบื สาน อนุรักษ์ ประเพณี และวัฒนธรรมไทย
3) ผเู้ รยี นนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน
สรา้ งสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบสังคม
5) ผู้เรียนมีสขุ ภาพพลานามัยแข็งแรง จิตใจร่าเริงแจ่มใส มีสุขภาพจติ ที่ดี ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข
และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
ตามศักยภาพ
7) ครูและบคุ ลากรมคี วามรูแ้ ละจรยิ ธรรม มศี ักยภาพในหน้าท่ขี องตน
8) สถานศึกษามสี ภาพแวดลอ้ มและการบริการทเ่ี อือ้ ต่อการเรยี นรู้
9) สถานศึกษามีการบรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หนว่ ยงานอืน่ ๆที่เกี่ยวข้อง เนน้ การมีสว่ นรว่ มของผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยในการพัฒนาโรงเรยี น

6

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธิบายรายวชิ า

โครงการสอนรายวิชา
รหสั วิชา ว21102 รายวิชา วิทยาศาสตร์ 2
จำนวน 1.5 หน่วยกติ 3 คาบ/ สปั ดาห์ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562

สาระ/มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด (แกนกลาง)
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ
สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตอ่ วัตถุ ลักษณะการ
เคลือ่ นทแ่ี บบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
เสียง แสง และคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้ารวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลกธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลต่อ
สิ่งมีชีวิตและสงิ่ แวดล้อม

คำอธิบายรายวชิ า (ดูรายละเอียดจากหลกั สูตร)
ศึกษาวเิ คราะหค์ วามร้อนกับการเปลีย่ นแปลงของสสาร การถา่ ยโอนความร้อน ลมฟ้าอากาศรอบตวั

มนุษย์กับการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ ทั้งนี้โดยใช้ โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปรายและ
วเิ คราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวข้อง
กับปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจำเป็นนำเสนอแนว
ทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่ืนเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง ท่ี
เกิดข้ึน พร้อมทั้งหำแนวทางการปรับปรุงแก้ไข เพ่ือแก้ปัญหา และใช้เทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และ
ปลอดภัย

เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ
การแกป้ ญั หา การนำความรูไ้ ปใช้ในชีวติ ประจำวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่ำนยิ มท่ีเหมาะสม

7

มาตรฐานการเรียนรู้ (ดรู ายละเอยี ดจากหลกั สูตร)
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถุ ลักษณะการ
เคลอ่ื นท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
เสียง แสง และคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลกธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลต่อ
ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม

ตัวชวี้ ัด หรอื ผลการเรียนรู้
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
รวมตัวชีว้ ัด 17 ตัวช้ีวัด

6. ตารางโครงสร้างรายวชิ า

ลำดับ ชื่อหนว่ ยการ ตวั ช้ีวัดหรอื สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
(ชั่วโมง) คะแนน
ท่ี เรยี น ผลการเรยี นรู้

1 พลังงานความ ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10 พลังงานความรอ้ นกบั การเปล่ยี น 33 30

รอ้ น ว 2.3 ม.1/1 สถานะของสสาร

ว 2.3 ม.1/2 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความดัน

ว 2.3 ม.1/3 อากาศกับความสงู จากพืน้ โลก

ว 2.3 ม.1/4 คำนวณปรมิ าณความร้อนทที่ ำให้

ว 2.3 ม.1/5 สสารเปล่ียนอณุ หภมู แิ ละ

ว 2.3 ม.1/6 เปล่ยี นสถานะ โดยใช้สมการQ

ว 2.3 ม.1/7 = mcΔt และ Q = mL

การขยายตวั หรอื หดตัวของสสาร

การนำความร้อน การพาความ

รอ้ น การแผร่ ังสีความรอ้ น

8

สอบกลางภาค 1 20
30
2 กระบวนการ ว 3.2 ม.1/1 การแบง่ ชน้ั บรรยากาศ และ 27
20
เปล่ยี นแปลง ว 3.2 ม.1/2 เปรียบเทยี บประโยชน์ของ -
100
ลมฟ้าอากาศ ว 3.2 ม.1/3 บรรยากาศแต่ละช้ัน

ว 3.2 ม.1/4 ปจั จยั ที่มีผลตอ่ การเปล่ยี นแปลง

ว 3.2 ม.1/5 องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ

ว 3.2 ม.1/6 เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิดพายุ

ว 3.2 ม.1/7 ฝนฟา้ คะนองและพายหุ มนุ เขต

รอ้ น

การพยากรณอ์ ากาศ

สอบปลายภาค 1

จิตพสิ ัย -
รวม 60

อตั ราส่วนคะแนน

คะแนนเกบ็ ระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

K : P : A = 40 : 60 : …-..

รวม 100 คะแนน

คะแนนเกบ็ กอ่ นสอบกลางภาค = 30 คะแนน

สอบกลางภาค = 20 คะแนน

คะแนนเกบ็ กอ่ นสอบปลายภาค = 30 คะแนน

คุณลักษณะ / จิตพิสัย = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20. คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรยี น

สัปดาห์/ หนว่ ยการเรียนรู้/เนือ้ หา ตวั ชว้ี ัด/ กจิ กรรม / เวลา
แผนการ ผลการเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ (ชั่วโมง)
เรยี นร้ทู ี่
19
1-4 หน่วยพลังงานความรอ้ น ว 2.1 ม.1/9 ม. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ความรอ้ น -แบบจำลองอนภุ าคของ 1/10 -การสร้างแบบจำลอง

กบั การ สสาร ว 2.3 ม.1/1 , 1/2 -การทดลอง

เปลย่ี นแปลง -ความรอ้ นกบั การ ,1/3 ,1/4 ,1/5 -การคิดคำนวณ

9

ของสสาร เปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิของ ว 2.3 ม.1/5 ,1/6 -การจำแนกประเภท 14
สสาร 1/7 20
-ความร้อนกบั การขยายตวั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
หรอื หดตัวของสสาร -การสรา้ งแบบจำลอง 7
ความร้อนกับการเปลยี่ น -การทดลอง
สถานะของสสาร -การคิดคำนวณ
-การจำแนกประเภท
2 หนว่ ยพลังงานความร้อน กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
การถา่ ยโอน -การถ่ายโอนความรอ้ นใน -การสรา้ งแบบจำลอง
ความรอ้ น ชวี ติ ประจำวัน -การทดลอง
-การหาความสมั พนั ธ์
-สมดุลความร้อน -การจำแนกประเภท
-การคดิ คำนวณ
3 หนว่ ย กระบวนการ ว 3.2 ม.1/1 ,1/2,
ลมฟ้า เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 1/3,1/4 , 1/5 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
อากาศ -บรรยากาศ -การสร้างแบบจำลอง
รอบตวั -อุณหภูมิอากาศ ว 3.2 ม.1/3,1/6 , -การทดลอง
-ความกดอากาศและลม 1/7 -การหาความสมั พันธ์
4 -ความชน้ื -การจำแนกประเภท
มนษุ ย์และ -เมฆและฝน -การคิดคำนวณ
-การพยากรณ์อากาศ
การ หนว่ ย กระบวนการ
เปล่ียนแปลง เปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ
ลมฟ้าอากาศ -พายุ
-การเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศ
โลก

8. แผนการวดั ผลและภาระงาน

แนวการวัดผล อตั ราส่วน คะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

อตั ราสว่ น คะแนน K : P : A = 40 : 60 : .....-.......

แผนการวดั ผล คะแนน วิธีวดั ชนิดของเครือ่ งมอื ตวั ช้วี ัด/ผลการ เวลาท่ีใช้
การประเมนิ 30 สบื คน้ ขอ้ มลู เรยี นรู้ขอ้ ท่ี (นาที/ครัง้ )

ก่อนกลางภาค ชุดกิจกรรม ว 2.1 ม.1/10 50 นาท/ี ครงั้

10

กลางภาค อภปิ รายกลุม่ พลงั งานความร้อน ว 2.3 ม.1/1 , 60 นาท/ี ครงั้
20 สอบ 1/2 ,1/3 ,1/4
แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ ,1/5 , 1/6 1,7 50 นาท/ี ครง้ั
หลงั กลางภาค 30 สืบคน้ ข้อมลู ว 2.1 ม.1/10
อภิปรายกลมุ่ ชุดกิจกรรม ว 2.2 ม.1/1 ตลอด
กระบวนการ ว 2.3 ม.1/1 , ภาคเรยี น
คุณลกั ษณะ / -- เปล่ียนแปลงลมฟ้า 1/2 ,1/3 ,1/4 60 นาที/ครั้ง
จิตพสิ ยั 20 สอบ อากาศ ,1/5 ,1/5 1/6
ปลายภาค - 1,7
แบบวัดผลสมั ฤทธ์ิ ว 3.2 ม.1/1
,1/2, 1/3 1/4 ,
1/5 1/6 , 1/7

-

ว 3.2 ม.1/1
,1/2, 1/3 1/4 ,
1/5 1/6 , 1/7

รวม 100 คะแนน

การกำหนดภาระงานนกั เรียน

ในการเรยี นรายวชิ า วิทยาศาสตร์ 1 ได้กำหนดให้นักเรยี นทำกิจกรรม/ ปฏบิ ตั ิงาน(ช้นิ งาน) 5 ช้ิน ดังน้ี

ท่ี ชือ่ งาน ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ขอ้ ท่ี ประเภทงาน กำหนดส่ง
กลมุ่ เดี่ยว วัน/เดือน/ปี

1 รายงานกจิ กรรมที่ 5.1 ว 2.1 ม.1/9, ม.1/10 √ พ.ย 62

แบบจำลองอนภุ าคของสสาร

ในแตล่ ะสถานะเป็นอยา่ งไร

2 รายงานกจิ กรรม 5.2 ปจั จัย ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 √ พ.ย 62

ใดบา้ งทมี่ ีผลตอ่ การ

เปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ิ

ของสสาร

3 รายงานกิจกรรมท่ี 5.3 ความ ว 2.3 ม.1/3 ม.1/4 √ พ.ย 62

รอ้ นส่งผลตอ่ สารแต่ละ √ 11
สถานะอย่างไร √
4 รายงานกิจกรรมท่ี 5.4 ความ ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 √ พ.ย 62
ร้อนทำใหส้ สารเปลยี่ น ธ.ค 62
สถานะได้อย่างไร √ ธ.ค 62
5 รายงานกจิ กรรมที่ 5.5 ความ ว 2.3 ม.1/6 √
ร้อนถ่ายโอนผา่ นของแข็งได้ √ ธ.ค 62
อย่างไร √ ม.ค 63
6 รายงานกิจกรรมที่ 5.6 การ ว 2.3 ม.1/6 √ ม.ค 63
ถา่ ยโอนความรอ้ นของ √ ม.ค 63
ของเหลวและแกส๊ เป็น √ ม.ค 63
อย่างไร √ ม.ค 63
7 รายงานกจิ กรรมท่ี 5.7 การ ว 2.3 ม.1/6 ม.1/7 ม.ค 63
ถ่ายโอนความรอ้ น ม.ค 63
8 รายงานกจิ กรรมท่ี 6.1 ว 3.2 ม.1/1
บรรยากาศของโลกเปน็
อยา่ งไร
9 รายงานกจิ กรรมท่ี 6.2 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
อุณหภมู ิอากาศเปล่ยี นแปลง
อย่างไร
10 รายงานกิจกรรมที่ 6.3 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
อากาศมแี รงกระทำตอ่ วตั ถุ
อย่างไร
11 รายงานกิจกรรมท่ี 6.4 เหตุ ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
ใดลมจึงเคลือ่ นทเี่ ร็วตา่ งกนั
12 รายงานกิจกรรมท่ี 6.5 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
ปัจจัยท่ีมีผลตอ่ ความชนื้
สมั พัทธ์มีอะไรบา้ ง
13 รายงานกิจกรรมที่ 6.7 การ ว 3.2 ม.1/4 ม.1/5
พยากรณ์อากาศทำได้
อยา่ งไร
14 รายงานกิจกรรมท่ี 6.8 คำ ว 3.2 ม.1/4 ม.1/5
พยากรณ์อากาศมปี ระโยชน์

อยา่ งไร 12
ก.พ 63
15 รายงานกิจกรรมที่ 6.9 พายุ ว 3.2 ม.1/3 √ ก.พ 63
ฝนฟ้าคะนองและพายุหมุน ว 3.2 ม.1/6 ม.1/7 √
เขตร้อนเกดิ ขึน้ ไดอ้ ยา่ งไร

16 รายงานกิจกรรมที่ 6.10
ภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลงได้
หรือไม่

หากนกั เรยี นขาดส่งงาน 4 ชน้ิ จะได้รบั ผลการเรียน “ร” ในรายวชิ านี้

ลงชอ่ื ........................................ครูผ้สู อน ลงชอื่ ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน์..) (นายสรุ จกั ริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชื่อ........................................... ลงชือ่ ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น์..) (..นายศิวาวฒุ ิ รัตนะ..)

หัวหนา้ งานนิเทศ หัวหนา้ กลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี…1 พลังงานความรอ้ น..เรือ่ ง..ความรอ้ นกับการเปล่ยี นแปลงของสสาร(ตอนท่ี 1)...
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรยี นร.ู้ ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...4...ชั่วโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมที ง้ั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ดั
รายวชิ าเพิม่ เตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ชว้ี ัดท่ใี ช้ในหนว่ ยการเรยี นรู้นี้เขียนเปน็ แบบความเรียง)
สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค ซึ่งอาจเป็นอะตอม โมเลกลุ หรือไอออน โดยสสารชนดิ เดียวกันท่ี

มีสถานะของแข็งของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเคล่ือนท่ีของ
อนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสาร เม่ือสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อน สสารอาจ
เกิดการเปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิ ขนาด หรือสถานะของสสาร

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พมิ่ เติม (รายวิชาเพ่ิมเตมิ )
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• สสารทกุ ชนดิ ประกอบด้วยอนภุ าค โดยสารชนดิ เดยี วกันที่มสี ถานะของแข็ง ของเหลว แกส๊ จะมกี าร

จัดเรยี งอนภุ าค แรงยึดเหนย่ี วระหว่างอนภุ าค การเคลือ่ นท่ีของอนุภาคแตกต่างกันซ่งึ มผี ลต่อรปู รา่ งและ
ปรมิ าตรของสสาร

• อนภุ าคของของแข็งเรียงชดิ กัน มแี รงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาคมากทีส่ ุด อนุภาคสน่ั อยูก่ ับที่ ทำให้มี
รูปรา่ งและปรมิ าตรคงท่ี

• อนุภาคของของเหลวอยใู่ กลก้ นั มีแรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนภุ าคน้อยกวา่ ของแข็งแต่มากกวา่ แก๊ส
อนภุ าคเคล่อื นทไ่ี ด้แตไ่ ม่เป็นอสิ ระเท่าแก๊ส ทำให้มรี ปู ร่างไมค่ งท่ี แต่ปริมาตรคงท่ี

• อนุภาคของแก๊สอย่หู า่ งกนั มาก มแี รงยดึ เหนีย่ วระหวา่ งอนุภาคนอ้ ยที่สดุ อนุภาคเคล่ือนที่ไดอ้ ยา่ ง
อสิ ระทกุ ทิศทาง ทำให้มรี ปู ร่างและปริมาตรไม่คงท่ี

3.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลกั สตู รทอ้ งถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

1

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น (เลือกเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)

 1. ความสามารถในการส่อื สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทีเ่ กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซือ่ สัตยส์ ุจริต

 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

 7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

6. ด้านคณุ ลักษณะของผ้เู รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

 ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)
8. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ
ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน
2. หลกั ความมเี หตผุ ล : ใหน้ กั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบตั ิ , นกั เรียนเกดิ ความ
ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและสิ่งทเ่ี รยี นรู้

2

3. หลักภูมคิ ุ้มกัน : ใหน้ กั เรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรียนรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกล่มุ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงื่อนไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยนั ท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีท่ีสดุ , มวี ินยั ในการ

ทำงาน

9. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชี้วัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว 2.1 ม.1/9, ม. -รายงานกิจกรรมท่ี 1 แบบจำลอง - การอภิปรายเปรียบเทียบการจัดเรียง

1/10 อนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเป็น ของอนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่าง

อย่างไร อนุภาค และการเคลื่อนท่ีของอนุภาค

ของสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง

ของเหลวและแกส๊ โดยใช้แบบจำลอง

10. การวัดประเมินผล

10.1การวดั และประเมินผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์รอ่ งรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เครอื่ งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตง้ั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

10.2การวดั และประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรูข้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ )ี้

สิ่งที่ตอ้ งการวัด วธิ ีวัดผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
- นักเรยี นไดค้ ะแนน
1. ความรูเ้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ 12 คะแนนข้ึนไป
หรือรอ้ ยละ 80
- การจัดเรียงอนภุ าค แรงยึด ความคิดเหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ
เหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าค และการ และเปรยี บเทียบการ คดิ เห็น

3

เคลอื่ นที่ของอนภุ าคของสสาร จัดเรยี งของอนภุ าค - แบบประเมนิ การ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
ชนดิ เดยี วกนั ในสถานะของแขง็ แรงยึดเหน่ียวระหว่าง ตรวจผลงานผู้เรยี น - นกั เรียนไดค้ ะแนน
ประเมินผลงาน
ของเหลว และแก๊ส อนุภาค และการ 13 คะแนนขึ้นไป
หรือร้อยละ 80
เคลอ่ื นทข่ี องอนภุ าค ถือว่าผ่านเกณฑ์

ของสารชนดิ เดียวกัน -นักเรียนได้คะแนน
12 คะแนนข้ึนไป
ในสถานะของแข็ง หรือรอ้ ยละ 80 ถือวา่
ผ่านเกณฑ์
ของเหลวและแก๊ส
- นักเรียนได้คะแนน
โดยใช้แบบจำลองได้ ประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
อย่างถูกต้อง 26 คะแนนขึน้ ไป
หรือร้อยละ 80
-การตรวจผลงาน ถือว่าผ่านเกณฑ์
- นกั เรียนไดค้ ะแนน
นักเรียน การประเมินสมรรถนะ
29 คะแนนขึ้นไป
2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ หรือรอ้ ยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์
ทักษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เหน็ ระบุ อภิปรายแสดงความ

ทักษะกระบวน คิดเหน็

การทางวทิ ยาศาสตร์ที่ - แบบประเมนิ

ได้ปฏิบัตจิ ากกิจกรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลุม่

3. คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื คณุ ลักษณะอันพึง

- มวี นิ ยั ในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรยี นเห็นความสำคญั ระบบกลุม่ - แบบประเมนิ

ของการทำงานร่วมกบั ผอู้ ืน่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รยี น

การทำงานในระบบกลมุ่ คดิ เหน็ เกี่ยวกบั ผลการ

- ยอมรบั ความคิดเห็นซง่ึ กัน ทดลอง

และกนั มีความเสยี สละและ

อดทน

11. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชัว่ โมงท่ี 1-2

4

1. ขน้ั ตง้ั ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครเู กรน่ิ นำว่าสสารสามารถเปลีย่ นจากสถานะหนงึ่ เปน็ อีกสถานะหนึ่งได้ เม่ือได้รบั หรอื

สูญเสยี ความรอ้ น และ เช่ือมโยงเข้าสบู่ ทเรียนโดยใช้คำถามวา่ พลังงานความร้อนเกีย่ วข้องกับการเปลีย่ นแปลง
อ่นื ๆ ของสสารอกี หรือไม่ อยา่ งไร

ใหน้ ักเรยี นสงั เกตภาพนำหนว่ ยในชดุ กจิ กรรมเกยี่ วกบั การหลอมแกว้ หรอื ภาพ วีดิทัศน์ หรอื สื่อ
อ่นื ๆ เพมิ่ เติมเก่ียวกบั การผลิตผลติ ภัณฑ์จากแกว้ พรอ้ มท้งั อา่ นเนอ้ื หานำหนว่ ย และร่วมกันอภิปรายโดยอาจ
ใช้คำถามดังต่อไปน้ี

• จากเรือ่ งทีอ่ า่ น กล่าวถึงวัสดุชนิดใด (แก้ว)
• การทำผลติ ภัณฑ์จากแกว้ ให้มีรปู ทรงตา่ ง ๆ เกย่ี วข้องกบั พลงั งานความร้อนหรือไม่ อย่างไร
(นักเรียนตอบได้โดยใช้สำนวนภาษาของตนเองเช่น การทำผลิตภัณฑ์จากแกว้ เกี่ยวข้องกับพลังงานความรอ้ น
โดยใหค้ วามร้อนกบั แกว้ ในเตาหลอม ความรอ้ นจะทำใหแ้ ก้วหลอมเหลวจากน้ันจึงข้นึ รปู แลว้ นำแกว้ ที่ผ่านการ
ข้ึนรูปไปอบเพอ่ื ปรบั ลดอณุ หภูมิลงอยา่ งช้า ๆ จนกระทั่งถึงอุณหภูมปิ กติ)
1.2 ใหน้ ักเรียนสังเกตภาพนำบทในชุดกจิ กรรมหรอื ภาพ วดี ทิ ัศน์ หรือสอื่ อ่ืน ๆ เพม่ิ เติมเกีย่ วกบั
การผลติ เหรยี ญกษาปณ์ พรอ้ มทง้ั ใหน้ ักเรียนอ่านเนื้อหานำบท และร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกับขั้นตอนการผลิต
เหรียญกษาปณว์ ่าเกี่ยวข้องกบั พลังงานความรอ้ นอยา่ งไร โดยอาจใชค้ ำถามดังตอ่ ไปนี้

• ข้ันตอนการผลติ เหรยี ญกษาปณม์ กี ารเปลี่ยนสถานะของโลหะอยา่ งไรบา้ ง (โลหะเกดิ การ
หลอมเหลว โดยโลหะไดร้ บั ความรอ้ น ทำใหเ้ ปลี่ยนสถานะจากของแขง็ เปน็ ของเหลวและโลหะเกิดการแขง็ ตัว
โดยโลหะท่ีอยใู่ นแม่พมิ พ์สูญเสียความร้อน ทำให้เปลย่ี นสถานะจากของเหลวเป็นของแขง็ )

1.3 ให้นกั เรยี นสังเกตภาพ การระเหดิ ของไอโอดีนอ่านเนอ้ื หานำเรอื่ ง และรจู้ ักคำสำคัญ ทำ
กจิ กรรมทบทวนความร้กู อ่ นเรียนเพื่อประเมนิ ความรพู้ นื้ ฐานของนกั เรยี นเกี่ยวกบั สสารและสถานะของสสาร

1.4 ครูนำสนทนา ซักถาม เกีย่ วกับ วา่ สสารแต่ละชนิดประกอบดว้ ยอนุภาคขนาดเลก็ ซ่งึ ไม่
สามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปลา่ เคยจินตนาการหรือไมว่ ่าอนภุ าคเลก็ ๆ เหลา่ นปี้ ระกอบเข้าดว้ ยกนั จนเปน็
สสารในสถานะต่าง ๆ ได้อย่างไร และทราบหรือไม่วา่ การจัดเรียงอนุภาคส่งผลต่อรปู ร่างและปรมิ าตรของ
สสารในแต่ละสถานะอยา่ งไรเพ่อื โยงเขา้ สู่กิจกรรมที่ 1 แบบจำลองอนภุ าคของสสารในแต่ละสถานะเปน็
อยา่ งไร

2. ข้ันสบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายในประเดน็ ดังต่อไปนี้

• กิจกรรมนเ้ี ก่ยี วกับเรื่องอะไร (แบบจำลองอนุภาคของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส๊ )
• กิจกรรมนมี้ จี ดุ ประสงค์อยา่ งไร (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธดี ำเนนิ กจิ กรรมมขี ั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (คาดคะเนและสรา้ งแบบจำลองอนภุ าคตามที่คาด
คะเน รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับแบบจำลองอนภุ าค วเิ คราะห์ขอ้ มูลท่รี วบรวมได้และปรับแกแ้ บบจำลองอนุภาคที่
สรา้ งไว้ และนำเสนอแบบจำลองอนุภาคท่ปี รบั แก้แลว้ )

5

• ขอ้ ควรระวังในการรวบรวมขอ้ มลู มอี ะไรบ้าง (นกั เรียนควรรวบรวมข้อมลู จากส่อื บนอนิ เทอรเ์ นต็

หรือแหล่งเรยี นรู้อืน่ ๆท่นี า่ เชื่อถือ)

• นักเรยี นต้องรวบรวมขอ้ มูลอะไรบา้ ง (นกั เรียนตอ้ งรวบรวมข้อมลู ทั้งการจดั เรยี งอนภุ าค แรงยดึ

เหนยี่ วระหว่างอนภุ าค และการเคลอื่ นท่ขี องอนุภาคของสสารในแตล่ ะสถานะ เพ่อื นำมาปรับแกแ้ บบจำลอง

อนภุ าคทคี่ าดคะเนไว้ให้ถกู ตอ้ ง)

2.2 ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มลงมือทำกิจกรรม โดยครเู ดินสงั เกตนักเรียนทุกกลุ่ม เพือ่ ให้คำแนะนำในการ

สรา้ งแบบจำลองอนภุ าคแกน่ กั เรยี นอยา่ งใกล้ชดิ แบบจำลองอาจเป็นรูปวาด ชิ้นงาน หรือบทบาทสมมติ โดย

เน้นใหน้ ักเรยี นทกุ คนไดม้ โี อกาส

ชั่วโมงที่ 3-4

3. ข้นั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม

3.2 จากนนั้ รว่ มกนั อภิปรายผลการทำกจิ กรรมและเปรียบเทียบผลการทำกิจกรรมของกลมุ่ อ่นื กบั ของ

กลุ่มตนเอง รวมท้งั วิเคราะหจ์ ุดเดน่ และจุดด้อยแบบจำลองของแตล่ ะกลุ่ม

4. ขัน้ การส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม จากน้นั นำเสนอ และอภิปรายคำตอบรว่ มกนั เพ่ือให้ไดข้ อ้ สรปุ ว่า

อนภุ าคของของแขง็ จะส่ันอย่กู บั ทแ่ี ละเรียงชิดกนั โดยมีแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนุภาคมากกวา่ ของเหลวและ

แก๊ส อนุภาคของของเหลวอยู่ใกลก้ นั โดยมแี รงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาคน้อยกว่าของแขง็ แตม่ ากกวา่ แกส๊

อนุภาคของของเหลวจึงเคลื่อนทไี่ ด้ แตไ่ มเ่ ปน็ อิสระ โดยจะเคลอ่ื นท่รี อบ ๆ อนุภาคใกล้เคียง อนุภาคของแกส๊

อยู่ห่างกันมาก โดยมีแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคน้อยมาก อนุภาคจึงเคลือ่ นที่ได้อยา่ งอิสระทุกทิศทาง

5. ขั้นการบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

นกั เรยี นร่วมกนั นำผลงานแบบจำลองอนุภาคโดยอาจตดิ ผลการทำกจิ กรรมรอบผนังห้องเรียนหรือ

จดั แสดงที่โตะ๊ และนักเรียนทกุ คนเดินศกึ ษา (gallery walk) หากผลการทำกิจกรรมของนักเรียนบางกลมุ่ ไม่

สอดคลอ้ งกบั ทฤษฎหี รือแนวการสรุป ครูอาจถามคำถามเพม่ิ เตมิ เชน่ นกั เรียนคิดวา่ เหตใุ ดผลการทำกจิ กรรม

ของนกั เรียนจงึ ได้ขอ้ สรุปแตกตา่ งจากกลุ่มอื่น นกั เรียนคดิ ว่ามปี จั จยั ใดสง่ ผลต่อผลการทำกิจกรรมดังกลา่ ว

เปน็ ต้น โดยสาเหตทุ ่ีทำให้ผลการทำกจิ กรรมแตกตา่ งจากแนวการสรุปอาจมาจากหลายสาเหตุ เชน่ การ

รวบรวมข้อมูลจากแหล่งขอ้ มูลที่แตกต่างกัน เป็นต้น

12. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1สือ่ การเรียนรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์

2) หนงั สือแบบเรยี น 3) ส่อื เพาเวอรพ์ อยต์

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมุด

6

13. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การจดั เรยี งอนุภาค แรงยดึ เหนยี่ วระหว่าง ......................................................................................
อนภุ าค และการเคลอื่ นทข่ี องอนุภาคของสาร ......................................................................................

ชนิดเดียวกันในสถานะของแขง็ ของเหลว ......................................................................................

และแกส๊ ..............................................................................................

......................................................................................

...............................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

..............................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินัย ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ..............................................................................................

- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................

...............................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ ีแกป้ ัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

7

ลงชื่อ........................................ครผู ู้สอน ลงช่อื ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น.์ .) (นายสรุ จกั ริ์ แกว้ มว่ ง.)

ลงชือ่ ........................................... ลงชื่อ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรตั น์..) (..นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ..)

หัวหน้างานนิเทศ หัวหนา้ กลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

8

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี…1 พลงั งานความร้อน..เร่ือง..ความร้อนกับการเปลย่ี นแปลงของสสาร(ตอนท่ี 2)...
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่.ี ...1.....
กล่มุ สาระการเรียนร.ู้ ...........วทิ ยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...4...ช่วั โมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมีทั้งมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั
รายวชิ าเพม่ิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู)้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด
ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10
ว 2.3 ม.1/1 , 1/2

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดท่ใี ช้ในหนว่ ยการเรียนรู้นเ้ี ขียนเป็นแบบความเรียง)
สสารทุกชนดิ ประกอบดว้ ยอนุภาค ซึ่งอาจเปน็ อะตอม โมเลกุล หรอื ไอออน โดยสสารชนดิ เดียวกันที่

มีสถานะของแข็งของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค การเคลื่อนที่ของ
อนุภาคแตกต่างกัน ซ่ึงมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสาร เม่ือสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อน สสารอาจ
เกิดการเปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิ ขนาด หรือสถานะของสสาร

ความร้อนอาจทำให้สสารเปล่ียนสถานะ เมื่อสสารได้รับความร้อน อนุภาคจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นและ
เคลื่อนทอ่ี อกหา่ งกันมากขน้ึ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคจะลดลง จนสสารเปล่ียนสถานะ ในทางกลับกัน เมื่อ
สสารสูญเสียความร้อน อนุภาคจะเคลื่อนท่ีช้าลงและเข้าใกล้กันมากข้ึน แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาคจะ
เพิม่ ขึ้น จนสสารเปลี่ยนสถานะ ขณะที่สสารเปล่ียนสถานะ ความร้อนท้ังหมดจะถกู ใชใ้ นการเปลย่ี นสถานะโดย
ไมม่ กี ารเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พ่มิ เตมิ (รายวชิ าเพ่มิ เติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• ความรอ้ นมผี ลตอ่ การเปลย่ี นสถานะของสสาร เมอื่ ใหค้ วามร้อนแก่ของแขง็ อนุภาคของของแข็ง จะ

มีพลงั งานและอณุ หภูมิเพ่มิ ขน้ึ จนถงึ ระดบั หน่งึ ซงึ่ ของแข็งจะใช้ความร้อนในการเปล่ยี นสถานะเป็นของเหลว
เรียกความร้อนทใี่ ชใ้ นการเปลย่ี นสถานะจากของแข็งเป็นของเหลวว่า ความรอ้ นแฝงของการหลอมเหลว และ
อุณหภมู ขิ ณะเปลย่ี นสถานะจะคงที่ เรียกอณุ หภมู ินว้ี า่ จุดหลอมเหลว

• เมื่อให้ความร้อนแกข่ องเหลว อนุภาคของของเหลวจะมีพลงั งานและอณุ หภูมเิ พิ่มขึ้นจนถึงระดับ
หนง่ึ ซ่ึงของเหลวจะใช้ความรอ้ นในการเปลย่ี นสถานะเปน็ แกส๊ เรยี กความร้อนทีใ่ ช้ในการเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลวเปน็ แก๊สว่า ความร้อนแฝงของการกลายเปน็ ไอ และอุณหภูมขิ ณะเปล่ยี นสถานะ จะคงท่ี เรียก
อุณหภมู ินว้ี า่ จุดเดอื ด

9

• เมื่อทำใหอ้ ุณหภมู ิของแกส๊ ลดลงจนถงึ ระดับหนง่ึ แก๊สจะเปลย่ี นสถานะเป็นของเหลว เรียกอณุ หภมู ิน้ี

ว่า จดุ ควบแนน่ ซงึ่ มอี ุณหภมู ิเดยี วกับจดุ เดือดของของเหลวนนั้

• เมือ่ ทำให้อณุ หภมู ขิ องของเหลวลดลงจนถึงระดับหน่ึง ของเหลวจะเปลีย่ นสถานะเป็นของแข็ง เรยี ก

อณุ หภูมิน้ีว่า จุดเยอื กแข็ง ซ่ึงมอี ณุ หภูมเิ ดยี วกับจุดหลอมเหลวของของแข็งนนั้

• เมอื่ วัตถอุ ยใู่ นอากาศจะมีแรงทอี่ ากาศกระทำต่อวตั ถใุ นทุกทศิ ทาง แรงที่อากาศกระทำตอ่ วตั ถุ

ข้ึนอยกู่ ับขนาดพื้นทีข่ องวัตถุนน้ั แรงท่ีอากาศกระทำตง้ั ฉากกบั ผิววตั ถุต่อหนงึ่ หนว่ ยพ้นื ทเี่ รยี กว่า ความดนั

อากาศ

• ความดันอากาศมคี วามสัมพนั ธก์ ับความสงู จากพ้ืนโลก โดยบรเิ วณที่สูงจากพนื้ โลกขึน้ ไป อากาศเบา

บางลง มวลอากาศนอ้ ยลง ความดันอากาศก็จะลดลง

• เมอ่ื สสารไดร้ บั หรอื สูญเสยี ความรอ้ นอาจทำใหส้ สารเปล่ียนอุณหภมู ิ เปลี่ยนสถานะ หรือเปลยี่ น

รูปรา่ ง

• ปริมาณความรอ้ นที่ทำใหส้ สารเปลย่ี นอณุ หภูมิข้ึนกบั มวล ความร้อนจำเพาะ และอณุ หภมู ิ

ทีเ่ ปลีย่ นไป

• ปริมาณความร้อนทท่ี ำให้สสารเปล่ยี นสถานะข้ึนกับมวลและความรอ้ นแฝงจำเพาะ โดยขณะที่สสาร

เปล่ยี นสถานะ อุณหภมู จิ ะไมเ่ ปลี่ยนแปลง

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น (ถ้าในคำอธบิ ายรายวิชาพูดถึงหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ ให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน (เลือกเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้)ี

 1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ )ี้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซ่อื สตั ย์สจุ รติ

 3. มีวินยั  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

 ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

10

 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสือ่ สาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)
8. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรยี นคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตุผล : ใหน้ กั เรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ , นกั เรยี นเกิดความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและส่ิงท่ีเรียนรู้

3. หลกั ภูมคิ มุ้ กัน : ให้นกั เรียนเกดิ ทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรยี นรจู้ ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั

5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมีความขยันทจี่ ะทำงานให้ออกมาได้ดีทส่ี ุด , มวี นิ ยั ในการ

ทำงาน

9. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ช้ีวัด ช้นิ งาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 -รายงานกิจกรรม 2 ปจั จยั ใดบ้างทมี่ ี -คำนวณปริมาณความร้อนทใี่ ช้ในการ

ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิ เปลย่ี นอุณหภมู แิ ละปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี

ของสสาร เกีย่ วข้องไดจ้ ากขอ้ มลู ทีก่ ำหนดให้

-คำนวณพลงั งานความร้อนโดยใช้

สมการQ = mcΔt

10. การวัดประเมนิ ผล
10.1การวัดและประเมนิ ผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด
วิธีการ
1.การสงั เกตการณ์

11

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์รอ่ งรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เครื่องมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

10.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้ี)

สิ่งที่ต้องการวดั วิธีวัดผล เคร่อื งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
- นกั เรียนได้คะแนน
1. ความรู้เกี่ยวกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขึ้นไป
หรือร้อยละ 80
- การเปล่ยี นอณุ หภมู ิของสสาร ความคิดเหน็ อธิบาย อภปิ รายแสดงความ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
- นักเรยี นได้คะแนน
เน่ืองจากได้รับหรือสญู เสีย การเปล่ยี นอุณหภูมิ คิดเหน็ ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขน้ึ ไป
ความรอ้ น ของสสารเนอื่ งจาก - แบบประเมนิ การ หรือรอ้ ยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์
-การคำนวณพลังงานความรอ้ น ไดร้ ับหรอื สญู เสีย ตรวจผลงานผเู้ รียน
-นักเรียนไดค้ ะแนน
โดยใช้สมการQ = mcΔt ความร้อน 12 คะแนนขน้ึ ไป
หรือร้อยละ 80 ถือว่า
-ยกตัวอย่างเหตกุ ารณ์ ผา่ นเกณฑ์

ในชีวติ ประจำวนั ที่

ความร้อนทำให้สสาร

เปลย่ี นอุณหภมู ิขนาด

หรอื สถานะ

-การตรวจผลงาน

นักเรียน

2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เห็นระบุ อภิปรายแสดงความ

ทกั ษะกระบวน คิดเห็น

การทางวทิ ยาศาสตร์ท่ี - แบบประเมิน

ได้ปฏบิ ัตจิ ากกจิ กรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลมุ่

ทำงานกลมุ่

12

3. คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นักเรยี นได้คะแนน
และสมรรถนะผเู้ รียน ประเมินคณุ ลักษณะ
- มวี นิ ยั ในการทำงานกลมุ่ ทำงานรว่ มกับผ้อู น่ื คุณลกั ษณะอันพึง อันพึงประสงค์
- นักเรียนเห็นความสำคญั ของ 26 คะแนนขึ้นไป
การทำงานรว่ มกบั ผู้อ่ืนและการ และการทำงานใน ประสงค์ หรอื ร้อยละ 80
ทำงานในระบบกลมุ่ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
- ยอมรับความคิดเห็นซง่ึ กัน ระบบกลุม่ - แบบประเมิน - นักเรยี นไดค้ ะแนน
และกันมคี วามเสียสละและ การประเมนิ สมรรถนะ
อดทน อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รยี น 29 คะแนนขนึ้ ไป
หรอื รอ้ ยละ 80
คิดเหน็ เกีย่ วกับผลการ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

ทดลอง

11. กิจกรรมการเรยี นรู้
ชั่วโมงท่ี 5-7
1. ข้ันตงั้ ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใหน้ ักเรยี นสังเกตภาพ การใชเ้ ทอรม์ อคปั เปลิ วัดอณุ หภูมิของอาหาร (อธบิ ายการใช้เทอร์

มอมเิ ตอรแ์ บบทีเ่ รยี กว่าเทอร์มอคัปเปิลวัดอุณหภูมิของสสาร ในทน่ี ค้ี ืออาหารบนเตาย่าง)
1.2 ทำกิจกรรมทบทวนความรูก้ ่อนเรียนเพ่ือประเมนิ ความรพู้ นื้ ฐานของนกั เรียนเก่ียวกบั การใช้

เทอรม์ อมเิ ตอร์ หากพบวา่ นักเรยี นยงั มคี วามร้พู น้ื ฐานไมถ่ กู ต้อง ครทู บทวนหรอื แกไ้ ขความเข้าใจผิดของ
นกั เรียน เพอื่ ใหน้ ักเรยี นมี ความรู้พืน้ ฐานที่ถกู ต้องและเพยี งพอทีจ่ ะเรียนเร่ืองความรอ้ นกบั การเปล่ยี นอุณหภมู ิ
ของสสารต่อไป

1.3 ครูนำสนทนา ร่วมกันเพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ วา่ การส่ันและการเคลือ่ นที่ของอนภุ าคทำให้เกดิ
พลงั งานความร้อนในสสาร ซึง่ เราไม่สามารถวัดไดโ้ ดยตรง แตเ่ ราสามารถวัดระดับพลงั งานความร้อนของสสาร
ไดด้ ้วยการวัดอณุ หภมู ิโดยใช้เทอร์มอมเิ ตอร์

2. ขน้ั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายในประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ เพ่ือนำส่กู ิจกรรมที่ 2 ปัจจยั ใดบา้ งท่มี ีผลตอ่
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร ดงั ต่อไปนี้

• กจิ กรรมนี้เกย่ี วกับเรอ่ื งอะไร (ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิของนำ้ และสารอ่ืน ๆ)
• กจิ กรรมน้มี จี ดุ ประสงคอ์ ย่างไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง)
• การทำกจิ กรรม ตอนที่ 1 ตอ้ งใช้วัสดุและอุปกรณ์ใดบ้าง (นักเรียนตอบตามรายการวัสดอุ ุปกรณ์
ครแู นะนำวัสดุ อุปกรณ์ วิธีการใช้ และข้อควรระวงั ในการใช้เทยี นไขและเทอร์มอมเิ ตอร์ การควบคุมตัวแปร

13

เพือ่ ให้ผลการทดลองนา่ เชื่อถือ เชน่ เทียนไขทีใ่ ชเ้ ปน็ แหลง่ พลงั งานความร้อนต้องเป็นเทียนไขชนดิ เดียวกนั มี
ขนาดและความสูงเทา่ กนั )

• นักเรยี นต้องสังเกตหรอื รวบรวมข้อมลู อะไรบา้ ง และมวี ธิ ีบันทึกผลอยา่ งไร (นกั เรยี นตอ้ งสังเกต
และบันทึกอุณหภูมขิ องนำ้ ในบกี เกอร์ ทุก ๆ 30 วินาที เปน็ เวลา 3 นาท)ี

• นกั เรยี นจะทราบไดอ้ ยา่ งไรวา่ นำ้ ทใี่ ส่ในบีกเกอร์มมี วล 60 กรมั (เน่ืองจากน้ำปริมาตร 1 ลกู บาศก์
เซนติเมตร มมี วล 1 กรมั ดงั น้นั ต้องใสน่ ำ้ ใหม้ ปี รมิ าตร 60 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร)

2.2 ร่วมกนั ระบปุ ญั หา สมมตฐิ าน และตัวแปรท่ีเกีย่ วข้องของการทดลอง
2.3 รว่ มกนั อภปิ รายและตอบคำถามท้ายกิจกรรมเพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อสรุปวา่ ปริมาณความร้อนทนี่ ำ้ ไดร้ บั สง่ ผล
ตอ่ การเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ิของน้ำ โดยนำ้ ในบกี เกอรท์ ไ่ี ด้รับความร้อนจากเทียนไข 2 เลม่ มีอุณหภูมสิ งู ขนึ้
มากกว่า ในบีกเกอรท์ ่ไี ดร้ ับความร้อนจากเทยี นไข 1 เล่ม
2.4 ใหน้ ักเรียนอา่ นวธิ ีการดำเนินกิจกรรมตอนที่ 2 และรว่ มกันอภิปรายในประเดน็ ดังต่อไปนี้

• การทำกิจกรรม ตอนท่ี 2 ต้องใชว้ ัสดแุ ละอุปกรณ์ใดบ้าง (นกั เรยี นตอบตามรายการวสั ดุอุปกรณ์
ครูควรแนะนำวธิ ีและขอ้ ควรระวงั ในการใชช้ ดุ ตะเกียงแอลกอฮอลแ์ ละเทอรม์ อมเิ ตอร์ การควบคุมตัวแปรเพ่ือ
ให้ผลการทดลองน่าเชอ่ื ถอื เชน่ ควรใช้ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอลช์ ุดเดียวกนั เปน็ แหลง่ ความร้อนใหก้ บั นำ้ ทงั้ 2
บีกเกอร)์

• นกั เรยี นตอ้ งสังเกตหรอื รวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง และมวี ธิ ีบันทกึ ผลอย่างไร (นักเรยี นตอ้ งสงั เกต
และบันทึกอุณหภมู ิของน้ำในบีกเกอร์ ทกุ ๆ 1 นาที เป็นเวลา 5 นาที)

2.5 ร่วมกนั ระบปุ ัญหา สมมตฐิ าน และตวั แปรทเ่ี กย่ี วขอ้ งของการทดลองน้ี
2.6 รว่ มกนั อภปิ รายและตอบคำถามท้ายกิจกรรมเพื่อใหไ้ ด้ข้อสรปุ ได้ว่า มวลของนำ้ มผี ลตอ่ การ
เปลยี่ นแปลงอุณหภูมขิ องน้ำ โดยนำ้ มวล 75 กรมั มีอณุ หภมู ิสูงขน้ึ มากกวา่ น้ำมวล 150 กรมั เมอ่ื ได้รบั ความ
ร้อนปรมิ าณเทา่ กัน
2.7 ครนู ำอภปิ รายวา่ จากการทดลองตอนท่ี 1 และ 2 นักเรยี นทราบแลว้ ว่า ปริมาณความรอ้ นท่นี ้ำไดร้ บั
และมวลของนำ้ มผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงอุณภูมขิ องน้ำ นักเรยี นคิดวา่ ชนดิ ของสสารมผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลง
อณุ หภมู ิของสสารหรือไม่ อยา่ งไร (มี สสารแต่ละชนดิ มีการเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิแตกต่างกนั เมื่อไดร้ ับความ
รอ้ นเท่ากนั ) เพื่อนำไปสูก่ ารออกแบบการทดลองใหน้ ักเรยี นอา่ นวิธกี ารดำเนินกิจกรรมตอนที่ 3
2.8 รว่ มกนั ระบปุ ัญหา สมมตฐิ าน และตวั แปรทเ่ี กยี่ วขอ้ งของการทดลองน้ี
2.9 ร่วมกันอภปิ รายและตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรมเพือ่ ใหไ้ ด้ข้อสรุปไดว้ า่ ชนิดของสสารมีผลตอ่ การ
เปลีย่ นแปลงอณุ หภูมิ โดยเม่ือเวลาผ่านไป กลีเซอรอลหรือนำ้ มนั พืชมีอุณหภมู ิเพิ่มขน้ึ มากกวา่ น้ำ

ชั่วโมงท่ี 8
3. ข้นั สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

14

3.1 นักเรยี นตอบคำถามระหวา่ งเรียน เพื่อประเมินความเขา้ ใจเกี่ยวกับปจั จัยที่มีผลต่อการเปล่ยี นแปลง

อณุ หภูมขิ องสสาร

3.2 ครแู นะนำการคำนวณปริมาณความรอ้ นท่ีทำให้อุณหภูมิของสสารเปล่ียนแปลงและปรมิ าณอน่ื ๆ ท่ี

เกยี่ วขอ้ ง ครอู าจให้นกั เรยี นสบื ค้นจากแหลง่ เรยี นร้อู น่ื ๆ เพิม่ เตมิ ไดอ้ กี ดว้ ย จากนั้นครแู ละนกั เรียนรว่ มกัน

อภิปรายเพ่ือตอบคำถามชวนคดิ

4. ขน้ั การสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนนำเสนอกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอณุ หภมู กิ ับเวลา ของการทดลองท้ัง 3 ตอน

5. ข้ันการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

นักเรียนรว่ มกนั เฉลย กจิ กรรม รว่ ม กัน คดิ 2

12. ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1ส่อื การเรยี นรู้

1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรยี น 3) สอื่ เพาเวอรพ์ อยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อินเตอรเ์ น็ต 2) หอ้ งสมุด

13. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- อธิบายการเปลี่ยนอุณหภูมขิ องสสาร ......................................................................................
เนอื่ งจากไดร้ ับหรอื สญู เสียความรอ้ น ......................................................................................

-การคำนวณพลงั งานความรอ้ นโดยใช้สมการ ......................................................................................

Q = mcΔt ................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินยั ......................................................................................

15

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

- รักความเป็นไทย ......................................................................................

...............................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ ีแกป้ ญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครูผสู้ อน ลงช่อื ...........................................หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รตั น.์ .) (นายสรุ จกั ร์ิ แก้วม่วง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงชื่อ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน.์ .) (..นายศิวาวฒุ ิ รัตนะ..)

หวั หนา้ งานนเิ ทศ หัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงชื่อ ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

16

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่…1 พลังงานความร้อน..เรอ่ื ง........ความรอ้ นกบั การเปลยี่ นแปลงของสสาร. (ตอนที่ 3)...........
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู.้ ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...4...ชั่วโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีท้งั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชว้ี ัด

รายวิชาเพิม่ เตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด

ว 2.3 ม.1/1 , 1/2 ,1/3 ,1/4

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดท่ีใช้ในหน่วยการเรียนรู้น้เี ขยี นเป็นแบบความเรียง)

ความร้อนทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เมื่อสสารได้รับความร้อนอาจทำให้สสารมีอุณหภูมิเพิ่มข้ึน

ในทางตรงกันข้ามเม่ือสสารสูญเสียความรอ้ นอาจทำใหส้ สารมีอณุ หภมู ลิ ดลง

โดยทั่วไปเมื่อสสารได้รับความรอ้ น สสารจะขยายตัว เนื่องจากความร้อนทำให้อนุภาคเคลื่อนท่ีเร็ว

ขนึ้ และระยะห่างระหวา่ งอนุภาคมากข้ึน ในทางกลับกนั เมือ่ สสารสูญเสียความรอ้ น สสารจะหดตัว เน่อื งจาก

ความรอ้ นทำใหอ้ นุภาคเคล่ือนทช่ี า้ ลงและระยะหา่ งระหว่างอนุภาคลดลง

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นร้เู พิม่ เตมิ (รายวชิ าเพ่ิมเติม)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

• ความร้อนทำให้สสารขยายตัวหรอื หดตัวได้ เนือ่ งจากเม่ือสสารไดร้ ับความรอ้ นจะทำใหอ้ นุภาค

เคล่อื นทเี่ ร็วขึน้ ทำให้เกิดการขยายตัวแต่เมอ่ื สสารคายความร้อนจะทำให้อนภุ าคเคลอื่ นท่ีช้าลง ทำใหเ้ กดิ การ

หดตวั

• ความรเู้ ร่ืองการหดและขยายตัวของสสารเนื่องจากความรอ้ นนำไปใช้ประโยชน์ได้ดา้ นตา่ ง ๆ เชน่

การสร้างถนน การสร้างรางรถไฟ การทำเทอร์มอมเิ ตอร์

3.2 สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถน่ิ (ถ้าในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลกั สูตรทอ้ งถน่ิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน (เลือกเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่ือสตั ย์สุจริต

 3. มวี นิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้

17

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการส่อื สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมเี มตตา (วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)
8. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคือ
ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน
2. หลักความมเี หตุผล : ให้นกั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบตั ิ , นกั เรียนเกดิ ความ
ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและสงิ่ ทเี่ รียนรู้
3. หลกั ภมู ิคุ้มกัน : ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นร้จู ักการวาง
แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล
4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั
5. เง่ือนไขคณุ ธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานให้ออกมาไดด้ ีท่ีสุด , มวี ินยั ในการ
ทำงาน

18

9. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชว้ี ัด ช้นิ งาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/3 ม.1/4 - รายงานกิจกรรมที่ 3 ความร้อนส่งผล -ยกตัวอยา่ งเหตกุ ารณก์ ารขยายตวั หรือ

ต่อสารแตล่ ะสถานะอย่างไร หดตัวของสสารเน่ืองจากความร้อน

พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั

หรอื แก้ไขปัญหาทเ่ี กิดจากการขยายตวั

หรือหดตัวของสสาร

-สร้างแบบจำลองทอี่ ธบิ ายการขยายตวั

หรือหดตัวของสสารเนื่องจากไดร้ ับหรอื

สญู เสียความร้อน

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวดั และประเมนิ ผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เครือ่ งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผา่ นตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไมผ่ า่ น

10.2การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หนว่ ยการเรยี นรนู้ ี)้

สง่ิ ท่ตี อ้ งการวัด วธิ วี ัดผล เครื่องมือวดั ผล เกณฑ์การประเมิน
- นกั เรียนไดค้ ะแนน
1. ความร้เู กยี่ วกบั -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนข้นึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
- การขยายตวั หรอื หดตวั ของ ความคดิ เหน็ อธบิ าย อภิปรายแสดงความ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- นักเรียนไดค้ ะแนน
สสารเนื่องจากไดร้ บั หรือสูญเสีย เหตกุ ารณก์ ารขยาย คดิ เหน็ ประเมนิ ผลงาน

ความรอ้ น ตวั หรือหดตัวของ - แบบประเมินการ 19

สสารเนอื่ งจากความ ตรวจผลงานผเู้ รยี น

ร้อนพรอ้ มท้งั เสนอ

แนะแนวทางการ 13 คะแนนขน้ึ ไป
หรอื ร้อยละ 80
ป้องกนั หรอื แก้ไข ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

ปญั หาท่เี กดิ จากการ -นกั เรยี นไดค้ ะแนน
12 คะแนนขึน้ ไป
ขยายตวั หรือหดตวั หรือร้อยละ 80 ถือว่า
ผ่านเกณฑ์
ของสสารได้อย่าง
- นักเรยี นได้คะแนน
ถกู ต้อง ประเมนิ คุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์
-การตรวจผลงาน 26 คะแนนข้นึ ไป
หรอื ร้อยละ 80
นกั เรยี น ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- นักเรียนไดค้ ะแนน
2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ การประเมินสมรรถนะ
29 คะแนนขึ้นไป
ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เหน็ ระบุ อภิปรายแสดงความ หรือรอ้ ยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์
ทกั ษะกระบวน คิดเห็น

การทางวทิ ยาศาสตร์ที่ - แบบประเมนิ

ได้ปฏบิ ตั ิจากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน

และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานร่วมกับผ้อู น่ื คุณลกั ษณะอันพงึ

- มีวนิ ยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์

- นักเรยี นเหน็ ความสำคญั ระบบกลุม่ - แบบประเมนิ

ของการทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผูเ้ รยี น

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เก่ยี วกบั ผลการ

- ยอมรับความคิดเห็นซึง่ กนั ทดลอง

และกนั มีความเสียสละและ

อดทน

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ช่ัวโมงท่ี 9
1. ขัน้ ตง้ั ประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูให้นกั เรียนดูภาพ การยกตวั ของถนน (ซ่งึ สามารถอธิบายได้ โดยหลักการทางวทิ ยาศาสตร์

เก่ียวกบั การขยายตัวของสสารเมือ่ ได้รบั ความรอ้ น โดยถนนทส่ี ร้างขึ้นไดอ้ อกแบบช่องว่างทร่ี องรบั การขยายตวั

20

นอ้ ยเกนิ ไป นอกจากนี้ ชาวบา้ นยังมีความเชอื่ อนื่ ๆ ในเชิงปรากฏการณ์เหนือธรรมชาตเิ ชน่ เป็นการกระทำ
ของพญานาคหรือสิง่ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ

1.2 ครูให้นกั เรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความร้กู อ่ นเรยี น เพือ่ ประเมินความรู้พื้นฐานของนักเรยี นเกยี่ วกับ
การเปล่ียนแปลงของสสารเมือ่ ได้รบั หรอื สญู เสยี ความร้อน หากพบวา่ นกั เรียนยงั มคี วามรพู้ น้ื ฐานไมถ่ ูกตอ้ ง ครู
ควรทบทวนหรือแกไ้ ขความเขา้ ใจผดิ ของนักเรยี น เพื่อให้นกั เรียนมคี วามรพู้ ื้นฐานท่ีถูกตอ้ งและเพียงพอทจ่ี ะ
เรยี นเร่ืองความรอ้ นกับการขยายตวั หรือหดตัวของสสารตอ่ ไป

1.3 ครูนำเขา้ สู่กิจกรรมที่ 3 ความรอ้ นสง่ ผลต่อสสารแตล่ ะสถานะอย่างไร โดยร่วมกนั อภิปรายใน
ประเดน็ ดังต่อไปนี้

• กจิ กรรมนเ้ี กย่ี วกบั เรอื่ งอะไร (ผลของความรอ้ นตอ่ การเปลีย่ นแปลงขนาดของอากาศ น้ำ และ
เหล็ก)

• หลังการทำกิจกรรมแล้ว นักเรยี นจะรู้อะไร (อธบิ ายผลของความรอ้ นตอ่ การเปล่ียนแปลงขนาด
ของอากาศ น้ำ และ เหล็ก)

ชว่ั โมงท่ี 10-12
2. ขั้นสืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครคู วรมอบหมายให้แต่ละกลุม่ ศึกษาผลของความร้อนต่อการเปล่ียนแปลงขนาดของสสารทีแ่ ตกตา่ ง

กนั ดังนี้
• กลมุ่ ท่ี 1 และ 2 ทำกิจกรรมตอนท่ี 1 ศึกษาผลของความร้อนต่อการเปลย่ี นแปลงขนาดของอากาศ
• กลุ่มท่ี 3 และ 4 ทำกจิ กรรมตอนที่ 2 ศึกษาผลของความรอ้ นต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของนำ้
• กล่มุ ที่ 5 และ 6 ทำกจิ กรรมตอนท่ี 3 ศกึ ษาผลของความร้อนต่อการเปลย่ี นแปลงขนาดของเหล็ก
2.2 ให้นักเรยี นอ่านวสั ดุ อุปกรณ์ วิธดี ำเนินกิจกรรม จากนั้นครอู ภิปรายวธิ ีการทำกจิ กรรม พร้อมอาจ

แสดงหรอื แนะนำอุปกรณใ์ หน้ ักเรยี นทราบ จากนัน้ ครูใช้คำถามถามนกั เรยี นเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจจากการ
อ่านดงั น้ี

• การทำกจิ กรรมตอ้ งใช้วัสดแุ ละอุปกรณอ์ ะไรบ้าง (นกั เรยี นตอบตามรายการวสั ดแุ ละอปุ กรณ์ ครคู วร
แนะนำวิธีและข้อควรระวงั ในการใช้ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์)

• นักเรียนต้องสงั เกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง และมวี ิธีบันทึกผลอยา่ งไร (ตอนที่ 1 ใหน้ ักเรียนสังเกต
การเปล่ยี นแปลงของลูกโป่ง พร้อมทัง้ บนั ทกึ ผลซ่งึ อาจอยูใ่ นรูปแบบการเขียนบรรยายวาดภาพหรือบนั ทกึ คลิป
วิดที ัศนส์ น้ั ๆ ตอนที่ 2 ให้นกั เรยี นสังเกตและวดั ระดับของน้ำสีในหลอดนำแก๊ส พรอ้ มท้ังบันทึกผลเป็นตัวเลข
และอาจให้นกั เรยี น เขียนบรรยาย วาดภาพหรอื บันทึกคลิปวิดีทัศน์ส้ัน ๆ ตอนท่ี 3 ให้นักเรียนสังเกตการ
เคลอ่ื นท่ขี องลูกกลมเหล็กผ่านวงแหวนเหล็ก พรอ้ มท้งั บนั ทึกผลซึง่ อาจอยู่ในรปู แบบการเขียนบรรยาย วาด
ภาพหรอื บันทึกคลิปวดิ ีทัศน์สนั้ ๆ)

3. ข้นั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

21

3.1 นักเรียนในแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอและ

เปรียบเทียบผลการทำกิจกรรมกบั กลมุ่ อืน่ ๆ หากมีขอ้ มูลใดคลาดเคลื่อนครนู ำอภิปรายแก้ไขใหถ้ ูกต้อง

3.2 นักเรยี นอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรปุ ว่า เม่ืออากาศ น้ำ และลูกกลมเหล็กได้รับความร้อนจะมีปริมาตร

เพิ่มขึ้นและขยายตัว ในทางตรงกันข้ามเมอ่ื อากาศ น้ำ และลูกกลมเหล็กสูญเสียความร้อนจะมีปริมาตรลดลง

และหดตัว ซง่ึ การเปลยี่ นแปลงทีเ่ กดิ ข้ึนเปน็ การเปลี่ยนแปลงในระดบั อนภุ าคของสสาร

3.3 นักเรยี นร่วมกันอภิปรายและสรุปสง่ิ ท่ีเรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอ่านเรื่องโครงสร้างอะตอม

โดยใชค้ ำถาม เช่น อะตอมประกอบดว้ ยอนุภาคอะไรบ้าง อะตอมของแต่ละธาตเุ หมือนหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร

นวิ เคลยี สประกอบดว้ ยอนภุ าคอะไรบา้ ง ครอู าจวาดแบบจำลองอะตอมของธาตตุ ่าง ๆ เพือ่ ใหน้ ักเรียนระบชุ นิด

และจำนวนของอนุภาคในแบบจำลอง

3.4 นักเรียนตอบคำถามระหว่างเรียน เพือ่ ประเมินความเข้าใจเกย่ี วกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร

เมือ่ ไดร้ บั หรอื สญู เสยี ความร้อน

4. ข้นั การสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยอาจใชค้ ำถามดังนี้

• มีเหตกุ ารณ์ใดบ้างท่ีเกดิ จากการขยายตัวหรอื หดตวั ของสสารอันเน่ืองมาจากความรอ้ น

• เราสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากการขยายตัวหรือหดตวั ของสสารอนั เนอ่ื งมาจากความร้อนได้อยา่ งไรบ้าง

• การขยายตัวหรือหดตัวของสสารอันเน่ืองมาจากความร้อนมีโทษหรือสร้างความเสียหายต่อชีวิตและ

ทรพั ยส์ นิ ได้อยา่ งไร และจะมที างป้องกันหรือแก้ปญั หาเหลา่ นไี้ ด้อย่างไร

5. ขน้ั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 จากสถานการณ์ถนนยกตัวขึน้ เนอื่ งจากความร้อน ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ทำแผน่ พบั เพ่อื อธบิ าย

สาเหตุของการยกตัวของถนน พรอ้ มทัง้ เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ เพือ่ สือ่ สารให้

คนในชุมชนเขา้ ใจเหตุการณด์ งั กล่าว โดยนกั เรยี นต้องใช้ภาษาท่เี ขา้ ใจง่ายและใช้แบบจำลองอนุภาคของสสาร

ประกอบการอธิบาย

12. ส่อื การเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1ส่อื การเรียนรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรียน 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อนิ เตอร์เนต็ 2) หอ้ งสมดุ

13. บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- อธบิ ายการขยายตวั หรอื หดตัวของ ......................................................................................
สสารเน่ืองจากได้รบั หรอื สูญเสีย ......................................................................................

ความรอ้ น

22

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ยั ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

...............................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วิธีแกป้ ญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผสู้ อน ลงช่อื ...........................................หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน์..) (นายสุรจกั ริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชือ่ ........................................... ลงช่ือ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (..นายศิวาวฒุ ิ รตั นะ..)

หัวหน้างานนเิ ทศ หวั หน้ากล่มุ บริหารวิชาการ

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

23

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่…1 พลังงานความรอ้ น..เรอ่ื ง........ความรอ้ นกับการเปลยี่ นแปลงของสสาร. (ตอนที่ 4)...........
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู.้ ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...7...ชั่วโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีท้งั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชว้ี ัด

รายวิชาเพิม่ เตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด

ว 2.3 ม.1/1 , 1/2 ,1/3 ,1/4

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวัดท่ีใช้ในหน่วยการเรียนรู้นเ้ี ขยี นเป็นแบบความเรียง)

ความร้อนทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ เม่ือสสารได้รับความร้อนอาจทำให้สสารมีอุณหภูมิเพิ่มข้ึน

ในทางตรงกันข้ามเม่ือสสารสูญเสียความรอ้ นอาจทำใหส้ สารมีอณุ หภมู ลิ ดลง

โดยทั่วไปเมื่อสสารได้รับความรอ้ น สสารจะขยายตัว เนื่องจากความร้อนทำให้อนุภาคเคลื่อนท่ีเร็ว

ขนึ้ และระยะห่างระหวา่ งอนุภาคมากขึ้น ในทางกลับกนั เมือ่ สสารสูญเสียความร้อน สสารจะหดตัว เน่อื งจาก

ความรอ้ นทำใหอ้ นภุ าคเคล่ือนทช่ี า้ ลงและระยะหา่ งระหว่างอนุภาคลดลง

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นรูเ้ พิม่ เตมิ (รายวชิ าเพ่ิมเติม)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

• ความร้อนทำให้สสารขยายตัวหรอื หดตัวได้ เนือ่ งจากเมอื่ สสารไดร้ ับความรอ้ นจะทำใหอ้ นุภาค

เคล่อื นทเี่ ร็วข้ึน ทำให้เกิดการขยายตัวแตเ่ มือ่ สสารคายความร้อนจะทำให้อนภุ าคเคลอื่ นท่ีช้าลง ทำใหเ้ กดิ การ

หดตวั

• ความรเู้ รือ่ งการหดและขยายตวั ของสสารเนื่องจากความรอ้ นนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ดา้ นตา่ ง ๆ เชน่

การสร้างถนน การสร้างรางรถไฟ การทำเทอร์มอมิเตอร์

3.2 สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิน่ (ถ้าในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลกั สูตรทอ้ งถิน่ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน (เลือกเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่ือสตั ย์สุจริต

 3. มวี นิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้

24

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลักษณะของผ้เู รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการส่อื สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)
8. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคือ
ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน
2. หลักความมเี หตุผล : ให้นกั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบตั ิ , นกั เรียนเกดิ ความ
ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและสิง่ ท่เี รียนรู้
3. หลกั ภมู ิค้มุ กัน : ใหน้ ักเรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นร้จู ักการวาง
แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล
4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั
5. เง่ือนไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานให้ออกมาไดด้ ีท่ีสุด , มวี ินยั ในการ
ทำงาน

25

9. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชวี้ ัด ช้ินงาน ภาระงาน
-วเิ คราะห์สถานการณ์ แปลความหมาย
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 - รายงานกิจกรรมที่ 4 ความรอ้ นทำให้ ข้อมลู และคำนวณปรมิ าณความรอ้ นท่ที ำ
ให้สสารเปล่ียนสถานะ
สสารเปลยี่ นสถานะได้อย่างไร

- คำนวณปรมิ าณความร้อนทใ่ี ชใ้ นการ

เปลีย่ นสถานะและปริมาณตา่ ง ๆท่ี

เกย่ี วข้องได้จากขอ้ มูลทกี่ ำหนดให้โดยใช้

สมการ Q = mL

10. การวัดประเมินผล

10.1การวัดและประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏิบัติ

เครื่องมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไม่ผ่าน

10.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หน่วยการเรียนรนู้ ี้)

สิ่งที่ต้องการวัด วธิ ีวดั ผล เครื่องมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน
1. ความร้เู ก่ยี วกับ -การคำนวณปรมิ าณ - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน
ความรอ้ นที่ทำให้ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนข้ึนไป
- ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความ สสารเปลีย่ นอุณหภมู ิ คดิ เห็น หรอื รอ้ ยละ 80
รอ้ นกบั การเปล่ยี นสถานะของ และเปล่ยี นสถานะ - แบบประเมนิ การ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
สสาร โดยใชส้ มการ ตรวจผลงานผเู้ รยี น - นกั เรยี นได้คะแนน
Q = mcΔt และ ประเมินผลงาน
Q = mL 13 คะแนนขึ้นไป

26

-การตรวจผลงาน หรอื รอ้ ยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
นกั เรียน -นกั เรียนไดค้ ะแนน
12 คะแนนข้นึ ไป
2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ หรอื ร้อยละ 80 ถือว่า
ผา่ นเกณฑ์
ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เห็นระบุ อภิปรายแสดงความ
- นักเรยี นไดค้ ะแนน
ทกั ษะกระบวน คดิ เหน็ ประเมนิ คณุ ลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์
การทางวิทยาศาสตร์ท่ี - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึน้ ไป
หรอื รอ้ ยละ 80
ได้ปฏิบตั จิ ากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ ถือว่าผ่านเกณฑ์
- นักเรียนไดค้ ะแนน
- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลุ่ม การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนขึน้ ไป
ทำงานกลุ่ม หรือรอ้ ยละ 80
ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
3. คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื คณุ ลกั ษณะอันพึง

- มวี ินัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์

- นักเรียนเหน็ ความสำคญั ระบบกลุม่ - แบบประเมิน

ของการทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเกยี่ วกบั ผลการ

- ยอมรับความคิดเหน็ ซึ่งกัน ทดลอง

และกันมคี วามเสยี สละและ

อดทน

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ช่วั โมงท่ี 13-14
1. ขนั้ ต้งั ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใหน้ กั เรียนดภู าพ ธารนำ้ แข็งโคลมั เบยี ในรฐั อะแลสกา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า อ่านเนอื้ หา

จากนนั้ รว่ มกันอภิปรายโดยอาจใช้คำถาม ดงั น้ี
• จากภาพ พบการเปล่ียนแปลงของสสารชนดิ ใดสสารชนิดดังกล่าวเกิดการเปลยี่ นแปลงอย่างไร

(จากภาพ พบการเปลย่ี นแปลงของน้ำแข็งโดยนำ้ แข็งเปล่ียนสถานะเปน็ นำ้ หรือนำ้ แขง็ หลอมเหลวเปน็ น้ำ)
• ปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้เกีย่ วข้องกบั ความร้อนและการเปลย่ี นสถานะอย่างไร (ธารนำ้ แขง็ โคลัมเบีย ใน

รฐั อะแลสกา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า จากภาพพบว่านำ้ แขง็ หลอมเหลวเปน็ นำ้ ซึ่งจะเชอ่ื มโยงเพ่ือเรยี นรูต้ อ่ ไปว่า
ความร้อนเกี่ยวขอ้ งกับการเปล่ยี นสถานะของสสารอยา่ งไร รวมถงึ เป็นภาพทีช่ ว่ ยสร้างความตระหนกั เรอื่ ง
ภาวะโลกร้อน)

27

1.2 ครูให้นกั เรียนทำกจิ กรรมทบทวนความร้กู อ่ นเรียน เพอื่ ประเมนิ ความรพู้ ้นื ฐานของนกั เรียนเกยี่ วกบั
การเปลีย่ นแปลงของสสารเมื่อได้รบั หรือสญู เสียความร้อน หากพบวา่ นกั เรยี นยังมีความรูพ้ นื้ ฐานไมถ่ กู ต้อง ครู
ควรทบทวนหรอื แกไ้ ขความเข้าใจผดิ ของนักเรยี น เพ่ือให้นักเรยี นมคี วามรพู้ ื้นฐานทถ่ี กู ต้องและเพยี งพอทีจ่ ะ
เรยี นเรอื่ งการเปลยี่ นสถานะของสสารในระดบั อนุภาคต่อไป

1.3 ครูนำเข้าส่กู ิจกรรมท่ี 4 ความร้อนทำให้สสารเปล่ียนสถานะไดอ้ ยา่ งไร โดยอาจใช้คำถามวา่ ความ
ร้อนมีผลต่อการเปลยี่ นสถานะของสสารอย่างไร ขณะท่สี สารเปลี่ยนสถานะ สสารมีการเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิ
หรือไม่ อยา่ งไร
2. ขั้นสบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 ครูให้นักเรยี นอ่านวธิ กี ารดำเนนิ กิจกรรมในชุดกจิ กรรม และร่วมกันอภิปรายในประเดน็ ดังต่อไปน้ี
• กจิ กรรมนเี้ ก่ยี วกับเรอ่ื งอะไร (การเปลยี่ นสถานะของน้ำเนื่องจากความร้อน)
• กิจกรรมนม้ี ีจดุ ประสงค์อยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)
• วธิ ีดำเนินกจิ กรรมมขี ้ันตอนโดยสรุปอยา่ งไร (ใส่น้ำแขง็ กอ้ นเลก็ ปริมาณ 2 ใน 3 ของบกี เกอร์ ให้ความ
ร้อน แล้วใช้แท่งแก้วคนตลอดเวลา สงั เกตและบนั ทกึ สงิ่ ทพ่ี บในบีกเกอร์และอุณหภูมิของนำ้ แข็งในบกี เกอร์
ทุก ๆ 1 นาที จนสงิ่ ที่อยู่ในบีกเกอร์เดอื ด และได้รับความรอ้ นต่อไปอกี 3 นาที เขยี นกราฟแสดงความสัมพันธ์
ระหวา่ งอุณหภมู กิ ับเวลาตง้ั แตเ่ ริม่ ตน้ จนส้ินสดุ การทำกจิ กรรม)
• ข้อควรระวงั ในการทำกิจกรรมมอี ะไรบา้ ง (นักเรยี นควรระวงั การใชช้ ดุ ตะเกียงแอลกอฮอลแ์ ละเทอร์มอ
มเิ ตอร์)
• นักเรียนตอ้ งสังเกตหรือรวบรวมขอ้ มลู อะไรบา้ ง (นกั เรยี นควรสงั เกตและบนั ทกึ สง่ิ ที่พบในบกี เกอร์และ
อุณหภมู ขิ องนำ้ แขง็ ในบกี เกอร์ ทกุ ๆ 1 นาที จนส่ิงทอ่ี ยูใ่ นบกี เกอร์เดอื ด และไดร้ ับความรอ้ นต่อไปอีก 3 นาท)ี
2.2 ให้นักเรียนอา่ นวสั ดุ อุปกรณ์ วิธดี ำเนนิ กจิ กรรม จากน้นั ครูอภิปรายวิธีการทำกจิ กรรม พร้อมอาจ
แสดงหรอื แนะนำอุปกรณ์ให้นักเรยี นทราบ จากนั้นครูใชค้ ำถามถามนักเรยี นเพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจ
ชัว่ โมงท่ี 15-19
3. ขัน้ สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นำขอ้ มลู ทไ่ี ดไ้ ปเขยี นกราฟแสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งอุณหภมู กิ ับเวลา
ตงั้ แต่เรม่ิ วัดอณุ หภูมิของน้ำแขง็ จนสน้ิ สุดการทำกิจกรรมโดยใช้กระดาษกราฟ หรอื ครูอาจให้นกั เรยี นเขยี น
กราฟโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ำเรจ็ รปู นาเสนอผลการทากจิ กรรม และกราฟแสดงความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งอุณหภมู กิ บั เวลา จากนนั้ รว่ มกนั อภปิ รายผลการทากจิ กรรมและเปรยี บเทยี บผลการทากจิ กรรม
ของกลมุ่ อ่นื กบั ของกลุ่มตนเอง

3.2 นักเรียนอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่อให้ความร้อนแก่น้ำจนน้ำเปล่ียนสถานะจากของแข็งเป็น
ของเหลว และของเหลวเปน็ แก๊ส อุณหภมู ิของนำ้ ขณะเปลย่ี นสถานะจะคงที่

3.3 นักเรียนสามารถอธบิ ายปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร ได้แก่ ปรมิ าณความร้อนที่
สสารได้รบั หรือสญู เสีย มวล และความรอ้ นแฝงจำเพาะของสาร

28

3.4 นกั เรยี นอ่านเน้ือหาในหนังสือเรียน เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกบั การคำนวณปริมาณความ

ร้อนท่ีสสารได้รับหรือสูญเสียเม่ือสสารมีการเปล่ียนสถานะและปริมาณอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง จากนั้นครูและ

นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเพอ่ื ตอบคำถามชวนคิด

4. ข้นั การส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรียนร่วมกนั เขยี นผังมโนทศั นใ์ นบทเรยี นเรือ่ งความร้อนกับการเปลย่ี นแปลงของสสาร

4.2 ครแู ละนักเรยี นอภปิ รายสรปุ องค์ความรู้ท่ีไดจ้ ากบทเรียนรว่ มกัน

5. ขนั้ การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 เชอ่ื มโยงความรู้เรื่องความร้อนจำเพาะของสารไปสผู่ ลของค่าความร้อนจำเพาะของน้ำท่ีมีผลต่อ

สง่ิ มีชวี ิตและสิง่ แวดล้อมแลกเปลย่ี นความรกู้ ันในชน้ั เรยี น

12. สอื่ การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1สอ่ื การเรยี นรู้

1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรยี น 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

12.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ น็ต 2) หอ้ งสมุด

13. บันทกึ หลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- ความสมั พันธร์ ะหว่างความรอ้ นกับการ ......................................................................................
เปลยี่ นสถานะของสสาร ......................................................................................
- การคำนวณปรมิ าณความร้อนทีท่ ำให้ ......................................................................................
สสารเปลยี่ นอุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะ ................................................................................

โดยใชส้ มการ ......................................................................................

Q = mcΔt และ ......................................................................................

Q = mL ......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

29

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................
- มีวนิ ัย ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธแี ก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชอื่ ........................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นายสุรจักริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น.์ .) (..นายศวิ าวฒุ ิ รตั นะ..)

หวั หนา้ งานนิเทศ หวั หนา้ กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

30

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่…2 พลงั งานความร้อน..เรอ่ื ง...การถ่ายโอนความร้อนในชีวิตประจำวัน (ตอนที่ 1)..........
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้............วิทยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...4...ชว่ั โมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมที ั้งมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชีว้ ัด

รายวชิ าเพิม่ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด

ว 2.3 ม.1/6 ,1/7

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้วี ัดท่ีใช้ในหน่วยการเรียนรู้นเี้ ขยี นเปน็ แบบความเรยี ง)

การถา่ ยโอนความร้อนมี 3 วิธี คือ การนำความร้อน การพาความร้อนและการแผ่รังสีความร้อน การ

นำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยที่อนุภาคของตัวกลางไม่เคลื่ อนท่ี แต่สั่น

ต่อเน่ืองกันไป การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนซึ่งอาศัยตัวกลางท่ีเป็นของเหลวหรือแก๊ส โดยท่ี

อนุภาคของตัวกลางเคล่ือนท่ีไปพร้อมกับพาความร้อนไปด้วย การแผร่ ังสีความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อน

ทไ่ี มต่ ้องอาศัยตวั กลาง แต่ความรอ้ นส่งผา่ นโดยคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เติม (รายวิชาเพ่มิ เตมิ )

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

• การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความรอ้ น การพาความรอ้ น และการแผร่ ังสีความรอ้ น

การนำความร้อนเปน็ การถ่ายโอนความรอ้ นท่ีอาศัยตวั กลาง โดยท่ตี ัวกลางไมเ่ คลอ่ื นท่ี การพาความรอ้ นเป็น

การถ่ายโอนความรอ้ นทอี่ าศัยตัวกลาง โดยที่ตวั กลางเคล่อื นที่ไปดว้ ย ส่วนการแผร่ งั สีความรอ้ นเป็นการถ่าย

โอนความร้อนท่ไี มต่ อ้ งอาศัยตัวกลาง

• ความร้เู กี่ยวกับการถา่ ยโอนความรอ้ นสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวันได้ เช่นการเลอื กใช้

วสั ดุเพ่อื นำมาทำภาชนะบรรจอุ าหาร เพือ่ เก็บความรอ้ น หรือการออ

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวิชาพดู ถึงหลกั สูตรทอ้ งถนิ่ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (เลอื กเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้ี)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

31

5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่ือสัตยส์ จุ รติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝ่เรยี นรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

 ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตผุ ล : ให้นกั เรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ , นกั เรยี นเกิดความ

ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและส่ิงทเี่ รียนรู้

3. หลกั ภมู คิ ุม้ กัน : ให้นกั เรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกลา้ แสดงออก , นกั เรยี นร้จู กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงอื่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำกอ่ นแล้วค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั

5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันท่จี ะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ่ีสดุ , มวี นิ ยั ในการ

ทำงาน

32

9. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชี้วัด ชนิ้ งาน ภาระงาน
-สรา้ งแบบจำลองเพอ่ื อธิบายการถา่ ยโอน
ว 2.3 ม.1/6 ม.1/7 - รายงานกิจกรรมที่ 1 ความรอ้ นถา่ ยโอน ผา่ นของแข็ง
-ออกแบบ เลือกใช้ และสรา้ งอปุ กรณเ์ พื่อ
ผา่ นของแขง็ ได้อยา่ งไร แกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวนั โดยใชค้ วามรู้
เกีย่ วข้องกับการถา่ ยโอนความร้อน

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวัดและประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เคร่อื งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านตัง้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไม่ผา่ น

10.2การวดั และประเมินผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรียนรขู้ อง

หน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

สิ่งที่ตอ้ งการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ
1. ความร้เู กี่ยวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมินการ - นักเรียนไดค้ ะแนน
- การถ่ายโอนความรอ้ นโดยวิธีนำ ความคิดเหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป
ความร้อน การถ่ายโอนความร้อน คดิ เห็น หรอื รอ้ ยละ 80
โดยวิธนี ำความร้อน - แบบประเมินการ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
-การตรวจผลงาน ตรวจผลงานผูเ้ รียน - นกั เรียนได้คะแนน
นักเรยี น ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขึ้นไป

33

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ หรือร้อยละ 80
ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เห็นระบุ อภิปรายแสดงความ -นักเรียนได้คะแนน
12 คะแนนข้ึนไป
ทกั ษะกระบวน คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่
ผา่ นเกณฑ์
การทางวิทยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมนิ
- นกั เรยี นไดค้ ะแนน
ได้ปฏบิ ตั ิจากกิจกรรม พฤติกรรมการ ประเมนิ คุณลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์
- สงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลมุ่ 26 คะแนนขึน้ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
ทำงานกลุ่ม ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
- นักเรียนได้คะแนน
3. คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนขนึ้ ไป
และสมรรถนะผูเ้ รียน ทำงานรว่ มกบั ผูอ้ นื่ คณุ ลกั ษณะอันพงึ หรือร้อยละ 80
ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
- มีวนิ ัยในการทำงานกลุม่ และการทำงานใน ประสงค์

- นักเรียนเห็นความสำคัญ ระบบกล่มุ - แบบประเมนิ

ของการทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเก่ยี วกบั ผลการ

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่ึงกัน ทดลอง

และกนั มีความเสยี สละและ

อดทน

11. กจิ กรรมการเรียนรู้
ช่ัวโมงที่ 1
1. ข้ันตงั้ ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 กระตุ้นความสนใจโดยให้นักเรยี นดภู าพในหนงั สือเรยี นวดี ทิ ัศน์ หรอื สื่ออื่น ๆ ท่ีเกยี่ วกับการทำ

ประมงในทะเลนำ้ ลึก พร้อมท้งั ให้นักเรยี นอ่านเนอ้ื หานำบทจากนัน้ ครูและนกั เรียนอภปิ รายถึงวิธีการทีช่ าว
ประมงเกบ็ รักษาสตั ว์ทะเลทจ่ี ับได้ใหย้ ังคงความสดไม่เนา่ เสียจากแบคทีเรียทเ่ี จรญิ เตบิ โตในอณุ หภูมิ
สูงได้อย่างไร การป้องกนั การเนา่ เสยี ของสัตว์ทะเลเกี่ยวข้องกบั การถ่ายโอนความรอ้ นอย่างไร(ภาพนำบท คอื
ภาพแสดงเรือประมงที่ออกจับสัตว์ทะเลน้ำลึกห่างไกลจากชายฝ่งั เป็นระยะเวลานานหลายเดือนหรือบางครง้ั
อาจจะนานมากกวา่ ครงึ่ ปีสัตว์ทะเลที่จบั ขนึ้ มาได้ตอ้ งเก็บไวใ้ นห้องเย็นเพื่อลดการเจรญิ เตบิ โตของแบคทีเรียท่ี
ทำให้สตั ว์ทะเลเนา่ เสยี ระหว่างการขนส่งไปจนถึงผ้บู รโิ ภคได้

34

1.2 กระตุน้ ความสนใจเก่ยี วกบั เรอื่ งการถ่ายโอนความรอ้ นวธิ ีต่าง ๆ โดยอาจใชภ้ าพในหนงั สือเรียน วีดิ
ทัศน์ หรือสอื่ อ่นื ๆ ที่แสดงถงึ การประกอบอาหารด้วยความรอ้ นวิธตี า่ ง ๆ นกั เรียนอา่ นเนอ้ื หานำเรอ่ื ง จากนั้น
ครอู าจใชค้ ำถามเพอ่ื อภิปรายดังน้ี

- ในภาพแสดงวิธกี ารทำอาหารอะไรบา้ ง (การย่าง การทอด)
- การประกอบอาหารแต่ละวธิ ี มีการถา่ ยโอนความร้อนหรือไม่ อย่างไร
1.3 ใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรมทบทวนความร้กู ่อนเรียนเพื่อประเมนิ ความรพู้ ื้นฐานของนักเรยี น เก่ยี วกบั
ความหมายของการถา่ ยโอนความร้อนและการจดั เรียงอนุภาค การเคลือ่ นท่ีของอนุภาคของสสารในแตล่ ะ
สถานะ หากพบว่านกั เรียนยังมคี วามรพู้ ้นื ฐานไม่ถกู ตอ้ ง ครูควรทบทวนหรอื แก้ไขความเข้าใจ
ผดิ ของนกั เรยี นเพื่อให้มีความรู้พน้ื ฐานเพยี งพอในการเรียนต่อไป
ช่ัวโมงที่ 2-3
2. ขน้ั สืบค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1กระตนุ้ ความสนใจโดยใช้ภาพแสดงแท่งเหลก็ ทม่ี ลี กู ชิ้นเสียบไว้หลายลูก ปลายด้านหนึ่งของแทง่ เหลก็
ไดร้ ับความรอ้ นครกู ระตุ้นให้นกั เรียนคดิ วา่ มีการถา่ ยโอนความร้อนอยา่ งไร ลูกชน้ิ ทีต่ ำแหนง่ ใดจะสุกกอ่ น เพื่อ
เช่ือมโยงเขา้ ส่กู ิจกรรมที่ 1 ความร้อนถ่ายโอนผ่านของแข็งไดอ้ ยา่ งไร
2.2 ใหน้ กั เรยี นอ่านวธิ ดี ำเนินกจิ กรรม จากน้ันครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายจดุ ประสงค์ของกิจกรรม
และวิธี ดำเนิน กจิ กรรมในชดุ กิจกรรม โดยอาจใช้คำถามดงั นี้
• กจิ กรรมน้ีเก่ยี วกบั เรอื่ งอะไร (เรือ่ งการถ่ายโอนความรอ้ นของแผ่นอะลมู เิ นียม)
• การทำกิจกรรมมขี น้ั ตอนโดยสรปุ อย่างไร (เตรยี มอุปกรณ์ตามภาพในหนงั สอื เรียน แลว้ ทำกจิ กรรมเพื่อ
สังเกตการเปลย่ี นแปลงของช้ินเทยี นไขซ่งึ วางบนแผ่นอะลมู ิเนียมท่ีไดร้ ับความรอ้ น จากนั้นสรา้ งแบบจำลอง
การถา่ ยโอนความรอ้ นของของแขง็ และสบื คน้ ขอ้ มลู แบบจำลองการถ่ายโอนความรอ้ นของของแข็งจากแหล่ง
ที่เช่ือถอื ได้ เพ่อื นำมาปรบั ปรุงแบบจำลองของตนเอง และนำเสนอ)
2.3 เปิดโอกาสให้นักเรยี นซกั ถามเก่ียวกับขั้นตอนการทำกจิ กรรมท่ีนกั เรียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจ จากนน้ั ครูและ
นักเรยี นรว่ มอภิปรายเพอื่ แกไ้ ขส่งิ ที่นกั เรียนยงั ไม่เขา้ ใจ เนน้ ย้ำเกย่ี วกับวธิ ีการบนั ทกึ ผล ข้อควรระวงั ในการทำ
กิจกรรม โดยอาจใชค้ ำถามดังนี้
• ขอ้ ควรระวังในการทำกจิ กรรมน้ีมีอะไรบา้ ง (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจ แต่ครคู วรกำชับใหน้ ักเรยี น
ระวงั การใชม้ อื สัมผสั กบั แผ่นอะลูมเิ นยี มท่ไี ดร้ บั ความรอ้ น)
• นักเรียนตอ้ งสงั เกตหรอื รวบรวมขอ้ มูลอะไรบา้ ง และมีวิธีบนั ทกึ ผลอยา่ งไร (สังเกตการเปลี่ยนแปลงของ
ชิ้นเทียนไขเม่ือใหค้ วามรอ้ นแกแ่ ผ่นอะลมู เิ นยี ม บันทกึ สิง่ ทเ่ี กิดขน้ึ และบนั ทกึ ผลการสงั เกตอยา่ งละเอียด หรือ
อาจใช้กลอ้ งบันทึกภาพนง่ิ หรือภาพเคลื่อนไหว)
2.4 ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั ทากจิ กรรมตามวธิ กี ารในหนงั สอื เรยี น สงั เกตการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ
2.5 ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ อภปิ รายรว่ มกันเพื่อวาดแบบจำลองการถา่ ยโอนความร้อนผ่านของแขง็ โดย
แสดงถึงการจัดเรียง

35

อนุภาคของของแขง็ เม่อื ได้รับความร้อน จากน้นั นำเสนอแบบจำลองที่สร้างขน้ึ ตามความคิดของตนเอง

ช่วั โมงท่ี 4

3. ขนั้ สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั สืบคน้ ข้อมูลการถา่ ยโอนความรอ้ นผา่ นของแขง็ จากแหลง่ ข้อมลู ท่ีเชื่อถือได้

เชน่ หนงั สือ หรอื เวบ็ ไซตโ์ ดยให้นกั เรยี นระบุแหล่งทมี่ าของขอ้ มลู นักเรียนนำขอ้ มลู ทีร่ วบรวมไดม้ าปรรับแก้

แบบจำ ลองของตนเอง พรอ้ มทั้งอธบิ ายแนวทางในการปรบั แกแ้ บบจำลองอกี คร้ัง

3.2 ใหน้ ักเรยี นใชข้ อ้ มลู ทีไ่ ด้จากการอภิปรายรว่ มกัน มาใช้ตอบคำถามท้ายกจิ กรรม

4. ข้ันการส่อื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 รว่ มกนั อภปิ รายถึงสถานการณท์ ค่ี รูได้เคยถามนักเรยี นกอ่ นนำเขา้ ส่กู ิจกรรมว่าการนำลกู ช้ินหลาย

ลูกเสียบกับแท่งเหล็กแล้วนำ ปลายด้านหน่ึงของแท่งเหล็กไปให้ความร้อน จะเกิดการถ่ายโอนความร้อน

อย่างไร และลูกชิ้นที่ตำแหน่งใดจะสุกกอ่ น เพราะเหตุใด (นักเรยี นควรตอบได้วา่ เกดิ จากการนำความร้อนจาก

ปลายแท่งเหล็กท่ีได้รับความร้อนตอ่ เน่ืองไปยังบริเวณอ่นื ท่ีมอี ุณหภูมิต่ำกว่าซ่ึงอยู่ข้างเคยี ง มผี ลทำให้ลูกช้ินที่

เสยี บไว้ใกลก้ บั ปลายแท่งเหลก็ ด้านท่ไี ดร้ บั ความร้อนสุกกอ่ นลกู ทีอ่ ยู่ถดั ไป)

4.2 ครแู ละนกั เรียนอภิปรายสรปุ องค์ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากบทเรยี นรว่ มกนั

5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ร่วมกันอภปิ รายโดยใชก้ ารถามตอบเพื่อใหไ้ ด้ข้อสรุปวา่ การนำความรอ้ นเป็นการถา่ ยโอนความ

รอ้ นโดยการส่ันของอนภุ าค เมอ่ื อนุภาคซึ่งเปน็ ตวั กลางได้รับความร้อน อนุภาคนน้ั จะสน่ั มากข้ึน มีอณุ หภูมิ

เพมิ่ ขน้ึ และไปชนกบั อนภุ าคทีอ่ ยู่ข้างเคียง ทำให้อนภุ าคทีอ่ ย่ขู ้างเคยี งสน่ั มากขึน้ และมอี ุณหภูมิเพ่ิมข้นึ ตามไป

ดว้ ย ความรอ้ นจะถา่ ยโอนจากบรเิ วณทอ่ี ยูใ่ กลแ้ หล่งพลงั งานความรอ้ นไปยงั บริเวณท่หี ่างออกไป การนำความ

รอ้ นเกิดขึ้นกบั สสารได้ทุกสถานะ สสารแตล่ ะชนดิ จะนำความรอ้ นได้แตกตา่ งกนั ดังนน้ั เราสามารถนำความรู้

เกีย่ วกับการนำความรอ้ นไปใชใ้ นการเลือกวสั ดุให้เหมาะสมกบั การใช้งาน

5.2 ใหน้ กั เรียนเขียนสรปุ ส่ิงท่ไี ดเ้ รียนรู้ตามความเขา้ ใจของตนเองลงในสมดุ บันทึก และอาจให้

นกั เรยี นยกตวั อย่างการนำความรู้เก่ยี วกบั เรอ่ื งการนำความรอ้ นไปใช้ในกิจกรรมอนื่ ๆ นอกเหนอื จากใน

หนงั สือเรียน

12. สื่อการเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1ส่อื การเรียนรู้

1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สอื แบบเรียน 3) สอ่ื เพาเวอรพ์ อยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอร์เนต็ 2) หอ้ งสมดุ

13. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

36

- การถา่ ยโอนความรอ้ นโดยวธิ ีนำความรอ้ น ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................
......................................................................................
3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ......................................................................................
อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................
- มวี ินยั ......................................................................................
- ใฝเ่ รียนรู้ ...............................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................
- รักความเป็นไทย

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธแี กป้ ัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงช่อื ........................................ครผู ู้สอน ลงช่ือ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน.์ .) (นายสุรจักร์ิ แก้วม่วง.)

ลงช่ือ........................................... ลงช่อื ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น.์ .) (..นายศวิ าวุฒิ รตั นะ..)

หวั หน้างานนิเทศ หัวหน้ากลุ่มบริหารวชิ าการ

ลงช่ือ ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

37


Click to View FlipBook Version