The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารโพธิยาลัย ฉบับที่ 40

podhiyalai_40

Keywords: วารสารโพธิยาลัย

บทกลอนสอนหญิง
แม้นมิเป็น ดังเช่น กุหลาบหอม ก็จงยอม เป็นเพียง ลดาขาว
แม้นมิเป็น ดวงจันทร์ อันสกาว จงเป็นดาว ดวงแจ่ม แอร่มตา
แม้นมิได้ เป็นหงส์ ทะนงศักด์ิ ก็จงรัก เป็นโนรี ท่ีหรรษา
แม้นมิได้ เป็นแม่น้�ำ พระคงคา จงเป็น ธาราใส ที่ไหลเย็น
แม้นมิได้ เป็นมหา หิมาลัย จงพอใจ จอมปลวก ท่ีแลเห็น
แม้นมิได้ เป็นวัน พระจันทร์เพ็ญ ก็จงเป็น วันแรม ท่ีแจ่มจาง
แม้นมิได้ เป็นต้น สนระหง จงเป็นพง อ้อสะบัด ไม่ขัดขวาง
แม้นมิได้ เป็นนุช สุดสอางค์ จงเป็นนาง ท่ีมิใช่ ไร้ความดี
อันจะเป็น สิ่งใด ไม่ประหลาด ก�ำเนิดชาติ ดีทราม ตามวิถี
ถือสันโดษ ท�ำประโยชน์ ในชีวี ให้สมท่ี เกิดมา น่าชมเอย

ประพนั ธโ์ ดย
ศาสตราจารย์กิตติคณุ ฐะปะนยี ์ นาครทรรพ

เปดิ เลม่ ฉบบั ท่ี ๔๐ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑

วารสารโพธยิ าลัย ฉบับเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เศร้าโศกเสียใจนัน้ คือธรรมะ มีขั้นตอนอย่างไร เธอได้เปดิ
ฉบับ “ผู้หญิงกับการปฏิบัติธรรม” ๒ ซึ่งเป็นฉบับท่ี ใจเลา่ สูก่ นั ฟังดว้ ยความเมตตา ดงั มงคลนามของเธอ
สบื เนอ่ื งตอ่ จากเดอื นสงิ หาคม ซงึ่ เปน็ ฉบบั “ผหู้ ญงิ กบั การ นอกจากนี้ เรายังได้จัดหาบทความดีๆ ท่ีจะเป็น
ปฏิบัตธิ รรม” ๑ ประโยชน์อย่างมาก ส�ำหรับสตรีผู้สนใจจะปฏิบัติธรรม
นับเป็นคร้งั แรก ท่ีโพธยิ าลยั จดั ท�ำเป็นซีรีส์ สองฉบบั อกี หลายเร่ือง
ตอ่ กนั เพราะเราตระหนกั ดวี า่ ผหู้ ญงิ เปน็ หนง่ึ ในบรษิ ทั ของ เรื่องแรก “ธรรมะฉบับเรียนลัด” ของ เจ้าประคุณ
พระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า อุบาสิกา และอุบาสิกาเป็น สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ซึ่งเก็บความ
จำ� นวนมากมคี วามสนใจทจ่ี ะปฏบิ ตั ธิ รรมเปน็ อยา่ งมาก บางคน มาจากหนงั สอื เลม่ เลก็ ๆ ของทา่ น ทจ่ี ะแนะนำ� วา่ กอ่ นการ
ถึงกับสละบ้านเรือน ออกบวชเป็นแม่ชี เพื่อท่ีจะมีเวลา ปฏิบัติธรรม เราควรเรียนรู้อะไรบ้าง ที่จะช่วยเสริมสร้าง
อุทศิ ใหก้ บั การศกึ ษาเลา่ เรยี นธรรมะ และปฏิบตั วิ ปิ สั สนา ความเขา้ ใจในพระพทุ ธศาสนาเบอื้ งตน้ กอ่ นทเ่ี ราจะกา้ วเทา้
กรรมฐาน ตามก�ำลังความสามารถของตน และมีแม่ชี เข้าไปสแู่ วดวงพระศาสนาอยา่ งจริงจัง
จ�ำนวนไม่น้อย ทีม่ ีความเพียรในการศึกษาภาษาบาลีและ บทความเรื่อง “สตรใี นพทุ ธวถิ ไี ทย” ของ พระดษุ ฎี
พระไตรปิฎก จนกระทั่งสอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค เมธงกฺ โุ ร เปน็ อกี เรอื่ งทอี่ ยากชวนอา่ นกนั เพราะไดน้ ำ� เสนอ
และมแี มช่ จี ำ� นวนมากทม่ี คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ในการปฏบิ ตั ิ ประเดน็ ผหู้ ญงิ กบั การปฏบิ ตั ธิ รรม ตามแบบวถิ ไี ทย ในมมุ
กรรมฐาน กลายเป็นอาจารย์สอนพระพุทธศาสนาให้แก่ มองของพระภกิ ษุ ทม่ี องเรื่องนีอ้ ย่างเขา้ ใจและเห็นใจ
เพอื่ นสหธรรมิกด้วยกนั เรอื่ งทพ่ี ลาดไมไ่ ด้ คอื บทความ “สตรศี รลี งั กากบั การ
ต้องยอมรับว่า การที่ผู้หญิงจะหันมาเดินในเส้นทาง ปฏบิ ตั ธิ รรม” โดย วเิ ทศทัยย์ ผูเ้ คยศึกษาเล่าเรยี นอยู่ใน
ธรรมในประเทศไทยนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องฝ่าฟันปัญหา ประเทศศรีลังกานานนับสิบปี จึงมีความรู้ความเข้าใจวิถี
มากมาย นบั ตง้ั แตค่ รอบครวั อาจจะไมเ่ หน็ ดว้ ย การเลย้ี งชพี ทางในการปฏิบัติธรรมของผู้หญิงศรีลังกาอย่างแจ่มแจ้ง
เพราะผหู้ ญงิ บณิ ฑบาตไมไ่ ด้ ตอ้ งมคี า่ ใชจ้ า่ ยจำ� เปน็ สำ� หรบั ทา่ นไดเ้ ลา่ ใหพ้ วกเราฟงั วา่ ผหู้ ญงิ ศรลี งั กานน้ั ดจู ะมโี อกาส
เล้ียงชีพ หากเธอเป็นคนมีฐานะไม่ดีพอก็อาจจะประสบ ที่ดีมากกว่าผู้หญิงไทย โดยเธอสามารถประพฤติปฏิบัติ
กับความยากลำ� บากนานัปการ ขาดการชว่ ยเหลือเจือจาน ธรรมได้อย่างสะดวก เพราะมีส�ำนักของผู้หญิงชัดเจน
จากญาตโิ ยม เป็นเพราะเพียงเธอมิใช่พระ และเม่ือเข้าไป ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลและคณะสงฆ์ ให้พวกเธอได้
อยใู่ นวัดวาอาราม เธอก็ตอ้ งท�ำงานบริการตา่ งๆ เช่น ทำ� ปฏิบัติและบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่างๆ ท่ีพระท�ำได้ไม่สะดวก
ความสะอาดต่างๆ ล้างจาน กวาดลานวัด ล้างพ้ืน ฯลฯ เร่ืองนี้น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง จนน่าจะน�ำมาเป็นประเด็น
งานบริการต่างๆ จปิ าถะ เปน็ เหมือนพลเมืองชั้น ๒ ในวัด ให้คนไทยช่วยกันพิจารณาปรับปรุงช่วยเหลือสังคมแม่ชี
ซ่ึงผู้หญิงที่ตัดสินใจบวชบางคนยอมรับไม่ได้ ต้องหาทาง ของเรา ให้ได้มีการพัฒนาไปสู่ความเข้มแข็ง อย่างเป็น
ไปตั้งส�ำนักเอง ส่วนที่ยอมรับได้ ก็จะยังคงอยู่ในสถานะ รูปธรรม หากสังคมแม่ชีมีความแข็งแรงพอ จะสามารถ
ดังกล่าวเรอ่ื ยไป มองไมเ่ ห็นอนาคตทส่ี ดใส เพราะไม่มีใคร ช่วยเหลอื สังคมได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพแนน่ อน
คิดลุกขึ้นมาช่วยเหลอื อน่ึง วิเทศทัยย์ นักเขียนประจ�ำของเราได้จบเรื่อง
ในวารสารฉบับนี้ เราได้น�ำเสนอเร่ืองราวของผู้หญิง พระติสสเถระ พระอรหันต์ผู้มีวิสัยทัศน์ ลงแล้วในฉบับนี้
ผู้ปฏิบัติธรรม ทั้งท่ีบวชเป็นแม่ชี คือ ท่านอาจารย์แม่ชี และได้เตรียมเรื่องใหม่ท่ีน่าสนใจไม่แพ้กัน ได้แก่เร่ือง
วิมตุ ตยิ า และทไ่ี ม่ได้บวช แต่ก็ปฏิบัติธรรมสมำ�่ เสมอ คอื “พระนาคเสนเถระ:พระนกั เทศนน์ ามอโุ ฆษ”พระนาคเสน
คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ภรรยาคุณชูเกียรติ อุทกะพันธุ์ คือพระสงฆ์ผู้สามารถโต้วาทีกับพระเจ้าเมนันเดอร์ หรือ
ผ้ลู ่วงลับ การจากไปของสามี น�ำความเศรา้ โศกเสียใจมาสู่ พระยามลิ นิ ท์ กษตั รยิ ล์ กู ครงึ่ กรกี ผเู้ ฉลยี วฉลาดแหง่ อาณา-
เธออย่างแสนสาหัส ทางที่เธอเลือกในการเยียวยาความ จักรบัคเตรีย ท้ังสองได้โต้วาทีกันในเรื่องธรรมะท่ีลึกซ้ึง

2 ๔๐ ประธานทป่ี รึกษา ส า ร บั ญ
ต่อมาเน้ือหาในการโต้วาทีได้กลายมา พระครธู รรมธรสุมนต์ นนทฺ โิ ก
เป็นคัมภีร์อรรถกถาช่ือดังว่า ปัญหา a วสิ ชั นาธรรม : ผหู้ ญิงกบั การปฏิบัตธิ รรม (๒)
พระยามลิ นิ ท์ บางแหง่ เรยี ก มลิ นิ ทปญั หา อคั คมหาบณั ฑติ พอจ.มหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร.................๓
คัมภีร์ดัง แต่เร่ืองราวความเป็นมาของ บรรณาธิการอํานวยการ a ปัญญาปรทิ ัศน์ : ธรรมะฉบบั เรยี นลดั
พระนาคเสนกลับไม่ค่อยเป็นท่ีรู้จัก พระมหาประนอม ธมมฺ าลงฺกาโร สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต).....๑o
วเิ ทศทยั ย์ ไดค้ น้ ควา้ เรอ่ื งราวของทา่ นและ a พระธรรมเทศนา : เข้าใจตน เขา้ ใจท่าน
จะน�ำมาเล่าให้ท่านผู้อ่านฟัง เริ่มตอน บรรณาธกิ ารบริหาร พระอาจารยช์ ยสาโร.....................................๑๙
แรกฉบับหน้า พนิตา อังจนั ทรเพ็ญ a ชวนอา่ น : สตรศี รลี งั กากบั การปฏบิ ัติธรรม
หากท่านผู้อ่านสังเกตก็จะพบว่า [email protected] วเิ ทศทัยย์ ...................................................๒๗
วารสารโพธิยาลัย นับหลายเดือนมาน้ี รองบรรณาธกิ าร a ธรรมกถา : สตรใี นพุทธวิถีไทย
มีความหนาเพ่ิมมากข้ึนกว่าเดิมถึง ๒๐ ทพญ. อัจฉรา กลิ่นสวุ รรณ์ พอจ.ดุษฎี เมธงกฺ ุโร ....................................๓๑
หน้า จาก ๔๘ หน้า เป็น ๖๘ หน้า [email protected] a ปญั ญาภวิ ฒั น์ : วชิ ยสูตร
เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับวารสาร โดยที่ ผชู้ ่วยบรรณาธิการ ธีรปญั โญ......................................................๓๕
คณะผู้จัดท�ำ ต้องท�ำงานเพ่ิมมากข้ึน พนั ธ์ุรพี นพรัมภา a ตามรอยธรรม :
ไปด้วย แต่เราก็ยินดีที่จะท�ำ เพราะไม่ [email protected] เสน้ ทางธรรม อาจารย์แมช่ ีวิมตุ ติยา ...........๔๖
อยากลดทอนบทความดีๆ ท่ีเรามีอยู่ a เพอ่ื นภาวนา : การเดินทางของจติ ฯ
ในมือ เพียงแค่รักษาจ�ำนวนหน้าไว้ให้ ประสานงาน คณุ เมตตา อทุ กะพนั ธุ์ .................................๕๖
คงท่ี เพราะเราตั้งใจทำ� โพธยิ าลยั ใหเ้ ป็น พระครูประคุณสรกจิ a ในกระแสข่าว : “คณุ นำ้� ผ้ึง” (ม.ล.สราลี)
สมบัติของพระศาสนา ดีท่ีสุดเท่าท่ีจะ (พระมหาการุณย์ กสุ ลนนฺโท) บวชเนกขัมมจาริณ.ี .....................................๖๒
ทำ� ได้ โดยไม่ค�ำนึงถึงต้นทุนหรือแรงงาน [email protected] a มองเทศ - มองไทย : พระตสิ สเถระ (๔)
ท่ที ่มุ เทลงไป กองบรรณาธกิ าร วิเทศทยั ย.์ ....................................................๖๔
ขอเชิญท่านผู้อ่าน ท่องไปในโลก คณะสงฆ์วดั จากแดง
แห่งธรรมะ ในวารสารโพธิยาลยั ได้เลย สำ�นักงาน : วัดจากแดง หากท่านผู้อ่านมีความประสงค์จะติดต่อ
ณ บัดน้ี ๑๖ หมู่ ๖ ถ.เพชรหงึ ษ์ ซ.เพชรหงึ ษ์ ๑๐ กองบรรณาธิการวารสารโพธิยาลัย หรือต้องการ
คณะผจู้ ดั ท�ำ ต.ทรงคนอง อ.พระประแดง แสดงความเหน็ ตชิ ม หรอื ใหค้ ำ� แนะนำ� ใดๆ กรณุ า
วารสารโพธิยาลัย จัดพิมพ์ด้วย จ.สมทุ รปราการ ๑๐๑๓๐ ติดต่อได้ที่อีเมล [email protected]
ปัจจัยบริจาคของท่านผู้มีจิตศรัทธา โทรศพั ท.์ ๐๒-๔๖๔-๑๑๒๒ (พระครูประคุณสรกิจ หรือพระมหาการุณย์
แจกเปน็ ธรรมทานและบรจิ าคไปตาม พิมพค์ รั้งท่ี ๑ : พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ กสุ ลนนโฺ ท) ขอขอบคุณทุกความคิดเห็น
ห้องสมุดต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ จำ�นวน ๕,๐๐๐ เลม่
ทางปัญญาอย่างกว้างขวางแก่ท่านผู้ ภาพปก : อ.ปญั ญา วจิ ินธนสาร
ใฝ่ธรรมตอ่ ไป ขออนโุ มทนาทุกท่าน ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาทศั นศลิ ป์
ออกแบบปก : อ.บญั ชา หนังสอื
วดั จากแดง ชมรมกัลยาณธรรม
เครดติ ภาพ
ชาคโิ นภิกข,ุ True Little Monk

เขมา เขมะ และขอขอบคณุ
เจ้าของภาพ

จากทาง Internet ทุกท่าน
ศลิ ปกรรม

สหมติ รกรปุ๊ ทมี
อปุ ถมั ภอ ุปกรณคอมพิวเตอร
โดยคณุ พชั รพิมล ยังประภากร
ประธานกรรมการ ‘สวุ ิมล’

จดั พิมพโ์ ดย
สหมิตรพรน้ิ ติ้งแอนดพ์ บั ลชิ ช่งิ

โทร. ๐๒ ๙๐๓ ๘๒๕๗-๙

3

วสิ ัชนาธรรม

ผู้หญิงกับการปฏิบัติธรรมพระอาจารย์มหาประนอมธมมฺ าลงกฺ าโร

เรามาฟังธรรมะจากท่าน ก็ไดบ้ รรลถุ งึ ๕๐ ล้านคน นีค้ ือในส่วนทใี่ ช้ชวี ติ แบบ
พระอาจารยก์ นั ตอ่ เกยี่ วกบั ฆราวาส แต่ถ้าตอ้ งการบวช กเ็ ปดิ โอกาสให้ แตเ่ ปดิ
การปฏิบัติธรรม มีข้อมูล โอกาสแบบมีข้อจ�ำกัด เน่ืองจากว่า ต้ังแต่อดีต
อีกมากมายที่น่าสนใจ ซึ่ง จนถึงปัจจุบัน ผู้หญิงในอินเดียจะถูกข่มขืนมาก
ท่านผู้อ่านทุกคนโดยเฉพาะ ไม่มีความปลอดภัย ตอนที่พระนางปชาบดีโคตมี
ผหู้ ญงิ ไม่ควรพลาดจริงๆ ทูลขอบวช พระองค์ก็ให้บวช แต่ทรงดูแล้ว ความ
ปลอดภัยไม่ค่อยมี แต่ถ้าจะบวช ก็สร้างวัดอยู่ใกล้
ปจุ ฉา : ยุคทย่ี ังไม่มพี ระพทุ ธศาสนา เปรียบเทยี บ กบั วดั พระ เพอ่ื ใหพ้ ระคอยชว่ ยดแู ลและสอนธรรมะ
กบั พทุ ธกาล พระพทุ ธเจา้ ทรงพฒั นาสภาพชวี ติ และ ไม่ให้เข้ามาประจบประแจงพระ พระท่ีจะเข้าไปให้
ความเป็นอยู่ของผู้หญงิ ขน้ึ มาอยา่ งไรบา้ งเจ้าคะ โอวาทจะต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง เหล่านี้เป็นต้น
วิสัชนา : ในช่วงก่อนน้ันจะมีแต่ศาสนาพราหมณ์ ท�ำตามวินัยแล้วจึงจะบวชได้ ร่างกายต้องแข็งแรง
นักบวชก็จะมีแต่ผู้ชายเท่าน้ัน นักบวชท่ีเป็นเพศ จิตใจตอ้ งเข้มแขง็ จึงเปิดโอกาสในการบวช
หญิงจะไม่มีสิทธิหลายๆ อย่าง จะเน้นให้สิทธิ เพราะฉะนัน้ สิทธิสตรสี มัยพุทธกาล พระองค์
ผู้ชายมากกว่า สิทธิของสตรีไม่ค่อยมี พระพุทธเจ้า ก็ให้เต็มที่เท่าท่ีมีโอกาส ที่ส�ำคัญก็คือ เร่ืองความ
ทรงให้สิทธิ อย่างเช่นผู้หญิงต้องการจะบวช ก็ ปลอดภัย พระองค์ก็ห่วง ความปลอดภัยด้านชีวิต
อนุญาตให้บวช แต่ต้องอยู่ในกฎเกณฑ์ อย่างเช่น ก็ดี หรือความปลอดภัยดา้ นพระศาสนาจะได้ยนื อยู่
จะบวชเป็นภิกษุณี ต้องรับครุธรรม ๘ ประการ ยาวนาน ทำ� ไมตอ้ งมคี รธุ รรม ทำ� ไมตอ้ งมกี ฎนน้ั กฎน้ี
จะบวชเป็นสามเณรี หรือจะมาบวชเป็นอะไรต่างๆ ท�ำไมไม่ให้ผู้หญิงบวชง่ายๆ ถ้าให้ผู้หญิงบวชง่ายๆ
ก็เปดิ โอกาสใหเ้ ข้ามาบวช สิ่งที่จะตายก่อนคือพระพุทธศาสนา พระเพศชาย
แต่ถามว่า ถา้ ไมบ่ วช อยเู่ ป็นฆราวาสละ่ ญาติ กจ็ ะหายหมด เรยี กวา่ ปนกนั แยกกนั ไมอ่ อก สดุ ทา้ ย
โยมผู้หญิงท่ีฟังเทศน์ฟังธรรมนี้ ท่ีเมืองสาวัตถี พระภกิ ษกุ ็จะสูญสิน้ ไปก่อน
มีประชากร ๗๐ ล้านคน ฟังเทศน์ฟังธรรมทุกวัน

4 ๔๐

เพราะฉะน้ัน พระพุทธองค์ก็เปิดโอกาสให้ ไม่ได้บวชก็มีสิทธ์ิบรรลุมรรคผลนิพพานได้ แต่ถ้า
สตรี แตว่ ่ามีขอ้ จ�ำกัดเปน็ กฎเหล็ก คอื ต้องมศี รัทธา บวชมาแลว้ ศรัทธาเข้มแขง็ จติ ใจเขม้ แข็ง รา่ งกาย
ตอ้ งมรี า่ งกายแข็งแรง จิตใจเขม้ แขง็ อยูใ่ นกฎเกณฑ์ แข็งแรง อย่างภิกษุณียุคแรกๆ ดีมากเลย ไม่เป็น
ต่างๆ ได้ จงึ จะให้สิทธิบวช เปน็ สทิ ธทิ ีค่ �ำนึงถึงเรือ่ ง ปัญหากับพุทธศาสนา แต่ก็ยังมีปัญหาส่วนตัว คือ
ความมนั่ คงของพระศาสนาดว้ ยไมป่ ดิ กนั้ สตรีแตส่ ทิ ธิ สงั คมเบียดเบียน เชน่ ถกู ข่มขืน ถกู ทำ� รา้ ย เป็นต้น
ที่ไม่ถกู ปิดก้ันน้ี ตอ้ งประกอบดว้ ยร่างกายและจิตใจ ปุจฉา : พระพุทธองค์ทรงทนเสียงรบเร้าของท่าน
ที่เข้มแข็ง มีบารมีที่จะบวชในพระพุทธศาสนา พระอานนท์ไม่ได้ จึงยอมให้พระนางปชาบดีบวช
พระองค์จึงจะอนุญาตให้บวชเป็นภิกษุณี เพราะถ้า จริงหรอื เปลา่ เจ้าคะ
ไมม่ กี ฎเกณฑอ์ ยา่ งนนั้ จะเสยี มากกวา่ ได้ เสยี ทงั้ ดา้ น
สังคม เสียทัง้ ด้านพระศาสนา วิสัชนา : พระประสงค์เดิมก็คือไม่ต้องการให้มี
ภิกษุณี แต่ถ้าต้องการจะมี ก็ตั้งกฎเกณฑ์ข้ึนมา
ปจุ ฉา : มคี นบอกวา่ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ บญั ญตั คิ รธุ รรม ๘ อยา่ งน้ี เพราะวา่ เสยี มากกวา่ ได้ แตใ่ นสว่ นของภกิ ษณุ ี
หรอื มภี กิ ษณุ สี กิ ขามากมายน้ี เพราะพระพทุ ธองคไ์ ม่ ชดุ แรกนนั้ อธษิ ฐานมาแลว้ สรา้ งบารมมี าแลว้ จงึ ไมม่ ี
อยากจะให้มภี กิ ษณุ ี เรอื่ งนจ้ี รงิ ไหมเจา้ คะ ปญั หา พระอานนทท์ ลู ขอ พระพทุ ธองคก์ เ็ ปดิ โอกาส
วิสัชนา : ใช่ ไม่อยากจะให้มี เพราะมีอันตราย ให้ คือ บ�ำเพ็ญบารมีมาเต็มแล้ว ก็ปรารถนาอัคร-
มากกว่า เช่นนางอุบลวรรณาเถรีก็ถูกข่มขืนตอนที่ สาวิกา ได้รับเอตทัคคะด้านน้นั ดา้ นนี้ บำ� เพญ็ บารมี
เปน็ พระอรหนั ตแ์ ลว้ หรือภกิ ษณุ บี างองคก์ ็แตง่ งาน เตม็ ยงั ไงๆ กต็ อ้ งบวชใหอ้ ยแู่ ลว้ เพราะปรารถนามา
แล้วจึงออกบวช แต่มารู้ว่าตัวเองท้อง ก็ตอนท่ีเป็น แต่ทรงรอให้เหตุเกิดข้ึน แล้วให้พระอานนท์มาทูล
ภกิ ษณุ แี ลว้ คลอดลกู ตอนเปน็ ภกิ ษณุ ี ซงึ่ กรณแี บบนี้ แล้วหลังจากนั้น พระองค์ก็ได้ต้ังกฎอย่างน้ีๆ เพื่อ
ถ้าเกิดข้ึน ๓ – ๔ คร้ัง คนก็จะไม่เล่ือมใสภิกษุณี ให้ภิกษณุ ีมีความเข้มแขง็ มน่ั คงขึน้
พอไมเ่ ลอ่ื มใสแลว้ ปจั จยั ๔ กห็ ายาก การเปน็ อยกู่ จ็ ะ ปจุ ฉา : ปัจจบุ ันนม้ี ปี ัญหาเร่อื งทวี่ า่ ในสายเถรวาท
ล�ำบาก จะอยูไ่ หวไหม ถ้าอยู่ไมไ่ หว ก็ควรอยใู่ นเพศ มีผู้หญิงอยากจะเป็นภิกษุณี ไปบวชที่อื่นมาแล้ว
ฆราวาส กม็ สี ทิ ธบิ์ รรลธุ รรมได้เหมอื นกนั อยา่ งนนั้ คณะสงฆไ์ ม่ยอมรบั พระอาจารยม์ ที างออกอย่างไร
อยู่ในเพศฆราวาสไม่ดีกว่า ปลอดภัยกว่าหรือ ถึง ใหส้ ตรีไดเ้ ปน็ นักบวชที่ถูกต้องตามเถรวาท

วิสัชนา : ถ้าตามเถรวาทเปน็ ไปไม่ได้ เน่อื งจากว่า
ภกิ ษณุ ตี อ้ งบวชกบั อปุ ชั ฌาย์ ๒ ฝา่ ย คอื ๑) อปุ ชั ฌาย์
ทีเ่ ป็นภกิ ษุณที เ่ี ป็นเถรวาทจริงๆ ๒) อปุ ชั ฌายท์ ่เี ป็น
พระสงฆ์ คือ ภิกษุณีไม่เหมือนพระภิกษุซึ่งบวชที
เดียวก็จบแล้ว แต่ภิกษุณีต้องบวชจากอุปัชฌาย์ ๒
ฝา่ ย อปุ ชั ฌายท์ เ่ี ปน็ ภกิ ษณุ แี ละอปุ ชั ฌายท์ เี่ ปน็ พระ
ภกิ ษ ุ แตอ่ ปุ ชั ฌายท์ เ่ี ปน็ ภกิ ษณุ ปี จั จบุ นั ทเี่ ปน็ เถรวาท
ไม่มี จึงบวชกับอุปัชฌาย์ที่เป็นมหายาน แต่มา
ปฏิญาณเป็นเถรวาท

๔๐ 5

ฉะน้ัน ตามหลักของเถรวาท จึงเป็นไปไม่ได้ ตามวนิ ยั คอื อาบตั ทิ กุ กฏนนั่ แหละ เพราะฉะนน้ั การ
เมื่อเป็นไปไม่ได้ ก็พากันอ้างสิทธิสตรี สิทธิสตรีกับ สวดกรรมวาจานัน้ ตามวนิ ยั จะเน้นบาลีเป็นหลัก
หลกั คำ� สอน มนั คนละเรอื่ งกนั สทิ ธเิ สรภี าพของสตรี ปุจฉา : บ้ันปลายชีวิตของผู้หญิงท่ีคิดว่า ชีวิต
คุณมีสิทธ์ิ แต่คนที่มีสิทธ์ิจะบวชให้ คืออุปัชฌาย์ท่ี ทางธรรมประเสริฐที่สุด แล้วพระอาจารย์คิดว่าเธอ
เป็นภิกษุณีไม่มีแล้ว อ้างว่าไปบวชจากลังกา ลังกา ควรจะเลือกรูปแบบ หรือว่าใช้ชีวิตยังไง จะได้
เขากไ็ มย่ อมรับ แล้วไปบวชทไี่ หน กไ็ ปบวชที่ไต้หวัน เจริญงอกงามไปในทางธรรมเจ้าคะ
ซงึ่ ทไี่ ตห้ วนั กเ็ ปน็ มหายาน เพราะฉะนนั้ ถา้ อยากเปน็
ภิกษณุ ี อยากบวชแบบพระ กต็ กลงประกาศตนเลย วิสัชนา : ดีที่สุดกค็ อื ไดบ้ วชเป็นแมช่ นี นั่ แหละ แต่
ว่า บวชกับอุปัชฌาย์ภิกษุณีที่เป็นภิกษุณีไต้หวัน จะถือศีลแบบภิกษุณีได้ไหม ก็ถือได้นะ แต่ไม่ต้อง
และเป็นภิกษุณมี หายาน ก็จบ ไมม่ ีใครตอ่ ตา้ น เมือ่ ปฏิญาณ เพราะอุปัชฌาย์ที่เป็นภิกษุณีในเถรวาท
ไปบวชกับมหายาน แต่มาประกาศว่าเป็นเถรวาท ไม่มี แตถ่ ้ามคี วามตั้งใจจะปฏิบัตแิ บบภกิ ษุณี ทำ� ตวั
นี้คือที่เขาไม่ยอมรับ คือไปบวชที่ไต้หวัน บวชกับ เหมือนภกิ ษุณี รักษาศลี แบบภกิ ษุณกี ็สามารถท�ำได้
ภกิ ษณุ ีที่เปน็ มหายาน บวชแบบมหายาน บวชออก แต่จะปฏิญาณตนว่าเป็นภิกษุณีเถรวาท ปฏิญาณ
มาแลว้ กต็ อ้ งเปน็ มหายาน แตม่ าหม่ ผา้ แบบเถรวาท ไมไ่ ด้ เพราะองค์ประกอบไม่ครบตามพระวินยั
และมาบอกวา่ เปน็ เถรวาท มนั เปน็ ไปไมไ่ ด้ ประเด็น จริงๆ แล้ว แค่บวชถือศีล ๘ ให้บริสุทธ์ิ ก็มี
แค่นี้แหละ จริงๆ ไม่ได้ปิดก้ันหรือหวงห้ามนะ แต่ สิทธ์ิบรรลุธรรม ศีล ๘ นี้ ดีกว่าไปรับศีล ๓๑๑
ภกิ ษณุ ที เ่ี ปน็ เถรวาทนนั้ สญู สน้ิ ไปหมดแลว้ เนอื่ งจาก ศีล ๓๑๑ น้ี มีข้อจำ� กัดคือ คนจะสอนศีล ๓๑๑ ข้อ
กฎเหลก็ ทพ่ี ระองค์ไดท้ รงวางเอาไว้ ให้ก็ไม่มี และคนสวดกรรมวาจาให้ในภาษาบาลี
ไม่มี แล้วพระท่ีจะบวชภิกษุณีได้ พระองค์น้ันต้อง
ปจุ ฉา : นานเทา่ ไหร่แล้วทวี่ า่ ไมน่ ่าจะมีภกิ ษุณแี บบ ได้ภิกขุณีปาติโมกข์ ปัจจุบันมีพระอุปัชฌาย์องค์
เถรวาทเจ้าคะ ไหนที่สวดภิกขุณีปาติโมกข์ได้ ไม่เคยมีองค์ไหน
วิสัชนา : ๕๐๐ ปีหลังพุทธกาล พระภิกษุณีเถรวาท เลย โดยเฉพาะพระอุปัชฌาย์นี้ ภิกขุปาติโมกข์
กห็ มดแลว้ นอกนั้นกเ็ หลือแต่เป็นมหายาน ภิกษุณี ต้องได้ ต้องมีคุณสมบัติข้อน้ี จึงจะเป็นอุปัชฌาย์
มหายานหลายๆ ท่ี เมอ่ื อยกู่ บั พระภกิ ษแุ ลว้ พระภกิ ษุ ตามพระธรรมวินัย คือเราเป็นอุปัชฌาย์ตามการ
ก็หมดสภาพพระ คือไม่มีศีล อยู่ในรูปร่างของพระ แต่งตั้ง หรือเป็นนั่นเป็นน่ีตามการแต่งต้ัง ถ้าตาม
กจ็ รงิ แตไ่ มม่ ศี ลี ภกิ ษณุ มี หายานกอ็ ยไู่ ด้ เพราะพระ พระธรรมวินัยจรงิ ๆ น้ี เป็นไปไมไ่ ด้ มันหมดแลว้
มหายานท่านไม่มีศีลอะไรมาก ภิกษุณีก็ไม่ได้มีศีล ปุจฉา : มีคนพูดว่า ผู้หญิงถ้าไปบวชชี ก็ไปอยู่
อะไรมาก แตป่ ฏญิ าณเรยี กวา่ โคตรภสู งฆ์ คอื เปน็ สงฆ์ ในครวั ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั หิ รอก ตอ้ งไปทำ� อาหารถวายพระ
โดยชอื่ โดยโคตร แตค่ วามเปน็ สงฆจ์ รงิ ตอ้ งมศี ลี ๒๒๗ พระอาจารย์มคี วามเห็นอย่างไรเจ้าคะ
หรอื ๓๑๑ ขอ้ และบวชอยา่ งถกู ตอ้ งดว้ ยกรรมวาจา
ท่ีเปน็ บาลี มหายานเขาบวชดว้ ยภาษาสันสกฤต แต่ วิสัชนา : ที่เขาเข้าใจอย่างน้ันคือเป็นสังคมไทย
พระพทุ ธองคป์ ระกาศชดั เจนวา่ กรรมวาจาจารยใ์ ห้ พืน้ ฐาน แตถ่ ้าผูห้ ญิงท่ีบวชแลว้ เรียน ปฏิบตั ิ ทพ่ี ม่า
สวดเป็นภาษาบาลี ห้ามยกพุทธพจน์ข้ึนสู่สันสกฤต เขามีเยอะเลย เป็นโรงเรยี น บวชเรยี น ปฏิบัตอิ ย่าง
แต่มหายานเขาจะเอาพระสูตรสันสกฤตส่วนหนึ่ง เคร่งครัด แต่เนื่องจากว่าการบวชแม่ชีจริงจังใน

6 ๔๐

บา้ นเรามีน้อย ภาพรวมส่วนใหญก่ ็คอื มาบวชเพราะ อีกส่วนหน่ึง เด็กๆ หลังจากท่ีสอบภาคเรียน
หลักลอย คอยงาน สังขารเสื่อม เม่ืออยู่ในสภาพ ตามปกติ จะเข้าเรียนด้านคุณธรรมจริยธรรม
อยา่ งน้ี บวชมากเ็ ขา้ ครวั อยา่ งเดยี ว ทำ� อยา่ งอน่ื ไมไ่ ด้ โดยตรง หลงั จากเดก็ ปดิ เทอมแลว้ กไ็ ปเรยี นคณุ ธรรม
จริยธรรม ซ่ึงพระสงฆ์และหลายๆ กลุ่มมาสอนให้
ปจุ ฉา : ถา้ บวชแลว้ ตั้งใจปฏบิ ัติ เรียนธรรมะจริงๆ อีกส่วนหนึ่งคือบวชเป็นแม่ชี ที่ส�ำนักแม่ชีเลย
กท็ ำ� ได้ อยู่ท่ีตัวเรา ใชไ่ หมเจ้าคะ สำ� นักเรยี นแมช่ ี มีนักเรยี น ๓๐๐ - ๕๐๐ คน เปน็
วสิ ัชนา : ใชๆ่ ทำ� ได้ อย่างเสถียรธรรมสถาน เขาก็ ส�ำนักแม่ชีขนาดใหญ่ ที่บวชเรียนต้ังแต่เด็กจน
สามารถท่ีจะตั้งส�ำนักแม่ชีข้ึนมาให้ชัดเจน ท่ีพม่ามี กระท่ังได้ปริญญาทางพุทธศาสนา โดยท่ีมีแม่ชี
แบบนีเ้ ยอะ ไมใ่ ชว่ ่าจะตอ้ งไปอย่ใู นโรงครัว ไม่ใชว่ ่า ท่ีได้ปริญญาทางโลกมา พอบวชแล้ว ก็มาศึกษา
แม่ชีน้ี ชีวิตทางโลกหมดสภาพแล้ว ไม่รู้จะไปไหน ธรรมะ แล้วก็เปิดเป็นส�ำนักเรียนพระไตรปิฎก
ก็ไปรักษาศีล ไปอยู่อาศัยวัดที่มีพระอยู่ ไม่ได้มีวัด เหมือนกับพระเรียน ตอนน้ี แม่ชีท่ีจบธัมมาจริยะ
ตัวเอง แตท่ ่ีลงั กา หรือทีอ่ ินเดียแบบโบราณ ที่พมา่ จบชน้ั มูลธัมมาจริยะ ก็มีเยอะในพมา่ เขาไม่ได้บวช
ปัจจุบัน ยังมีอยู่ เป็นวัดแม่ชี จ�ำนวนพันๆ รูป เข้ามาเฉยๆ เขาเรียนเหมือนกับพระเลย เรียนบาลี
เรียนอย่างจริงจัง ปฏิบัติอย่างจริงจัง และเผยแผ่ เหมือนกับพระ หรือบางท่านเพียรปฏิบตั ิ จนกระท่ัง
อย่างจริงจัง เรียนจบธัมมาจริยะมีเยอะแยะเลย สามารถเปน็ อาจารยส์ อนกรรมฐานไดเ้ หมอื นพระสงฆ์
เป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย เป็นส�ำนักแม่ชี กม็ พี อสมควร
ทมี่ ชี อื่ เสยี ง สอนกรรมฐานโดง่ ดงั ไมใ่ ชส่ ำ� นกั พระนะ
เป็นส�ำนกั วัดแม่ชี มแี มช่ เี ปน็ ห้าร้อย เป็นพนั ไม่ได้ ปุจฉา : ในพมา่ มีสำ� นักแมช่ ีอยา่ งนเ้ี ยอะไหมเจา้ คะ
มาอยูใ่ นโรงครวั เลย วิสัชนา : เยอะนะ ก็มีในเมืองใหญ่ๆ ย่างกุ้งก็ดี
ปุจฉา : พระอาจารย์ไปอยู่พม่านานมาก ๑๒ ปี สกายก็ดี จะมีส�ำนักแม่ชีใหญๆ่ อยู่
สภาพของผู้หญิงในพม่าที่เป็นฆราวาส เขาปฏิบัติ ปจุ ฉา : แล้วแม่ชีพมา่ แตง่ ชดุ อยา่ งไรเจ้าคะ
อย่างไร แล้วพวกเธอเข้ามาเก่ียวข้องกับพระ วิสัชนา : จะมี ๒ สี ผ้าชุดสชี มพู จะเปน็ แมช่ ีอยใู่ น
พทุ ธศาสนากนั จรงิ จงั แคไ่ หนเจา้ คะ ส�ำนักเรยี น ถา้ เป็นชุดสีกรกั จะเป็นแม่ชอี ยใู่ นสำ� นกั

วิสชั นา : จรงิ ๆ ท่ีพมา่ ญาตโิ ยมแบบทีม่ ีครอบครัว ปฏิบัติ ชุดสีกรักไม่ใช่เป็นภิกษุณีนะ เป็นแม่ชีท่ี
มีครัวเรือนก็หาโอกาสปฏิบัติธรรมในช่วงสงกรานต์ อย่ใู นส�ำนักปฏิบัติ
กันมาก แต่ถ้าคนมีเวลาในช่วงเข้าพรรษา ในช่วง
สงกรานต์ เขาหยุดงาน ก็จะหาโอกาสปฏิบัติธรรม ปุจฉา : ภาพรวมของการศึกษาของพวกผู้หญิง
กนั เกือบทุกคน นีค้ ือสว่ นหน่งึ อีกสว่ นหนง่ึ คอื คอร์ส ในพระพุทธศาสนา ในอนิ เดยี ศรีลังกา แตกต่างกนั
ปฏิบัติธรรมหรือการฟังเทศน์ฟังธรรมก็จะมีมาก อย่างไรเจา้ คะ
หลายๆ พื้นท่ีในประเทศ ก็มีคนสนใจฟังธรรม วสิ ชั นา : ผู้หญิงชาวพทุ ธในลังกา ก็จะมี Sunday
อยพู่ อสมควร มรี ายการทวี ธี รรมะตลอด ๒๔ ชั่วโมง school คือ โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
เพราะมี ๓๐ ช่อง รัฐบาลก็เปิดให้วันละช่ัวโมง ผู้หญิงจะมีโอกาสในส่วนตรงน้ี หรือไม่ก็ตั้งเป็น
ทุกวนั อันนีค้ ือส่วนหนงึ่ ชมรมธรรมจกั ร ชมรมน้ันชมรมนี้ มาศึกษากนั แต่
ชาวลังกากับอินเดียน้ี จะเน้นไปเรื่องของพุทธ-

7

ศาสนาวันอาทิตย์ เพราะไม่ค่อยมีโอกาส ส่วน
ของพระลังกาน้ี โดยมากก็จะบวชไม่สึก บวชแล้ว
สึกมีน้อย คนท่ีบวชเข้ามาก็สนใจจริง แล้วอยู่ยาว
ส่วนท่ีเป็นผู้หญิงจะเข้ามาในพระศาสนาของลังกา
กจ็ ะอยใู่ นลกั ษณะของการแตง่ ชดุ ขาวเขา้ วดั ตามปกติ
จะไม่ได้เรียนธรรมะจริงจัง แต่ว่ามีศรัทธาจริงจัง
แต่การเรียนธรรมะของอุบาสิกาของลังกาและของ
อินเดียนี้รู้สึกยังน้อยอยู่ ผู้หญิงเรียนธรรมะจริงจัง วิสชั นา : เอาง่ายๆ ก็คือ พระอภิธรรม กับ วิสทุ ธิ-
ปฏิบัติจรงิ จงั ของพมา่ จะเยอะกว่า แม่ชีไต้หวันก็มี มรรค ใชเ้ วลาเรยี นแค่ ๓ ปกี จ็ บ เขา้ ใจอภธิ รรม เขา้ ใจ
เยอะ ของพม่าก็เยอะ วิสุทธิมรรค แล้วจะปฏิบัติตามแนวไหน ก็สามารถ
ปจุ ฉา : ของพมา่ นีเ้ ขาก็ไม่ไดบ้ วชเป็นภิกษุ เขามแี ค่ ไปได้ทกุ อย่างเลย ทงั้ สมถยานิกและวิปสั สนายานกิ
บวชช ี แต่เขาเรยี นกนั จริงจังใชไ่ หมเจ้าคะ อันนั้นคือเรียนพื้นฐานง่ายๆ ให้เข้าใจเพื่อปฏิบัติ
อย่างถูกต้อง ต้องมีพ้ืนฐานอย่างน้ี พม่ามีคนเรียน
วิสัชนา : ก็มีคนคิดอยากจะบวชภิกษุณี ไปบวช คนสอบแบบนี้ เปิดสนามสอบย่างกุ้งแห่งหน่ึงก็มี
ท่ีลังกา บวชมาจากมหายานแล้ว พม่าไม่รับ เขาก็ คนมาสอบ ๕,๐๐๐ – ๖,๐๐๐ คน เรยี นอภธิ รรม เรยี น
เลยยกเลิก ก็จบเรื่องแล้ว แต่ก็ยังมีลังกากับไทย วสิ ุทธิมรรคกัน ตามลานเจดยี ต์ า่ งๆ การศึกษาธรรม
๒ ประเทศ คือลงั กาไปบวชท่ีไตห้ วันกอ่ น แลว้ ก็มา ที่พม่า เขาเอาจรงิ เอาจงั กันมาก
ตัง้ ตนเองเปน็ ภกิ ษณุ ี แล้วไทยก็ไปบวชต่อจากลังกา
แล้วมาบอกวา่ เป็นภิกษุณเี ถรวาท อันน้กี ็มีอยู่ ซึง่ ถ้า ปุจฉา : ทางคณะสงฆ์หรือรัฐบาล เขาสนับสนุน
เอาจรงิ จงั ตามหลกั ฐานตามพระวนิ ยั ภกิ ษณุ เี ถรวาท การศึกษาธรรมของผู้หญงิ ในพม่าดี ใชไ่ หมเจ้าคะ
ไมส่ ามารถมีไดน้ านมาแลว้ วสิ ชั นา : ถา้ เปน็ สำ� นกั แมช่ ี พระกจ็ ะไปเทศนส์ อนให้
ปจุ ฉา : ทพ่ี ม่า มีการเรียนการสอนจรงิ จัง ทัง้ ปรยิ ตั ิ โดยมาก อปุ กรณ์กจ็ ะมญี าติโยมเปน็ เจา้ ภาพ แตถ่ ้า
และปฏิบตั ดิ ้วย ใชไ่ หมเจา้ คะ ครสู อนโดยมาก พระจะเปน็ ผไู้ ปสอนใหท้ ส่ี ำ� นกั แมช่ ี
หรอื แมช่ ที สี่ อนเกง่ กส็ อนเองไดเ้ ลย ถา้ สอนไมไ่ หว ก็
วิสัชนา : เจริญพร คัมภีร์วิสุทธิมรรค จะมีโยม ให้พระวดั โน้นวัดน้มี าชว่ ยสง่ เสรมิ ชว่ ยสอนให้
ผหู้ ญงิ เรยี นเยอะ วสิ ทุ ธมิ รรคจะแบง่ เรยี นเปน็ ๓ ชนั้
ช้ันแรก สลี นทิ เทส ชนั้ ที่ ๒ สมาธินทิ เทส ชั้นท่ี ๓ ปุจฉา : โยมมีเพ่ือนบอกว่า เขาไปอยู่พม่าแล้ว
ปัญญานิทเทส คือเรียนวิสุทธิมรรคแบบเอาความ เขารู้สึกเหมือนบ้านเขาเลย คือเขาไปอยู่แล้วไป
เขา้ ใจ แลว้ สอบผ่าน พอสอบผา่ น กไ็ ปปฏิบตั ิ เรยี น ปฏิบัติ อะไรอย่างนี้ แสดงว่าที่น่ัน เขาต้อนรับคน
อภธิ มั มตั ถสงั คหะ เพ่ิมเติมอกี แลว้ เข้าส่ภู าคปฏบิ ัติ ปฏิบัติธรรมท่ีเป็นต่างชาติต่างภาษา สามารถไปได้
กม็ เี ปน็ จ�ำนวนมาก เขายนิ ดตี ้อนรบั และใหก้ ารสนับสนนุ ใช่ไหมเจ้าคะ
ปจุ ฉา : สงั คมไทยเรา ควรจะเอาแบบอยา่ งการศกึ ษา วิสชั นา : เจรญิ พร ต้อนรบั ดี ดูแลเอาใจใสด่ เี หมือน
ของผู้หญงิ ในพมา่ ในเร่อื งใดบ้างเจา้ คะ เป็นญาตกิ ัน ถา้ เปน็ นกั ปฏิบตั ิ เขา้ สสู่ �ำนักปฏิบัติ ก็
จะดแู ลเอาใจใสเ่ หมอื นเปน็ ญาตกิ นั ไมม่ คี วามลำ� บาก
อะไร นอกจากเรอื่ งวซี า่ แตต่ อนหลงั วซี า่ กง็ า่ ยขนึ้ แลว้

8 ๔๐

ปุจฉา : หลายคนทต่ี ดั สินใจว่า ไมอ่ ยากเป็นฆราวาส
แล้ว ไปบวชชีดกี วา่ ไมท่ ราบว่าทพี่ มา่ นเี้ ขาตัดสนิ ใจ
อย่างไรถงึ เข้ามาบวชเป็นแม่ชี เจา้ คะ

วิสัชนา : ก็มีหลากหลาย มีโอกาสได้เรียนธรรมะ
เต็มที่ ถ้าเป็นฆราวาสจะต้องประกอบอาชีพท�ำมา
หากิน เวลาจะเรียนธรรมะก็มีน้อย แต่ถ้ามาบวช
เป็นชีก็มีโอกาสเรียนธรรมะได้มากกว่า อีกประเด็น
หน่ึงคือ บางทีอยู่ต่างจังหวัด โอกาสเข้าถึงการ
ศึกษาก็หายาก แต่มาบวชเป็นชีแล้ว โอกาสเข้าถึง คือให้เข้าใจพ้ืนฐาน ก็สามารถท่ีจะปฏิบัติธรรมได้
ระบบการศกึ ษาโดยผา่ นพระศาสนากง็ า่ ยขนึ้ ฉะนนั้ แมจ้ ะเป็นชีวิตฆราวาสธรรมดา
ในเรอื่ งการศกึ ษา หากเปน็ แมช่ กี ม็ โี อกาสมาก ทพ่ี มา่
ผู้หญิงส่วนหน่ึงมีโอกาสได้ศึกษา อีกส่วนหน่ึงคือ ปุจฉา : หมายถึงว่าการปฏิบัติธรรมน้ี ไม่จ�ำเป็น
เปิดโอกาสให้คนยากคนจนได้เข้าถึงการศึกษาทาง ว่าเราจะต้องใส่เคร่ืองแบบอะไร อยู่ท่ีวิถีชีวิตและ
ศาสนากอ่ น แลว้ กค็ ่อยขยายออกไปสูท่ างโลก การกระท�ำของเรามากกว่า เท่าท่ีได้ทราบมานั้น
การเป็นแม่ชี ไม่ค่อยได้รับการยอมรับสักเท่าไหร่
ปุจฉา : ถ้าไม่บวชชี ผู้หญิงจะให้โอกาสตัวเอง ไม่เหมอื นพระ การใชช้ ีวิตถ้าไม่มีใครช่วยเหลือดแู ล
ในการปฏบิ ัตธิ รรมได้อยา่ งไรบา้ งเจา้ คะ อะไรอย่างนี้คงล�ำบาก โยมจึงอยากทราบว่าผู้หญิง
วิสัชนา : จริงๆ แล้ว ในชวี ิตประจ�ำวันก็ปฏิบัตธิ รรม ควรจะเตรยี มตวั อยา่ งไร ถา้ หากวา่ อยากจะบวชเปน็
ได้ตลอด ปฏิบัติธรรม ไม่จ�ำเป็นจะต้องเข้าห้อง แมช่ ีเจ้าคะ
กรรมฐานอยา่ งเดยี ว ตง้ั มนั่ ในไตรสรณคมน์ รกั ษาศลี วิสัชนา : ถ้าอยากจะบวชเป็นแม่ชี ถ้าอยู่ส�ำนัก
รักษากุศลกรรมบถ ๑๐ สวดมนต์ไหว้พระ เจริญ ปฏิบัติก็สัปปายะกว่า เรื่องปัจจัย ๔ ไม่เดือดร้อน
พทุ ธานสุ ติ พจิ ารณาขนั ธ์ ๕ คอื การเปดิ โอกาสใหก้ บั ถา้ อยสู่ ำ� นกั เรยี นแลว้ ไมม่ โี ยมอปุ ฏั ฐากกจ็ ะเดอื ดรอ้ น
ตนเอง การเข้าวัดปฏิบัติธรรมคือการปฏิบัติขั้นสูง จะล�ำบากนั่นเอง ฉะนั้น ถ้าเราอยากจะเรียนจริงๆ
ถา้ ปฏิบัติขั้นพนื้ ฐาน ตัง้ แต่ไตรสรณคมน์ ศลี กุศล- ควรเตรียมปัจจัยของเราพอประมาณ พอท่ีจะใช้
กรรมบถ น่ันแหละ คือการปฏิบัติธรรมขั้นพื้นฐาน จ่ายโดยไมเ่ ดอื ดรอ้ น นค้ี อื ประเดน็ แรก หรอื ถา้ ไม่มี
ผ้หู ญิงทุกคนมโี อกาสอยแู่ ล้ว ก็เข้าไปอยู่ส�ำนักปฏิบัติก่อน ออกจากส�ำนักปฏิบัติ
โอกาสเหล่าน้ีเราเข้าใจไหม ไตรสรณคมน์คือ แล้วก็มาเรียนธรรมะ พอมีญาติโยมท่ีรู้จัก สนิทกัน
อะไร ศีลคืออะไร กศุ ลกรรมบถคืออะไร ถา้ ไมเ่ ข้าใจ ในช่วงปฏิบัติ ถ้าเราอยากจะเรียนธรรมะ ญาติโยม
ไตรสรณคมน์ก็เข้าไม่ถึง ศีลก็รักษาไม่เป็น กุศล ทป่ี ฏบิ ตั ิรว่ มกบั เรา เขาจะชว่ ยส่งเสรมิ สนบั สนุนเอง
กรรมบถ ๑๐ ก็จ�ำไม่ได้ เพราะฉะน้ัน พื้นฐานคือ ฉะนนั้ โดยมากคนทเ่ี คยปฏบิ ตั ธิ รรมรว่ มกนั มา
ตอ้ งฟงั กอ่ น ทำ� ไมตอ้ งเขา้ ถงึ ไตรสรณคมน์ ทำ� ไมตอ้ ง ถา้ แมช่ อี ยากจะเรยี น เขากจ็ ะสง่ เสรมิ ชว่ ยกนั ไปทงั้ นนั้
รกั ษาศลี ทำ� ไมตอ้ งเจรญิ กศุ ลกรรมบถ ๑๐ ทำ� ไมตอ้ ง ไม่เดือดร้อน แต่ถ้าจะเรียนอย่างเดียวเลย ก็ต้อง
เจริญพทุ ธานสุ ติ ทำ� ไมตอ้ งพิจารณารปู นามขนั ธ์ ๕ หาผ้อู ุปถมั ภ์อปุ ฏั ฐากเอง กรณีนีอ้ าจจะลำ� บากกวา่

๔๐ 9

ปุจฉา : ปัญหาในเร่ืองการเข้ามาปฏิบัติธรรมของ ถ้าไม่รักษาอาชีวัฏฐมกศีล ผู้ท่ีจะส่งเสริมก็ส่งเสริม
ผหู้ ญงิ น ี้ มอี ะไรเปน็ อปุ สรรคบา้ ง ทงั้ ในสว่ นตวั และ ไม่ไหว จะปวดหัวแล้วตอนน้ี รับไว้แล้วก็มีปัญหา
สว่ นรวม และจะชว่ ยสง่ เสรมิ ความตงั้ ใจของผหู้ ญงิ ใน เพราะจะเช่ือฟงั ไม่เกนิ ๒ สัปดาห์ แล้วหลังจากนน้ั
การเข้ามาศกึ ษาธรรมได้อยา่ งไรบ้างเจา้ คะ จะไม่เชื่อฟังเลย น้ีคือท่ีเคยเจอเป็นปกติ เพราะ
วิสัชนา : จริงๆ แล้ว ผู้ชายอยู่กันเป็นร้อยไม่ค่อย ฉะนั้น ถ้ารักษาอาชีวัฏฐมกศีลได้ และได้รับการ
มีปัญหา ผู้หญิงอยู่กันแค่ ๒ คน เร่ิมมีปัญหาแล้ว ส่งเสริมอย่างดี ก็ไม่มีปัญหา ท้ังที่ไทยและที่พม่า
คือมีการทะเลาะวิวาทกัน มีการเถียงกัน ซึ่งตรงนี้ ก็เหมือนกัน จะเป็นท่ีไหนก็ตาม ถ้าส�ำรวมปาก
ถ้าข่มอารมณ์ได้อย่างที่อาตมาบอก การปฏิบัติที่ ส�ำรวมกาย สำ� รวมวาจาได้ กส็ ามารถทำ� ไดท้ ุกเร่ือง
ปดิ วาจา กท็ ำ� ใหผ้ หู้ ญงิ อยกู่ นั ไดอ้ ยา่ งสบาย เพราะถา้ ปุจฉา : อาชีวัฏฐมกศีลแตกต่างจากศีล ๕ ศีล ๘
ไม่ปิดวาจา อิจฉาริษยากัน พูดกระแนะกระแหนกัน อยา่ งไรเจ้าคะพระอาจารย์
สดุ ทา้ ยการทะเลาะววิ าทก็จะเกิดข้นึ ตามมา
ถา้ ผหู้ ญงิ จะเขา้ ไปศกึ ษาธรรมในวดั สง่ิ แรกเลย วิสัชนา : เป็นศลี ๘ ทที่ านมอื้ เยน็ ไดแ้ ต่เน้นตรงเว้น
ตอ้ งใหร้ ะวงั วาจา ท่โี บราณบอกไวว้ ่า “อยู่คนเดียว วจีทุจริต ๔ ส่วนศีล ๕ แค่เว้นมุสาอย่างเดียว แต่
ใหร้ ะวังย้ังความคดิ อยรู่ ่วมมติ รใหร้ ะวงั ยัง้ คำ� ขาน” อาชวี ฏั ฐมกศลี นรี้ วมถงึ ไมพ่ ดู สอ่ เสยี ด ไมพ่ ดู คำ� หยาบ
คอื ถ้าอยู่ ๒ คนข้ึนไป ใหร้ ะวงั ค�ำพูดค�ำจา ถา้ ระวัง ไมพ่ ดู เพอ้ เจอ้ ไมน่ นิ ทาชาวบา้ น ไมก่ ระแนะกระแหน
ค�ำพูดได้ ผู้หญิงเข้าไปศึกษา เข้าไปปฏิบัติธรรม ชาวบา้ น ตดั ตน้ เหตุแหง่ การทะเลาะววิ าทได้
ท่ไี หน กจ็ ะไม่มปี ัญหาดว้ ยประการท้งั ปวง โดยมาก
ปัญหาหลักที่เจอก็คอื เร่อื งการไมส่ ำ� รวมวาจานี้ ปจุ ฉา : ในสว่ นของกฎหมายหรอื ทางรฐั บาล ควรจะ
ส่งเสริมเรือ่ งนอ้ี ย่างไรเจ้าคะ
ปุจฉา : พระอาจารย์คิดว่า จะช่วยผู้หญิงให้ได้มี วสิ ชั นา : กฎหมายกค็ วรสนบั สนนุ ใหผ้ หู้ ญงิ มโี อกาส
โอกาสไดพ้ ฒั นาจติ ใจและพฒั นาการเรยี นร ู้ ทงั้ ปรยิ ตั ิ เขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรมหรอื ศกึ ษาธรรมเปน็ ระบบมากขน้ึ
และปฏบิ ตั ิได้อยา่ งไรบ้างเจ้าคะ ถามว่าเปิดโอกาสไหม จริงๆ ก็เปิดโอกาส แต่เมื่อ
วสิ ัชนา : จรงิ ๆ ทวี่ ัดจากแดงก็เปิดให้เรียนกนั ตาม เปดิ โอกาสแลว้ นี้ จะใชโ้ อกาสนนั้ ไหม อยา่ งไร บางที
ปกตนิ นั่ แหละ สว่ นมาก กม็ โี ยมผหู้ ญงิ มาเรยี นกนั ทว่ี ดั เปิดโอกาสใหไ้ ปฟังเทศน์ฟังธรรม แล้วไม่ยอมไปกม็ ี
เยอะแยะ ท่ีดีท่ีสุดท่ีจะช่วยให้ด้านการเรียนรู้เป็น ก็แล้วแต่คนท่ีมีศรัทธา ข้ึนอยู่กับแต่ละคนต่างหาก
ไปอย่างราบรื่น ขอให้สมาทานอาชีวัฏฐมกศีล ที่จะฉวยโอกาสใหก้ ับตนเอง

อาชวี ัฏฐมกศลี คือ เว้นจากกายทจุ รติ ๓ วจีทจุ รติ ๔ จบบทความนี้ด้วยความรู้ความเข้าใจและ
๓ บวก ๔ เป็น ๗ และสุดท้าย ๘ คือเว้นจาก คติธรรมหลากหลายท่จี ะเปน็ ประโยชน์ จดุ ประกาย
มิจฉาชีพ ถา้ รักษา ๘ ขอ้ นี้ไดด้ ี ผ้หู ญิงจะเขา้ ไปอยู่ การพัฒนาตนเอง ให้มีก�ำลังศรัทธากล้าแข็ง
ตรงจุดไหนก็ตาม จะเป็นส�ำนักเรียน ส�ำนักปฏิบัติ เป็นชาวพุทธแนวหน้า เข้าใจชัดเจนว่า รูปนาม
ก็ไม่มีปัญหา แต่ถ้าอาชีวัฏฐมกศีล กายทุจริต ๓ กายใจน้ี คือสถานที่แห่งการเรียนรู้ ไม่ว่าจะชาย
วจีทุจริต ๔ ไม่สามารถเว้นได้ จะเรียนก็มีปัญหา หรือเปน็ หญิงกต็ าม
จะปฏิบัติก็มีปัญหา ถึงจะส่งเสริมดียังไงก็แล้วแต่

10

พระพุทธศาสนาก็ได้บอกแล้วว่า การเข้าถึง
ชีวิตที่ดีมีความสุข หรือการเข้าถึงธรรมน้ัน มีให้
เราเขา้ ถึงได้ ซึ่งจดั รวมไดเ้ ปน็ ๓ ขนั้ คอื
๑. ข้ันกามอามิส ได้แก่ชีวิตที่วุ่นวายหรือ
วนเวียนอยู่กับการหารูป เสียง กล่นิ รส และสิง่
สมั ผสั กาย ที่สวยงาม ไพเราะ เอรด็ อรอ่ ย มาเสพ
บรโิ ภค บ�ำรงุ บ�ำเรอ ตา หู จมกู ลิน้ และรา่ งกาย
สุขสนุกสนานเพลิดเพลินอยู่กับส่ิงเหล่านั้น ชีวิต
และความสขุ ขั้นน้ี แบ่งซอยไดเ้ ปน็ ๒ ระดับ คือ
ก) ระดับท่ีไร้การศึกษา หรือยังไม่พัฒนา
การบ�ำรุงบ�ำเรอ ท�ำให้แก่ตัวเอง และไม่รู้จักอิ่ม
ไม่รู้จักพอ จึงต้องหามาเสพให้มากท่ีสุด และ
หามาเติมเรือ่ ยไป

ปัญญาปรทิ ัศน์

สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

ธรรมะ ฉบบั เรยี นลัด
เมอ่ื สุขแท้ ก็ถึงธรรม
มนุษย์ทุกคนต้องการชีวิตท่ีดีและมีความสุข สิ่งเสพนั้นอยู่นอกตัว ซึ่งจะต้องหาเอามา
ท่ีแท้จรงิ และเรากด็ ำ� เนนิ ชวี ิต เพียรพยายามทำ� ความสุขข้ันกาม จึงเป็นความสุขจากการได้การ
ทกุ อยา่ งเพอ่ื หาสง่ิ น้ี แตแ่ ลว้ มนษุ ยก์ ป็ ระสบปญั หา เอา ต้องแย่งชิง เบียดเบียน เอารัดเอาเปรียบ
กนั อยอู่ ยา่ งนแี้ หละ เพราะเพยี รพยายามไป โดย ตลอดจนท�ำลายกัน ว่าโดยคุณภาพ ไม่แตกต่าง
ไม่รู้ไม่เข้าใจว่าชีวิตท่ีดีและความสุขท่ีแท้จริงน้ัน จากสัตว์ท้ังหลายท่ีคนดูถูกว่าเป็นช้ันต�่ำ และย่ิง
คอื อะไร เลวร้ายกว่าด้วยซ้�ำ โดยอัตราของความรุนแรง
ขอรวบรัดว่า หลักในการสร้างชีวิตที่ดีและ เพราะมนุษย์มีมือ มีสมอง และอุปกรณ์ ท่ีจะใช้
มคี วามสขุ นี้ ไม่มอี ะไรมาก ก็คือการเขา้ ถงึ ธรรม แย่งชิงและท�ำลายกันได้หนักหนากว่า
นั่นเอง เป็นอันเดียวกัน เมื่อใดเราเข้าถึงชีวิตที่ดี ข) ระดับที่เข้าสู่การศึกษา หรือเริ่มมีการ
มคี วามสุขที่แทจ้ ริง ก็คอื เข้าถงึ ธรรม พูดส้นั ๆ วา่ พัฒนา ถึงแม้ว่าแต่ละคนจะแสวงหาทรัพย์สิน
เมื่อสุขแท้ กถ็ งึ ธรรม เม่ือพดู อย่างน้ีแลว้ ทกุ ทา่ น เงินทอง และยศศกั ด์ฐิ านะต�ำแหนง่ กันไป เพอ่ื จะ
จะได้ไม่หนักใจ จะได้เห็นการก้าวเข้าไปหาธรรม ได้มีส่ิงเสพสิ่งบริโภค และมีโอกาสเสพบริโภคได้
เปน็ เรอื่ งทต่ี รงกบั จดุ หมายของชวี ติ ของเราอยแู่ ลว้ มากๆ ทา่ นกไ็ มว่ า่ แต่ขอให้มเี คร่อื งยบั ยัง้ หรืออยู่

๔๐ 11

ในขอบเขตทจ่ี ะไมก่ อ่ ปญั หาแกช่ วี ติ และสงั คมมาก บนสิง่ ทเ่ี ปน็ ทุกข์ ฐานไม่ม่ันคง ฉะนนั้ เราจะต้อง
เกินไป และให้รู้จักพัฒนาชีวิตข้ึนสู่ขั้นที่สูงข้ึนไป พัฒนาชวี ติ ตอ่ ไป จึงก้าวต่อไปสู่การพัฒนาในขั้น
อกี เพ่อื จะไดส้ ร้างสรรคป์ ระโยชน์สุขแก่ชีวติ และ จติ และขั้นแหง่ อสิ รภาพดว้ ยปญั ญา
สงั คมใหม้ ากขึ้น ๒. ข้ันจิตวัฒนะ การพัฒนาในข้ันจิตวัฒนะ
เครื่องยับย้ังหรือขอบเขตท่ีว่านั้นก็คือศีล ๕ จะท�ำให้คนมีจิตใจท่ีมีคุณภาพ ประกอบด้วย
ซง่ึ อาจจะมาในรูปของกฎหมาย และกติกาสงั คม คุณธรรม เชน่ เมตตากรณุ า ศรทั ธา ความกตญั ญู
อย่างอื่นๆ ท�ำให้การแสวงหากามอยู่ในขอบเขต กตเวที เป็นต้น มสี มรรถภาพ เปน็ จิตใจทเี่ ข้มแขง็
ท่ีจะไม่แย่งชิงเบียดเบียนกันเกินไป ท�ำให้มนุษย์ มั่นคง ขยัน อดทน มีสติ รจู้ ักรับผิดชอบ และมี
พออยู่กันไปได้ ท�ำให้สังคมพอมีสันติสุขบ้าง ใน สขุ ภาพดี เพราะสงบ สบาย ผ่อนคลาย เอิบอมิ่
ระดบั น้ี ท่านให้เอาทาน มาช่วยเสริมความมน่ั คง ผอ่ งใส สดชน่ื เบิกบาน มีความสุข
ปลอดภัยและความสงบสุขของสังคม โดยให้ เพยี งแคไ่ ดก้ ารพฒั นาในขน้ั จติ วฒั นะมาชว่ ย
มนุษยร์ จู้ ักใหแ้ กก่ ัน มกี ารแบง่ ปันเอ้ือเฟ้อื เผือ่ แผ่ แทรกเสรมิ บ้าง ก็ยังช่วยให้การหาความสขุ ในขนั้
เฉลยี่ รายได้ ชว่ ยเหลอื ผู้ตกทกุ ข์หรือยากไร้ กามอามสิ เปน็ ไปดว้ ยดขี น้ึ มากมาย ทงั้ ในสว่ นชวี ติ
พอมศี ลี เปน็ ฐาน และมที านมาเสรมิ มนษุ ยก์ ็ ของบคุ คล และในด้านสันตสิ ุขของสังคม และยัง
อย่รู ว่ มกนั ไดด้ ีขน้ึ มกี ารเออ้ื เฟ้ือเกอ้ื กลู กนั สังคม ไดค้ วามสขุ ทป่ี ระณตี สงู ขน้ึ ไป มาเพม่ิ คณุ คา่ ใหแ้ ก่
มีสันติสุขพอสมควร แต่ยังมีจุดอ่อนท่ีท�ำให้เกิด ชวี ิตนนั้ อกี ด้วย
ปญั หาอยา่ งอื่นอีก การพัฒนาในข้ันจิตวัฒนะโดยตรง จะท�ำให้
ความสุขจากกามอามิสน้ัน ต้องอาศัยสิ่ง จติ เกดิ มคี ณุ สมบตั ทิ ส่ี ำ� คญั คอื มพี ลงั มาก (เหมอื น
ที่อยู่นอกตัว จึงเป็นความสุขแบบพ่ึงพา ขึ้นต่อ ปล่อยน้�ำให้ไหลไปในท่อหรือรางทางเดียว ไม่
ภายนอก ไม่เป็นอิสระแก่ตัว ต่างก็ตกอยู่ภายใต้ กระจดั กระจาย) ใสกระจ่าง เออื้ ต่อการใช้ปัญญา
กฎธรรมชาติแห่งความไม่เที่ยง เปลี่ยนแปลง มี (เหมือนน�้ำน่ิงสนิท ไม่ไหวกระเพ่ือม ฝุ่นละออง
การเกิดดบั เส่ือมสลาย ยงั เจอกบั ปญั หาของชีวิต ตกตะกอน จึงใส มองเห็นทุกอย่างในน�้ำชัดเจน)
จติ ใจ ทพ่ี ว่ งเอาอาการของความทกุ ขเ์ ขา้ มาแฝงไว้ และสงบสบาย มคี วามสขุ (เพราะไมม่ อี ะไรรบกวน
กบั ความสขุ ในการเสพกามอามสิ เชน่ ความหวาด ไมข่ นุ่ มัว ไม่ฟงุ้ ซา่ น รอ้ นรน กระวนกระวาย)
ท่ีมาคกู่ บั ความหวงั ความหว่ งหวง ระแวง หวน่ั ใจ
ท่ีซ่อนตัวซ้อนอยู่ในการได้ครอบครอง ความ
ชินชาเบ่ือหน่ายที่ตามติดมาต่อจากการได้เสพ
สมปรารถนา การตกเป็นทาส หมดอ�ำนาจในตัว
เม่ือหลงใหลเมามัว ความรันทดเมื่ออดหรือ
หมดหวงั และความโศกเศรา้ เหย่ี วแห้งใจเมอ่ื ต้อง
สญู เสยี หรอื พลดั พรากจากไป
ถา้ พฒั นาเพียงแค่น้ี ยังหนที กุ ขไ์ มพ่ ้น ยังจะ
เจอทง้ั ทกุ ขน์ อกและทกุ ขใ์ น เพราะเปน็ สขุ ทตี่ งั้ อยู่

12 ๔๐

จิตท่ีมีคุณสมบัติอย่างน้ีเรียกว่าเป็นกัมมนีย์
คือเหมาะแก่การใช้งาน พร้อมที่จะปลูกฝัง
คุณธรรมต่างๆ หรอื ใช้คดิ พิจารณา พัฒนาปญั ญา
ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะของจิตท่ีมีสมาธิ การพฒั นาในขนั้
จิตใจนี้ จึงมีสมาธิเป็นแกน หรือเป็นตัวแทนเลย
ทเี ดียว
ถ้ามุ่งหน้าเอาจริงเอาจังกับเร่ืองสมาธิ ก็
ฝึกสมาธิให้แน่วแน่ สนิทลึกลงไปอีก จนถึงข้ัน
เป็นฌานระดับต่างๆ ซึ่งมีทั้งข้ันท่ีอยู่กับรูปธรรม
(รูปาวจร) และขนั้ ทีอ่ ยู่กบั อรปู ธรรม (อรูปาวจร) เป็นผู้ท�ำกิจเสร็จแล้ว บรรลุประโยชน์ตนแล้ว
ความสุขในขั้นจิตวัฒนะน้ี ประณีตและ ไมม่ อี ะไรทจ่ี ะตอ้ งทำ� เพือ่ ตัวเองอีก ปลดเปล้อื ง
บรสิ ทุ ธขิ์ นึ้ ไปมาก เพราะไมม่ อี าการของความทกุ ข์ ตัวเป็นอิสระแล้ว จึงท�ำเพื่อผู้อื่นได้เต็มท่ี
แบบท่ีแฝงมากับการเสพกามอามิส เช่น ความ เรียกว่า มีกรุณา หรือการุณยธรรมที่บริสุทธิ์
หวาดระแวง เบ่ือหน่าย รันทดใจ เป็นต้น และสมบูรณ์
แมจ้ ะไดถ้ งึ ขน้ั นี้ ทา่ นกบ็ อกวา่ ยงั ไมพ่ ออกี นนั่ เมื่อพัฒนามาจนมีชีวิตและความสุขถึงขั้นนี้
แหละ การที่เราจะอยู่ข้างในกับจิตใจของตัวนั้น โดยมคี วามสดชน่ื เบกิ บานอยเู่ ปน็ ธรรมดาแลว้ ถา้
มันด่ืมด�่ำไปไดล้ ึกล�ำ้ ก็จรงิ แต่อาจจะตดิ เพลนิ กบั จะเอาความสุขทางจิตมาใส่อีกก็ไม่ว่า จะมีความ
สมาธิและผลพลอยไดข้ องมนั แลว้ กลายเป็นพวก สุขทางประสาททั้งห้ามาเสริม ก็ได้ความสุขน้ัน
หลีกหนีสังคม ไม่เผชิญหน้าความจริง เป็นการ เต็มสภาพบริบูรณ์ และทั้งไม่เป็นพิษเป็นภัยแก่
หลบทุกข์ พ้นปัญหาไปได้ชั่วคราว พอออกจาก ใครด้วย ทุกอย่างอยู่ในภาวะสมดุลพอดีไปหมด
สมาธิก็เจอกับสภาพเก่า ยังมีความยึดติดถือม่ัน เพราะมีปัญญาท่ีไร้ทุกข์เป็นตัวควบคุม โดยนัยนี้
และถูกธรรมดาของธรรมชาติบีบค้ันเอาได้ ไม่ได้ เมื่อมีความสุขขั้นสุดท้ายท่ีไร้ทุกข์ด้วยปัญญา ก็
แกป้ ัญหาให้เสรจ็ สิน้ ไป เพราะฉะน้นั จะต้องก้าว จบสงู สุดถึงจุดหมาย
ต่อไปอีก ให้ถึงความสมบูรณ์ จบส้ินปัญหา สรปุ ไดว้ า่ ชวี ติ และความสขุ ๓ ขนั้ โดยยอ่ คอื
ให้เป็นสุขโดยไม่มีทุกข์เหลืออยู่ แล้วท่านก็บอก ๑) ขัน้ กามอามสิ (เรียกใหส้ ัน้ วา่ ข้ันกาม ช่อื
ขน้ั ต่อไปอีก เตม็ คอื ขั้นกามาวจร - ท่องเทีย่ วไปในกาม) ต้อง
๓. ข้ันอิสระหลุดพ้น หมายถึง ชีวิตที่พ้น ใชศ้ ลี เปน็ เคร่อื งควบคุม โดยมที านสนับสนุน
หรืออยู่เหนือการที่จะถูกบีบค้ันครอบง�ำด้วย ๒) ขน้ั จติ วัฒนะ (ช่ือเต็มคือ ขัน้ รูปาวจร =
ปัญหา ไม่ว่าอย่างใดๆ แม้แต่ความเป็นไปของ ทอ่ งเที่ยวไปในรูป และอรปู าวจร = ทอ่ งเท่ยี วไป
กฎธรรมชาติแห่งความเปล่ียนแปลง ไม่เท่ียงแท้ ในอรปู ) มสี มาธิ เป็นแกนนำ� ในการพัฒนา
และเสื่อมสลาย มีความสขุ ที่ปลอดโปรง่ โล่งเบา ๓) ขน้ั อสิ ระหลดุ พน้ (ชอื่ เตม็ คอื ขนั้ โลกตุ ตระ
ไมม่ เี งาของความทกุ ขร์ บกวน ผทู้ ม่ี ชี วี ติ และความ - เหนอื โลก หรอื ขั้นปรมัตถ์ - ประโยชน์สงู สดุ ) มี
สุขถึงข้ันน้ี จะมีคุณสมบัติส�ำคัญอย่างหน่ึง คือ ปัญญา เป็นตวั ช้ีขาด ที่จะนำ� เข้าถงึ จุดหมาย

๔๐ 13

ปฏบิ ัตธิ รรม คืออยา่ งไร

ค�ำวา่ ปฏิบตั ิธรรม ก็คือ เอาธรรมมาปฏบิ ัติ ในหลกั ศลี ๕ จงึ กำ� หนดใหไ้ มม่ กี ารเบยี ดเบยี น
เอาธรรมมาใช้ด�ำเนินชีวิต การท�ำงาน ให้เกิด ท�ำร้าย ไม่ละเมิดต่อชีวิตและร่างกาย ไม่ละเมิด
ประโยชนใ์ นชวี ติ จรงิ ทำ� ใหเ้ ปน็ ชวี ติ ทดี่ มี คี วามสขุ ตอ่ กรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส์ นิ ไมล่ ะเมดิ ตอ่ คคู่ รองของ
การปฏบิ ตั ธิ รรมจงึ เปน็ เรอื่ งกวา้ งๆ ไมเ่ ฉพาะ กนั และกนั ไมใ่ ชว้ าจาทำ� รา้ ยหลอกลวงกนั และไม่
การทจี่ ะปลกี ตวั ออกจากสงั คม ไปอยวู่ ดั ไปอยปู่ า่ คกุ คามตอ่ ความรสู้ กึ มน่ั คงปลอดภยั ของผอู้ นื่ ดว้ ย
แลว้ ก็ไปน่งั บ�ำเพ็ญสมาธิ อะไรอย่างนัน้ ไม่ใช่แค่ ศีล ๘ นน้ั เป็นเคร่ืองเสรมิ และเอือ้ โอกาสยง่ิ
นั้น นั้นเป็นเพียงส่วนหนึ่ง เป็นการพยายามน�ำ ขน้ึ ไป ทงั้ ดา้ นเวลาและแรงงาน ในการทจ่ี ะพฒั นา
ธรรมมาใชใ้ นข้นั ลึก ในการทจี่ ะฝกึ ฝนจติ ใจอย่าง ชีวิตทางด้านจิตใจและปัญญา หรือเป็นเคร่ือง
จริงจัง ที่จริงนั้น การปฏิบัติธรรมต้องมีตลอด เสริมและเอื้อโอกาสในการบ�ำเพ็ญจิตตภาวนา
เวลา เมื่อท�ำงานหรือท�ำหน้าท่ีของตนอย่างถูก และปัญญาภาวนา
ตอ้ ง ตงั้ ใจท�ำใหด้ ี ให้เกิดคุณประโยชน์ ใหส้ ำ� เร็จ ศีลอยา่ งอ่ืนๆ ยงั มอี กี มาก เช่น ศลี ในการฝึก
ความมุง่ หมายท่ดี งี าม กเ็ ป็นการปฏบิ ัติธรรม อนิ ทรยี ์ คอื ฝกึ ใหร้ จู้ กั ใชต้ า หู จมกู ลนิ้ กาย และใจ
โดยเฉพาะ ๕ อยา่ งแรก ใหด้ เู ป็น ฟงั เป็น คอื ดู
หลักการทว่ั ไปของการปฏิบัติธรรม : ชุดที่ ๑ และฟังให้ได้ประโยชน์แก่ชีวิต ไม่ให้เกิดโทษ
เน้อื ตัวของการปฏบิ ตั ิทีท่ ่านจัดวางไว้เป็นหลกั กอ่ ความเสยี หายความเดอื ดรอ้ นหรอื ความลมุ่ หลง
ธรรมหัวข้อต่างๆ นน้ั ยอ่ ใหส้ น้ั กค็ ือ สกิ ขา หรอื มวั เมา และศลี ในการเสพ หรอื บรโิ ภคสง่ิ ตา่ งๆ ให้
การศกึ ษา ซึง่ แยกออกไปเปน็ ศีล สมาธิ ปญั ญา ไดค้ ุณคา่ แท้ ไม่หลงไปในคณุ คา่ เทียม เปน็ ตน้
เรียกวา่ ไตรสิกขา ส�ำหรบั คฤหัสถ์ ก็เปน็ ทาน ศลี ๒. สมาธิ หมายถงึ การฝกึ ฝนอบรมจติ ใจให้
ภาวนา ซึ่งเรียกว่า บญุ สิกขา สงบ แน่วแน่ ม่ันคง เพื่อให้เป็นจิตใจที่สามารถ
ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา หรอื การศกึ ษา ๓ ท�ำงานหรือใช้การได้ดี โดยเฉพาะในการคิด
อย่าง ดงั นี้ พจิ ารณาใหเ้ กิดปัญญา หรือใชป้ ญั ญาอย่างไดผ้ ล
๑. ศลี คอื ความมรี ะเบยี บในการดำ� เนนิ ชวี ติ ๓. ปัญญา ได้แก่ การมีความรู้เข้าใจส่ิงท้ัง
และในการอยู่ร่วมสังคม หรือพูดให้ง่าย ได้แก่ หลายตามความเป็นจริง ปญั ญามหี ลายขัน้ หลาย
ความมวี นิ ยั และการปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑก์ ตกิ าใน ระดับ เชน่
การอยรู่ ่วมกนั เพ่อื ใหม้ คี วามสมั พันธ์ทีด่ ีในสังคม ขน้ั เร่มิ ตน้ คือการร้เู ข้าใจสิ่งทเ่ี ลา่ เรยี น สดบั
ชีวิตและสังคมจะได้เรียบร้อย ราบร่ืน ไม่สับสน ตรบั ฟงั หรอื ขา่ วสารขอ้ มลู ตา่ งๆ และประสบการณ์
วนุ่ วาย ทเี่ ข้ามาทางตา หู จมูก ลนิ้ กาย ตลอดจนความ
ศีลมีหลายระดับ หลายประเภท จัดไว้ให้ จ�ำหมายและความร้สู ึกนกึ คิดที่ปรากฏหรือส่ังสม
เหมาะกับสภาพชีวิตและสังคม หรือชุมชนน้ันๆ อยใู่ นใจ ปญั ญาทำ� ใหร้ บั รแู้ ละมองดปู ระสบการณ์
ในการทจ่ี ะปฏิบัตเิ พอ่ื เข้าถงึ จดุ หมายของตน นน้ั ๆ อยา่ งถกู ตอ้ งตรงความจรงิ และอยา่ งบรสิ ทุ ธ์ิ
ศีล ๕ เป็นกฎเกณฑค์ วามสัมพนั ธพ์ ืน้ ฐานใน ไม่ถูกปรุงแต่งด้วยความชอบชัง ยินดียินร้าย ไม่
สงั คม เพอ่ื ใหค้ นอยรู่ ว่ มกนั ดว้ ยดี ไมเ่ บยี ดเบยี นกนั เอนเอยี งดว้ ยอคตติ า่ งๆ
เปน็ ฐานรองรับความมีสนั ตสิ ุขของสงั คม

14 ๔๐

ข้ันต่อไป ได้แก่ การพิจารณาวินิจฉัย และ ความเมตตา มีความปรารถนาดี ท�ำด้วยศรัทธา
คิดการต่างๆ ได้ถูกต้องชัดเจน โดยไม่ถูกกิเลส ทำ� ดว้ ยสติ มคี วามเพยี ร มคี วามรบั ผดิ ชอบ เปน็ ตน้
เช่น ความเห็นแก่ได้ และความเกลียด โกรธ และในขณะที่ท�ำ เรามีสภาพจิตใจเป็นอย่างไร
เปน็ ตัวครอบง�ำ ชกั จูง เรา่ รอ้ น กระวนกระวาย ขนุ่ มวั เศรา้ หมอง หรอื วา่
ปัญญาอีกด้านหน่ึง หมายถึง การมองเห็น มีจิตใจที่สงบ ร่าเริง เบิกบาน เป็นสุข เอิบอิ่ม
สิง่ ท้ังหลายลว่ งทะลุถึงเหตุปจั จัยต่างๆ ตลอดจน ผอ่ งใส (สมาธ)ิ
สามารถเชอ่ื มโยงความรใู้ นสงิ่ ทงั้ หลาย มาใชแ้ กไ้ ข ๓. การกระทำ� ครง้ั นี้ เราทำ� ดว้ ยความรู้ ความ
ปญั หาและทำ� การสรา้ งสรรค์ จดั ดำ� เนนิ การตา่ งๆ เข้าใจ มองเห็นเหตุผล รู้เข้าใจหลักเกณฑ์และ
ปญั ญาในขน้ั สูงสดุ หมายถึง ความรเู้ ท่าทนั ความ ความมุ่งหมาย มองเหน็ ผลดี ผลเสีย และหนทาง
เปน็ จรงิ ของโลกและชวี ติ ทที่ ำ� ใหห้ ายตดิ ขอ้ ง หมด แก้ไขปรบั ปรุง พร้อมดีแลว้ หรอื ไม่ (ปญั ญา)
ความยึดม่ันถือม่ันในส่ิงทั้งหลาย ซ่ึงส่งผลย้อน
กลบั ไปยงั จติ ใจ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเปน็ อสิ ระหลดุ พน้ หลกั การทัว่ ไปของการปฏิบัตธิ รรม : ชุดท่ี ๒
เป็นอยู่ด้วยความปลอดโปร่ง โล่งเบา เบิกบาน สว่ น ทาน ศีล ภาวนา ทเี่ รียกวา่ บญุ สิกขา
ผ่องใสอยา่ งแทจ้ รงิ กม็ สี าระสำ� คญั อยา่ งเดยี วกับไตรสกิ ขานี้เอง
สิกขา หรอื ศึกษา แปลวา่ การฝกึ ฝนปฏบิ ตั ิ ๑. ทาน คอื การให้ การเผอื่ แผ่แบ่งปัน เพ่อื
หรือเรียนให้รู้และฝึกท�ำให้เป็น หลักไตรสิกขา ช่วยเหลือกัน เพ่ือยึดเหนี่ยวสังคม และเพื่อส่ง
หรือการศกึ ษา ๓ อย่างนี้ เปน็ การฝึกพัฒนาชีวติ เสริมความดงี ามและการท�ำส่ิงที่ดี
๓ ด้าน คอื ดา้ นความสมั พนั ธ์กับสภาพแวดล้อม ทานเป็นเครื่องเสริมการอยู่ร่วมในสังคมให้
ทั้งทางวัตถุและทางสังคม ด้านจิตใจ และด้าน เป็นไปดว้ ยดี มีระเบยี บมน่ั คงยงิ่ ข้ึน พร้อมกันนน้ั
ปัญญา กเ็ ปน็ เครอ่ื งฝกึ หดั ขดั เกลา ทง้ั พฤตกิ รรมภายนอก
ในการกระทำ� ทกุ ครง้ั ทกุ อยา่ ง ไมว่ า่ จะแสดง ทางกาย วาจา และฝึกฝนอบรมจิตใจ ให้เจริญ
พฤติกรรมอะไร หรือมีกิจกรรมใดๆ ก็ตาม เรา ย่ิงขึ้นไปในคุณธรรม และความเอิบอ่ิม เบิกบาน
สามารถฝึกฝนพัฒนาตนและส�ำรวจตรวจสอบ ผอ่ งใส
ตนเอง ตามหลักไตรสิกขานี้ ให้มีการศึกษาครบ ๒. ศลี ก็มสี าระอยา่ งศลี ในไตรสิกขาขา้ งตน้
ท้งั สามอย่าง ท้งั ศลี สมาธิ และปญั ญา พร้อมกนั ๓. ภาวนา แยกเปน็ ภาวนาในดา้ นสมาธิ และ
ไปทกุ ครง้ั ทกุ คราว คอื เมอื่ ทำ� อะไรกพ็ จิ ารณาดวู า่ ภาวนาในดา้ นปัญญา
๑. พฤติกรรมหรือการกระท�ำของเราคร้ังน้ี ภาวนา แปลว่า ท�ำให้เกิด ให้มีขึ้น ท�ำให้
มีการเบยี ดเบยี น จะท�ำให้เกิดความเดอื ดร้อนแก่ เป็นขึ้น ส่ิงท่ียังไม่เป็นก็ท�ำให้เป็น ส่ิงที่ยังไม่มี
ใครหรือไม่ หรือว่าเป็นไปเพ่ือความเก้ือกูล ช่วย ก็ท�ำใหม้ ขี น้ึ การฝึกอบรม หรือการเจรญิ พัฒนา
เหลือ ส่งเสรมิ และสรา้ งสรรค์ (ศลี ) ใหง้ อกงามบริบรู ณ์
๒. ในการกระทำ� เดยี วกนั น้ี จติ ใจของเราเปน็ การภาวนาในระดบั ทเี่ ราตอ้ งการในทน่ี ี้ แยก
อยา่ งไร เราทำ� ดว้ ยจติ ใจทเี่ หน็ แกต่ วั มงุ่ รา้ ยตอ่ ใคร เป็น ๒ อยา่ งคอื จติ ตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจ
ท�ำดว้ ยความโลภ โกรธ หลง หรอื ไม่ หรอื ทำ� ด้วย อยา่ งหนงึ่ และ ปญั ญาภาวนา การฝกึ อบรมปญั ญา
อีกอยา่ งหนึง่

๔๐ 15

ศลี และภาวนา โดยขยายดา้ นนอกเป็น ๒ อยา่ ง
คอื ทาน กบั ศลี เอาขา้ งใน ๒ อยา่ งคอื สมาธิ และ
ปญั ญา ไปยบุ เปน็ ภาวนาอยา่ งเดียว
ส่วนชุดศีล สมาธิ ปัญญา น้ัน เอาด้านใน
คอื ภาวนา ไปแยกละเอยี ดเปน็ จติ ใจ คอื สมาธิ กบั
ปัญญา แต่ดา้ นนอก คอื ทาน กบั ศีลนัน้ รวมเป็น
อันเดียว เพราะว่าศีลนั้น หลักการคืออยู่ร่วม
จติ ตภาวนาน้ัน เรียกง่ายๆ ว่า สมถะ หรือ กันด้วยดีกับผู้อ่ืนในสังคม ส่วนทานก็เป็นองค์
สมถภาวนา สมถะน้ี ตัวแก่นของมันแท้ๆ คือ ประกอบในการที่จะอยู่ร่วมกันด้วยดีกับผู้อ่ืนใน
สมาธิ เพราะสมถะ แปลว่า ความสงบ ตัวแก่น สังคม ก็เลยมารวมอยู่ในค�ำวา่ ศลี
ของความสงบคอื สมาธิ ความมใี จแน่วแน่ สมถะ เพราะฉะน้ัน เมื่อท่านได้ฟังค�ำว่า ทาน ศีล
มุ่งทีต่ วั สมาธิ จะวา่ สมาธเิ ปน็ สาระของสมถะก็ได้ ภาวนา กับ ศลี สมาธิ ปญั ญา ก็ใหท้ ราบว่าทจ่ี ริง
ฉะนน้ั กเ็ รียกอีกอย่างหนงึ่ ว่า สมาธภิ าวนา (ค�ำว่า เป็นระบบอันเดียวกัน แต่เราแยกเพ่ือให้เห็นจุด
จิตตภาวนาก็ดี สมถภาวนาก็ดี สมาธิภาวนาก็ดี เนน้ ท่ตี า่ งกนั สำ� หรับคฤหสั ถจ์ ะเนน้ ดา้ นนอก จัด
จึงใช้แทนกันไดห้ มด) เปน็ ทาน ศลี ภาวนา แตส่ �ำหรับพระสงฆจ์ ะเน้น
อย่างท่ีสอง ปัญญาภาวนานั้น เรียกชื่ออีก ด้านใน วางหลกั เปน็ ศลี สมาธิ ปญั ญา
อย่างหนง่ึ วา่ วปิ ัสสนาภาวนา เปน็ การเจรญิ คือ อน่ึง ช่ือเรียกก็คล้ายๆ กัน ชุด ศีล สมาธิ
ปัญญาท่ีเข้าใจความจริงของส่ิงทั้งหลาย ปัญญา ปัญญา ทุกท่านรู้จักกันดีแล้วว่า ไตรสิกขา ไตร
ในขน้ั ทรี่ จู้ กั โลกและชวี ติ ตามความเปน็ จรงิ เพราะ แปลวา่ ๓ สกิ ขา คอื การศกึ ษา รวมเปน็ ไตรสกิ ขา
ฉะนน้ั วปิ สั สนาภาวนา เรยี กใหก้ วา้ งกเ็ ปน็ ปญั ญา แปลว่า การศึกษา ๓ อย่าง
ภาวนา ส่วนชดุ ทาน ศลี ภาวนา เรียกช่ือต่างไปนิด
อย่างไรก็ตาม ทาน ศีล ภาวนาน้ี ท่านมุ่ง หนงึ่ วา่ ปญุ ญสกิ ขา หรอื บญุ สกิ ขา กค็ อื การฝกึ ฝน
ส�ำหรบั คฤหสั ถ์ ดงั น้นั บญุ สกิ ขาจงึ เนน้ ข้อปฏิบัติ ในเรื่องความดี หรือการฝึกหัดท�ำความดีน่ันเอง
ขน้ั ตน้ ๆ หรอื ขนั้ พน้ื ฐาน คอื ทานเนน้ ทอี่ ามสิ ทาน ปญุ ญ = ความดี สกิ ขา = การฝึกอบรม คือการ
ไดแ้ กก่ ารใหว้ ตั ถุ ศลี เนน้ ทศี่ ลี ๕ หรอื ขยบั ขน้ึ ไปอกี ฝึกฝนปฏิบัติอบรมในเร่ืองความดี การท�ำให้คน
เปน็ ศลี ๘ สว่ นภาวนา กเ็ นน้ แคเ่ มตตาภาวนา คอื เจริญงอกงามข้ึนในความดีต่างๆ ด้วยทาน ศีล
การเจริญเมตตาหรือไมตรี ที่จะเป็นพ้ืนฐานแห่ง ภาวนา รวมแล้วทั้ง ๒ ชดุ กเ็ ป็นอันเดียวกนั ตา่ ง
สันติสุขของสังคม ถ้าสามารถท�ำได้มากกว่านั้น กนั ที่จุดเนน้ ดงั กล่าว
ก็ขยายออกไปสู่จิตตภาวนา และปัญญาภาวนา เม่ือปฏบิ ัตธิ รรมตามหลักไตรสิกขา หรือบญุ -
เตม็ รปู อยา่ งที่วา่ ข้างต้น สิกขา ๓ ประการ อยา่ งถูกต้องดแี ล้ว กจ็ ะเขา้ ถึง
วา่ ที่จริง ทั้ง ๒ ชดุ คือ ทาน ศลี ภาวนา กบั ชวี ิตทด่ี ีงาม มีความสุขทีแ่ ท้จรงิ โดยเข้าถงึ ธรรม
ศลี สมาธิ ปญั ญา นี้ ทจ่ี ริงก็เรือ่ งเดยี วกนั แตช่ ดุ และความสขุ ทงั้ ๓ ระดบั ไดจ้ นถงึ ทสี่ ดุ ดงั ไดก้ ลา่ ว
หนง่ึ เนน้ ดา้ นภายนอก เนน้ ดา้ นหยาบ จดั เปน็ ทาน แล้วแตเ่ บ้ืองต้น

16 ๔๐

หลกั พุทธธรรมเพอ่ื การปฏบิ ัติธรรม*

จะพดู ถงึ ตวั ขอ้ ธรรมในการปฏบิ ตั ไิ วบ้ า้ ง โดย
จะเสนอไว้อยา่ งกว้างๆ ใหเ้ หน็ หลกั ในการปฏบิ ตั ิ
ธรรมแบบคลมุ ทุกระดบั
หนึ่ง หลักการปฏิบัติทั่วไปตลอดสายแบบ
คร่าวๆ ชุดหน่ึงที่น่าจะน�ำมาใช้แนะน�ำท�ำกันให้ คอื วปิ สั สนาภมู ิ ตอนนยี้ ากหนอ่ ยแลว้ ฟงั หวั ขอ้ ไว้
มาก กค็ อื หลกั มงคล ๓๘ ประการ เฉยๆ อาตมายกเอามาพูดให้ครบไว้ ไม่ต้องถือ
หลักนี้มขี ้อปฏิบัติตง้ั แตต่ ้นไปตลอด บอกวธิ ี เป็นสำ� คัญนัก
ด�ำเนินชีวิต ต้ังแต่ต้นจนถึงขั้นสูงสุด เร่ิมตั้งแต่ วิปัสสนาภูมิน้ัน ก็มีเรื่องขันธ์ ๕ เร่ือง
ไมค่ บพาล คบบณั ฑิต บชู าคนทีค่ วรบชู า นี้คอื ให้ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒ อรยิ สัจ ๔
มีทัศนคติและค่านิยมถูกต้องเก่ียวกับบุคคล ให้ และปฏิจจสมุปบาท ท้ังหมดนี้ เป็นภูมิของ
ยกย่องบคุ คลดว้ ยความดงี าม ไมใ่ ชย่ กย่องในทาง วปิ สั สนา เมอื่ เราเรยี นธรรมพวกนก้ี เ็ ปน็ การเรยี น
ผดิ เปน็ การสง่ เสรมิ คา่ นยิ มทถ่ี กู ตอ้ ง ทำ� ใหม้ ที ฏิ ฐิ เก่ียวกับวิปัสสนา
ทีถ่ ูกตอ้ ง หลักธรรมส�ำคัญมาก ที่จะเข้ามาสู่การ
ขอ้ ปฏบิ ตั อิ น่ื ๆ กจ็ ะมไี ปตามลำ� ดบั จนถงึ ๓๘ พิจารณาศึกษาในขั้นน้ีคือเร่ืองไตรลักษณ์ เม่ือ
ประการ ตอนทา้ ยๆ กจ็ ะมี การเหน็ อรยิ สจั การทำ� ปฏิบัติธรรมตามแนววิปัสสนา ปัญญาเกิดข้ึน ก็
นิพพานใหแ้ จง้ จนกระทัง่ ท้ายสดุ จติ ของผูใ้ ดถูก จะเหน็ ไตรลกั ษณ์ เชน่ พจิ ารณาขันธ์ ๕ ไป กจ็ ะ
โลกธรรมกระทบแล้วไม่หวนั่ ไหว เป็นจิตไร้ความ เหน็ ไตรลักษณ์ ตลอดจนถึงขอ้ สดุ ท้าย พจิ ารณา
โศก ไมม่ ีธุลี ไม่ขุ่นมวั ไมเ่ ศร้าหมอง เป็นจิตเกษม ในหลักปฏิจจสมุปบาท ก็จะเห็นไตรลักษณ์เช่น
ก็จบลงท่ีจิตปลอดโปร่ง ผ่องใส ไม่มีความทุกข์ เดียวกนั เพราะปฏิจจสมปุ บาทนนั้ กค็ อื หลักแห่ง
ด้วยประการใดๆ ทั้งสิน้ ความเป็นไปตามเหตปุ จั จัย
สอง หลักปฏิบัติในระดับสมถะ หรือข้ัน ความเป็นไปตามเหตุปัจจัยน้ัน ก็ปรากฏ
จิตตภาวนา ท่านให้หลักไว้มากมาย เรียกว่า เป็นการเปล่ียนแปลง ท�ำให้มองเห็นการท่ีองค์
กรรมฐาน ๔๐ คอื เทคนิค ๔๐ อย่าง เช่น อนสุ สติ ประกอบทั้งหลายมารวมกันเข้า ประชุมกันเข้า
๑๐ มีการระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า ระลึกถึงคุณ เป็นองค์รวมอย่างใดอย่างหน่ึง ท่ีสมมติเรียกว่า
พระธรรม ระลึกถึงคุณพระสงฆ์ ... จนกระท่ัง เป็นสิ่งน้ันส่ิงน้ี แต่ละส่วนน้ัน ไม่เท่ียง ไม่คงท่ี
ถึงก�ำหนดลมหายใจ แล้วยังมีการเพ่งกสิณ การ เกดิ ดับอย่ตู ลอดเวลา คงทนอยู่ในสภาพเดิมไมไ่ ด้
บ�ำเพ็ญอัปปมัญญาพรหมวิหาร การเจริญอสุภะ ไมใ่ ช่ตัวตน เรียกวา่ ไตรลกั ษณ์
อะไรต่างๆ เหล่านี้ ท้ังหมดน้ีเป็นเรื่องของระดับ ถา้ เขา้ ใจชดั เจน เห็นแจ้งในไตรลักษณ์ ก็จะรู้
สมถะ เปน็ การลงลึกไปในระดบั จติ ตภาวนา เทา่ ทันโลกและชวี ิตตามความเปน็ จรงิ เกดิ ความ
สาม หลกั ปฏบิ ตั ริ ะดบั วปิ สั สนา เนอ้ื หาสาระ สว่างไสว สงบ ปลอดโปร่ง ผ่องใส เบาสบาย
ทส่ี ำ� คญั ทา่ นเรยี กวา่ ธรรมทเ่ี ปน็ ภมู ขิ องวปิ สั สนา หายยดึ ติดถือมัน่ ในสิ่งท้งั หลาย มจี ติ ใจทห่ี ลดุ พ้น
เปน็ อิสระ เปน็ สุขอยา่ งแท้จริง การเปน็ อยู่ ทา่ ที
*จากหนังสือเรอ่ื ง ปฏิบตั ธิ รรมใหถ้ ูกทาง หน้า ๙๐ – ๙๙

๔๐ 17

ต่อโลกและชีวิต และการปฏิบัติต่อส่ิงทั้งหลาย ปฏิบัติธรรม วัดผลอยา่ งไร*
จะเปน็ ไปด้วยปัญญา ไม่ตกอย่ใู ต้อำ� นาจครอบงำ� ก) ดกู ศุ ลธรรมทเี่ พมิ่ ขึ้น
และแรงผลักดันของอวิชชา และตณั หา อปุ าทาน โดยทั่วไป มีการวัดด้วยคุณธรรมต่างๆ ท่ี
อีกต่อไป เรียกว่า บรรลุผลที่หมายของวิปัสสนา งอกงามข้ึนมาแทนอกุศลธรรม คือจะต้องดูว่า
ซึ่งก็คือจุดหมายของการศึกษา หรือการปฏิบัติ กุศลธรรมเจริญข้ึนมาแทนที่อกุศลแค่ไหน หลัก
ธรรมขนั้ สดุ ทา้ ยน่นั เอง การวดั ความเจรญิ ในการเดนิ ตามมรรค หมวดหนงึ่
ในการปฏิบัติธรรมทั้งหมดนี้ มีตัวธรรมที่ มี ๕ อยา่ ง
เปน็ ผ้ทู ำ� งาน ซ่ึงอาจจะใช้ศัพทเ์ รยี กวา่ เปน็ คณะ ประการที่ ๑ ดูว่ามีความมั่นใจ มีความเชื่อ
ทำ� งานในการปฏบิ ตั ธิ รรม กไ็ ด้ เรยี กวา่ โพธปิ กั ขยิ - มั่นในสิ่งที่เป็นกุศล ส่ิงที่เป็นความดีงามมากข้ึน
ธรรม ๓๗ ประการ ชดุ นีเ้ ป็นตวั ท�ำงาน หรือไม่ มีความม่ันใจแม้แต่ในโพธิสัทธา เช่ือใน
เรื่องต่างๆ ทีพ่ ดู มากอ่ นน้ี เปน็ ตัวถกู กระท�ำ ศกั ยภาพของตนเองทจ่ี ะพฒั นาขนึ้ ไปหรอื ไม่ เมอ่ื
เช่น กรรมฐาน ๔๐ น้ัน จะเป็นลมหายใจ หรือ มคี วามเชือ่ มัน่ มากขึ้น ก็เรียกวา่ มศี รทั ธามากข้นึ
อสุภะ หรือกสิณ หรืออะไรก็ตาม เป็นตัวถูก ซึ่งเป็นส่ิงท่ีดี เป็นกุศลธรรมที่เจริญเพ่ิมข้ึน โดย
กระทำ� เปน็ สง่ิ ทเี่ ราเอามาใชก้ ำ� หนดพจิ ารณา หรอื สรุป คือดูว่ามีศรัทธา มีความเช่ือ มีความมั่นใจ
วิปัสสนาภูมิ เช่น ขันธ์ ๕ ก็เป็นตัวถูกกระท�ำ ในกศุ ลธรรมในความดีงามตา่ งๆ มากขนึ้ หรอื ไม่
ถูกนำ� มาพจิ ารณาเชน่ เดยี วกนั ประการที่ ๒ เม่ือปฏิบัติเดินตามมรรค
โพธิปักขิยธรรม แปลว่า ธรรมท่ีอยู่ในฝ่าย ไป มีระเบียบในการด�ำเนินชีวิตดีข้ึนไหม มีการ
ของโพธิ พดู งา่ ยๆ วา่ ธรรมทเ่ี ปน็ พวกของโพธิ คอื ประพฤติตนอยู่ในสุจริตดีข้ึนไหม มีระเบียบวินัย
เกอ้ื หนนุ การตรสั รู้ หรอื ชว่ ยสนบั สนนุ อรยิ มรรค มี ราบรื่นดไี หม มีความสมั พนั ธ์กบั โลกกบั มนุษยก์ ับ
๓๗ อยา่ ง จดั เปน็ ๗ หมวด คอื ๑. สติปฏั ฐาน ๔ สงั คมดขี ้นึ ไหม เรียกสนั้ ๆ วา่ มศี ีล ดีข้ึนไหม
๒. ปธาน ๔ (การตั้งความเพียร) ๓. อิทธิบาท ๔ ประการที่ ๓ ดูว่าเรามีความรู้จากการที่ได้
(ธรรมใหถ้ งึ ความส�ำเรจ็ ) ๔. อนิ ทรีย์ ๕ (ธรรมที่ สดับ ได้ค้นคว้าอะไรต่างๆ มากขึ้นไหม ได้เรียน
เป็นใหญ่ในการท�ำหน้าที่เฉพาะแต่ละอย่าง หรือ รู้มากข้ึน และกว้างขวางเพียงพอไหม ในธรรม
ธรรมทเี่ ป็นเจา้ การในการขม่ กำ� ราบอกุศลธรรมท่ี ท่ีจะปฏิบัติต่อๆ ไป หรือในส่ิงท่ีจะน�ำมาใช้แก้
ตรงข้ามกบั ตน) ๕. พละ ๕ (ธรรมท่ีเปน็ กำ� ลังใน ปัญหา หรือในการพัฒนาตน ได้ประสบการณ์
การตา้ นทานไมใ่ หอ้ กศุ ลธรรมเขา้ ) ๖. โพชฌงค์ ๗ ต่างๆ มาเป็นข้อมูลของความรู้มากข้ึนหรือไม่
(องคข์ องผตู้ รสั รู้ หรอื องคป์ ระกอบของการตรสั ร)ู้ เรียกสัน้ ๆ วา่ มสี ตุ ะ มากขึ้นไหม
๗. มรรคมอี งค์ ๘ ประการที่ ๔ มคี วามลดละกเิ ลสไดม้ ากข้ึนไหม
พูดมาถึงโพธิปักขิยธรรมแล้ว ก็เรียกว่าจบ โดยเฉพาะความโลภ ความโกรธ ความหลง มีความ
เพราะโพธปิ กั ขยิ ธรรมเปน็ ตวั การปฏบิ ตั ิ หรอื เปน็ เหน็ แกต่ วั นอ้ ยลงบา้ งไหม มคี วามเสยี สละมากขนึ้
คณะท�ำงาน เมื่อคณะท�ำงานในการปฏิบัติธรรม ไหม มีความเอ้อื เฟ้อื เผื่อแผ่ มีนำ�้ ใจ เห็นแกเ่ พื่อน
มาถึงแล้ว ก็ยกให้เป็นหน้าท่ีของคณะท�ำงานนั้น มนุษย์ เหน็ แกผ่ อู้ ื่นมากขนึ้ ไหม มีจิตใจกวา้ งขวาง
ท�ำหน้าท่ขี องเขาตอ่ ไป
*จากหนงั สือเรอื่ ง ปฏบิ ตั ธิ รรมให้ถกู ทาง หนา้ ๖๘ – ๗๗

18 ๔๐

โปร่งเบามากขึน้ ไหม เรยี กสนั้ ๆ ว่า มี จาคะ มาก ค) ดสู ภาพจิตทเี่ ดนิ ถูกระหวา่ งทาง
ข้ึนไหม ลกั ษณะของจติ ทเี่ ดนิ ถกู ทางนนั้ ทค่ี วรสงั เกต
ประการท่ี ๕ สดุ ทา้ ยคือปัญญา คอื รู้ เข้าใจ มี ๕ อยา่ ง ซง่ึ เปน็ ปจั จยั สง่ ทอดตอ่ กนั ตามลำ� ดบั คอื
ถกู ตอ้ งตามความเปน็ จรงิ มากเพยี งใด เรามองเหน็ ๑. ปราโมทย์ คือ ความแช่มชื่น ร่าเริง
เหตุปัจจัยและความสัมพันธ์ของส่ิงท้ังหลาย เบิกบานใจ
ชัดเจนดี สามารถน�ำความรู้มาเช่ือมโยงใช้ในการ ๒. ปีติ คือ ความอิ่มใจ ความปลาบปล้ืมใจ
แก้ปัญหา และสร้างสรรค์ พัฒนาให้เป็นผลดี ใจฟขู ึ้น
หรือไม่ อันน้ีเป็นตัวแกนแท้ท่ีต้องการ เป็นตัว ๓. ปัสสัทธิ คือ ความรู้สึกผ่อนคลายกายใจ
คุมทง้ั หมด ใจเรยี บรืน่ ระงบั ลง เยน็ สบาย
ตกลงว่า หวั ขอ้ นก้ี ็เป็นหลกั หน่งึ ในการตรวจ ๔. สขุ คือ ความสุข ความคลอ่ งใจ โปรง่ ใจ
สอบความเจรญิ คอื ดวู า่ มศี รทั ธามากขนึ้ ไหม มศี ลี ไมม่ ีความติดขัด บีบคนั้
มากขนึ้ ไหม มสี ตุ ะมากขนึ้ ไหม มจี าคะมากขน้ึ ไหม ๕. สมาธิ คือ ความมีใจตัง้ มัน่ สงบ อยู่ตัว อยู่
และมปี ญั ญามากขนึ้ หรือไม่ กับงานท่ีท�ำ หรือเรื่องที่เกี่ยวข้อง ไม่วอกแวก
หลักน้ีเรียกว่า “อริยวัฑฒิ” แปลว่า ความ ไม่ฟงุ้ ซา่ น
เจรญิ ของอรยิ ชน ความเจรญิ แบบอารยะ สภาพจติ ๕ อยา่ งนี้ เปน็ ทง้ั คณุ สมบตั ทิ ดี่ งี าม
ข) ดูการทำ� หนา้ ทต่ี ่อธรรมต่างๆ โดยตวั ของมนั เอง และเปน็ เครอ่ื งหมายของความ
ทจี่ รงิ หลกั ตรวจสอบมหี ลายอยา่ ง หลกั อยา่ ง กา้ วหนา้ ในการปฏบิ ตั ธิ รรม จงึ ควรพยายามทำ� ให้
หนึ่ง เป็นการด�ำเนินตามอริยสัจ ๔ ได้แก่ การ เกิดขึ้น และการท�ำสภาพจิตเหล่านี้ให้เกิดข้ึน
ด�ำเนินตามหลักการแก้ปัญหาด้วยวิธีการของ ก็เปน็ การปฏิบัตธิ รรมอยู่ในตวั
อริยสัจ ๔ ในการปฏิบัติ จึงต้องดูว่าเราปฏิบัติ
หน้าทีต่ อ่ อริยสัจ ๔ ถกู ต้องหรือไม่ ทีม่ า : คดั ยอ่ จากหนังสือ “ธรรมะฉบบั เรียนลดั ” ของ สมเด็จ
อรยิ สจั ๔ มหี นา้ ทปี่ ระจำ� แตล่ ะขอ้ ถา้ ปฏบิ ตั ิ พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) เม่ือคร้ังด�ำรงสมณศักดิ์ ที่
ตอ่ อรยิ สจั ๔ แตล่ ะข้อผิด ก็ถอื วา่ เราได้เดนิ ทาง พระพรหมคณุ าภรณ์ ฉบบั จดั พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓๐ เมอื่ ธนั วาคม ๒๕๕๕
ผิดแล้ว ทา่ นสามารถดาวนโ์ หลดฉบบั เตม็ ไดจ้ ากเวบ็ ไซตว์ ดั ญาณเวศกวนั
หลกั นท้ี า่ นใหใ้ ชใ้ นการตรวจสอบวดั ผลสำ� เรจ็ ตามลง้ิ คด์ า้ นลา่ งนี้ http://www.watnyanaves.net/uploads/
ในการศึกษาหรอื การปฏบิ ัตธิ รรมวา่ File/books/pdf/the_dhamma_short_course.pdf
- สิ่งท่ีควรก�ำหนดรู้ เราไดก้ ำ� หนดรหู้ รอื รูจ้ ัก
แล้วหรอื ไม่
- สง่ิ ทคี่ วรแกไ้ ข กำ� จดั เราไดแ้ กไ้ ข กำ� จดั แลว้
หรอื ยงั
- สิง่ ท่คี วรประจักษแ์ จ้ง เราได้ประจกั ษ์แจง้
แลว้ แคไ่ หน และ
- สงิ่ ทีค่ วรปฏบิ ัติ จัดท�ำให้เกิด ให้มีขึ้น จน
บริบูรณ์ เราได้ปฏบิ ัติจัดท�ำแลว้ เพียงใด

19

เข้าใจตน เข้าใจท่านพระธรรมเทศนา
พระอาจารย์ชยสาโร
เราได้สวดมนต์บทอริยมรรคมีองค์แปด ฝ่ายเถรวาทของสองส�ำนักก็ไม่ตรงกันซะทีเดียว
พอถงึ บทสมั มาสติ ญาตโิ ยมหลายคนคงเกดิ ความ ปัจจุบันน้ี ค�ำสอนของอภัยคีรี เราไม่สามารถ
สงสัยในค�ำแปล โดยเฉพาะในค�ำว่า “เห็นกาย รู้ได้ เรารู้ได้เฉพาะสายของพระพุทธโฆษาจารย์
ในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต ธรรมในธรรม” เพราะทา่ นเปน็ ผรู้ วบรวม เรยี บเรยี ง คำ� ขยายความ
แปลวา่ อะไร อาตมาขออธบิ ายส้นั ๆ คำ� อธบิ ายขอ้ ความในพระสตู รทม่ี กี ารเกบ็ สะสมไว้
ก่อนอ่ืน เป็นสิ่งท่ีน่ารู้ว่า มีธรรมะหลายบท ตั้งแต่สมัยพุทธกาลเป็นต้น ท่านเป็นผู้แปล เป็น
ในพระไตรปิฎกหรือในพระสูตร ซึ่งจริงๆ แล้วน่ี ผู้เรียบเรียง เป็นผู้เลือกว่า บทนี้เอา บทน้ีไม่เอา
ไม่มีใครรู้หรอกว่า แปลว่าอะไร และไม่สามารถ ซ่งึ บทท่ีทา่ นไม่เอา เรากไ็ มร่ เู้ หมือนกัน เพราะวา่
จะรูไ้ ดด้ ้วย เพราะภาษาบาลีเป็นภาษาท่ีตายแล้ว ถูกท�ำลายหมด
ที่เราแปลได้ก็ต้องพึ่งอรรถกถา อรรถกถาคือ พระพุทธโฆษาจารย์ท่านมีชีวิตอยู่หลังพระ-
อาจารย์รุ่นหลัง มีช่ือเสียงมากที่สุดคือพระพุทธ- พทุ ธองคพ์ นั ปี ดังนนั้ ถา้ เรามองเฉพาะในแง่ของ
โฆษาจารย์ ซ่ึงเป็นชาวอินเดียท่ีไปจ�ำพรรษาอยู่ ภาษา มาดูภาษาไทยสมัยน้ี กับสมัยเมื่อพันปี
ทศี่ รีลงั กา หลงั จากทีพ่ ระพทุ ธองคป์ รนิ ิพพานไป ที่แล้ว ถ้าเราอ่านหรือฟังคนไทยจากพันปีที่แล้ว
พันปีแล้ว ในประเทศศรีลังกามีสองส�ำนักใหญ่ คยุ กนั อาจจะมหี ลายศพั ท์ โดยเฉพาะพวกสำ� นวน
คอื มหาวหิ าร กับ อภยั คีรี พระพุทธโฆษาจารย์ พวกแสลง (slang) ที่เราคงฟังไมร่ ้เู ร่อื งเหมอื นกนั
ท่านอยู่ท่ีมหาวิหาร ความเข้าใจในหลักธรรม พระพุทธโฆษาจารย์เองก็คงเหมือนกัน เม่ือท่าน

20 ๔๐

ดูข้อความจากพระสูตรภาษาบาลี จากเมื่อ
พันปีท่ีแล้ว ก็ต้องมีหลายสูตรท่ีท่านไม่เข้าใจ
เหมือนกัน อันนี้ก็เป็นการปูพ้ืน เพื่อให้เข้าใจว่า
ขอ้ ความในพระสตู รหมายความวา่ อยา่ งไร บางคน
อาจจะไม่เอาอรรถกถาจารย์เลย จะเอาแต่พระ-
สูตรล้วนอย่างเดียว มันก็เป็นไปไม่ได้ เพราะว่า
ภาษาบาลีเปน็ ภาษาท่ีตายไปแล้ว และเปน็ ภาษา บาลี เราจะใช้ไม่ตรงกันทีเดียวกับค�ำว่ากายใน
เกา่ เมอ่ื สองพนั กวา่ ปที แ่ี ลว้ ซง่ึ เราไมส่ ามารถทจี่ ะ ภาษาไทย อย่างมีในบทสวดอาการ ๓๒ : เกสา
มน่ั ใจไดว้ า่ ความหมายของแตล่ ะค�ำ แตล่ ะศัพท์ โลมา นขา ทนั ตา ตโจ ตามหลักบาลเี ดมิ จะถือวา่
และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง แตล่ ะสำ� นวนจรงิ ๆ แลว้ เกสาคือกายหน่ึง โลมาคือกายหนึ่ง นขาคือกาย
แปลว่าอยา่ งไร หนง่ึ ทันตาก็กายหนงึ่ เป็นต้น
ในกรณีของค�ำว่า “กายในกาย เวทนาใน ฉะน้นั การรู้กายในกายนี้ เราแปลไดว้ ่า กาย
เวทนา จิตในจิต ธรรมในธรรม” พระพุทธเจ้า ในกายทั้งหลาย อย่างเช่น ถ้าเราดูลมหายใจ
ไม่เคยขยายความเลย พระพุทธโฆษาจารย์ นนั้ คอื กายหนง่ึ ในกายทง้ั หมด เรยี กวา่ กายในกาย
ทา่ นเปน็ ผู้ขยายความ หรือเป็นผตู้ ีความ ซ่ึงเราก็ กายหนึ่งในกายท้ังหลาย ท่านเรียกว่ากายา-
ไม่มั่นใจว่าเป็นการตีความของท่านเอง หรือเป็น นปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน นยั ทสี่ องซง่ึ ไมข่ ดั กนั แตเ่ ปน็
ค�ำตีความของครูบาอาจารย์ในยุคไหน หรือว่า การมองคนละแง่มุม คือการเห็นกายว่าสักแต่ว่า
อาจเป็นของพระอรหันต์สาวกในสมัยพระพุทธ- กาย คือเห็นว่ากายไม่ใช่กายของเรา ไม่ใช่เรา
องค์ยังทรงพระชนม์อยู่ก็ได้ เราไม่สามารถรู้ได้ ไม่ใช่ของเรา คือมองด้วยจิตใจท่ีเป็นกลาง
ดงั นน้ั ก็เปน็ ความไมแ่ น่ของคัมภีร์ แตว่ ่าอยา่ งไร ท่ีเห็นสภาพน้ันตามความเป็นจริง เรียกว่าเห็น
ก็ตาม เรามีวิธีหน่ึงท่ีเราจะพิสูจน์ได้ ท่ีเราจะ กายกส็ กั แตว่ า่ กาย ดงั นั้น ถา้ เราเหน็ ผม เห็นอยู่
มนั่ ใจได้ กด็ ว้ ยการปฏบิ ตั ิ เพราะทางสายเถรวาท กับตา รู้ว่าเป็นผม แต่ก็ยังมีความรู้สึกว่าเป็นผม
ของเรา จะมีกระแสของพระอริยเจ้า ผู้ปฏิบัติดี ของเรา อันน้ันยังไม่ใช่กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ปฏิบัติชอบ ท่านท่ีพิสูจน์อริยมรรคมีองค์แปด ตอ้ งเหน็ วา่ กายสกั แตว่ ่ากาย
ด้วยประสบการณ์ของทา่ น ท่านเปน็ พยาน ทา่ น เพราะฉะนนั้ จะมคี วามหมาย ๒ นยั คือเห็น
เป็นตัวอย่างว่า อริยมรรคมีองค์แปดสามารถน�ำ กายสว่ นใดสว่ นหนงึ่ เรยี กวา่ กายในกาย หรอื มอง
ปถุ ุชนคนธรรมดาไปสู่ความเปน็ อรยิ ชนได้ แต่ใน ในแง่ว่า เห็นกายว่าสักแต่ว่ากาย ไม่ใช่เรา ไม่ใช่
รายละเอยี ดของปรยิ ตั ธิ รรมนน้ั แมแ้ ตพ่ ระอรยิ เจา้ ของเรา
เอง ก็อาจจะมมี ติไม่ตรงกนั ได้ ข้อ ๒ คอื เวทนา ทุกวนั น้คี ำ� ว่าเวทนาก็ชวน
น่ีคุยต้ังยาว ก่อนจะเข้าถึงเร่ืองกายในกาย ใหส้ งสยั ไดเ้ หมอื นกนั เพราะในภาษาไทยเรากใ็ ชค้ ำ�
เวทนาในเวทนา จติ ในจติ ธรรมในธรรม ว่าเวทนาในความหมายค่อนข้างกว้าง อย่างเช่น
ขอ้ แรกคอื กาย ทา่ นจะอธบิ ายวา่ กายในกาย วา่ โอ้...นนั้ มันนา่ เวทนามาก เป็นต้น แล้วส�ำนกั
มี ๒ นัย นัยแรกก็คือคำ� ว่ากาย - กายะ ในภาษา วิปัสสนาก็มักเอาค�ำว่าเวทนาไปใช้ในความหมาย

๔๐ 21

ที่ไม่ตรงกับภาษาบาลีเดิมของพระพุทธเจ้า พระ ในข้อที่ ๔ เห็นธรรมในธรรม ไม่ใช่แค่ว่า
พทุ ธเจา้ ตรสั วา่ เวทนา มี ๓ อยา่ ง คอื ทกุ ขเวทนา รบั รู้ในปัจจบุ ันวา่ มีหรือไมม่ ี แต่กย็ งั มขี ้อต่อไปว่า
สุขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ถ้าใช้ศัพท์ภาษา จะต้องรู้วิธีท่ีจะป้องกันไม่ให้มีส่ิงเศร้าหมอง
อังกฤษต้องใช้ค�ำว่าโทน (tone) เป็นโทนของ เกิดข้ึน และต้องรู้จักระงับสิ่งที่ไม่ดีท่ีเกิดข้ึนแล้ว
ประสบการณ์ โทนของประสบการณ์มี ๓ อย่าง อันนี้หมายถึงพวกนิวรณ์ ส่วนโพชฌงค์ก็ต้อง
คอื สขุ ทุกข์ กบั เฉยๆ เพราะฉะน้นั มันไมไ่ ดเ้ ก่ยี ว รจู้ กั วธิ ที ำ� ใหม้ ขี นึ้ และตอ้ งรจู้ กั วธิ ดี แู ลรกั ษา ฉะนนั้
กบั ความรสู้ กึ ตา่ งๆ ในกาย อยตู่ รงนน้ั ตรงนี้ อนั นนั้ สติ ในที่นี้ไม่ใช่แค่ว่ารู้อยู่ในปัจจุบันว่ามีหรือไม่มี
ไมใ่ ช่เวทนาในความหมายของสตปิ ัฏฐาน สติปฏั - แต่ว่าต้องมีการกระท�ำและมีข้อวัตรปฏิบัติเพ่ิม
ฐานก็คอื สขุ ทกุ ข์ หรือเฉยๆ ดังนน้ั ในสามขอ้ นี้ มากข้นึ แล้วยังมีกลา่ วตอ่ ไปถึง อรยิ สจั ๔ เร่ือง
ถา้ เราพจิ ารณา สขุ เวทนา คอื เวทนาหนงึ่ ในเวทนา ค�ำส่ังสอนของพระพุทธศาสนาด้วย ซ่ึงถ้าเรา
สาม คอื เวทนาในเวทนา หรอื วา่ จะเปน็ ตามหลกั แปลว่า เห็นธรรมในธรรม ก็คือเห็นอาการต่างๆ
ท่ีวา่ เหน็ วา่ สักแตว่ า่ เวทนา ไมใ่ ช่เรา ไม่ใช่ของเรา ของจติ ทเี่ กดิ - ดบั เกดิ - ดบั อยใู่ นปจั จบุ นั นน่ั คอื
ไมม่ คี วามรสู้ กึ วา่ เราเปน็ เจา้ ของของมนั นเี่ รยี กวา่ เห็นธรรมในธรรม ซ่ึงเจอค�ำอธิบายนี้ในหนังสือ
เหน็ เวทนาในเวทนา หลายเล่มอยู่ เราเกิดความสงสัยว่า เราจะเห็น
ขอ้ ๓ คอื จติ กเ็ หมอื นกนั อาการต่างๆ ของ อริยสัจ ๔ เราจะเห็นพวกน้ีท่ีเป็นทฤษฎีได้หรือ
จิตใจ จิตใจเราเศรา้ หมอง จติ ใจเราผ่องใส จิตใจ เปน็ ส่งิ ท่ีปรากฏในปจั จุบันอยา่ งนั้นจริงหรอื
เราสงบ จติ ใจเราไมส่ งบ เปน็ ตน้ นนั้ เรากพ็ จิ ารณา อาตมาจะอธบิ ายข้อนว้ี า่ ค�ำวา่ ธรรม ทจ่ี ริง
รับรู้ในปัจจุบันถึงอาการของจิต ว่าจิตก�ำลังมี ในภาษาอังกฤษดีอยา่ งหนึ่ง เพราะว่าเขามอี ักษร
อาการอย่างน้ี ก็เป็นจิตหน่ึงในจิตทั้งหลาย หรือ ตวั เลก็ ตัวใหญ่ ซ่ึงในการเขียนคำ� ว่า ธรรม ถ้าเปน็
การที่เห็นว่าสักแต่ว่า จิตไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ธรรมะค�ำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ปริยัติธรรม
เรยี กวา่ เห็นจิตในจติ สามขอ้ น้ีกเ็ ปน็ กลุ่มหน่ึง ปฏิบัติธรรม ปฏิเวธธรรม เราจะเขียนตัว “D”
แต่ข้อสดุ ท้าย ธรรม มักจะเปน็ ข้อทจ่ี ะท�ำให้ เป็นตัวใหญ่ (Dhamma) แต่ถ้าหมายถึงสิ่ง
สงสัยได้มากคือ เห็นธรรมในธรรม น้ีแปลว่า ท้ังหลายทั้งปวง ซึ่งเป็นความหมายของธรรม
อะไร แมแ้ ต่อรรถกถาจารย์ แม้แต่ครูบาอาจารย์ อีกนัยหนึ่ง เราจะใช้ “d” ตัวเล็ก (dhamma)
ยังมักเห็นไม่ตรงกัน ไม่ทราบเราเคยสังเกตไหม ภาษาไทยไม่มีตัวเล็กตัวใหญ่ แต่ธรรมท้ังหลาย
ดังนั้น วันนี้อาตมาจะเสนอความเห็นของอาตมา ทง้ั ปวง หมายถึงทุกส่ิงทุกอยา่ ง (dhamma)
เรยี กวา่ ขอ้ สงั เกตขอ้ หนงึ่ วา่ ในมหาสตปิ ฏั ฐานสตู ร ในบทสวดมนต์ สงั ขารทง้ั หลายทง้ั ปวงไมเ่ ทย่ี ง
เห็นธรรมในธรรม เร่ิมต้นด้วยนิวรณ์ ๕ คือสิ่งที่ สังขารท้ังหลายท้ังปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งหลาย
เปน็ อปุ สรรคโดยตรงต่อการท�ำสมาธิ มี ๕ ขอ้ : ทั้งปวงเป็นอนัตตา ค�ำว่า สังขาร กับ ธรรม
ความใคร่ในกาม, ความพยาบาท, ความงว่ งเหงา ต่างกันคือ สังขาร ในความหมายนัยน้ี คือสิ่ง
หาวนอน, ความฟุ้งซา่ นร�ำคาญ, ความลังเลสงสยั ทั้งหลายที่มีความเกิดขึ้น ดับไปเป็นธรรมดา
เรยี กวา่ นวิ รณ์ ๕ แลว้ กม็ โี พชฌงค์ ๗ ดว้ ย : เรม่ิ ดว้ ย เรียกว่า สังขาร แต่มีส่ิงหนึ่งที่ไม่ใช่สังขาร
สติ ธรรมวจิ ยั วิรยิ ะ ปตี ิ ปัสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา ส่ิงน้ันคืออะไร ? ก็คือ วิสังขาร (นิพพาน)

22 ๔๐

นิพพานไม่ใช่สังขาร นิพพานเป็นธรรม ธรรม อย่างเดยี ว อย่างเช่น สุข ทุกข์ เฉยๆ นไ่ี ม่ตอ้ งมี
ท้ังหลายท้ังปวงยังเป็นอนัตตาอยู่ พระพุทธองค์ ทฤษฎอี ะไร คนทไี่ มเ่ คยศกึ ษาพทุ ธศาสนากม็ สี ทิ ธ์ิ
ไม่ได้สอนเพียงแค่ว่าสังขารทั้งหลายท้ังปวงเป็น รวู้ า่ กำ� ลงั มสี ขุ เวทนา ทกุ ขเวทนา หรอื อทกุ ขมสขุ -
อนัตตา แต่พระองค์เติมค�ำว่าธรรมท้ังหลายเป็น เวทนา แต่ต้องผ่านการศึกษาทางพุทธศาสนามา
อนัตตา เพื่อให้ทราบว่า แม้แต่นิพพานก็ไม่ใช่ จงึ จะไดร้ ู้วา่ ออ้ น่คี ือนวิ รณ์ นวิ รณข์ อ้ ท่ี ๑ นิวรณ์
อัตตาตัวตน ขอ้ ท่ี ๒ อ้อ นีค่ อื ความง่วงเหงาหาวนอน ต้องมี
ฉะนั้น ธรรมในที่น้ี หมายถึงทุกส่ิงทุกอย่าง หลักธรรม หลักทฤษฎี เป็นฐาน แล้วเราจึงจะ
เปน็ ธรรม ทง้ั รปู ธรรมและนามธรรม ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง กำ� หนดธรรมในธรรมได้ จึงจะรวู้ ่านีค่ ือ สักแต่ว่า
ในภาษาอังกฤษ บางทจี ะแปลวา่ phenomena ธรรม ไมใ่ ชเ่ ราไมใ่ ชข่ องเราเปน็ ธรรมคำ� สง่ั สอนของ
(ปรากฏการณ์) การเห็นธรรมในธรรม ก็อาจจะ พระพทุ ธเจา้ ดว้ ย เปน็ ธรรม คอื phenomena ดว้ ย
แปลไดว้ า่ เหน็ phenomena เหน็ สงิ่ ใดสง่ิ หนงึ่ ใน แล้วท�ำไมสองอย่างจึงใช้ค�ำเดียวกัน เพราะ
ส่ิงทงั้ หลาย แต่ก็ไมใ่ ชแ่ คน่ ้ัน เพราะวา่ ใน ธรรมา- ธรรมะเป็นสง่ิ ทพ่ี ระพทุ ธองค์ทรงแสดง ทรงแสดง
นปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน นนั้ จะมกี ลา่ วเปน็ หลกั ธรรม ส่ิงท่ีมีอยู่แล้วตามธรรมชาติ คือ phenomena
หมวดตา่ งๆ เช่น นิวรณ์ ๕, โพชฌงค์ ๗, อริยสัจ นั่นเอง เพียงแต่ว่าพระพุทธองค์ทรงชี้ให้เราเห็น
๔ เป็นต้น phenomena ต่างๆ ผ่านพุทธปัญญาว่า phe-
ดังนั้น อาตมาจึงถือว่า สติปัฏฐานข้อที่ ๔ nomena แบบนีน้ �ำไปสคู่ วามเสอ่ื ม น�ำไปสคู่ วาม
ก็คือการมองสิ่งทั้งหลาย ในกรอบของธรรม ทุกข์ ความเดอื ดร้อน phenomena แบบนี้น�ำไป
ค�ำส่งั สอนของพระพุทธเจ้า หรือผ่านพุทธปญั ญา สคู่ วามสุขความเจรญิ ต้องการให้ phenomena
ผา่ นปญั ญาของพระพทุ ธเจ้า อยา่ งน้เี กดิ ขึ้น เช่น สมาธิ ก็จะตอ้ งฝึกกาย วาจา
ในการภาวนา สมมติว่าเราเกิดนิวรณ์ข้ึนมา ใจ ด้วย phenomena อย่างน้ี เช่น ด้วยการ
เกิดความใคร่ในกาม ความพยาบาท การท่ีจะรู้ เจริญสติ ด้วยการอะไรต่างๆ พระพุทธองค์ทรง
มนั ได้ เพราะเราเคยศกึ ษามากอ่ น เรามหี ลกั ธรรม เอา phenomena ต่างๆ สิ่งทั้งหลายในโลกมา
เหมือนเป็นแผนท่ี เออ ใช่ ตัวนี้เป็นกิเลสตัวน้ัน เรียบเรียงจัดเป็นหมวดหมู่ เพ่ือให้เข้าใจว่ามัน
ตัวนั้นเป็นกิเลสตัวน้ี นั่นเป็นคุณธรรมข้อน้ัน น่ี มีความสัมพันธ์อิงอาศัยกัน มีผลต่อกันและกัน
เป็นคุณธรรมขอ้ นี้ ไม่ใชก่ ารสัมผสั สิง่ ที่ปรากฏอยู่ อย่างไร นี่ก็เป็นเหตุผลท่ีว่า phenomena กับ
ค�ำส่ังสอน ใช้ค�ำเดียวกัน คือ ธรรม รู้จักธรรม
ในธรรม
ในการอธิบายค�ำว่า สติ ทุกวันนี้ก็ชักจะม่ัว
เหมอื นกนั เพราะวา่ ในโลกตะวนั ตก เรอื่ ง mind-
fulness หรือสติ กลายเป็นเร่ืองที่เขาสนใจกัน
มาก สนใจกนั ทกุ วงการเลยตอนนี้ แตค่ วามหมาย
ของสติโดยท่ัวไป หรือการสอนเรื่องสติ ก็จะ
พยายามสอนโดยไมก่ ลา่ วถงึ พระพทุ ธศาสนา ตอ้ ง

๔๐ 23

การให้ดูเป็นวิทยาศาสตร์ เป็นกลางๆ ซ่ึงถ้า ทนี ใ้ี นการพจิ ารณาสง่ิ ตา่ งๆ ดว้ ยสตนิ น้ั สมั ป-
เป็นอย่างน้ัน ส่ิงท่ีจะขาดไปแน่นอนก็คือสติ- ชญั ญะ จะเปน็ คกู่ บั สตดิ ว้ ยเสมอ สมั ปชญั ญะเปน็
ปัฏฐานข้อท่ี ๔ ซึ่งจะต้องมองผ่านปัญญาของ คณุ ธรรมฝา่ ยปญั ญา สตเิ ปน็ คณุ ธรรมฝา่ ยสมาธิ
พระพุทธเจ้า ว่าอะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล ถา้ เราแบง่ คณุ ธรรมตา่ งๆ ออกไป มนั จะมสี องฝา่ ย
อะไรน�ำไปส่คู วามสุข นำ� ไปสูค่ วามเจรญิ อย่างน้ี คือ ฝ่ายสมาธิ และฝ่ายปัญญา อย่างเช่นใน อริย-
เปน็ ต้น มรรคมอี งค์ ๘ สัมมาวายามะ, สมั มาสต,ิ สัมมา-
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราถือว่าสติก็แค่รู้อยู่ใน สมาธิ เป็นกลุ่มคุณธรรมฝ่ายสมาธิ ในไตรสิกขา
ปจั จบุ นั ร้วู า่ กำ� ลังมอี ะไรอย่ใู นใจ แลว้ กว็ างใจให้ เรียกว่า ศลี สมาธิ ปัญญา แต่ในอริยมรรคมีองค์
เป็นกลาง ไม่ยึดมั่นถอื มัน่ อะไร เมอื่ เราตอ้ งเขา้ ที่ ๘ จะเร่ิมด้วยปญั ญา ศลี และสมาธิ
ประชมุ เราก็ต้องคยุ ในเรื่องทเ่ี รามีความรู้สึกค่อน ปัญญาในอรยิ มรรคมีองค์ ๘ สองขอ้ แรก คือ
ขา้ งแรง การมสี ตกิ บั คำ� พดู ของเรานค่ี อื อยา่ งไร คอื สมั มาทฏิ ฐ,ิ สมั มาสงั กปั โป เราถอื เปน็ สมั ปชญั ญะ
ถา้ เราจะมสี ตใิ นการพดู เราตอ้ งคำ� นงึ ถงึ วา่ การพดู อยู่ฝ่ายปัญญา ในบางกรณี สัมปชัญญะจะท�ำ
อยา่ งนจี้ รงิ หรอื ไมจ่ รงิ เหมาะหรอื ไมเ่ หมาะ ตอ้ งใช้ หน้าที่เป็นผู้คอยตักเตือนอยู่ และจะเป็นตัว
ความร้ใู นหลักธรรม ไม่ใชส่ ักแตว่ ่าเอาความรสู้ กึ ตรวจสอบคุณภาพ (Quality Control) เวลาเรา
ในใจเปน็ หลกั เพราะเรอื่ งการเขา้ ขา้ งตวั เองเรากม็ ี ทำ� สมาธิ เรากเ็ จรญิ สตอิ ยูก่ บั ลมหายใจ และจะมี
กนั อยทู่ กุ คนอยแู่ ลว้ ตอ้ งมมี าตรฐานทเี่ ปน็ กลางท่ี สัมปชัญญะ ท�ำหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพ เป็น
เป็นเครื่องระลกึ ของสติ เพื่อปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ ข้าขา้ ง ระยะๆ วา่ เอะ๊ ! สตเิ ราพอดไี หม ตงึ ไปไหม หยอ่ น
ตวั เอง แมแ้ ตใ่ นเรอื่ งการไมพ่ ดู เทจ็ บางทกี เ็ รมิ่ ตน้ ไปไหม คือเป็นตัวปรับปรุงการท�ำงานของสติให้
โดยบอกว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย หรือว่าพูดยาว น่า พอดี เรยี กว่าสมั ปชญั ญะ และสัมปชัญญะจะเปน็
ร�ำคาญ ไมม่ เี วลาจะพดู ยาว เลยสรปุ สน้ั แต่ว่ามี ตัวท่ีจะถอนออกจากตัวงาน ท�ำให้เห็นภาพรวม
การตดั ออก มกี าร edit บางสง่ิ บางอยา่ ง หรอื มกี าร เหน็ บริบทต่างๆ
พูดเกินจริงในบางสิ่งบางอย่าง แล้วอยู่ไปอยู่มา บรบิ ทน้ีมคี วามสำ� คัญมาก บางสงิ่ บางอย่าง
มันก็ห่างไกลจากความจริงโดยไม่ตั้งใจ หรือว่า ถ้ามองเฉพาะเรื่องใกล้ๆ น่ี มันจะมีความคิด
แทบจะไมต่ ัง้ ใจ ก็เป็นไปไดง้ ่าย อย่างหน่ึง เหตุผลจะอย่างหน่ึง ถ้าจะมองจาก
ดังนั้น กรณกี ารพดู การสนทนากนั สตินี่เรา บรบิ ท มนั กไ็ มเ่ หมอื นกนั ยกตวั อยา่ งจากทางโลก
จะเอาแคค่ วามรสู้ กึ หรอื เอาแคอ่ ารมณอ์ ยา่ งเดยี ว เม่ือไม่นานนี้เพ่ิงอ่านบทความ มีบทสรุปจากนัก
ไมไ่ ด้ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ หลกั ความจรงิ เรยี กวา่ สภุ าษติ วิทยาศาสตร์ชั้นน�ำของโลก เรื่องภาวะโลกร้อน
คอื พดู ความจรงิ พดู สง่ิ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ถกู กาลเทศะ วา่ ตอนนเ้ี ป็นท่ียอมรบั กนั วา่ ภายใน ๗๐ - ๘๐ ปี
พดู ดว้ ยความหวงั ดี พดู อยา่ งสภุ าพออ่ นโยน นเ่ี รยี ก ข้างหน้านี้ ก่อน ค.ศ. ๒๑๐๐ อุณหภูมิของโลก
วา่ เปน็ สภุ าษติ การคำ� นงึ ถงึ วา่ ถกู กาลเทศะหรอื ไม่ จะเพม่ิ ขนึ้ โดยเฉลย่ี ประมาณ ๓ - ๔ องศาอยา่ งตำ่�
เปน็ ประโยชนห์ รอื ไม่ ขอ้ มลู ทจ่ี ะใชต้ ดั สนิ ไมไ่ ดอ้ ยู่ ผลคือระดบั น้�ำทะเลจะสูงขนึ้ ประมาณ ๕ เมตร
ในปจั จบุ นั จะตอ้ งใชส้ มอง และใชค้ วามร ู้ ความจำ� ถือว่าเป็น conservative estimate (ประเมิน
ดว้ ย สติจงึ ไม่ใช่แค่รู้ตัวอยู่ในปัจจบุ ันอย่างเดียว ตัวเลขไว้ในข้ันต�่ำ) คืออาจจะแรงกว่านั้นก็ได้

24 ๔๐

เราลองดูกรุงเทพฯ สูงกว่าระดับน้�ำทะเลกเี่ มตร ? จนกระทั่งทุกวันน้ี ปรากฏว่ามนุษย์อยู่ค่อนข้าง
ศนู ย์ ต�ำ่ กวา่ ระดบั ทะเลก็มี จริงอยู่ มันไม่แน่นอน ลำ� บาก แตก่ อ็ ยไู่ ดเ้ รอื่ ยๆ จนถงึ เมอ่ื ๒๐๐ ปที แี่ ลว้
แตม่ โี อกาส ๙๐ กวา่ เปอรเ์ ซน็ ตว์ า่ ภายในชว่ งชวี ติ มีการปฏิวัติอุตสาหกรรมเร่ิมที่อังกฤษ และหลัง
ของลูกหลานเรา กรุงเทพฯ จะไม่มีอีกแล้ว คือ จากท่ีมนุษย์สามารถอยู่แบบ sustainable
เมืองต่างๆ ท่ีอยู่ชายทะเลนี่คงเอาตัวรอดไม่ได้ (พอเพียง) มาเกือบ ๔.๗ ล้านปีแล้ว ภายใน
กรงุ เทพฯ น่ี แค่หนงึ่ เมตรก็จะแย่แลว้ ไม่ตอ้ งถงึ ๒๐๐ ปี ท�ำลายอนาคตของมนุษยชาติได้เกือบ
หา้ เมตร ทั้งหมด แต่ถ้าในสายตาของเทวดาน้ี จะถือว่า
ฉะนั้น นี่ไม่ใชน่ ยิ าย ไมใ่ ช่ Science fiction ความเปล่ียนแปลงในโลกภายใน ๒๐๐ ปีที่แล้ว
แล้ว ภายในช่วงชวี ติ ของลกู เรา เดก็ เลก็ ๆ ทวี่ ่ิงไป เปน็ ความเจรญิ ทน่ี า่ ภมู ใิ จ หรอื เปน็ ความเสยี หาย ?
ว่ิงมาอยู่นี่ แน่นอนว่าภายในชีวิตของเขาจะไม่มี คือมันมองกันคนละมมุ นะ
กรุงเทพฯ เสียแล้ว ดังนั้น ในอนาคตต่อไป มนั จะ ฉะนั้นความเจริญท่ีเราภาคภูมิใจมาก ซ่ึงน่า
เปน็ ยงั ไง เรากพ็ ดู ไมไ่ ด ้ แตร่ วู้ า่ มนั จะไมเ่ ปน็ อยา่ งน้ี ภมู ใิ จเพราะทำ� ไดถ้ งึ ขนั้ สง่ มนษุ ยไ์ ปโลกพระจนั ทร์
ต่อไปนี้โลกจะต้องเปล่ียนแปลงอย่างมากและ สง่ ยานอวกาศไปดาวอังคาร ทำ� คอมพิวเตอร์ ทำ�
จะต้องล�ำบากกว่าน้ีอีกเยอะ ฉะนั้น ถ้าเรามอง อะไรต่ออะไร โอโห อัศจรรย์เหมือนไสยศาสตร์
การพฒั นาประเทศชาติ ในระยะสัน้ ๕ ปี ๑๐ ปี แตข่ ณะเดียวกัน เราก�ำลงั ทำ� ลายอนาคตของโลก
มุ่งเรื่องการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ดูเหมือนมี แล้วก็ไม่ใช่อนาคตของใครอื่น เป็นอนาคตของ
เหตผุ ลมาก ตอนนตี้ น่ื เตน้ เรอ่ื งความเปลยี่ นแปลง ลูกหลานของเราเอง เด็กท่ีเกิดแล้ว จะเป็นเด็ก
ทางการเมือง ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ทีร่ บั ผลกรรมของการท�ำลาย การเบยี ดเบยี นโลก
โดยภาพรวม เพ่ือผลประโยชน์ทางวัตถุในระยะส้ัน อันน้ีก็คือ
ถอนตวั ออกมา ภายใน ๑๐๐ - ๒๐๐ ปี จะได้ เรอื่ งของสัมปชญั ญะเชน่ กนั
ความคิดอีกแบบหน่ึง สมมติว่าเราเป็นเทวดา ในการนั่งสมาธิ สัมปชัญญะคือการถอน
เทวดามชี วี ติ ยาวนานมาก สมมตวิ า่ ชวี ติ ของเทวดา ออกมาตรวจสอบว่าก�ำลังท�ำอะไรอยู่ ตรงกับ
มี ๕ ล้านปี มนุษย์อยู่ในโลกมีมาประมาณ ๔.๗ เปา้ หมายหรอื ไม่ เปา้ หมายคอื อะไร สง่ิ ทท่ี ำ� อยตู่ รง
ล้านปี ฉะนั้นเทวดาท่ีเราเชิญมาวิเคราะห์ เขา กับเป้าหมายไหม รวมถึงบริบทส่ิงแวดล้อม เป็น
อยู่มาต้ังแต่ไม่มีมนุษย์ เห็นมนุษย์ตั้งแต่ต้นเลย ตวั คิวซี (ตรวจสอบคุณภาพ)
ในชีวิตทางโลกก็เหมือนกัน ภาระหน้าที่
ของเรามีมากมาย แต่ละเร่ืองก็ดึงดูดความสนใจ
โดยปกติเราจะให้ความส�ำคัญกับส่ิงที่ท�ำให้เกิด
อารมณ์มากกว่าส่ิงที่ไม่เกิดอารมณ์ เรามักจะคิด
ว่าสิ่งที่ท�ำให้เราเกิดอารมณ์ เป็นเรื่องส�ำคัญมาก
ดังนั้น เรามักจะประมาทในสิ่งที่ค่อยๆ เกิดขึ้น
หรือไม่มีผลกระทบต่อชีวิตของตัวเองในระยะส้ัน
ฉะนน้ั เราตอ้ งเจรญิ สมั ปชญั ญะดว้ ย ใหร้ วู้ า่ สงั คม

25

เรากำ� ลงั ไปไหน อะไรคอื เปา้ หมายของการพฒั นา
สังคม พัฒนาเศรษฐกิจ ทุกวันนี้กลายเป็น
ว่าพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจใช่ไหม
แม้แต่จะมองในระยะสั้น ซ่ึงทุกวันนี้ทุกคนก็
ต้องการอะไรทเ่ี ป็นเครือ่ งวัดท่ีเป็นตวั เลข
อาตมาดูสถิติทุกวันน้ีไม่ทราบเขาใช้วิธียังไง
ในการประเมินผลเสียหายต่อเศรษฐกิจจากโรค เทา่ ไร เพยี งแตว่ า่ คอรปั ชนั่ มรี ปู แบบไมเ่ หมอื นกนั
ซึมเศร้า แต่เขาพบว่าในอังกฤษ เศรษฐกิจเสีย คนละรปู แบบ ถา้ เราไมไ่ ด้ศึกษา เราก็คงไมไ่ ดร้ ู้
หายปีละห้าพันล้านปอนด์เพราะภาวะซึมเศร้า อยา่ งเช่นมีคำ� หนงึ่ ญาตโิ ยมกค็ งไม่รู้จักค�ำนี้
เมื่อเขาเอาความผิดปกติของจิตคน เรื่องโรคจิต ค�ำว่า gerrymander มีใครรู้จักค�ำว่า gerry-
โรคประสาท เรอื่ งอาชญากรรม เรอื่ งอะไรทเ่ี กดิ ขนึ้ mander ไหม น่ีเป็นศัพท์ของคนอเมริกัน ซ่ึง
จากการพัฒนาประเทศชาติ จากการไปกระตุ้น ทุกวันน้ีมีเร่ืองของเจอร่ีแมนเดอร์มาก คือการท่ี
ตณั หาเตม็ ท่ี ถา้ คดิ เปน็ ตวั เลข กน็ า่ คดิ วา่ เศรษฐกจิ พรรคการเมืองท่ีมีอ�ำนาจใน congress (สภา)
เราเจรญิ ข้นึ จรงิ หรือ ? เปลย่ี นเขตการเลอื กตงั้ ใหเ้ ขา้ ขา้ งตวั เอง ซง่ึ เหมอื น
อยากให้พวกเราขยายกรอบในการพิจารณา การเลือกตั้งเม่ือครั้งที่แล้ว พรรคเดโมแคร็ต
เรื่องโลก เรื่องชีวิต และความสามารถที่จะท�ำ (Democrat) มคี นเลอื กมากกวา่ พรรครพี บั บลคิ น่ั
อยา่ งนไี้ ดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ กเ็ กดิ จากการทำ� สมาธิ (Republican) ลา้ นกวา่ คน แต่ทาง Republican
น่ันเอง คล้ายๆ ฝึกให้จิตใจเรามีความยืดหยุ่น กลับได้ที่นั่งในค็องเกร็สมากกว่าเยอะ เพราะเขา
สามารถมองสิ่งต่างๆ ได้ในหลายมุมมอง ไม่ใช่ gerrymander ไดเ้ รยี บรอ้ ยแลว้ อนั นคี้ อื ตวั อยา่ ง
มมุ มองเดยี ว อยา่ งเชน่ คณุ ธรรมทเี่ ราตอ้ งการมาก แม้เพียงข้อเดียวของเรื่องคอรัปช่ันในเร่ืองการ
ทสี่ ดุ ทกุ วนั นค้ี อื การเอาใจเขามาใสใ่ จเรา ซงึ่ เปน็ เมืองในเมืองนอก ซ่ึงรูปแบบไม่เหมือนเมืองไทย
นามธรรม ไมม่ ใี ครวดั ไดก้ จ็ รงิ แตว่ า่ ถา้ เราจะปอ้ งกนั ไม่ใช่ว่าเขาไม่มี เพราะคอรัปชั่นมันเกิดจากกิเลส
อันตรายต่อสังคมในอนาคต ในลักษณะท่ีวัดได้ แลว้ คนอยทู่ ไ่ี หนกต็ อ้ งมกี เิ ลส ถา้ ไมม่ กี ารฝกึ จติ ใจ
เรากค็ วรจะเนน้ การปลกู ฝงั คณุ ธรรมขอ้ น ้ี ในจติ ใจ เพียงแต่ว่า รูปแบบการแสดงออกของกิเลสใน
ของคนไทยให้มากขน้ึ แต่ละที่ มันไม่เหมอื นกัน
อาตมาเคยพดู บอ่ ยวา่ บางทญี าตโิ ยมคนไทย ฉะน้ัน ในการปฏิบัติธรรม เราจะเป็นคน
ชอบบ่นว่า โอย๊ คนไทยเป็นอย่างนัน้ คนไทยเปน็ ยตุ ธิ รรม และจะใหค้ วามยตุ ธิ รรมกบั คนอน่ื จะเปน็
อย่างน้ี แล้วอาตมาก็ปฏิเสธไม่ได้ แต่ความคิดท่ี คนทไ่ี มห่ ลงอยกู่ บั ความคดิ ความเหน็ ความตอ้ งการ
เกิดข้ึนกับอาตมาอยู่เป็นประจ�ำก็คือว่า ใช่...แต่ ของตัวเอง โดยเฉพาะความต้องการในระยะสั้น
ประเทศอ่ืนก็เป็นอย่างน้ันเหมือนกัน คือไม่ใช่ สามารถเอาใจเขามาใส่ใจเราได้ มองสง่ิ ต่างๆ โดย
ประเทศไทยประเทศเดียว เช่นเรอื่ งของคอรปั ช่ัน ใช้จินตนาการ คิดว่าถ้าเป็นเขา เขาจะมองยังไง
เป็นต้น เรามักจะคิดว่าเมืองไทยแย่มาก เอเซีย ท้ังที่คิดว่าเราถกู เขาผิด แตเ่ ราเรม่ิ ต้นในเร่อื งนีค้ ือ
แยม่ าก แต่อาตมาดเู มืองนอก ก็ไมเ่ หน็ จะต่างกนั ถกเถยี งกนั นะ อยา่ ไปคดิ วา่ เราจรงิ ใจ เขาไมจ่ รงิ ใจ

26 ๔๐

เราถกู เขาผดิ เราสจุ รติ เขาทจุ รติ เราใหเ้ กยี รตเิ ขา ฉะนั้น ในการท�ำสมาธิภาวนา หากคิดว่า
กอ่ น สมมติวา่ เขาเปน็ คนดเี หมอื นกนั เขาเปน็ คน เสียเวลา นงั่ สมาธไิ มค่ ่อยไดเ้ รือ่ ง แป๊บเดียวกแ็ ว้บ
สจุ รติ เหมอื นกนั เขาเปน็ คนมสี ตปิ ญั ญาเหมอื นกนั ไปแลว้ ใช.่ ..แตท่ กุ คร้งั ท่ีจติ ใจมันแวบ้ ไป เรารตู้ วั
ท�ำไมเขาถึงมองเรอ่ื งนว้ี ่าถกู อันนี้เป็นการบรหิ าร แล้วก็ดึงกลับมา นี่คือการฝึกวินัย ท�ำอย่างไร
สมองตัวเอง คือให้เกียรติคนอื่นก่อนว่าเขามอง คนไทยจะมีวินัย ก็ด้วยการปฏิบัติอย่างนี้แหละ
อยา่ งไร คือท่เี รามอง เรามองวา่ ผิดมาก แต่ถ้าเขา จิตใจมันจะออกนอกเร่ืองก็ดึงกลับมา ไปโน่น
มองว่าถกู เขาคิดยังไง เขาจึงมองวา่ ถกู ไปนี่ก็ดึงกลับมา จนกลายเป็นนิสัยใหม่ เรียกว่า
การฝึกท่ีจะเข้าใจคนอ่ืน แทนที่จะไปบังคับ เปน็ วนิ ยั ภายใน เมอื่ มวี นิ ยั ภายในแลว้ สงิ่ ตา่ งๆ ท่ี
บัญชา ไปโกรธแค้น หรือท้อแท้ จึงส�ำคัญมาก เราเคยถอื วา่ เรา วา่ ของเรา กเ็ รม่ิ ปรากฏวา่ เปน็ แค่
ตามหลักพุทธศาสนาบอกว่า ความสงบ ความ กระแสความเกิดดับของอารมณ์ เราก็จะไม่
สมานสามัคคีที่ถูกต้อง เกิดจากความเข้าใจ เอาจริงเอาจังกับมันมากเหมือนแต่ก่อน เราจะ
ซึ่งกันและกัน ความเข้าใจซึ่งกันและกัน จะเป็น สามารถวางได้ ถึงว่าจะเป็นการวางชั่วคราว
ฐานของการแกป้ ญั หา แตถ่ า้ เราไมม่ คี วามพยายาม ก็ยังพอท่ีจะรับรู้รับทราบและเข้าใจความคิดของ
ที่จะเขา้ ใจซึง่ กันและกนั ด่วนสรุปคนอน่ื หรอื วา่ คนอืน่
ตัดสินคนอ่ืนไปเรียบร้อยแล้วนี่ เราจะไม่มีฐาน การเรยี นรเู้ รอ่ื งอารมณต์ วั เอง เชน่ ความโกรธ
ที่จะใช้สติปัญญาเข้าไปแก้ปัญหา ไม่ว่าจะเป็น เราจะรู้จักความโกรธอย่างละเอียดได้ เพราะดู
การแกป้ ญั หาในครอบครวั ในสงั คมไทย หรอื ของ ความโกรธของเรา ความอิจฉา สิ่งท่ีดี สิ่งท่ีไม่ดี
โลกท้ังโลก ดังนั้นเราตอ้ งฝึกจติ ใจให้เป็นกลางได้ ทง้ั หลาย เรากจ็ ะดใู นหอ้ งทดลองสว่ นตวั ในใจของ
เรา เพราะว่าอารมณ์ต่างๆ น่ีเป็นของสาธารณะ
ถา้ เราดคู วามโกรธในจติ ใจของตวั เอง เขา้ ใจวา่ มนั
เกิดยงั ไง มนั ตั้งอย่ยู ังไง มนั ดบั ยงั ไง เรียกวา่ เราได้
เรียนรู้เรื่องความโกรธของมนุษย์ เราเรียนรู้เร่ือง
ความอดทน เรอ่ื งการมีก�ำลังใจ การไมม่ กี �ำลังใจ
สภาวะต่างๆ ที่เกิดข้ึนในจิตใจ เราศึกษาให้เห็น
เรยี กวา่ เรากำ� ลงั ทำ� ความเขา้ ใจเรอื่ งของโลกมนษุ ย์
แตเ่ ราเหน็ ในสงิ่ ท่ีปรากฏในตวั เรา ซงึ่ มันกไ็ มต่ า่ ง
กบั คนอ่ืน ยงิ่ เขา้ ใจตวั เอง ยิง่ เข้าใจคนอื่น ยง่ิ มี
ปัญญาในการบริหารอารมณ์ตัวเอง ยิ่งจะมี
ปัญญาในการปฏิบัติตอ่ คนอนื่ ภายในภายนอก
สัมพนั ธ์ เน่อื งอาศัยกนั

ทม่ี า : พระธรรมเทศนา จากบา้ นบญุ ปากชอ่ ง
นครราชสีมา ๑๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖

27

สตรีศรีลังกา มุมมอง

กับการปฏิบัติธวเิทศทยั ย์ รรม
การแสวงหา ปญั หาทเ่ี ราชาวพทุ ธมกั ถกเถยี งกนั คอื เพศใด
ธรรมะเพ่ือปลอบ เหมาะสมตอ่ การปฏบิ ตั ธิ รรม นกั บวชหรอื ฆราวาส
ประโลมใจและรแู้ จง้ ผบู้ รโิ ภคกามคณุ เพศชายหรอื เพศหญงิ แลว้ ผมู้ ใิ ช่
สัจธรรมความจริง เพศชายหรือเพศหญิงปฏิบัติธรรมเห็นผลหรือไม่
ไม่มีข้อจ�ำกัดว่าจะ หากผู้เขียนจะตอบปัญหาเหล่าน้ี เห็นทีจะกลาย
ตอ้ งเปน็ ชายหรอื หญงิ เป็นมหากาพย์ คงต้องน่ังอธิบายแต่ละค�ำถาม
แก่ชรา หรือเด็กวัยเยาว์ เพราะพระสัทธรรม ตามความปรารถนาของแต่ละเพศ ไมม่ วี ันจบสิน้
ของพระพุทธเจ้า ล้วนเหมาะสมกับคนทุกเพศ เอาเป็นว่าลงมือปฏิบัติกันก่อนค่อยมาว่ากัน
ทุกวัย ทุกภาษา และเหนือสิ่งอื่นใดคือ ไม่ข้ึน ทีหลงั
กับกาลเวลา ไม่วา่ เปน็ อดีต อนาคต หรอื ปจั จบุ ัน สตรีเป็นคนอีกกลุ่มหน่ึง ท่ีสังคมจัดให้เป็น
หากลงมอื ปฏบิ ตั ิเมอ่ื ใด ก็เหน็ ผลเมอื่ นัน้ เรยี กว่า ประเภทช้างเท้าหลัง จะท�ำอะไรก็ไม่ให้เกินหน้า
เป็นอกาลโิ ก บุรุษเพศ เป็นที่น่าสังเกตอย่างหน่ึงคือ แม้สังคม

28 ๔๐

สมัยก่อน จะปิดก้นั เสรีภาพทางศาสนาของสตรี 
แตเ่ มอ่ื มเี หตบุ บี คน้ั กดดนั สงั คมเอง กห็ าทางออก
ให้สตรอี ยู่ดี เพราะเป็นเพศแมน่ ั้นเอง
การปฏบิ ตั ธิ รรมของสตรีกเ็ ชน่ เดยี วกัน !!
กล่าวเฉพาะสตรีศรีลังกาน้ัน มีอัตลักษณ์
แตกต่างจากสตรีไทยอย่างหน้ามือเป็นหลังมือ
เหตุเพราะสังคมคนศรีลังกาให้เกียรติสตรีค่อน
ข้างสูง จึงไม่แปลกใจอันใดท่ีประเทศศรีลังกาจะ
มนี ายกรัฐมนตรเี ปน็ สตรีคนแรกของโลก คือ นาง เป็นเร่ืองน่าแปลกคือ แม้พระพุทธศาสนา
สิรมิ าโว บันดารานายะเก สืบต่อมาสมัยบุตรสาว แบบลงั กาวงศจ์ ะเขา้ มาเผยแผย่ งั ดนิ แดนประเทศ
นางจนั ทรกิ า กมุ ารตงุ คะ บันดารานายะเก กเ็ ป็น ไทยยุคหลัง แต่สิทธิพิเศษของสตรีแบบชาวศรี-
ประธานาธิบดีศรีลังกาหญิงเป็นคนแรกเช่นกัน ลังกา กลับไม่ปรากฏเห็นเหมือนศรีลังกาต้นฉบับ
ประเทศไทยเพงิ่ มามสี มัยปัจจบุ ันน้ีเอง คงต้องฝากนักวิชาการช่วยกันตีประเด็นนี้หน่อย
ส�ำหรับการปฏิบัติธรรมของสตรีศรีลังกานั้น เห็นว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อสถานภาพสตรีใน
ชาวศรีลังกาให้เกียรติแก่สตรีเพศเสมอเหมือน ปจั จบุ นั ไม่มากก็นอ้ ย
บรุ ษุ โดยกษัตรยิ ์ทรงอนุญาตให้สตรีเขา้ บวชเปน็ สมัยหลังตอ่ มา สิทธพิ เิ ศษในการปฏบิ ตั ิของ
ภกิ ษุณใี นพระบวรพทุ ธศาสนา เฉกเชน่ พระภิกษุ สตรศี รีลังกาสญู หายไป เหตเุ พราะบ้านเมอื งต้อง
สงฆ์ นอกจากนัน้ ยงั ได้รับการศกึ ษาเท่าเทยี มกัน ทำ� สงครามกบั อรริ าชศตั รหู ลายต่อหลายคร้งั สืบ
กบั พระภกิ ษุ ภิกษณุ ีบางรปู แตกฉานดา้ นคัมภรี ์ เน่ืองกันมาเป็นเวลาพันกว่าปี แม้พระศาสนาที่
พระไตรปิฎก ถงึ ขนาดได้รบั นมิ นต์ไปเผยแผ่พระ พระสงฆ์เป็นผู้รักษาไว้ ก็มีสภาพแปรเปลี่ยนไป
พุทธศาสนายังประเทศทเิ บตและจีนเลยทเี ดยี ว ตามคตคิ วามเชอื่ ของสงั คม บทบาทพระสงฆล์ ดลง
ยำ้� อกี วา่ สตรชี าวศรลี งั กาไดร้ บั สทิ ธพิ เิ ศษเขา้ จนกระทง่ั ตอ้ งหนั มาทำ� ธรุ กจิ เซน่ ไหวบ้ ชู าเทพเจา้
สพู่ ระศาสนา และมโี อกาสบรรลธุ รรมกอ่ นประเทศ หลายต่อหลายองคท์ ว่ั เกาะลงั กา จงึ ไม่ตอ้ งกลา่ ว
ไทยจะรวมเลือดเนือ้ เป็นชาติเช้อื ไทยถึงพนั กว่าปี ถงึ สถานภาพของสตรีเพศ ซง่ึ มีหน้าท่ที างศาสนา
เพียงรักษาประเพณี ในฐานะผู้ค�้ำจุนพระสงฆ์
เทา่ นนั้ เอง
สถานภาพของสตรดี ้านการปฏบิ ัติธรรม มา
ปรากฏเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน สมัยเกาะลังกา
เป็นอาณานิคมอังกฤษ เหตุเพราะสมัยน้ัน ชาว
พทุ ธศรลี งั กาเรม่ิ ตอ่ สเู้ รยี กรอ้ งเสรภี าพทางศาสนา
จนสามารถประกอบศาสนกจิ เสมอเหมอื นศาสนา
ครสิ ต์ การตน่ื ตวั ฟน้ื ฟพู ทุ ธศาสนา จงึ แพรก่ ระจาย
ไปทว่ั ทุกหัวระแหงของเกาะลงั กา

๔๐ 29

สมัยนี้เองบุตรีผู้มีการศึกษาของชนชั้นกลาง โดยห่มผ้าสีเหลืองเหมือนพระสงฆ์ มีอารามหรือ
นามวา่ แคธรนี เดอ อลั วสิ  (Catherine de Alwis) ส�ำนักเป็นของตนเอง ปฏิบัติศาสนกิจไม่ต่างจาก
ซึ่งพ้ืนเพเดิมของครอบครัวนับถือคริสต์ศาสนา พระภิกษสุ ามเณร
แต่ภายหลังหันมานับถือพุทธศาสนา เพราะมี เหตทุ ผี่ เู้ ขยี นยกเรอ่ื งของทสสลี มาตาสธุ รรมา-
โอกาสสนทนาธรรมกับพระสงฆ์นักปราชญ์ จารเี ปน็ อทุ าหรณ์ เพราะตอ้ งการชใี้ หเ้ หน็ วา่ สตรี
หลายรปู ครนั้ ปลกี ตวั ปฏบิ ตั ธิ รรม ยง่ิ ศรทั ธาลกึ ซง้ึ ชาวศรีลังกามีคติว่า ช่องทางการปฏิบัติธรรม
ในพระบวรพุทธศาสนา คราวหนึ่งไดม้ โี อกาสพบ นา่ จะเปดิ กวา้ ง มากกวา่ ซอ่ นกายอยใู่ นหอ้ งครวั
กบั ชาวพมา่ ผเู้ ดนิ ทางมาจารกิ แสวงบญุ ทเี่ กาะลงั กา โดยมบี รุ ษุ เพศเปน็ ผกู้ �ำกบั คตคิ วามเชอื่ ของสงั คม
หลังจากสอบถาม ทำ� ใหเ้ ธอทราบว่านักบวชหญงิ การออกบวชของแม่ชีสุธรรมาจารี และการก่อ
ของพม่ามีเปน็ จำ� นวนมาก และชาวพมา่ กศ็ รทั ธา ตงั้ กลุ่มทสสลี มาตา แสดงให้เหน็ ว่าสังคมชาวศร-ี
เล่อื มใสเปน็ อย่างดี ลังกากย็ อมรบั ความคดิ เห็นและบทบาทของสตรี
ครั้นแจ้งความปรารถนาแก่ครอบครัวเร่ือง
การบวช ปรากฏวา่ ไดร้ บั การสนบั สนนุ เปน็ อยา่ งดี
ย่งิ ขา่ วกระจายออกไป ยง่ิ มคี นใหค้ วามชว่ ยเหลือ
เก้ือกูล โดยเฉพาะผมู้ ีชอ่ื เสียงสมยั น้ัน เชน่ ทา่ น
ขา้ หลวงอังกฤษ นามว่า เฮนรี เบลค (Sir Henry
Blake) ท่านอนาคารกิ ธรรมปาละ และผูน้ ำ� ชาว
พทุ ธอีกหลายทา่ น
น.ส.แคธรีนเดินทางไปพม่า เม่ือพทุ ธศักราช
๒๔๘๒ เดินทางกลับเกาะลังกา ปีพุทธศักราช
๒๔๙๓ นับรวมเวลาศึกษาเลา่ เรียนประเพณีแบบ ปจั จุบันกลมุ่ ทสสลี มาตาของชาวศรลี ังกา มี
พม่าเป็นเวลา ๑๑ ปี นับได้ว่าเป็นผู้คงแก่เรียน บทบาทคอ่ นขา้ งเดน่ ชดั หนา้ ทบี่ างอยา่ งกโ็ ดดเดน่
ไม่น้อย นามฉายาท่ีได้รับจากพระอุปัชฌาย์คือ มากกว่าพระสงฆ์ อันเน่ืองมาจากรัฐบาลให้การ
สธุ รรมาจารี วา่ กนั วา่ ทา่ นแตกฉานในการปฏบิ ตั ิ อปุ ถมั ภห์ ลายดา้ นเสมอพระภกิ ษสุ ามเณร ทงั้ การ
วิปัสสนาแบบพม่า จนได้รับการยกย่องอย่าง ศึกษาเลา่ เรียนและการเผยแผธ่ รรม  ในสมัยหลงั
กวา้ งขวาง ถงึ ขนาดออกบตั รประจำ� ตัวกนั เลยทีเดยี ว
คร้ันเดินทางกลับเกาะลังกาแล้ว ได้ก่อตั้ง แม้จะถูกพระสงฆ์รุ่นใหม่วิจารณ์ในแง่ลบ
ส�ำนักสุธรรมาธารสมิติ ท่ีเมืองแคนดี ได้รับการ แต่บทบาทของทสสีลมาตาในการท�ำงานสังคม
ช่วยเหลือเป็นอย่างดีจากข้าหลวงอังกฤษและคน สามารถเปน็ กระแสตา้ นความเหน็ ตา่ งไดเ้ ปน็ อยา่ ง
ช้ันสูงของสังคมสมัยน้ัน จากน้ันมีสตรีชาวลังกา ดี โดยเฉพาะการเข้าไปช่วยเหลือสตรี ซึ่งพระ-
เสนอตัวเป็นศิษย์ และขอบวชเป็นจ�ำนวนมาก สงฆ์ผู้ชายไม่สามารถท�ำได้ เพราะมีอุปสรรคด้าน
สมยั ตอ่ มา แมช่ จี งึ เรยี กกลมุ่ ตวั เองวา่ ทสสลี มาตา กายภาพ เช่นการสงเคราะหเ์ ด็กหญิงดอ้ ยโอกาส
(Dasa Silamata) (หมายถงึ สตรผี รู้ ักษาทศศีล) ทางสงั คมกด็ ี และการไกล่เกลย่ี ปญั หาครอบครัว

30

ส�ำหรับภริยาผู้มีปัญหาทะเลาะวิวาทกับสามีก็ดี ผเู้ ขยี นอยศู่ รลี งั กาเปน็ เวลานบั ทศวรรษ เหน็
ดูเหมอื นวา่ สังคมจะยอมรับกนั โดยรวม เอกลกั ษณอ์ ยา่ งหนง่ึ ของสตรชี าวศรลี งั กา คอื การ
ทสสีลมาตาบางกลุ่มเน้นปฏิบัติวิปัสสนา เข้าวัดปฏิบัติธรรม มิได้มีเพียงผู้สูงอายุถือไม้เท้า
เป็นหลัก มีส�ำนักสอนกรรมฐานเป็นของตนเอง แต่เป็นทุกเพศ นับตั้งแต่เด็กพอเดินได้ จนถึง
มีศิษยานุศิษย์เข้าปฏิบัติธรรมเป็นจ�ำนวนมาก ผชู้ รา ผเู้ ขยี นคดิ วา่ นเ้ี ปน็ การสอนโดยไมต่ อ้ งสอน
แม้ผู้เป็นอาจารย์จะเสียชีวิตลง แต่ศิษย์รุ่นหลัง กลา่ วคอื ท�ำตวั เป็นตวั อยา่ งให้เห็น แล้วเดก็ จะ
กพ็ ยายามรกั ษาวธิ กี ารปฏบิ ตั ขิ องอาจารยส์ บื ตอ่ ไป ซมึ ซบั รับรู้เองโดยอตั โนมัต ิ
ดา้ นสตรสี ามญั ผไู้ มส่ ามารถปลกี ตวั ออกบวช ไม่ว่าจะปฏิบัติธรรมดีระดับใด แต่หากไม่
เปน็ ทสสลี มาตา กม็ ชี อ่ งทางหนั หนา้ เขา้ หาวดั เพอื่ สง่ ผลตอ่ คนใกลต้ วั กถ็ อื วา่ ยงั ไมช่ อื่ วา่ รกั ษาพระ-
แสวงหาธรรมะได้หลายทาง บางกลุ่มรวมตัวกัน พทุ ธศาสนา จงึ ไมแ่ ปลกอนั ใด ทปี่ ระเทศศรลี งั กา
เป็นสมาคม ทำ� หน้าทอี่ ปุ ถัมภ์วัดทม่ี เี สนาสนะยงั จะสามารถรักษาพระศาสนาให้คงอยู่ได้ แม้จะ
ไม่สมบูรณ์ บางสมาคมเร่ียไรเงินเพื่อช่วยเหลือ ถกู กดดนั บบี คน้ั จนเลอื ดอาบชโลมดนิ  แมป้ ระเพณี
พระสงฆ์ตามต่างจังหวัด ซ่ึงขาดแคลนจตุปัจจัย จะมั่นคงงดงามดีอย่างไร แต่หากขาดผู้ศรัทธา
เล้ียงชีพ บางกล่มุ รวมตวั กันจัดเทศนาธรรม โดย มนั่ คงช่วยกันรักษาสบื ต่อ ก็ย่อมไมท่ นนาน
นิมนต์พระสงฆ์ผู้มีช่ือเสียงเป็นองค์แสดงธรรม บทบาทของสตรีศรีลังกาดังกล่าว จึงเป็น
บางสมาคมจัดคอร์สปฏิบัติธรรม โดยหมุนเวียน ปัจจัยหน่ึง ซึ่งช่วยให้พระศาสนามั่นคงสืบมาถึง
เปลยี่ นไปตามวดั ท่สี ัปปายะ ปจั จบุ นั แมพ้ ระสงฆแ์ ละสตรบี างกลมุ่ จะพยายาม
ส่วนบางกลุ่มท่ีเห็นความส�ำคัญของเยาวชน เล่ือนสถานภาพเป็นภกิ ษณุ ี ก็หาได้ท�ำให้บทบาท
ก็เปิดโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ตามอาราม เดิมของสตรีศรีลังกาลดลงไปไม่ แต่กลับโดดเด่น
วิหาร ทั้งในเมืองหลวงโคลัมโบและต่างจังหวัด เปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตนอยา่ งนา่ อศั จรรย์ สตรไี ทย
บางแห่งมีนักเรยี นเปน็ จ�ำนวนนับพนั คน เอง กค็ วรหนั ไปศกึ ษาบทบาทและสถานภาพของ
จะเห็นได้ว่า ช่องทางปฏิบัติธรรมของสตรี สตรศี รลี งั กาดบู า้ ง  ประเดน็ ใดนา่ สนใจ กส็ ามารถ
ชาวศรลี งั กา ไมไ่ ดจ้ ำ� กดั เฉพาะการปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนา น�ำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม
กรรมฐาน แต่หมายรวมถึงการท�ำงานสังคม- ไทยได้
สงเคราะหด์ า้ นอ่นื อกี มากมาย

31

สตรี ธรรมกถา
พระอาจารยด์ ษุ ฎี เมธงกฺ โุ ร

ใน พุ ทธวถิ ไี ทย

“สตรีในพทุ ธวถิ ไี ทย” หรอื สตรใี นวถิ พี ุทธ ความล�ำบากทางร่างกาย อาจจะมีความเจบ็ ปว่ ย
สง่ิ แรกสดุ พระอาจารยท์ า่ นพทุ ธทาสไดว้ เิ คราะห์ เจ็บปวดหรือล�ำบากเม่ือถึงรอบเดือน สอง ต้อง
ศพั ทใ์ หเ้ รารบั รู้ ค�ำวา่ “สตรี” แปลวา่ อะไร สตรี อมุ้ ทอ้ ง เมอื่ เปน็ แมต่ อ้ งอมุ้ ทอ้ งถงึ เกา้ เดอื น อมุ้ ทอ้ ง
แปลวา่ ผมู้ สี ติ ถา้ เรารวู้ า่ สตรคี อื ผมู้ สี ติ เราจะรสู้ กึ ลำ� บากแคไ่ หน ถ้าใครเคยบวชเณร หรืออุ้มบาตร
ภมู ิใจในความเป็นผู้หญิง อย่างงา่ ยๆ เลย ผู้หญิง เพียงแค่ช่ัวโมงเดียวก็จะรู้สึกเหนื่อยและเม่ือย
ต้องแต่งตัว จะนงุ่ ผา้ นงุ่ กต็ อ้ งระมดั ระวัง ไปไหน แลว้ แตแ่ มต่ อ้ งอมุ้ ทอ้ งอยถู่ งึ เกา้ เดอื น ทง้ั วนั ทงั้ คนื
กต็ อ้ งมคี วามละเอยี ดรอบคอบ เพราะมนั กำ� กบั ให้ ลำ� บากขนาดไหน ตอนคลอดกต็ อ้ งเสยี่ งชวี ติ ไมแ่ พ้
เราตอ้ งมสี ติ มปี ัญญา และเราอาจจะมีส่ิงท่ดี กี วา่ ผชู้ ายตอนออกสงคราม ยงิ่ ยคุ โบราณหากเจบ็ ปวด
น้นั อกี คอื มคี วามเมตตากรุณา มีความเออ้ื เฟ้อื มาก กอ็ าจตอ้ งตายเพราะทนบาดแผลไมไ่ หว สาม
เผอื่ แผ่ มีความละเอียดอ่อน มคี วามเปน็ แม่ โดย ตอ้ งยา้ ยไปอยกู่ บั ครอบครวั สามี อนั นพ้ี ดู ถงึ สงั คม
สรปุ ทา่ นจงึ ได้แตง่ เปน็ บทกวีไว้วา่ “อันสตรี คือ อินเดียนะ แต่งงานแล้วต้องไปอยู่กับครอบครัว
ผู้หญงิ นั้นจรงิ แท้ เปน็ เพศแมส่ ูงส่งด�ำรงศักด์ิ เปน็ ของสามี ตอ้ งคอยดแู ลเอาใจใสท่ กุ คนในครอบครวั
ผู้โอบโลกนี้ไว้ด้วยใจรัก มีสติ ... แน่นหนัก เป็น พระพุทธเจ้าท่านเห็นความล�ำบากของ
หลกั ใจ” ผูห้ ญิง จึงทรงน�ำมาสอน
พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า การเกิดเป็นผู้หญิงนี่ สอนเพอ่ื อะไร สอนเพื่อใหผ้ ู้ชายเข้าใจผู้หญิง
ล�ำบากกว่าผ้ชู ายมาก คอื หน่ึง ทุกๆ เดือนตอ้ งมี ว่าผู้หญิงมีความลำ� บากมาก ท้งั กายและใจ ผู้ชาย

32 ๔๐

ลำ� บากแทนก็ไมไ่ ด้ ต้ังครรภแ์ ทนกไ็ ม่ได้ เลย้ี งลกู สงั คมไทย ผ้ชู ายส่วนใหญไ่ ม่มธี รรมะ นี้ไม่ได้
ใหน้ มแทนกไ็ มไ่ ด ้ กข็ อใหเ้ อาใจใสค่ อยดแู ลผหู้ ญงิ หมายถึงพระคุณเจ้านะ
ใหม้ คี วามสขุ กาย สบายใจ เท่าทจี่ ะทำ� ได้ ดูจากคนเข้าวดั มีผชู้ ายไม่ถงึ ๒๐% ผชู้ ายไป
ในงานวิจัยของฝรั่ง เพศชายจะมีลักษณะ อยูท่ ไี่ หน ไปอยโู่ รงพยาบาล เป็นโรคประสาท ไป
เป็นหยาง หรือเป็นฝ่ายรุก ถ้าเราดูเคร่ืองหมาย อยู่ในเรือนจ�ำ ในเรือนจ�ำมีนักโทษชายมากกว่า
วงกลม มีลูกศรออกมา ผู้ชายจะเป็นฝ่ายหักร้าง นักโทษหญิง ไปอยใู่ นบ่อน ในบาร์ เพราะผู้หญงิ
ถางพง เป็นฝ่ายเข่นฆา่ เป็นฝ่ายเผา ฝา่ ยท�ำลาย มีความตระหนักรู้ว่า ตนเองจะต้องประพฤติดี
บุกเบิก บุกรุกสิ่งต่างๆ แต่ผู้หญิง โดยหน้าท่ีใน ปฏิบัติดี ถึงจะมีความปลอดภัย ถ้าไม่จ�ำเป็น
ครอบครัว ต้องท�ำกับข้าว ต้องเล้ียงดู เล้ียงเด็ก จริงๆ ไม่ถูกบังคับจริงๆ ผู้หญิงก็จะไม่ท�ำอะไร
ชวี ิตอยกู่ ับการดแู ลความเป็นอยู่ ตอ้ งร้สู กึ โอบอมุ้ นอกลนู่ อกทาง เพราะมคี วามรกั สงบ รกั ครอบครวั
คุ้มครอง ใครเจ็บป่วยก็ดูแลรักษา ต้องมีความ อาตมาเคยพาสามเณรไปด้วย ตอนไปเทศน์ใน
อดทน อดกล้ันมากกวา่ ผู้ชาย อนั น้คี อื ลกั ษณะที่ เรือนจ�ำ นักโทษหญิงบางคนเห็นสามเณรแล้ว
ดแี ล้ว แล้วเขาก็วิจยั ว่า “ผูน้ �ำ” ทีม่ ี “ความเป็น รอ้ งไหเ้ พราะคดิ ถงึ ลกู ตวั เองถกู จบั เพราะคา้ ยาบา้
ผู้ชาย” มากเกินไป เอะอะกจ็ ะประกาศสงคราม หรือว่าอาจจะลักเล็กขโมยน้อยก็เพ่ือเอาเงินมา
เอะอะกจ็ ะรบ และการรบทกุ ครง้ั กจ็ ะมแี ตค่ นตาย เลยี้ งลกู ไมไ่ ดค้ ดิ การใหญโ่ ต ไมไ่ ดค้ ดิ การสงคราม
มแี ตเ่ ดก็ กำ� พรา้ มแี ตค่ นบาดเจบ็ แลว้ ใครพยาบาล หรอื ทำ� ลายลา้ ง แคท่ ำ� เพอ่ื คนในบา้ น แตต่ ดั สนิ ใจ
แล้วใครท่ลี �ำบาก ก็ผ้หู ญิงน่ันเอง ผิด คิดผดิ
เราจะเห็นว่าถ้ามีผู้หญิงเข้ามามีส่วนร่วมใน วัดใดท่ีมีผู้หญิงมาปฏิบัติธรรม อยู่กันเป็น
การบริหารจัดการส่ิงต่างๆ มันจะมีความสมดุล ระเบียบเรียบร้อย วัดน้ันจะมีความเข้มแข็ง
ถา้ ครอบครวั ใด พอ่ ฟงั แม่ สามฟี งั ภรรยา ครอบครวั สนบั สนนุ พระสงฆไ์ ดม้ าก ผหู้ ญงิ มี ๒ ระดบั ผหู้ ญงิ
น้ันจะมีความสุขมาก บางทีพ่ออาจจะตัดสินใจ ที่ไม่ได้สนใจธรรมะก็มีชีวิตอยู่เพียงแค่มีกินมีใช้
อยา่ งเด็ดเดี่ยว แตพ่ อแมม่ าจัดการ ช่วยดูแล ชว่ ย สบายๆ ไปวันหน่งึ อาจจะเป็นคนทีป่ ระสบความ
ช้ีแจง แกไ้ ข จากหนักกจ็ ะกลายเป็นเบา สามารถ สำ� เรจ็ รำ�่ รวยเงนิ ทอง กแ็ คน่ น้ั แตก่ ม็ ผี หู้ ญงิ หลาย
ทำ� ใหผ้ า่ นวิกฤตต่างๆ ไปได้ แตถ่ ้าผู้ชายตัดสินใจ คนคิดว่าถ้าเราเกิดมามีความส�ำเร็จแค่น้ี ไม่คุ้ม
อยู่ฝ่ายเดียวอาจผิดพลาดได้ง่าย พอพลาดแล้วก็ ค่าที่เกิดมาเป็นมนุษย์ เธอจึงไม่หลงใหลในโชค
ต้องเดือดร้อนกันทง้ั ครอบครัวเลย ลาภ วาสนา ความสวยงาม ซงึ่ เปน็ ของชว่ั คราว แต่
มงุ่ จะหาความสขุ ทยี่ งั่ ยนื ความสวยไมจ่ รี งั ความ
ดังไม่คงที่ แต่ความดีสิคงทน ก็ต้ังใจท�ำความดี
บางทา่ นรกั ษาศลี ๕ บางทา่ นรกั ษาศลี ๘ สวดมนต์
ภาวนา แผเ่ มตตา จติ ใจประณตี ไมต่ อ้ งอาศยั วตั ถุ
สิ่งของ ก็สามารถให้ทานกับคนอื่นได้ ตนเองก็มี
ความสขุ จติ ใจสงบ ตงั้ มน่ั และเบกิ บานอยภู่ ายใน

๔๐ 33

ความสขุ แบบนเ้ี ปน็ ความสขุ ทย่ี งั่ ยนื กวา่ และ บวชช่ัวคราว สามวนั เจด็ วนั บวชแลว้ ตอ้ งขยัน
เป็นอสิ ระ ศึกษาธรรมะ อย่าบวชแล้วอยู่เปล่า บางคนมา
เราสามารถทำ� เองได้ ความสขุ สมาธไิ มม่ ขี าย บวชแก้บนกม็ ี แกบ้ นไมเ่ ป็นไร แตข่ อใหบ้ วชแลว้
อยากได้ต้องท�ำเอง หรือต้องท�ำความดี เรามีลูก ตง้ั ใจศกึ ษาปฏิบตั ิธรรมให้เตม็ ท่ี เปน็ สตรีวถิ ีพุทธ
มีหลานพาเขาไปเย่ียมคนเจ็บ พาเขาไปท�ำทาน มโี อกาสแลว้ ตอ้ งปฏบิ ัตใิ หม้ าก
เลย้ี งสตั ว์ เดก็ กจ็ ติ ใจออ่ นโยนลง ไมก่ า้ วรา้ วรนุ แรง โดยเฉพาะการปฏิบัติภาวนาได้ประโยชน์
อนั นเ้ี ปน็ สง่ิ ทแี่ มส่ ามารถกลอ่ มเกลาใหล้ กู ๆ เดก็ ๆ มาก นำ� ไปสคู่ วามหลดุ พน้ จากการตดิ ยดึ เพราะวา่
เดนิ ทางเขา้ หาพระธรรมไดง้ า่ ยขนึ้ เกดิ ปญั ญามอง มปี ญั ญารกั ษาตน สภุ าษติ จนี สอนไวส้ น้ั ๆ “คนโง่
เหน็ ความสขุ ทยี่ ง่ั ยนื ผหู้ ญงิ หลายคนมาบวชเปน็ ชี แก้ปัญหาด้วยการหลีกหนี คนฉลาดหลีกเล่ียง
ดว้ ยความศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาและตอ้ งการ การปรงุ แตง่ ” คนไมม่ ปี ญั ญา เวลาพบสงิ่ ทไ่ี มพ่ อใจ
จะพบกับความสุขที่ยั่งยืน ในวัดท่ีมีแม่ชี นับว่า ไม่ชอบงาน ไม่ชอบนาย ไม่ถูกใจเพ่ือนร่วมงาน
ชว่ ยญาตโิ ยมไดม้ าก เพราะโยมเปน็ ผหู้ ญงิ ดว้ ยกนั ก็ลาออก มีปัญหากล็ าออก แบบน้ีชวี ติ ไปไม่รอด
ก็จะคุยกัน แก้ปัญหากันได้ดีกว่า ถ้าไปปรึกษา ไม่ส�ำเร็จสักอย่าง ไม่เคยชนะใจตนเองได้เลย
พระสงฆอ์ าจไม่สะดวก และไม่เหมาะสม ส่วนคนฉลาดหลีกเล่ียงการปรงุ แตง่ การปรงุ แต่ง
ศาสนาพทุ ธตอ้ งมพี ระภกิ ษณุ ี แตว่ า่ ฝา่ ยสงฆ์ เกิดข้ึนในจิตใจ เวลาท่ีเราชอบหรือไม่ชอบอะไร
ไทยตีความว่าพระภิกษุณีขาดช่วงไปแล้ว เเต่น่ี จริงๆ แล้ว ทุกสรรพส่ิงมันเกิดดับอยู่อย่างน้ัน
ไมใ่ ชป่ ญั หาใหญ่ จรงิ ๆ แลว้ การบวชเปน็ เรอ่ื งของ ถา้ มีปญั ญา เรากจ็ ะปลอ่ ยวางได้
จิตใจ บวชอยู่ที่บ้านก่อน เป็นชาวบ้าน แม้เป็น เร่ืองสตรีในวิถีพุทธ มีเร่ืองให้พูดได้มาก
แมบ่ า้ น กพ็ ยายามปฏบิ ตั ใิ หไ้ ด้ “พละ ๕” คอื เรมิ่ อาตมามีหนังสือเล่มหนึ่งเรื่องการปฏิบัติธรรม
จากการมศี รัทธา มีวิริยะ หรือความเพียร มีสติ เคยพูดไว้กับคณะพยาบาลศาสตร์ ให้ก�ำลังใจ
ความระลึกได้ มีสมาธิ ความตั้งใจมั่น และมี คนทมี่ าอยทู่ วี่ ดั วา่ เราปฏบิ ตั ธิ รรมลำ� บากมากกวา่
ปัญญารอบรู้ ไม่หลงมัวเมา การท�ำความดีหรือ ผู้ชาย ต้องใช้ความเพียรสูงมาก และพูดไว้เตือน
การฝกึ ฝนปฏิบัติตนมีแบบนี้ อยู่ที่บา้ นก็ปฏบิ ตั ิได ้ ผชู้ ายด้วยวา่ ผหู้ ญิงปฏิบตั ลิ ำ� บากนะ มาวดั ตอน
เพราะฉะนั้น ท่านพุทธทาสจึงว่า ถ้าเราปฏิบัติ กลางคืนก็ไม่ปลอดภัย มีเสียงครหาด้วย จะเข้า
เช่นน้ีอยู่ที่บ้านได้ นับว่าเก่งกว่าอยู่ที่วัดเสียอีก ปรกึ ษาหารอื พระ กต็ อ้ งมเี พอื่ น มคี นไปเปน็ พยาน
เพราะท่ีวัดมีส่ิงยั่วยุน้อยกว่า และถ้าโยมที่ยัง ตา่ งๆ แต่ผ้ชู ายนี่ มาหาพระงา่ ยมาก สะดวกมาก
ท้ิงพ่อแม่ไม่ได้ มีพ่อแม่แก่เฒ่าต้องเอาใจใส่ดูแล จะมาเมอ่ื ไหรก่ ไ็ ด้ จะมาคา้ งคนื ทว่ี ดั กไ็ ด้ วดั มที พี่ กั
หรอื มกี จิ การของครอบครวั กอ็ ยา่ เพงิ่ รบี มาอยวู่ ดั เยอะแยะ แตผ่ ชู้ ายไมค่ อ่ ยรกั ดี ไปคา้ งคนื ทไ่ี หนไม่
อยา่ เพ่ิงหนีมาบวช เพราะจะมคี วามลงั เล มคี วาม ทราบ ไปสรา้ งความเสยี หายเยอะแยะ แตผ่ ู้หญิง
รู้สึกผิด รู้สึกว่าตัวเองไม่มีความรับผิดชอบ ส่ิง ท�ำช่ัวได้น้อย สังคมไม่ค่อยโอกาสให้ท�ำความช่ัว
เหลา่ น้จี ะท�ำให้เราเสียสมาธแิ ละท้อถอยได้งา่ ย แตข่ ณะเดียวกนั ก็ท�ำความดลี ำ� บากดว้ ย
เพราะฉะนนั้ ญาตโิ ยมผหู้ ญงิ เราเปน็ ลกู หญงิ สรปุ กค็ อื ผหู้ ญงิ จะทำ� ความชว่ั กย็ าก แตจ่ ะ
เรากส็ ามารถบวชได้ บวชชที บ่ี า้ น หรอื ถา้ มโี อกาส ทำ� ความดกี ย็ ากเหมอื นกนั

34

ถ้าใครคิดว่าชีวิตเราน้ันย่�ำแย่แล้ว ทุกข์
มากแล้ว ลองไปศึกษาพระพุทธประวัตินะ มี
พุทธสาวิกามากมาย ที่ท่านเคยเจอความทุกข์
และในท่ีสุดก็ล่วงทุกข์ได้หมด พวกเราในท่ีน้ี
ก็เหมือนกัน เรามีสติปัญญา มีร่างกายแข็งแรง
ไม่พกิ ลพกิ าร ไม่ปัญญาออ่ น มคี รอบครวั มีครบู า
อาจารย์ มีโอกาสได้มาฟังธรรม มาปฏิบัติธรรม
การท�ำความดีของผู้หญิงต้องใช้ความเพียร ถือว่าเป็นโชคดีแล้ว คุณโยมก็พยายามใช้โอกาส
มากกวา่ ผชู้ าย กถ็ อื เสยี วา่ เปน็ การสรา้ งบารม ี ดงั นนั้ อยา่ งนี้ แม้เดอื นละหน่ึงครง้ั ก็อยา่ ให้ขาด อยา่ ให้
อยา่ ไปยดึ ตดิ กบั รปู แบบภายนอก เดยี๋ วนม้ี รี ายการ พลาดโอกาส ตงั้ ใจปฏบิ ัติ สง่ิ ท่ปี ฏิบตั ิ จะได้ไปใช้
โทรทัศน์ประเภทนี้เยอะนะ ท่ีพยายามบอกว่า ในชีวิตประจ�ำวัน เราจะได้อานสิ งส์อย่างแน่นอน
ถ้าไม่พอใจร่างกายของเรา หมอช่วยได้ เอาเงิน ขออำ� นวยพรใหท้ กุ ทา่ นทมี่ โี อกาสไดเ้ กดิ เปน็
มาให้สักแสนหน่ึงหรือล้านหนึ่ง ก็ท�ำให้ทุกอย่าง มนุษย์ ได้พบพระพุทธศาสนา ไดม้ าปฏบิ ตั ธิ รรม
สวยได้ดังใจ แต่มันไม่จริง เป็นการหลอกตัวเอง จงมคี วามสุข ความเจรญิ ด้วยอายุ วรรณะ สุขะ
และหลอกคนอ่ืน คนเรา ถ้าพอใจในส่ิงท่ีเรามี พละ บริบรู ณ์
หน้าตา ผิวพรรณ อาจจะไม่ดีเหมือนคนอ่ืน การทค่ี ณุ โยมไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ ชวี ติ จะดเี พราะ
ก็ไม่เห็นเป็นไรนี่ เราสร้างความดีข้างในกันดีกว่า มธี รรมะควบคมุ จิต คิดดี ทำ� ดี รกั ษาศีลหา้ เอาไว้
ยง่ั ยนื กว่า เพราะว่าความสวยไมค่ งท่ี แตค่ วามดี ไมป่ ระมาท อยา่ มอี บายมขุ มฉี นั ทะในการทำ� งาน
น้คี งทน มีเปา้ หมายชวี ติ มีความดี ท�ำความดใี ห้สำ� เรจ็ เรา
ลองดตู วั อยา่ ง นางวสิ าขา บรรลพุ ระโสดาบนั จะไมต่ ายไว เราต้องเล้ียงลูกให้โต ต้องสร้างบา้ น
ต้ังแตอ่ ายไุ ด้ ๗ ขวบ มปี ัญญามาก มีความมนั่ คง ให้แม่ ต้องเรียนหนงั สือให้จบ เราต้องมีแรงจูงใจ
ในพระพทุ ธศาสนามาก ตอนหลงั สามารถทำ� ใหพ้ อ่ ในการอยู่ แต่ถ้าไม่มีความต้ังใจ เราจะเบื่อชีวิต
สามีเปลี่ยนมาฝักใฝ่ในธรรมได้ เลื่อมใสในพระ โรคซมึ เศรา้ จะเกาะกนิ แมแ้ ตค่ นแกก่ ฆ็ า่ ตวั ตายได้
พุทธศาสนา ถึงกับเรียกนางวิสาขาว่ามารดา ดว้ ย นี่เพราะว่าเราขาดการอยู่เพื่อท�ำความดี หรือว่า
นางช้ใี หเ้ ห็นวา่ การทพี่ อ่ เสวยสขุ อยู่เช่นนี้ เพราะ อย่อู ย่างมีคุณค่า
กนิ ของเกา่ บญุ ใหมไ่ มส่ รา้ ง นางวสิ าขา เปน็ ตวั อยา่ ง ท้ายที่สุดนี้ขอให้ อายุ วรรณะ สุขะ พละ
ของผู้ครองเรือนแบบพุทธ มีความเป็นตัวของ จงบังเกิดมีแก่ทุกท่านที่ได้มาปฏิบัติธรรม ตลอด
ตัวเอง มีความเป็นผู้น�ำและช่วยท�ำนุบ�ำรุงพระ กาลนาน เทอญ สาธุ
พุทธศาสนาได้มาก นอกจากนางวิสาขาแลว้ ยงั มี
สตรีแบบนี้อีกหลายท่านในสมัยพุทธกาล เช่น ทม่ี า : ธรรมบรรยาย ในงานปฏบิ ตั ธิ รรม จดั โดย
นางปฏาจารา ซง่ึ ผา่ นความทกุ ข ์ ความพลดั พราก มูลนิธิปันสุข, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช-
ทุกอย่างในชวี ิต จนแทบเป็นบ้า แต่พระพทุ ธเจา้ วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ทรงใหส้ ต ิ ในทสี่ ดุ นางกบ็ รรลธุ รรมเปน็ พระอรหนั ต์ ในเดอื นมีนาคม ๒๕๖๑

35

วิชยสูตรปัญญาภิวฒั น์
ธรี ปญั โญ

วารสารฉบับเดือนกันยา เรามาฟังเร่ืองของ เมอื่ เขา้ สวู่ ยั รนุ่ ฮอรโ์ มนเพศเรมิ่ ทำ� งาน หนมุ่
กญั ญากนั ดกี วา่ “กญั ญา” เปน็ ภาษาบาลี แปลวา่ น้อยท้ังหลายก็จะเร่ิมท�ำตัวให้เป็นท่ีสนใจของ
“สาวน้อย” ในทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน คน สาวน้อย ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ ถา้ ไมส่ ามารถดีเด่นใน
ส่วนใหญ่ในโลกเช่ือกันตามทฤษฎี Evolution ด้านการเรียน การสอบ การกีฬา ก็หันมาเอาดี
(วิวฒั นาการ) วา่ สงิ่ มีชีวติ ในโลก ตา่ งก็มวี ิวัฒนา- เอาเด่นทำ� ตัวให้เป็นจดุ สนใจใหไ้ ด้ในทางอืน่ เช่น
การมาดว้ ย Natural selection (การคดั เลอื กพนั ธุ์
โดยธรรมชาติ) ถ้าจะถามว่า อะไรเล่าที่เป็นคน
เลือก ? นกั วทิ ยาศาสตรก์ ็จะตอบวา่ กม็ ีเพศหญิง
น่ันแหละท่ีเป็นผู้เลือก เพราะความเป็นหญิงจะ
เชือ่ มโยงกับธรรมชาติ จึงมคี ำ� พดู กันว่า Mother
Nature ส่วนความเป็นชายนั้น จะเช่ือมโยงกับ
วฒั นธรรม (Culture) เพอื่ ความอยรู่ อดของสปชี สี่ ์
ตวั ผู้จงึ ต้องแขง่ ขัน เอาชนะกันในด้านตา่ งๆ เพือ่
แย่งผสมพันธุ์กับตัวเมีย เพ่ือสืบสายกรรมพันธ์ุ
หรือยนี ส์ของตนให้คงยนื ยาวอยไู่ ด้ในรนุ่ ตอ่ ๆ ไป
แมแ้ ตม่ นุษย์เอง (ซึง่ เปน็ สตั วช์ นดิ หนง่ึ ) เราก็เห็น
ลักษณะนี้ได้โดยไม่ยากนัก

36 ๔๐

ทางเกมส์คอมพิวเตอร์ ความงาม มาเป็น “การ
ทางสิ่งเสพติด ทางเป็น เอาชนะกาย” เพอ่ื ความ
นกั เลงหัวไม้ เป็นตน้ ทาง ปล่อยวางแทน การชนะ
ใดก็ทางหน่ึง เมื่อเข้าใจ ในท่ีน้ีจึงมิใช่การเอาชนะ
ธรรมชาติข้อน้ีแล้ว เรา ผู้อื่น เพ่ือสืบต่อวัฏฏ-
จะได้ไม่แปลกใจ ที่เห็น ทุกข์ แต่เปน็ การเอาชนะ
วัยรุ่นท�ำอะไรแปลกๆ ความหลงใหลของตนเอง
เพราะเขาต้องการเรียก เพ่ือออกจากวัฏฏทุกข์
ร้องความสนใจจากเพศ โดยหันมาด�ำเนินชีวิต
ตรงข้ามน่ันเอง ในวิถีท่ีปราศจากความ
ส�ำหรับผู้ที่ผ่านโลก เรา่ รอ้ นของกามแทน การ
และชีวิตมาพอสมควร เข้าวัดเข้าวา มาปฏิบัติ
ค�ำโบราณท่ีกล่าวไว้ว่า ธรรมนั้นก็เพ่ือหาวิธีออก
“ผชู้ ายจะแสวงหาอำ� นาจ จ า ก ก า ม ใ ห ้ ไ ด ้ นั่ น เ อ ง
เพ่ือมาครอบครองความงาม ส่วนผู้หญิงน้ันก็จะ พระอรหนั ตผ์ สู้ นิ้ กเิ ลสจงึ เปน็ ผเู้ ดยี วทมี่ องเหน็ มาร
แสวงหาความงาม เพอื่ มาครอบครองอำ� นาจอกี ที และสามารถพ้นจากอำ� นาจของมารได้
หนง่ึ ” ดจู ะเปน็ เรอื่ งจรงิ อยมู่ ใิ ชน่ อ้ ย แสดงออกเปน็ เอาละ มาดูกนั ซิวา่ พระพุทธเจา้ จะมวี ธิ สี อน
ปุคคลาธิษฐานได้ด้วยพระยามารผู้ครองอ�ำนาจ สาวงามอย่างไรบ้าง จริงๆ ก็มิใช่เฉพาะสาวงาม
บนสวรรคช์ นั้ สงู สดุ กบั ลกู สาวคอื นางตณั หา-ราคา หรอก แม้หนมุ่ ๆ ที่ติดในรูปกายของสาวงามกไ็ ด้
- อรดี ส่ิงทพ่ี ระยามารกลวั ท่สี ุดก็คอื กลวั คนจะ ประโยชน์เช่นกัน พระสูตรน้ีจึงมีชื่อว่าวิชยสูตร
หลุดออกไปจากอ�ำนาจของตน จึงได้ใช้ลูกสาว (พระสตู รวา่ ดว้ ยชยั ชนะ) อนั มที มี่ าของการตรสั
มาเป็นเหย่ือล่อ ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะได้ผล เพราะ ๒ แหง่ แหง่ แรกตรสั แกพ่ ระนางนนั ทา (บางทจี งึ
ในบรรดาหญิงสาวน้อยทั้งหมดในกามภพ คงจะ เรียกว่า นนั ทสูตร) และแหง่ ทีส่ อง ตรสั แกฝ่ ูงชน
ไม่มีใครสวยเกินลูกสาวของพระยามารอีกแล้ว ผู้มามุงดูศพของสิริมา ซึ่งเคยเป็นนางคณิกาท่ี
ธรรมดาของผู้ท่ียังละกามไม่ได้ กรอบคิดที่มีต่อ งามโสภาที่สุดประจ�ำเมอื ง
กาย ตอ่ กัญญานน้ั จงึ มกั เปน็ “การชวนให้รกั ชกั
ให้ใคร่ พาใจให้ก�ำหนัด” วนเวียนกันไป ติดพัน
รกั ใคร่ อยู่ในโลกของกาม
แต่ในทางพระพุทธศาสนา พระพุทธองค์ได้
ทรงแสดงกามวา่ มคี ณุ นอ้ ย แตม่ โี ทษมาก กรอบคดิ
จงึ ยา้ ยมาเปน็ “ชวนใหห้ ลดุ หยดุ ใหด้ ู ทำ� ความรู้
ใหเ้ กดิ (วา่ กามไมไ่ ดง้ ามอยา่ งทค่ี ดิ )” ทรงแนะนำ�
ให้เปล่ยี นจาก “การเอาชนะกัน” ทางความสวย

๔๐ 37

มาดทู ม่ี าแรกกนั กอ่ น กอ่ นอน่ื สตรที ม่ี ชี อ่ื วา่ ปริยาย จึงไม่ไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ทั้งไม่
“นนั ทา” ในสมัยพุทธกาล มอี ยดู่ ว้ ยกนั ๓ นาง ปรารถนาเพอ่ื จะเหน็ พระองค์ หากจะมคี ำ� ถามวา่
คือ ๑) นันทา พระธิดาของพระเจ้าสุทโธทนะ นางไม่เล่ือมใสอย่างน้ี เพราะเหตุไรจึงบรรพชา
เป็นน้องสาวของพระอานนท์ ๒) อภิรูปนันทา เลา่ ? ตอบวา่ เพราะไมม่ ที ไี่ ป สจั จกมุ ารผเู้ ปน็ สามี
พระธดิ าของพระเจา้ เขมกศากยะ และ ๓) นนั ทา ของนางอภิรูปนันทาได้ท�ำกาละอย่างกระทันหัน
ชนบทกัลยาณี ในวันหมน้ั ด้วยเหตุนน้ั มารดาและบดิ าจงึ ให้นาง
นันทา แปลว่า เพลิดเพลิน ยินดี ร่ืนรมย์ บรรพชา แมน้ างจะไมป่ ระสงคเ์ ลย ฝา่ ยนางนนั ทา
ร่นื เริง สนกุ เป็นที่เพลิดเพลนิ , นางอภิรูปนนั ทา ชนบทกัลยาณีน้ัน เม่ือท่านพระนันทะผู้ก�ำลังจะ
ผู้มีรูปสวยย่ิงนัก น่าดู น่าเลื่อมใสยิ่งนัก (อภิ เขา้ พิธีวิวาหก์ บั นาง ได้บรรลพุ ระอรหัตแลว้ หมด
แปลว่า ยิ่ง) จึงได้ชื่อว่า อภิรูปนันทา, ฝ่ายนาง ความหวังที่พระนันทะจะกลับมา และเมื่อพระ
นนั ทา ชนบทกัลยาณี เม่อื ทั้งเมืองไมเ่ ห็นสตรีทม่ี ี ญาติอื่นๆ ออกบรรพชากันหมดแล้ว นางไม่ได้
รปู สวยเสมอกบั นางเลย จงึ ไดช้ อื่ วา่ ชนบทกลั ยาณี ความส�ำราญใจในฆราวาส จึงออกบรรพชาตาม
คือนางงามประจ�ำประเทศนั่นเอง (ค�ำว่า ชนบท หาไดบ้ รรพชาด้วยศรทั ธาไม่
ในภาษาบาลี แปลว่า ประเทศ) คร้ันเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรู้ความแก่
ครงั้ ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาคเจา้ เสดจ็ กรงุ กบลิ พสั ด์ุ รอบแหง่ ญาณของนางทง้ั สอง จงึ ตรัสสั่งพระนาง
ทรงแนะน�ำเจ้าศากยะท้ังหลาย และทรงให้นาง มหาปชาบดวี า่ ใหภ้ กิ ษณุ ที งั้ หมดมารบั โอวาทตาม
นันทาทั้งสามบรรพชา สมัยต่อมา เมื่อพระผู้มี ลำ� ดับ นางทงั้ สองนน้ั เม่อื ถึงวาระของตน กส็ ่งั ให้
พระภาคเจา้ ประทบั อยู่ ณ กรงุ สาวตั ถี นางอภริ ปู - ภิกษุณรี ปู อื่นไปแทน พระผู้มีพระภาคเจา้ จงึ ตรัส
นันทา และนางนันทา ชนบทกัลยาณี ต่างก็เมา วา่ เมอ่ื ถงึ วาระตนตอ้ งไปเอง ไมใ่ หส้ ง่ ผอู้ นื่ ไปแทน
ในรปู ของตน ตา่ งกค็ ดิ วา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรง อยมู่ าวนั หนง่ึ นางอภริ ปู นนั ทาไดไ้ ปรบั พระโอวาท
ตเิ ตยี น ทรงครหารปู ทรงแสดงโทษในรปู โดยอเนก พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงยังนางให้สลดใจ ด้วย
รูปท่ีทรงเนรมิต ให้นางตั้งอยู่ในพระอรหัต โดย
ล�ำดับ ด้วยคาถาในธรรมบทน้ีว่า “กระท�ำสรีระ
ใหเ้ ปน็ นครแหง่ กระดกู ทง้ั หลาย...” และพรอ้ มดว้ ย
เถรีคาถาเหลา่ นีว้ า่
“อาตุรัง อะสจุ งิ ปตู ิง ปสั สะ นนั เท สะมสุ สะยงั
อุคฆะรนั ตงั ปคั ฆะรนั ตงั พาลานัง อะภิปัตถิตัง”

(เถรีคา. ๑๙).
“อะนมิ ิตตญั จะ ภาเวหิ มานานุสะยะมุชชะหะ
ตะโต มานาภิสะมะยา อุปะสันตา จะรสิ สะสิ”

(ส.ุ นิ. ๓๔๔ เถรคี า. ๒)

ดูก่อนนันทา เธอจงดูร่างกายน้ี อันอาดูร
ไม่สะอาด เป่ือยเน่า

38

นางนันทาเข้าไปเฝ้า
พรอ้ มกบั ภกิ ษณุ ที งั้ หลาย ไหว้
พระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วก็
นั่งลง เห็นพระรูปสมบัติของ
พระผู้มีพระภาคเจ้า ต้ังแต่
พ้ืนพระบาทจนถึงปลายพระ
เกสา และเห็นรปู เนรมติ สตรี
น้ัน ซึ่งยืนข้างพระผู้มีพระ-
ภาคเจา้ ดว้ ย กค็ ดิ วา่ โอ ! สตรนี ี้
รูปสวยย่ิงนัก ละความเมาใน
อันกระดูกยกขึ้น ไหลเข้าไหลออก ที่พวก รูปของตน ไปยินดียิ่งในรูปของสตรีน้ัน แต่น้ัน
คนพาลปรารถนากันย่งิ นกั พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงสตรีนั้น ท�ำให้
เธอจงเจริญอสภุ นิมิต จงละมานานสุ ยั เสีย มอี ายปุ ระมาณ ๒๐ ปี ดว้ ยวา่ มาตุคาม มอี ายุ
ต่อแต่น้ัน เพราะละมานะเสียได้ เธอจักเป็น ๑๖ ปีเท่านั้น ย่อมสวยงาม เกินนั้นไปย่อมไม่
ผ้สู งบระงบั เทย่ี วไป ดงั นี้ สวยงาม(มาตคุ าโม หิ โสฬะสะวสั สทุ เทสโิ กเยวะ
สว่ นนางนนั ทา ชนบทกลั ยาณี นน้ั ในวนั หนงึ่ โสภต,ิ นะ ตะโต อุทธัง)
ชาวกรงุ สาวตั ถใี นปเุ รภตั ถวายทาน สมาทานอโุ บสถ ลำ� ดบั นนั้ นางนนั ทา เมอ่ื เหน็ ความเสอ่ื มแหง่
นุ่งดี ห่มดี ถือวัตถุมีของหอมและดอกไม้เป็นต้น รปู ของสตรนี น้ั จงึ มฉี นั ทราคะในรปู นน้ั ลดนอ้ ยลง
ไปสู่พระเชตวัน เพอ่ื ประโยชน์แก่การฟงั ธรรม ใน จากนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงสตรียังไม่
เวลาจบการฟงั ธรรม ไหวพ้ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ แลว้ คลอด สตรคี ลอดคร้ังเดียว สตรกี ลางคน สตรีแก่
เข้าสู่พระนคร แม้พระภิกษุณีสงฆ์ฟังธรรมกถา จนถึงสตรีมอี ายุ ๑๐๐ ปี หลงั โกง ถือไม้เทา้ มีตวั
แล้ว ก็ไปสู่ส�ำนักของนางภิกษุณี ชนและภิกษุณี ตกกระแล้ว ทรงแสดงการตายของสตรีนั้น ให้
ท้ังหลายในกรุงสาวัตถีนั้น ต่างก็สรรเสริญพระผู้ กลายเป็นซากศพพองข้ึนอืด มีกาเป็นต้นรุมจิก
มพี ระภาคเจา้ เปน็ เสยี งเดยี วกนั นางนนั ทา ชนบท กนิ มกี ลนิ่ เหมน็ นา่ เกลยี ด นา่ ปฏกิ ลู แกน่ างนนั ทา
กัลยาณี ได้ฟังบุคคลเหล่าน้ันก็ประสงค์จะเข้าไป ผู้แลดูอยู่น่ันเทียว นางนันทาเห็นสตรีน้ัน เกิดมี
เฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าบ้าง จึงบอกแก่ภิกษุณี อนิจจสัญญา ปรากฏขึ้นว่า กายน้ีทั่วไปท้ังหมด
ท้ังหลาย พวกภิกษุณีก็พานางไปเฝ้าพระผู้มีพระ ทั้งแก่เรา ทั้งแก่คนอ่ืน อย่างนี้น่ันเอง แม้ทุกข-
ภาคเจา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงรกู้ ารมาของนาง สัญญา และอนัตตสัญญา ก็ปรากฏตามขึ้นมา
จึงทรงเนรมิตสตรีที่มีอายุน่าดูยิ่งนัก ประมาณ ภพท้ัง ๓ ก็ปรากฏขึ้นวา่ ไม่อาจเป็นทีพ่ งึ่ อาศยั ได้
๑๕ - ๑๖ ป ี ยืนถวายงานพดั อยขู่ า้ งๆ ด้วยก�ำลัง ดุจเรือนถูกไฟไหม้ ฉะน้ัน ล�ำดับนั้น พระผู้มี
ฤทธ์ิของพระองค์ เพ่ือทรงก�ำจัดความเมาในรูป พระภาคเจ้าทรงรู้ว่าจิตของนางนันทาแล่นไปใน
ด้วยรูปน่ันเทียว ดุจบุรุษต้องการบ่งหนามด้วย กรรมฐานแล้ว จึงตรัสคาถาเหล่านี้ ให้สัปปายะ
หนาม ตอ้ งการถอนล่มิ ดว้ ยลิ่ม ฉะน้นั แก่นางว่า

๔๐ 39

“ยะถา อทิ ัง ตะถา เอตัง ยะถา เอตงั ตะถา อทิ งั จากมารดา ดหู มน่ิ นางอตุ ตรา กลบั ไดส้ ตจิ ากพระ
ธาตโุ ส สญุ ญะโต ปสั สะ มา โลกงั ปุนะราคะมิ คาถาวา่ “พงึ ชนะความโกรธ ดว้ ยความไมโ่ กรธ...”
ภะเว ฉันทัง วิราเชตฺวา อปุ ะสนั ตา จะรสิ สะส”ิ ขอขมาพระผู้มีพระภาคเจ้า ฟังพระธรรมเทศนา
ไดบ้ รรลเุ ปน็ โสดาบนั ตง้ั นจิ ภตั รไวใ้ นเรอื นของตน
(ส.ุ นิ. ๒๐๕). ภกิ ษผุ รู้ บั นจิ ภตั รรปู หนง่ึ ไดเ้ หน็ นางสริ มิ าแลว้ เกดิ
ราคะ กลับถึงวัดแล้วก็ไม่อาจฉันอาหารได้ นอน
สรรี ะของหญงิ นี้ เปน็ ฉนั ใด สรรี ะของเธอนี้ พรำ�่ เพอ้ ถงึ นางอยู่ ครงั้ นนั้ นางสริ มิ าตายไปเปน็ เทวี
ก็จักฉนั นั้น ของทา้ วสยุ ามในยามภพ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรง
สรีระของเธอน้ัน ฉันใด สรีระของหญิงน้ี สง่ คนไปบอกพระราชาใหห้ า้ มการเผาศพของนาง
กฉ็ ันนั้น แลว้ ใหน้ ำ� มาเกบ็ ไว้ ณ ปา่ ช้าผดี ิบ แล้วพระองค์ก็
เธอจงดธู าตทุ ง้ั หลายโดยความเปน็ ของสญู ทรงพาหมู่พระภิกษุสงฆ์รวมท้ังภิกษุรูปนั้นไปดู
จงอยา่ กลบั มาสู่โลกนอ้ี ีกเลย สรรี ะของนาง มหาชนพดู กนั วา่ “ในกาลกอ่ น การดู
จงส�ำรอกความพอใจในภพเสยี แลว้ จกั เปน็ นางสริ มิ าดว้ ยทรพั ย์ ๑,๐๐๐ กไ็ ดย้ าก บดั นผ้ี ทู้ ใ่ี คร่
ผู้สงบระงบั เทย่ี วไป ดงั น้ี จะดูนางแม้ด้วยหนึ่งกากณิก ก็ไม่มี” ฝ่ายสิริมา
ในเวลาจบคาถา นางนนั ทาดำ� รงอยใู่ นโสดา- เทพกัญญา อันรถ ๕๐๐ คัน แวดล้อมแล้วไป
ปัตติผล ลำ� ดับน้ัน พระผู้มพี ระภาคเจ้า เม่อื ตรัส ณ ท่ีนนั้ พระผมู้ พี ระภาคเจ้าตรัสวชิ ยสตู รน้ี เพอื่
วิปสั สนากรรมฐาน ซงึ่ มีสญุ ญตาเป็นบริวาร เพ่อื ทรงแสดงธรรมแก่ชนทงั้ หลายทปี่ ระชุม ณ ทนี่ น้ั
บรรลุมรรคเบ้ืองบนแก่นาง จึงตรัสวิชยสูตรน้ี และคาถาในธรรมบทนี้ว่า “เธอจงดูร่างกาย
ตอ่ ไป น่เี ป็นทมี่ าของพระสตู รนี้ อนั แรก อันท�ำวิจติ ร...” เพ่ือทรงโอวาทแกภ่ ิกษุน้นั นเี้ ปน็
ท่มี าอนั ที่ ๒ แห่งพระสูตรน้ี เอาละ ปพู ้ืนกนั มา
ที่มาที่สองของพระสูตรนี้ กล่าวไว้ในคาถา พอสมควรแลว้ ไปดูตวั พระสูตรกันเลย
ธรรมบทว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่
ณ กรุงราชคฤห์ นางสิริมา น้องสาวของหมอ
ชีวก ไดต้ �ำแหน่งนครโสภิณี (หญงิ งามเมอื ง) ต่อ

40

วิชยสูตร
(กายวิจฉันทนกิ สูตร)

๑. จะรัง วา ยะทิ วา ติฏฐัง นสิ นิ โน อุทะ วา สะยงั
สะมิญเชติ ปะสาเรติ เอสา กายัสสะ อิญชะนา
๒. อฏั ฐินะหารสุ งั ยุตโต ตะจะมงั สาวะเลปะโน
ฉะวิยา กาโย ปะฏิจฉันโน ยะถาภูตงั นะ ทิสสะติ
๓. อันตะปูโร อทุ ะระปโู ร ยะกะนะเปฬสั สะ วัตถิโน
หะทะยสั สะ ปัปผาสสั สะ วกั กัสสะ ปิหะกัสสะ จะ
๔. สิงฆาณกิ ายะ เขฬสั สะ เสทัสสะ จะ เมทัสสะ จะ
โลหติ สั สะ ละสิกายะ ปิตตัสสะ จะ วะสายะ จะ
๕. อะถสั สะ นะวะหิ โสเตหิ อะสุจี สะวะติ สัพพะทา
อกั ขิมฺหา อกั ขิคูถะโก กณั ณมั ฺหา กณั ณะคถู ะโก
๖. สงิ ฆาณิกา จะ นาสะโต มุเขนะ วะมะเตกะทา
ปติ ตัง เสมฺหญั จะ วะมะติ กายัมหฺ า เสทะชลั ลิกา
๗. อะถัสสะ สสุ ริ ัง สสี ัง มัตถะลุงคสั สะ ปูรติ ัง
สุภะโต นัง มัญญะติ พาโล อะวิชชายะ ปุรกั ขะโต

๔๐ 41

วชิ ยสูตร
ว่าด้วย การพจิ ารณาเอาชนะความสวยงามของรา่ งกาย

(พระผมู้ พี ระภาคตรสั ดังน)ี้
ทรงแสดงไตรลกั ษณ์ ตรัสสุญญตากรรมฐาน :
[๑] การที่คนเรายนื เดิน นัง่ หรอื นอน คู้เขา้ หรือเหยยี ดออก
นีจ้ ดั เป็นความเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย
ทรงแสดงอสุภะที่มวี ิญญาณครอง (สมบตั ิภพ) :
[๒] รา่ งกายนปี้ ระกอบด้วยกระดูกและเสน้ เอ็น มหี นงั และเนือ้ ฉาบทา หอ่ หุม้ ดว้ ยผิวหนัง
ปถุ ุชนย่อมไมพ่ ิจารณาเห็นตามความเป็นจรงิ
[๓] รา่ งกายนเ้ี ตม็ ไปด้วยลำ� ไสใ้ หญ่ ล�ำไสเ้ ล็ก อาหารใหม่ อาหารเกา่
ตบั มตู ร หัวใจ ปอด ไต ม้าม
[๔] น�ำ้ มูก นำ�้ ลาย เหง่ือ มันข้น เลอื ด ไขข้อ ดี เปลวมนั
[๕] อนึ่ง รา่ งกายนม้ี ขี องไม่สะอาด ไหลออกทางทวารทงั้ ๙ เสมอ คอื
มีขี้ตาไหลออกทางเบ้าตา มขี ีห้ ูไหลออกทางรูหู
[๖] มนี ำ้� มกู ไหลออกจากทางช่องจมูก บางคราวก็อาเจียน สำ� รอกนำ้� ดี ขากเสลดออกทางปาก
มีหยาดเหง่ือออกตามรูขมุ ขน มหี นองฝีไหลออกตรงท่เี ป็นแผล
ทรงแสดงความท่กี ายนนั้ เปน็ ของไมส่ ะอาด (อสภุ ะ) :
[๗] อนึ่ง ร่างกายน้ีมศี รี ษะเป็นโพรง เต็มด้วยมนั สมอง
ซง่ึ คนพาลถูกอวิชชาครอบง�ำ หลงเข้าใจว่าเปน็ ของสวยงาม

42 ๔๐

๘. ยะทา จะ โส มะโต เสติ อทุ ธมุ าโต วินีละโก
อะปะวิทโธ สุสานสั มฺ งิ อะนะเปกขา โหนติ ญาตะโย
๙. ขาทันติ นัง สุวานา จะ สงิ คาลา วะกา กิมี
กากา คชิ ฌา จะ ขาทันติ เย จัญเญ สนั ติ ปาณโิ น
๑๐. สุตฺวานะ พทุ ธะวะจะนัง ภิกขุ ปญั ญาณะวา อธิ ะ
โส โข นัง ปะรชิ านาติ ยะถาภตู ญั หิ ปัสสะติ
๑๑. ยะถา อิทงั ตะถา เอตัง ยะถา เอตัง ตะถา อทิ ัง
อัชฌตั ตญั จะ พะหิทธา จะ กาเย ฉันทงั วิราชะเย
๑๒. ฉนั ทะราคะวริ ตั โต โส ภกิ ขุ ปัญญาณะวา อิธะ
อัชฌะคา อะมะตัง สนั ตงิ นพิ พานัง ปะทะมจั จตุ ัง
๑๓. ทฺวปิ าทะโกยัง อะสุจิ ทุคคนั โธ ปะรหิ าระติ
นานากณุ ะปะปะรปิ โู ร วิสสะวันโต ตะโต ตะโต
๑๔. เอตาทเิ สนะ กาเยนะ โย มัญเญ อณุ ณะเมตะเว
ปะรัง วา อะวะชาเนยยะ กิมญั ญัตรฺ ะ อะทสั สะนาติ ฯ

๔๐ 43

เพ่อื ทรงแสดงอสภุ ะที่ไม่มีวิญญาณครอง (วบิ ตั ิภพ) :
[๘] และเมอื่ ร่างกายนน้ั ตาย ขนึ้ อดื มสี ีเขียวคล้�ำ
ถูกท้งิ ใหน้ อนอยใู่ นปา่ ชา้ หมญู่ าติตา่ งหมดความอาลัยไยด ี ...... (กายยังไม่แตกสลาย)

[๙] รา่ งกายทเี่ ป่อื ยเน่านน้ั สนุ ขั บ้าน สนุ ัขจิ้งจอก สุนัขป่า …….. (กายแตกสลายแลว้ )
หมู่หนอน ฝงู กา ฝูงแร้ง และสตั ว์ทก่ี ินซากศพอื่น ๆ
ยอ่ มรุมยื้อแยง่ กันกิน

ครั้นทรงประกาศความประพฤติของพาลปุถุชนในกายนั้น แสดงวัฏฏะ โดยมอี วชิ ชา
เป็นประธานอยา่ งน้แี ลว้

บัดนีจ้ ะทรงแสดงความประพฤตขิ องบัณฑิต และววิ ัฏฏะ โดยมีปรญิ ญาเปน็ ประธาน :
[๑๐] ภิกษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ ฟังพุทธพจน์แล้วเกิดปญั ญา
ย่อมก�ำหนดรูแ้ ละพิจารณาเห็นรา่ งกายนัน้ ตามความเป็นจรงิ ทีเดียว

[๑๑] รา่ งกายทตี่ ายแลว้ นนั้ ไดเ้ คยเป็นเหมือนร่างกายท่ีมชี ีวติ น้ี
และรา่ งกายที่มีชวี ติ นี้ กจ็ ะเปน็ เหมือนรา่ งกายทตี่ ายแลว้ นน้ั
ภิกษจุ งึ ควรคลายความยินดีพอใจในรา่ งกาย ทั้งภายในและภายนอก

ทรงแสดงอเสกขภมู ิ :
[๑๒] ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ มีปัญญา ไม่ยินดดี ้วยฉันทราคะ
ได้บรรลนุ พิ พานทีเ่ ปน็ อมตะ อนั สงบ ดบั และไมจ่ ตุ ิ

ทรงตเิ ตียนการอยูด่ ้วยความประมาท ซงึ่ ท�ำอันตรายแก่อานิสงสม์ ากมาย :
[๑๓] ร่างกายนี้ มี ๒ เทา้ ไม่สะอาด มีกล่ินเหมน็ เตม็ ไปดว้ ยซากศพตา่ ง ๆ ขบั ถา่ ยของไม่สะอาด
มนี ้�ำลายน้ำ� มูกเปน็ ตน้ ออกทางทวารทงั้ ๙ ขบั เหงือ่ ไคลให้ไหลออกทางรขู มุ ขนนั้น ๆ
ต้องบ�ำรงุ รักษาอยูเ่ สมอ

[๑๔] ด้วยร่างกายทม่ี สี ภาพเชน่ นี้ การทบ่ี คุ คลหลงเขา้ ใจผิด คดิ เข้าข้างตนเอง
และดหู มน่ิ ผอู้ ่นื น้นั จะมปี ระโยชน์อะไร
นอกจากการไมเ่ หน็ อริยสจั ฯ

44 ๔๐

ในเวลาจบเทศนา นางนันทาภิกษุณีได้ถึง อยู่ไหน ? ตอบว่า ความสลดสังเวช แล้วละเลิก
ความสังเวชวา่ โอหนอ! เราชา่ งเขลาเสียนีก่ ระไร ท�ำบาปกรรมนั้น ก็คอื ศีล เมือ่ ไมม่ ีบาปกรรม ใจก็
ท่ีปรารภถึงแต่ตัวเราเท่าน้ัน ไม่ไปสู่ที่บ�ำรุงของ สงบเปน็ สมาธิ เมอ่ื มสี มาธแิ ลว้ กม็ ปี ญั ญาพจิ ารณา
พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงยังพระธรรมเทศนา ตัวรู้มันก็มี พอมัคคสมังคีครบ ก็เกิดมรรคจิตข้ึน
อยา่ งตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งน้ี เมอ่ื สงั เวชอยอู่ ยา่ งน้ี ได้ในขณะนั้น สามารถตัดกิเลสได้อย่างเด็ดขาด
พิจารณาพระธรรมเทศนาน้ันแล้ว ได้กระท�ำให้ อย่าไปคิดว่าคนแต่ก่อนมีบุญวาสนา น่ังอาสนะ
แจ้งซ่งึ อรหัตภายใน ๒ - ๓ วนั ดว้ ยกรรมฐานนนั้ เดียวก็บรรลุ ปัจจุบันนี้ก็มีเหมือนกัน ถ้าเข้าใจ
นั่นแล ธรรมะให้แจ้งชัด มันก็ละ มันก็วางลงไปได้เอง
ได้ยนิ วา่ แม้ในทม่ี าท่ีสอง ในเวลาจบเทศนา แม้ไม่รู้ตอนฟังคร้ังแรก แต่เม่ือเก็บไปพิจารณา
สตั ว์ ๘๔,๐๐๐ ไดธ้ รรมาภสิ มยั * สริ มิ าเทพกญั ญา สาธยายบ่อยๆ แลว้ อาจจะไปรูไ้ ดใ้ นวันต่อไป ใน
ได้บรรลุอนาคามิผล ส่วนภิกษุผู้หลงนางสิริมา อาสนะต่อไปก็ได้ เพราะธรรมะคือธรรมชาตินี้
ก็ไดด้ �ำรงอยใู่ นโสดาปัตตผิ ล มันเป็นจริงของมันอยู่ตลอดเวลา เราจะหลง
สรปุ ไดว้ า่ ดว้ ยพระสตู รเดยี วกนั นเ้ี อง ทท่ี ำ� ให้ หรือไม่หลง กายมันก็ไม่งามอยู่อย่างน้ันแหละ
ผู้ท่ีติดข้องอยู่ในรูปท่ีงดงามของกัญญาสาวน้อย รอเวลาให้เราท�ำจริง ดูจริง ก็จะรู้จริงเห็นจริง
ได้บรรลุธรรม เป็นพระโสดาบัน พระอนาคามี ตามที่พระพุทธเจ้าและผู้รู้ทั้งหลายท่านได้รู้
และพระอรหันต์ ตามสมควรแก่อุปนิสัยท่ีได้เคย มากอ่ นแลว้ น่ันแหละ
อบรมสงั่ สมมา ดังนี้แล สว่ นพวกเรากต็ ้งั ใจฟงั เอา ขอเปน็ กำ� ลงั ใจในการเอาชนะกาย - ชนะกาม
ไว้ เผอ่ื เป็นอปุ นสิ ัยปจั จยั ในการเอาชนะกายท่นี ่า - ชนะมาร น้ีให้ได้ในเร็ววัน เพ่ือจะได้ไม่ต้อง
หลงใหลน้ีให้ได้ในอนาคต อาจจะมีค�ำถามขึ้นมา มานอนเกิดกันในกามภพอีก มาออกจากกาม
ไดว้ า่ กฟ็ งั เทศนจ์ บเปน็ พระอรหนั ต์ ทา่ นไปรกั ษา เป็นก้าวแรก ด้วยการเอาชนะกายท่ีไม่งามนี้
ศลี อยไู่ หน ? ไปทำ� สมาธอิ ยไู่ หน ? ไปภาวนาปญั ญา กนั เถิด

ชนะกาย เลิกหมายกาม

๑. จะยืน เดิน นั่ง นอน หรือหย่อน คู้ จงตามดู กายนนั่ ท่ีส่ันไหว
๒. ร่างกระดูก ผูกเอน็ ใหเ้ ป็นไป หนงั หุ้ม เน้ือฉาบไว้ ให้ดูงาม
๓. เตม็ ในไส้ เตม็ ในทอ้ ง คอื กองข ้ี กระเพาะฉี่ เยอื่ ตับ ล�ำดบั ขา้ ม
เน้ือหัวใจ ไต ปอด ประกอบตาม พังผดื มา้ ม กระบงั ลม เขา้ ถมเตมิ

*ธรรมาภสิ มัย คือ การตรัสรู้ธรรม, การส�ำเร็จมรรคผล

๔๐ 45
๔. สง่ั น�้ำมกู สูดน้�ำลาย ซบั สายเหงอื่ น้�ำมนั เจือ เหลวข้นไข เลอื ดใสเ่ สริม
น�ำ้ เหลอื งหนอง พองฝี น้�ำดเี ติม เสลดเยิม้ เพ่มิ น้�ำตา คอื อาโป
๕. ทวารเกา้ ขา่ วดี ไดข้ ี้ออก ถ้ามนั พอก อดุ ไว้ คงหลายโหล
ทั้งขี้หู ข้ตี า ออกมาโชว ์ หลมุ คูถโถ ไมเ่ คยลา้ ง มันค้างคอย
๖. ช่องจมูก ขม้ี ูกไหล ให้ชุม่ อยู่ ขุมขนรู เหงือ่ ไหล มีไคลยอ้ ย
อาหารใหม่ ไลเ่ สมหะ เสลดลอย หากไมย่ ่อย แลว้ อาเจียน แทบเอยี นตาย
๗. อย่ใู นโพรงศรี ษะ คือสมอง คิดจบั จอง กายนน่ั ฝนั สลาย
อนั คนพาล สำ� คัญ ว่างามกาย อวชิ ชา บังหาย อย่ใู ต้เงา
๘. ในกาลใด เราตาย นอนข้นึ อืด ก็เยน็ ชืด เขียวพอง กองภูเขา
ญาตเิ ขาท้ิง ในสุสาน ไม่ขานเอา รอวันเผา ญาตกิ ห็ นี ไม่รีรอ
๙. สนุ ัขแยง่ แรง้ กา เขา้ มากดั หมาปา่ ฟัด จ้งิ จอกได้ น้ำ� ลายสอ
แมลงหนอน ยัว้ เยี้ย เข้าเคลยี คลอ กระดูกหนอ ก็เปน็ ฝุ่น เป็นจุณไป
๑๐. ไดส้ ดับ พุทธพจน์ สลดเสียว อยู่คนเดยี ว พิจารณา ปญั ญาไข
กายไมง่ าม ตามจรงิ ทุกสิง่ ใน ไม่หลงใหล ชายหญิง ได้ยนิ เตือน
๑๑. นอี่ ยา่ งไร กายอืน่ เขา กเ็ ท่านัน้ อะไรนัน่ กายน้ี กม็ ีเหมอื น
ทั้งภายในนอกนดิ ไมบ่ ิดเบอื น ไม่กลบเกลื่อน ราคะปล่อย ถอยจากกาม
๑๒. ภิกษุทรงปัญญา ระอาแสน ตณั หาแดน แผไ่ ม่จบ ในภพสาม
กลับมาสิ้น ถ่นิ สงบ บรรจบงาม ไม่ต้องตาม เกดิ แก่ตาย ก็คลายพอ
๑๓. สองเทา้ นี้ หาไม่มี ทง่ี ามเห็น บริหารกัน ไม่เปน็ ก็เหมน็ หนอ
กัดซากศพ มา - กลบใส่ เท่าไรพอ กินแลว้ ก็ไหลออกท่อ รอเวลา
๑๔. แขง่ กันตรวจ อวดประชนั ในกายนี้ ตรองใหด้ ี เหมอื นถงุ ขี้ ทม่ี ีฝา
จะมอี ะไร ในกายเน่ีย ...เสยี เวลา นอกจากหา อริยสจั ขจัดเมา ฯ

46

เส้นทางธรรม ตามรอยธรรม
กองบรรณาธกิ าร

อาจารยแ์ ม่ชีวิมตุ ติยา

(รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาพรรณ ณ บางชา้ ง)

ประธานหอพระไตรปิฏกนานาชาติ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

บ่ายวันหนึ่ง ท่ีหอพระไตรปิฎกนานาชาติ
ตกึ แบบโบราณ ฝา้ เพดานสงู ลิว่ โออ่ า่ โอ่โถง แต่
เงียบสงบ มีตู้พระไตรปฎิ กมากมาย เรียงรายเปน็
ระเบียบเรียบร้อย จนสัมผัสได้ถึงพลังศักด์ิสิทธ์ิ
แห่งพทุ ธธรรม ทนี่ ี่ เปน็ สปั ปายะสถาน สำ� หรับผู้
ต้องการค้นคว้าหาความรู้ทางธรรม และใช้สมาธิ
ปัญญาศึกษาพระไตรปิฎกและหนังสือธรรมท่ีมี
คุณค่าซ่ึงมีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก เราได้พบกับท่าน
อาจารย์แม่ชี สุภาพสตรีร่างเล็กในอาภรณ์สีขาว

บริสุทธ์ิ ท่านย้ิมแย้มต้อนรับพวกเราด้วยเมตตา
ที่ฉายผ่านแววตาและถ้อยค�ำ ให้โอกาสสนทนา
ธรรมอนั เปน็ ประโยชนจ์ ากประสบการณท์ ง่ี ดงาม
ด้วยธรรม ซ่งึ ลว้ นน่าพิจารณาและนา่ ประทับใจ

ผหู้ ญงิ สนใจจะปฏบิ ตั ธิ รรมควรจะเรม่ิ ตน้ อยา่ งไร
อาจารยแ์ มช่ ี : การเรม่ิ ตน้ มี ๒ แบบ แบบที่ ๑
คือ คนท่ีไปปฏิบัติที่ใดที่หนึ่งแล้วรู้สึกว่าสถานท่ี
และบุคคลทนี่ น้ั ๆ โดยเฉพาะครอู าจารย์ มคี วาม
สอดคล้องกับจริตนิสัยของตน เช่นอาจารย์แม่ชี
เคยไปที่ถ�้ำตุ๊ปู่กับคณะปฏิบัติธรรมกลุ่มหน่ึง พอ
เห็นป่าเขา รสู้ กึ เลยวา่ เป็นสถานทส่ี ัปปายะ พอดี คำ� วา่ สอดคลอ้ งหรอื ไม่ ขน้ึ อยกู่ บั วา่ เราไปอยู่
กบั จติ ของเรา กเ็ ลอื กไปปฏบิ ตั ทิ นี่ นั่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อย่างไรด้วย ถ้าเราอยู่อย่างจิตวุ่นวาย มัวแต่ไป
จนกระท่งั ไดอ้ อกบวช ณ ที่นนั้ จอ้ งจบั ผดิ พระอาจารยห์ รอื คนนนั้ คนนวี้ า่ เขาเปน็
แบบท่ี ๒ บางคนมาปรึกษาว่า อยากไป อย่างไร คือ “ส่งจิตออกนอก” ก็ไม่มีท่ีไหนจะ
ปฏิบัติ จะไปท่ีไหนดี ถ้าเรารู้จักคนน้ันว่า เขามี สอดคลอ้ ง แตถ่ า้ เรามสี ติ ปฏบิ ตั อิ ยตู่ ลอด แมใ้ นท่ี
อปุ นสิ ยั อยา่ งไร เรากพ็ อจะแนะนำ� เขาได้ แตถ่ า้ เรา ภายนอกไม่วิเวก จิตก็สามารถวิเวกได้ ในคัมภีร์
ไมร่ จู้ กั เขาเลย กล็ ำ� บากท่จี ะบอกว่าเขาจะเหมาะ วิสุทธิมรรค ทา่ นพดู เรอ่ื งสัปปายะ ความสะดวก
ตรงไหน แต่โดยมาก เร่ิมต้นจริงๆ ก็ขอแนะน�ำ หลายๆ อย่าง เช่น สถานที่วิเวก ครูอาจารย์ท่ี
ใหล้ องเริ่มในลักษณะท่วี า่ ไปแบบไปเช้าเย็นกลบั สามารถบอกถงึ วธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ เี่ หมาะสมแกเ่ ราได้
หรือแบบท่คี า้ งคืนไมน่ านกอ่ น ในท่ีซ่งึ สะดวกต่อ เปน็ ตน้
การเดินทาง เพราะบางที เราก็ไม่รู้รายละเอียด คนเราแสวงหาหลายแบบ บางคนมงุ่ แสวงหา
ข้างในของที่นน้ั ๆ ความพเิ ศษ ที่ๆ ไม่มีอะไรพิเศษ กพ็ ยายามทำ� ให้
แนะน�ำง่ายๆ ส�ำหรับคนเริ่มปฏิบัติ ก็บอก พิเศษ เชน่ ว่าปฏิบัตแิ ลว้ มีสภาวะอยา่ งนั้นอยา่ งนี้
ให้ไปท่ีศูนย์วิปัสสนานานาชาติ ที่วัดมหาธาตุฯ พอไปเจอธรรมดา กร็ สู้ กึ วา่ ไมส่ อดคลอ้ งกบั ตน ขอ
ทา่ พระจันทร์ เพราะไปเช้าเยน็ กลบั ได้ ถา้ จะคา้ ง แนะนำ� วา่ “การปฏบิ ตั ใิ นพระพทุ ธศาสนา ไมไ่ ด้
คืนท่ีนัน่ กม็ ีแม่ชดี ูแลหลายท่าน ทีว่ ัดโสมนัสฯ กม็ ี ไปหาความวิเศษหรือพิเศษ แต่การปฏิบัติใน
จดั หลกั สตู รการปฏบิ ตั ธิ รรม นสี่ ำ� หรบั ในกรงุ เทพฯ พทุ ธศาสนา คอื การท�ำใหจ้ ติ ของเราทม่ี นั ชอบหา
แตบ่ างคนบอกวา่ อยากจะไปตา่ งจงั หวดั ก็อยาก ความพิเศษอยู่เร่ือยๆ มันได้ถ่ายถอนลงมา ได้รู้
แนะน�ำว่า คร้ังแรกเราควรมีเพื่อนไปด้วย การ ความเปน็ จรงิ ของความเปน็ ธรรมดา แลว้ พอดกี บั
ภาวนาน้ี ต้องค่อยๆ เป็นไป ทดลองปฏิบัติดูว่า ความเปน็ ธรรมดานน้ั ยากกต็ รงธรรมดานแี่ หละ”
ท่ีนนั้ ๆ ไปแล้ว สอดคลอ้ งกับจรติ และภาวะตา่ งๆ ถา้ เราไม่มพี ้นื ฐานเลย ก็ต้องคอ่ ยๆ เรยี นรไู้ ป
เช่น สุขภาพของเราหรือไม่ บางคนปฏบิ ตั หิ ลายปกี วา่ จะเขา้ ถงึ ธรรม เมอ่ื ธรรม
ลงตวั การปฏิบตั นิ น้ั กจ็ ะอยู่ทต่ี ัวเรา มนั ไม่ขน้ึ อยู่

48 ๔๐

กับสถานที่ ไม่ขึ้นอยู่กับครูอาจารย์แล้ว บางคน ปัญหาก็คือ เรายังไปปฏิบัติด้วยการแบก
อาจอยู่ท่ีน้ันๆ ตลอดไปก็ได้ เพราะเป็นท่ีเหมาะ ต�ำราไปด้วย ตอนอาจารยไ์ ปปฏบิ ตั ิทตี่ ุ๊ปู่ กแ็ พค็
ทส่ี ปั ปายะส�ำหรบั เขา หนังสือลงกล่องเพียบเลย รวมท้ังพระไตรปิฎก
ข้นึ อยูก่ ับเหตปุ จั จัยจากหลายทาง เช่น ใคร แลว้ กไ็ ปนงั่ อา่ นอยทู่ นี่ นั่ ปฏบิ ตั ไิ ปดว้ ยอา่ นไปดว้ ย
มีหน้าที่อะไรต้องท�ำ อย่างอาจารย์น่ี พอปฏิบัติ การปฏบิ ตั ถิ า้ ยงั ไมแ่ จม่ แจง้ ลงตวั การอา่ นหนงั สอื
แล้ว พอดีมีเหตุให้มาเป็นประธานที่หอพระ ทางธรรมมากเกินไป ก็อาจเกิดการปฏิบัติแบบ
ไตรปิฎกนานาชาตินี้ คุณคงจะได้เห็นความสงบ ธรรมจินตนาการ คอื เราอ่านมาหมดแล้ว แล้วพอ
สงัดของหอพระไตรปิฎกฯ ท่ีนี่ อาจารย์รู้สึก มันเกิดอะไรข้ึน เราก็เอาสัญญาท่ีเคยอ่าน มาตี
ขอบคุณเสมอในทุกเหตุปัจจัยที่พามาอยู่ที่น่ี นั่ง ความประสบการณว์ า่ คงเปน็ อยา่ งนนั้ อยา่ งน้ี หรอื
ท�ำงานเงียบๆ มีเจ้าหน้าท่ีคนหนึ่ง เป็นน้องท่ี พจิ ารณาธรรมแบบคดิ นกึ เปน็ “วปิ สั สนกึ ” ไมไ่ ด้
นา่ รกั มาก อยกู่ นั มา ๑๐ กวา่ ปี เขาไมเ่ คยวนุ่ วายเลย แจง้ ชดั ตามความเปน็ จรงิ
เราก็อยู่ของเราอย่างน้ี น่ังอ่านต�ำรา ท�ำหนังสือ
ถ้าคนมาในเรื่องใด เราก็ท�ำหน้าท่ีในเรื่องน้ัน คอื ไมค่ วรอา่ นมากเกนิ ไป แลว้ กรณไี ปเรยี นตาม
ตามแต่ส่ิงท่ีอยู่ตรงหน้า ถึงเวลาสอนนิสิตก็ไป โรงเรยี นล่ะคะ
สอน ถึงเวลาวิจัยก็วิจัย วันไหนต้องไปสอนเรื่อง อาจารยแ์ มช่ ี : กแ็ ลว้ แตอ่ ธั ยาศยั บางคนเขาถนดั
ปฏิบัติเราก็ไปสอน แล้วก็มีที่ปฏิบัติของอาจารย์ เรยี น แลว้ เขายงั เรยี นอยเู่ ปน็ ๑๐ กวา่ ปกี ม็ ี อาจารย์
ส่วนตัว คือ เราท�ำหน้าท่ีตรงนี้แล้ว ก็ต้องมีช่วง จบอภิธรรมที่อภิธรรมโชติกะวิทยาลัยของมหา-
เวลาปฏิบตั ติ ามลำ� พังดว้ ย จุฬาฯ ตอนนจ้ี บมา ๑๐ กว่าปี เพือ่ นรุ่นเดียวกนั
เขายงั หาทีเ่ รยี นตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ อยู่เลย แตเ่ ขาก็มีไป
ควรจะอา่ นหนงั สอื อะไรก่อนไปภาวนา ปฏิบัติเป็นครั้งคราว หรือบางคนพอเรียนเสร็จ
อาจารย์แมช่ ี : ขนึ้ อยกู่ บั อธั ยาศยั วา่ จะอา่ นอะไร หรือแม้ในระหว่างที่เรียน ก็เร่ิมรู้สึกแล้วว่าต้อง
อาจารย์อ่านพระไตรปิฎก คนอื่นกอ็ าจจะอา่ นไม่ ปฏบิ ตั ไิ ปดว้ ย กต็ งั้ กลมุ่ หาทป่ี ฏบิ ตั ิ หาครอู าจารย์
ค่อยได้ ต้องขึ้นอยู่กับอัธยาศัย บางคนอ่านของ ที่เห็นว่าเหมาะสม จัดเป็นคอร์สก็มี แล้วแต่
สมเด็จพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต) ร้สู กึ พอดี อัธยาศัยของแต่ละคน ที่ดีท่ีสุดก็คือ ปรึกษา
มากเลย ทำ� ใหร้ วู้ า่ จะจดั การกบั ตวั เองยงั ไง บางคน คนท่ีคิดว่าควรจะไปปรึกษา แล้วท่านก็จะให้
อา่ นของครอู าจารย์ในสายปฏบิ ัติ ก็ได้เหมือนกัน ค�ำแนะนำ� ท่เี หมาะสม

ท่านอาจารย์แม่ชีก็เป็นผู้ท่ีประสบความส�ำเร็จ
ในชวี ติ จบถงึ ปรญิ ญาเอกแลว้ เปน็ อาจารย์ท�ำไม
ท่านถงึ ตัดสนิ ใจบวชชี แทนทจ่ี ะอย่ทู างโลกค่ะ
อาจารย์แม่ชี : พอดีว่าในการศกึ ษาปรญิ ญาเอก
ทางด้านภาษาบาลี ทศ่ี รีลงั กา มีเหตุปจั จัยให้ได้
ปฏิบัติ ซ่ึงมีคุณค่าดีกว่า ประเสริฐกว่าการได้
ปรญิ ญาเอกอยา่ งทเี่ ทยี บกนั ไมไ่ ด ้ คอื มหาวทิ ยาลยั


Click to View FlipBook Version