The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-13 21:05:29

วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน2

วิชา ว21102

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี…2 พลงั งานความร้อน..เร่อื ง...การถ่ายโอนความร้อนในชีวิตประจำวัน (ตอนท่ี 2)..........
รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีท่.ี ...1.....
กลมุ่ สาระการเรียนร.ู้ ...........วทิ ยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...3..ช่วั โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมีท้งั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั

รายวิชาเพมิ่ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด

ว 2.3 ม.1/6 ,1/7

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ชี้วัดทใี่ ช้ในหน่วยการเรยี นร้นู ี้เขียนเป็นแบบความเรียง)

การถ่ายโอนความร้อนมี 3 วิธี คือ การนำความรอ้ น การพาความร้อนและการแผ่รงั สีความร้อน การ

นำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยที่อนุภาคของตัวกลางไม่เคล่ือนที่ แต่ส่ั น

ต่อเน่ืองกันไป การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนซึ่งอาศัยตัวกลางที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส โดยที่

อนุภาคของตัวกลางเคล่อื นที่ไปพรอ้ มกับพาความรอ้ นไปด้วย การแผ่รังสคี วามร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อน

ที่ไม่ต้องอาศัยตวั กลาง แต่ความรอ้ นส่งผ่านโดยคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พม่ิ เตมิ (รายวิชาเพ่ิมเติม)

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

• การถา่ ยโอนความรอ้ นมี 3 แบบ คือ การนำความร้อน การพาความรอ้ น และการแผ่รงั สคี วามรอ้ น

การนำความรอ้ นเป็นการถา่ ยโอนความร้อนท่ีอาศัยตวั กลาง โดยท่ีตวั กลางไมเ่ คล่อื นที่ การพาความร้อนเป็น

การถ่ายโอนความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยทต่ี ัวกลางเคล่ือนทไ่ี ปด้วย ส่วนการแผ่รังสีความร้อนเปน็ การถา่ ย

โอนความรอ้ นท่ีไม่ตอ้ งอาศยั ตวั กลาง

• ความรู้เกยี่ วกับการถา่ ยโอนความรอ้ นสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวนั ได้ เชน่ การเลือกใช้

วัสดเุ พื่อนำมาทำภาชนะบรรจอุ าหาร เพือ่ เกบ็ ความรอ้ น หรอื การออ

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลักสูตรทอ้ งถ่ินใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (เลอื กเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

38

5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่ือสัตยส์ จุ รติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝ่เรยี นรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสงั คมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตผุ ล : ให้นักเรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ , นกั เรยี นเกิดความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและสง่ิ ทีเ่ รียนรู้

3. หลกั ภมู คิ ุม้ กัน : ให้นกั เรยี นเกิดทักษะการทำงานกลมุ่ และกลา้ แสดงออก , นกั เรยี นร้จู กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลุ่มไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงอื่ นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแล้วค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั

5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมีความขยันทีจ่ ะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ่ีสดุ , มวี นิ ยั ในการ

ทำงาน

39

9. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชีว้ ัด ช้ินงาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/6 ม.1/7 - รายงานกิจกรรมที่ 2 การถ่ายโอนความ -สร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายการถ่ายโอน

รอ้ นของของเหลวและแก๊สเป็นอยา่ งไร ความร้อนของของเหลวและแก๊ส

- รายงานกจิ กรรมท่ี 3 การถ่ายโอนความ -ออกแบบ เลือกใช้ และสรา้ งอปุ กรณ์เพอ่ื

ร้อนโดยไม่อาศัยตวั กลางเปน็ อย่างไร แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวนั โดยใช้ความรู้
เก่ียวข้องกับการถา่ ยโอนความร้อน

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวดั และประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์รอ่ งรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมินการปฏบิ ตั ิ

เครื่องมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไมผ่ า่ น

10.2การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรียนรูข้ อง

หน่วยการเรียนรนู้ ี้)

สิง่ ท่ีต้องการวัด วิธีวัดผล เคร่ืองมือวดั ผล เกณฑ์การประเมิน
1. ความรู้เกี่ยวกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรยี นได้คะแนน
- การถา่ ยโอนความร้อนของ ความคดิ เหน็ อธิบาย อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป
ของเหลวและแก๊ส และเปรยี บเทยี บการ คิดเหน็ หรือร้อยละ 80
- การถ่ายโอนความรอ้ นโดยไม่ ถ่ายโอนความรอ้ นวิธี - แบบประเมนิ การ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
อาศัยตวั กลาง ตา่ ง ๆ ตรวจผลงานผู้เรยี น - นกั เรยี นไดค้ ะแนน
-การตรวจผลงาน ประเมินผลงาน
นกั เรยี น 13 คะแนนข้ึนไป
หรือร้อยละ 80

40

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
-นักเรียนไดค้ ะแนน
ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เหน็ ระบุ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80 ถอื ว่า
ทักษะกระบวน คดิ เหน็ ผา่ นเกณฑ์

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมิน - นกั เรยี นได้คะแนน
ประเมนิ คุณลักษณะ
ได้ปฏบิ ัตจิ ากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ อนั พงึ ประสงค์
26 คะแนนขึ้นไป
- สงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกล่มุ หรือร้อยละ 80
ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
ทำงานกลุม่ - นกั เรียนได้คะแนน
การประเมินสมรรถนะ
3. คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ 29 คะแนนข้ึนไป
หรือร้อยละ 80
และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื คุณลักษณะอันพึง ถือว่าผา่ นเกณฑ์

- มีวนิ ัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์

- นักเรียนเห็นความสำคัญ ระบบกล่มุ - แบบประเมนิ

ของการทำงานรว่ มกับผู้อื่นและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผูเ้ รยี น

การทำงานในระบบกลมุ่ คดิ เห็นเกีย่ วกับผลการ

- ยอมรบั ความคิดเห็นซึง่ กนั ทดลอง

และกนั มคี วามเสียสละและ

อดทน

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ชัว่ โมงท่ี 1
1. ขนั้ ตง้ั ประเดน็ ปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 เชอ่ื มโยงความรทู้ ไ่ี ดเ้ รยี นรไู้ ปส่กู จิ กรรมตอ่ ไปโดยใชค้ าถามว่ามกี ารถ่ายโอนความรอ้ นดว้ ยวธิ ี

อน่ื อกี หรอื ไม่ อยา่ งไร
1.2 การถา่ ยโอนความร้อนของของเหลวและแกส๊ เปน็ อย่างไร
ชั่วโมงที่ 2-3

2. ขน้ั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1ใหน้ ักเรียนอ่านวธิ ีดำเนินกจิ กรรม จากนนั้ ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายจุดประสงค์และวิธดี ำเนนิ

กจิ กรรมโดยอาจใช้คำถามดงั ตอ่ ไปนี้
• กจิ กรรมนเี้ กย่ี วกบั เร่ืองอะไร (เร่อื งการถา่ ยโอนความรอ้ นของนำ้ และอากาศ)

41

• การทำกิจกรรมมขี ั้นตอนโดยสรปุ อย่างไร (ตอนที่ 1 ให้ความรอ้ นแก่นำ้ สงั เกตการเปลย่ี นแปลงของ
เมล็ดแมงลักในน้ำ วดั อุณหภมู ขิ องน้ำเมอ่ื ไดร้ บั ความร้อน สรา้ งแบบจำลองการถ่ายโอนความรอ้ นของของเหลว
ตามความคิดของกล่มุ และสบื คน้ ข้อมูลการถ่ายโอนความรอ้ นของของเหลวจากแหล่งท่ีเช่อื ถอื ได้ แล้วนำมา
ปรับปรงุ แบบจำลองของตนเอง นำเสนอ ตอนที่ 2 แขวนพ่กู ระดาษให้สูงจากเทยี นไข เมื่อจุดเทยี นไขแลว้ วัด
อุณหภูมขิ องอากาศ สงั เกตการเปล่ียนแปลงของพู่กระดาษ สรา้ งแบบจำลองการถ่ายโอนความร้อนของแก๊ส
ตามความคิดของกลุ่ม และสืบค้นขอ้ มูลการถา่ ยโอนความร้อนของแก๊สจากแหล่งที่เช่ือถือได้ แล้วนำมา
ปรบั ปรงุ แบบจำลองของตนเอง นำเสนอ)

• ขอ้ ควรระวังในการทำกจิ กรรมมอี ะไรบา้ ง (ควรระวงั การใชช้ ุดตะเกียงแอลกอฮอล์ และการจดุ เทยี นไข)
2.2 เปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามเกยี่ วกับข้ันตอนการทำกิจกรรมท่นี กั เรียนยงั ไมเ่ ข้าใจ จากนนั้ ครูและ
นกั เรียนร่วมอภิปรายเพื่อแกไ้ ขส่งิ ทน่ี ักเรียนยงั ไม่เขา้ ใจ เนน้ ยำ้ เกี่ยวกับวิธกี ารบนั ทกึ ผล ข้อควรระวงั ในการทำ
กจิ กรรม โดยอาจใช้คำถามดังน้ี
• ในตอนท่ี 1 นกั เรยี นต้องติดตัง้ เทอร์มอมเิ ตอร์วัดอุณหภูมขิ องน้ำท่ตี ำแหน่งใดบ้าง (จุ่มกระเปาะเทอรม์ อ
มเิ ตอร์ลงในบริเวณใกลก้ ับกน้ บีกเกอร์ และจมุ่ อกี อันลงในบรเิ วณใกลก้ ับผวิ น้ำ ใหก้ ระเปาะเทอร์มอมเิ ตอร์จม
ใตผ้ วิ น้ำ)
• ในตอนท่ี 1 ส่งิ ทตี่ ้องสังเกตและวดั มอี ะไรบา้ ง (สังเกตสงิ่ ท่ีเกดิ ขึน้ กบั เมล็ดแมงลกั และวดั อณุ หภมู ิของ
นำ้ บรเิ วณใกล้กบั ก้นบกี เกอร์ และบริเวณใกล้ผิวนำ้ ทุก ๆ 30 วินาที จนน้ำเดือด)
• ในตอนที่ 2 นกั เรยี นต้องติดตัง้ เทอรม์ อมิเตอรว์ ัดอุณหภมู ิของอากาศที่ตำแหนง่ ใดบ้าง (จัดเทอรม์ อ
มเิ ตอรใ์ หก้ ระเปาะอยูบ่ รเิ วณปลายบนและปลายล่างของพกู่ ระดาษ)
• ในตอนท่ี 2 สงิ่ ท่ตี อ้ งสังเกตและวัดมีอะไรบา้ ง (สังเกตส่งิ ที่เกิดขน้ึ กบั พู่กระดาษและวัดอุณหภูมขิ อง
อากาศท่ีตำแหน่งปลายบนและปลายลา่ งของพกู่ ระดาษ ทุก ๆ 30 วนิ าที เปน็ เวลา 3 นาที)
2.3 แบ่งกลมุ่ นกั เรยี น กลุ่มละ 4 - 5 คน เพื่อทำกิจกรรมที่ 2 พรอ้ มทง้ั ออกแบบตารางบนั ทึกผลการทำ
กจิ กรรม
2.4 ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ทากจิ กรรมตามวธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรมตอนท่ี 1 ในหนังสอื เรยี น และสงั เกต
การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ
2.5 ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มอภปิ รายร่วมกนั และวาดแบบจำลองการถ่ายโอนความร้อนของของเหลว โดย
แสดงถงึ การจัดเรียงอนภุ าคของของเหลวเมื่อได้รบั ความรอ้ น จากน้นั นกั เรียนนำเสนอแบบจำลองท่ีสร้างขนึ้
ตามความคิดของกลมุ่
2.6 ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั ทำกิจกรรมตามวิธกี ารดำเนนิ กจิ กรรมตอนที่ 2 ในชดุ กจิ กรรม สังเกตการ
เปล่ยี นแปลงท่ีเกิดขึ้น
2.7 ใหน้ กั เรียน 1 - 2 กลุ่ม นำเสนอผลการสงั เกต นักเรยี นกลุ่มอ่นื ฟังการนำเสนอ และเปรียบเทยี บผล
การทำกจิ กรรมรว่ ม
2.8 ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ อภปิ รายรว่ มกันและวาดแบบจำลองการถ่ายโอนความรอ้ นของแกส๊ โดยแสดง
ถงึ การจัดเรียง

42

อนุภาคของแกส๊ เมื่อไดร้ ับความร้อน จากนัน้ นักเรยี นแต่ละกล่มุ นำเสนอแบบจำลองท่ีสร้างขน้ึ ตามความคดิ ของ
ตนเอง

2.9 ใหน้ กั เรียนรว่ มกันสบื คน้ ข้อมลู การถ่ายโอนความร้อนของแกส๊ จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีเชอ่ื ถอื ได้ เช่น
หนังสือ เวบ็ ไซต์หรือวดี ทิ ัศน์ พร้อมท้ังระบุแหล่งทม่ี าของข้อมลู ดว้ ย จากนน้ั นำขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้มาปรบั แก้
แบบจำลองของตนเอง และอธบิ ายแนวทางการปรับแก้แบบจำลอง

3. ขัน้ สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 รว่ มกนั อภิปรายเพ่อื ให้ได้ขอ้ สรปุ วา่ การพาความร้อนเกิดข้ึนกับสสารท่ีเปน็ ของเหลวและแก๊ส

ตัวกลางจะพาความรอ้ นไปพรอ้ มกบั การเคล่อื นท่ขี องอนุภาคของตัวกลาง และความรู้เกี่ยวกับการพาความร้อน
สามารถนำไปใชอ้ ธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้

3.2 ให้นักเรยี นใช้ข้อมูลที่ได้จากการอภปิ รายร่วมกัน มาใช้ตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม
4. ขัน้ การสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนเขียนสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรูจ้ ากความเข้าใจของตนเองโดยใชแ้ ผนผังเวนน์เปรียบเทียบความ
เหมอื นและความแตกต่างกันระหว่างการพาความร้อนและนำความรอ้ น

4.2 ใช้คำถามเพ่ือให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยว่าถ้าบริเวณที่ไม่มีสสารท่ีเป็นตัวกลางใดเลยในการนำ
ความร้อนหรือพาความร้อนความร้อนจะถ่ายโอนมายังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าได้หรือไม่ เช่น ในอวกาศ
ระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ บางช่วงไม่มีตัวกลาง ไม่มีอากาศ โลกของเราได้รับพลังงานความร้อนจากดวง
อาทติ ย์ไดอ้ ย่างไร เพ่ือเช่ือมโยงเขา้ สู่กจิ กรรมท่ี 3 การถ่ายโอนความร้อนโดยไม่อาศัยตัวกลางเปน็ อย่างไร
ตอ่ ไป

5. ขั้นการบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันสบื คน้ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั การถา่ ยโอนความร้อนโดยไมอ่ าศยั ตวั กลาง พรอ้ มทั้งระบุ

แหล่งท่ีมาของข้อมูลครูแนะนำตัวอย่างแหล่งสืบค้นข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ เช่น หนังสือ วีดิทัศน์ เว็บไซต์ของ
หนว่ ยงานราชการ

5.2 ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเพ่อื ใหไ้ ด้ข้อสรุปว่าการแผ่รงั สคี วามรอ้ นเป็นการถา่ ยโอน
ความรอ้ นโดยไมต่ อ้ งอาศยั ตวั กลางทเ่ี ป็นอนุภาคของสสาร แตค่ วามรอ้ นถ่ายโอนโดยแผ่รงั สอี นิ ฟราเรด
ซง่ึ เป็นคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า

12. สอื่ การเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้ 2) หนังสือแบบเรยี น 3) สือ่ เพาเวอรพ์ อยต์
12.1 สื่อการเรียนรู้ 2) ห้องสมดุ
1) ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์
12.2แหล่งเรยี นรู้
1) อินเตอร์เนต็

43

13. บนั ทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้ รายละเอียด
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................
- การถ่ายโอนความรอ้ นของของเหลวและแกส๊ ......................................................................................
- การถา่ ยโอนความรอ้ นโดยไม่อาศยั ตวั กลาง ................................................................................
......................................................................................
2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการคดิ ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................
อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................
- มีวนิ ยั ......................................................................................
- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วธิ ีแก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

44

ลงช่ือ........................................ครผู ู้สอน ลงชือ่ ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น.์ .) (นายสุรจกั ริ์ แก้วม่วง.)

ลงช่อื ........................................... ลงชือ่ ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน.์ .) (..นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ..)

หวั หน้างานนเิ ทศ หวั หน้ากล่มุ บรหิ ารวชิ าการ

ลงช่ือ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

45

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่……2……. พลงั งานความรอ้ น……..….เรือ่ ง………...สมดุลความร้อน ..........................
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้............วทิ ยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...7..ช่วั โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพืน้ ฐานมที ้ังมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั

รายวิชาเพิม่ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

ว 2.3 ม.1/5

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้วี ัดทใี่ ช้ในหนว่ ยการเรยี นรู้นี้เขยี นเป็นแบบความเรยี ง)

ความร้อนถ่ายโอนจากสสารที่มีอุณหภูมิสงู กว่าไปยงั สสารที่มีอุณหภูมติ ่ำกว่าจนกระทัง่ อณุ หภูมิของ

สสารทั้งสองเท่ากันสภาพที่สสารทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน เรียกว่า สมดุลความร้อน เมื่อมีการถ่ายโอนความ

ร้อนระหว่างสสารซ่ึงมีอุณหภูมิต่างกันจนเกิดสมดุลความร้อน ปริมาณความร้อนที่สสารหนึ่งได้รับจะเท่ากับ

ปริมาณความร้อนท่ีอีกสสารหน่ึงสูญเสียความรู้เก่ียวกับการถ่ายโอนความร้อนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ใน

ชวี ิตประจำวันหรือใช้ในการอธบิ ายปรากฏการณ์ท่เี กิดขน้ึ ตามธรรมชาติได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ (รายวิชาเพมิ่ เตมิ )

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

• ความรอ้ นถา่ ยโอนจากสสารที่มีอุณหภมู สิ งู กวา่ ไปยังสสารทมี่ อี ุณหภมู ติ ่ำกวา่ จนกระทงั่ อณุ หภมู ิของ

สสารทัง้ สองเทา่ กัน สภาพท่ีสสารทงั้ สองมีอณุ หภูมเิ ทา่ กัน เรียกว่า สมดลุ ความร้อน

• เมอ่ื มกี ารถา่ ยโอนความรอ้ นจากสสารทม่ี อี ุณหภูมิตา่ งกนั จนเกิดสมดุลความร้อนความรอ้ นที่เพม่ิ ขึ้น

ของสสารหน่ึงจะเท่ากับความร้อนที่ลดลงของอกี สสารหนึ่ง ซง่ึ เปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์พลงั งาน

3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวิชาพดู ถงึ หลกั สูตรท้องถน่ิ ให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นรู้น)ี้

 1. ความสามารถในการสอื่ สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรียนรนู้ )้ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซ่ือสตั ย์สุจรติ

 3. มีวนิ ยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้

46

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

6. ดา้ นคุณลกั ษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทกั ษะด้านการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการสอื่ สาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ให้นักเรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบัติ , นกั เรียนเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่งิ ทเ่ี รียนรู้

3. หลกั ภมู ิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นร้จู ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีท่ีสุด , มวี ินยั ในการ

ทำงาน

47

9. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชีว้ ัด ชิน้ งาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/5 - รายงานกจิ กรรมที่ 4 นำ้ อณุ หภมู ิ -วเิ คราะหส์ ถานการณก์ ารถ่ายโอนความ
รอ้ นและคำนวณปริมาณความร้อนทถ่ี า่ ย
ตา่ งกนั ผสมกนั จะเป็นอยา่ งไร โอนระหว่างสสารจนเกิดสมดลุ ความรอ้ น
โดยใชส้ มการ Qสูญเสีย = Qได้รบั

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวัดและประเมนิ ผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เคร่ืองมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

10.2การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง

หนว่ ยการเรยี นรนู้ ี)้

สิ่งท่ตี อ้ งการวดั วิธวี ดั ผล เคร่อื งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ความร้เู กยี่ วกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
ความคิดเหน็ อธบิ าย อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนข้ึนไป
- สมดุลความร้อน เกยี่ วกับสมดลุ ความ คิดเหน็ หรือรอ้ ยละ 80
- การคำนวณปริมาณความร้อนท่ี ร้อน - แบบประเมนิ การ ถือว่าผา่ นเกณฑ์
ถ่ายโอนระหวา่ งสสารจนเกดิ -การตรวจผลงาน ตรวจผลงานผูเ้ รียน - นกั เรียนไดค้ ะแนน
สมดลุ ความรอ้ นโดยใช้สมการ นักเรยี น ประเมินผลงาน
13 คะแนนขน้ึ ไป
Qสญู เสีย = Qได้รบั หรือร้อยละ 80
ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นไดค้ ะแนน

48

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเหน็ ระบุ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนข้นึ ไป
หรือร้อยละ 80 ถอื วา่
ทักษะกระบวน คิดเห็น ผา่ นเกณฑ์

การทางวิทยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมนิ - นกั เรียนได้คะแนน
ประเมนิ คณุ ลักษณะ
ได้ปฏบิ ัติจากกิจกรรม พฤติกรรมการ อันพงึ ประสงค์
26 คะแนนข้ึนไป
- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลมุ่ หรอื รอ้ ยละ 80
ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
ทำงานกลุ่ม - นกั เรียนไดค้ ะแนน
การประเมินสมรรถนะ
3. คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมนิ 29 คะแนนขนึ้ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ คณุ ลักษณะอันพึง ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

- มีวินัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์

- นักเรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลมุ่ - แบบประเมิน

ของการทำงานร่วมกับผู้อืน่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น

การทำงานในระบบกล่มุ คดิ เหน็ เก่ียวกับผลการ

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซึ่งกนั ทดลอง

และกนั มคี วามเสยี สละและ

อดทน

11. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชว่ั โมงท่ี 1
1. ขัน้ ตั้งประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ใชภ้ าพในหนงั สอื เรยี น และถามคาถามสรา้ งความสนใจ เพอ่ื อภปิ รายวา่ ใชอ้ ุปกรณ์ใดในการวดั

อุณหภมู ขิ องรา่ งกายและมวี ธิ กี ารวดั อยา่ งไร จงึ จะทราบผลวา่ อุณหภมู ขิ องรา่ งกายเป็นเท่าใด (การวดั
อณุ หภูมิ
ร่างกายโดยใชเ้ ทอรม์ อมเิ ตอรว์ ดั ไขอ้ าจใชก้ ารอมในปาก หรอื สอดใตร้ กั แร้ เป็นระยะเวลาหน่งึ เพ่อื ให้
เทอรม์ อมเิ ตอรแ์ ละร่างกายเกดิ สมดุลความรอ้ นซงึ่ อณุ หภมู ทิ อ่ี า่ นไดจ้ ะมคี า่ คงทค่ี า่ หน่ึง)

1.2 ใหน้ ักเรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรูก้ อ่ นเรียน เพอื่ ประเมินความรูพ้ นื้ ฐาน เกีย่ วกบั ปจั จัยท่มี ผี ลต่อ
ปริมาณความร้อนท่ที ำให้สสารเปลีย่ นสถานะและเปลย่ี นอณุ หภมู ิ หากครพู บวา่ นกั เรยี นยังมีความรพู้ ้ืนฐานไม่
ถกู ต้อง ครูควรทบทวนหรือแกไ้ ขความเข้าใจผิดเพ่ือใหน้ กั เรียนมคี วามรู้พื้นฐานเพียงพอในการเรียนตอ่ ไป

1.3 ต้ังคำถามใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั ว่าเมือ่ มกี ารถา่ ยโอนความร้อนระหว่างนำ้ ที่มีอณุ หภมู ติ ่างกัน
อณุ หภมู ิของน้ำทงั้ สองจะเปลี่ยนแปลงไปจนกระท่ังเป็นอย่างไร เพื่อเช่ือมโยงเขา้ สู่กิจกรรมท่ี 4 น้ำอุณหภูมิ
ตา่ งกนั ผสมกันจะเป็นอย่างไร

ช่วั โมงที่ 2-3

49

2. ขนั้ สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ใหน้ ักเรียนอ่านวธิ ีดำเนินกจิ กรรม จากนนั้ ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภิปรายจดุ ประสงคแ์ ละวิธดี ำเนนิ

กจิ กรรมโดยอาจใช้คำถามดงั น้ี
• กจิ กรรมนเี้ กี่ยวกบั เรือ่ งอะไร (เรอื่ งการถ่ายโอนความร้อนระหว่างน้ำทมี่ ีอณุ หภูมิต่างกนั )
• การทำกจิ กรรมมขี ัน้ ตอนโดยสรปุ อย่างไร (เทนำ้ เย็น 25 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในแคลอรมี เิ ตอร์ แลว้

วัดและบนั ทกึ อุณหภมู ิเรม่ิ ตน้ วดั และบนั ทึกอุณหภมู ิน้ำรอ้ น 25 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร ทบ่ี รรจใุ นแกว้ แลว้ เทนำ้
รอ้ นลงในแคลอรีมเิ ตอรป์ ดิ ฝาใหแ้ นน่ จากนัน้ วัดอุณหภมู ิของน้ำทกุ ๆ 10 วนิ าที เปน็ เวลา 2 นาที เขียนกราฟ
แสดงความสมั พันธ์ระหว่างอุณหภูมิของนำ้ กับเวลา หลงั จากนน้ั ทำกจิ กรรมทั้งหมดซ้ำอกี ครง้ั โดยเปลีย่ น
อุณหภมู ิของนำ้ ให้ต่างจากเดมิ )

2.2 เปดิ โอกาสให้นกั เรียนซกั ถามเกย่ี วกับขนั้ ตอนการทำกจิ กรรมทีน่ ักเรียนยงั ไม่เขา้ ใจ จากนั้นครแู ละ
นกั เรียนร่วมอภปิ รายเพอ่ื แกไ้ ขส่งิ ทน่ี กั เรยี นยังไมเ่ ขา้ ใจ เนน้ ย้ำเกยี่ วกบั วิธีการบันทึกผล

2.3 ใหน้ ักเรียนแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ 4 - 5 คน เพ่อื ทำกิจกรรมท่ี 4
2.4 ใหน้ กั เรยี นนาผลจากการทากจิ กรรมมาอภปิ รายร่วมกนั และตอบคาถามทา้ ยกจิ กรรม
2.5 ครแู ละนักเรยี นอภปิ รายร่วมกันเพอื่ ให้ไดข้ อ้ สรปุ วา่ เมอ่ื ผสมสสารท่มี อี ุณหภมู ติ ่างกนั สสารจะมีการ
ถา่ ยโอนความร้อนจนกระทงั่ สมดุลความรอ้ น ซึ่งอณุ หภูมิของสสารท้ังสองจะเทา่ กัน
2.6 นกั เรยี นอา่ นและอภิปรายวธิ กี ารคำนวณปรมิ าณความร้อนของสสารท่ถี า่ ยโอนในขณะสมดลุ ความ
ร้อน เพื่อให้ได้ขอ้ สรุปวา่ ในขณะสมดลุ ความร้อน ปรมิ าณความร้อนท่สี สารหน่งึ สญู เสียไปจะเท่ากับปริมาณ
ความร้อนท่อี กี สสารหนึ่งไดร้ ับหรือเขียนอธบิ ายโดยใชค้ วามสมั พันธ์ Q สญู เสยี = Q ได้รบั
2.7 รว่ มกันอภปิ รายเพ่ือศกึ ษาวธิ ีการคำนวณหาสมดุลความร้อนของสสาร และปริมาณอืน่ ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
โดยครใู ห้นกั เรียนอา่ นทำความเขา้ ใจโจทย์ตวั อยา่ งในหนงั สอื เรียนทีละข้อ เพื่อใหน้ กั เรียนเข้าใจแนวทางในการ
วิเคราะหแ์ ละวธิ กี ารหาคำตอบ
2.8 ใหน้ กั เรียนตอบคำถามระหวา่ งเรยี นและคำถามชวนคดิ แสดงวิธกี ารคำนวณเพ่อื ตรวจสอบความ
เขา้ ใจ จากนัน้ นักเรยี นอภปิ รายและนำเสนอวธิ กี ารคำนวณ
3. ขัน้ สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ใหน้ กั เรยี นร่วมกันสรปุ บทเรียนเรื่องการถ่ายโอนความร้อน จากน้ันนักเรียนทำกิจกรรม
ตรวจสอบตนเอง เพ่อื สรุปองค์ความรู้ทีไ่ ด้จากบทเรียน โดยการเขยี นบรรยาย วาดภาพ หรอื เขยี นผังมโนทศั น์
ส่งิ ทไ่ี ดเ้ รยี นร้จู ากบทเรียนเรอ่ื งการถ่ายโอนความรอ้ น

3.2 นำเสนอผงั มโนทศั น์ โดยอาจใหน้ กั เรยี นนำเสนอและอภิปรายภายในกลมุ่ หรืออภิปรายรว่ มกัน
ในช้ันเรียน หรอื ตดิ แสดงผลงานบนผนงั หอ้ งเรียน แล้วใหน้ ักเรยี นทกุ คนรว่ มแสดงความคิดเหน็ โดยอาจเขียน
ข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็นลงในกระดาษแผน่ เลก็ ติดไว้ จากน้ันครูและนักเรยี นอภิปรายสรุปองคค์ วามรทู้ ่ีได้
จากบทเรียนรว่ มกัน

50

ช่วั โมงที่ 4-7

4. ขน้ั การส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ครใู หน้ กั เรยี น สร้างตู้ขนสง่ สินคา้ กันความรอ้ นได้อย่างไร

4.2 ครูใช้เวลาในชั้นเรียนเพ่ืออภิปรายและช่วยหาแนวทางในการออกแบบชิ้นงานร่วมกับนักเรียน

แลว้ ให้นักเรียนสร้างและทดสอบชิ้นงานนอกเวลาเรียน จากน้ันจงึ นำผลการทดสอบท่ีได้มาอภิปรายรว่ มกันใน

หอ้ งเรียนต่อไป

5. ขน้ั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลและนำความรู้เกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนมาใช้ในการสร้าง

ชิน้ งานอย่างไรบา้ ง

5.2 ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั เปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพตขู้ นสง่ สนิ คา้ กนั ความรอ้ นของกล่มุ ตนเอง

กบั กลุม่ อน่ื ๆ ใหม้ คี วามน่าเช่อื ถอื ทางวทิ ยาศาสตรต์ อ้ งควบคมุ ปัจจยั ใดบา้ ง

12. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1สอ่ื การเรียนรู้

1) ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สอื แบบเรยี น 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

12.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมดุ

13. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ รายละเอียด
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- สมดลุ ความร้อน ......................................................................................
- การคำนวณปรมิ าณความรอ้ นทถ่ี า่ ยโอนระ ................................................................................
หว่างสสารจนเกดิ สมดุลความร้อนโดยใชส้ มการ ......................................................................................
......................................................................................
Qสูญเสีย = Qได้รับ ......................................................................................
......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

51

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................
อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................
- มีวนิ ัย ......................................................................................
- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธีแกป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รตั น.์ .) (นายสรุ จักร์ิ แกว้ ม่วง.)

ลงช่ือ........................................... ลงช่อื ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน์..) (..นายศิวาวุฒิ รัตนะ..)

หวั หนา้ งานนเิ ทศ หวั หนา้ กลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงช่อื ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

52

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี…3…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรอ่ื ง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนที่
1)....
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี....1.....
กลุ่มสาระการเรียนร้.ู ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...3..ชัว่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชี้วดั
รายวชิ าเพ่ิมเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด
ว 3.2 ม.1/1

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้ีวัดที่ใช้ในหน่วยการเรยี นรู้นีเ้ ขียนเปน็ แบบความเรียง)
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกเราน้ันมีการเปล่ียนแปลงและพัฒนาต้ังแต่เริ่มกำเนิดโลกจนกระท่ังปัจจบุ ัน

บรรยากาศส่งผลต่อการดำรงชีวติ ของมนษุ ย์และส่ิงแวดล้อม บรรยากาศมีสมบัติและองค์ประกอบแตกต่างกัน
ไปตามระดับความสูงจากผิวโลก นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิตามความสูง แบ่ง
บรรยากาศเปน็ 5 ชั้น ได้แก่ ช้นั โทรโพสเฟียร์ช้ันสตราโตสเฟยี ร์ ช้ันมีโซสเฟียร์ ชั้นเทอร์โมสเฟียร์ และช้ันเอก
โซสเฟียร์ ด้วยสมบัติและองค์ประกอบ ทำให้บรรยากาศแต่ละชั้นเกิดปรากฏการณ์และส่งผลต่อมนุษย์และ
สง่ิ แวดลอ้ มแตกต่างกัน
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรูเ้ พม่ิ เตมิ (รายวิชาเพ่มิ เตมิ )
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• โลกมีบรรยากาศหอ่ หมุ้ นกั วิทยาศาสตรใ์ ช้สมบัติและองค์ประกอบของบรรยากาศในการแบ่ง

บรรยากาศของโลกออกเป็นช้นั ซงึ่ แบ่งได้หลายรปู แบบ
ตามเกณฑ์ท่ีแตกต่างกนั โดยท่วั ไปนกั วทิ ยาศาสตรใ์ ชเ้ กณฑก์ ารเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิตามความสูงแบง่
บรรยากาศได้เป็น 5 ช้นั ได้แก่ ช้นั โทรโพสเฟียร์ ชั้นสตราโตสเฟียร์ ชั้นมีโซสเฟยี ร์
ชั้นเทอร์โมสเฟยี ร์ และชน้ั เอกโซสเฟยี ร์

• บรรยากาศแตล่ ะชัน้ มปี ระโยชนต์ ่อสิง่ มชี วี ติ แตกตา่ งกนั โดยชนั้ โทรโพสเฟยี รม์ ปี รากฏการณ์ ลมฟ้า
อากาศท่ีสำคัญตอ่ การดำรงชีวิตของสิง่ มีชีวิต ช้นั สตราโตสเฟียร์ชว่ ยดูดกลนื รังสอี ลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์
ไมใ่ ห้มายังโลกมากเกนิ ไปช้ันมีโซสเฟียรช์ ่วยชะลอวตั ถนุ อกโลกทผ่ี า่ นเข้ามา ใหเ้ กดิ การเผาไหม้กลายเปน็ วัตถุ
ขนาดเลก็ ลดโอกาสท่จี ะทำความเสยี หายแก่สิ่งมีชีวิตบนโลก ชั้นเทอรโ์ มสเฟยี ร์สามารถสะทอ้ นคลื่นวิทยุ และ
ชั้นเอกโซสเฟยี ร์เหมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับต่ำ

53

3.2 สาระการเรียนร้ทู ้องถน่ิ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลักสูตรทอ้ งถ่นิ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (เลือกเฉพาะขอ้ ทีเ่ กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้ี)

 1. ความสามารถในการสอื่ สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทเี่ กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ )ี้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ

 3. มีวนิ ัย  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งม่นั ในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รับผิดชอบต่อสงั คมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเป็นทีมและภาวะผ้นู ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและร้เู ท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

54

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ให้นกั เรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทักษะการปฏิบตั ิ , นักเรยี นเกิดความ
ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่งิ ทีเ่ รียนรู้

3. หลักภมู ิคมุ้ กัน : ให้นักเรียนเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จกั การวาง
แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุม่ ไดเ้ หมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั
5. เงอื่ นไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมคี วามขยันทจี่ ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีท่ีสดุ , มีวินัยในการ
ทำงาน

9. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชี้วัด ชนิ้ งาน ภาระงาน
- สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธบิ ายการแบง่ ช้นั
ว.3.2ม.1/1 - รายงานกิจกรรมท่ี 1 บรรยากาศของ บรรยากาศของโลกและอธิบายประโยชน์
ของช้นั บรรยากาศแตล่ ะชนั้
โลกเปน็ อย่างไร

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวดั และประเมินผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบตั ิ

เครือ่ งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไมผ่ ่าน

10.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรูข้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

สิ่งทีต่ ้องการวดั วธิ ีวัดผล เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ
1. ความรู้เกย่ี วกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นกั เรยี นไดค้ ะแนน
ความคิดเหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป
- การแบ่งชนั้ บรรยากาศของโลก เก่ยี วกบั การแบง่ ชัน้ คดิ เห็น หรอื ร้อยละ 80
- ประโยชนข์ องชั้นบรรยากาศแต่
55

ละชนั้ บรรยากาศของโลก - แบบประเมินการ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
ประโยชน์ของชนั้ ตรวจผลงานผู้เรยี น - นกั เรยี นได้คะแนน

บรรยากาศแต่ละชัน้ ประเมนิ ผลงาน
-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป
นกั เรยี น หรอื รอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรียนไดค้ ะแนน

ทักษะกระบวนการกลุม่ ความคิดเห็นระบุ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป

ทกั ษะกระบวน คดิ เหน็ หรือร้อยละ 80 ถอื ว่า

การทางวทิ ยาศาสตร์ที่ - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์

ไดป้ ฏบิ ัติจากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลมุ่

ทำงานกลุ่ม

3. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานร่วมกับผู้อื่น คุณลกั ษณะอันพงึ ประเมินคุณลกั ษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นกั เรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลมุ่ - แบบประเมิน 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานร่วมกบั ผู้อื่นและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผ้เู รียน หรือรอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลมุ่ คิดเหน็ เกย่ี วกบั ผลการ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเห็นซึง่ กัน ทดลอง - นักเรียนได้คะแนน

และกันมคี วามเสียสละและ การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขน้ึ ไป

หรือร้อยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

11. กิจกรรมการเรยี นรู้

ชว่ั โมงที่ 1

1. ขัน้ ตง้ั ประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูตงั้ ประเดน็ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ยกตวั อย่างและอภปิ รายดงั น้ี

• จากขอ้ มูลขา่ วสาร หรอื ประสบการณ์ตรงของนกั เรยี นพบขอ้ มูลเกย่ี วกบั สถานการณ์ทาง

ธรรมชาตเิ กี่ยวกับลมฟ้าอากาศที่ผดิ ปกติอย่างไรบา้ ง (นักเรียนตอบไดโ้ ดยอิสระ เช่น อากาศร้อนจดั

พายุฤดูรอ้ น ลกู เหบ็ ตก)

56

• สถานการณ์ดังกลา่ วสง่ ผลกระทบตอ่ ชีวติ และทรัพยส์ นิ อยา่ งไรบา้ ง (นกั เรยี นตอบได้โดยอิสระ เช่น
หลงั คาบา้ นปลิว รถยนต์เสยี หาย ความเจบ็ ปว่ ยหรือไดร้ บั บาดเจบ็ )

1.2 ให้นกั เรียนดูภาพนำหนว่ ย คอื ภาพเฮอรเิ คนแคทรนี าซง่ึ เปน็ พายุทม่ี ีความรนุ แรงมากทสี่ ดุ ลูกหนึ่งใน
ประวัติศาสตรข์ องประเทศสหรฐั อเมรกิ า และสร้างความเสยี หายนับเปน็ มูลค่าถึง นับแสนล้านดอลล่าห์ เกดิ ขน้ึ
ระหว่างวนั ที่ 23-31 สิงหาคม 2548

1.3 ใช้คำถามตอ่ ไปนี้
• ปจั จัยใดบ้างส่งผลใหเ้ กดิ สภาพลมฟ้าอากาศในพ้ืนทีน่ นั้ ๆ (องค์ประกอบของลมฟา้ อากาศ

เปล่ยี นแปลง สภาพลมฟา้ อากาศเปลี่ยนแปลง)
• องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศมีอะไรบา้ ง(อณุ หภมู ิ ความชื้น ความกดอากาศ ลม เมฆ และ

หยาดนำ้ ฟ้า)
1.4 ทำกิจกรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรียน แลว้ นำเสนอผลการทำกจิ กรรม หากครูพบว่านกั เรียน

ยงั ทำกิจกรรมทบทวนความรกู้ อ่ นเรียนไม่ถกู ตอ้ งครคู วรทบทวนหรอื แก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรยี น
เพอื่ ให้นกั เรยี นมีความรพู้ น้ื ฐานที่ถกู ต้องและเพยี งพอท่ีจะเรียนเรื่องบรรยากาศต่อไป
ชวั่ โมงที่ 2
2. ขน้ั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ใหน้ ักเรยี นอา่ นเนอ้ื หาในชุดกจิ กรรมและตอบคำถามเกย่ี วกับ การเกิดบรรยากาศของโลก ตง้ั แต่
เริ่มต้นจนถงึ ปจั จุบันจากนั้นครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายสรุปเก่ยี วกับการเกดิ บรรยากาศของโลก เพ่อื ใหไ้ ด้
ข้อสรุปว่า เมื่อโลกเกดิ ขึ้นในชว่ งแรกไม่มบี รรยากาศหอ่ หุม้ บรรยากาศของโลกมีการเปล่ียนแปลงตั้งแตอ่ ดตี
จนถึงปัจจบุ ัน โดยมเี หตกุ ารณต์ ่าง ๆเข้ามาเก่ียวข้อง บรรยากาศของโลกในปัจจุบนั เหมาะสมตอ่ การดำรงชวี ิต
ของมนษุ ย์

2.2 นำเขา้ ส่กู ิจกรรมที่ 1 บรรยากาศของโลกเป็นอย่างไร โดยตงั้ คำถามสรา้ งความสนใจวา่ บรรยากาศท่ี
หอ่ หุ้มโลกมีลักษณะและสมบตั เิ หมือนกนั โดยตลอดตั้งแตร่ ะดบั ผิวโลกจนถึงอวกาศหรือไม่ อย่างไร

2.3 ใหน้ กั เรียนอา่ นวิธีดำเนนิ กจิ กรรมในหนงั สอื เรยี น และร่วมกันอภปิ รายในประเดน็ ดังต่อไปน้ี
• กิจกรรมน้ีเกี่ยวกบั เร่อื งอะไร (บรรยากาศของโลก)
• กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วธิ ีดำเนินกจิ กรรมมขี ัน้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (อา่ นขอ้ มลู สมบตั ิและองคป์ ระกอบของบรรยากาศ

จากตาราง จากนัน้ สรา้ งแบบจำลองชน้ั บรรยากาศของโลกตามเกณฑข์ องตนเองและนำเสนอ รวบรวมข้อมลู
การแบง่ ชั้นบรรยากาศตามเกณฑข์ องนักวิทยาศาสตร์ และเปรยี บเทยี บกบั เกณฑท์ ี่ตนเองสร้างขึ้น)

2.4 ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ เสนอแบบจาลองชนั้ บรรยากาศ โดยนาผลงานตดิ แสดงไวร้ อบหอ้ งเรยี น
นักเรยี นทุกคนร่วมชมผลงาน

2.5 นักเรียนสืบค้นขอ้ มลู การแบ่งชั้นบรรยากาศตามเกณฑ์ของนกั วิทยาศาสตร์ จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีเชื่อถือ
ได้ เช่น เวบ็ ไซต์หรือหนงั สอื จากหน่วยงานของรฐั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง และอภิปรายภายในกลมุ่ เพื่อเปรียบเทียบการแบ่ง

57

ชน้ั บรรยากาศตามเกณฑ์ของนักวทิ ยาศาสตร์ และเกณฑข์ องตนเอง โดยใหเ้ ขยี นผลการอภปิ รายบนผลงาน
แบบจำลองชั้นบรรยากาศทน่ี กั เรียนได้ตดิ แสดงไวร้ อบหอ้ งเรียน

ชั่วโมงท่ี 3

3. ข้นั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นักเรียนตอบคำถามท้ายกจิ กรรม จากนัน้ นำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพือ่ ให้ไดข้ อ้ สรุป

ว่า ในแต่ละระดับความสูง บรรยากาศมีสมบตั แิ ละองค์ประกอบแตกต่างกันไป การแบ่งชัน้ บรรยากาศมหี ลาย

เกณฑ์ โดยทั่วไปนกั วทิ ยาศาสตร์ใชก้ ารเปล่ยี นแปลงอณุ หภมู ิตามความสูงในการแบง่ ชั้นบรรยากาศ

4. ขั้นการสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายและสรุปสงิ่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรปุ วา่ โลกของเรามบี รรยากาศ

หอ่ หมุ้ บรรยากาศท่หี ่อหุม้ โลกมีสมบตั แิ ละองคป์ ระกอบแตกตา่ งกนั ไปตามความสงู จากพ้ืนโลก

นักวิทยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์ต่าง ๆ ในการแบง่ ชัน้ บรรยากาศของโลก โดยท่ัวไปนกั วิทยาศาสตร์ใชก้ าร

เปล่ยี นแปลงอณุ หภมู ติ ามความสงู ในการแบง่ ชั้นบรรยากาศ ได้แก่ ชัน้ โทรโพสเฟียร์ สตราโตสเฟียร์ มโี ซสเฟียร์

เทอร์โมสเฟยี ร์ และเอกโซสเฟยี ร์ บรรยากาศแต่ละชั้นมปี ระโยชน์ต่อมนุษยแ์ ละส่ิงแวดล้อมในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่

เกิดฝน ปอ้ งกนั รงั สีอลั ตราไวโอเลต เผาไหม้อุกกาบาต สะท้อนคล่นื วิทยุ บรรยากาศของโลกจึงมคี วาม

เหมาะสมและเอือ้ ต่อการดำรงชวี ิตของสงิ่ มีชีวิต

5. ขน้ั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ให้นักเรียนสบื ค้นข้อมลู เพิม่ เติมเกย่ี วกับประโยชน์ของชั้นบรรยากาศจากแหลง่ ข้อมลู ท่ีเชื่อถือได้

หรือหนังสือเรียน จากน้ันตอบคำถามระหว่างเรียน และทำกิจกรรมเสริม แบบจำลองชั้นบรรยากาศของ

นักเรียนเป็นอย่างไร โดยให้นักเรียนสร้างแบบจำลองที่แสดงสมบัติ องค์ประกอบ และประโยชน์ของชั้น

บรรยากาศแต่ละชั้น

12. สอื่ การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1สอื่ การเรียนรู้

1) ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรยี น 3) สอ่ื เพาเวอร์พอยต์

12.2แหล่งเรยี นรู้

1) อนิ เตอร์เน็ต 2) ห้องสมดุ

13. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้ รายละเอียด
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การแบ่งชนั้ บรรยากาศของโลก
- ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศแตล่ ะชนั้

58

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ......................................................................................
อันพึงประสงค์ : ......................................................................................
- มวี ินัย ......................................................................................
- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วธิ ีแกป้ ัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู สู้ อน ลงชอื่ ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น.์ .) (นายสุรจกั ริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงช่ือ........................................... ลงชื่อ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น.์ .) (..นายศวิ าวฒุ ิ รตั นะ..)

หัวหนา้ งานนิเทศ หวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ

59

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9

หน่วยการเรยี นรู้ที่…3…กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ…….เรอ่ื ง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนที่
2)....
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรยี นร้.ู ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...2..ชว่ั โมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพื้นฐานมีทัง้ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั

รายวชิ าเพิม่ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั

ว 3.2 ม.1/2

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรูน้ ้ีเขียนเปน็ แบบความเรียง)

มนุษยด์ ำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศช้ันโทรโพสเฟยี รซ์ ง่ึ เกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เชน่ ลม เมฆ

ฝน ฟ้าแลบ ฟ้ารอ้ งองคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศ

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เติม (รายวชิ าเพม่ิ เตมิ )

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

• ลมฟา้ อากาศ เปน็ สภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของพืน้ ทห่ี นึ่งท่มี ีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา

ข้ึนอย่กู ับองค์ประกอบลมฟา้ อากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมอิ ากาศ ความกดอากาศ ลม ความชืน้ เมฆ และหยาดน้ำฟา้

โดยหยาดน้ำฟ้าทพ่ี บบอ่ ยในประเทศไทยไดแ้ ก่ ฝน องคป์ ระกอบ

ลมฟ้าอากาศเปล่ียนแปลงตลอดเวลาขน้ึ อยกู่ ับปัจจยั ตา่ ง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทติ ย์และลักษณะ

พน้ื ผิวโลกส่งผลต่ออุณหภมู อิ ากาศ อุณหภูมอิ ากาศและปริมาณไอน้ำสง่ ผลตอ่ ความช้ืน ความกดอากาศสง่ ผล

ตอ่ ลม ความช้นื และลมส่งผลตอ่ เมฆ

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพดู ถงึ หลักสูตรทอ้ งถน่ิ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

 60

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้)ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่ือสัตย์สจุ รติ

 3. มวี นิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ

6. ด้านคณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

 ทกั ษะด้านการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเป็นทีมและภาวะผ้นู ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและร้เู ทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

8. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตผุ ล : ให้นักเรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ัติ , นกั เรยี นเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่ิงที่เรยี นรู้

3. หลกั ภูมิคุม้ กัน : ใหน้ ักเรยี นเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมอื ทำอย่างระมัดระวงั

5. เง่ือนไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยันทจ่ี ะทำงานให้ออกมาไดด้ ที ส่ี ดุ , มวี นิ ยั ในการ

ทำงาน

61

9. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ช้วี ัด ช้ินงาน ภาระงาน

ว.3.2ม.1/2 - รายงานกิจกรรมท่ี 2 อณุ หภูมิอากาศ - วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่
การเปลย่ี นแปลงองคป์ ระกอบของลม
เปล่ยี นแปลงอย่างไร ฟ้า
อากาศ

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวดั และประเมนิ ผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ชี้ 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบตั ิ

เคร่อื งมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ ่าน

10.2การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ )้ี

สิ่งทตี่ ้องการวัด วิธวี ัดผล เครือ่ งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน
1. ความรู้เกี่ยวกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
ความคดิ เหน็ อธิบาย อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป
- ปัจจยั ที่มีผลต่อการเปลี่ยน เก่ยี วกับปจั จัยทมี่ ผี ล คดิ เห็น หรอื ร้อยละ 80
แปลงองคป์ ระกอบของลมฟ้า ต่อการเปล่ียนแปลง - แบบประเมินการ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
อากาศ องคป์ ระกอบของลมฟ้า ตรวจผลงานผูเ้ รียน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน
อากาศ ประเมนิ ผลงาน
-การตรวจผลงาน 13 คะแนนขน้ึ ไป
นักเรียน หรอื ร้อยละ 80

62

ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรียนได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนข้ึนไป

ทกั ษะกระบวน คิดเหน็ หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ได้ปฏบิ ตั จิ ากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลุ่ม

3. คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นักเรียนไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืน คุณลักษณะอันพึง ประเมนิ คุณลกั ษณะ

- มวี นิ ัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- นักเรยี นเหน็ ความสำคญั ระบบกล่มุ - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานรว่ มกับผู้อืน่ และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รียน หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุม่ คิดเหน็ เกยี่ วกบั ผลการ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเห็นซ่งึ กัน ทดลอง - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และกนั มคี วามเสยี สละและ การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขึ้นไป

หรือร้อยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

11. กิจกรรมการเรยี นรู้

ชวั่ โมงที่ 1

1. ขนั้ ตงั้ ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ทบทวนความรู้ เกย่ี วกบั องคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศทท่ี าใหส้ ภาพลมฟ้าอากาศเปลย่ี นแปลง

ว่ามอี ะไรบา้ ง (อณุ หภมู อิ ากาศ ความชน้ื อากาศความกดอากาศ ลม เมฆ และฝน)

1.2 กระต้นุ ความสนใจนกั เรียนต่อการเรียนเก่ียวกับองคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศ องค์ประกอบแรก

คอื อณุ หภูมิ โดยใชภ้ าพ วีดิทศั น์ หรือเรอื่ งราวทนี่ ่าสนใจเกย่ี วกับอุณหภมู ิอากาศ เชน่ การถาม คำถามวา่ ใน

รอบ 1 วันอุณหภมู ิอากาศมีคา่ แตกต่างกนั ไดม้ ากทส่ี ดุ เท่าใด

1.3 ใหน้ กั เรยี นดูภาพนำเรื่อง อา่ นเนือ้ หานำเรือ่ งและรจู้ ักคำสำคัญ โดยครอู าจจะใช้คำถามดังน้ี

• จากสถติ ิโลกอณุ หภูมิอากาศทีแ่ ตกตา่ งกนั มากที่สดุ ในรอบวันมคี า่ เท่าใด (จากสถิตโิ ลกพบวา่ วันที่

อณุ หภมู ิอากาศ ในรอบวนั ที่มีคา่ แตกต่างกนั มากท่ีสดุ เกดิ ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2459 ณเมืองบราวนงิ่ รฐั มอนทานา

ประเทศสหรัฐอเมรกิ าโดยอุณหภูมิในรอบวันมีค่าแตกต่างกนั ถึง 56องศาเซลเซยี ส ในวันดงั กลา่ วอุณหภูมิ

อากาศสงู สุด มคี ่า 7 องศาเซลเซียส และอณุ หภูมิอากาศตำ่ สุดมีค่า -49 องศาเซลเซียส)

63

• นกั เรียนคดิ ว่าชว่ งไหนของวนั อณุ หภูมอิ ากาศสูงสดุ และต่ำสดุ เพราะเหตุใด (นักเรยี นตอบได้
โดยอิสระ)

1.4 ทำกิจกรรมทบทวนความร้กู ่อนเรยี น แลว้ นำเสนอผลการทำกิจกรรม หากครูพบวา่ นักเรยี น
ยังทำกจิ กรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถกู ต้องครคู วรทบทวนหรือแกไ้ ขความเขา้ ใจผิดของนักเรยี น
เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีความรพู้ น้ื ฐานทถ่ี กู ตอ้ งและเพยี งพอทีจ่ ะเรียนเรือ่ งอุณหภูมอิ ากาศต่อไป
ช่ัวโมงที่ 2
2. ขนั้ สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 นำเข้าสกู่ ารทำกจิ กรรมที่ 2 อุณหภูมิอากาศเปล่ยี นแปลงอย่างไร โดยต้งั คำถามกระตุ้นความสนใจวา่
จากสถิติโลกท่อี ุณหภูมอิ ากาศมคี ่าแตกต่างกันมากทส่ี ุดในรอบวนั ถึง 56 องศาเซลเซยี ส ซึ่งเป็นความผดิ ปกติ
ของการเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิอากาศ ดังนัน้ ในวนั ทอ่ี ุณหภูมอิ ากาศมีการเปลีย่ นแปลงแบบปกติ อุณหภูมิ
อากาศจะมกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งไรและมคี ่าแตกต่างกนั ประมาณเทา่ ใด

2.2 ใหน้ กั เรียนอ่านวธิ ดี ำเนนิ กิจกรรมในหนงั สือเรียน และรว่ มกันอภิปรายประเด็นดงั ต่อไปน้ี
• กิจกรรมนีเ้ ก่ยี วกบั เรื่องอะไร (การเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู อิ ากาศในรอบวัน)
• กจิ กรรมนี้มีจุดประสงคอ์ ะไร (ตรวจวดั อณุ หภูมิอากาศและวิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ

อากาศในรอบวนั )
• วิธดี ำเนินกจิ กรรมมีขัน้ ตอนโดยสรุปอยา่ งไร (อา่ นวิธีการใช้เทอร์มอมเิ ตอร์ และเทอรม์ อมเิ ตอร์รูป

ตัวยู วางแผนการตรวจวดั อณุ หภูมิอากาศ บนั ทึกลักษณะทางกายภาพของพนื้ ทที่ ีต่ รวจวัด วัดและบันทึก
อณุ หภูมิอากาศตามแผนทวี่ างไว้ นำข้อมูลมาเขียนกราฟเสน้ แสดงการเปล่ยี นแปลงอณุ หภูมิอากาศในช่วงเวลา
ตา่ ง ๆ)

• วัสดุและอุปกรณ์พเิ ศษท่ีใช้ในกจิ กรรมมีอะไรบา้ งและใชง้ านอยา่ งไร (เทอรม์ อมเิ ตอร์รูปตัวยซู ึง่ มี
วิธีการใชง้ านดงั แสดงในหนงั สอื เรยี น)

• ข้อควรระวังในการทำกจิ กรรมมีหรอื ไมอ่ ย่างไร (การใช้เทอรม์ อมเิ ตอรว์ ัดคา่ อณุ หภูมอิ ากาศไม่ควร
สมั ผัสกระเปาะเทอรม์ อมิเตอร์ และไมค่ วรให้กระเปาะเทอรม์ อมเิ ตอร์สมั ผัสแสงจากดวงอาทิตยโ์ ดยตรง)

2.3 ใหน้ ักเรียนศกึ ษาและอภปิ รายวธิ กี ารใชเ้ ทอร์มอมเิ ตอร์รปู ตัวยู โดยอา่ นขอ้ มูลในหนงั สือเรียน
2.4 ให้นักเรยี นรว่ มกนั วางแผนเพอ่ื เลอื กสถานทแ่ี ละเวลาทใ่ี ชใ้ นการวดั อุณหภมู อิ ากาศ รวมทงั้
ออกแบบวธิ กี ารบนั ทกึ ผลค่าอุณหภมู อิ ากาศทส่ี งั เกตได้
2.5 ใหน้ กั เรียนทำกจิ กรรมตามแผนทว่ี างไว้ ครูสังเกตและให้คำแนะนำเกี่ยวกบั การตรวจวดั อุณหภูมิ
อากาศของนักเรียนรวมท้งั การนำขอ้ มลู มาใช้ประกอบการอภปิ รายหลงั กิจกรรม
2.6 เนน้ ให้นกั เรียนเก็บขอ้ มลู ลกั ษณะทางกายภาพของพ้ืนทท่ี ่นี กั เรียนเลือกศึกษา เช่น ปรมิ าณแสงแดด
ความชน้ื แหลง่ น้ำ ปริมาณตน้ ไม้ การนำขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการตรวจวดั มาสร้างกราฟเส้นทแี่ สดงการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิอากาศในช่วงเวลาต่าง ๆ ท่ตี รวจวัดและเตรยี มนำเสนอ โดยครูแนะนำวิธีการสร้างกราฟใหแ้ ก่นักเรยี น

3. ข้นั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

64

3.1 ให้นกั เรยี นนำผลการทำกิจกรรมติดแสดงหนา้ ห้องเรียนเพอ่ื เปรียบเทียบขอ้ มูลของแตล่ ะกลมุ่

หากขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากแต่ละกลุ่มแตกตา่ งกนั ให้นักเรียนอภปิ รายสาเหตุและสรปุ ข้อมูลทค่ี วรจะเปน็

3.2 ให้นกั เรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนัน้ ครูและนักเรยี นอภิปรายคำตอบร่วมกนั

4. ข้นั การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ให้นักเรียนอ่านข้อมูลในหนังสือเรยี นเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงอณุ หภูมอิ ากาศในรอบ 24 ชัว่ โมง

และตอบคำถามระหว่างเรียน

4.2 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิอากาศในรอบ 24 ช่ัวโมงจนได้

ขอ้ สรุปร่วมกนั วา่ อณุ หภมู ิ

อากาศในรอบวันมีการเปลี่ยนแปลงในแบบรูปเดียวกัน โดยอุณหภูมิอากาศในช่วงเช้าจะมีค่าต่ำ และค่อย ๆ

สงู ขึน้ จนกระท่ังมีคา่ สูงทีส่ ดุ ในช่วงบ่าย จากนนั้ จะคอ่ ย ๆ ลดต่ำลง จนต่ำท่ีสุดในชว่ งเวลาเช้ามดื

5. ขัน้ การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียนเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลให้อุณหภูมิอากาศ

เปลย่ี นแปลง และตอบคำถามระหว่างเรียน จากนั้นครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายคำตอบ

5.2 นักเรยี นร่วมแสดงความคดิ เหน็ ว่า ในวนั ท่เี มอื งบราวน่ิงมคี ่าอุณหภูมิอากาศแตกต่างกัน

มากทส่ี ดุ น่าจะมเี หตุการณ์ใดเกดิ ขน้ึ (อาจแสดงความเหน็ ไดห้ ลากหลายเช่น เกดิ พายุหมิ ะ)

5.3 นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายและสรุปเน้ือหาทงั้ หมดท่ไี ด้เรยี นรูจ้ ากการทากจิ กรรมและการ

อา่ นเพม่ิ เตมิ เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปว่า อุณหภมู อิ ากาศมกี ารเปลย่ี นแปลงไปในรอบวนั เน่อื งจากพน้ื โลกไดร้ บั

พลงั งานจากดวงอาทติ ยแ์ ละถา่ ยโอนใหแ้ กอ่ ากาศเหนอื บรเิ วณนนั้ เมอ่ื โลกไดร้ บั พลงั งานจากดวงอาทติ ย์

ในช่วงเช้าทาให้อุณหภูมอิ ากาศค่อย ๆ เพม่ิ สูงขน้ึ และสะสมพลังงานไปเร่อื ย ๆ จนมอี ุณหภูมอิ ากาศ

สงู สุดในช่วงบ่าย เมอ่ื ดวงอาทติ ยค์ ่อย ๆ ลบั ขอบฟ้า การส่งพลงั งานมายงั โลกน้อยลง และพน้ื โลกมกี าร

ถ่ายโอนความร้อนแก่อากาศในปรมิ าณท่นี ้อยลง จงึ ทาใหอ้ ุณหภูมอิ ากาศค่อย ๆลดต่าลง ส่วนในเวลา

กลางคนื พน้ื โลกไมไ่ ดร้ บั พลงั งานจากดวงอาทติ ยแ์ ตพ่ น้ื ดนิ กย็ งั ถา่ ยโอนความรอ้ นแกอ่ ากาศเหนือบรเิ วณ

นนั้ ทาใหอ้ ุณหภูมอิ ากาศในช่วงกลางคนื ต่ากว่ากลางวนั และมคี ่าต่าสุดในช่วงเช้ามดื นอกจากนัน้ ยงั มี

ปัจจยั อ่นื ๆ ทส่ี ่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงอุณหภมู อิ ากาศ เชน่ ลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ท่ี ระดบั ความ

สงู ของพน้ื ท่ี เป็นตน้

5.4 ครเู ช่อื มโยงไปสกู่ ารเรยี นเรอ่ื งต่อไปว่า อุณหภมู อิ ากาศ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของลมฟ้า

อากาศซง่ึ นักเรยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั องคป์ ระกอบอ่นื ๆ ของลมฟ้าอากาศในเร่อื งตอ่ ไป

12. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1ส่ือการเรยี นรู้

1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรยี น 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์

12.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมุด

65

13. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ รายละเอียด
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงองค์ ......................................................................................
ประกอบของลมฟ้าอากาศ ......................................................................................
......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................
......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ......................................................................................
อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................
- มวี ินยั ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธีแกป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชือ่ ........................................ครผู ูส้ อน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น.์ .) (นายสุรจักริ์ แกว้ ม่วง.)

66

ลงช่อื ........................................... ลงชื่อ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์..) (..นายศิวาวฒุ ิ รตั นะ..)

หัวหน้างานนิเทศ หัวหน้ากล่มุ บรหิ ารวิชาการ

ลงชื่อ ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี…3…กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ…….เร่อื ง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนท่ี
3)....
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรยี นร.ู้ ...........วทิ ยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...2..ช่วั โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพืน้ ฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชีว้ ัด
รายวิชาเพมิ่ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด
ว 3.2 ม.1/2

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวช้วี ัดท่ีใช้ในหนว่ ยการเรยี นร้นู ี้เขยี นเป็นแบบความเรียง)
มนษุ ย์ดำรงชีวิตอยภู่ ายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยี รซ์ ึง่ เกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เชน่ ลม เมฆ

ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรู้เพมิ่ เติม (รายวิชาเพ่มิ เติม)
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• ลมฟา้ อากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของพืน้ ทีห่ นึง่ ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

ขึ้นอยกู่ บั องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชนื้ เมฆ และหยาดน้ำฟา้
โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทยไดแ้ ก่ ฝน องค์ประกอบลมฟา้ อากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยูก่ บั
ปจั จยั ต่าง ๆ เช่น ปรมิ าณรงั สีจากดวงอาทิตย์และลกั ษณะพ้ืนผิวโลกส่งผลตอ่ อณุ หภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศ
และปรมิ าณไอน้ำสง่ ผลต่อความช้นื ความกดอากาศส่งผลตอ่ ลม ความชื้นและลมสง่ ผลตอ่ เมฆ

67

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลกั สูตรท้องถนิ่ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ี้)

 1. ความสามารถในการสอื่ สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี้)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ

 3. มีวินัย  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ มั่นในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคดิ

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทกั ษะด้านการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุม่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรยี นคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตผุ ล : ให้นักเรียนสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภูมิใจในผลงานของตนและส่ิงที่เรียนรู้

68

3. หลกั ภูมิค้มุ กัน : ใหน้ กั เรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นรู้จกั การวาง
แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลุ่มไดเ้ หมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำกอ่ นแล้วค่อยลงมอื ทำอย่างระมัดระวงั
5. เงอ่ื นไขคุณธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยนั ท่ีจะทำงานให้ออกมาได้ดที ี่สุด , มีวนิ ัยในการ
ทำงาน

9. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชีว้ ัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกจิ กรรมที่ 3 อากาศมแี รง - วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายเรอ่ื งอากาศมี
แรงดนั
กระทำต่อวัตถุอยา่ งไร - วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายการ
เปลย่ี นแปลง
ของความกดอากาศ

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวัดและประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏิบัติ

เคร่อื งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ ่าน

10.2การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

ส่งิ ทีต่ ้องการวัด วธิ ีวดั ผล เครื่องมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ความรู้เก่ยี วกับ - นกั เรียนไดค้ ะแนน
- อากาศมแี รงดนั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขึน้ ไป

ความคิดเหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ

69

- การเปลย่ี นแปลงของความ เกย่ี วกบั การเปลย่ี น คดิ เห็น หรอื ร้อยละ 80

กดอากาศ แปลงของความกด - แบบประเมินการ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- อุปกรณ์ทใ่ี ชว้ ดั ความกด อากาศ ตรวจผลงานผเู้ รียน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

อากาศ -การตรวจผลงาน ประเมนิ ผลงาน

นกั เรียน 13 คะแนนขึ้นไป

หรอื ร้อยละ 80

ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นไดค้ ะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลุม่ ความคิดเห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป

ทักษะกระบวน คิดเหน็ หรือร้อยละ 80 ถอื ว่า

การทางวิทยาศาสตร์ที่ - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ไดป้ ฏบิ ัติจากกิจกรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลุ่ม

3. คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผ้เู รียน ทำงานร่วมกบั ผ้อู น่ื คุณลกั ษณะอันพึง ประเมินคณุ ลกั ษณะ

- มวี ินยั ในการทำงานกลุม่ และการทำงานใน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- นักเรยี นเห็นความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานร่วมกับผูอ้ ่ืนและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผูเ้ รยี น หรือรอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลมุ่ คิดเหน็ เก่ียวกบั ผลการ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเห็นซ่ึงกนั ทดลอง - นักเรียนได้คะแนน

และกันมีความเสยี สละและ การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขึน้ ไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

11. กจิ กรรมการเรียนรู้

ชวั่ โมงท่ี 1

1. ข้นั ต้ังประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใชค้ าถามกระตุน้ ดงั น้ี

• ว่าวท่ีมนี ้าหนกั มากสามารถลอยขน้ึ ไปในอากาศไดอ้ ยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ)

70

1.2 นกั เรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรูก้ ่อนเรยี นแล้วนำเสนอผลการทำกจิ กรรม หากพบวา่ นกั เรียนยัง
ทำกิจกรรมทบทวนความรกู้ ่อนเรยี นไม่ถูกต้องครคู วรทบทวนหรอื แกไ้ ขความเขา้ ใจผิดของนักเรยี นเพือ่ ให้
นกั เรยี นมีความรพู้ ืน้ ฐานทถี่ กู ตอ้ งและเพียงพอที่จะเรยี นเร่ืองความกดอากาศและลมตอ่ ไป

1.3 นำเข้าส่กู ิจกรรมที่ 3 อากาศมีแรงกระทำต่อวตั ถุหรือไมอ่ ยา่ งไร โดยเชื่อมโยงจากภาพวา่ วทีล่ อยบน
ฟา้ วา่ เกิดขึ้นไดอ้ ยา่ งไร
2. ขน้ั สืบค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ให้นกั เรยี นอ่านวธิ ีดำเนนิ กิจกรรมในหนงั สอื เรยี น และรว่ มกนั อภิปรายในประเด็นดังต่อไปน้ี
• กิจกรรมนเ้ี กีย่ วกับเร่ืองอะไร (แรงและทิศทางของแรงทอ่ี ากาศกระทำต่อวัตถ)ุ
• กจิ กรรมน้มี จี ุดประสงค์อย่างไร (นักเรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธดี ำเนนิ กจิ กรรมมีขั้นตอนโดยสรปุ อยา่ งไร (บรรจุถุงพลาสติกลงในขวดโหลโดยไมร่ ดี ถุงให้แนบ

กบั ขวดจากน้นั ดงึ ถุงพลาสตกิ ข้ึนจากกน้ ขวด บันทึกผล ทดลองอีกครั้งหนงึ่ โดยบรรจุถุงพลาสติกลงในขวดโหล
และรีดถงุ ใหแ้ นบกับขวด คาดคะแนผลท่ีจะเกิดขึ้นจากน้นั ดงึ ถงุ พลาสติกขึน้ จากก้นขวด โดยจดั ขวดให้อยใู่ นมมุ
ตา่ ง ๆ สงั เกตสงิ่ ท่ีเกดิ ขึ้น และบนั ทกึ ผล)

2.2 ให้นกั เรยี นทำกจิ กรรม โดยครสู งั เกตการทำกิจกรรมของนักเรียนอยา่ งใกล้ชดิ เพือ่ ให้คำแนะนำ ครู
นำ ข้อมลู ที่ได้จากการสงั เกตมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลังกจิ กรรม เช่น ครูแนะนำเก่ยี วกบั การดงึ
ถุงพลาสติกออกจากขวดโหล หรอื การรดี ถงุ พลาสติกให้แนบกบั ดา้ นในของขวดโหล
ชว่ั โมงท่ี 2

3. ขัน้ สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ให้นักเรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม จากน้นั นำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพือ่ ใหไ้ ด้

ข้อสรุปว่า อากาศมีแรงกระทำต่อวตั ถทุ กุ ทิศทกุ ทาง
3.2 ใหน้ ักเรียนอ่านขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ จากหนงั สือเรียนเกย่ี วกบั แรงดันและความดัน ความดันในระดบั

ความสูงตา่ ง ๆ ผลของอณุ หภมู ิต่อความดันอากาศ และผลของความดนั อากาศต่อการดำรงชีวิต จากนัน้ ตอบ
คำถามระหวา่ งเรยี น ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายคำตอบ

4. ขน้ั การสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นักเรียนรว่ มกันอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพ่อื ให้ได้ข้อสรุปว่าความดันอากาศเปล่ียนแปลง

ได้โดยมีปัจจัยสำคญั คือระดับความสงู ของพื้นท่ีและอุณหภูมิของอากาศ พ้ืนท่ีท่ีมีระดับความสูงมาก ความดัน
อากาศมคี ่าต่ำ สว่ นพ้นื ท่ีทม่ี ีความสูงน้อย ความดนั อากาศจะมีค่าสงู เนอ่ื งจากแรงโนม้ ถว่ งของโลกทำใหบ้ รเิ วณ
ใกล้พื้นผิวโลกมีโมเลกุลอากาศอยู่หนาแน่นกว่าบริเวณที่อยู่สูงขึ้นไป อากาศบริเวณใกล้ผิวโลกจึงมีความดัน
มากกว่าอากาศบริเวณท่อี ยสู่ ูงข้นึ ไป นอกจากน้นั อุณหภูมิอากาศยงั สง่ ผลตอ่ ความดนั อากาศ เนื่องจากอากาศท่ี
มีอุณหภูมิสูงกว่าจะเคล่ือนที่ได้อย่างอิสระกว่า จึงมีความหนาแน่นน้อยกว่า อากาศที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจึงมี
ความดันอากาศตำ่ กว่า

5. ขนั้ การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

71

5.1 นักเรียนร่วมกันเขียนความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลกควรเป็น

อย่างไร ให้สร้างแบบจำลองหรือเขียนแผนภาพอธิบายความสัมพันธ์ดังกล่าวแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในชั้น

เรยี น

12. สื่อการเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1 ส่ือการเรียนรู้

1) ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรยี น 3) สอ่ื เพาเวอรพ์ อยต์

12.2แหลง่ เรียนรู้

1) อนิ เตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมุด

13. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้ รายละเอียด
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- อากาศมแี รงดนั ......................................................................................
- การเปลย่ี นแปลงของความกดอากาศ ......................................................................................
- อุปกรณ์ทใ่ี ชว้ ดั ความกดอากาศ ......................................................................................
......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................
อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................
- มีวนิ ัย ......................................................................................
- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รักความเป็นไทย ......................................................................................

72

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วธิ แี กป้ ัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์..) (นายสุรจักริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชื่อ........................................... ลงช่ือ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์..) (..นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ..)

หวั หนา้ งานนเิ ทศ หัวหนา้ กลุม่ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

73

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่…3…กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศ…….เร่ือง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนท่ี
4)....
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู.้ ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...2..ช่ัวโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมที ้งั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชวี้ ัด

รายวชิ าเพิม่ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรียนรู)้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด

ว 3.2 ม.1/2

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชวี้ ัดที่ใช้ในหนว่ ยการเรียนรนู้ เี้ ขยี นเปน็ แบบความเรยี ง)

มนษุ ย์ดำรงชีวิตอยูภ่ ายใต้บรรยากาศช้ันโทรโพสเฟียร์ซึง่ เกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ

ฝน ฟ้าแลบ ฟา้ รอ้ งองคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศ

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง/สาระการเรียนร้เู พมิ่ เตมิ (รายวชิ าเพมิ่ เติม)

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

• ลมฟา้ อากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนง่ึ ของพืน้ ทีห่ น่ึงท่ีมกี ารเปล่ียนแปลงตลอดเวลา

ขึ้นอยกู่ ับองคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศ ได้แก่ อุณหภูมอิ ากาศ ความกดอากาศ ลม ความชืน้ เมฆ และหยาดนำ้ ฟ้า

โดยหยาดนำ้ ฟา้ ทพี่ บบอ่ ยในประเทศไทยไดแ้ ก่ ฝน องค์ประกอบลมฟา้ อากาศเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาข้ึนอยู่กับ

ปจั จยั ต่าง ๆ เช่น ปริมาณรงั สจี ากดวงอาทิตยแ์ ละลักษณะพ้ืนผิวโลกสง่ ผลตอ่ อณุ หภูมอิ ากาศ อุณหภูมิอากาศ

และปรมิ าณไอน้ำสง่ ผลตอ่ ความช้นื ความกดอากาศสง่ ผลตอ่ ลม ความชน้ื และลมส่งผลต่อเมฆ

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวิชาพดู ถงึ หลักสูตรท้องถนิ่ ใหใ้ ส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นร้นู ้ี)

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้)ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ

 3. มวี นิ ัย  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง  6. มุง่ ม่นั ในการทำงาน

 74

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ

6. ด้านคุณลักษณะของผเู้ รยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคดิ

 4. ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รับผิดชอบต่อสงั คมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการส่อื สาร สารสนเทศและรูเ้ ท่าทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ใหน้ กั เรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏิบัติ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและส่ิงทเี่ รียนรู้

3. หลักภูมิคุ้มกัน : ใหน้ กั เรยี นเกดิ ทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกลา้ แสดงออก , นักเรยี นรูจ้ ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกล่มุ ไดเ้ หมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแล้วค่อยลงมือทำอยา่ งระมัดระวงั

5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมีความขยนั ทจ่ี ะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ่สี ดุ , มวี นิ ยั ในการ

ทำงาน

9. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชีว้ ัด ชิ้นงาน ภาระงาน
- วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายเรอ่ื งเคลอ่ื นท่ี
ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกจิ กรรมที่ 4 เหตใุ ดลมจงึ
75

เคล่อื นทเ่ี รว็ ต่างกนั ของลมจากบรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศ
สงู ไปยงั บรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศต่า
- วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายลกั ษณะทาง
กายภาพของพน้ื ทม่ี ผี ลตอ่ อตั ราเรว็ ลม
และทศิ ทางลม

10. การวัดประเมินผล

10.1การวดั และประเมนิ ผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ช้ี 3.การวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เครอื่ งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือว่า ไม่ผ่าน

10.2การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ )ี้

สิ่งท่ีต้องการวัด วิธีวดั ผล เคร่อื งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน
- นกั เรยี นไดค้ ะแนน
1. ความรู้เกย่ี วกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมินการ 12 คะแนนขน้ึ ไป
หรือร้อยละ 80
- การเคลอ่ื นทข่ี องลมจาก ความคดิ เหน็ อธิบาย อภปิ รายแสดงความ ถือว่าผ่านเกณฑ์
- นักเรียนได้คะแนน
บรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศสงู เก่ยี วกับการเกดิ ลม คดิ เห็น ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขนึ้ ไป
ไปยงั บรเิ วณทม่ี คี วามกด -การตรวจผลงาน - แบบประเมนิ การ หรือร้อยละ 80
ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
อากาศต่า นักเรียน ตรวจผลงานผู้เรียน
-นักเรยี นได้คะแนน
- ลกั ษณะทางกายภาพของ
76
พน้ื ทม่ี ผี ลตอ่ อตั ราเรว็ ลมและ

ทศิ ทางลม

- อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการตรวจวดั

ทศิ ทางลม

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ

ทกั ษะกระบวนการกลุม่ ความคดิ เห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

ทกั ษะกระบวน คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80 ถอื วา่

การทางวิทยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ไดป้ ฏบิ ัตจิ ากกจิ กรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลมุ่

ทำงานกลุม่

3. คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกับผู้อื่น คุณลกั ษณะอันพงึ ประเมนิ คุณลักษณะ

- มีวนิ ยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

- นกั เรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลุม่ - แบบประเมิน 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรียน หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกล่มุ คิดเห็นเกี่ยวกบั ผลการ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซ่งึ กนั ทดลอง - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และกันมีความเสยี สละและ การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขึ้นไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

11. กิจกรรมการเรียนรู้

ช่วั โมงที่ 1

1. ขนั้ ตง้ั ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใชค้ าถามกระตุน้ ความสนใจนกั เรยี นคดิ วา่ เมอ่ื ความดนั อากาศของ2 พน้ื ทแ่ี ตกตา่ งกนั จะทา

ใหเ้ กดิ ผลอย่างไร

1.2 นกั เรยี นอ่านวิธดี ำเนนิ กจิ กรรมในชดุ กจิ กรรมและร่วมกนั อภปิ รายในประเด็นดังตอ่ ไปน้ี

• กิจกรรมนเ้ี กย่ี วกับเรือ่ งอะไร (ปจั จัยที่มีผลต่ออัตราเร็วลม)

• กิจกรรมนี้มจี ุดประสงค์อยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง)

• วิธดี ำเนินกิจกรรมมขี ้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (เจาะรูบนขวดพลาสตกิ ทไ่ี มม่ ฝี าปดิ 2 ใบ แลว้

เชอ่ื มต่อขวดพลาสติกทัง้ 2 ใบ ดว้ ยแผ่นใสม้วนเป็นทอ่ นำชดุ ขวดพลาสติกทงั้ สองไปวางไว้ในขนั พลาสติก 2

ใบ แล้วรนิ นำ้ ทม่ี ีอุณหภมุ ิต่างกนั จากนั้นแหยก่ ้านธปู ทตี่ ิดไฟลงไปในรูท่เี จาะไว้ตรงกึ่งกลางทอ่ ใสและสังเกตผล

ที่เกดิ ขน้ึ ทำซ้ำอกี คร้ังโดยจดั ให้ความแตกต่างของอณุ หภูมขิ องน้ำในชุดทดลองทั้งสองชดุ ต่างกัน จากนั้นทำซำ้

อีกครง้ั โดยจดั ให้ความยาวของทอ่ ใสในชดุ ทดลองทัง้ สองชุดตา่ งกัน)

• ข้อควรระวังในการทำกจิ กรรมมหี รือไมอ่ ยา่ งไร (การใช้อปุ กรณ์ในการเจาะรูบนขวดพลาสตกิ ควร

ทำอยา่ งระมัดระวงั )

77

1.3 นำเขา้ สู่กิจกรรมท่ี 4 เหตุใดลมจึงเคล่อื นทเ่ี ร็วต่างกัน

ช่ัวโมงท่ี 2

2. ขน้ั สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 นกั เรียนลองต้ังสมมติฐานว่า เมื่อปล่อยควนั ธูปเข้าไปในทอ่ ใสแลว้ จะเกดิ ผลอยา่ งไร และบันทึก

สมมติฐานที่ตง้ั ไวก้ อ่ นการทดลองทง้ั 2 ตอน

2.2 นักเรียนทำกจิ กรรมตามแนวทางท่ีได้อภปิ รายรว่ มกัน ครูสังเกตการทำกจิ กรรมเพอ่ื ให้คำแนะนำแก่

นกั เรยี น ครูนำข้อมูลท่ีไดจ้ ากการสังเกตมาใชป้ ระกอบการอภิปรายหลงั กิจกรรม เชน่ วิธกี ารสังเกตการ

เคลอ่ื นทข่ี องควนั ธปู

ช่ัวโมงที่ 3

3. ข้ันสรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นกั เรยี นพิจารณาสมมติฐานทตี่ ง้ั ไว้กอ่ นทำกจิ กรรมและผลการสงั เกตหลังทำกิจกรรมว่าเหมือน

หรือตา่ งกันอย่างไรจากนัน้ นำเสนอและอภิปรายข้อสรุปท่ถี กู ต้องรว่ มกัน

3.2 นกั เรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม จากนั้นนำเสนอและอภปิ รายคำตอบร่วมกนั เพ่ือให้ไดข้ อ้ สรปุ

ว่า ถ้าความแตกต่างของความดันอากาศระหวา่ งบรเิ วณ 2 บรเิ วณ มีคา่ มากกวา่ อากาศจะเคลอื่ นที่จากบรเิ วณ

หนึ่งไปยงั อกี บริเวณหน่ึงไดเ้ ร็วกวา่ และระยะทางระหว่างบริเวณท่ีมคี วามดันอากาศแตกต่างกนั นนั้ มีคา่

มากกวา่ อากาศจะเคลอื่ นที่จากบรเิ วณหน่ึงไปยังอกี บริเวณหนึ่งไดช้ า้ กวา่

4. ขน้ั การสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนอ่านข้อมลู เพิ่มเติมจากหนังสือเรยี น เกี่ยวกับอัตราเร็วลม ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วและ

ทศิ ทาง ลม อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัดลม จากนัน้ ทำกิจกรรมเสริม และตอบคำถามระหว่างเรียน จากนั้นครู

และนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายคำตอบ

5. ขั้นการบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรยี นร่วมกนั กิจกรรมเสริม สำรวจความแรงลมและทิศทางลมภายในโรงเรยี น ออกแบบและ

สร้างอปุ กรณ์ในการตรวจวดั ลม

5.2 เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรใู้ นเรื่องต่อไปว่า องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีความสัมพันธ์กัน เช่น

ความกดอากาศและลมมีความสัมพันธ์กัน ความกดอากาศมีความสัมพันธ์กบั อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ

และลมเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซ่ึงส่งผลต่อสภาพอากาศ ของพ้ืนท่ีนั้น ๆ เช่น ความแตกต่างของ

ความกดอากาศ ทำให้เกดิ ลมแรงและอาจเกิดเป็นพายไุ ด้

12. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1สอ่ื การเรียนรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรียน 3) ส่อื เพาเวอรพ์ อยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอรเ์ น็ต 2) หอ้ งสมดุ

78

13. บนั ทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้ รายละเอยี ด
......................................................................................
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................
......................................................................................
- การเคล่อื นทข่ี องลมจากบรเิ วณทม่ี คี วาม ......................................................................................
กดอากาศสงู ไปยงั บรเิ วณทม่ี คี วามกด
อากาศต่า ......................................................................................
- ลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ทม่ี ผี ลต่อ ......................................................................................
อตั ราเรว็ ลมและทศิ ทางลม ......................................................................................
- อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการตรวจวดั ทศิ ทางลม ......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ :

- ทักษะกระบวนการคิด
- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม

3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................
อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................
- มีวินยั ......................................................................................
- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธีแกป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

79

ลงช่ือ........................................ครผู ู้สอน ลงชือ่ ...........................................หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน.์ .) (นายสุรจกั ร์ิ แก้วม่วง.)

ลงช่อื ........................................... ลงชือ่ ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์..) (..นายศวิ าวฒุ ิ รตั นะ..)

หวั หน้างานนิเทศ หวั หน้ากล่มุ บริหารวชิ าการ

ลงช่ือ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

80

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี…3…กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรอื่ ง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนที่
5)....
รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรียนรู้............วิทยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..2...เวลา...3..ช่วั โมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพ้ืนฐานมีท้ังมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชวี้ ดั

รายวิชาเพมิ่ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด

ว 3.2 ม.1/2

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ชี้วัดทใี่ ช้ในหน่วยการเรียนรูน้ ้เี ขียนเป็นแบบความเรียง)

มนษุ ย์ดำรงชวี ิตอยู่ภายใต้บรรยากาศช้ันโทรโพสเฟียร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ

ฝน ฟา้ แลบ ฟา้ ร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

• ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของพ้ืนท่ีหนง่ึ ที่มีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา

ข้นึ อยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความช้นื เมฆ และหยาดนำ้ ฟา้

โดยหยาดน้ำฟ้าทพ่ี บบอ่ ยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาข้นึ อยู่กบั

ปจั จัยต่าง ๆ เชน่ ปริมาณรงั สีจากดวงอาทิตยแ์ ละลกั ษณะพนื้ ผิวโลกส่งผลตอ่ อณุ หภมู ิอากาศ อุณหภูมิอากาศ

และปริมาณไอนำ้ สง่ ผลตอ่ ความช้นื ความกดอากาศสง่ ผลตอ่ ลม ความชน้ื และลมส่งผลตอ่ เมฆ

3.2 สาระการเรียนรูท้ อ้ งถนิ่ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลักสูตรทอ้ งถิ่นให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหนว่ ยการเรยี นรูน้ ี)้

 1. ความสามารถในการส่อื สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้ี)

81

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่อื สัตย์สุจริต

 3. มีวินัย  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

6. ด้านคุณลักษณะของผ้เู รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคดิ

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รับผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและร้เู ท่าทันสอื่ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุม่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ใหน้ ักเรียนสร้างสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ัติ , นักเรียนเกดิ ความ

ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและสง่ิ ท่เี รียนรู้

3. หลกั ภมู ิคุม้ กัน : ใหน้ กั เรยี นเกิดทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นรจู้ กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลุ่มไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงอื่ นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั

5. เงื่อนไขคณุ ธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยันทจ่ี ะทำงานให้ออกมาได้ดที ี่สุด , มวี ินัยในการ

ทำงาน

82

9. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชว้ี ัด ชนิ้ งาน ภาระงาน

ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกิจกรรมที่ 5 ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ - วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายเรอ่ื งความชน้ื
คอื ไอน้าทอ่ี ยู่ในอากาศคา่ ความชน้ื
ความชน้ื สมั พทั ธม์ อี ะไรบา้ ง อากาศสามารถแสดงไดใ้ นแบบ
ความชน้ื สมั บรู ณแ์ ละความชน้ื สมั พทั ธ์
- วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายความชน้ื
สมั บรู ณ์
- วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายความชน้ื
สมั พทั ธ์

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1 การวัดและประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เคร่อื งมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผา่ นต้ังแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไมผ่ ่าน

10.2การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง

หน่วยการเรียนรนู้ )ี้

สิ่งทีต่ อ้ งการวดั วิธีวัดผล เครอื่ งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
1. ความรู้เกยี่ วกับ - นกั เรียนได้คะแนน
- ความชน้ื -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขน้ึ ไป
- ความชน้ื สมั บรู ณ์ หรือรอ้ ยละ 80
- ความชน้ื สมั พทั ธ์ ความคิดเหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
- อุปกรณท์ ใ่ี ชว้ ดั ความชน้ื - นกั เรียนไดค้ ะแนน
เกย่ี วกบั ความชน้ื คดิ เห็น ประเมินผลงาน

อากาศ - แบบประเมินการ 83

-การตรวจผลงาน ตรวจผลงานผเู้ รียน

นักเรียน

13 คะแนนขึน้ ไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรียนไดค้ ะแนน

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเหน็ ระบุ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

ทกั ษะกระบวน คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื ว่า

การทางวิทยาศาสตร์ท่ี - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

ไดป้ ฏบิ ตั ิจากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมนิ - นกั เรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานรว่ มกบั ผูอ้ ่ืน คณุ ลักษณะอันพงึ ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- มวี นิ ยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นักเรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลุ่ม - แบบประเมนิ 26 คะแนนข้ึนไป

ของการทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น หรือรอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลมุ่ คดิ เหน็ เก่ยี วกับผลการ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซ่ึงกัน ทดลอง - นักเรียนได้คะแนน

และกนั มคี วามเสยี สละและ การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

11. กิจกรรมการเรียนรู้

ชั่วโมงที่ 1

1. ขน้ั ตง้ั ประเดน็ ปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใหน้ ักเรยี นดูภาพนาเร่อื ง อา่ นเน้อื หานาเรอ่ื งและรจู้ กั คาสาคญั โดยครอู าจจะใชค้ าถามดงั น้ี

• นกั เรยี นเคยเหน็ ทะเลหมอกหรอื ไม่ ทะเลหมอกเกดิ ขน้ึ ช่วงไหน (นกั เรยี นตอบตามความ

เขา้ ใจ)

• ทะเลหมอกเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ)

• หยดน้าทเ่ี กาะขา้ งแกว้ น้าเยน็ เกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างไร(นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ)
1.2 ให้นักเรยี นทำกิจกรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรียนยังทำ

กจิ กรรมทบทวนความรกู้ อ่ นเรียนไม่ถกู ตอ้ ง ครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเขา้ ใจผิดของนกั เรยี น เพือ่

ใหน้ ักเรียนมีความรูพ้ ้นื ฐานท่ถี ูกตอ้ งและเพียงพอท่จี ะเรียนเรอ่ื งความชนื้ ต่อไป

84

1.3 นกั เรียนอา่ นและตอบคำถามเก่ียวกบั ปรมิ าณไอน้ำในอากาศ ความชน้ื สัมบูรณ์ ปริมาณไอนำ้ อม่ิ ตวั
และความชืน้ สัมพทั ธ์จากหนังสือเรยี น จากนัน้ ครแู ละนักเรยี นอภิปรายร่วมกนั เก่ียวกบั ความหมายและ
ความสมั พันธข์ องปริมาณไอนำ้ ในอากาศ ความช้ืนสัมบรู ณ์ ปรมิ าณไอนำ้ อิม่ ตวั และความชืน้ สมั พทั ธ์ เพ่อื ให้ได้
ขอ้ สรปุ ว่า ไอนำ้ ในอากาศทำให้อากาศมีความชื้น ค่าความชน้ื สมั บรู ณ์แสดงปริมาณไอน้ำทม่ี อี ยูจ่ ริงในอากาศ
โดยมหี นว่ ยเปน็ กรมั ต่อลกู บาศกเ์ มตร ณ อุณหภมู ิใดอุณหภมู หิ นง่ึ อากาศสามารถรับไอนำ้ ได้ในปรมิ าณจำกัด
โดยปริมาณไอน้ำอ่มิ ตัวหรือปรมิ าณไอน้ำสูงสุดทอ่ี ากาศรบั ไดข้ น้ึ อยูก่ บั อุณหภูมิอากาศ คา่ ความชื้นสัมพทั ธ์
แสดงความสามารถของอากาศในการรบั ปรมิ าณไอน้ำ ณ ขณะน้ันว่าอากาศมปี รมิ าณไอน้ำในอากาศเท่าไร
เทยี บกบั ความสามารถทจ่ี ะรบั ไดท้ งั้ หมด และจะสามารถรบั ได้อีกเทา่ ไร
โดยแสดงค่าเป็นเปอรเ์ ซน็ ต์

1.4 ครูนำเข้าส่กู ิจกรรมที่ 5 ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อความชน้ื สมั พัทธม์ ีอะไรบา้ ง โดยอธบิ ายความสำคญั ของ
ความชื้นสมั พัทธซ์ ง่ึ แสดงถึงความสามารถในการรับไอนำ้ ในอากาศจึงทำให้นกั วทิ ยาศาสตร์นำค่าความชนื้
สัมพัทธ์ไปใช้ประโยชน์ในการแปลความหมายและทำนายลมฟา้ อากาศได้ ซึ่งการศึกษาปจั จัยทมี่ ีผลต่อความชน้ื
สมั พทั ธจ์ ะทำให้นกั เรยี นเข้าใจกระบวนการทีเ่ กี่ยวกบั ลมฟ้าอากาศมากขน้ึ
ชวั่ โมงท่ี 2

2. ขนั้ สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ใหน้ ักเรยี นอ่านวิธดี ำเนนิ กิจกรรมในชุดกกิ รรม และรว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ดงั ต่อไปนี้

• กจิ กรรมนเ้ี กย่ี วกับเรื่องอะไร (ปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อความชน้ื สมั พทั ธ)์
• กิจกรรมนม้ี ีจดุ ประสงคอ์ ยา่ งไร (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วัสดแุ ละอุปกรณ์พิเศษที่ใช้ในกจิ กรรมมีอะไรบา้ งและใชง้ านอย่างไร (ไซครอมิเตอร์ซงึ่ มีวธิ ีการใช้
งานและขอ้ แนะนำอย่ใู นหนงั สือเรยี น)
• วิธีดำเนินกจิ กรรมมขี ั้นตอนโดยสรปุ อย่างไร (ศึกษาการใชไ้ ซครอมิเตอร์ วางแผนการทำงาน
ตรวจวดั และบนั ทกึ ความชน้ื สมั พทั ธโ์ ดยใช้ไซครอมิเตอร์ ตามสถานที่และเวลาท่ีได้ออกแบบไว้ รวมทัง้ บนั ทึก
ลักษณะทางกายภาพในพืน้ ท่ที ีเ่ ลือก จากนัน้ นำขอ้ มลู มาสร้างกราฟ)
• ขอ้ ควรระวังในการทำกจิ กรรมมหี รือไม่อยา่ งไร (การใชไ้ ซครอมเิ ตอร์ เพอ่ื วัดคา่ ความชืน้ สัมพัทธ์
และอุณหภมู ิอากาศควรใชอ้ ุปกรณต์ ามข้อแนะนำในชดุ กิกรรม)
2.2 นกั เรยี นรว่ มกนั วางแผนเพื่อเลอื กสถานทแ่ี ละเวลาทใี่ ช้ในการวดั อณุ หภมู อิ ากาศ และความชน้ื
สมั พัทธ์ รวมทัง้ ออกแบบวิธกี ารบนั ทึกผลที่สังเกตได้
ช่วั โมงที่ 3
3. ข้นั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นกั เรียนทำกิจกรรมตามแผนทว่ี างไว้ ครูสังเกตการตรวจวัดความชน้ื สมั พัทธข์ องนักเรยี นเพอ่ื ให้
คำแนะนำและนำขอ้ มลู จากการสังเกตมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลงั กจิ กรรม

85

3.2 นกั เรียนเกบ็ ข้อมูลลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ท่ีทนี่ กั เรยี นเลอื กศกึ ษา นำขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการ

ตรวจวดั มาสรา้ งกราฟเสน้ ทีแ่ สดงการเปลย่ี นแปลงความชืน้ สมั พทั ธ์ในเวลาตา่ ง ๆ และเตรยี มนำเสนอผลการ

ทำกจิ กรรม โดยครูแนะนำวธิ ีการสรา้ งกราฟใหแ้ กน่ กั เรียน

4. ขัน้ การสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม และนำผลงานติดแสดงหน้าห้องเรียนเพ่ือ

เปรียบเทียบขอ้ มลู ของแต่ละกลุ่ม

4.2 นักเรยี นตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม จากน้นั ครูและนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายคำตอบเพ่ือให้ได้

ข้อสรปุ ว่า ปัจจยั ท่ีมีผลต่อค่าความช้ืนสัมพัทธ์คอื อุณหภูมิอากาศ และลกั ษณะทางกายภาพของพ้ืนที่

5. ขัน้ การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนอ่านเนื้อหาเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความช้ืนในหนังสือเรียน ตอบคำถามระหว่างเรียน และ

อภปิ รายสรุปรว่ มกันเกี่ยวกับความชื้นสมั พัทธ์ การเกิดละอองนำ้ เมฆ หมอก น้ำค้าง

5.2 เช่ือมโยงไปสู่การเรียนรใู้ นเร่ืองต่อไปว่า คา่ ความชนื้ สมั พทั ธ์มีความสมั พันธ์กับการเกิดเมฆ ดังท่ี

ได้เรียนมาแล้ว เมฆและฝนเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซ่ึงมีความสำคัญและส่งผลต่อการดำรงชีวิตของ

มนุษย์ นกั เรยี นจะได้ศึกษาปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงเมฆและฝนเพม่ิ เติมในเรื่องต่อไป

12. ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1ส่ือการเรยี นรู้

1) ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรียน 3) ส่อื เพาเวอรพ์ อยต์

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมดุ

13. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ รายละเอยี ด
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................
- ความชน้ื ......................................................................................
- ความชน้ื สมั บรู ณ์ ......................................................................................
- ความชน้ื สมั พทั ธ์ ......................................................................................
- อุปกรณ์ทใ่ี ชว้ ดั ความชน้ื ......................................................................................
......................................................................................
2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการคดิ ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกลุม่

86

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................
อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................
- มีวินยั ......................................................................................
- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วธิ แี ก้ปญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงช่อื ........................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ...........................................หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน.์ .) (นายสุรจกั ริ์ แกว้ มว่ ง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงช่ือ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน์..) (..นายศวิ าวุฒิ รตั นะ..)

หัวหนา้ งานนเิ ทศ หวั หน้ากลุม่ บริหารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

87


Click to View FlipBook Version