The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MA DEE CHANNEL, 2020-02-20 01:17:17

วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต

วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต

หลกั การของโครงการ

“วรรณกรรมช้นั ดี 50 เลม่ ทเี่ ยาวชนควรอา่ นกอ่ นโต”

จากสถิติการอา่ นหนงั สือของเด็กไทยทห่ี ลาย กจิ กรรมตา่ งๆ ทเ่ี ชื่อว่าจะกระตุ้น สง่ เสรมิ ใหเ้ ยาวชน
หนว่ ยงานท�ำ การส�ำ รวจมา เกอื บทงั้ หมดเปน็ การสำ�รวจ ไทยหนั มาอา่ นหนงั สอื กนั มากขนึ้ ซึง่ อาจจะไดผ้ ลใน
การอ่านหนงั สือเรยี นและอ่านนอกเวลาเรยี น ตัวอยา่ ง ระดบั หนง่ึ ดงั คำ�กล่าว “เด็กไทยมีแนวโน้มว่าจะอา่ น
เช่น คนไทยอายุตงั้ แต่ 5 ขวบขน้ึ ไป ใชเ้ วลาอา่ น มากขนึ้ ” (วรพันธ์ุ โลกติ สถาพร นายกสมาคมผ้จู ัดพิมพ์
หนังสอื เรยี นนอกเวลาเรยี นและเวลาท�ำ งาน เฉลย่ี วัน และจำ�หนา่ ยหนงั สือแห่งประเทศไทย : เสวนากรงุ เทพฯ
ละ 39 นาที โดยกลุม่ เยาวชนถือเปน็ กลมุ่ ท่อี ่านหนังสอื เมอื งหนังสอื โลก, 23 เมษายน พ.ศ. 2556) แต่ไมไ่ ดม้ ี
มากทีส่ ดุ เฉลี่ย 46 นาที แตห่ ากเทียบกบั ประเทศ การระบุชดั เจนลงต่อไปวา่ เยาวชนไทยจะอ่านหนังสือ
อืน่ ยังถือวา่ เป็นสดั ส่วนท่ตี ่ำ�มาก ซ่ึงจากการจดั ล�ำ ดบั ประเภทใดมากขน้ึ
พฤติกรรมการอ่านพบวา่ ใน 1 ปี เดก็ ไทยอา่ นหนังสอื เมอ่ื มีการติดตามยอดจำ�หน่าย ‘หนงั สือ
เฉล่ียเพียง 5 เล่ม ขณะท่ีเวยี ดนาม อ่าน 60 เลม่ ประเภทวรรณกรรมสำ�หรับเยาวชน’ จากรา้ นจำ�หน่าย
สิงคโปร์ อ่าน 45 เลม่ และมาเลเซีย อา่ น 40 เล่ม หนงั สอื และส�ำ รวจยอดยมื หนงั สอื วรรณกรรมส�ำ หรับ
(โครงการ 100 หนังสือดีเพ่อื เด็กและเยาวชนไทย และ เยาวชนจากห้องสมดุ ตา่ งๆ รวมถงึ การแลกเปลย่ี น
สำ�นักงานสถิตแิ ห่งชาติ, 2555) เมื่อสังเกตอย่าง ประสบการณก์ บั ครบู รรณารักษ์ กลับพบวา่ ยอด
ละเอียดถงึ ประเภทท่อี า่ น พบวา่ เป็นการสำ�รวจจากการ จ�ำ หนา่ ยและยอดยืม ‘หนงั สือประเภทวรรณกรรม
อา่ นหนังสอื เรียนท่ีอา่ นนอกเวลาเรียน ซง่ึ เปน็ ความ ส�ำ หรบั เยาวชน’ ลดลง เม่อื หนั มาดูท่ผี ู้ผลิตยงิ่ พบวา่
จำ�เป็นอยู่แล้ว ยังไดส้ ถติ ิเพยี งเท่านี้ ฉะน้ัน หนังสอื การจดั พมิ พห์ นงั สือวรรณกรรมเยาวชนช้นั ดี ท่ีเยาวชน
สำ�หรบั อา่ นเลน่ หนงั สือประเภทวรรณกรรมส�ำ หรับเด็ก ควรจะตอ้ งอ่านน้ันลดลง และลดลงอย่างเห็นไดช้ ดั
และเยาวชน หนังสือกลุ่มความรู้ท่ไี ม่ใชห่ นังสอื เรยี น ยง่ิ เมือ่ เทียบกับ 20 ปีท่ีผ่านมา ดว้ ยเหตผุ ลนานปั การ
ไม่ต้องกลา่ วถึง จึงเกดิ ประเด็นในสงั คมทีว่ า่ ดว้ ยการ อาทิ เดก็ หรอื เยาวชนสว่ นใหญซ่ อ้ื หรือขอยมื แต่หนังสือ
อ่านว่า “จะเกดิ อะไรข้นึ กบั เยาวชนไทยในอกี 10 ปี การต์ ูน เด็กหรอื เยาวชนชอบนิยายประเภทรักโรแมนติก
ข้างหนา้ ” แบบเกาหลี เดก็ ไมช่ อบอ่านเรอ่ื งยาวๆ เดก็ ไม่ชอบอ่าน
ค�ำ ว่า ‘เยาวชน’ หมายถึง บุคคลที่มีอายเุ กิน เร่อื งยากๆ เป็นต้น เมอื่ เป็นเช่นนี้ จงึ ส่งผลกระทบ
14 ปบี ริบูรณ์ แตย่ งั ไมถ่ ึง 18 ปบี ริบูรณ์ และไม่ใช่ อยา่ งเปน็ ลกู โซ่ ตง้ั แต่ เดก็ ไม่ชอบอา่ น รา้ นหนังสือ
ผู้บรรลนุ ิตภิ าวะ (พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน, จำ�หนา่ ยหนงั สอื กลุ่มนไ้ี มไ่ ด้ หอ้ งสมดุ ไม่มใี หข้ อยมื ครู
2525) แต่ภายในเวลาเพยี ง 4 ปีขา้ งหนา้ เยาวชน และผู้ปกครองไม่รจู้ ะเลือก/หาหนงั สือจากท่ีใด ผู้ผลิต
เหล่านก้ี จ็ ะเตบิ โต จบการศึกษาและกลายเป็นผู้บรรลุ ทีม่ ีความเข้าใจและตั้งใจ ล้มเลิกการผลติ .... เดก็
นติ ภิ าวะตามกฎหมาย เป็นก�ำ ลงั สำ�คัญในการพฒั นา และเยาวชนกย็ งิ่ ไมม่ ีโอกาสท่จี ะได้อ่านหนงั สอื ประเภท
ประเทศ จึงปฏเิ สธไม่ได้เลยวา่ สถติ กิ ารอ่านหนังสอื วรรณกรรมท่เี หมาะส�ำ หรับตัวเอง เราจึงมคี ำ�พดู ตดิ ปาก
ของเยาวชนในประเทศฉายให้เห็นภาพล่วงหนา้ ส�ำ หรบั วา่ “เดก็ ไทยไม่อ่านหนงั สอื ”
การพฒั นาประเทศอยา่ งน่าตกใจ หนังสอื สำ�หรบั เยาวชน คือเร่ืองทีแ่ ต่งข้นึ ตี
จากประเดน็ ‘การอา่ นน้อย’ ดังกล่าว สง่ ผล พิมพ์ และวางจำ�หน่ายเพื่อคนวัยเยาว์ ถงึ แม้ว่าในความ
ใหห้ ลายหน่วยงานทงั้ ภาครัฐ และเอกชนร่วมกันผลักดนั เปน็ จริง มกี ารสำ�รวจพบวา่ รอ้ ยละ 55 ของผูท้ ีซ่ ้ือ

ท�ำ ไมตอ้ งเปน็ วรรณกรรมช้นั ดี
50 เลม่ ทคี่ วรอา่ นก่อนโต

หนงั สือประเภทเรื่องท่ีแตง่ ขึน้ ส�ำ หรบั เยาวชนน้ันมีอายุ ต้องการสง่ิ กระตนุ้ เร้าความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ยงั
เกิน 18 ปีขนึ้ ไป (Publishers Weekly. 13 ไม่มภี าวะผู้นำ� ตอ้ งการการยอมรบั สภาวการณเ์ หลา่
September 2555) ห้องสมดุ สำ�หรบั เยาวชนแห่ง นี้ ลว้ นสง่ ผล และก�ำ หนดบคุ ลกิ ภาพ ตลอดจนก�ำ หนด
สมาคมห้องสมุดอเมริกาก�ำ หนดใหเ้ ยาวชน คอื ผูท้ ี่ ทศิ ทางการเตบิ โต รวมทัง้ การเลอื กทางเดินของชีวติ
มอี ายตุ ั้งแต่ 12-18 ปี จงึ นยิ ามความหมายของหนังสือ ของเด็กทุกคน
ส�ำ หรบั เยาวชนว่า เป็นเร่อื งทีแ่ ต่งข้นึ เพื่อเดก็ วัย 12-18 วรรณกรรมเยาวชน จงึ เปน็ เครอ่ื งมอื หนึ่งที่
ปี ซง่ึ แนวในการแต่งเร่อื งไมว่ ่าจะเป็นประเดน็ บริบท มีประสิทธภิ าพ ปลอดภัย และใช้งา่ ยสำ�หรบั เยาวชน
แวดลอ้ ม ลีลาการแสดงออก หรือประสบการณข์ องตวั ท�ำ ไมต้องเป็นวรรณกรรมชน้ั ดี 50 เลม่
ละครในเรอ่ื ง ลว้ นแต่สร้างขึ้นเพ่ือดึงดูดความสนใจใคร่รู้ ทีค่ วรอ่านก่อนโต
และเพ่อื การเรยี นรชู้ วี ติ ของเดก็ ที่มอี ายอุ ยใู่ นชว่ งวยั 12- เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกบั ยุคสมยั และอปุ นิสัย
18 ปี หนงั สือสำ�หรบั เยาวชนจึงมขี อบข่ายเนอื้ หาท่ีกว้าง ‘อา่ นนอ้ ย’ บวกกับความไมเ่ คยชนิ กับการอ่าน
ขวางมากเหลือเกิน ในขณะท่บี างสำ�นกั พิมพ์ได้ก�ำ หนด วรรณกรรมเยาวชน การแนะน�ำ หนังสือท่เี หมาะ
กลุ่มอายุผู้อ่านตัง้ แต่ 10 ปจี นถึง 25 ปี (Cart, Michael ที่สุด และได้รบั การยอมรับว่าดีท่ีสดุ ในปจั จบุ ัน ควร
(2554). “From Insider to Outsider: The Evolution อยูใ่ นจ�ำ นวนที่เหมาะสม เปน็ ความจรงิ ตอ่ เวลาของ
of Young Adult Literature”) โดยมกี ารเรยี กได้หลาย การเติบโตของเยาวชน สภาพสงั คม และสอดคล้อง
แบบ อาทิ หนงั สือสำ�หรับเยาวชน วรรณกรรมเยาวชน กบั จ�ำ นวนหนังสือทีส่ ามารถหาพบไดง้ ่าย โดยโครง
หนงั สือส�ำ หรบั ผใู้ หญต่ อนตน้ นิยายสำ�หรับเดก็ เร่ิมโต การฯ มคี วามคาดหวงั ในขัน้ ต่ำ�สดุ วา่ แม้จนตลอด
เป็นต้น ในภาษาไทย เราคนุ้ ชนิ กบั ค�ำ วา่ วรรณกรรม ระยะเวลาต่อไปในชีวิตของพวกเขา บางคนอาจจะ
เยาวชน ดงั นน้ั นับแต่นี้ ในเอกสารฉบับน้ี จะเรียก ไม่มโี อกาสหรอื ไม่ตอ้ งการอา่ นหนังสือเล่มใดอีก แต่
หนังสือทผ่ี เู้ ขียนแต่ง แต่งข้นึ ภายใต้บริบทของชวี ิตเดก็ หนังสอื วรรณกรรมเยาวชนชั้นดี 50 เลม่ ท่คี วรอา่ น คือ
อายุ 12-18 ปี วา่ ‘วรรณกรรมเยาวชน’ หนังสือท่พี วกเขาจะพลาดไม่ได้ เพ่อื ส่งเสริมให้พวก
การก�ำ หนดกลุ่มหนังสอื ทเ่ี หมาะสำ�หรบั คน เขาเตบิ โต งอกงามทางสตปิ ญั ญาและอารมณ์ ผา่ น
อา่ นแต่ละช่วงวัย เปน็ เร่ืองจ�ำ เป็น โดยเฉพาะก�ำ หนด การเรยี นรู้ประสบการณใ์ นบรบิ ทอนั หลากหลายของคน
กลมุ่ หนังสอื ทเ่ี หมาะกบั อายุผู้อา่ นตั้งแต่แรกเกดิ ถึง 18 วัยเดยี วกนั ผา่ นการอ่านภาษาท่งี ดงาม ผ่านการมอง
ปี เนือ่ งจากเด็กในชว่ งวัยน้ี มกี ารเปลี่ยนแปลงทั้งทาง เหน็ ภาพประกอบที่มีความประณตี ดงั นน้ั โครงการ
ร่างกาย สภาวะจติ ใจ อารมณ์ ความรสู้ ึกนึกคดิ และ แนะนำ� วรรณกรรมชน้ั ดี 50 เล่มทีเ่ ยาวชนควรอ่าน
เกิดการเปลย่ี นแปลงภายในสมองอยูต่ ลอดระยะของการ กอ่ นโต จงึ เชือ่ มั่นว่า การอา่ นวรรณกรรมเยาวชนที่
เตบิ โต จงึ จ�ำ เป็นอยา่ งย่งิ ทีเ่ ดก็ แต่ละวัย จะต้องมเี ครือ่ ง ดี เปน็ หนทางทส่ี ั้นและประหยัดที่สดุ หนทางหนึ่งทีจ่ ะ
มือท่ีตอบสนองตอ่ การเตบิ ใหญ่ในชว่ งอายุดังกลา่ ว โดย ชว่ ยหล่อหลอมบุคลกิ ภาพของเยาวชน เพ่ือพวกเขาจะ
เฉพาะวัยรุ่นหรอื กลมุ่ เยาวชน ซ่ึงเป็นวยั หวั เลยี้ วหวั ตอ่ สามารถกำ�หนดเสน้ ทางชวี ติ ท่ีจะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์
ทยี่ ังไม่มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจไดอ้ ย่างแมน่ ยำ� ต่อตนเอง ตอ่ สงั คม และเปน็ พลงั ทม่ี ีศักยภาพในการ
ขาดประสบการณใ์ นการเลอื กสิ่งถกู สิ่งผิด ขาดภาวะ พฒั นาประเทศตอ่ ไป
ความมน่ั คงภายในจติ ใจ มคี วามต้องการแรงบันดาลใจ

วรรณกรรม 50 เรอ่ื งทตี่ อ้ งอา่ นก่อนโต
ภายใต้โครงการพัฒนากลไกการด�ำ เนินงานกองทนุ พัฒนาส่อื ปลอดภัยและสร้างสรรค์
เพอ่ื เตรยี มความพร้อมรองรับการประกาศใชร้ ่างพระราชบญั ญตั ืกองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ พ.ศ. .... 

สนับสนนุ โดย
สำ�นักเฝา้ ระวงั ทางวัฒนธรรมและประชาสมั พนั ธ์ กระทรวงวฒั นธรรม
และกองทุนสนับสนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)

ชอ่ื โครงการ
วรรณกรรมชัน้ ดี 50 เล่มทเ่ี ยาวชนควรอ่านก่อนโต

คณะกรรมการโครงการ
นายชีวัน วสิ าสะ อาจารยอ์ จั ฉรา ประดษิ ฐ์ ผศ.รพนิ ทร คงสมบรู ณ์

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ
นางสาวระพพี รรณ พฒั นาเวช

เลขานกุ ารโครงการ
นางสาวแสงทิวา นราพชิ ญ์

ฝา่ ยบญั ชโี ครงการ
นายกฤษฎา จงขจรสขุ
ทอ่ี ยู่ 88/118 หมบู่ า้ นชวนช่นื วัชรพล แขวงท่าแรง้ เขตบางเขน กรงุ เทพฯ 10230
E-mail : [email protected]

วรรณกรรม 50 เรือ่ งทตี่ ้องอ่านก่อนโต
ผู้เขยี น
วนิดา คมุ้ อนุวงศ์ อริยา ไพฑรู ย์ สกณุ ี ณัฐพลู วัตน์ กาสร วงศ์ชมพู
เกื้อกมล นยิ ม สวณยี ์ พรวิศวารักษกุล บญุ เอก พฤกษาวฒั นา
กันย์นรา พชิ าพร ธดิ า จงนริ ามยั สถติ นนั ทินี มาลานนท์ ธิดา พานชิ
ชัชวรรณ ปญั ญาพยัตจาติ
บรรณาธิการ
ระพพี รรณ พัฒนาเวช
ออกแบบปกและจดั รปู เล่ม
วชริ าวรรณ ทบั เสอื
ขอขอบคณุ คำ�แนะน�ำ จาก
จติ ติ หนูสุข

พมิ พ์ที่ บรษิ ัทอมรินทรพ์ รนิ้ ตงิ้ แอนด์พบั ลิชช่ิง จำ�กัด (มหาชน)
65/16 ถนนชยั พฤกษ์ (บรมราชชนน)ี เขตตลง่ิ ชนั กรุงเทพฯ 10170
พมิ พ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2557
แจกฟรี

สารบัญ

โตะ๊ โตะจงั 6 เกาะที่มีความสุขทส่ี ุดในโลก 62
เจ้าชายนอ้ ย 9 นกิ กบั พมิ 64
บา้ นเลก็ ในป่าใหญ่ 12 คนตัวจิว๋ 66
ตน้ ส้มแสนรัก 15 ขนำ�น้อยกลางทงุ่ นา 68
ชารล์ ็อตต์ แมงมมุ เพื่อนรกั 18 คุณพอ่ ขายาว 70
โมโม่ 20 ในสวนลบั (ในสวนศรี) 72
จนิ ตนาการไมร่ ูจ้ บ 22 เวลาในขวดแกว้ 74
ติสตู นักปลูกตน้ ไม้ 24 ความสขุ ของกะทิ 76
วนิ นี่ เดอะ พูห์ 26 น้องแปง้ 78
บึงหญา้ ปา่ ใหญ่ 28 เด็กหญิงสวนกาแฟ 80
ขวัญสงฆ์ 30 ปรชั ญาชีวติ 82
โรงงานชอ็ คโกแลต็ มหัศจรรย์ 32 จดหมายจากเมอื งไทย 85
แฮรร์ ี่ พอตเตอร์ 34 เดก็ กระปอ๋ ง 87
เมื่อคุณตาคณุ ยายยังเด็ก 37 จดหมายจากเดก็ ชายชา่ งฝนั 89
วยั ฝันวันเยาว์ 39 นางนวลกับมวลแมวผ้สู อนให้นกบนิ 91
ตำ�นานแหง่ นารเ์ นยี 41 ประค�ำ ลูกโอค๊ 93
ผเี สอื้ และดอกไม้ 43 แมวน้อย 100 หม่นื ชาติ 95
สแี่ ผน่ ดิน 45 เชอรล์ ็อค โฮลม์ ส์ 97
ลิตเติ้ลทรี 47 ประชาธปิ ไตยบนเสน้ ขนาน 100
ปรศิ นามนุษย์กลของอโู ก้ กาเบรต์ 49 ลอร์ดออฟเดอะรงิ ส์ 102
ความสุขแหง่ ชวี ติ 53 สถาบนั สถาปนา 105
ขุมทรัพยท์ ปี่ ลายฝนั 51 ลกู อีสาน 107
เดินสอู่ ิสรภาพ 55 เพชรพระอมุ า 109
บันทกึ ลบั ของแอนน์ แฟร้งค์ 57 ตน้ ไม้ ไขไ่ ก่ และหวั ใจหกคะเมน 112
คณุ หมอนกั สู้ 60 พันธ์หุ มาบา้ 114

คุณครูโคบายาชิพูดประโยค ภาพประกอบโดย ิอวาซากิ ิช ิฮโร
ท่ีมคี วามส�ำ คญั ซึ่งอาจจะ
เป็นเครือ่ งก�ำ หนดอนาคต
ของโตะ๊ โตะจังตลอดเวลาที่
เธอเรยี นอยใู่ นโรงเรียนโทโมเอ
‘โต๊ะโตะจงั ความจริงหนู
เปน็ เด็กดี ร้ไู หม’...

โต๊ะโตะจงั

เดก็ หญงิ ขา้ งหนา้ ตา่ ง

โตะ๊ โตะจงั เด็กหญิงขา้ งหน้าตา่ ง
เป็นเรือ่ งจรงิ ในวยั เด็กของผู้เขียน เทต็ สโึ กะ
คุโรยานางิ ซึ่งได้เรยี นชนั้ ประถมศึกษาในกรุง
โตเกยี ว ชว่ งก่อนสงครามโลกครั้งท่ี 2
จะสงบไม่นานนัก โรงเรียนโทโมเอเป็น
โรงเรียนเลก็ ๆ แตม่ วี ธิ กี ารสอนไมเ่ หมอื นใคร

6

ตอนเป็นเด็ก โรงเรยี นของคุณเป็นเชน่ ไร เธอเริม่ เขียนเรอื่ งราวของโรงเรยี น
ความทรงจำ�แบบไหนทค่ี ณุ มตี ่อโรงเรยี น คุณครู และคณุ ครูที่เธอรักลงพิมพเ์ ป็นตอนใน
เจ้าระเบยี บ ไมเ้ รยี ว กฎเกณฑ์ หรือเสยี งเรยี กชื่อ
คุณของครทู ี่ทำ�ใหค้ ณุ สะดุ้งทกุ คร้ัง ? นติ ยสารรายเดือนของส�ำ นักพิมพ์โคดันชะ
สำ�หรบั โต๊ะโตะจงั แล้ว ความทรงจำ�ทมี่ ี ชื่อ “วาไกโจเซ” (หญิงสาว) จดั พมิ พ์ครงั้ แรก
ต่อโรงเรียนโทโมเอสมยั ประถมคือความสนุก การ เมอื่ ค.ศ. 1981 ตอ่ มา โดโรธี บรติ ตน้ั กวี
ช่วยเหลอื เพือ่ น การเรยี นร้สู ง่ิ ใหมๆ่ วนั แรกทมี่ า และนกั แต่งเพลง ได้แปลเป็นภาษาองั กฤษ
โรงเรียน โตะ๊ โตะจังซึง่ ถกู ไล่ออกจากโรงเรียนอ่ืนมา
แบบไมร่ ้ตู ัวนนั้ ถงึ กบั ประทับใจครูโคบายาชทิ ่ีนงั่ ฟงั ท�ำ ให้เป็นท่ีรู้จักในอีกหลายประเทศ ได้
เธอพูดร่วมส่ีชั่วโมงในครัง้ แรกที่พบกนั เธอตื่นเตน้ รับการแปลเปน็ ภาษาต่างๆ อาทิ รสั เซยี
เม่ือเห็นโรงเรยี นทม่ี ีตรู้ ถไฟเป็นห้องเรียน และได้ ตุรกี ซาอุดิอาระเบีย จนี เกาหลี เวยี ดนาม
พบกบั การสอนอย่างที่ไม่เคยเหน็ มากอ่ น เชน่ การ มาเลเซีย โปแลนด์ สเปน ฟินแลนด์ ฯลฯ
สามารถเลอื กน่ังที่ไหนก็ได้ ในห้องเรียนไมซ่ ำ้ �กันทกุ หนังสือเลม่ นเ้ี องท่ที ำ�ใหเ้ ธอไดร้ ับเชิญไปเปน็
วัน การนำ�อาหารจากทะเลและอาหารจากภเู ขามา
ใส่กล่องมากินมื้อกลางวัน การแก้ผ้าวา่ ยนำ้ �ในสระที่ ทตู พิเศษ (Good Will Ambassador)
ทำ�ใหไ้ มม่ ี ใครรูส้ ึกแปลกแยก การแขง่ ขันกีฬาแลว้ ขององคก์ ารยูนเิ ซฟแหง่ สหประชาชาต ิ
ได้ผักเป็นรางวลั เพือ่ ใหเ้ กิดความภาคภูมิใจในสิ่งที่หา ท�ำ ให้มโี อกาสได้ทำ�งานอทุ ศิ แก่เด็กยากจน
มาไดด้ ้วยตนเอง การไดเ้ ลือกเรียนวิชาท่ีชอบก่อนใน และขาดโอกาสในประเทศตา่ งๆ ทว่ั โลก
แตล่ ะวนั ฯลฯ ส่งิ เหลา่ นี้ กลายเปน็ ความทรงจำ�ทด่ี ี
จวบจนโตะ๊ โตะเตบิ โตขนึ้ เปน็ ผู้ ใหญ่ และกลายเป็น ภาพประกอบโดย ิอวาซากิ ิช ิฮโร
นกั แสดงทม่ี ีรายไดส้ ูงสดุ ในญีป่ ุ่นติดตอ่ กันมานาน
หลายปี คือ ปลี ะกว่า 50 ลา้ นบาททเี ดยี ว

โตะ๊ โตะจงั เดก็ หญงิ ข้างหน้าต่าง เป็นการ
เปดิ มุมมองในการสอน และการเรยี นรู้ของเด็กแกผ่ อู้ ่าน
ทงั้ ทีเ่ ปน็ เด็ก ผปู้ กครอง และครู ส่งิ ทีจ่ ับใจผอู้ า่ นท่ที ำ�ให้
หนงั สือเล่มนก้ี ลายเปน็ หนังสือขายดมี ากกว่า 10 ลา้ น
เล่ม ได้รับการแปลเปน็ ภาษาต่างๆ มากกวา่ 10 ภาษา
น้ัน คือการได้เรียนรู้จากมุมมองของเด็กอย่างโต๊ะโตะจงั
แม้ว่าส่ิงน้นั จะเป็นเพียงสิ่งเลก็ ๆ แตก่ ลบั เปน็ จุดเริ่มตน้
ของการปลกู ฝงั ความคิดบางอย่างในใจเดก็ โดยเฉพาะ
ในตอนท้ายเร่อื งท่เี ดก็ ๆ ทุกคนโตขนึ้ และมหี นา้ ทก่ี าร
งานตามความสนใจของตนเอง

7

ภาพจาก hibi-kore-koujitsu.seesaa.net เอกลักษณ์อกี อยา่ งหน่ึงของหนงั สือโต๊ะโตะจังคือ
ภาพประกอบโดย ิอวาซา ิก ิชฮิโร ภาพประกอบทโ่ี ดดเด่นลงตวั ราวกับวาดขน้ึ สำ�หรับ
เรือ่ งโต๊ะโตะจังโดยเฉพาะน้ี ไม่น่าเชื่อว่าแท้จรงิ แล้ว
จะเปน็ การคดั ภาพจากจำ�นวน 7,000 ช้นิ ของอวิ าซากิ ชิฮิโร
นักวาดภาพชือ่ ดังผู้ลว่ งลบั ไปแลว้ หากใครอยากชมภาพสีน�้ำ
สวยๆ ของเธอ สามารถเย่ียมชมได้ทพี่ ิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะชฮิ ิโร
ท่ีกรงุ โตเกยี ว (Chihiro Art Museum Tokyo)
สำ�หรบั ฉบับภาษาไทย ซึ่งแปลโดย ผุสดี นาวาวิจติ  
ลงพมิ พเ์ ปน็ ตอนๆ ในนิตยสารกะรตั เม่ือปี พ.ศ. 2527 และเดือน
ธนั วาคมปเี ดียวกนั พิมพ์รวมเล่มเปน็ ครัง้ แรก โดยส�ำ นกั พมิ พ์
กะรตั โตะ๊ โตะจัง นับเปน็ หนงั สอื ท่ีเปน็ แรงบันดาลใจให้มกุฎ
อรฤดี หันเหจากการพมิ พ์นิตยสารมากอ่ ตั้งสำ�นักพิมพผ์ เี ส้อื เพือ่
พิมพ์หนงั สอื ดอี อกมาอยา่ งจรงิ จงั ปัจจบุ นั  โตะ๊ โตะจงั เด็กหญิง
ข้างหนา้ ตา่ ง ฉบบั ภาษาไทย มอี ายุ 29 ปี จ�ำ หน่ายไปแล้วกวา่
200,000 เล่ม  

เทต็ สึโกะ คโุ รยานางิ เกิดเมือ่ วนั ที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1933 ใน
กรงุ โตเกียว พ่อของเธอเป็นนักดนตรไี วโอลนิ และผู้ควบคมุ วงหลังจบการ
ศึกษา เธอถูกชกั นำ�เข้าสวู่ งการบนั เทิง กลายเป็นนกั แสดงชาวญ่ีป่นุ คน
แรกซึ่งไดเ้ ซ็นสญั ญากับ NHK โด่งดงั ในปี ค.ศ. 1975 หลงั ผลติ รายการ
โทรทศั น์ชือ่ หอ้ งของเทต็ สึโกะ รายการทอรค์ โชวท์ างโทรทศั นร์ ายการแรก
ของญ่ีปุ่นซ่ึงได้รับการตอบรับเปน็ อยา่ งดี
ในปี ค.ศ. 1981 เธอเขียนเรือ่ ง โต๊ะโตะจัง เดก็ หญิงข้าง
หนา้ ต่าง หลงั จากนั้นไดเ้ ขียนภาคตอ่ ในช่ือ “นางสาวโต๊ะโตะ” และ
“โตะ๊ โตะจงั กับโตะ๊ โตะจงั ท้งั หลาย” เธอน�ำ รายไดจ้ ากค่าลขิ สทิ ธ์มิ าก่อตง้ั
คณะละครคนหหู นวก และมลู นิธิโตะ๊ โตะ

8

เจา้ ชายนอ้ ย

และนค่ี ือความลับของฉัน
มันเป็นเร่อื งธรรมดามาก
เราจะเหน็ อะไรไดก้ ด็ ้วยหัวใจเทา่ นั้น
สิง่ สำ�คญั ไม่อาจเห็นได้ด้วยตา

เปน็ หนังสือท่ีมีคนอ่านมาก
ที่สุดในโลกเล่มหน่งึ แปลเปน็ ภาษา
ตา่ งๆ กว่า 260 ภาษา
ในแงห่ นึง่ มันเล่าถงึ การเดินทางของเจา้ ชายจากดาวดวง
หน่งึ ซง่ึ เกิดเข้าใจผดิ กับดอกกหุ ลาบผหู้ ย่ิงจองหอง ดอกกุหลาบ
เพยี งดอกเดียวทเี่ ขาเปน็ เจา้ ของบนดาวดวงเลก็ ๆ เจา้ ชายน้อยจึง
หนีมาพร้อมการอพยพของประดานกป่า และได้แวะไปตามดวงดาว
ตา่ งๆ พบผใู้ หญ่ทม่ี คี วามคิดประหลาดๆ เกินความเข้าใจของเขา
แตข่ ณะเดยี วกนั เขากไ็ ด้เรียนรู้อะไรหลายอยา่ งจากการสนทนากับ
บคุ คลเหลา่ นั้น
และในทสี่ ุด เจา้ ชายน้อยกล็ งมายงั โลกมนษุ ย์ ณ จุดที่
เครื่องบนิ ล�ำ หนงึ่ ตก เขาได้พบนกั บนิ และเล่าเรื่องราวการผจญภัย
ใหน้ กั บินฟงั พรอ้ มกบั ความเปน็ เพื่อนท่ีค่อยๆ
กอ่ ตวั ข้ึน
แตใ่ นอกี แง่หน่ึง หนงั สือเลม่ นี้พูดถงึ ความลบั
อนั ส�ำ คญั ของการเป็นมนุษย์ ความลับทน่ี กั บนิ พยายามค้นหาจาก
เร่ืองเลา่ ของเจา้ ชายนอ้ ย และในท่ีสุดเขากค็ ้นพบความส�ำ คญั
ความงดงาม และความเศรา้ ของชวี ิต

9

แก่นของเรอ่ื งคือการมองให้เหน็ สิง่ ท่ีไมอ่ าจเห็นไดด้ ว้ ยตา ภาพประกอบโดย ัองตวน เดอ แซงเ ็ตก ซูเป ีร
ผ้เู ขยี นเน้นย้ำ�เร่อื งน้ีหลายครั้ง เลา่ ถงึ สมยั เด็กเมอ่ื วาดรูปชา้ งใน
ทอ้ งงใู ห้ผู้ใหญ่ดู แตผ่ ใู้ หญ่คดิ วา่ เปน็ หมวก เพราะมองไม่เหน็ ถึงขา้ ง
ใน ขณะทร่ี ูปเดยี วกันนี้กลายเป็นจดุ เร่ิมตน้ ของความเขา้ ใจกันอย่าง
ลึกซึง้ ระหวา่ งเจ้าชายน้อยกับนกั บิน
ประเด็นน้ถี กู ย�ำ้ อีกหลายคร้งั เมอื่ ท้ังคคู่ ยุ กนั เรอ่ื งบอ่ น้ำ�
ในทะเลทราย เร่อื งความผกู พนั ระหว่างเพอื่ น เรือ่ งความสัมพนั ธ์
ระหว่างเจา้ ชายน้อยและดอกกหุ ลาบ เร่ืองบ้านท่ีซุกซอ่ นหีบสมบัติ
ไว้ใต้ดิน เรอ่ื งนักดาราศาสตรผ์ คู้ น้ พบดวงดาวของเจ้าชายน้อย ฯลฯ
และตอนทเี่ จา้ ชายนอ้ ยกลบั ไปสู่ดวงดาวทม่ี องไม่เห็นท่ามกลางหมู่
ดาวนับลา้ นๆ ดวง

“เมอื่ ครง้ั ยงั เปน็ เดก็ ชายตัวเล็กๆ
ผมอาศัยอยูใ่ นบ้านแบบโบราณ
เลา่ กนั มาว่ามหี บี สมบตั ซิ อ่ นอย่ใู ต้ดนิ
แนน่ อนวา่ ไม่มใี ครเคยค้นพบ

หรือแม้แตจ่ ะคิดคน้ หา
แตม่ นั กท็ �ำ ใหบ้ ้านหลงั น้มี เี สน่ห์
เพราะบ้านของผมซุกซ่อนความลบั

ไว้ในก้นบง้ึ ของหวั ใจ”

เจา้ ชายน้อยเปน็ ตัวแทนของเดก็ ๆ ท่ีเปิดใจกว้าง พร้อมจะเรียน
รโู้ ลกด้วยการตงั้ ค�ำ ถามและหาคำ�ตอบ เขาออกเดนิ ทางสำ�รวจดวงดาว
ต่างๆ สนทนากบั ผู้คน และพยายามเข้าใจในสิง่ ทีแ่ ต่ละคนคิด ขณะ
เดยี วกันก็เดินทางเข้าไปสำ�รวจจิตใจตัวเอง จนคน้ พบความลบั ท้ังของ
จักรวาลและของตนเอง เป็นความลับอันยิง่ ใหญ่ทที่ ำ�ใหเ้ ขาตดั สนิ ใจกลบั
ไปหาดอกกุหลาบ
และนนั่ อาจจะเปน็ “สาร” สำ�คญั อีกอยา่ งหนง่ึ ท่ผี ู้เขียนอยากจะ
บอกเดก็ ๆ คือ การจะเข้าใจตวั เอง เราต้องเดนิ ทางสำ�รวจโลกภายนอก
และโลกภายในตัวเองดว้ ย

10

“เราตอ้ งเสี่ยงกับการ
หลั่งนำ้�ตาบา้ ง

หากปลอ่ ยให้ความ
ผูกพนั ก่อตัวข้ึน”
ภาพประกอบโดย อังตวน เดอ แซงเต็ก ูซเป ีร
ภาพจาก moscvichka.ru ภาพประกอบของผเู้ ขียนเองก็เปน็ ส่วนส�ำ คญั ทท่ี ำ�ใหเ้ ร่ือง อังตวน เดอ แซงเตก็ ซเู ปรี
นีส้ มบูรณ์และนา่ ประทบั ใจ เปน็ ภาพวาดทีต่ อกย�ำ้ แก่นของเรือ่ ง (Antoine de Saint-Exupéry) ผู้เขยี นเป็น
คอื ส่ิงส�ำ คญั ไมอ่ าจเหน็ ได้ด้วยตา นักบนิ เลิกวาดภาพต้ังแตอ่ ายุ 6 ชาวฝรัง่ เศส เกดิ เมื่อ ค.ศ 1900 มีอาชีพ
ขวบ เพราะผใู้ หญ่ไม่เข้าใจภาพวาดของเขา แต่เจา้ ชายนอ้ ยเข้าใจ เป็นนกั บนิ ผลงานส่วนใหญ่ของเขาจงึ เกีย่ ว
และความเป็นเพ่อื นก็เรม่ิ ตรงจุดน้ี การพบกนั กลางทะเลทรายที่ ข้องกบั การบนิ และมกั จะมาจากประสบการณ์
เวงิ้ ว้างร้างไร้ผูค้ น จงึ ไม่ใช่แคเ่ รือ่ งบงั เอิญ แต่เปน็ ความโดดเดยี่ ว จริง หากแต่เลา่ ด้วยมุมมองท่ีแฝงความคดิ
ในใจของท้ังคู่ ความรสู้ กึ ทว่ี ่าไมม่ ีเพื่อนและปราศจากคนเขา้ ใจ เชิงปรชั ญา
และการค้นพบบอ่ น�้ำ กลางทะเลทราย ก็คือความชุ่มฉำ�่ ใจของการ ซเู ปรีเขียนเรอื่ งเจ้าชายน้อยระหว่าง
มีเพื่อนทีเ่ ข้าใจน่นั เอง สงครามโลกคร้ังทส่ี อง หลังจากเยอรมนี
ไดช้ ยั ชนะเหนือฝร่งั เศส เขาถกู บังคับใหน้ �ำ
“เป็นเรอ่ื งนา่ เคร่อื งบินลงจอดทีน่ วิ ยอร์ก และระหว่าง
เศรา้ ใจมาก น้ันเขากห็ วนคิดถงึ วยั เด็ก ความสัมพนั ธใ์ น
หากเราลืมเพ่อื น ชีวิตครอบครวั และความสงบสขุ ของโลกใน
ไปสักคน” ภาวะไรส้ งคราม และนีเ่ องกอ็ าจจะเปน็ ทม่ี า
ให้เขาเขียนเจา้ ชายนอ้ ยเลม่ นี้ เพ่ือกระตุ้นให้
แม้ความสัมพนั ธ์ของทุกสิ่งทุกอย่าง สุดท้ายจะเดินทาง คนครนุ่ คิดถงึ ความงดงามของความรกั และ
มาถงึ จดุ ท่ตี ้องสูญเสยี ไมว่ า่ จะเปน็ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเจ้าชาย ความผูกพัน รวมทั้งสิ่งส�ำ คัญท่มี นุษย์มักจะ
นอ้ ยกับสุนัขจงิ้ จอก หรือเจ้าชายน้อยกบั นกั บิน เจ้าชายนอ้ ยกบั มองข้ามไปเมอื่ เติบโตเป็นผู้ใหญ่
ดอกกุหลาบ (เขาไดเ้ รียนรู้จากนกั ภูมิศาสตรว์ ่าดอกกหุ ลาบของ การตายของซูเปรเี ป็นปรศิ นาเชน่
เขา “ไมจ่ รี งั ”) สิ่งทีท่ ำ�ใหค้ วามสมั พันธ์มีคา่ กค็ ือส่ิงที่หลงเหลือ เดยี วกบั การจากไปของเจ้าชายน้อย ใน
ในความทรงจ�ำ นั้น สุนขั จ้งิ จอกจะมีความสขุ เมอ่ื ได้เห็นทุ่งขา้ ว ปี ค.ศ. 1944 หลงั จาก “เจา้ ชายน้อย” ตี
สาลี เช่นเดียวกบั ทีน่ กั บินมีความสขุ เมอ่ื แหงนมองดวงดาว พมิ พไ์ ด้เพียงปีเดียว เขากข็ บั เคร่ืองบินหาย
ไป และไมม่ ีใครพบเหน็ อกี เลย จนกระทัง่ ใน
ปี ค.ศ. 1988 มชี าวประมงพบสรอ้ ยข้อมอื ซง่ึ
มชี ือ่ ซูเปรกี ับภรรยาท่เี กาะทางใต้ของเมืองมา
เซย์ ประเทศฝรงั่ เศส และตอ่ มาก็มผี ู้พบซาก
เคร่อื งบินในแถบนน้ั ด้วย คาดวา่ น่าจะเปน็ จดุ
ท่ีเครอ่ื งบนิ ของเขาตก

11

บ้านเลก็ ภายหลังจากฤดูหนาวทยี่ าวนาน
ในปา่ ใหญ่ ครอบครัวอิงกลั ลส์ รวมท้ังชาว
เมอื งตา่ งก็เตรยี มตงั้ รบั กับหน้า
หนาวที่ก�ำ ลงั จะมาถึง แต่ฤดู
หนาวปีน้ันกผ็ ่านไปอย่างรวดเรว็
ไมม่ อี ะไรรา้ ยแรงอย่างท่นี กึ
กลัวกัน ลอรา่ รูส้ ึกวา่ เปน็ การไร้
ประโยชน์ทจี่ ะเตรยี มการในส่ิงที่
เราไมส่ ามารถคาดการณไ์ ด้
แตแ่ ม่สอนวา่ ทกุ สงิ่ ทุกอยา่ ง
มีเหตุผลของมนั เสมอ ถงึ แม้วา่
อากาศจะวปิ ริตพสิ ดารเพียงใด
แต่พายุกจ็ ะเกดิ ข้นึ ในภูมปิ ระเทศ
ท่เี คยมีพายเุ ทา่ น้นั ถ้าลอร่า
เตรยี มตัวทจ่ี ะเปน็ ครู เธออาจจะ
ไมเ่ ป็นหรอื เป็นกไ็ ด้ แตถ่ ้าเธอ
ไมไ่ ดเ้ ตรยี มตัวเลย กเ็ ปน็ การ
แน่นอนวา่ เธอจะเป็นครูไม่ได้

12

หนงั สือชุด บา้ นเลก็ ในปา่ ใหญ่ เขียนขน้ึ จากความทรงจำ� หนงั สือเรอื่ ง บา้ นเล็กในปา่ ใหญ่
ในวยั เด็ก จนถงึ ช่วงวยั รนุ่ และชว่ งเริ่มต้นตั้งครอบครวั ของลอรา่ (Little House in the Big Woods)
อิงกลั ลส์ ไวลเ์ ดอร์ ในวัย 65 ปี เธอลงมือเขียนอัตชีวประวตั ิในรปู ตพี มิ พค์ ร้งั แรกในปี ค.ศ. 1932 หนงั สอื
แบบนวนิยาย ตลอดระยะเวลาของเรือ่ งราวในหนังสอื ท้ัง 10 เล่ม ได้รับความนิยมในทันที เด็กๆ เขยี น
ลอรา่ เขยี นเลา่ ตัง้ แต่พ่อแม่พาเธอและพสี่ าวในวัยเด็ก อพยพจาก จดหมายถึงลอรา่ เพื่อถามเรอ่ื งราวต่างๆ
วา่ เกิดอะไรข้ึนอีกในเวลาต่อมา ลอร่า
วสิ คอนซินมายังแคนซสั เพือ่ จับจองท่ีดนิ ท�ำ กนิ ในทศวรรษที่ 18 ยุค จงึ ลงมือเขยี นหนงั สอื เลม่ ต่อจากเร่ือง
ทีช่ าวอเมรกิ ันเรมิ่ ตน้ ตัง้ รกรากท่ามกลางความหฤโหดของธรรมชาติ บ้านเล็กในปา่ ใหญ่ ตอ่ เนอ่ื งอีก 7 เล่ม
ภายในระยะเวลา 11 ปี ประกอบด้วย
จนกระท่งั เธอพบคนรักและแต่งงานในที่สดุ บ้านเลก็ ในทุ่งกวา้ ง (Little House on
การอ่านหนงั สอื ชดุ บา้ นเล็กฯ ท�ำ ให้เราสามารถมองเหน็ และ the Prairie) เด็กชายชาวนา (Farmer
เข้าใจการด�ำ รงชีวติ ของผู้คนเมอ่ื กวา่ 100 ปที ี่ผ่านมา ลอร่าเขียนเล่า Boy) บา้ นเล็กรมิ ห้วย (On the Banks
เรอ่ื งอยา่ งสนกุ อา่ นเพลดิ เพลนิ เปน็ หนงั สือทีเ่ หมาะส�ำ หรบั ทกุ คนใน of Plum Creek) รมิ ทะเลสาบสเี งนิ
ครอบครวั ดังตวั อย่างบางตอน จากเลม่ ฤดหู นาวท่ยี าวนาน (By the Shores of Silver Lake)
ภายหลังจากการท�ำ นาอยา่ งหนกั ขา้ วสาลสี ีทองออกรวง ฤดหู นาวอันแสนนาน (The Long
Winter) เมืองเลก็ ในทุง่ กวา้ ง (Little
เต็มท่งุ เพียงอีกไมก่ วี่ นั พอ่ ก็ขายขา้ วได้ เอาเงนิ ไปช�ำ ระหนี้ และยงั มี Town on the Prairie) และปีทอง
เงินเหลอื ใหแ้ มแ่ ละเด็กๆ ไดซ้ ือ้ ของทต่ี ้องการ แตแ่ ล้วกองทพั ตั๊กแตน อนั แสนสุข (These Happy Golden
กล็ ง มนั มาจากไหนกไ็ มร่ ู้ แต่มาเต็มท้องฟ้า กัดกินผลผลิตตลอดท้ังปี Years) 
ของพอ่ จนหมดไป ทง้ิ ไวแ้ ตห่ นี้ท่ีตอ้ งช�ำ ระ ภาษที ี่ตอ้ งจา่ ย ครอบครวั ท่ี
ตอ้ งดแู ล พอ่ นิง่ เงียบไปสักพัก แตแ่ ล้วก็พดู ขน้ึ “ตก๊ั แตนหรอื อะไรกจ็ ะ

มาเอาชนะเราไม่ได้ เราตอ้ งท�ำ อะไรสกั อยา่ ง เรายังแขง็ แรงไม่เจบ็
ไมไ่ ข้ เรายงั มีหลงั คาบา้ นคมุ้ หัว ฉนั จะเขา้ เมอื งไปหางานทำ�”

แลว้ พอ่ กไ็ ป พ่อใสร่ องเทา้ ท่ีจวนเจียนขาด เดนิ เท้าไป 300 ไมล์
เพอ่ื ไปหางานทำ�จากเมืองไกลๆ

13

ภาพจาก www.biography.com

ลอรา่ อลิซาเบธ อิงกลั ล์ส ไวล์เดอร์ (Laura หลงั จากทีล่ อรา่ อิงกัลล์ส ไวลเ์ ดอรถ์ ึงแก่
Elizabeth Ingalls Wilder) เกิดเมอ่ื วนั ท่ี 7 กมุ ภาพันธ์ กรรม มีการพบต้นฉบับท่ีเธอเขียนบันทึกประจำ�วัน
ค.ศ. 1867 ในบ้านไม้ซุงในป่าใหญ่ของรัฐวิสคอนซิน ถึงการเดินทางอพยพพร้อมครอบครัว โรส ผู้เป็น
ตามทีเ่ ธอบรรยายไวใ้ น บา้ นเล็กในป่าใหญ ่ เปน็ บุตรสาว ลกู สาว เปน็ ผนู้ �ำ มาเขยี นค�ำ บรรยายประกอบตอ่ และ
คนที่สองของนายชารล์ ส์ ฟลิ ิป อิงกัลส์ (Charles Philip ตพี มิ พ์ในชื่อ ตามทางสู่เหยา้ ทั้งยงั ไดพ้ บตน้ ฉบับท่ี
Ingalls) และนางแคโรไลน์ เลค ควเิ นอ (Caroline Lake เขียนด้วยลายมือของ ลอร่าในสมุดปกสีส้มจำ�นวน
Quiner) จากบตุ รสาวท้งั หมด 4 คน ได้แก่ แมร่ี (Mary) 3 เล่ม คาดกันว่าลอร่าคงทำ�รา่ งเอาไว้ หากแต่เธอ
แคร่ี (Carrie) และเกรซ (Grace) ซงึ่ ทกุ คนลว้ นปรากฏตัว หมดกำ�ลังใจท่ีจะเขียนต่อเม่ือแอลแมนโซ สามีเสีย
อยใู่ นวรรณกรรมชดุ นีท้ ั้งสน้ิ ชวี ิต ต้นฉบับนนั้ เหลา่ นี้ถูกทิ้งค้างไว้ จนกระทัง่ เมอื่
ลอรา่ สอบไดป้ ระกาศนบี ตั รวชิ าครเู มอื่ อายุ 15 ปี โรส ถงึ แกก่ รรมลง จงึ มกี ารจดั พมิ พต์ น้ ฉบบั ชดุ นขี้ น้ึ
เธอสอนหนงั สอื ทโ่ี รงเรยี นในเมอื งเลก็ ๆ โดยเรยี นหนงั สอื โดยให้ช่อื ว่า ส่ีปีแรก (The First Four Years) อนั
ไปด้วย จนอายุ 18 ปี เธอแต่งงานกับแอลแมนโซ ไวลเ์ ดอร์ เปน็ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ กอ่ นหนา้ เลม่ ตามทางสเู่ หยา้
(Almanzo Wilder) และใหก้ �ำ เนดิ ลกู สาวชอ่ื โรส เมอ่ื เดอื น (On the Way Home)
ธันวาคม ปี ค.ศ. 1886 ตอ่ มาลกู สาวของเธอไดเ้ ติบโต หนังสือชุดบ้านเล็กในป่าใหญ่ เป็น
เปน็ นกั เขยี นที่มีชือ่ เสียงอกี ผหู้ นง่ึ วรรณกรรมอมตะตลอดกาลของประเทศสหรัฐ
ในปี ค.ศ. 1894 ครอบครัวไวล์เดอร์ออกเดิน อเมริกา มีการตีพิมพ์ซำ้�แล้วซำ้�เล่าตลอด 80 ปีที่
ทางไปยังเมืองแมนสฟิลด์ รัฐมิสซูร่ี ซ่ึงเป็นที่ที่พวกเขา ผา่ นมา มกี ารน�ำ มาดดั แปลงเปน็ หนงั สอื ภาพส�ำ หรบั
อาศัยอยู่ตลอดช่วงชีวิตท่ีเหลือ ลอร่าเขียนบันทึกเร่ือง เดก็ เลก็ หนงั สอื หดั อา่ นส�ำ หรบั เดก็ ทเี่ รมิ่ อา่ นหนงั สอื
ประสบการณ์การเดินทางครั้งนี้และได้ตีพิมพ์ลงใน De และได้รับการดัดแปลงเป็นบทภาพยนตร์โทรทัศน์
Smet News ถอื เป็นผลงานแรกบนถนนสายวรรณกรรม ออกฉาย ในปี ค.ศ. 1974 ส�ำ หรบั หนังสอื เล่มท่ีได้
ของเธอ หลังจากนั้น ผลงานของเธอได้รบั การตีพมิ พ์ใน รบั ความนยิ มมากทส่ี ดุ คอื เรอ่ื ง บา้ นเลก็ ในทงุ่ กวา้ ง
นิตยสารหลายเล่ม และเธอยงั ไดท้ ำ�งานเปน็ บรรณาธกิ าร
นานถึง 12 ปี ลอรา่ เรม่ิ เรยี งรอ้ ยประสบการณใ์ นวัยเด็ก
และถ่ายทอดเป็นตัวอักษรหลังจากที่ได้รับการสนับสนุน
จากลกู สาวของเธอเอง
ลอร่าเสียชีวิตเม่ือวันท่ี 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
1957 เมอื่ อายไุ ด้ 90 ปี มรี ปู หลอ่ อนสุ รณข์ องลอรา่ ทท่ี าวน ์
สแควร์ เมอื งแมนสฟลิ ด์       

14

ใช่ ฉันจะทำ�
ฉนั เรม่ิ ทำ�ไปแลว้
ที่ว่าฆา่ น่ัน ไมไ่ ด้หมายถึงวา่
หยบิ ปนื ของบคั โจนส์ แลว้ กเ็ อา
ไปยงิ เขาตมู เดียวตายนนั่ หรอก ไมใ่ ช่
ฉนั จะฆ่าเขาในหวั ใจของฉนั ด้วยการ
หยดุ รกั เขา แลว้ วันหน่ึงเขาก็จะตาย

ตน้ สม้ แสนรัก

“เซเซ”่  เดก็ ชายอายุ 5 ขวบเกดิ ในครอบครวั ยากจน มพี ่ี เพื่อนสนิทในวยั เด็กของคุณคือใคร ?
น้องหลายคน ขณะที่พ่อตกงาน แม่จึงตอ้ งท�ำ งานในโรงงานตั้งแต่ เพือ่ นสนทิ ของใครหลายคน
เช้าจนค�่ำ เพอ่ื เล้ียงดูท้งั ครอบครวั กลายเปน็ ปมด้อยทที่ �ำ ให้พอ่ โมโห คือเดก็ ข้างบ้านวยั เดียวกัน เพ่ือนร่วม
ห้องในโรงเรยี นอนุบาล หรอื ไม่กส็ ัตว์
รา้ ย และลงมอื ทบุ ตีเขา ความฉลาดและซุกซนตามประสาเด็กถกู มอง เลีย้ งในบ้าน แตส่ ำ�หรับเดก็ วยั หา้ ขวบ
วา่ เปน็ ตวั ปัญหา ถกู ดา่ และใช้ความรนุ แรงจากคนในครอบครวั อย่างเซเซแ่ ล้ว เพื่อนสนทิ ทีเ่ ขาสามารถ
เซเซ่จึงคิดว่าไม่มีใครรกั เขา แตเ่ ขาก็ยงั มคี วามสุขจากสงิ่ รอบข้าง เลา่ ทกุ อยา่ งให้ฟงั ไดค้ อื ตน้ สม้ ต้นหนง่ึ
ในบริเวณบา้ นของเขาเอง
โดยเฉพาะการพูดคยุ กบั ตน้ สม้ ทเี่ ขาตงั้ ชอ่ื ให้ว่า “มิงกินโย” ซง่ึ กลาย
เป็นเพื่อนรักให้เขาได้เลา่ เรอื่ งราวตา่ งๆ ทเี่ กิดข้นึ ใหฟ้ งั และเม่ือเขา
มโี อกาสได้พบกบั ชายแปลกหน้าชาวโปรตุเกส จนกระทั่งกลายเป็น
ความรักความผกู พนั ซง่ึ เป็นเสมอื นแสงแหง่ ความสขุ ในชวี ิตของเดก็
นอ้ ย แต่ไม่นาน เขาต้องพบกับความจรงิ ท่ีเจ็บปวดเมือ่ รบั ร้วู า่ เพอ่ื นท่ี

ดีทส่ี ุดของเขาต้องจากเขาไปตลอดกาล

15

ต้นสม้ แสนรัก เป็นวรรณกรรมเยาวชนอมตะทอี่ ยใู่ นใจของ
ใครหลายคน แตง่ โดย โจเซ่ วาสคอนเซลอส นกั เขยี น
ชาวบราซลิ ตีพิมพ์ครง้ั แรกเป็นภาษาโปรตุเกส ในชือ่
Meu Pé de Laranja Lima เมื่อ ค.ศ. 1968 แปลเปน็ ภาษา
ต่างๆ มากถงึ 32 ภาษา ตีพิมพ์ใน 19 ประเทศท่ัวโลก
ภาษาองั กฤษใช้ช่ือว่า My Sweet Orange Tree ตพี ิมพเ์ มือ่
ค.ศ. 1971 และได้รับการคัดเลอื กใหเ้ ป็นหนงั สอื อา่ นนอก
เวลาส�ำ หรบั เยาวชน และดัดแปลงเป็นภาพยนตรโ์ ทรทศั น์
ภาพยนตร์ และแอนิเมชน่ั หลายครงั้

สำ�หรับฉบับภาษาไทย ตีพมิ พ์ครง้ั แรก ภาพยนตร์เวอรช์ น่ั ล่าสุดของ ‘My
เมอื่ พ.ศ. 2522 โดยสำ�นักพิมพ์ดวงกมล แปลโดย มัทน ี Sweet Orange Tree ต้นส้มแสนรกั ’ เป็น
เกษกมล มี สชุ าติ สวัสด์ิศรี เป็นบรรณาธิการ อีกสำ�นวน ภาพยนตร์บราซิล กำ�กบั การแสดงโดย
หนง่ึ แปลโดยสมบัติ เครอื ทอง นวนิยายภาคต่อ ใช้ชื่อว่า มารค์ อส เบอรน์ สไตน์ (Marcos Bernstein)
Vamos Aquecer o Sol ตีพิมพค์ รั้งแรกเมอ่ื ปี ค.ศ. 1974 น�ำ แสดงโดย เจา กยุ เฮริ ม์ อวลิ ล่า (João
ฉบบั ภาษาไทยใชช้ ่อื ว่า ต้นส้มแสนรัก ภาค 2 ตพี ิมพเ์ มอ่ื Guilherme Ávila) รับบท เซเซ่ (Zezé) ตัว
พ.ศ. 2538 โดยส�ำ นักพิมพป์ ระพนั ธ์สาส์น แปลโดย สมบตั ิ ละครเอกของเรือ่ ง ประกบกบั โจเซ่ เดอ อบริว
เครือทอง (José de Abreu) ซงึ่ รบั บท ปอร์ตกู ้า (Portuga)
แม้จะเข้าฉายเมื่อเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2556
ในวงจ�ำ กัดแค่โรงภาพยนตร์แหง่ เดยี วแต่ก็ยงั
คงนำ�ความประทบั ใจมาสูผ่ ู้ชมชาวไทยอยา่ ง
ทว่ มท้นจนซบั น�้ำ ตาแทบไมท่ นั

16

ภาพจาก www.librosdelasteroide.com

เซเซม่ ีอยใู่ นทกุ คน แล้วทุกคน โจเซ่ เมาโร่ เด วาสคอน
ก็เปน็ สว่ นหนึ่งในชวี ติ ของเซเซ่ เซลอส (José Mauro de
อย่างนอ้ ยเราก็เคยดื้อเคยซน Vasconcelos) เกดิ เมื่อวนั ท่ี 24
ไม่เชอื่ ฟงั เคยเปน็ ท่ีขาดรกั น้อยใจ กมุ ภาพันธ์ ค.ศ. 1920 ในครอบครัว
เรากเ็ คยผา่ นตรงน้ีมา และการทเ่ี รา ยากจนในเมอื งริโอ เด จาเนโร เมือง
หลวงของประเทศบราซลิ ด้วยความ
เป็นสว่ นหน่งึ ของตัวละคร ยากจน เขาจึงต้องโยกยา้ ยไปอยทู่ ่ี
แล้วตัวละครเปน็ ส่วนหนึง่ ของผอู้ ่าน รฐั รโิ อ กรานด์ โด นอร์ท โดยอาศยั
น่ีเองที่ท�ำ ใหห้ นงั สือเล่มน้ีเป็นอมตะ อยู่กับลงุ ตง้ั แตย่ ังเลก็ จนเตบิ โตเปน็
หนมุ่ วาสคอนเซลอสเรียนแพทย์อยู่
ในความคิดของผม สองปี ความท่เี ป็นเด็กหนุ่มซง่ึ ความ
ฐนธชั กองทอง ใฝฝ่ ันไมห่ ยุดน่งิ ทำ�ใหเ้ ขาตดั สนิ ใจ
มุ่งกลบั เข้าแสวงโชคในเมืองหลวง
อีกครงั้ งานชนิ้ แรกท่ไี ด้รบั คือผ้ชู ่วย
เทรนเนอรม์ วย แล้วเปลี่ยนเปน็ นาย
แบบให้กบั ชา่ งป้นั ขนาดได้รับการ
วา่ จ้างจาก “บรูโน จอิ อรจ์ ”ี ศิลปิน
มชี ่อื เสียงของบราซิล ใหเ้ ป็นแบบใน
การปัน้ อนุสาวรียเ์ พ่อื เยาวชนซึ่งตงั้
อยใู่ นสวนของกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นการใชช้ ีวติ ในเมอื งหลวงด้วย
ความแรน้ แคน้ จากนั้นกท็ �ำ งานอีก
หลายต่อหลายประเภท ระเหเรร่ ่อน
ไปท่วั ท้ังประเทศ ซมึ ซับเกบ็ เก่ยี ว
ประสบการณ์ใชช้ วี ติ อยา่ งเตม็ รูปแบบ
เหมอื นกบั วา่ จะเปน็ ปฐมบทสำ�หรับ
การเป็นนักเขยี น

17

ชาร์ล็อตต์ ภาพประกอบโดย Garth Williams ไมว่ ่าวันเวลาจะผ่านไปนานเพยี งใด
ภาพประกอบโดย : Garth Williams วิลเบอรไ์ ม่เคยลมื ชารล์ อ็ ตต์
แมงมมุ เพ่ือนรกั
ถงึ เขาจะรกั ลกู ๆ หลานๆ ของชาร์ลอ็ ตตท์ ุกตัว
ชารล์ ็อตต์ แมงมมุ เพื่อนรกั เป็น แตไ่ ม่เคยมตี ัวไหนแทนที่ชาร์ล็อตตใ์ นหวั ใจ
เรือ่ งราวเกีย่ วกับแมงมุมชื่อ ชารล์ อ็ ตต์ ซ่งึ ของวิลเบอรไ์ ด้ ชาร์ลอ็ ตตย์ ่อมเหนือกว่าใครๆ
ช่วยชวี ติ ลกู หมูชอื่ วิลเบอร์ ซง่ึ ถกู เลยี้ งเพ่ือ
น�ำ มาฆา่ เปน็ อาหาร โดยการชกั ใย สะกด ไมบ่ ่อยนักท่เี ราจะมีเพื่อนแท้
เปน็ ตัวอกั ษร เพอ่ื ให้วลิ เบอรไ์ ดต้ กเปน็ ข่าว ทเี่ ปน็ ท้ังเพือ่ นและเป็นนกั เขียนช้ันเยย่ี ม
ถึงความพิเศษ ไมเ่ หมอื นหมตู ัวอนื่ และ
รอดพน้ จากการถูกฆ่าในทสี่ ุด แต่ชาร์ลอ็ ตต์เป็นทั้งสองประการนนั้

ในชีวิตของคุณ มเี พอ่ื นท่คี ณุ รักกค่ี น ? ในหนงั สอื เล่มน้ี คุณจะไดพ้ บกับบรรดา
สำ�หรับวลิ เบอร์ หมูสีขาวตัวน้อยที่ สัตว์โดยมตี ัวเอกเปน็ แมงมมุ หมู หนู หา่ น และ
อ่อนตอ่ โลก มเี พื่อนท่ีเขารักมากท่ีสดุ เพียงตวั แกะ มีตวั ประกอบเปน็ หมา ววั ม้า นก ฯลฯ
เดยี วคือแมงมมุ ทีม่ ีชื่อว่า ชารล์ อ็ ตต์ ผซู้ ่ึงช่วย แนน่ อนวา่ ท้งั หมดนคี้ ือสตั วใ์ นฟารม์ ของ อ.ี บี.ไวท์
เหลือเขาใหร้ อดพ้นจากความตาย ผเู้ ขยี นซ่ึงอาศัยอยใู่ นเมืองบรู๊คลิน รฐั เมน ประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า แตด่ ว้ ยความเป็นคนขี้อาย ชอบ
18 ความเปน็ สว่ นตวั และไมย่ อมเปดิ เผยทีอ่ ยู่ ในปี
1977 เขาถงึ กบั บอกส่ือผมู้ าสมั ภาษณใ์ ห้รายงานวา่
เขาอาศัยอยู่อีกเมืองหนงึ่ แถบชายฝ่ังนิวองิ แลนด์
ระหวา่ งโนว่า สกอ็ ตเทยี และควิ บา แน่นอนว่า เขา
รกั สนั โดษ แต่น่ันไมร่ วมถงึ บรรดาสตั วท์ งั้ หลาย
ในฟาร์มเล็กๆ ของเขา นอกจากสนุ ขั พันธ์ดุ ัชชนุ
แลว้ ไวทแ์ ละแคทเธอลนี ภรรยาของเขายงั อาศัยอยู่
รว่ มกบั แกะ ไก่ หมู แมว และแน่นอน เหลา่ บรรดา
แมงมมุ ฟาร์มแห่งนเ้ี องซึ่งเร่ืองราวของ ชาร์ล็อตต์
แมงมุมเพือ่ นรัก เกดิ ขน้ึ เม่อื วนั หนง่ึ เขาพบกบั

แมงมมุ สเี ทาตวั หนึ่งซ่ึงเป็นแรงบันดาลใจให้เขา วรรณกรรมเรือ่ งน้ไี ด้รบั การตพี มิ พ์
เขียนเรือ่ งน้ี เขาเรียกมนั วา่ ชาร์ลอ็ ตต์ อีไพรา่ ซึ่ง ถึง 45 ลา้ นเล่ม ไดร้ ับรางวลั นิวเบอรี นิตยสาร
เปน็ ชือ่ เรยี กตามแมงมุมสเี ทาสายพันธ์ุ Epeira TIME ยกย่องให้ Charlotte’s Web เปน็
sclopetaria (ปัจจุบนั รู้จกั กนั ในช่อื Aranea หนังสอื เด็กทดี่ ีทส่ี ุดในรอบศตวรรษ ได้รับการ
sericata) ซ่ึงในหนังสือ ชารล์ ็อตต์เปน็ แปลเป็นภาษาต่างๆ 23 ภาษา รวมทั้งฉบบั
แมงมุมในโรงนา มชี ่ือเต็มว่า ภาษาไทย ตีพิมพค์ รงั้ แรกโดยสำ�นกั พิมพไ์ ทย
ชาร์ลอ็ ตต์ เอ. คาวาตคิ า วฒั นาพานชิ  ใชช้ ่อื วา่ “แมงมมุ เพอื่ นรัก” และ
ซึง่ มาจากชอ่ื ทางวิทยาศาสตร์ว่า ไดร้ บั การตีพิมพ์อกี หลายครั้ง ล่าสดุ ครงั้ ที่
Araneus cavaticus นัน่ เอง 44 เม่ือปี พ.ศ. 2556 โดยส�ำ นกั พิมพแ์ พรว
เยาวชน ในช่อื “ชาร์ล็อตต์ แมงมุมเพือ่ นรัก”
ภาพประกอบโดย : Garth Williams ไดร้ บั คัดเลอื กเป็นหนงั สืออ่านนอกเวลาส�ำ หรับ
นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้  และเปน็
วรรณกรรมเยาวชน ลำ�ดับที่ 47 ในวรรณกรรม
100 เรอื่ งที่เดก็ ไทยควรอา่ น รวมถงึ ได้รับการ
ดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ ออกฉายเมอื่ วนั ท ่ี 1
กมุ ภาพันธ ์ พ.ศ. 2549 กำ�กับโดย Gary
Winick ไดร้ ับความนยิ มไปทั่วโลก

ภาพจาก commons.wikimedia.org เอลวิน บรกู ส์ “อ.ี บี.” ไวท ์ (Elwyn Brooks “E.B.” White)
(11 กรกฎาคม ค.ศ. 1899 - 1 ตุลาคม ค.ศ. 1985) เกดิ ที่ภูเขาเวอร์
นอน นวิ ยอร์ก เป็นลกู คนเล็กของแซมมวล ทิลลี่ ไวท์ และเจ็ซซี่ ฮาร์ท
ไวท์ ซึง่ เปน็ ครอบครัวรักสัตว์ เขาจบการศึกษาดา้ นศิลปศาสตร์ จาก
มหาวิทยาลยั คอรเ์ นล
เขาเป็นนกั ประพนั ธ์ชาวสหรัฐ มชี ่อื เสียงที่สุดจากงานเขียน
ช่อื “The Elements of Style” และหนงั สอื สำ�หรบั เดก็ สามเรื่องที่
ถอื กนั วา่ เป็นผลงานอมตะ คือ Stuart Little (สจ๊วต ลิตเติ้ล) (ค.ศ.
1945) Charlotte’s Web (แมงมุมเพื่อนรัก) (ค.ศ. 1952) และ The
Trumpet of the Swan (เสียงรักจากทรัมเปต็ หงส)์ (ค.ศ. 1970)

19

โมโม่

ดเู หมือนจะไม่มใี ครสังเกตว่า ที่เขา “โมโม่” เด็กผูห้ ญงิ ตัว
ลดการใชเ้ วลาน้ัน อันที่จรงิ แลว้ เขาได้ เลก็ ๆ ซึ่งอาศยั อย่ลู ำ�พงั ในโรง
ลดการใช้สง่ิ อ่นื ไปพร้อมกันดว้ ย ไมม่ ีใคร ละครโบราณแถบชานเมอื ง ชาว
ยอมรับว่าชวี ิตของเขากลบั นา่ สงสารมาก เมอื งต่างแวะเวียนมาหาเธอเพอื่
ขนึ้ เรอื่ ยๆ ซ�้ำ ซากขน้ึ และเยน็ ยะเยอื กข้ึน เล่าเรอื่ งของตนเองให้โมโม่ฟัง
มแี ตพ่ วกเดก็ ๆ เทา่ น้ันทร่ี ู้สกึ ได้ และสบายใจทุกคร้งั ต่อมา หลงั
ชัดเจน เพราะไมม่ ใี ครมเี วลาเผือ่ แผใ่ ห้ การปรากฏตัวของผู้ชายสีเทา
แกพ่ วกเขาอกี ตอ่ ไปแต่เวลาคอื ชวี ติ และ หรือโจรขโมยเวลา หลายอย่าง
ชีวิตสถติ อยใู่ นหวั ใจ ยง่ิ มนุษยป์ ระหยัด ในเมืองเริม่ เปลย่ี นไป ผู้คนไม่มี
มันมากเทา่ ไร กลับยิง่ ท�ำ ให้มีนอ้ ยลง เวลามาหาโมโมอ่ ีก เมอื งทง้ั เมือง
เทา่ น้นั กลายเป็นเมืองแหง่ ความรบี เรง่
เครง่ เครยี ด แขง่ ขนั โดยไม่มใี คร
20 สังเกตเลยว่าย่งิ ประหยัดเวลา
มากเท่าไร เวลาในชีวิตยงิ่ ลดนอ้ ย
ลงเท่าน้ัน มเี พียงโมโมท่ ไ่ี ม่ตก
อยู่ภายใต้อำ�นาจของผู้ชายสีเทา
และตอ้ งหาทางออกของปญั หานี้
ให้เจอ

คุณพอจะมีเวลาอยูบ่ า้ งไหม ? ภาพจาก desmotivaciones.es
เมอื่ ได้ยินคำ�ถามน้ี คณุ จะ
ตอบว่าอะไร วรรณกรรมเยาวชนภาษา มชิ าเอ็ล เอ็นเด้
คนเรามกั อา้ งวา่ เยอรมันของ มิชาเอล็ เอน็ เด้ เรื่องน้ี (Michael Ende)
ไม่มเี วลามากขึ้นทุกที ทงั้ ๆ ท่ี เขยี นไว้ตั้งแต ่ ค.ศ. 1973 โดยมีแนวคดิ เกดิ เมือ่ วันท่ี 12 พฤศจกิ ายน
ในหน่งึ วนั เราทุกคนมเี วลา เก่ยี วกบั เวลา และการใชเ้ วลาของมนุษย์ ค.ศ. 1929 เป็นนกั เขียนชาว
ยส่ี บิ สชี่ ่วั โมงเทา่ กนั อยทู่ ่ีวา่ ในสงั คมสมยั ใหมซ่ ึง่ เหมาะสมอย่างย่งิ เยอรมนั ท่ีมผี ลงานวรรณกรรม
เราจดั สรรมนั อยา่ งไร เราตา่ ง กบั ยุคสมัยแหง่ ความเรง่ รบี น้ี หวั ใจหลกั เยาวชนเปน็ ทร่ี ้จู ักท้ังในวง
ต้องทำ�งานแขง่ กับเวลาเพ่อื ของโมโม่ คือการตง้ั ค�ำ ถามระหว่าง วรรณกรรมไทยและนานาชาติ
ให้งานสำ�เร็จ แล้วระหว่างน้ัน ความเชื่อทวี่ า่ “เวลาเป็นเงินเปน็ ทอง” หลายเรื่อง เชน่  จิม กระดุม กบั
เลา่ คณุ ทำ�งานอยา่ งมคี วาม กบั ความเช่อื ทวี่ ่า “เวลาคือชีวิต” โดย ลูคัส คนขบั หัวรถจักร (Jim
สุขหรอื ไม่ แล้วคุณอยูร่ ่วมกับ เอ็นเดก้ ล่าววา่ Knopf and Lukas the Engine
ครอบครวั ของคุณเชน่ ไร ต่าง “สำ�หรับผมแล้ว โมโม่คือ Drive), จมิ กระดมุ กบั สิบสาม
คนตา่ งอยู่ หรือเป่ยี มไปดว้ ย ตัวแทนของรูปแบบการด�ำ เนินชวี ติ ป่าเถ่ือน (Jim Knopf und die
ความใส่ใจเออ้ื อาทร ทุกเชา้ เปน็ ภาพของมนษุ ยจ์ ำ�พวกหน่ึง เปน็ Wilde13), จนิ ตนาการไม่รจู้ บ
คุณกนิ อาหารอยา่ งเรง่ รบี เพอ่ื ตวั เอกทไี่ มม่ คี ณุ สมบตั ิของตัวเอง... (The Neverending Story),
ใหไ้ ปทำ�งานทนั เวลา หรือ เป็นมนุษย์ทีใ่ สสะอาด (เหมอื นเดก็ )  โรงเรียนคาถาวิเศษ, ดนิ แดน
เคยี้ วช้าๆ เพ่ือให้ระบบย่อย และกลายเป็นตวั เอกดว้ ยการดำ�รง หลับสบาย ฯลฯ นอกจากการ
อาหารเป็นไปอยา่ งมีคณุ ภาพ อยูข่ องตัวเอง...ผมคดิ ว่า ถา้ โลกน้ี เป็นนักเขียนแล้ว เอน็ เด้ยงั เป็น
เชน่ เดยี วกบั ผคู้ นท่ีเมืองแหง่ ไม่มวี รี บรุ ุษหรอื รูปแบบของมนษุ ยใ์ น นกั แสดง นักเขยี นบทละคร 
หนึง่ ทซี่ ่ึงโมโมอ่ าศยั อยู่ พวก อุดมคติ มนษุ ย์ก็คงไม่มีต�ำ นาน และ ผู้จัดการโรงละคร ในเมอื ง
เขาเคยมเี วลาเหลือเฟอื ในการ ถ้าไม่มีต�ำ นาน วฒั นธรรมของมนุษยก์ ็ มิวนิค และนกั วิจารณภ์ าพยนตร์
ไปหาโมโม่ เพ่อื เล่าเรอ่ื งราว ไมอ่ าจด�ำ รงอยูไ่ ด้” ของบริษทั  Bavarian Broad-
ให้เธอรบั ฟงั อยา่ งใส่ใจ และ โมโมไ่ ด้รับรางวัลวรรณกรรม casting เขาเสียชีวิตเมอื่ วนั ที่ 28
สามารถคลค่ี ลายปญั หาได้ เยาวชนยอดเย่ียมแห่งเยอรมัน แปลเปน็ สิงหาคม ค.ศ. 1995 ขณะมอี ายุ
อย่างนา่ อศั จรรย์ แตแ่ ล้วเม่ือ ภาษาตา่ งๆ ถงึ 35 ภาษาทวั่ โลก ฉบบั 65 ปี หลังจากปว่ ยดว้ ย
ผ้ชู ายสีเทาทำ�ใหพ้ วกเขาเหน็ ภาษาไทย แปลโดย ชินนรงค์ เนยี วกุล โรคมะเรง็ มาเป็นเวลานาน
ความสำ�คัญของการประหยัด จดั พิมพโ์ ดยส�ำ นักพมิ พ์แพรวเยาวชน
เวลาก็ทำ�ให้ทุกอย่างเปลย่ี นไป

21

เรอ่ื งอนั แทจ้ ริงทุกเรอื่ งกค็ อื
จนิ ตนาการไมร่ จู้ บ” เขามองไปยงั
หนงั สือมากมายซึง่ เรยี งรายเต็มผนังร้าน
ตั้งแต่พ้ืนจรดเพดาน ชีป้ ลายกล้องยาเสน้
ไปด้วยพลางพูดต่อวา่
“มปี ระตไู ปสู่อาณาจักรจนิ ตนาการ
มากมายหลายบานนกั เจา้ หนู
ยงั มหี นังสือวเิ ศษอื่นๆ อกี มาก
เหลือเกนิ คนสว่ นใหญ่อา่ นผา่ นไป
โดยไมส่ งั เกตเหน็ มันขึ้นอย่กู บั วา่ ใคร
เป็นคนอ่านหนังสือนน้ั ตา่ งหาก

จนิ ตนาการไมร่ ูจ้ บ

จนิ ตนาการไมร่ จู้ บ เป็นเร่ืองราวการผจญภัย
ของบาสเตียน บัทธาซาร์ บกู ซ์ เด็กชายวยั สิบขวบ รา่ ง
อว้ น อ่อนแอ และขขี้ ลาด ผู้ที่คดิ วา่ ตนเองไม่เป็นทต่ี ้องการ
ของใคร ไม่ว่าจะเป็นพ่อผซู้ ึมเศร้าและหมกมุ่นอยกู่ ับงาน
ตงั้ แต่แม่เสยี ชวี ิตไป ครู หรอื เพอ่ื น การผจญภยั ของเขา
เรม่ิ ต้นต้งั แต่เขาได้อา่ นหนังสอื เรื่อง ต�ำ นานไมร่ ู้จบ ทีข่ โมย
มาจากร้านหนงั สือแห่งหนง่ึ  ในตอนแรกเขารูส้ ึกเหมอื น
ก�ำ ลงั อ่านตำ�นานการผจญภยั ของอนั เทรอู เดก็ ชายผ้กู ล้า
หาญที่ไดร้ ับภารกจิ สำ�คัญในการตามหาวธิ กี ารรกั ษาอาการ
ประชวรของยวุ จักรพรรดนิ  ี แต่ต่อมาบาสเตียนได้กลายเป็น
ตวั ละครสำ�คัญทโ่ี ลดแล่นอยใู่ นเรื่องเพื่อชว่ ยอาณาจกั ร
จินตนาการไม่ใหล้ ่มสลาย

22

หนังสือเล่มน้ี ใช้วิธีเล่าตัดฉากสลับไป ภาพจาก desmotivaciones.es
สลับมาระหว่างโลกความเป็นจริง โดยใช้
สีของตัวอักษรเป็นการแบ่งโลกทั้งสองท่ี Falkor the Luckdragon มชิ าเอล็  เอน็ เด้ (Michael Ende)
เด็กชายตัวเอกของเรื่องนั่งอ่านหนังสืออยู่ (ค.ศ. 1929 - ค.ศ. 1995) เป็นลูกชายของ
กับโลกแหง่ จินตนาการในหนังสอื ศลิ ปนิ เซอร์เรียลลสิ ตช์ าวเยอรมนั ชอื่
หนงั สอื จะนำ�พาเราสู่โลกของจติ ใจทเ่ี รา Edgar Ende และแมเ่ ป็นนกั จิตวิทยาบ�ำ บัด
เป็นผู้สร้างข้ึนมาเองตามความปรารถนา ชือ่ Luise Bartholomä Ende เขาจึงเติบโต
แต่ทุกความปรารถนานั้นมีราคาเป็นความ มาท่ามกลางบรรยากาศการอ่านและศิลปะ
ทรงจำ�ของเราในโลกอันแท้จริง โดยเมื่ออยู่ ในโลกของความจริงก็ เหนือจรงิ เอน็ เด้เป็นนกั เขียนชาวเยอรมัน
จะพูดถึงการสูญเสียตัวตนไปกับกระแสสังคม เม่ืออยู่ ในโลกของ ทม่ี ชี อ่ื เสยี งมากในศตวรรษที่ 20 ผลงาน
จนิ ตนาการกจ็ ะพดู ถงึ การสญู เสยี ตวั ตนไปจากความเปน็ จรงิ หนงั สอื สว่ นใหญ่ของเขาเป็นวรรณกรรมเยาวชน
จะทำ�ให้เราเข้าใจความจริงของโลกท้ังสองด้าน ว่าโลกท้ังสองนั้นมี แนวแฟนตาซี และได้รบั การแปลและพมิ พ์
ความสัมพันธ์ร้อยเรียงเข้าหากันเหมือนกับงูสองตัวท่ีต่างงับหางของ ซ้�ำ มากมายหลายภาษา ผลงานของเขา
อีกฝ่าย ซ่ึงนั้นคือสัญลักษณ์ของออรีนเคร่ืองรางท่ีเป็นตัวแทนของ ท่ีไดร้ ับการแปลเปน็ ภาษาไทยนอกจาก
ยุวจักรพรรดนิ ี จนิ ตนาการไม่ร้จู บแลว้ ยงั มี โมโม่
ผลงานของ มิชาเอล็ เอน็ เด้ มจี ดุ เดน่ ในการอธิบายส่งิ ปกติ (Momo), จมิ กระดุม กบั ลูคสั คนขบั
ธรรมดาทเี่ ราพบเจออยทู่ กุ วนั แตถ่ กู ละเลยและใหค้ วามสำ�คญั ผดิ ไป หวั รถจกั ร (Jim Knopf and Lukas the
โดยใชเ้ ดก็ ทถี่ กู โดดเดย่ี วจากสงั คมเปน็ ตวั เดนิ เรอ่ื ง หนงั สอื จะใหเ้ ราตง้ั Engine Drive), จิมกระดุม กบั  13 
คำ�ถามกับตัวเอง ว่าการที่เราอยู่ในโลกที่จนิ ตนาการเหือดหาย ตอ้ ง ป่าเถอ่ื น (Jim Knopf und die Wilde 13)
คอยแข่งขันกับคนอื่นเพ่ือรักษาภาพลักษณ์ทางสังคมของเราน้ันเป็น เป็นตน้
สิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือ หนังสือจะให้เราฉุกคิดกับส่ิงที่เราหลงลืม ซ่ึง เขาเคยพูดถึงการเขยี นงาน
เป็นธรรมชาติที่แท้จริงของตัวเรา บอกว่าเราจะอยู่ในโลกของความ วรรณกรรมเยาวชนไว้วา่ “ผมเล่าเรอื่ งราว
จริงด้วยความรู้สึกลวง ๆ หรือจะค้นหาความปรารถนาท่ีแท้จริงท่ี ตา่ งๆ เพ่ือความเปน็ เดก็ ในตัวผมและใน
ซ่อนอยู่ในจติ ใจเรา ตัวทุกคน และน่นั ท�ำ ใหห้ นงั สอื ของผม
จนิ ตนาการไมร่ จู้ บ ตพี มิ พค์ รงั้ แรกในประเทศเยอรมนั เมอื่ เหมาะกบั เด็กๆ ทม่ี ีอายรุ ะหวา่ ง 80 ปี ถงึ
ปี ค.ศ. 1979 ฉบบั แปลภาษาองั กฤษโดย ราล์ฟ แมนเฮม (Ralph 8 ป”ี (ดวู ิธีการนบั ตัวเลขของเขาสิ ช่าง
Manheim) ตพี ิมพ์ ในปี ค.ศ. 1983 แฟนตาซีจรงิ ๆ)
หนงั สือเลม่ น้ี ไดร้ ับการดัดแปลงเปน็ ภาพยนตรท์ งั้ หมด 3 นอกจากเขาจะเปน็ นักเขยี น
ภาค โดยภาคที่มีความใกล้เคยี งตน้ ฉบบั มากทส่ี ุดคือภาคแรก ซึง่ ได้ วรรณกรรมเยาวชนแล้ว เอน็ เดย้ งั เปน็ นกั
นำ�ชื่อหนังสือมาใช้เป็นช่ือภาพยนตร์ได้นำ�ออกฉายเม่ือปี ค.ศ. 1984 แสดง นกั เขยี นบทละคร ผู้จดั การโรงละคร
กำ�กับโดย โวล์ฟกงั ปเี ตอร์เซน ในเมอื งมิวนิค และนักวจิ ารณภ์ าพยนตร์
(Wolfgang Petersen) นอกจากน้ี ของบริษทั  Bavarian Broadcasting
ยังไดม้ กี ารดัดแปลงเปน็ มนิ ซิ ีรสี ์ เขาเสยี ชีวิตเม่อื อายุ 65 ปี หลัง
เมือ่ ปี ค.ศ. 2001 จากที่ป่วยดว้ ยโรคมะเร็งมาเปน็ เวลานาน

23

... มีเมล็ดพันธุ์อยทู่ ว่ั ไปทุกหนทุกแหง่ ภาพประกอบโดย ฌาคเกอลีน ูดแอม
ไมใ่ ชเ่ พยี งในดนิ เท่านนั้ แตม่ นั มีอยู่บน
หลงั คาบา้ นเอย บนขอบหน้าต่างเอย
บนทางเดนิ บนร้วั ไม้ บนก�ำ แพง
เมล็ดพนั ธุ์เหล่านน้ั มเี ป็นเรือนแสนเรอื นล้าน
ทไี่ ม่ได้ใชท้ �ำ อะไรเลย มันอยูท่ นี่ ัน่ รอใหล้ ม
พดั ผ่านมาเพื่อพาไปยังท่งุ หรอื ไปสูส่ วน
มอี ยูบ่ ่อยครง้ั ทีเ่ มล็ดพันธเ์ุ หลา่ น้ันแห้งค้าง
อยู่ในซอกหินโดยไม่อาจกลายเปน็ ดอกไมไ้ ด้
แตห่ ากน้วิ หวั แมม่ ือสเี ขยี วได้สมั ผสั เมล็ดพันธุ์
เหล่าน้ีเมล็ดเดยี ว ไมว่ ่ามันจะอยู่ในท่ใี ดกต็ าม
ดอกไม้จะงอกขึ้นในทนั ทีทนั ใด ...

ติสตู นกั ปลกู ต้นไม้

ติสตู เดก็ ชายผมู้ พี รสวรรค์พิเศษผซู้ ง่ึ หากวนั หนึง่ คณุ คน้ พบวา่ ตัวเองมีอำ�นาจพเิ ศษ
ไม่ยอมให้พวกผใู้ หญ่อธบิ ายความเปน็ ไปในโลก สามารถเสกต้นไม้ให้ชชู อ่ ดอกบานเบ่งได้ในเวลาเพียงช่ัวคืน
โดยใช้ความคดิ สำ�เร็จรปู เขาสามารถท�ำ การ แล้วละก็ คณุ จะทำ�อะไรใหก้ ับโลกนีบ้ ้าง ?
ใหญ่ไดท้ ั้งที่ยังเป็นเด็กโดยใชด้ อกไมซ้ ึ่งมาจาก สำ�หรบั เด็กชายอย่างตสิ ตแู ล้ว เขาใชน้ ิ้วโปง้ แสน
พรสวรรคท์ ซ่ี ่อนเร้นในตัวเขา นน่ั คอื เขาเป็นเด็ก วิเศษของเขาเพอื่ ชว่ ยเหลอื ทกุ คนทีอ่ ยรู่ อบตัว ไมว่ า่ จะเป็น
ชายที่มีหัวแมม่ อื สีเขียว คนยากจน คนคุก หรือแมก้ ระท่งั เพื่อยุตสิ งคราม เด็กชาย
ผู้เปน็ ตัวแทนของความออ่ นโยน และความบรสิ ทุ ธ์ิไรเ้ ดียงสา
เมอ่ื สงั คมเกิดปัญหา ผู้ ใหญม่ ักแกด้ ว้ ยวิธีแขง็ กร้าวรุนแรง
ไมค่ ิดถงึ ผลร้ายทจ่ี ะเกดิ ตามมา แตเ่ ดก็ อยา่ งติสตูกลบั ใช้
การปลกู ตน้ ไม้เพื่อแกป้ ัญหา และสิ่งสำ�คญั อยา่ งหน่งึ ท่ี
ในวรรณกรรมเร่ืองนี้มี คอื ความเช่ือม่ันอยา่ งแรงกล้าว่า
ความดียังมีอยู่ และศรทั ธาในความดีเหล่านั้นวา่ จะทำ�ให้
สังคมดีข้นึ ได้ทลี ะเล็กทลี ะน้อย

24

ติสตู นกั ปลูกตน้ ไม้ เป็นหนังสอื ทม่ี ผี ้กู ล่าวขาน
ทั่วโลก ต้งั แต่พมิ พ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1968 ถึงปัจจบุ ัน เปน็
หนังสอื อา่ นประกอบการเรียนของนักเรยี นภาษาฝรงั่ เศส
มากว่าย่สี บิ ป ี เป็นท่ีรจู้ กั ของนกั อ่านทัว่ โลกรุ่นแลว้ รุ่นเลา่
และสำ�นักพิมพผ์ ีเสื้อเคยแปลและจัดพิมพเ์ ป็นภาษาไทย 2
ครง้ั คร้งั แรก เม่ือปี พ.ศ. 2531 ใชช้ ่ือว่า ตสิ ตู พ่อหนู
น้ิวโปง้ เขียว แปลโดย กญั ญา ตอ่ มา เม่ือ ปี พ.ศ. 2539 ได้
แปลจากภาษาฝร่ังเศส โดย อำ�ภา โอตระกลู และเปลย่ี นชอ่ื
เปน็ ติสตู นักปลกู ตน้ ไม้ นอกจากจะมวี ิธีการเลา่ เร่ืองคล้าย
กับนิทานแตแ่ ฝงปรชั ญาท่ีลกึ ซงึ้ เอาไว้ และเปน็ วรรณกรรม
จากประเทศฝร่ังเศส เช่นเดยี วกบั เรือ่ ง เจ้าชายน้อยแลว้
ติสตู ยงั เป็นตวั แทนความดงี ามของมนษุ ย ์ เพื่อบอกกบั พวก
เราวา่ ในตัวเดก็ ๆ ทุกคนมสี ิ่งอัศจรรย์ทที่ �ำ ใหโ้ ลกน้ีดขี นึ้
ได ้ ส่งิ ดงี ามน้นั อาจจะยงั ซกุ ซ่อนในความเปน็ เดก็
ในตัวเรา หากเราจะยงั ไม่ลืม

ภาพประกอบโดย ฌาคเกอลีน ดูแอม โมรีส ดรูอง (Maurice Druon) เกดิ
ภาพจาก en.wikipedia.org ที่กรงุ ปารีส ประเทศฝรงั่ เศส เมือ่ ปี ค.ศ. 1918
เปน็ นกั เขียนทีม่ ผี ลงานโดดเดน่ และมชี ่อื เสยี ง
ต้ังแตว่ ยั หนมุ่ ไดร้ ับรางวลั กงกรู ท์ ซึง่ เปน็ รางวัล
วรรณกรรมส�ำ คญั ของฝร่งั เศส เมอื่ อายุ 30 ปี
หลังจากนั้นจงึ เขียนนิยายวทิ ยาศาสตรห์ ลายเลม่
ปี ค.ศ. 1966 เขาไดร้ ับเลือกเป็นราชบัณฑิตแหง่
ราชบัณฑติ ยสถานฝรั่งเศส และไดร้ บั แตง่ ตั้งเป็น
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรมระหวา่ งปี
ค.ศ. 1972 - 1974 ผลงานของเขามกั เป็นเร่ือง
หนักทเ่ี สียดสสี ังคม ติสตเู ร่ืองนน้ี ับวา่ เป็นผลงาน
ทส่ี ดใสท่สี ดุ ของเขา

25

ภาพจาก martineroch-studio.comวินนเี่ ดอะพหู ์ ทฉ่ี นั ชอบมากทส่ี ุดในโลกนี้Illustration by E.H. Shepard E.H. Shepard’s Original Winnie the Pooh Drawings
The original Christopher Robin with Winnie the Pooh 1926-1928ทง้ั โลกก็คือ ฉนั กบั พิกเลตไปหา
Photographs by Marcus Adams and Howard Coster -นาย และนายพูดว่า ‘อะไรซกั นิด Illustration by E.H. Shepard Harry Colebourn and Winnie on
Source : National Portrait Galleryหน่อยดีมั๊ย’ และฉนั พดู วา่ ‘เอ้อ Salisbury Plain in 1914
ฉนั ไม่รังเกยี จอะไรนดิ ๆ หนอ่ ยๆ
หรอก นายกเ็ หมอื นกนั ใชม่ ๊ัยล่ะ
พกิ เลต’ และวันน้ันก็เป็นวันแบบท่ี
วา่ มเี พลงลอยอยขู่ ้างนอก และนก
ก�ำ ลังสง่ เสียงร้อง
วินน่ีเดอะพหู ์  เปน็ เรื่องราวมิตรภาพ
ระหวา่ งเดก็ ชายครสิ โตเฟอร์ โรบิน และวนิ น่ีเดอะพหู ์
หมสี มองน้อยแสนซ่ือผู้นา่ รกั ทช่ี อบกนิ น้ำ�ผง้ึ เป็นชีวิต
จิตใจ และผองเพอ่ื นอยา่ ง หมูสชี มพพู ิกเลต ลาจอม
คร่�ำ ครวญอียอร์ เสือจอมเด้งทิกเกอร์ และบรรดา
สัตวอ์ น่ื ๆ อีกมากมาย

ในบรรดาวรรณกรรมเยาวชนแนว
จนิ ตนาการที่มตี ัวเอกเป็นสัตว์นั้น เร่อื งของหมี

นับเป็นเรื่องยอดฮติ มากทส่ี ุด แน่นอนวา่ ไม่มี
หมที ี่ไหนนา่ รักและแสนซอื่ ได้
เทา่ กบั วนิ นีเ่ ดอะพูห์อกี แลว้ ช่อื “วินน่ี” มาจากช่อื หมีทมี่ ีชวี ิตจริงๆ ของทหาร

วินน่ีเดอะพหู ์ (Winnie-the-Pooh) ชาวแคนาดานายหน่ึง ช่ือ แฮรี่ โคลบอร์น (Harry Colebourn)
เปน็ วรรณกรรมเยาวชนที่มีหมพี ูหเ์ ปน็ ตัวเอก แฮรีต่ ้งั ช่ือหมีทเี่ ขาเลย้ี งไวว้ ่า วนิ นี่ (ตามชื่อเมอื ง วนิ นีเพก ใน
แต่งโดย เอ. เอ. มิลน ์ ซึ่งเขยี นขน้ึ มาจาก ประเทศแคนาดา) ต่อมา เมอื่ แฮรี่ตอ้ งไปประจำ�การทีฝ่ รั่งเศส

นทิ านที่เขาเล่าใหล้ ูกชายฟังกอ่ นนอน โดยสัตว์ เขานำ�หมีของเขาไปฝากไว้ที่สวนสัตว์ลอนดอน ณ ท่นี ั้นเองท่ี
ตา่ งๆ ในเร่ืองล้วนมีทมี่ าจากตกุ๊ ตาสัตวข์ อง คริสโตเฟอร์ โรบนิ ไดพ้ บและหลงรักหมีวนิ น่ี จนถงึ กับเปลีย่ น

เดก็ ชายคริสโตเฟอร์ โรบนิ ผเู้ ปน็ ลูกชายทง้ั สิน้ ชือ่ ตกุ๊ ตาหมตี ัวโปรดของตวั เองจาก “เอ็ดเวิร์ด” มาเป็น “วินนี่”
สัตว์ทั้งหมดอาศัยอยู่ในป่าร้อยเอเคอร์ ซ่ึงไดร้ บั ส่วนคำ�วา่ “พูห์” มาจากช่ือหงส์ทีอ่ าศัยอย่ใู นบรเิ วณฟารม์ ของ

แรงบนั ดาลใจมาจากป่าแอชดาวน ์ เขา ปัจจบุ ัน หมีของเลน่ ของคริสโตเฟอร์ โรบนิ จัดแสดงอยทู่ หี่ อ
ในเมืองอีสต์ซซั เซก ประเทศอังกฤษ สมุดสาธารณะนิวยอรก์ ในนครนวิ ยอรก์

26

หนังสอื วางจำ�หนา่ ยคร้งั แรกเมอื่ ปี ค.ศ. 1926 มยี อดขาย ภาพจาก en.wikipedia.org/ A. A. Milne in 1922
หนงั สือสงู มากกวา่ 20 ล้านเลม่ แปลเป็นภาษาตา่ งๆ มากกวา่ 46
ภาษา จดุ เด่นอยา่ งหนง่ึ ของหนงั สือชดุ นคี้ อื ภาพประกอบอันสวยงาม Illustration by E.H. Shepard เอ. เอ. มลิ น์ หรอื อลนั
ฝมี อื ของ อ.ี เอช.เชปเพริ ด์ หรอื เออรเ์ นสต์ ฮาวเวริ ด์ เชปเพริ ์ด ซงึ่ อเล็กซานเดอร์ มลิ น์ (Alan Alexan-
เปน็ เพอ่ื นของมิลนท์ บ่ี ริษทั punch ปัจจุบัน ผลงานภาพวาดรา่ งด้วย der Milne) (18 มกราคม ค.ศ. 1882 -
ดนิ สอจ�ำ นวน 300 กวา่ ช้นิ ของเขา รวมถงึ ต้นฉบับรา่ งดว้ ยดนิ สอของ 31 มกราคม ค.ศ. 1956) เป็นนักเขียน
วนิ นี่เดอะพหู ์ จัดแสดงอยู่ทพ่ี พิ ิธภณั ฑ์วกิ ตอเรียและอลั เบริ ท์ ชาวองั กฤษ โดยพอ่ เป็นเจา้ ของโรงเรียน
(Victoria and Albert Museum) ในกรุงลอนดอน  “Henley House” ในวยั เรยี น อลันได้
วินน่ีเดอะพูห์ โดง่ ดงั ไปทัว่ โลกเมื่อวอลต์ ดสิ นยี ์ ซือ้ ร้จู ักกบั อาจารยช์ อื่ เอช จี เวลส์ (H.G.
ลขิ สิทธิ์หมีพูห์และนำ�ไปสร้างการต์ นู บนแผน่ ฟลิ ์มในปี ค.ศ. 1996 Wells) ซ่ึงมีชื่อเสียงในฐานะนักเขียน
พร้อมกับผลิตภณั ฑ์มากมาย ทำ�ให้หมพี หู เ์ ปน็ ตัวการ์ตูนยอดนยิ ม และเปน็ เพือ่ นสนทิ กนั ท�ำ ใหเ้ ขาเกิดแรง
อันดับ 2 ของเด็กอเมริกันรองจากมิกกี้ เมา้ ส ์ บันดาลใจ อยากเปน็ เช่นเดียวกับเวลส์
ส�ำ หรบั ภาษาไทย ได้รบั การแปล โดย “ต้อยตงิ่ ” ซ่งึ แปล บา้ ง หลังจากเรยี นจบ อลันเรยี นตอ่ ที่
บางตอนจากหนังสอื หมพี หู ท์ ัง้ 2 เลม่ รวมเป็นเล่มเดยี ว ชือ่ ว่า โรงเรยี นเวสต์มินสเตอร์ (Westminster
หมีป๊กุ ลุกผจญภัย จัดพมิ พค์ ร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2522 โดยชมรม school) และแคมบรดิ จ์ (Cambridge)
เด็ก ตอ่ มาไดร้ ับการแปลอกี คร้ังหนง่ึ ในปี พ.ศ. 2535 สำ�นวนแปล สาขาคณิตศาสตร์ ผลงานหนังสือเลม่
โดย แกว้ ค�ำ ทิพย์ ไชย แปลจากหนงั สอื เรอ่ื ง Winnie-the-Pooh แรกของเขาคือ “Lovers in London”
(ค.ศ. 1926) โดยใช้ชอ่ื เร่อื งว่า วนิ นี่ เดอะ พหู ์ จัดพมิ พ์โดย เมอ่ื ปี พ.ศ. 2448 แตไ่ มป่ ระสบความ
ส�ำ นักพิมพ์คลาสสิก และสำ�นวนแปลลา่ สุด แปลโดย ธารพาย ุ ซงึ่ สำ�เร็จ เขาจงึ ขอซ้ือลขิ สิทธค์ิ ืนจากส�ำ นัก
แปลท้ัง 2 เลม่ เต็มฉบับ ในช่ือว่า วินนีเดอะพูห์ พมิ พ์ เพ่ือปอ้ งกันการน�ำ มาตพี มิ พใ์ หม่
(แปลจากเร่ือง Winnie-the-Pooh) และ บา้ น เมอื่ เขาเปน็ นักเขยี นทม่ี ีชอ่ื เสยี งใน
มุมพหู ์ (แปลจาก The House at Pooh Corner) อนาคต ตอ่ มาจึงเปน็ นักเขยี นใหก้ ับ
จัดพิมพ์โดยส�ำ นกั พิมพ์แพรวเยาวชน เมอ่ื ปี พ.ศ. 2548 นิตยสาร “Punch” หลงั จากนัน้ เขาเรมิ่
เขยี นเรอ่ื งส�ำ หรบั เดก็ ชอ่ื “When We
ภาพจาก หนังสือ วินนีเดอะพู ์ห (ฉบับสมบูร ์ณ) ำส�นัก ิพม ์พ แพรวเยาวชน Were Young” ออกจ�ำ หน่ายในปี พ.ศ.
2467 ซึง่ อลันให้ อ.ี เอช. เชพเพิรด์
(E.H. Shepard) วาดภาพประกอบให้
และไดร้ ับการตอบรบั จากท่วั โลก

27

บปึง่าหใหญญา้ ่ เขาน่ีแหละ ท่ีทำ�ให้หมู่บา้ นของเรา
กลายเปน็ มุมหนึง่ อนั งดงามแหง่ โลก
“ผม” ตวั ละครหลกั ที่ เขาควรจะเติบโตไปเป็นผถู้ ่ายทอดส่ิงท่มี ี
พาผูอ้ ่านไปพบโลกในวยั เยาว์ เสน่ห์มาชูใจคน ความคิดฝนั ของเขาพเิ ศษ
ของเขา ท่ไี ด้เรยี นรู้โลกของ สุดเท่าทเ่ี ดก็ คนหน่ึงจะเคยมี แผน่ ดนิ ทอง
ธรรมชาตผิ ่าน “โทน” ตวั ละคร ของไทยนแ่ี หละทีห่ ล่อหลอมเขา...
อกี ตัวท่มี ีบทบาทสำ�คัญในการ
 ...เรือ่ งของเขาเหลวไหลใครว่า
เดนิ เรื่อง “บึงหญา้ ปา่ ใหญ่” เปน็ เขาทำ�ใหเ้ รารจู้ ักสายนำ้�ลำ�แคว
เร่อื งเลา่ ผ่านประสบการณ์ของ รู้รักแมห้ มไู่ มส้ ายลม เราเขา้ ใจฟา้ ฝน
โคลนเหลว กเ็ พราะเขาด้วยมใิ ช่หรือ
“ผม” เรื่องราวเรม่ิ ต้นในวนั ทีโ่ ลก เราเป็นหนึ่งเดียวเก่ยี วพนั เราเอนองิ
ของผมกวา้ งขึ้นกว่าคำ�วา่ บ้าน กนั อยู่ เราเรียนรจู้ ากกนั และกัน...

วันท่ผี มเดนิ ไปโรงเรยี นในวันแรก หลายคนทไ่ี ดอ้ า่ นบึงหญา้ ป่าใหญ่ มัก
จนกระท่งั ผมเดินทางมาเมือง ตดิ ใจตวั ละครเด่นที่ชอื่ “โทน” เพราะความ
ใหญ่ และกลบั ไปเยอื น เน้ือหา กลา้ หาญและรอบรู้ทางด้านการใช้ชวี ิตทส่ี ำ�คญั
คือคอยช่วยเหลือ “ผม”
รายละเอียดภายในเรอ่ื งแสดงถงึ โทนมีตัวตนจรงิ หรอื ไมอ่ ยา่ งไรนั้น
ความรกั และผกู พันกนั ระหวา่ ง นักเขยี น “เทพศริ ิ สุขโสภา” เล่าใหฟ้ งั เมือ่
เพอ่ื น รุน่ พ่ีรุ่นนอ้ ง ครอบครัว ทมี งานหนังสือไดม้ ีโอกาสสมั ภาษณพ์ ิเศษเพ่อื ลงประกอบ
โดยมฉี ากเปน็ หมูบ่ า้ นชนบท เน้ือหาเล่มนโ้ี ดยเฉพาะวา่ “มีจรงิ สไิ อ้โทนน่ะ แตม่ ันไม่ได้
ทอ่ี ดุ มสมบูรณ์ มีบึงหญา้ และ ชอ่ื นีห้ รอกนะ เรายงั คบหากับมนั มาตลอดเลย แตพ่ ฤตกิ รรมเกเร หรอื ชอบ
ป่าใหญ่ให้เดก็ ๆ ได้เรยี นรู้และ เทยี่ วเลน่ หนีโรงเรยี นน้นั จรงิ ๆ แล้วมาจากหลายๆ คน แต่เราเอามาหลอม
เติบโตไปกับมัน รวมกนั ให้เป็นไอ้โทนคนเดยี วเพ่ือใหเ้ ห็นภาพตัวละครชดั เจนขน้ึ เหมอื น
เวลาเขยี นรปู ตน้ ไม้ คุณเขียนใบไม้ทกุ ใบไม่ได้ กต็ อ้ งเขยี นทรงพมุ่ มนั เขยี น
เคา้ โครงใหเ้ หน็ ภาพรวมๆ เป็นตน้ ไม้ตน้ หนึ่ง”
“หลายๆ อย่างในเร่ืองเป็นจรงิ ทัง้ นน้ั เปน็ หมบู่ า้ นจริงๆ ทกุ วนั นี้ก็
ยงั อยู่ มนั เปน็ หม่บู า้ นทม่ี ีเสน่ห์มาก ล�ำ นำ้�ก็ยงั สวย บึงกม็ ีจรงิ ๆ ป่าจรงิ ๆ
ผ้เู ลา่ กเ็ ปน็ ตวั เราจรงิ ๆ”

28

เทพศิริ พูดถงึ เพอ่ื นคนนี้ตอ่ อกี วา่ กบั ปู่ไปทางล�ำ น้ำ�ในตอนกลางคนื โดยอาศัยดาวน�ำ ทาง
“เราขอบคณุ มนั เพราะเรารู้วา่ เมอ่ื เราโต เทพศิริพูดถงึ ตรงนว้ี า่
ข้นึ มา มันมีบุญคณุ กับเรามาก มากกว่าครทู ี่สอน “ตอนโตแล้วเราเคยซือ้ เรือจากแพร่ ปล่อย
เราอา่ นออกเขยี นไดอ้ ีก เพราะมนั เลา่ ถงึ สิ่งที่เราท�ำ ลอยท่ลี ำ�น้ำ�ยม จนไปถึงบ้านเราเลย กลางคืนคอยดู
ไม่ได้ ไม่มีเขยี นบอกไว้ในหนังสอื และดว้ ยความที่ มนั มาแบบทีป่ ูบ่ อก คอื กลางคืนมันมืดใช่มยั้ มนั มาได้
เราเป็นคนข้เี ลน่ ใชม่ ั้ย สองสามปที แ่ี ลว้ ไปเจอกนั ไง ใช้ดาวนำ�ทาง เหมอื นในเรื่อง มนั เท่ มันสวยมาก”
เรากไ็ ปกราบมัน บอกมันวา่ ครูครับ ครูใหค้ วามรู้ ถามเทพศริ วิ ่าตัวหนังสือในเร่ืองเขียนได้
ผมมากครับ ผมเอาของขวัญมาให้ครูครับ (หวั เราะ) ละเอียดลึกซึ้ง ราวกับเห็นภาพขณะทอี่ า่ น ใช้กลวธิ เี ขยี น
แลว้ เราก็เอาซองใส่เงินและเขียนจดหมายขอบคณุ ไดอ้ ยา่ งไร เทพศิรติ อบว่า
มัน โหย บรรยายอย่างดี ซาบซง้ึ เลยล่ะ พอกลับไป “เราเขียนเรื่องเหมอื นเขยี นรูป ใชต้ าเหน็ แต่
เจอกนั อีก เราก็เลยถามวา่ มงึ เปิดซองแล้วใชม่ ย้ั ใช้ใจสัมผสั ค�ำ มันมาจากความทรงจ�ำ มาจากความรัก
มนั กเ็ ออ แล้วก็ถามว่า มงึ อา่ นทกี่ เู ขยี นหรอื เปลา่ ในภาษา ไม่ได้มาจากอย่างอน่ื เลย และบงึ หญา้ ป่าใหญ่
มึงว่าไง ก็พยายามถามด้วยนะ มนั นิ่งไปนาน มัน นีม้ ันเนน้ เรอ่ื งของภาษา เรอื่ งของการอ่าน เราเติบโต
พยายามไมพ่ ูด แตแ่ ลว้ มันกห็ ลุดออกมา (น�้ำ เสยี ง มาอยา่ งนี้ สมยั เดก็ ๆ มีแบบเรียนเลม่ เกา่ กท็ ่องไปสิ
เปลี่ยนไป) กูจะรู้ได้ไง กอู า่ นไม่ออก โอ้โห เราง้ี ดงั ท้ังศาลาเรยี น ท่เี รยี นรว่ มกันทุกชนั้ ฝากนั้ ก็ไม่มี ทกุ
สะเทือนใจมากเลย” ห้องกไ็ ดย้ ินหมด มนั ก็จดจ�ำ ได้
“แต่เขาเป็นคนเท่นะ ถงึ วัยจะรว่ งโรย แต่ ...ที่ท่า นา่ ซอ้ื ซื่อดี ส�ำ ลี ส�ำ รบั ค�ำ นบั น�ำ้ คา้ ง ไหว้วาน
มันเหนือชน้ั จริงๆ มันกร้านแดด กร้านลม ยังเข้า ท�ำ งาน เสาเรือน เกบ็ ไว้ ดอกไม้ มะไฟ ต้งั ใจ จดจ�ำ
ป่า ไปเก็บยางไม้ ยังกอ่ ฟนื ก่อไฟ ฉากและเร่ือง ทำ�นา ทำ�สวน ใสป่ ยุ๋ กระเป๋า เตา่ ทอง ยิงเป้า
เลา่ มนั เหนอื กวา่ บงึ หญ้าป่าใหญ่อีก” ….คำ�เป็นอยา่ งนี้ แล้วเรากอ็ ่าน อา่ นได้กอ็ า่ นเร็วขน้ึ
“แต่มันตายไปเม่ือปที ี่แล้วนี่เอง” คนอา่ นไม่ออกมันกท็ ่องไป แต่ใหช้ ม้ี นั ช้ไี มอ่ อกหรอก
บงึ หญา้ ป่าใหญ่ ปรากฏตวั ขน้ึ ครงั้ แรก เหมอื นอยา่ งไอโ้ ทน”
โดยการพมิ พเ์ ปน็ ตอนๆ ในนิตยสารสตรีสาร และ บงึ หญา้ ป่าใหญ่ ถูกเลอื กให้เป็นหน่งึ ในหนังสือ
ตีพิมพร์ วมเลม่ ครั้งแรก ปี พ.ศ. 2522 ดี หน่งึ ร้อยเลม่ ที่เด็กไทยและเยาวชนควรอา่ น
มีฉากๆ หนงึ่ ทผ่ี มและเพอ่ื นๆ ลอ่ งเรือ

ภาพจาก จุดประกาย วรรณกรรม เทพศิริ สขุ โสภา เกดิ ท่ีหมบู่ ้านยา่ นยาว เมือ่ ปี พ.ศ. 2486 เปน็ ทั้งนักเล่า
ปีที่ 16 ฉบับท่ี 6309วันอา ิทตย์ ี่ท 16 เมษายน พ.ศ. 2549 นิทาน ศลิ ปิน และนักเขียน เขาเรยี นจบคณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ จาก
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ผา่ นการทำ�งานศิลปะหลากแขนงมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2511 ไม่วา่ จะเปน็
ดนตรี การแสดง สถาปัตยกรรม จติ รกรรม ฯลฯ
เทพศิรสิ นใจท�ำ งานเกีย่ วกบั เด็กโดยถา่ ยทอดผา่ นศลิ ปะหลายๆ แขนง ท้ังภาพ
วาด งานเขียน และหนังสอื ผลงานหนงั สอื ของเขานน้ั ล้วนแต่โด่งดังและได้รบั การกล่าวถึง
ไดแ้ ก่ ของเล่นเดินทาง บึงหญ้าปา่ ใหญ่ กลบั ทางเก่า และร่างพระร่วง
ในวยั 71 ปี เทพศิรยิ ังแข็งแรง กระฉบั กระเฉง ยังคงวาดภาพ เล่านทิ าน ชอบ
เขียนดรออ้ิงภาพเหมือนแจกจา่ ยคนรูจ้ ัก และยงั คงมโี ครงร่างและขอ้ มูลสำ�หรับนยิ าย
เก่ยี วกบั เดก็ เล่มใหม่เรอ่ื ง “เมฆกบั แมง” ทเ่ี ขาก�ำ ลังจะลงมือเขยี นอีกไมน่ าน
ปจั จุบนั อาศัยอยใู่ นเชียงใหม่

29

ขวญั สงฆ์ เด็กกำ�พร้าคนหนึ่งถกู น�ำ มาทิง้ ไว้
ท่ีลานวดั หลวงตา เจา้ อาวาสเห็นจึงเอ็นดู
น�ำ มาเลีย้ ง ตง้ั ช่ือว่า “ขวัญสงฆ์” เดก็ ชาย
เติบโตภายใตค้ ำ�สอนของหลวงตา แต่ก็
ซกุ ซนตามประสา จนถกู หลวงตาทำ�โทษ
เลยหนไี ปผจญภัยหาแม่ เจอแกง๊ ค์ลวง
เด็กในเมืองหลวง โชคดที กี่ ลบั ลำ�ได้ รบี
กลบั มาหาหลวงตา เมอื่ หลวงตาตัดสินใจ
ใหข้ วญั สงฆไ์ ปเปน็ บตุ รบญุ ธรรมของครทู ่ี
โรงเรยี น เพ่อื เรียนร้ชู วี ติ แบบฆราวาส แต่
เมือ่ พอ่ แม่บญุ ธรรมมีลูกของตวั เอง เจา้
ตัวกลบั น้อยใจ เตลิดไป ด้วยค�ำ พร�ำ่ สอน
ของหลวงตา กลายเป็นความรัก ความ
ผกู พนั ระหวา่ งบุคคลทั้งสอง กระท่ังหลวง
ตาอาพาธ เสียชีวิตลง ขวญั สงฆจ์ ึงได้บวช
ทดแทนคณุ  

เมือ่ จะเป็นเลอื กได้ไมใ่ ช่หรือ
มีสองมือสรรค์สรา้ งไปให้เตม็ ท ่ี

เมื่อเลอื กเปน็ แลว้ เป็นเต็มชวี ี
ทกุ นาทคี อื ชีวิตลิขติ ตน

นวนยิ ายเร่อื งนี้ ตีพมิ พ์คร้งั แรก
เป็นตอนๆ ในนิตยสารสกลุ ไทย เมือ่ รวม
เล่มโดยส�ำ นกั พมิ พค์ มบาง ได้รบั รางวลั
หนังสอื ดเี ด่น งานสัปดาหห์ นงั สือแห่งชาติ
ประจำ�ปี พ.ศ. 2552 กลุ่มหนงั สือสำ�หรับ
เดก็ วัยร่นุ อายุ 12-18 ปี และไดร้ ับการ
คัดเลอื กเปน็ หนังสอื อ่านนอกเวลาในระดบั
มธั ยมศึกษาตอนต้น

30

ภาพจาก www.combangweb.com จากความประทบั ใจเมอ่ื ครง้ั อ่านเร่ืองส้นั
บท ัสมภาษณ์ในนิตยสารกุลสตรี ัปกษ์ห ัลง เมษายน พ.ศ. 2551 “เรือ่ งนี้พระเอกชื่ออา้ ยเล็ก” ของ ศุภร บนุ นาค ตัง้ แตส่ มยั
คอลัมน์ ้ตนกล้าแ ่หงการเ ีขยน โดย ชามา ที่ ชมัยภร แสงกระจา่ ง ผเู้ ขยี น อายุไดเ้ พียง 12 ขวบ ชอบ
มากถึงขน้ั ที่ว่า พออ่านจบแล้ว ตอ้ งเท่ียวหาแกงหนอ่ ไมก้ ะทิ
มากินตาม “อา้ ยเล็ก” ตัวเอกของเร่ือง ทงั้ ท่ีไม่เคยกินมา
กอ่ นในชวี ิต เร่อื งราวของเด็กมีปัญหาที่ได้รับความเมตตา
จากหลวงตาฝงั ใจนับแต่น้นั เมอื่ ผนวกกบั ความสนใจศึกษา
ธรรมะเปน็ การสว่ นตวั โดยเฉพาะเม่อื ใสบ่ าตรเป็นกิจวัตร
ไดเ้ หน็ เด็กวัดเดนิ ตามพระสงฆ์ทุกวนั จงึ กลายเปน็ ทมี่ าของ
“ขวญั สงฆ”์ และด้วยความ “อยากลอง” ในการใชร้ ปู แบบ
การเขยี นท่ีแตกตา่ ง จงึ ทำ�ให้เร่อื งน้ีมจี ดุ เด่นไมเ่ หมอื น
นวนยิ ายเรอื่ งอ่ืนๆ ตรงทเ่ี ขียนเปน็ กลอนแปด แต่ไมไ่ ด้วาง
รปู แบบให้เข้าใจวา่ เปน็ กลอน อยา่ งทเี่ คยเหน็ ในหนงั สือทว่ั ไป
หากใช้วธิ ีเขยี นเรียงติดกันไปเหมือนร้อยแกว้ ปกติ เมื่อดู
เผินๆ ผูอ้ า่ นหลายคนถึงกับออกปากว่า ไม่เคยรู้เลยว่านีค่ ือ
บทร้อยกรองด้วยซำ้ �


ชมัยภร แสงกระจา่ ง (บางคมบาง) หรือ
นามปากกา ไพลิน รุ้งรัตน์ / บุณฑรกิ า เกิดเมอ่ื วันท่ี 5
มิถนุ ายน พ.ศ. 2493 ท่ีจงั หวดั จนั ทบุรี จบการศกึ ษาจาก
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย เร่ิมงานเขียน
ครง้ั แรกด้วยบทกวีและเร่ืองส้ันเมอ่ื ครง้ั ยังเรียนชั้นมัธยม
เร่มิ งานวิจารณ์คร้ังแรกเมื่อจบปรญิ ญาตรี เปน็ อดีตนายก
สมาคมนกั เขียนแห่งประเทศไทย ปัจจุบนั เขยี นนวนิยายใน
นติ ยสารสกลุ ไทย และขวัญเรอื น มผี ลงานมากมาย อาทิ
บนั ทกึ จากลกู (ผ)ู้ ชาย บ้านไรเ่ รอื นตะวัน จดหมายถึงดวงดาว
พระอาทิตยค์ ืนแรม รบิ บนิ้ เขยี วกบั กลอ่ งกระดาษแดง
ผลิบานในวนั รอ้ น ฯลฯ

31

ต่อจากนน้ั พวกหนหู นูกร็ ชู้ ดั
โทรทัศนน์ ัน้ ไมม่ ีประโยชนแ์ น่
หนังสอื สิเปรยี บไดเ้ หมอื นเป็นเพอ่ื นแท้
เด็กยงิ่ รกั พอ่ และแม่มากทุกคน

โรงงานช็อคโกแลต็ มหศั จรรย์

เร่อื งราวการผจญภัยของ ตอนเดก็ ๆ คุณเคยฝันอยาก
เด็ก 5 คน ประกอบดว้ ย เปน็ เจา้ ขอโงรรอ้าัลนดข์นดมาไหหล์ ม ?
เนรมติ ความ
ออกสั๊ ตสั๊  กล๊ปู  เด็กชายจอม ฝนั ของเด็กๆ กลายเปน็ จรงิ ในหนังสือ
ตะกละ, เวรกู า้  ซ้อลท ์ เด็กหญิงทถี่ กู เรอ่ื งนี้ ซ่ึงไม่ใชแ่ ค่การเปน็ เจา้ ของ
รา้ นขนม แต่ถึงข้นั เปดิ โรงงานผลติ
พอ่ แมต่ ามใจจนเคยตัว, ไวโอเลต็   ชอ็ คโกแลต็ สารพดั ชนดิ ใหเ้ ขา้ ชมกัน
โบรีการด์  เด็กหญงิ ท่ีเคยี้ วหมากฝรง่ั เลยทเี ดยี ว

ตลอดท้ังวนั , ไม้ค ์ ทีว ี เด็กชาย โรงงานชอ็ คโกแล็ตมหัศจรย์ (Charlie and the Chocolate
ผไู้ มท่ �ำ อะไรนอกจากดูโทรทัศน์ Factory) เป็นวรรณกรรมเยาวชนแนวแฟนตาซี พมิ พค์ ร้งั แรกในปี พ.ศ.
อย่างเดยี ว และชาล ี บ๊คั เกต็  เดก็ 1964 เป็นผลงานระยะแรกๆ ท่ีโรอลั ด์ ดาห์ล เรมิ่ หนั มาเขยี นเรอ่ื งส�ำ หรบั
ชายวรี บรุ ุษผยู้ ากจน ท้งั หมดโชคดี เดก็ หลังจากท่ไี ดเ้ ขยี นเรอ่ื งสน้ั และเรอ่ื งขนาดหลายตอนจนประสบความ
ได้รบั  ‘ตั๋วทอง’ ใหเ้ ข้าไปเยี่ยมชม สำ�เร็จแล้ว ซ่งึ นานถงึ  20 ปี จินตนาการของโรอัลด์ ดาห์ลได้ก้าวล้ำ�ลว่ งหนา้
โรงงานชอ็ คโกแลต็ อนั แสนมหศั จรรย์ นานนบั สิบปี แตข่ ณะเดียวกัน ผ้อู ่านยคุ นนั้ กย็ ังรู้สึกว่าเปน็ เรื่องสนุกและ
เข้าใจได้ แม้จะลำ้�สมยั ทว่าไมล่ ำ้�หนา้ เกนิ ไปจนอ่านไมร่ ู้เรื่อง หรอื จนิ ตนาการ
ซ่ึงให้ทงั้ คณุ และโทษ แปลกประหลาดจนตามไม่ทนั ความคดิ ของโรอลั ด์ ดาหล์  ทไี่ มเ่ ห็นด้วยใน
การใหเ้ ด็กดโู ทรทัศนอ์ ยา่ งพร่ำ�เพรื่อ เร่ิมตน้ จากตอนนัน้ และความคดิ นีก้ ย็ งั
อยใู่ นวรรณกรรมเยาวชนเรื่องอืน่ ๆ ของเขาต่อมาจวบจนวาระสุดทา้ ย

32

สิ่งท่ีคอ่ นข้างแปลกของเร่อื งน้ีคือ โรอัลด์ ดาห์ล ได้ โรอัลด์ ดาห์ล (Roald ภาพจาก commons.wikimedia.org
แสดงความชืน่ ชมการมีสัมมาคารวะ ซึง่ ไมค่ ่อยพบมากนกั ในนัก Dahl, ค.ศ. 1916 - ค.ศ. 1990) This image is available from the United States Library
เขียนตะวนั ตก รวมไปถึงการต่อตา้ นการเคย้ี วหมากฝร่งั ซง่ึ ก�ำ ลัง เกิดในแควน้ เวลส ์ ครอบครัวของเขา of Congress’s Prints and Photographs division under
เป็นท่ีนยิ มอย่างมากในยคุ นนั้ ยงั ไม่รวมถึงวิธีการเขยี นท่ีเต็มไป มเี ช้อื สายนอรเ์ วย ์ บิดาเป็นนายหนา้ the digital ID van.5a51872
ด้วยค�ำ สัง่ สอนอยา่ งตรงไปตรงมา แต่กลับอา่ นสนุกและไดร้ บั การ เรอื สนิ คา้ ผปู้ ระสบความสำ�เร็จ แตม่ า
ตอบรบั เปน็ อย่างดีย่ิงจากผอู้ า่ นทุกเพศและทุกวยั ดว่ นเสยี ชีวิตเมอ่ื ดาห์ลอายุไดเ้ พยี งสี่
The Gremlins ขวบ ชีวิตอันทรหดในโรงเรยี นประจำ�
โรงงานชอ็ คโกแล็ตมหัศจรรย์ ในดารบ์ ีไชร์ และโรงเรยี นกนิ นอนท่ี
เวลสแ์ ละอังกฤษนเี่ อง เปน็ ที่มาให้
ไดร้ ับการดดั แปลงเป็น เขาเขียนเรอื่ งเกย่ี วกบั ตวั ละครเด็ก
ภาพยนตรห์ ลายคร้ัง ครง้ั ลา่ สดุ ตอ่ สกู้ บั ผใู้ หญใ่ จโหดรา้ ย
ดาหล์ เริ่มเขียนหนงั สอื
ใชช้ ่อื วา่  Charlie and the เด็กเลม่ แรก คอื The Gremlins
Chocolate Factory โดย (ค.ศ. 1943) ซงึ่ มีผหู้ ยบิ มาสรา้ งเป็น
ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ก�ำ กับ ภาพยนตร ์ เช่นเดยี วกับเร่ืองอืน่ ๆ
โดย ทมิ เบอรต์ ัน เข้าฉายครงั้ ของเขา ได้แก่ มาทิลดา นักอา่ นสดุ
แรกในประเทศไทย เม่ือวนั ที่ วเิ ศษ (Matilda) พ้ีชยกั ษ์ (James
and the Giant Peach) นอกจาก
1 กันยายน พ.ศ. 2548 นยี้ ังมลี ะครซรี ีสอ์ เมรกิ นั ทส่ี รา้ งจาก
เรื่องสัน้ ของเขา 2 เล่ม คือ Some-
one Like You (ค.ศ. 1954) และ
Kiss Kiss (ค.ศ. 1959)

33

เรอ่ื งราวการผจญภัยไปในโลกแหง่ เวทมนตร์
ของพ่อมดน้อย นามแฮร์ร่ี พอตเตอร์ เดก็
ชายผ้มู รี อยแผลเปน็ รปู สายฟ้าบนหนา้ ผาก
และเหล่าเพ่ือนรกั รอน วีสลยี ์ และเฮอรไ์ ม
โอนี เกรนเจอร์ ในโรงเรยี นเวทมนตรฮ์ อก
วอตส์ และการต่อสูเ้ พอ่ื ความถูกตอ้ งกับลอรด์
โวลเดอมอร์

ไม้ฮอลล่ีและขนนกฟีนกิ ซ์ ยินดีตอ้ นรับสู่โลกแห่งเวทมนตร์ !
สิบเอด็ นว้ิ ดีและนมุ่ แฮรี่รบั ไม้ เม่อื คณุ เปิดหนังสอื เล่มนแ้ี ล้วกเ็ ท่ากบั
มาถอื ไว้ เขารสู้ ึกถึงความอบอุน่ วา่ จินตนาการของคุณจะถกู เปดิ กว้างจนหลดุ
ท่เี กดิ ขึน้ ทันทที นี่ ิว้ เขายกไมข้ นึ้ เหนอื เข้าไปในอีกโลกหนึ่งเลยทเี ดยี ว เร่อื งมันเร่ิมต้น
หัววาดมันลงมาผา่ นอากาศทคี่ ลงุ้ ต้งั แตป่ ี ค.ศ. 1990 ขณะที่นักเขียนหญิงคน
ด้วยฝนุ่ แล้วประกายสีแดงและทอง หนงึ่ ชื่อวา่ เจ. เค. โรว์ลง่ิ อยบู่ นรถไฟระหวา่ ง
ก็พุ่งออกมาจากปลายไมเ้ ป็นสายยาว สถานีแมนเชสเตอร์ และคงิ สค์ รอสในลอนดอน
เหมอื นดอกไมไ้ ฟ ล�ำ แสงส่งประกาย นั้น ความคิดเกย่ี วกบั เดก็ กำ�พร้าผ้คู น้ พบวา่ เขา
คอื พ่อมดก็แวบเข้ามาในหัว เธอรบี ตรงกลบั
ระยบิ ระยบั ตอ้ งผนัง บ้านและบันทึกความคดิ นีล้ งบนกระดาษทนั ที
และแฮรร์ ่ี พอตเตอร์ไดถ้ อื กำ�เนดิ ข้นึ จากตอน
นนั้ ก่อนจะกลายร่างเปน็ นวนิยายชอ่ื ดงั ซ่ึง
เปลีย่ นชีวติ ของโรว์ลิ่งไปตลอดกาล !

The Hogwarts Potions Room
at Warner a Brothers Studio

แฮร์ร่ี พอตเตอร์

34

หนงั สือทงั้ 7 เลม่ ถูกน�ำ ไปสร้างเปน็
ภาพยนตร์โดยวอร์เนอรบ์ ราเธอร์ส จำ�นวน 8 ภาค
(เล่มท่ี 7 แบ่งเปน็ 2 ตอน) กลายเปน็ ชดุ ภาพยนตร์
ที่ท�ำ รายได้สูงสุดตลอดกาล นอกจากนี้ ยังได้มีการ
แฮรร์ ่ี พอตเตอร์กบั ศิลาอาถรรพ ์ เปน็ ผลงาน ผลิตสินค้าอีกจ�ำ นวนมาก รวมถงึ สถานทสี่ �ำ คัญที่
เล่มทีห่ นึ่งของชุดได้โอกาสตีพมิ พค์ รั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. เก่ยี วขอ้ งก็สรา้ งปรากฏการณแ์ ละกระแสนยิ มอยา่ ง
1997 ดว้ ยยอดพิมพต์ �่ำ กวา่ 1,000 ฉบบั โดยเจ้าของ กว้างขวาง ตั้งแตร่ ้านกาแฟ “ดเิ อละแฟนทเ์ ฮาส”์
ส�ำ นักพมิ พ์ขอใหโ้ รว์ลง่ิ ใชน้ ามปากกาเพ่ือไม่ใหน้ กั อ่าน (Elephant House) ในเอดนิ บะระซ่งึ โรวล์ ิ่งใช้เปน็
รู้สกึ วา่ เปน็ งานของผูห้ ญงิ โดย เจ. มาจากช่ือหนา้ และ สถานท่ีนัง่ เขียนต้นฉบับส่วนแรก กลายเป็นสถานที่
เค. มาจากเคธลนี ซ่ึงเป็นชอื่ ของยา่ เธอนั่นเอง
ท่องเทีย่ วท่ีบรรดาสาวกของพอ่ มดน้อยตอ้ งไปเยอื น
หลังจากน้ัน หนังสือนวนิยายแฟนตาซีชุดน้ีซ่งึ มี และยงั มสี ถานท่ถี า่ ยทำ�ภาพยนตรท์ ง้ั 7 ภาคท่ี
ทง้ั หมด 7 เล่มกไ็ ด้รบั ความนยิ มอย่างลน้ หลาม แม้ว่าจะ สตดู ิโอวอรเ์ นอร์บราเธอร์ส (The making of Harry
มีคำ�วิจารณ์และความกังวลถงึ โทนเรื่องทมี่ ืดมน แตก่ ย็ ัง Potter Studio Tour) เมือง Watford ในลอนดอน
สามารถสรา้ งยอดขายมากกวา่ 450 ลา้ นเลม่ ทั่วโลก (นบั และสวนสนุกแฮรร์ ี่ พอตเตอร์ (The Wizarding
ถึงเดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. 2554) และแปลเป็นภาษาต่างๆ World of Harry Potter) ในยนู เิ วอร์แซล ออรแ์ ลนโด
67 ภาษา ท�ำ ให้โรวล์ ง่ิ กลายเป็นนกั เขยี นที่มผี ลงานท่ี รสี อรต์ (Universal Orlando Resort) เมือง
ไดร้ บั การแปลเปน็ ภาษาอ่นื มากท่สี ดุ ในโลก หนังสือเล่ม ออร์แลนโด รฐั ฟลอรดิ า สหรฐั อเมริกา ซ่ึงเนรมติ
สดุ ท้ายของชุดยังท�ำ สถิตเิ ป็นหนังสอื ทจ่ี �ำ หน่ายหมดเร็ว ฉากตา่ งๆ ในโลกแหง่ เวทมนตร์ให้จับต้องได้
ท่สี ดุ ในประวัติศาสตร์อกี ด้วย ไม่ว่าจะเปน็ ปราสาทฮอกวอตส ์ หมู่บา้ นฮอกส์ม้ดี

กระท่อมแฮกริด รถไฟเหาะมงั กร ฯลฯ นอกจากนี้
ชานชลาที่ 9 ¾ ซ่งึ เป็นสถานที่กน้ั ระหวา่ งโลกมนษุ ย์
กับโลกแหง่ เวทมนตร์ เพือ่ เดินทางไปยังโรงเรยี น
ฮอกวอตส์ ซึ่งมีต้นแบบมาจากสถานรี ถไฟคงิ ส์
Harry Potter and the Sorcerer’s Stone ครอส ในกรุงลอนดอน ยังเปดิ เปน็ ร้านคา้ แฮร์รี่
พอตเตอร์ ข้นึ เพื่อขายสนิ คา้ เก่ยี วกับหนังสอื และ
ภาพยนตรช์ ่ือดังอกี ด้วย

35

ภาพจาก HILARY Magazine โจแอนน์ โจ โรวล์ ่ิง (Joanne Jo หนงั สอื แฮรร์ ี่ พอตเตอร์ ได้รับรางวัลมาแลว้
Illustration by Mary GrandPre’Rowling) หรือนามปากกา เจ. เค. โรว์ลิ่ง เกดิ มากมาย มอี ิทธิพลตอ่ วงดนตรรี ็อกของกล่มุ วยั รุน่ ชายหลาย
เมือ่ วนั ท ี่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1965 (วนั เดียว รอ้ ยวง วงซงึ่ เปน็ ท่ีรู้จักมากทส่ี ุดคอื วง “แฮรร์ ่ีแอนดเ์ ดอะ
กบั วนั เกิดแฮรร์ ี่ พอตเตอร์) เขยี นหนังสือเร่อื ง พอตเตอร์ส” ซ่ึงเปน็ วงดนตรีอนิ ดร้ี ็อกท่ีนำ�เน้อื หาบางสว่ นใน
แรกชือ่ ว่า Rabbit เม่ืออายุเพยี ง 5 ขวบ จบ หนงั สอื มาแต่งเป็นบทเพลงแบบเรยี บง่าย นอกจากน้ี ค�ำ วา่
ปริญญาตรดี า้ นภาษาฝรั่งเศสและวรรณกรรม “มักเกลิ้ ” (Muggle) ซ่ึงหมายถงึ มนษุ ยท์ ี่ไมม่ ีเวทมนตร์ ยังได้
คลาสิกท่มี หาวิทยาลยั เอ็กเซเตอร ์ รบั การบรรจุลงในพจนานกุ รมภาษาองั กฤษ ฉบับออกซฟ์ อร์ด
หลังจากยา้ ยไปโปรตุเกส โรวล์ ง่ิ และนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั จำ�นวนหนึง่ ยงั พยายามเลยี นแบบ
แตง่ งานและให้ก�ำ เนิดลูกสาวชอ่ื เจสสิกา้ การเลน่ กีฬาควดิ ดชิ  กฬี ายอดฮิตในโลกเวทมนตร์ โดยใช้หว่ ง
ก่อนแยกทางกับสามี ต่อมา เธอยา้ ยไปอยู่ ตดิ กับทอ่ ใช้ลกู บอลขนาดตา่ งๆ เช่น ลกู วอลเลย์บอล ลกู
สกอตแลนดพ์ ร้อมลูกสาว กลายเป็นคนวา่ งงาน บาสเกตบอล แทนลูกควฟั เฟิล ใช้ไม้เทนนิสแทนบตี เตอร์ และ
และเล้ยี งชพี ด้วยเงินช่วยเหลือของรฐั บาล เธอ ใชค้ นแทนลกู สนิช
ใช้เวลาวา่ งเขียนนวนิยายเกย่ี วกบั เด็กชายพอ่ ในปี พ.ศ. 2554 โรวล์ ิ่งได้ต้ังเวบ็ ไซต์ ช่ือ พอตเตอร์
มดทีเ่ ร่ิมไว้ที่รา้ นกาแฟทุกวนั จนจบและหลงั จาก มอร์ เพอ่ื ใหแ้ ฟนคลับทัว่ โลกสามารถอ่านหนงั สอื ชม
ถกู ปฏิเสธจากหลายสำ�นักพมิ พ์ ในที่สุด เจ.เค. ภาพยนตร์ และร่วมสนกุ ออนไลนพ์ รอ้ มกนั โดยตอ้ งผา่ นการ
กข็ ายลิขสิทธิ์เรื่องน้โี ดยไดร้ บั เงินราว 4,000 คดั เลอื กเข้าบา้ นเหมอื นในหนังสืออกี ด้วย
ดอลลาร์ ต่อมาเธอได้แต่งงานอกี ครงั้ กับ ส�ำ หรบั ฉบบั แปลภาษาไทยจดั พิมพโ์ ดยสำ�นกั พิมพ์
นิล เมอรเ์ รย์ นายแพทยช์ าวสก็อตต์ อย่รู ่วม นานมีบคุ๊ ส์ มีผ้แู ปล 3 คน ไดแ้ ก่ สุมาลี บ�ำ รงุ สขุ แปลเลม่ ที่
กบั ลกู ๆ ทงั้ 2 คนของพวกเขา เดวดิ และแมค็ 1, 2, 5, 6, 7 วลพี ร หวังซ่ือกลุ แปลเลม่ ท่ี 3 และ งามพรรณ
เคนซี รวมท้ัง เจสสิก้า ลูกสาวทเ่ี กิดจากอดีต เวชชาชีวะ แปลเล่มที่ 4 โดยหนา้ ปกฉบับภาษาไทยนน้ั ใช้ภาพ
สามีนักข่าวชาวโปรตเุ กส ที่เอดินเบอระ แบบเดยี วกบั หนา้ ปกฉบับอเมรกิ นั ซ่งึ เป็นผลงานของ แมร ี
ผลงานของเธอ ได้แก่ แฮร์รี่ กรองดเ์ ปร
พอตเตอรก์ ับศิลาอาถรรพ์ แฮรร์ ่ี พอตเตอรก์ ับ
ห้องแหง่ ความลบั แฮร์รี่ พอตเตอรก์ บั นักโทษ
แหง่ อซั คาบนั แฮร์ร่ี พอตเตอร์กบั ถว้ ยอคั นี
แฮร์ร่ี พอตเตอร์กบั ภาคนี กฟีนิกซ์ แฮรร์ ี่
พอตเตอรก์ ับเจ้าชายเลอื ดผสม แฮรร์ ี่
พอตเตอร์กับเคร่อื งรางยมทตู สัตวม์ หศั จรรย์
และถ่ินท่ีอยู่ ควดิ ดชิ ในยุคตา่ งๆ นิทาน
ของบีเดิลยอดกวี พรเี ควลแฮร์รี่ พอตเตอร ์
เกา้ อีว้ า่ ง

36

เมอ่ื คุณตาคณุ ยายยงั เด็ก

เรอื่ งราวที่คุณตาคุณยายเล่าใหห้ นูฟัง ผใู้ หญห่ ้ามไมใ่ ห้นง่ั ทับหนังสอื
แล้วหนูชา่ งพูดก็จดจ�ำ มาเล่าใหเ้ พื่อนๆ ฟังอีก เพราะกลวั อา่ นหนงั สือไม่ออก
ทอดหนึ่ง เปน็ การเล่าเกร็ดความรู้ทน่ี า่ สนใจของ
ชวี ติ ครอบครัวไทยในสมยั รัชกาลท่ี 6 ถึงรัชกาลท่ี แตเ่ ปน็ การเคารพหนังสอื
7 แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ สารจารีตนยิ มสมยั ในรปู มากกว่า เพราะคุณปูข่ อง
แบบการเขียนแบบสนทนา เล่า คณุ ตาบอกว่า สมัยโนน้
สู่กนั ฟัง ในส�ำ นวนการเขียนท่ใี ช้ เรียนแล้วต้องกราบครู
ค�ำ ง่ายๆ จนผู้อ่านสามารถทจี่ ะ และกราบหนังสอื ดว้ ยทุกวนั
มองและมวี สิ ยั ทัศน์จากตัวอกั ษร เป็นการเคารพครูและหนังสือ
ออกมาเป็นภาพไดอ้ ยา่ งชดั เจน ซึ่งใหว้ ชิ าความรแู้ กน่ ักเรยี น

นีค่ ือหนงั สอื แฟนตาซแี บบไทยๆ แมไ้ ม่โลดโผน
ผจญภยั แต่กระต้นุ จนิ ตนาการได้เป็นอยา่ งดี จะไม่ให้
จินตนาการได้อยา่ งไรในเม่อื ทกุ ส่งิ ที่เลา่ มาในหนงั สอื นน้ั
ลว้ นแต่ไม่มี ใหเ้ หน็ ในปัจจุบันแลว้ ทงั้ สิ้น ใครอยากย้อน
อดีตไปพบกบั บา้ นเมอื งไทยเมอ่ื เกอื บร้อยปีก่อน คงต้อง
อ่านเร่ืองน้ี !

เมอ่ื คณุ ตาคุณยายยงั เดก็ มีท้งั หมด 4 เล่ม เปน็ หนังสือทีม่ ีประโยชนแ์ ละมคี ุณคา่ ย่งิ
ในทางสะทอ้ นภาพชวี ิตความเปน็ อยู่และวัฒนธรรมเดิมในสงั คมไทยใหค้ นรุน่ ปัจจบุ นั ไดร้ ับทราบ
เป็นการรวบรวมบทความของ ทพิ ยว์ าณี สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ซ่ึงไดต้ พี ิมพ์เปน็ ตอนลงในนติ ยสาร
สตรสี าร ในครงั้ น้ันสตรสี ารไดจ้ ดั ทำ�ภาคพิเศษส�ำ หรับเด็กไว้ (ปี พ.ศ. 2515) และไดน้ �ำ บทความ
ของคุณทิพย์วาณีมาตีพมิ พ์ไวด้ ว้ ย และไดร้ วมเลม่ ตีพมิ พ์ครง้ั แรกในปี พ.ศ. 2518 โดยกรมวิชาการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จ�ำ นวน 25 เร่อื ง ตอ่ มามีการรวมเร่ือง 40 เร่อื ง พิมพร์ วมเลม่ เปน็ คร้งั ที่ 1
เมือ่ พ.ศ. 2520 โดยบริษัท การพมิ พส์ ตรีสาร จำ�กัด และพมิ พ์ซ้ำ�อีกกวา่ 23 ครงั้ โดยครัง้ ท่ี 15
เป็นตน้ มาจัดพิมพโ์ ดยสำ�นักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร เนื้อหากลา่ วถงึ บา้ นเมอื งไทยในชว่ งปลายรชั กาล
ท ี่ 6 จนถึงรัชกาลท ี่ 7 (พ.ศ. 2460 - พ.ศ. 2475) ผา่ นตวั ละครท่เี ปน็ คุณตาและคุณยายของผเู้ ขยี น
ในลกั ษณะบนั ทึกเรื่องราวจากค�ำ บอกเลา่ ในลักษณะทว่ี า่ “คณุ ตา / คุณยาย เลา่ ใหฟ้ งั วา่ …”

37

้รานผดุง ีชพ ผู้อา่ นจะได้ซมึ ซบั ถึงวถิ ีชวี ิตของคนไทยในสมัยกอ่ น ความ
ร้สู กึ นกึ คิด คติธรรม ความเชื่อ รวมถึงสิง่ ละอนั พันละน้อยทีด่ ู
เหมอื นจะคอ่ ยๆ เลอื นหายไปจากสงั คมไทย เรือ่ งบางเร่ืองหรือ
ของบางอย่างก็หายไปแล้วจากสงั คม ในแตล่ ะตอนผู้เขยี นได้
หยิบยกประเดน็ ตา่ งๆ มาน�ำ เสนออยา่ งนา่ สนใจ
เอกลักษณอ์ ีกประการหนึ่งของเรอื่ งนค้ี อื ภาพปกฝมี อื
ของ สวัสดิ์ สวุ รรณปักษ์ และภาพประกอบโดย ปนี ัง ซึง่ ยงั คงไว้
ตงั้ แต่คร้งั แรกๆ ทม่ี กี ารรวมเลม่ ไมว่ ่าจะมกี ารพิมพใ์ หมอ่ กี
กค่ี รง้ั กต็ าม
หนงั สือ เมอื่ คณุ ตาคุณยายยังเดก็  ได้รบั รางวัล
การประกวดหนงั สือระหว่างชาติ คร้ังแรก พ.ศ. 2515
(International Book Year ค.ศ. 1972) ท่คี ณะกรรมการ
แห่งชาติวา่ ดว้ ยการศึกษาวทิ ยาศาสตร์ และ
วัฒนธรรม กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจดั ขนึ้
ในโครงการระหวา่ งชาติว่าด้วยการ
พัฒนาหนังสอื ตามมตขิ ององคก์ าร
ยูเนสโก สหประชาชาติ

ทพิ ย์วาณี สนทิ วงศ์ ณ อยุธยา เกดิ เม่ือวันท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2475
เปน็ บตุ รหี ลวงจรญู สนทิ วงศ์ (ม.ล.จรญู สนิทวงศ์) กบั ม.ล.ฟ่อน ไดร้ บั การศึกษา
ระดับมธั ยมจากโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย แลว้ ศกึ ษาภาษาอังกฤษ ฝรง่ั เศส เยอรมนั
เป็นการเพมิ่ เตมิ หลงั เรยี นจบ ไดเ้ ปดิ รา้ นผดุงชีพ ขายงานจำ�พวกศลิ ปหัตถกรรม
ท่ถี นนจักรพงษ์ กรุงเทพมหานคร ดว้ ยความรกั การเขยี นสารคดเี กี่ยวกบั ศิลป
หตั กรรมของไทยมาต้งั แตเ่ ปน็ นกั เรียน จงึ ได้เขียนเรอื่ ง ตกุ๊ ตาชาววัง หัวโขน
ปลาตะเพียน ฯลฯ พมิ พอ์ ดั สำ�เนาแจกแก่กลุ่มบุคคลเป็นกลมุ่ ๆ ไป โดยมากเป็น
ลูกคา้ ท่ีซือ้ งานศลิ ปหัตถกรรมจากรา้ นและชอบงานสารคดสี �ำ หรับเด็ก งานเขียน
สำ�คัญ คอื เรื่อง เมอ่ื คณุ ตาคณุ ยายยังเด็ก ลงพิมพ์ในหนงั สือสตรสี ารตดิ ตอ่ กัน
ประจ�ำ ทกุ สปั ดาหน์ านหลายปี กล่าวถงึ ชวี ิตของคนไทยในด้านต่างๆ ในกรงุ เทพ
มหานคร ใหค้ วามรดู้ ว้ ยถ้อยค�ำ เรียบๆ เขา้ ใจงา่ ย เป็นทีน่ ยิ มแก่ผู้อ่าน 
ทพิ ยว์ าณีถงึ แก่กรรมเม่อื พ.ศ. 2547 อัฐิบรรจไุ ว้ท่บี ริเวณถำ้�
พระปางปาลไิ ลยก์ ด้านหลงั พระอุโบสถ วัดชนะสงคราม

38

วยั ฝันวันเยาว์
ความทรงจำ�ในวัย หนังสอื เลม่ นแี้ บง่ เป็นตอนสนั้ ๆ เนอ้ื หาจบ
ในตอน ร้อยเรียงกันไปจนจบเลม่ ได้อย่างละเมยี ด
ละไม อบอนุ่ กรุ่นรอยย้มิ ตามลักษณะเฉพาะของงาน
เยาวท์ ผ่ี า่ นมา ทเ่ี ปน็ วรรณกรรมของ พิบูลศักด์ิ ละครพล ที่โดดเด่นด้านใช้
ความหลงั ความรกั ภาษาและอารมณ์ ด้วยวธิ กี ารเขยี นที่ไม่เนน้ พล็อตเร่ือง
หากเลอื กขับเน้นบรรยากาศของเรือ่ งท่เี ปลย่ี นแปลงไป
ความขมข่ืนและความช่ืนบานในขณะ ตามฤดูกาล จนไดร้ ับการช่ืนชมว่า เขียนเรื่องเหมอื น
เดียวกัน ฝนต้นฤดูพรำ�สายบางเบา เขียนรูป เหมอื นจติ รกรใช้พ่กู ันแต่งแต้มสสี นั ต่างๆ ลง
ไปในภาพ จนเรอื่ งทเ่ี ขยี นโดดเดน่ ติดตรึงใจของผู้อ่าน
กระซิบกระซาบกับหลังคาบ้าน นาน นอกจากนีห้ นังสือเรือ่ ง “วยั ฝันวนั เยาว์” ยงั สอดแทรก
แค่ไหนแล้วที่ผมไม่ได้เดินทางสู่ท้อง แงค่ ิดทีด่ งี ามและมุมมองต่อชีวติ ได้อย่างคมคาย น่า
ประทบั ใจ จงึ ไมแ่ ปลกหากหนังสอื เล่มน้ีจะได้รบั รางวลั
ทุ่ง ผมคิดถึงบ้าน ทุ่งนาหน้าฝนนั้น ดีเด่นจากการประกวดหนงั สอื ในงานสปั ดาห์หนังสอื
มีชวี ิตชวี ายิง่ นกั ทอ้ งฟา้ ชุม่ ฉำ่�ดงั่ คน แหง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2528
คุณค่าของหนงั สอื เล่มนี้ในแงเ่ นอ้ื หา ไมเ่ พยี ง
น�้ำ ตาคลอ ยามไดพ้ บมง่ิ มติ รทจี่ ากไกล เป็นเสมอื นกระจกสะทอ้ นภาพของวัฒนธรรมชนบททาง

ภาคเหนือ ซึ่งผู้เขียนไดใ้ หร้ ายละเอยี ดไวม้ ากมาย ท้ัง
เรือ่ งภาษา อาหาร ประเพณี การละเล่นในชว่ งฤดูกาล
ทกุ คนลว้ นมีวัยเยาว์อันใสซื่อบรสิ ทุ ธิ์ ของใคร ต่างๆ ยังเป็นประหนง่ึ สารคดธี รรมชาติ ท่ใี ห้ราย
กข็ องคนน้ัน ขโมยกันไม่ได้ แตแ่ บ่งปันให้แกก่ ันได้ ดัง ละเอยี ดพรรณไม้นานาชนดิ สตั วป์ ่า วถิ ชี วี ติ การเอา
เช่นท่ี พบิ ลู ศกั ดิ์ ละครพล ถา่ ยทอดชีวิตวัยเยาว์อันไร้ ตวั รอดในป่า และทส่ี �ำ คญั ทสี่ ดุ หลายตอนในหนังสอื
เดยี งสาของตนเองไว้ในหนงั สือ “วัยฝันวนั เยาว์” ซ่งึ ถ่ายทอดความดีงามของมนุษย์ ท่เี ดก็ ชายคนหน่งึ พงึ
เปน็ ประหน่ึงอตั ชีวประวัติ ทแ่ี ต่งเติมด้วยจนิ ตนาการอนั สมั ผัสได้ไดอ้ ยา่ งสะเทือนอารมณ์ เช่น ในตอน ลูกผูช้ าย
อ่อนไหว บอกเลา่ ผา่ น”เด็กชายทมิ ” ท่ีอาศัยอยู่กบั แม่ ลือชยั เพือ่ นของทมิ ท่ีมพี อ่ เป็นนายต�ำ รวจ ท้าตอ่ ยกบั
นอ้ งๆ ยาย และนา้ ในหม่บู า้ นเลก็ ๆ ของจังหวดั พะเยา เพือ่ นอีกคนที่ช่ือ บญุ ทว้ ม แตบ่ ญุ ท้วมไมร่ บั ค�ำ ท้า ทำ�ให้
(ผูเ้ ขยี นไดจ้ �ำ ลองภาพบา้ นทา่ มกลางธรรมชาติในวยั เด็ก ทิมฉนุ หาวา่ เพ่อื นไม่ใชล่ ูกผชู้ าย บุญท้วมพูดวา่
ของตน ท่ีอ�ำ เภอแม่ใจ จงั หวดั พะเยา) ทิมใช้ชีวติ วัยเริม่ “นายอาจจะพูดถูกทิม…ฉนั ไม่ใชล่ ูกผูช้ าย แต่ลูกผูช้ าย
แตกเนื้อหนุ่มอย่างสนุกสนาน โลดโผน ผจญภยั และ จรงิ ๆ เขาก็ไมท่ �ำ ตัวนักเลงหรอก ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ ง
เปี่ยมฝนั เขาค่อยๆ เติบโตผา่ นวนั เวลาท่แี สนงดงาม แสดงออกใหท้ กุ คนรู้ ไม่จ�ำ เป็นตอ้ งโอ้อวดใคร ความ
เรียนรู้จกั รายละเอียดแหง่ ชวี ติ มากข้นึ เร่อื ยๆ จนท้าย เปน็ ลูกผู้ชายจริงๆ อย่ทู ่ใี จ นายจะวา่ ฉันอยา่ งไรกต็ าม
ที่สุดไดค้ ้นพบกับภาพฝันมีอันเลอื นรางของพอ่ ชายท่ี แต่ เมอ่ื ไรท่ีนายเอาชนะความโกรธไดน้ ัน่ แหละ นายจะ
เขาไมม่ โี อกาสแม้จะพดู ด้วยสักคำ� เปน็ ลกู ผชู้ ายแท้”

39

ภาพจาก www.thaiwriternetwork.com พบิ ลู ศกั ด์ิ ละครพล เป็นหลายอยา่ งในคน
เดยี ว นักวาด กวี นักเขยี น นักดนตรี นกั ฝนั แตใ่ น
พิบูลศกั ด์ิ ละครพล (เกิดเม่อื ปี พ.ศ. สายตานกั อ่านนัน้ เขาเปน็ “เจา้ ชายโรแมนติก” เขา
2493) ได้ช่ือว่าเปน็ หนงึ่ ในตำ�นานของนักเขยี นมือ มาจากหม่บู ้านเล็กๆ อำ�เภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
ทอง ท่รี ่วมยุคสร้างงานเขยี นดว้ ยกนั มาอย่าง กรณ์ เรยี นศลิ ปะและเรียนครูอยู่เชยี งใหม ่ ก่อนข้ามเทือก
ไกรลาศ ท่ีปจั จบุ ันคือ ปกรณ์ พงศ์วราภา ผบู้ รหิ าร เขาถนนธงไชย ไปสอนหนังสือชาวไทยและชาวเขา
ในเครือจเี อม็ กร๊ปุ นิเวศ กันไทยราษฎร์ นักเขียนผู้ ทแ่ี ม่ฮอ่ งสอนกอ่ นเหตุการณ์ 6 ตลุ าฯ หลงั จาก
มากมายบทบาท และ มกฏุ อรฤดี หรอื นิพพานฯ ท่ี นน้ั ชวี ิตผกผนั เป็นนักเขยี นฝกึ หดั ผู้ส่อื ขา่ วภธู รของ
ปจั จบุ ันเป็นบรรณาธิการส�ำ นกั พิมพผ์ ีเสอ้ื หนงั สอื พมิ พเ์ ดลไิ ทม์ ก่อนจะถกู มรสมุ การเมอื งทำ�ให้
เขาเป็นนกั เขียนผเู้ ปน็ ตน้ แบบ เปน็ แรง ต้องเข้ามาอย่ใู นเมอื งใหญ่ ยดึ งานเขียนสารคดีเปน็
บนั ดาลใจ เปน็ ผู้เติมเช้ือไฟแห่งความฝนั ใหก้ ับคน งานหลกั เคยเป็นบรรณาธิการนิตยสารสารคดี ‘วัน
หนมุ่ สาวหลายคน ได้กา้ วเดินเขา้ สูถ่ นนสายหนงั สอื นี้’ บรรณาธกิ ารสำ�นกั พิมพป์ ระพนั ธส์ าสน์ นักเขยี น
และการท�ำ งานเพือ่ สังคม เนื่องมาจากผลงาน ประจำ�ในสกุลไทย ขวญั เรือน รจนา หนุ่มสาว แมน
มากมายของเขาทน่ี ำ�เสนอแกน่ เร่อื งสะท้อนจาก เร่อื งจรงิ หญงิ ไทย วัยหวาน วยั ฝัน ใช้ท้งั ชอ่ื จรงิ และ
ปัญหาทางสงั คมทปี่ รากฏอยู่ อาทิ ถนนสแี ดง หุบเขา นามปากกา เช่น มาชา ศรีปฐว,ี สญั จร ดาวสอ่ งทาง
แสงตะวัน ขอความรักบ้างได้ไหม ชูมาน บทกวีแหง่ ฯลฯ มผี ลงานหลากหลายประเภท ส�ำ หรับผลงาน
ความรัก ความรกั จะอยู่กับเรา ดอกไม้ถงึ คนหนุ่ม รวมเลม่ ครัง้ แรกคอื ถนนสีแดง เมื่อปี พ.ศ. 2516
สาว และโดยเฉพาะนติ ยสารสูฝ่ นั ท่เี ขาก่อตัง้ ข้นึ เมื่อปี และงานเขียนท่ีส่งชือ่ เสียงให้เขารจู้ ักในวงกวา้ งคือ
2526 นบั เป็นนติ ยสารกวนี ิพนธ์เพยี งเลม่ แรกและเล่ม นวนิยายชือ่ ขอความรักบ้างได้ไหม ชูมาน หบุ เขา
เดยี วที่สง่ ผลถึงคนหนมุ่ สาวในยคุ นัน้ แสงตะวนั ท่งุ หญา้ สนี ้ำ�เงิน นกสฟี ้า บา้ นไรป่ ลายแคว
วัยฝันวนั เยาว์ และรวมเร่อื งสน้ั แล้วจะเกบ็ ดอกไมม้ า
ฝาก การกลับมาของความฝันสีขาว สารคดี ในอ้อม
แขนแผน่ ดินลา้ นนา บทกวี ดอกไมแ้ ด่คนหนุม่ สาว
ฯลฯ และอกี มากมายท่ไี ดร้ ับรางวลั ระดับชาติ และ
น�ำ ไปสร้างเป็นภาพยนตร์ สำ�หรับผลงานวรรณกรรม
ลา่ สุดชื่อ กระท่อมดินทงุ่ ดาว ไดร้ ับรางวลั ดีเดน่ งาน
สัปดาห์หนงั สอื แห่งชาติ และรางวัลรกั ลกู อวอรด์ ปี
พ.ศ. 2552
นอกเหนอื จากงานเขียนเร่อื งสั้น นวนยิ าย
และบทกวีแล้ว พบิ ูลศกั ด์ิ ละครพล ยงั มีผลงานเพลง
6 ชุด ในนามวงมาชารี ซึ่งเปน็ การรเิ ริม่ ผสมผสาน
บทกวีเขา้ กับดนตรี เป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ของ
เขา บทเพลงทีร่ จู้ ักกันดี คอื ผงิ ดาว เก็บรกั ฝากฝนั
บทเพลงเดียวดายของคนเดินทาง และ มใิ ช่เจ้าชาย
ฯลฯ
ปัจจุบนั พิบูลศักด์ิ ละครพล ยังเป็นนกั ฝนั
และชา่ งเพาะฝนั ผ้พู เนจรเดนิ ทางรอนแรม ยงั ท�ำ งาน
เขยี น และยังมีชีวิตอยู่

40

ภาพจาก www.imdb.com ตำ�นานแหง่ หนังสอื ชดุ ตำ�นานแหง่ นาร์เนยี (The
The Chronicles of Narnia: The Lion, the Witch and the Wardrobe นาร์เนยี Chronicles of Narnia) พาเราทะลุมติ ไิ ปผจญภัย
ต่อสู้กอบก้นู าร์เนียใหพ้ ้นจากเหลา่ ภัยรา้ ยตัง้ แต่
เจา้ ม้าเอ๋ย---เจา้ ไม่ได้สูญเสยี อะไรไป แมม่ ดขาว ชาวคาโลรเ์ มน ชาวเทลมารนี ฯลฯ ใน
หรอกนอกจากความหลงตัวเอง---อยา่ ชว่ งเวลาตา่ งๆ กนั โดยไดร้ ับความชว่ ยเหลอื จาก
เลย อย่ากระน้ันเลยญาตขิ องขา้ ---เจ้าไม่ “อสั ลาน” สิงโตลกึ ลบั ผ้มู ีท้ังความน่ากลวั และ
ตอ้ งสะบัดหวั และทำ�หูล่ีใสข่ ้าดอก หาก ความนา่ เคารพอยูร่ วมกนั
เจา้ รจู้ กั ละพยศ เลกิ อวดดี เหมอื นที่พูด การผจญภัยในแตล่ ะครง้ั มที ัง้ การศกึ
เมอ่ื ครู่จริงๆ แลว้ เจ้าตอ้ งเรยี นรทู้ ่ีจะฟัง ภายนอกและการศกึ ภายในของพลังแหง่ ความดี
เหตุผลบ้าง---เจา้ ไมไ่ ชม่ า้ ยง่ิ ใหญอ่ ยา่ งท่ี และความเลวในตวั ละครตา่ งๆ ท�ำ ใหผ้ อู้ า่ นรับรูไ้ ด้
เจ้านึกดอก เจา้ ไปอยกู่ บั พวกมา้ โง่ทม่ึ ที่ วา่ เราทุกคนสามารถพลาดพลงั้ พา่ ยแพ้ หรือพลิก
นา่ สงสารพวกน้นั มานาน แน่ละเจ้าต้อง กลับมาเอาชนะดา้ นมืด ในตนเองได้ตลอดเวลา
กลา้ หาญกว่าและฉลาดกว่าพวกนนั้ แต่ ความรกั ความเมตตาจะนำ�ไปสู่การให้อภัยและ
การใหโ้ อกาสแกต้ ัว ความชว่ ยเหลือจากสิ่งมีชวี ิต
นน่ั มิได้หมายความว่าเจา้ จะเปน็ มา้ ทกุ ชนดิ จะน�ำ ไปสคู่ วามเคารพในทุกสรรพสิ่งและ
ย่งิ ใหญ่ในนารเ์ นยี ว่ากันรวมๆ แลว้ ความอ่อนน้อมถ่อมตนเมือ่ เราร้วู า่ เราต้องพึง่ พา
ตราบใดที่เจา้ รู้ว่าเจ้าไม่ได้ย่ิงใหญ่มาจาก อาศยั กันและกนั เปน็ หนงั สือทีส่ รา้ งความฮกึ เหมิ
ไหน เจา้ กจ็ ะเป็นมา้ นา่ คบทเี ดยี ว ใหก้ ับพลงั ฝ่ายดีในจติ ใจได้อย่างดเี ยี่ยม
ซ.ี เอส. ลอู ิส (C. S. Lewis) ได้
ดึงเอาสตั วแ์ ละตวั ละครตา่ ง ๆ ทั้งจาก
เทพนยิ ายกรกี นยิ ายปรมั ปรา เทพนยิ าย
แอนเดอรส์ นั และนทิ านจากหนงั สอื ของ
เบยี ทริกซ์ พ็อตเตอ้ ร์ รวมทั้งนกั เขยี นชอ่ื ดงั
อยา่ ง อี. เนสบทิ มายำ�ใหญ่ใสร่ วมอยู่ใน
หนังสอื ชุด นาร์เนยี ได้อย่างเหมาะเจาะ ไมว่ ่า
จะเปน็ ฟอน เซนทอร์ ยูนคิ อร์น แมม่ ด นาง
เงือก ยกั ษ์ คนแคระ ไปจนถึงซานตาคล้อส!
ใครจะไปคดิ วา่ ใน นาร์เนีย กม็ ซี านตา้ ดว้ ย

41

ผ้เู ขยี นมีความสามารถอย่างยิ่งยวดในการบรรยาย เขา C.S. Lewis aged 50
บรรยายอาหารของชาวนารเ์ นียไดน้ า่ กนิ เสมอ หลังจากอา่ นผจญภัย Photograph by Arthur Strong, 1947
ในตู้เสื้อผา้ จบลง ขอ้ มูลในเวบ็ ไซดห์ ลายแห่งบอกวา่ เด็กๆ
หลายคนอยากไปขวนขวายหาขนมเนอ้ื น่มุ หอมหวลอย่าง Turkish ไคล้ฟ์ สเตเปิ้ลส์ ลูอิส (Clive
Delight มากิน แต่หลังจากกนิ เสร็จกพ็ บว่า...คำ�บรรยายในหนงั สอื Staples Lewis; 29 พ.ย. ค.ศ. 1898 -
น้ันอรอ่ ยกว่าเยอะ นอกจากทกี่ ลา่ วมาแล้ว ซ.ี เอส. ลูอสิ ยงั มี 22 พ.ย. ค.ศ. 1963) หรือรจู้ ักในนาม ซ.ี
ปลาเทราต์ตกสดๆ ทอดทาเนยชมุ่ ฉ่ำ� นำ้�ชากับขนมพายนานาชนิด เอส. ลูอสิ เปน็ นักเขยี นท่ีเป็นทีร่ ู้จกั จาก
ขา้ วโอต๊ ใสน่ ้ำ�ผ้งึ เมื่อรา่ งกายต้องการพลัง ขนมไทรเฟิ่ลและพายเปด็ วรรณกรรมชดุ ต�ำ นานแห่งนาร์เนีย ซงึ่ ได้
ในงานเล้ียงฉลอง หรือนำ�้ ผลไมเ้ ยน็ ๆ ผสมนมกับไข่ขาวฟูฟอ่ ง แปลเปน็ ภาษาต่างๆ มากกว่า 30 ภาษา
หลังจากการเดนิ ทางอันยาวนานในทะเลทราย เหลา่ นล้ี ว้ นเรยี ก และมียอดขายรวมท่ัวโลกไปแลว้ มากกวา่
น้ำ�ย่อยจากผู้อา่ นไดด้ ีนักเชยี ว 100 ลา้ นเล่ม
เมอื่ เร่ิมแรกที่ ซี. เอส. ลอู สิ เขียนชุด นารเ์ นีย เขาต้ังใจ ลอู ิสเกิดท่ีเบลฟสั ต์ ประเทศ
ไม่ไดเ้ รยี งล�ำ ดับกาลเวลา ดงั ท่ีปรากฏในปัจจุบัน เขาคิดวิธีการ ไอร์แลนด์ ส�ำ เร็จการศึกษาจากมหาวทิ ยาลยั
เช่นน้จี ะทำ�ใหเ้ รื่องนา่ สนใจข้นึ มาก เพราะผูอ้ ่านจะได้พบทีม่ าท่ไี ป ออ๊ กซฟอรด์ และได้เป็นอาจารย์ท่ีวทิ ยาลยั
(surprise) เรื่อยๆ ตลอดเรอ่ื ง และจะสามารถปะติดปะตอ่ เร่อื งราว แมก็ ดาเลน อ๊อกซฟอร์ด เป็นเวลาเกอื บ
ไดเ้ อง ท�ำ ให้มีสว่ นร่วมกบั เรือ่ งมากขึ้น แตผ่ ู้อา่ นสมยั ก่อนยงั ไม่ สามสิบปี เป็นนักวชิ าการรนุ่ ใหม่ท่ีมีบทบาท
คุ้นเคยกับการเลา่ เรื่องแบบย้อนกลบั ไปมาเชน่ นน้ั จงึ ทำ�ให้ ซ.ี เอส. ในการปฏริ ูปหลักสูตรภาษาองั กฤษใน
ลูอสิ ตอ้ งเรียงลำ�ดับหนังสอื ของเขาใหมด่ งั รายการดา้ นลา่ ง แต่หาก มหาวิทยาลัย และเปน็ กลุม่ ผ้กู ่อตง้ั ชมรม
ใครอยากจะทดลองอา่ นหนังสือชุดน้ีตามความต้งั ใจแรกของผู้เขียน อิงคลงิ ส์ (กลุ่มสร้างสรรคด์ า้ นวรรณกรรม
ก็ขอใหอ้ ่านตามลำ�ดับในวงเล็บ ซึ่งกจ็ ะได้พบทม่ี าท่ีไปด้วยตวั เอง อย่างไมเ่ ปน็ ทางการ) ในยุคเรม่ิ ตน้ ตอ่ มา
ดงั ความต้ังใจของผเู้ ขียน เขาจึงไดม้ าเปน็ ศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัย
1. กำ�เนิดนาร์เนีย (6) เคมบริดจ์ ในต�ำ แหนง่ Professor of
2. ตูพ้ ิศวง (1) Medieval and Renaissance Literature
3. อาชากบั เด็กชาย (5) (ศาสตราจารยด์ า้ นวรรณกรรมยุคกลาง
4. เจา้ ชายแคสเป้ียน (2) และยคุ เรเนสซองส)์ คนแรกของเคมบริดจ์
5. ผจญภยั โพ้นทะเล (3) นอกจากเรอ่ื งชดุ นาร์เนียแลว้ ลอู ิสเขียน
6. เก้าอี้เงนิ (4) หนังสือเกี่ยวกบั หลักปรัชญา ความเชอื่ ทาง
7. อวสานการยทุ ธ์ (7) ศาสนา ผลงานวชิ าการ และบทกวีหลายเลม่
เช่น The Pilgrim’s Regress (1933) The
Allegory of Lo ve (1936) Out of the
Silent Planet (1938)


42

ฮยู ันคดิ ถงึ อะไรบางอยา่ ง เขาเคยออก ฮูยัน เดก็ ชายยากจนอายุ 13 ขวบเศษ
จากบา้ นในตอนเชา้ เพอื่ มาโรงเรยี น ตดั สินใจไม่เรยี นต่อและหันมาขายไอศกรมี เพอ่ื
โดยไม่มีเงินซือ้ ขา้ วกลางวันติดตวั มา แบง่ เบาภาระจากพอ่ และเพ่ือใหน้ ้องชายและน้อง
เหมอื นกัน และไมอ่ ยากเดนิ กลับไป สาวได้เรียนหนงั สือบา้ ง เขาตอ้ งท�ำ งานหนกั แต่
กินข้าวเท่ยี งทบี่ ้าน จงึ ปลอ่ ยเวลา รูส้ ึกภูมิใจ เขาคดิ วา่ มันไม่ยุตธิ รรมเลยท่ีจะตอ้ ง
ตอนเที่ยงใหผ้ ่านไปด้วยการเล่นกับ จากไปในขณะท่เี พ่ือนๆ ยังคงเรียนกันอยู่ เมอ่ื
โรงเรียนปดิ การขายของเรมิ่ ซบเซา ท�ำ ใหต้ อ้ งเร่ิม
เพื่อนๆ ด่มื น�ำ้ จากคันโยกท่ีบ่อนำ้�ใกล้ มองหาช่องทางใหม่ มิมปี เพื่อนร่วมชัน้ ซึ่งออกมา
สนามหญ้า นานเขา้ ก็รู้สึกหิว ช่วยแม่ค้าขาย เป็นผู้เปดิ โลกของเขาใหก้ ว้างขน้ึ
เมอ่ื เผอิญตดิ รถไฟไปกบั เธอจนถงึ บ้านทชี่ ายแดน
ทอ้ งรอ้ งสง่ เสยี งดงั แลว้ เพอื่ นบางคน
ก็หัวเราะ พวกนน้ั คงไม่เข้าใจว่า

ความหิวเปน็ อย่างไร มีคนอกี มาก
เหมือนกันทไ่ี มเ่ ข้าใจชวี ติ ของคนอ่นื

ผเี สอ้ื และดอกไม้

ผเี สอื้ และดอกไม้ แต่งโดย นิพพานฯ
เดมิ มีชื่อว่า “ปีกผีเสือ้ ” แตเ่ ม่อื สง่ ให้นติ ยสาร
สตรสี ารพิจารณา โดย นิลวรรณ ปนิ่ ทอง
บรรณาธิการในสมยั น้ันไดข้ อเปล่ยี นช่ือใหมเ่ ป็น
“ผเี ส้ือและดอกไม”้ เน่อื งจากมนี วนิยายเร่ือง
“ปกี ทอง” ลงพมิ พอ์ ยู่ในเล่มช่วงเดียวกัน หลงั
จากพมิ พค์ รง้ั แรกในนติ ยสารสตรีสารรายสัปดาห์
เมือ่ พ.ศ. 2519 แลว้ ไดพ้ ิมพ์รวมเลม่ คร้งั แรก
เมือ่ พ.ศ. 2521 โดยสำ�นักพิมพ์ดอกไม้ และได้
รับความนยิ มจนมีการพมิ พ์ซ้ำ�อย่างตอ่ เนือ่ งเรอ่ื ย
มาจนถึงปัจจุบันกว่า 20 ครั้ง

43

หนงั สือเลม่ น้ีถือเปน็ วรรณกรรมเยาวชน ผีเสอื้ และดอกไม้ เปน็ วรรณกรรมเยาวชนซึ่ง
ยอดนยิ มในดวงใจนกั อ่านท่ีแตกต่างจากเรอ่ื งอื่นๆ เปน็ ท่ีรู้จักและไดร้ บั การตอบรบั จากผอู้ ่านจำ�นวนมาก
กลา่ วคือ ไม่ใช่แนวแฟนตาซี แต่เป็นนยิ ายชีวิตที่ ได้รับรางวลั จากการประกวดหนงั สือดเี ดน่ ประจำ�ปี
บอกเล่าประเด็นทลี่ กึ ซึง้ ของชวี ิตและความใฝฝ่ นั  ตวั พ.ศ. 2521 ตอ่ มาได้รับเลือกเป็นหนงั สืออ่านนอกเวลา
ละครในเรื่องไม่ใชผ่ คู้ นท่สี มบรู ณ์พูนสขุ  หากสะทอ้ น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย วชิ าภาษาไทยบังคบั  ตาม
การดน้ิ รนเพอื่ หาเล้ียงชีพของเดก็ ชายตวั เล็กๆ ประกาศของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้รบั
สอดแทรกบรรยากาศในอดตี ยุคสมัยทีข่ า้ วสาร คัดเลือกให้เปน็ 1 ใน 100 หนังสอื ดีท่ีเดก็ และเยาวชน
และน�ำ้ ตาลทรายเป็นสินค้าควบคุม ซ่งึ ในมาเลเซยี ควรอ่าน กลมุ่ เดก็ วัย 13-18 ปี ประเภทนวนิยาย จาก
มรี าคาแพงกว่าเมอื งไทย ทำ�ใหเ้ กิดการลกั ลอบขน คณะวิจยั หนงั สือดวี ทิ ยาศาสตร์ โดยการสนับสนุน
ข้าวสารและน�้ำ ตาลไปขายตามชายแดนจ�ำ นวนมาก จากสำ�นักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจยั (สกว.) เม่ือ
นอกจากน้ี ยงั สะท้อนถงึ ความอยตุ ธิ รรม โอกาส พ.ศ. 2543 รวมทงั้ ไดร้ ับการแปลและพิมพเ์ ป็นภาษา
ในชวี ติ  และความยากไร้ รวมไปถงึ ปญั หาดา้ นการ ญี่ปนุ่  ภาษาจีน และล่าสุดคือภาษาองั กฤษ
ศึกษาอยา่ งจริงจัง เรื่องท่สี ะทอ้ นความจริงเชน่ นี้ เม่อื สร้างเป็นภาพยนตร์ ได้รบั รางวลั ต่างๆ
ส่วนใหญจ่ ะมีโทนออกไปทางขมขน่ื  สน้ิ หวัง และจน มากมาย อาทิ รางวัลตุ๊กตาทองยอดเยีย่ ม พ.ศ. 2528 
ตรอก แต่ผเี สือ้ และดอกไม ้ เล่าใหค้ นอา่ นไดร้ บั ร้ถู ึง จากการประกวดภาพยนตรไ์ ทย 7 รางวัล (รวมทง้ั บท
ประเด็นเหลา่ นี้อย่างเข้มข้น หากยงั คงความสดใส ประพันธย์ อดเยีย่ มดว้ ย) รางวัลภาพยนตรย์ อดเย่ียม
งดงาม และมีความหวงั อยูเ่ สมอ ดว้ ยลลี าเงยี บขรมึ ค.ศ. 1986 จากการประกวดภาพยนตรน์ านาชาตคิ ร้ัง
ไม่โลดโผน ดังท่ี รัศมี เผา่ เหลอื งทอง วิจารณ์ไวว้ ่า ท ี่ 5 รางวลั ภาพยนตร์สร้างสรรคส์ งั คมดีเด่นจากสมาคม
ส่ือมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย นอกจากน้ี ยังมี
“งานนวนยิ ายเชิงชีวประวัติท่ดี ำ�เนินไป ผูน้ �ำ ไปสรา้ งเปน็ ละครโทรทัศนอ์ ีกด้วย
เรอ่ื ยๆ ไมฉ่ ดู ฉาดนนั้ หากเกิดขน้ึ จากการผสม
กลมกลนื กนั อยา่ งได้สัดสว่ นระหวา่ งสุนทรียะของ
วรรณศิลป์ และสายตาที่เฝ้ามองสังคมหรอื เพื่อน
มนุษยด์ ว้ ยความเอาใจใสอ่ ยา่ งลึกซึง้ แลว้ กจ็ ะเปน็
วรรณกรรมที่สรา้ งสรรคต์ อ่ อารมณ์และความนึกคดิ
ของผู้อ่านไดอ้ ยา่ งดีย่งิ ไม่จ�ำ เปน็ ต้องให้ตัวละครไป
เท่ยี วชิงรักหกั สวาทกับใครท่ไี หนเลย จงึ จะถอื ว่ามี
ฝมี ือได้”
ภาพจาก กรม ่สงเสริมวัฒนธรรม
www.culture.go.th

ภาพจาก www.thaifilm.com
นิพพานฯ เปน็ นามปากกาของ มกุฎ อรฤดี หรือ “วาวแพร”
เกิดเมอื่ พ.ศ. 2493 ท่ีอำ�เภอเทพา จังหวัดสงขลา จบวิชาครู
ประกาศนียบตั รวิชาการศึกษาชน้ั สูง จากวทิ ยาลยั ครสู งขลา เร่มิ เขียน
เรือ่ งส้นั และบทความโดยใชน้ ามปากกา นพิ พานฯ ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2513
มผี ลงานอ่นื ๆ อาทิ ทุ่งดอกไม้ พราวแสงรงุ้ เพลงดวงดาว เดก็ ชายจาก
ดาวอน่ื ปีกความฝัน ฯลฯ ปัจจุบนั เป็นบรรณาธกิ ารสำ�นกั พมิ พผ์ ีเส้ือ ได้
รบั การประกาศยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติเป็นศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์
เมอื่ ปี พ.ศ. 2555

44

ภาพจาก www.oknation.net
วัน ัจนทร์ ที่ 7 ัธนวาคม 2552
Posted by อ่านห ันงสือเ ่ลม ี้นเ ิถดท่ีรัก

เสดจ็ ใหม้ าทลู ถามเสดจ็ ว่า
จะเสด็จหรือไมเ่ สด็จ

ถ้าเสดจ็ จะเสดจ็ เสดจ็ จะเสด็จด้วย
เสด็จตรัสตอบใหก้ ลบั ไปทลู เสดจ็ ว่า

ส่ีแผน่ ดินเสดจ็ จะเสดจ็ ถา้ เสด็จจะเสดจ็ ด้วย
เสด็จกจ็ ะดพี ระทยั มาก
การอา่ นนวนิยายเรือ่ งนี้เปน็ โอกาสท่ีดที เ่ี ราจะย้อนเวลา
นวนยิ ายเลา่ ประวตั ิศาสตรบ์ างส่วนใน ไปอยู่โลกอีกใบหน่ึง นั่นคือ ชวี ติ ของผู้หญงิ ในวังหลวงท่ีอยู่ใน
สมยั รชั กาลที่ 5 ถงึ รชั กาลท่ี 8 ผา่ นชวี ติ ต้ังแต่ ยุคสมัยน้นั สำ�หรับคนสมยั ใหม่การอยู่ในรัว้ กำ�แพงรอบขอบ
เดก็ จนชราของแม่พลอยตวั ละครเอกที่น�ำ พา ชดิ จำ�กัดคนเข้าออก และมเี วลาปิดเปิดแน่นอนก็คงไม่ใช่เรอื่ งนา่
เรอ่ื งไปสู่เหตกุ ารณบ์ า้ นเมืองในสมัยน้นั ซึ่ง พสิ มยั นัก แตถ่ งึ กระนน้ั ผเู้ ขยี นบอกเลา่ รายละเอียดของผู้คน
ในช่วงทมี่ ีชีวติ อยไู่ ดพ้ บกบั สงิ่ ต่างๆ ท่ีมที ั้งสขุ ข้าวของ กจิ วัตรประจำ�วนั ของสาวชาววังได้อยา่ งนา่ ต่ืนตาตื่นใจ
และทกุ ขม์ ากมาย เป็นตน้ ว่า การนงุ่ ผา้ ของกุลสตรี ในวงั ทีต่ อ้ งเป็นผา้ เขา้ ชดุ ตามวัน
อาหารแสนประณตี ท้ังวิธปี รงุ อันละเมียดละไม และการจัดวาง
การจัดลำ�ดับชัน้ ของชาววังทีแ่ ยกยบิ ยอ่ ยหลายแบบ คำ�โบราณ
เช่น มังคะ ท่ีเป็นคำ�ลงทา้ ยเวลาพูดกบั เจ้านายในวัง เปน็ ส่ิงท่ีน่า
ยินดีอย่างยง่ิ ที่เราซ่งึ ไม่ไดอ้ ยู่ในยุคสมัยน้ันแลว้ มโี อกาสเรียนรู้
สง่ิ ละอนั พันละนอ้ ยเหลา่ น้ี ไดผ้ ่านตัวหนังสือทีส่ ร้างจนิ ตนาการ
ไดก้ วา้ งไกล

45

ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ผปู้ ระพันธ์ไดเ้ ร่มิ เขียน ภาพจาก wikipedia.org
เรอื่ งราวทลี ะตอนลงในหนงั สอื พมิ พ์สยามรฐั ระหวา่ งปี พ.ศ. ศาสตราจารย ์ (พเิ ศษ) พลตรี
2494 - พ.ศ. 2495 โดยมิไดอ้ าศัยโครงเร่อื งแตอ่ ย่างใด หมอ่ มราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกดิ เมอ่ื
เพียงทบทวนความเดมิ จากตอนทแ่ี ล้วกเ็ ขียนตอ่ ไปได้ทนั ที วนั ท ี่ 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ในเรอื กลาง
โดย ม.ร.ว.คกึ ฤทธ์เิ คยใหส้ มั ภาษณ์ตอนหนึ่งวา่ เมอ่ื ได้ใหช้ วี ติ แม่น�ำ้ เจ้าพระยา ณ ตำ�บลบา้ นม้า อำ�เภอ
กับตวั ละครในเรอื่ งทเี่ ขียนแล้ว ตวั ละครแต่ละตัวก็เหมือนมี อินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บรุ ี เปน็ โอรสคนสดุ ทอ้ ง
ชวี ิตเปน็ ของตวั เอง ผปู้ ระพันธเ์ ป็นเพยี งคนถา่ ยทอดเร่อื งราว ในบรรดาโอรส-ธดิ า ทง้ั 6 คน ของพระวรวงศ์
ของชีวิตตัวละครเหลา่ น้ันออกมา เธอ พระองคเ์ จา้ คำ�รบ กับหม่อมแดง (บุนนาค)
นวนิยายได้รบั การตอบรับจากสังคมอยา่ งกว้างขวาง (หมอ่ มราชวงศเ์ สนยี ์ ปราโมช เป็นคนท่ี 4) โดย
เน่ืองจากการบรรยายท่สี มจรงิ มากขนาดทมี่ ีคนเชือ่ ว่า แม่ ชือ่ “คกึ ฤทธิ์” น้นั มาจากการที่ชอบร้องไหเ้ สยี ง
พลอยมีตัวตนอย่จู รงิ แต่จากค�ำ น�ำ ของหนังสือ “สี่แผ่นดิน” ดังในวยั ทารก จึงได้รบั พระราชทานนามนจ้ี าก
ฉบับแรก ท�ำ ใหท้ ราบวา่  แมพ่ ลอยเกิดจากจนิ ตนาการของผู้ สมเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชินนี าถ
เขียนเอง มไิ ดม้ ีบุคคลใดเปน็ ตน้ ฉบับของแม่พลอยโดยแท้ สง่ิ ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ ปราโมช เปน็ ทั้งนกั การเมอื ง
เดียวท่จี ะยอมรับไดค้ อื ชาติสกลุ ของแมพ่ ลอยเทา่ น้ัน เพราะใน และส่ือมวลชน โดยด�ำ รงตำ�แหน่งนายก
เร่อื งได้ระบชุ ดั เจนวา่ แม่พลอยเปน็ พวก “ก๊กฟากขา้ งโน้น” ซึ่ง รฐั มนตรีคนที่ 13 เปน็ ผกู้ อ่ ตั้งหนงั สอื พิมพ์
เปน็ ศพั ท์ทีใ่ ชเ้ รียกคนสกุลบุนนาคในสมัยก่อน นอกจากนี ้ สยามรัฐ และไดร้ ับการยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตเิ ปน็
ผู้เขียนยังเล่าอกี วา่ ระหวา่ งทท่ี ่านเขียนลงสยามรฐั พอถึงตอน ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาวรรณศิลปค์ นแรกของ
แม่พลอยแพท้ อ้ ง และปรารภกบั คุณเปรมวา่ อยากรับประทาน ประเทศไทย ประจำ�ปี พ.ศ. 2528 ผลงานเขียน
มะม่วงดิบ ก็มที ่านที่นับญาติกบั แมพ่ ลอย ส่งมะมว่ งดิบมาให้ อืน่ ๆ ไดแ้ ก่ ไผแ่ ดง กาเหว่าท่ีบางเพลง มอม
ถงึ โรงพิมพ์สยามรฐั ทนั ที ทัง้ ท่หี น้านั้นมใิ ช่หนา้ มะมว่ ง และ หลายชวี ิต
ท่านที่ส่งมะม่วงดบิ มาให้ คอื เจ้าจอมอาบ ในรชั กาลท่ี 5 ซึง่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ถงึ แก่
เจา้ จอมอาบเปน็ คนในสกุลบุนนาค แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผู้อา่ นเหน็ อสัญกรรม เมอ่ื วันที่ 9 ตลุ าคม พ.ศ. 2538 
แม่พลอยเป็นญาติ และนับญาติได้อย่างสนิทใจเลยทีเดยี ว  สิรริ วมอายุ 84 ปี 5 เดอื น 20 วนั ตอ่ มาองค์
แน่นอนวา่ เรือ่ งในรัว้ ในวังทีถ่ า่ ยทอดออกมาจนได้ การยูเนสโกได้ประกาศยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ
ช่อื ว่าเป็นวรรณกรรมแห่งกรงุ รัตนโกสนิ ทรเ์ ร่ืองนีม้ ที มี่ าสว่ น หมอ่ มราชวงศ์คึกฤทธ์เิ ปน็ บุคคลส�ำ คัญของ
หนงึ่ จากประสบการณจ์ รงิ ของผุเ้ ขยี นในวัยเด็กซ่ึงเคยติดตาม โลก ใน 4 สาขา ได้แก่ การศึกษา วฒั นธรรม
หม่อมมารดาเข้าวัง มีโอกาสใกล้ชดิ กบั ราชส�ำ นักฝา่ ยใน สังคมศาสตร์ และสอื่ สารมวลชน ในวาระครบ
และได้มาสัมภาษณห์ าข้อมลู จากเจา้ นายฝ่ายในท่ียงั ทรงมี รอบ 100 ปี ชาตกาล พ.ศ. 2554
พระชนม์อยู่ ตลอดจนพระอนวุ งศ์บางพระองคใ์ นภายหลัง
อาทิ หมอ่ มเจา้ หญงิ จงจิตรถนอม ดศิ กุล เปน็ ตน้
สแี่ ผน่ ดนิ  รวมเล่มพมิ พค์ รัง้ แรกในปี พ.ศ. 2496
มีความยาวมากจนตอ้ งพมิ พเ์ ปน็ สองเล่ม หนารวมกนั ถึง
2,224 หนา้ และมีการพิมพ์ซ�ำ้ อกี นบั สบิ คร้งั ได้รบั การน�ำ ไป
ดดั แปลงเปน็ ละครโทรทัศน์และละครเวทีอกี หลายคร้ัง
หลายคราว

46

ผมรสู้ กึ ไม่ดเี อาเสียเลย มนั ว่างโหวงไปหมด
ปบู่ อกวา่ ปเู่ ขา้ ใจว่าผมรู้สึกอยา่ งไร เพราะปู่
เองกร็ สู้ ึกไมต่ า่ งไปจากผม แตป่ ู่บอกวา่ ทุก
อย่างท่เี ราสญู เสยี ไปหากเป็นสิ่งที่เรารัก เรา
กย็ อ่ มรูส้ ึกอย่างนี้ ป่บู อกว่ามที างเดยี วทจ่ี ะ
ทำ�ให้ไม่ร้สู กึ อยา่ งน้ีกค็ ือ ต้องไมร่ ักอะไรเลย
ซึง่ นั่นแย่ไปกวา่ นี้ เพราะเราจะร้สู ึกวา่ งเปลา่
ตลอดเวลา

ลิตเต้ลิ ทรี

เรื่องราวและช่อื ของเดก็ ชายเชือ้ สายเชโรกีผ้กู ำ�พรา้ ลิตเต้ิลทรี (The Education of
บดิ ามารดาตัง้ แตว่ ยั เพียงห้าขวบ บา้ นใหม่ของลติ เติล้ ทรีเปน็ Little Tree) ไดร้ บั การตีพิมพ์เมื่อปี ค.ศ.
1976 และชนะรางวัล ABBY Award Win-
กระทอ่ มไม้ซุงตงั้ อยู่ใต้ทิวไมใ้ หญแ่ ละข้างหลงั เป็นภูเขาหา่ งไกล ner เม่อื ปี ค.ศ. 1991
จากตวั เมืองทเี่ ขาเคยอยู่ ปู่ของเขาเป็นลกู ครงึ่ เชโรกี และย่ากม็ ี เนอื้ หาของหนังสือกระทบใจนัก
สายเลือดเชโรกีเต็มตวั ทั้งสองคนเป็นผู้ปกครองคนใหมข่ องเขา อนุรกั ษท์ ว่ั โลก เพราะเปน็ การดึงใหค้ นหนั มา
ณ บ้านใหม่น้บี ทเพลงแหง่ ขนุ เขา ทอ้ งฟ้า และภูมิปญั ญาพนื้ ถนิ่ ตระหนักถึงความสำ�คญั ของเรอื่ งราวของการ
เปน็ บทเรียนบทใหมส่ �ำ หรับเขา ‘เชโรกี’ เป็นช่อื ชนเผ่าพนื้ เมอื ง อยู่รว่ มกบั ธรรมชาตอิ ย่างพึง่ พงิ และความเป็น
อเมริกนั ชนเผา่ หนึ่ง และกอ่ นทีย่ คุ จักรวรรดินยิ มจะเรมิ่ ตน้ และ อันหนง่ึ อันเดยี วกันกับธรรมชาติ และทำ�ให้
เห็นวา่ คนทเ่ี รยี นรจู้ ากธรรมชาตทิ ี่แทจ้ ริงนนั้
เปิดฉากการรุกรานของชาวผิวขาวทีเ่ ข้ามาจบั จองดินแดนใน แม้ว่าแผ่นดินจะถูกยดึ ครองแตจ่ ติ วญิ ญาณ
สหรัฐอเมรกิ า ชนเผ่าพื้นเมืองเหลา่ นี้ - เชโรกี และชาวอเมริกนั และคณุ ค่าแหง่ ความเปน็ มนษุ ย์มไิ ดถ้ กู กลืน
กินไปด้วย พวกเขายังคงดำ�เนินชวี ิตไปตามวถิ ี
พ้นื เมืองเผ่าอนื่ กเ็ ปน็ ผู้จบั จองดินแดนเหล่านี้อยกู่ อ่ นแล้ว ซงึ่ ท่ดี ีงาม อดทนและเขม้ แขง็ แมว้ า่ จะถกู กดข่ี
ชาวผวิ ขาวเหล่านีต้ อ่ มากไ็ ด้กำ�หนดกฎเกณฑข์ ้นึ มาบงั คับชาว ขม่ เหงและเหยียบย่ำ�ศกํ ดิศ์ รีแห่งความเป็น
พื้นเมอื งดงั กล่าวให้ตอ้ งยอมจ�ำ นนด้วยอ�ำ นาจของยทุ โธปกรณ์ มนษุ ยก์ ็ตาม
ที่มีอ�ำ นาจมากกว่า เม่อื ปแู่ ละยา่ รับลติ เตล้ิ ทรีมา พวกเขากไ็ ด้

ถา่ ยทอดประสบการณ์เมือ่ ครั้งทชี่ าวพนื้ เมอื งถกู ชาวผวิ ขาว
รุกรานครั้งนน้ั ตลอดจนตำ�นานพืน้ ถิน่ ของชนเผา่ และรวมทัง้

วิถที างแบบเชโรกี ท่ีพวกเขายังคงยึดถอื อยใู่ หก้ บั ลิตเตลิ้ ทรี

47

โดยในประวัตศิ าสตร์อเมริกาชน Photo courtesy of the Birmingham Public Library Archives,
กลมุ่ น้อยถูกมองวา่ เปน็ พวกปา่ เถื่อน นอกรีต Asa Earl Carter Publications, File No. 1265.1.2.
ไม่มีอารยธรรม ชาวผิวขาวที่มาใหม่รุกรานจน alabamaliterarymap.lib.ua.edu
ชนกลุ่มน้อยเหล่าน้ีตอ้ งกระจดั กระจาย บ้างไป
อยทู่ างตอนใต้ บา้ งไปอย่ทู างตอนเหนอื ของ ฟอร์เรสต์ คาเตอร์ เปน็ นามแฝงของ Asa Earl
ประเทศ และอยู่แบบถกู จ�ำ กดั พื้นที่ ไมแ่ มก้ ระท่ัง Carter (ค.ศ. 1925 – 1979) ซึ่งตัง้ ตามขนบชอ่ื ของชาวเผ่า
ไดค้ รอบครองที่ดนิ ของตนเองทีม่ มี าต้ังแต่ เชโรกี
บรรพบรุ ุษ ชนกลมุ่ น้อยที่วา่ นม้ี หี ลายกลมุ่ ดว้ ย เรอ่ื งราวของคาเตอร์ สร้างความตระหนกใหก้ ับ
กนั เช่น โควานเช ไอโอวา ลมุ บิ ฯลฯ ซ่งึ เชโรกี ผูอ้ า่ นที่ชน่ื ชอบลติ เติ้ลทรีมากมาย เพราะหลังจากท่ีเขาตายไป
ก็เปน็ หนงึ่ ในนัน้ ไดร้ ะยะหน่งึ และประวัติชวี ติ เขาถกู เปดิ เผยว่า เขาเปน็ หน่ึงใน
คำ�ว่า เชโรกี (Cherokee) หมาย ผนู้ ำ�กล่มุ เหยยี ดผิวในอเมรกิ ัน (โดยเฉพาะคนผวิ ด�ำ ) ท่ชี ่ือว่า
ถึงกลุม่ ชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมรกิ าที่เดิมต้ัง Ku Kluk Klan เขายังเป็นหนึง่ ในผเู้ ขียนคำ�ปราศรยั เหยยี ด
ถน่ิ ฐานอยู่ในบรเิ วณทางตะวนั ออกเฉียงใตข้ อง ผวิ
สหรฐั อเมริกาสว่ นใหญใ่ นรฐั จอร์เจีย, นอรท์ คาร์เตอรเ์ กิดทีเ่ มอื งอลาบามา เมืองท่ีมกี ารกีดกัน
แคโรไลนา, เซาทแ์ คโรไลนา และทางตะวนั ออก คนผิวดำ�และแบ่งแยกสีผิวอย่างชดั เจน เขาชื่นชอบและสนใจ
ของเทนเนสซี ภาษาท่ใี ช้เป็นภาษาทเ่ี กี่ยวข้อง ในเรอ่ื งการเมืองมาตัง้ แตเ่ ด็ก เรยี นจบทางด้านหนงั สือพมิ พ์
กบั กลุ่มภาษาอโิ รควอย (Iroquoian languages) และท�ำ งานองค์กรลบั มาโดยตลอด ขณะทอี่ กี ภาคหนง่ึ ของ
ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เชโรกไี ดช้ ่ือ ชวี ิตเขาเขยี นหนังสือในนามฟอรเ์ รส คาเตอร์ ซง่ึ หนังสอื เรอ่ื ง
วา่ เป็นหน่งึ ใน “ชนเผา่ ผู้มีวฒั นธรรมทั้งห้า” ลติ เตล้ิ ทรี โดดเดน่ และเปน็ ที่กล่าวขวัญถึงอยา่ งมาก กระนนั้
(Five Civilized Tribes) เพราะเป็นกล่มุ ชาว ก็ดีได้มกี ารโตเ้ ถียงกนั อยา่ งมากถงึ เนอ้ื หาเรอ่ื งราวในหนังสือ
อเมริกันอนิ เดียนท่ยี อมรบั และผสานวฒั นธรรม มีชาวเผ่าเชโรกบี างคนออกมาประนามวา่ เขาไม่ไดเ้ กย่ี วขอ้ ง
และความก้าวหน้าของผ้เู ข้ามาตง้ั ถน่ิ ฐาน ใดๆ กบั เผ่าเชโรกี และส่งิ ทเี่ ขยี นก็เปน็ ภาพท่ีไมถ่ ูกต้องของ
อาณานคิ มชาวอเมรกิ ันยุโรป ตามบันทึกสถิติ ชนเผา่ เชโรกแี ท้จรงิ
ของสำ�นักงานสถติ แิ ห่งสหรฐั อเมรกิ าของปี โอปราห์ วินฟรยี ์ พิธกี รชอ่ื ดงั ผู้มีบทบาทสำ�คญั ใน
ค.ศ. 2000 ชาวเชโรกีมีด้วยกันกวา่ 300,000 ชวี ติ ของชาวอเมริกัน เคยยกยอ่ งหนังสือเล่มนี้โดยบอกวา่ เต็ม
คนซงึ่ เปน็ กลมุ่ ท่ีใหญท่ สี่ ุดในบรรดากลมุ่ ชาว ไปด้วยจติ วญิ ญาณทนี่ า่ นับถือ และยกให้ขน้ึ ช้ันหนงั สอื แนะน�ำ
อเมริกนั อนิ เดยี น 563 กลุ่มทเี่ ปน็ ทีย่ อมรบั อยา่ ง ของโอปราห์ วินฟรีย์ แต่เม่อื มีการโยงใยประวัตขิ องฟอร์เรสต์
เป็นทางการโดยรฐั บาลสหรัฐ คาเตอร์ กบั Asa Earl Carter ว่าเปน็ คนๆ เดียวกัน โอปราห์
วนิ ฟรีย์ จึงยกเลิกการแนะนำ�หนังสือเล่มนี้พร้อมบอกเหตผุ ล
ว่า แมฉ้ ันจะคดิ ว่าหนังสอื เล่มนีด้ ี แต่เมือ่ ร้วู ่ามนั เกิดจากคนที่
เหยียดสีผวิ ฉนั ร้สู กึ ทนไมไ่ ดท้ จ่ี ะอา่ นมนั เลยทีเดียว

48

เธอเคยเอะใจบา้ งไหมวา่ หนุ่ กลทุกชนดิ ถกู ภาพประกอบโดย ไบร ัอน เซลส ินค
สรา้ งข้นึ มาดว้ ย เหตผุ ลบางอยา่ ง”
เขาถามอิซาเบล
“มนั ถกู สรา้ งขึ้นเพอ่ื ให้เราหัวเราะ อย่างหนู
ทีอ่ ยู่ตรงน้ี หรอื เพือ่ บอกเวลา อย่างนาฬิกา
หรอื ทำ�ให้เรานกึ ฉงนสงสยั อย่างมนุษยก์ ล
บางที น่นั อาจเปน็ เหตุผลว่าทำ�ไมหุน่ กลท่ี
ใช้การไมไ่ ด้ถงึ ทำ�ใหฉ้ นั รู้สกึ เศรา้ นิดๆ เปน็
เพราะวา่ มันไมอ่ าจทำ�ในส่ิงทถ่ี ูกกำ�หนดให้
ทำ�ได้

ปริศนามนษุ ยก์ ลของ

อูโก้ กาเบรต์

เร่อื งของอโู ก้ กาเบรต์ เด็กชายวยั 12 จะว่าไปแล้ว พล็อตเรอ่ื งแบบนีไ้ มใ่ ช่เร่อื งใหม่
ซ่ึงค้นพบภาพเขียนลึกลับทีเ่ ปลย่ี นแปลง แก่นของเรอื่ งพบได้ตามนิยายเยาวชนทั่วไป การไข
ชีวิตของเขาไปตลอดกาล ปรศิ นาชีวิต การเดนิ ตามความฝนั อยู่ทว่ี ่าใครจะผกู เร่อื ง
แบบไหน และสื่อออกมาอย่างไรให้น่าประทบั ใจ
หลังจากพ่อตาย สมดุ บนั ทกึ ที่พอ่ ท้ิงไว้ แตค่ วามโดดเดน่ ของเร่ืองน้อี ยู่ที่วิธกี ารน�ำ
ใหพ้ าอูโก้ไปข้องเก่ยี วกับชายชราที่รา้ นขายของ เสนอ และโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเมอื่ ผู้เขียนเลอื กน�ำ เสนอ
เลน่ ---ชายชราผปู้ ั้นปง่ึ และเตม็ ไปด้วยความลบั ท่ี วธิ นี ้กี ับหนังสือทมี่ เี นือ้ หาโยงไปถงึ ภาพยนตรแ์ ละผสู้ ร้าง
เขาไมเ่ ขา้ ใจ แล้วอโู ก้กค็ ่อยๆ ล่วงร้คู วามลบั อัน ภาพยนตรเ์ ร่อื งแรกของโลก การสือ่ ดว้ ยภาพขาวด�ำ ใน
ลักษณะสตอร่บี อร์ด จงึ ดเู หมาะสมและกลมกลนื จะเห็น
นา่ ทึง่ นั้นทีละน้อย และตัดสินใจลงมือกอบก้คู วาม ไดว้ า่ เม่ือผู้เขยี นน�ำ วิธนี ไี้ ปใชก้ ับพล็อตเรือ่ งแบบอนื่ (ใน
ฝนั และความภาคภมู ใิ จของชายชรากลบั มา ขณะ ผลงานเลม่ ถดั มาของเขา) กลับไม่ประสบความสำ�เรจ็
หรือนา่ ประทับใจเทา่
เดยี วกันมนั ก็เปน็ การไขความลับและเดนิ ตาม
ความฝันของตวั เขาเองด้วย

49

เปิดเรื่องประมาณ 40 หนา้ แรกด้วยการเล่าเรอื่ ง ไบรอนั เซลสนิค (Brian Selznick) โJTภดahาnยeพuจcEaาrvhiกylandT3rh0eK,ene’r2srB0/ri1aMai2utnnhBnSoyer:elszobAtlnieiashciokPnnIudnbltCiSeuccrdvoirdResyaewdi:soe’s ‘Hugo’
ผ่านภาพ โดยไมม่ ตี วั หนงั สอื แมแ้ ต่ตัวเดยี ว แตส่ ามารถน�ำ ผู้เขียน เปน็ นักวาดภาพผูม้ ีช่อื เสยี งในเร่อื งภาพ
ผู้อา่ นไปรจู้ กั ตวั เอกได้อยา่ งน่าตืน่ เตน้ เหมือนกำ�ลังดหู นัง ประกอบหนังสอื สำ�หรับเด็ก ได้รับรางวัลสำ�คัญ
เรอ่ื งหนงึ่ และเม่ือเข้าไปสเู่ รอ่ื งแลว้ ทุกอยา่ งก็ยังกลมกลืน มาแลว้ มากมาย รวมท้ังรางวัลคาลดคิ อทท์ และ
กนั โดยคนอา่ นไมร่ ู้ตัว เม่อื ผูเ้ ขยี นสลบั จากเลา่ ดว้ ยภาพ เร่อื งนกี้ ท็ ำ�ใหเ้ ขาได้รบั รางวลั นี้อีกครง้ั ในปี ค.ศ.
ไปเปน็ เลา่ ด้วยคำ� แล้วกลับไปเลา่ ดว้ ยภาพอีก กแ็ ทบไม่ 2008 ถัดจากปที ่ีหนงั สอื เลม่ น้วี างแผง
รู้สึกถงึ ความแตกต่าง เหมอื นกับว่าขณะอ่านภาพ จะมคี ำ�
ปรากฏขน้ึ ในหัว และขณะอ่านค�ำ ภาพก็ปรากฏขนึ้ แทน จภาากพ :ป lระaiกnอvบeโnดciยoไnบdรe ัอhนugเoซcลaสbนิrคet.grupo-sm.com
เปน็ การอ่านและเขยี นร่วมและล้อกันไประหว่างผเู้ ขียนกบั
ผู้อา่ น ซงึ่ ทำ�ใหก้ ารอ่านเรอ่ื งนีม้ คี วามสนกุ และมีอรรถรสที่
ไม่เคยเจอในเลม่ อืน่ ๆ
ภาพประมาณ 1/3 ของหนังสอื เลม่ นี้ท่หี นาเกือบ
500 หนา้ จงึ มีความสำ�คัญไมแ่ พต้ ัวหนังสือ มนั ไม่ใชแ่ ค่
ภาพประกอบ แต่มันเปน็ สว่ นหน่ึงของการเล่าเรือ่ งซึง่ จะเปิด
ข้ามไปไมไ่ ด้เลย ผู้เขียนนำ�เทคนิคของภาพยนตร์มาใชอ้ ยา่ ง
เต็มท่ี ไมว่ ่าจะเป็นการซูมภาพ แพนภาพ การเฟด โคลสอพั
การใช้แสงเงา หรือสร้างจุดนำ�สายตา ทุกภาพจงึ เหมอื น
เคลือ่ นไหวได้อยา่ งประหลาด ทง้ั ท่ีเป็นเพยี งภาพนิง่ โดย
เฉพาะตอนที่มนุษย์กลเร่ิมใชก้ ารได้ กเ็ หมือนกบั มนษุ ย์กลมี
ชวี ติ ข้นึ มาจรงิ ๆ
การอ่าน ปรศิ นามนษุ ยก์ ลของ อโู ก้ กาเบรต์
(The Invention of Hugo Cabret) จงึ นา่ จะเป็น
ประสบการณ์ใหมอ่ ย่างแท้จริงในโลกของการอา่ น และเปน็
หนังสือแนวใหม่ที่จัดไว้ในหมวดหม่ใู ดหมวดหมู่หนึ่งไดย้ าก
เพราะมันมที ั้งความเปน็ วรรณกรรมเยาวชน นวนิยายลกึ ลบั
สืบสวน เปน็ หนังสอื ภาพ สตอร่บี อรด์ และหนังเงยี บ โดย
เฉพาะอย่างย่งิ ประการสดุ ท้ายนี่นา่ จะเหมาะที่สดุ มนั คอื
หนงั เงียบทีอ่ ยใู่ นรปู แบบของหนังสอื นน่ั เอง! และดเู หมอื น
ผ้เู ขียนกจ็ งใจให้เปน็ อยา่ งน้ัน ด้วยการใสก่ รอบสดี �ำ ใหด้ ู
ประหนึ่งวา่ เปน็ จอภาพยนตรต์ ัง้ แต่หน้าแรกจนหนา้ สุดท้าย
และในหนา้ สุดท้ายยงั จบด้วยคำ�ว่า the end เช่นเดยี วกับ
ภาพยนตรใ์ นยุคแรกๆ

50


Click to View FlipBook Version