The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Huso KKU PR, 2020-07-13 02:52:10

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

คำนำ

คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เล่มน้ี จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลหลักสาหรับนักศึกษาใน
การคน้ หาข้อมลู ต่างๆ ท่ีจาเป็นสาหรบั การศกึ ษาในคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ และในมหาวิทยาลัยขอนแกน่ ก่อนเรมิ่
เรยี นนกั ศกึ ษาทกุ คนควรทาความเขา้ ใจรายละเอยี ดของหลักสูตรทตี่ นจะศึกษาวา่ ตนจะตอ้ งเรยี นทั้งหมดก่หี นว่ ยกติ รายวิชาใด
ทีต่ ้องไปเรยี นเพราะเปน็ วชิ าบงั คบั รายวชิ าใดเลือกเรยี นได้ เพ่ือทีน่ กั ศึกษาจะสามารถวางแผนการเรยี นให้สาเร็จตามเป้าหมาย
และวตั ถุประสงค์ของหลักสูตรภายในระยะเวลาทก่ี าหนด

นอกจากข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรแล้ว หนังสือเล่มน้ียังมีประกาศ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆของมหาวิทยาลัย
และคณะ ที่นักศึกษาจะต้องทราบและพึงปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อประโยชน์ของนักศึกษาเองและไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดใน
การศึกษาเลา่ เรียน จนกลายเป็นอปุ สรรคตอ่ ตนเองได้

รองศาสตราจารย์ ดร.กลุ ธดิ า ทว้ มสุข
คณบดีคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

ก หนา้

สารบญั 1
2
คานา 7
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 8
ความเปน็ มา 9
วตั ถปุ ระสงค์ 9
การแบง่ ส่วนราชการ 9
แผนภมู ิแสดงสายงานบริหาร 10
การบริหารงาน 13
คณะผู้บรหิ ารชุดปจั จบุ ัน
ผทู้ รงคุณวฒุ ิในคณะกรรมการประจาคณะฯ 14
การผลิตบณั ฑิต 14
บคุ ลากรของคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 14
16
หลักสตู ร 17
สารสนเทศศาสตรบณั ฑิต 18
ลกั ษณะโครงสรา้ งและขอบข่ายของหลกั สูตร 20
วชิ าศกึ ษาทัว่ ไป 22
วิชาเฉพาะ 23
วชิ าเลอื กเสรี 23
ศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศกึ ษา 23
ลกั ษณะโครงสร้างและขอบขา่ ยของหลกั สตู ร 23
วชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 23
วิชาเฉพาะ 24
วชิ าเลอื กเสรี 27
ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย 28
ลักษณะโครงสรา้ งและขอบข่ายของหลักสตู ร 28
วิชาศกึ ษาทั่วไป 228
วิชาเฉพาะ 29
วิชาเลือกเสรี 32
รัฐประศาสนศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์
ลักษณะโครงสรา้ งและขอบขา่ ยของหลกั สูตร
วิชาศึกษาทว่ั ไป
วิชาเฉพาะ
วิชาเลือกเสรี

ข 33
33
ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาตะวนั ออก 33
ลกั ษณะโครงสรา้ งและขอบข่ายของหลักสูตร 34
วิชาศึกษาทั่วไป 38
วิชาเฉพาะ 39
วิชาเลือกเสรี 39
39
ศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาตะวันตก 40
ลักษณะโครงสร้างและขอบข่ายของหลกั สตู ร 46
วิชาศึกษาท่วั ไป 47
วิชาเฉพาะ 47
วิชาเลือกเสรี 47
49
ศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าสงั คมศาสตร์ 52
ลกั ษณะโครงสรา้ งและขอบขา่ ยของหลกั สูตร 53
วิชาศกึ ษาทั่วไป 53
วิชาเฉพาะ 53
วิชาเลือกเสรี 55
59
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
ลักษณะโครงสรา้ งและขอบข่ายของหลักสูตร 60
วชิ าศึกษาทวั่ ไป 62
วชิ าเฉพาะ 66
วชิ าเลอื กเสรี 70
74
โปรแกรมการศกึ ษา 78
สารสนเทศศาสตรบณั ฑิต 82
สาขาวชิ าเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตศ้ ึกษา 86
สาขาวชิ าภาษาไทย 90
สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ 94
สาขาวิชาภาษาตะวนั ออก-วชิ าเอกภาษาจนี แผน A 98
สาขาวชิ าภาษาตะวันออก-วิชาเอกภาษาจนี แผน B 102
สาขาวชิ าภาษาตะวันออก-วิชาเอกภาษาญ่ีปนุ่ 106
สาขาวชิ าภาษาตะวนั ตก-วชิ าเอกภาษาสเปน
สาขาวิชาภาษาตะวันตก-วิชาเอกภาษาเยอรมัน
สาขาวชิ าภาษาตะวนั ตก-วชิ าเอกภาษาฝร่ังเศส
สาขาวชิ าสังคมศาสตร์-วชิ าเอกสงั คมวทิ ยาและมานุษยวิทยา
สาขาวิชาสังคมศาสตร์-วิชาเอกพัฒนาสังคม
สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ

ค 110
111
รายวชิ าโทและโปรแกรมการศึกษาวิชาโท 112
วิชาโทภาษาสเปน 113
วิชาโทเกาหลี 115
วิชาโทภาษาจนี 117
วิชาโทภาษาเยอรมนั 118
วิชาโทภาษาญ่ปี ุน่ 119
วชิ าโทภาษาองั กฤษ 120
วิชาโทการจัดการสารสนเทศ 121
วชิ าโทการประชาสมั พนั ธ์ 122
วชิ าโทการจัดการจดหมายเหตดุ จิ ทิ ัล 124
วชิ าโทสังคมวิทยาและมานษุ ยวิทยา 125
วชิ าโทภาษาไทย 126
วิชาโทภาษาสื่อสารมวลชน 128
วชิ าโทภาษาฝร่งั เศส 131
วชิ าโทประวตั ศิ าสตร์และโบราณคดี 133
วชิ าโทปรัชญา
วิชาโทศาสนา 134
วิชาโทพฒั นาสังคม
147
ระบบรหัสวชิ า 148
คาอธบิ ายรายวชิ า 151
156
สาขาวชิ าภาษาเกาหลี 164
สารสนเทศศาสตรบัณฑิต 172
สาขาวชิ าเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตศ้ ึกษา 177
สาขาวิชาภาษาไทย 184
สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ 191
สาขาวิชาภาษาตะวนั ออก-วชิ าเอกภาษาจนี 195
สาขาวชิ าภาษาตะวันออก-วิชาเอกภาษาญปี่ นุ่ 203
สาขาวชิ าภาษาตะวนั ตก-วิชาเอกภาษาสเปน 211
สาขาวชิ าภาษาตะวนั ตก-วิชาเอกภาษาเยอรมนั 214
สาขาวชิ าภาษาตะวันตก-วชิ าเอกภาษาฝรง่ั เศส 225
สาขาวชิ าสังคมศาสตร์-วชิ าเอกสงั คมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา 227
สาขาวชิ าสังคมศาสตร์-วิชาเอกพฒั นาสังคม 233
สาขาวิชาภาษาองั กฤษ
รายวชิ าประวตั ิศาสตรแ์ ละโบราณคดี
รายวิชาปรชั ญาและศาสนา
รายวิชาภาษาอาเซียน



รายวิชาท่บี รกิ ารให้แกน่ กั ศกึ ษาตา่ งคณะ 241

รายวิชาที่บริการใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาคณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 244

บริการและกิจการนกั ศกึ ษาทค่ี วรทราบ

รายชอ่ื คณะกรรมการฝา่ ยพัฒนานกั ศึกษา 268

สโมสรนักศกึ ษาคณะและชมุ นุมตา่ งๆ 269

หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับนกั ศึกษา 270

คณาจารยแ์ ละอาจารย์พเิ ศษ

สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ 274

สาขาวชิ าภาษาตะวันตก 277

สาขาวิชาภาษาตะวันออก 279

สาขาวชิ าภาษาไทย 281

ผู้เชยี่ วชาญภาษาต่างชาติ 283

สาขาวชิ าสารสนเทศและการสอ่ื สาร 284

สาขาวิชาสงั คมศาสตร์ 285

รัฐประศาสนศาสตร์ 285

สงั คมวิทยาและมานษุ วิทยา 288

พัฒนาสังคม 289

สาขาวชิ ามนุษยศาสตร์ 290

ปรัชญาและศาสนา 291

หัวใจนกั ศึกษา

คณะกรรมการจดั ทาคูม่ อื นกั ศกึ ษา

ประกาศท่คี วรทราบ

ระเบียบมหาวิทยาลยั ขอนแก่น

วา่ ดว้ ยการศกึ ษาขั้นปรญิ ญาตรี พ.ศ.2562

ประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ (ฉบับที่ 766/2549)

เรอ่ื ง การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวชิ าระดบั ปรญิ ญาตรีจากการศกึ ษา

ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแก่น (ฉบบั ที่ 829/2549)

เร่อื ง หลกั เกณฑ์และวิธกี ารขอคืนสภาพนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี

ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

วา่ ด้วยการสอบประจาภาคของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2557

ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ วา่ ดว้ ยการจดั การเรยี นการสอนภาคการศึกษาพิเศษ

ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ.2557

ประกาศคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (ฉบบั ที่ 6)

เร่อื ง หลกั เกณฑแ์ ละแนวทางปฏิบัตเิ ก่ียวกับการตรวจสอบระบบคะแนนสอบไล่

ประกาศคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (ฉบบั ที่ 31/2559)

เร่ือง ขอ้ กาหนดในการสาเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่



ประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ (ฉบับที่ 755/2560)
เรอ่ื ง รหสั สาขาวิชาในระบบรหัสวชิ า คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

ประกาศคณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับที่ 26/2560)
เรอ่ื ง การใชร้ ะบบรหสั วิชา คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

ประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (ฉบบั ท่ี 189/2531)
เรอื่ ง การกาหนดเงื่อนไขของรายวชิ า

ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแก่น (ฉบบั ที่ 1076/2549)
เรอ่ื ง ให้นบั รายวชิ าภาษาจนี ตามหลักสตู รฝกึ อบรมที่เปดิ สอนโดยสถาบนั ขงจอ๊ื
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น เปน็ วิชาเลือกเสรีในหลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี
ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประกาศคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ (ฉบบั ท่ี 47/2556)
เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเกีย่ วกบั การเลอื กชดุ วิชาโทของนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี

ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (ฉบบั ท่ี 1043/2551)
เรอื่ ง ให้นับหลักสตู รฝกึ อบรมภาษาและวัฒนธรรมจีนทเี่ ปดิ สอนโดยสถาบนั ขงจอ๊ื
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น เป็นรายวชิ าเลือกเสรีในหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรีของมหาวทิ ยาลัย

ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแก่น (ฉบับท่ี 771/2548)
เร่อื ง การพัฒนาศักยภาพทางคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศขน้ั พน้ื ฐาน
สาหรบั นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ (ฉบับท่ี 57/2549)
เร่ือง การยกเวน้ การลงทะเบยี นรายวิชาพื้นฐานทางคอมพวิ เตอร์ สาหรบั นกั ศกึ ษา
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (ฉบับที่ 2126/2551)
เรื่อง การทดสอบความร้คู วามสามารถและทักษะตามหลักสตู รมาตรฐาน
ความรู้ความสามารถทางคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศขนั้ พืน้ ฐาน
สาหรบั นักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรมี หาวิทยาลยั ขอนแกน่

ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (ฉบบั ที่ 816/2552)
เรอ่ื ง เกณฑ์มาตรฐานความรคู้ วามสามารถทางคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ขน้ั พน้ื ฐาน สาหรับนกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ พ.ศ. 2552

ประกาศมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (ฉบบั ท่ี 486/2555)
เรื่อง การทดสอบความรคู้ วามสามารถและทักษะตามหลักสตู รมาตรฐานความรู้
ความสามารถทางคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศข้นั พืน้ ฐาน
สาหรับนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (ฉบับที่ 2)

ประกาศสภามหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (ฉบบั ท่ี 2/2557)
เร่อื ง นโยบายการพฒั นาภาษาอังกฤษสาหรบั นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (ฉบบั ท่ี 791/2555)
เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การจดั การศึกษารายวชิ าสหกิจศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่



ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแก่น (ฉบับท่ี 1668/2557)
เรื่อง หลกั เกณฑก์ ารเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้แบบบรู ณาการของนกั ศกึ ษา
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

ประกาศคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (ฉบบั ที่ 8/2533)
เรอ่ื ง การแต่งกายของนกั ศึกษา

ประกาศมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ (ฉบับท่ี 440/2542)
เรอ่ื ง การใช้ใบรบั รองแพทย์เปน็ หลกั ฐานประกอบการลา
และกรณีอน่ื ๆ ท่เี ก่ียวกับนกั ศกึ ษา

1

คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

ความเป็นมา

เม่อื เร่มิ ตง้ั มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่นขึ้นในปี พ.ศ.2507 นั้นนโยบายหลักท่ีสาคญั ของมหาวิทยาลยั ประการหนึง่ คอื การ
พยายามเน้นให้เป็นสถาบันท่ีเชี่ยวชาญและชานาญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงมีคณะเกษตรศาสตร์และ
วศิ วกรรมศาสตร์ทท่ี าหนา้ ที่ในการผลิตบณั ฑติ ระดับปริญญาตรีโดยมีคณะวิทยาศาสตรแ์ ละอักษรศาสตรท์ าหนา้ ที่ในการให้บริการ
สอนวิชาพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และมีภาควิชาภาษาอังกฤษสอนวิชาทางด้านภาษาต่างประเทศให้กับนักศึกษาของ
มหาวิทยาลัยส่วนวิชาทางด้านสังคมศาสตร์จะเปิดสอนอยู่ในคณะเกษตรศาสตร์

พ.ศ.2513 มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ได้จัดตงั้ คณะศึกษาศาสตรเ์ พ่มิ ขนึ้ และมีภาควิชาพ้นื ฐานการศึกษาทาหนา้ ที่รับผิดชอบ
ในการสอนวิชาพ้ืนฐานด้านมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ให้แก่นักศึกษาต่อมาไดใ้ ห้บริการแก่คณะตา่ งๆในมหาวิทยาลยั เพ่ิมขึน้
เนือ่ งจากทบวงมหาวทิ ยาลยั ได้วางเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รปรญิ ญาตรีให้นกั ศึกษาทุกสาขาต้องเรยี นวชิ าพื้นฐานทางมนษุ ยศาสตร์
และสงั คมศาสตร์เพ่ิมข้นึ

พ.ศ.2518 คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ได้รับอนุมัติให้จัดต้ังภาควิชาบรรณารักษศาสตรเ์ พ่ิมข้ึนอีกภาควิชาหน่งึ
ทาการสอนนักศึกษาวิชาเอกบรรณารักษศาสตร์ระดับปริญญาตรีเพื่อผลิตบรรณารักษ์ออกไปทางานในโรงเรียนและหน่วยงาน
ต่างๆในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ทีย่ งั ขาดแคลนบรรณารักษ์อยอู่ กี เป็นจานวนมาก

ในแผนพัฒนาการศกึ ษาระยะท่ี 4 (พ.ศ. 2520-2524) มหาวิทยาลยั ขอนแก่นไดม้ ีโครงการจัดตง้ั คณะมนุษยศาสตรแ์ ละ
สังคมศาสตร์ข้นึ เนื่องจากเหน็ ว่าบุคลากรท่ีสอนวิชาทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตรน์ ้ันกระจัดกระจายอยู่ในหลายคณะด้วยกัน
ได้แก่ คณะศึกษาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และอักษรศาสตร์ และคณะเกษตรศาสตร์ลักษณะดังกล่าวก่อให้เกิดความไม่เป็น
เอกภาพทางวิชาการ และการบริหารก่อให้เกิดปัญหาท่ีติดตามมาหลายๆ ด้านเช่นการทางานซ้าซ้อนกันการสูญเปล่าการขาด
คุณภาพและประสิทธิภาพในการสอนการขาดการพัฒนาบุคลากรทางด้านวิชาการตลอดจนเป็นอุปสรรคต่อความสามารถของ
มหาวิทยาลัยในการท่ีจะปฏิบัติภารกิจหลักในการผลิตบัณฑิตให้การศึกษาค้นคว้าวิจัยบริการวิชาการแก่สังคมและทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นหน้าที่หลักของมหาวิทยาลัยที่จะต้องกระทาเพื่อพัฒนาภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามเจตนารมณ์ใน
การกอ่ ต้ังมหาวิทยาลยั

เหตุผลท่ีสาคัญอีกประการหน่ึงในการจัดตั้งคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้นคือ บรรดาผู้เชี่ยวชาญ ชาว
ต่างประเทศท่ีมาช่วยงานและมาเย่ียมเยียนมหาวิทยาลัยได้เน้นให้เห็นความสาคัญของนักวิชาการด้านสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์ท่ีจะสามารถช่วยศกึ ษาและอธิบายปญั หาตา่ ง ๆ ท่คี วามรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่สามารถตอบไดป้ ระกอบ
กับผู้บริหารของมหาวิทยาลัยในขณะนั้นได้เล็งเห็นความสาคัญของวิชาทางด้านมนุษยศา สตร์และสังคมศาสตร์ว่าสามารถนาไป
ประยกุ ต์ใช้ควบคกู่ ับความรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาภาคอีสานไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

ดังนั้น ในการประชุมคณบดีมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ครั้งที่ 16 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2519 จึงมมี ติให้รวมหน่วยงานและ
บุคลากรที่ทาการสอนวิชาด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ไว้ด้วยกันเพ่ือจัดตั้งเป็นคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์โดยมี
หน้าท่ีรับผิดชอบการเรียนการสอนค้นคว้าและวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์(ส่วนการผลิตบัณฑิตสาขาวิชา
บรรณารกั ษศาสตร์ก็ยงั คงให้ดาเนินการต่อไป)

จากมติท่ีประชุมคณบดีดังกล่าวมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้มีคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการร่างโครงการจัดตั้งคณะ
มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ เม่ือวันที่ 19 กรกฎาคม 2520 คณะกรรมการร่างโครงการฯ ได้ดาเนินการจนบรรลุผลสาเรจ็ โดยมี
ประกาศสานักนายกรัฐมนตรีลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2521 แบ่งส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่นซ่ึงมีคณะมนุษยศาสตร์ และ
สังคมศาสตร์รวมอยู่ด้วยประกาศดังกล่าวลงในราชกิจจาอุเบกขา เล่มที่ 95 ตอนที่ 72 หน้า 433-437 เม่ือวันท่ี 18 กรกฎาคม
2521 ซึ่งวนั ดังกล่าวถอื เป็นวันสถาปนาคณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์

2

วัตถุประสงค์

เพื่อใหบ้ รรลุเปา้ หมายขา้ งตน้ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตรจ์ งึ ไดร้ บั การจัดตัง้ ขึ้นโดยมวี ตั ถุประสงคห์ ลกั เพอื่
1. ผลติ บณั ฑิตและให้บรกิ ารวิชาพนื้ ฐานด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2. ทาการศึกษาคน้ ควา้ และวจิ ัย
3. บริการวชิ าการแกช่ มุ ชน
4. ทานบุ ารุงศิลปะและวฒั นธรรม
และมีวตั ถปุ ระสงคท์ ว่ั ไปเพอื่
1. พัฒนาความงอกงามของสติปัญญาและการเจรญิ ทางความคดิ อันนาไปสู่ความก้าวหนา้ ทางวิชาการ
2. สร้างกาลงั คนระดบั วชิ าชพี ช้ันสูงเพอ่ื พฒั นาสงั คม
3. เป็นแหลง่ วชิ าการทีจ่ ะเอ้อื อานวยประโยชนต์ ่อการพฒั นาชุมชน
4. เพ่อื พัฒนาคนใหส้ มบูรณด์ ้วยคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมใหส้ ามารถดาเนินชีวิตท่มี ีคณุ คา่ ต่อตนเองและผู้อ่นื

การแบง่ สว่ นราชการในระยะแรกนน้ั แบง่ เปน็ 2 ฝ่ายคือ
1. ฝา่ ยบรหิ ารและธรุ การ
2. ฝา่ ยวชิ าการ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 4 ภาควิชาไดแ้ ก่
(1) ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ใน พ.ศ.2529 ไดร้ ับอนุมตั ใิ หเ้ ปลยี่ นช่อื ใหม่เป็นภาควิชา

บรรณารักษศาสตรแ์ ละสารนเิ ทศศาสตร์
(2) ภาควิชาภาษาต่างประเทศเดิมคอื ภาควชิ าภาษาองั กฤษ สังกดั คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละอกั ษรศาสตร์
(3) ภาควชิ ามนุษยศาสตร์ไดย้ บุ ภาควิชามนษุ ยศาสตรใ์ น พ.ศ.2538 เนอื่ งจากมีการจัดตงั้ ภาควิชา

ใหม่คือภาควิชาภาษาไทย (พ.ศ.2532) ภาควิชาประวัตศิ าสตร์และโบราณคดี (พ.ศ.2535) และภาควิชาปรัชญาและศาสนา (พ.ศ.
2535)

(4) ภาควิชาสังคมศาสตร์ได้มีการขยายตัวจัดต้ังภาควิชาใหม่เพิ่มข้ึนอีก 2 ภาควิชาคือภาควิชาสังคมวิทยาและ
มานษุ ยวิทยา (พ.ศ.2531) และภาควิชาพัฒนาสงั คม (พ.ศ.2535)

3. ตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2560 ได้ปรับโครงสร้างการบริหารงานใหม่ แบ่งออกเปน็ 2 ฝา่ ย คือ ฝ่ายสนบั สนนุ และฝ่ายวชิ าการ
ประกอบดว้ ย

(1) ฝา่ ยสนบั สนนุ แบง่ เปน็ 3 งาน คือ งานบรหิ าร งานแผนและสารสนเทศ และงานวชิ าการ
(2) ฝา่ ยวิชาการ แบ่งเป็น 7 สาขาวชิ า ได้แก่ สาขาวชิ าภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ภาษาตะวนั ออก ภาษาตะวันตก
สารสนเทศศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนษุ ยศาสตร์

3 ปีที่เร่มิ รบั นักศกึ ษา
พ.ศ.2518
การผลิตบัณฑติ พ.ศ.2530
ในดา้ นการผลิตบณั ฑติ นนั้ คณะฯ ได้เปดิ หลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรโี ทและเอกดงั น้ี พ.ศ.2532
พ.ศ.2545
ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ.2551
1. หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าบรรณารกั ษศาสตร์ พ.ศ.2555
ปรับปรงุ หลักสูตรเป็น สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ พ.ศ.2557
ปรบั ปรุงหลกั สูตรเปน็ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตรแ์ ละสารนเิ ทศศาสตร์ พ.ศ.2562
ปรับปรงุ หลักสูตรเปน็ สาขาวชิ าสารสนเทศศาสตร์ พ.ศ.2523
มกี ารปรบั ปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2542
มกี ารปรบั ปรุงหลกั สูตร พ.ศ.2550
มีการปรบั ปรงุ หลกั สูตร เปน็ สารสนเทศศาสตรบัณฑติ พ.ศ.2556
มีการปรบั ปรงุ หลกั สูตร เปน็ สารสนเทศศาสตรบณั ฑติ พ.ศ.2561
2. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ พ.ศ.2527
มกี ารปรบั ปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2541
มีการปรบั ปรุงหลักสตู ร พ.ศ.2550
มกี ารปรับปรุงหลกั สตู ร พ.ศ.2555
มกี ารปรบั ปรุงรวมหลักสตู ร เป็น สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ พ.ศ.2561
3. หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการพัฒนาชมุ ชน พ.ศ.2527
มกี ารปรับปรงุ หลักสตู รเปน็ สาขาวชิ าการจดั การการพัฒนาสังคม
มกี ารปรับปรุงหลักสตู ร พ.ศ.2531
มกี ารปรบั ปรุงหลักสตู รเป็น สาขาวชิ าพัฒนาสังคม พ.ศ.2546
มกี ารปรบั ปรงุ หลักสตู ร เป็น สาขาวชิ าสงั คมศาสตร์-วิชาเอกพัฒนาสังคม พ.ศ.2554
4. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าบริหารธุรกจิ (การเงนิ ) พ.ศ.2560
พ.ศ.2536 ไดย้ า้ ยไปสังกดั คณะวทิ ยาการจัดการ พ.ศ.2532
5. หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาฝรั่งเศส พ.ศ.2545
มกี ารปรับปรุงหลกั สูตร พ.ศ.2551
มีการปรบั ปรงุ หลกั สูตร พ.ศ.2554
มีการปรบั ปรงุ หลักสตู ร เป็น ภาษาตะวนั ตก-วิชาเอกภาษาฝร่งั เศส พ.ศ.2559
6. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย พ.ศ.2545
มกี ารปรับปรงุ หลักสตู ร พ.ศ.2552
มีการปรบั ปรุงหลักสูตร พ.ศ.2556
มีการปรบั ปรงุ หลกั สตู ร พ.ศ.2560
มีการปรับปรงุ หลักสูตร
7. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาเยอรมนั
ปรบั ปรงุ หลักสูตรเปน็ สาขาวชิ าภาษาเยอรมนั เพื่ออาชพี
มกี ารปรับปรงุ หลกั สูตร
มีการปรบั ปรุงหลักสูตร เป็น ภาษาตะวันตก-วชิ าเอกภาษาเยอรมัน

4

8. หลักสตู รนติ ศิ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ านิติศาสตร์ พ.ศ.2547
พ.ศ.2549 ไดย้ ้ายไปสังกดั โครงการจัดตั้งคณะนติ ิศาสตร์
พ.ศ.2548
9. หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ.2555
มกี ารปรับปรุงหลักสูตร เป็น รัฐประศาสนศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ พ.ศ.2560
มีการปรบั ปรุงหลักสูตร พ.ศ.2548

10. หลักสตู รรัฐประศาสนศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการปกครองทอ้ งถ่นิ พ.ศ.2548
พ.ศ.2551 ไดย้ า้ ยไปสงั กดั วิทยาลยั การปกครองทอ้ งถิน่ พ.ศ.2556
พ.ศ.2560
11. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาจนี พ.ศ.2548
มกี ารปรับปรุงหลกั สูตร พ.ศ.2555
มกี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู ร เปน็ ภาษาตะวันออก-วิชาเอกภาษาจีน พ.ศ.2560
พ.ศ.2550
12. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาญีป่ ่นุ พ.ศ.2556
มีการปรับปรุงหลกั สตู ร พ.ศ.2560
มกี ารปรบั ปรุงหลักสูตร เปน็ ภาษาตะวันออก-วชิ าเอกภาษาญปี่ นุ่ พ.ศ.2548
พ.ศ.2556
13. หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ พ.ศ.2561
มกี ารปรับปรงุ หลกั สูตร พ.ศ.2550
มกี ารปรบั ปรุงรวมหลักสตู ร เป็น สาขาวิชาภาษาตะวันออก-วชิ าเอกภาษาจีน พ.ศ.2555
พ.ศ.2561
14. หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษธุรกจิ พ.ศ.2550
มกี ารปรบั ปรงุ หลกั สูตร พ.ศ.2556
มีการปรบั ปรุงรวมหลักสูตร เป็น สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ พ.ศ.2560
พ.ศ.2552
15. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา พ.ศ.2556
มีการปรับปรุงหลกั สูตร
มกี ารปรบั ปรุงหลักสูตร เป็น สาขาวิชาสังคมศาสตร์-วิชาเอกสาขาวชิ าสงั คมวิทยาและมานษุ ยวิทยา พ.ศ.2553
พ.ศ.2556
16. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาสเปน พ.ศ.2561
มีการปรับปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2558
มกี ารปรบั ปรุงหลักสตู ร เปน็ ภาษาตะวนั ตก-วิชาเอกภาษาสเปน พ.ศ.2563

17. หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
มีการปรับปรุงหลักสูตร
ปิดหลกั สตู ร พ.ศ.2562

18. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ หลกั สูตรนานาชาติ
มีการปรบั ปรงุ หลักสตู ร
มกี ารปรับปรงุ รวมหลกั สตู ร เปน็ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ
หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตศ้ กึ ษา (หลกั สตู รใหม่)
มกี ารปรบั ปรงุ หลักสตู ร เป็น สาขาวิชาเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ศึกษา

5 ปที ่ีเรมิ่ รับนักศึกษา
พ.ศ.2531
ระดับปริญญาโท พ.ศ.2541
1. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าสังคมวทิ ยาการพัฒนา พ.ศ.2547
มีการปรบั ปรุงหลกั สูตร พ.ศ.2555
มกี ารปรบั ปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2560
มกี ารปรบั ปรุงหลกั สูตร เป็น สาขาวิชาสังคมวิทยา พ.ศ.2561
มกี ารปรบั ปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2537
มีการปรับปรงุ รวมหลกั สตู ร เป็น สาขาวิชาสหวิทยาการสงั คมศาสตร์ พ.ศ.2540
2. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารนิเทศศาสตร์ พ.ศ.2548
มีการปรับปรุงหลักสูตรเปน็ สาขาวชิ าบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ พ.ศ.2554
มีการปรับปรงุ หลักสูตรเป็น สาขาวิชาการจดั การสารสนเทศ พ.ศ.2559
มกี ารปรับปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2538
มกี ารปรบั ปรุงหลกั สูตรเปน็ สาขาวิชาสารสนเทศศาสตรมหาบณั ฑติ พ.ศ.2551
3. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการพฒั นา พ.ศ.2556
มกี ารปรับปรุงหลกั สตู ร
มกี ารปรับปรุงหลกั สูตร พ.ศ.2538
ปดิ หลักสตู ร ปี พ.ศ.2560 พ.ศ.2548
4. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพัฒนาสังคม พ.ศ.2556
มีการปรบั ปรงุ หลักสตู ร พ.ศ.2561
มกี ารปรับปรงุ หลกั สตู ร พ.ศ.2540
มีการปรบั ปรงุ รวมหลกั สูตร เป็น สาขาวชิ าสหวิทยาการสังคมศาสตร์ พ.ศ.2551
5. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ พ.ศ.2556
มีการปรับปรงุ หลักสตู ร พ.ศ.2562
มีการปรบั ปรุงหลักสตู ร พ.ศ.2541
มกี ารปรบั ปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2551
6. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าปรชั ญา พ.ศ.2555
มีการปรบั ปรงุ หลกั สูตร พ.ศ.2561
มกี ารปรับปรงุ หลกั สตู ร พ.ศ.2548
มีการปรับปรุงหลกั สตู ร เป็น ปรัชญาและศาสนาตะวันออก พ.ศ.2553
7. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารอตุ สาหกรรมและวิสาหกิจ
มกี ารปรับปรงุ หลกั สตู ร พ.ศ.2548
ปดิ หลักสูตร ปี พ.ศ.2560
8. หลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการปกครองทอ้ งถิน่ พ.ศ.2553
พ.ศ.2551 ไดย้ า้ ยไปสังกัดวทิ ยาลยั การปกครองทอ้ งถ่นิ พ.ศ.2554
9. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าลุม่ น้าโขงศกึ ษา พ.ศ.2559
มกี ารปรบั ปรงุ หลักสูตร
มกี ารปรับปรุงหลกั สตู ร

6

10. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย พ.ศ.2553
มีการปรบั ปรุงหลักสตู ร พ.ศ.2554
มีการปรับปรุงหลกั สตู ร พ.ศ.2560
พ.ศ.2558
11. หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมภาษาจนี
หลกั สตู รใหม่ พ.ศ.2558

12. หลักสตู รรัฐประศาสนสตรมหาบณั ฑิต พ.ศ.2561

หลกั สตู รใหม่

มีการปรับปรุงรวมหลักสูตร เป็น สาขาวชิ าสหวิทยาการสังคมศาสตร์

ระดับปริญญาเอก ปีที่เริม่ รับนักศึกษา

1. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพัฒนศาสตร์ พ.ศ.2540

มกี ารปรบั ปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2545

มกี ารปรบั ปรุงหลักสตู ร พ.ศ.2553

มกี ารปรับปรุงหลกั สตู ร พ.ศ.2556

มีการปรับปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2561

2. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาพัฒนศาสตร์ หลกั สูตรนานาชาติ พ.ศ.2549

มีการปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ.2556

ปิดหลักสูตร ปี พ.ศ.2561

3. หลักสตู รปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าสารสนเทศศึกษา พ.ศ.2546

มกี ารปรับปรุงหลกั สตู ร พ.ศ.2553

มกี ารปรับปรงุ หลักสูตร พ.ศ.2554

มกี ารปรับปรุงหลกั สตู ร พ.ศ.2560

4. หลักสตู รปรัชญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าสังคมวทิ ยา พ.ศ.2548

มกี ารปรบั ปรงุ หลักสตู ร พ.ศ.2555

มีการปรับปรงุ หลักสตู ร พ.ศ.2560

5. หลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ พ.ศ.2555

มกี ารปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ.2561

6. หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาวิชาปรัชญาและศาสนาตะวนั ออก พ.ศ.2556

มีการปรับปรุงหลักสตู ร พ.ศ.2561

7. หลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาศาสตร์ประยกุ ต์ พ.ศ.2557

มีการปรับปรุงหลกั สตู ร พ.ศ.2562

8. หลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย พ.ศ.2560

หมายเหตุ ทกุ หลักสูตรไดร้ บั การปรบั ปรงุ หลกั สตู รตามเกณฑม์ าตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษา ประจาปี พ.ศ.2552 (TQF)

7

การแบง่ ส่วนราชการ
ใ น ปั จ จุ บั น ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ ไ ด้ มี ก า ร ป รั บ เ ป ล่ี ย น โ ค ร ง ส ร้ า ง ใ ห ม่ ต า ม ป ร ะ ก า ศ

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับท่ี 2968/2560) เรื่อง การแบ่งหน่วยงานและหน่วยงานย่อยภายในคณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เม่ือวันที่ 29 ธันวาคม 2560 โดยผ่านที่ประชุมคณะกรรมการประจาคณะ คร้ังท่ี 2/2560
เมอื่ วันท่ี 26 มกราคม 2560 เห็นสมควรปรบั โครงสร้างการบรหิ ารคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ดงั น้ี

1. กองบริหารงานคณะ แบ่งเป็น 3 งาน คอื
1.1 งานบรหิ าร
1.2 งานวชิ าการ
1.3 งานยทุ ธศาสตร์

2. หนว่ ยงานท่ีจดั ตงั้ ขนึ้ ตามภารกิจเฉพาะหรอื ตามยทุ ธศาสตร์ หรือการพ่งึ ตวั เองของคณะ คือ
2.1 ศนู ยช์ ุมชนอสี านศึกษา
2.2 ศูนยเ์ ชีย่ วชาญภาษาอังกฤษ
2.3 ศูนย์บรกิ ารแรงงานและการยา้ ยถ่ินระหวา่ งประเทศ
2.4 ศนู ยป์ ระชาสงั คมและการจดั การองคก์ รเอกชนสาธารณประโยชน์
2.5 ศูนยภ์ าษาอาเซียน

3. การบรหิ ารวิชาการ แบง่ เป็นสาขาวิชา 7 สาขาวิชา คอื
3.1 สาขาวชิ าภาษาไทย
3.2 สาขาวิชาภาษาองั กฤษ
3.3 สาขาวิชาภาษาตะวนั ออก
3.4 สาขาวชิ าภาษาตะวนั ตก
3.5 สาขาวชิ าสารสนเทศศาสตร์
3.6 สาขาวชิ าสังคมศาสตร์
3.7 สาขาวิชามนษุ ยศาสตร์

ส่วนการบริหารจัดการภายใต้โครงสร้างใหม่ของสายวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ สาขาวิชามีหลักสูตร
หลายหลักสูตรอยู่ในความรับผิดชอบ ในแต่ละหลักสูตรจะมีการบริหารหลักสูตรโดยคณะกรรมการ ซ่ึงมีหน้าที่รับผิดชอบ
ในด้านมาตรฐานการศึกษาและวิชาการเท่านั้น จะไม่ต้องรับผิดชอบงานด้านบริหารจัดการ อันจะทาให้การบริหารวิชาการ
มปี ระสิทธภิ าพและมีคณุ ภาพมุ่งเน้นความเปน็ เลิศไดม้ ากข้นึ กวา่ เดิม

8

แผนภูมแิ สดงการบรหิ ารจัดการของคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ตามโครงสร้างใหม่ พ.ศ. 2560

9

การบริหารงาน

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์บริหารงานโดยมีคณบดีเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
โดยมีคณะกรรมการประจาคณะฯช่วยให้ความคิดเห็นและกาหนดนโยบายบริหารงานมีรองคณบดีฝ่ายต่างๆช่วยในงานบริหาร
ทั่วไปงานด้านวิชาการงานด้านแผนและสารสนเทศงานด้านวิจัยและบริการวิชาการและงานด้านพัฒนานักศึกษาคณะกรรมการ
ประจาคณะฯประกอบด้วยคณบดีเป็นประธานรองคณบดีฝ่ายตา่ งๆ เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง และกรรมการในคณะกรรมการ
ประจาคณะฯประเภทผูแ้ ทนหวั หน้าสาขาวชิ า และประเภทผทู้ รงคณุ วฒุ ิอกี 6 ทา่ น เป็นกรรมการ

คณะผบู้ ริหารชดุ ปจั จุบัน

รองศาสตราจารย์ ดร.กลุ ธดิ า ทว้ มสุข คณบดี

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุขมุ วสนุ ธราโศภติ รองคณบดฝี ่ายบริหาร

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.องั คณา ทองพูน พัฒนศร รองคณบดฝี ่ายวิชาการ

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กรวภิ า พลู ผล รองคณบดฝี ่ายแผนและสารสนเทศ

รองศาสตราจารย์ ดร.รตั นา จนั ทร์เทาว์ รองคณบดฝี า่ ยวิจยั และบริการวชิ าการ

ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์เฉลิมเกยี รติ มนิ า รองคณบดฝี ่ายพัฒนานกั ศึกษา

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สธุ ดิ า โง่นคา รองคณบดฝี า่ ยการตา่ งประเทศ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หอมหวล บวั ระภา ผชู้ ่วยคณบดีฝ่ายพฒั นานักศกึ ษา

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รกั ชนก ชานาญมาก ผชู้ ่วยคณบดีฝา่ ยวชิ าการ

อาจารยพ์ ราวพรรณ พลบญุ ผ้ชู ่วยคณบดฝี า่ ยบรหิ าร

ผูแ้ ทนหวั หนา้ สาขาวชิ าในคณะกรรมการประจาคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

รองศาสตรจารย์ ดร.สุกญั ญา เอมอม่ิ ธรรม

ผชู้ ว่ ยศาสตรจารย์ ดร.กันยารตั น์ เควียเซน่

อาจารย์ ดร.เวยี งคา ชวนอุดม

ผทู้ รงคณุ วุฒใิ นคณะกรรมการประจาคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

ผชู้ ว่ ยศาสตรจารย์ ดร.วริ ชั วงศ์ภนิ ันทว์ ัฒนา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศศิกานต์ โฆษติ ตระกูล

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์วัสมลิ ล์ วัชระกวีศลิ ป

10

การผลิตบณั ฑิต

ปัจจุบันคณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตรท์ าหน้าที่ให้บริการสอนวิชาศึกษาท่ัวไปด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
แก่นักศึกษาสาขาต่างๆของมหาวิทยาลัยและผลิตบัณฑิต ระดับปริญญาตรี 8 หลักสูตร 12 สาขาวิชาเอก ระดับปริญญาโท 7
หลกั สตู ร และปรญิ ญาเอก 7 หลกั สตู ร (ข้อมูล ณ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2563) ดงั นี้

ระดบั ปรญิ ญาตรี จานวนนกั ศกึ ษาปจั จบุ นั (คน) จานวนบัณฑิตทง้ั หมด (คน)

สาขาวชิ า 224 1,619
461 2,240
1. สารสนเทศศาสตร์ (461) (1,851)
(-) (389)
มีการปรับปรุงหลกั สูตรเป็น สารสนเทศศาสตรบณั ฑติ - 1121
- 1,060
2. ภาษาองั กฤษ 4 127
239 -
- ภาคปกติ 1 963
- โครงการพิเศษ 144 -
260 1,616
3. พฒั นาชมุ ชน - 374
143 -
มกี ารปรับปรุงหลกั สูตรเป็น การจัดการการพฒั นาสงั คม 330 899
มีการปรับปรงุ หลกั สูตรเป็น พัฒนาสงั คม - 326
มกี ารปรับปรงุ หลักสตู รเป็น สังคมศาสตร์-พัฒนาสังคม 4 476
360
4. ภาษาฝรง่ั เศส (279) -
(81) -
มีการปรบั ปรงุ หลักสูตรเป็น ภาษาตะวนั ตก-ภาษาฝรัง่ เศส 26 381
198 -
5. ภาษาไทย - 818
6. ภาษาเยอรมันเพื่ออาชีพ 6 746
- 72
มีการปรบั ปรุงหลกั สูตรเป็น ภาษาตะวันตก-ภาษาเยอรมัน 14 584
9 483
7. รฐั ประศาสนศาสตร์ 233 -

รัฐประศาสนศาสตร์ โครงการพิเศษ 1 278
139 -
8. ภาษาจนี - 25
- 86
มกี ารปรับปรงุ หลักสูตรเป็น ภาษาตะวนั ออก-ภาษาจนี 194 31
แผน A
แผน B 3,350 12,907

9. ภาษาญี่ปุ่น

มีการปรบั ปรงุ หลกั สตู รเป็น ภาษาตะวันออก-ภาษาญ่ปี ุ่น

10. ภาษาอังกฤษธรุ กจิ

-ภาคปกติ
-โครงการพิเศษ

11. ภาษาจีนธุรกจิ
12. สงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา

มกี ารปรับปรงุ หลักสตู รเป็น สงั คมศาสตร์-สังคมวิทยาและ
มานุษยวทิ ยา

13. ภาษาสเปน

มกี ารปรบั ปรุงหลักสตู รเป็น ภาษาตะวันตก-ภาษาสเปน

14. ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
15. ภาษาองั กฤษ หลักสูตรนานาชาติ
16. เอเชยี ตะวันออกเฉียงใตศ้ ึกษา

รวม

ระดบั ปริญญาโท 11 จานวนมหาบัณฑิตทงั้ หมด (คน)
275
สาขาวิชา จานวนนักศกึ ษาปัจจุบนั (คน) (161)
1. สงั คมวทิ ยาการพัฒนา 10 (114)
(10) 174
- ภาคปกติ -
- ภาคพเิ ศษ - 107
2. บรรณารักษศาสตร์และ 2
การจัดการสารสนเทศ (เดิม) 4 -
บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละ 11 (16)
การจัดการสารสนเทศ (หลกั สตู รปรับปรุง) - (93)
สารสนเทศศาสตร์ (หลักสตู รปรบั ปรุง) - 382
- ภาคปกติ (15) (68)
- ภาคพเิ ศษ 0 (238)
- โครงการพิเศษ (0) (76)
3.การบรหิ ารการพัฒนา - 339
- ภาคปกติ (0) (54)
- ภาคพเิ ศษ 15 (247)
-โครงการพิเศษ (15) (38)
4. พฒั นาสังคม - 244
- ภาคปกติ - (89)
- ภาคพเิ ศษ 40 99
- โครงการพิเศษ (24) (49)
5. ภาษาองั กฤษ - (7)
- ภาคปกติ (16) 70
- ภาคพิเศษ - -
- โครงการพเิ ศษ 2 (43)
- โครงการพิเศษ ระบบชดุ วิชา 2 (27)
6.ปรัชญา (0) 63
ปรชั ญาตะวันออก - (3)
- ภาคปกติ 0 (6)
- ภาคพิเศษ (0) (54)
7. การบริหารอตุ สาหกรรมและวิสาหกจิ - 19
- ภาคปกติ - (19)
-ภาคพิเศษ 12 84
- โครงการพเิ ศษ (12) (84)
8. ลุ่มน้าโขงศึกษา 36
- ภาคปกติ (36)
9. ภาษาไทย
- โครงการพิเศษ

12

ระดับปริญญาโท (ต่อ) จานวนนักศึกษาปัจจุบัน (คน) จานวนมหาบัณฑติ ทัง้ หมด (คน)
11 7
สาขาวชิ า (11) (7)
1. รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ 141
1,657
- โครงการพิเศษ
รวม จานวนนักศึกษาปัจจุบัน(คน) จานวนดษุ ฎบี ัณฑติ ทั้งหมด(คน)
21 65
ระดับปรญิ ญาเอก (21) (13)
(0) (52)
สาขาวิชา 0 2
1. พฒั นศาสตร์ (0) (1)
- (1)
- ภาคปกติ 33 71
- โครงการพิเศษ - (24)
2. พัฒนศาสตร์ หลักสตู รนานาชาติ (33) (47)
- ภาคปกติ 14 27
- โครงการพิเศษ (14) (15)
3. สารสนเทศศกึ ษา - (8)
- ภาคพิเศษ - (4)
- โครงการพิเศษ 26 7
4. สงั คมวทิ ยา (17) -
- ภาคปกติ (9) (7)
- ภาคพิเศษ 14 3
- โครงการพเิ ศษ (14) (3)
5. รฐั ประศาสนศาสตร์ 25 -
(25) -
- ภาคปกติ 133 175
- โครงการพิเศษ
6. ปรชั ญาและศาสนาตะวันออก
- โครงการพิเศษ
7. ภาษาศาสตรป์ ระยุกต์
- ภาคปกติ

รวม

13

บคุ ลากรของคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (ข้อมลู ณ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2563) แยกได้ดังน้ี

- คณาจารย์ (ขา้ ราชการ) 24 คน

อาจารย์ 11 คน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 12 คน

รองศาสตราจารย์ 1 คน

- พนักงานมหาวิทยาลยั สายผสู้ อน 78 คน
คน
อาจารย์ 37 คน
คน
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ 32 คน
คน
รองศาสตราจารย์ 9 คน
คน
ศาสตราจารย์ - คน
คน
- ลกู จา้ งช่วั คราว ตาแหน่งอาจารย์ 14 คน
คน
- ผู้มีความรคู้ วามสามารถพเิ ศษเปน็ อาจารย์ชาวไทย ตาแหน่งอาจารย์ 0 คน
คน
- ข้าราชการทีท่ าหน้าทชี่ ว่ ยสนบั สนนุ งานดา้ นวิชาการ 2 คน

- ลกู จ้างประจา 1

- ลูกจ้างชั่วคราว 18

- พนักงานมหาวทิ ยาลยั สายสนับสนุนรวมกลมุ่ เปลย่ี นสถานภาพ 37

- พนักงานหนว่ ยงานในกากับ 4

- พนักงานวสิ าหกิจ 1

- พนักงานราชการ 0

- ลกู จา้ งชั่วคราวชาวต่างประเทศ 17

14

หลกั สตู รสารสนเทศศาสตรบณั ฑิต
คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

(ปรบั ปรงุ พ.ศ.2562)

ลักษณะโครงสร้างและขอบขา่ ยของหลักสูตร มีดังตอ่ ไปนี้ 33 หน่วยกติ
1.หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป 12 หน่วยกติ
1.1 กลุ่มวิชาภาษา 6 หนว่ ยกติ
1.2 กลมุ่ วชิ ามนษุ ย์-สังคม 3 หน่วยกิต
1.3 กลมุ่ วชิ ากลุ่มวิชาวิทย์-คณติ 12 หน่วยกติ
1.4 กลมุ่ วชิ าศกึ ษาทัว่ ไปของคณะ 87 หน่วยกติ
2.หมวดวิชาเฉพาะ 51 หนว่ ยกิต
2.1 ชดุ วชิ าหลัก 18 หนว่ ยกติ
2.2 ชุดวิชาเสรมิ
2.3 การบูรณาการการเรียนรกู้ ับการทางาน (WIL) 18 หนว่ ยกติ
3.วชิ าเลอื กเสรี 6 หน่วยกติ
รวมตลอดหลักสตู ร 126 หน่วยกิต

1. หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 30 หนว่ ยกิต

กลุ่มวชิ าภาษา

1.1 กลุ่มวิชาภาษา 12 หนว่ ยกติ

ก. รายวชิ าภาษาอังกฤษ

LI 101 001 ภาษาองั กฤษ 1 3 หนว่ ยกติ

LI 101 002 ภาษาอังกฤษ 2 3 หน่วยกติ

LI 101 003 ภาษาอังกฤษ 3 3 หน่วยกติ

LI 101 004 ภาษาองั กฤษ 4 3 หน่วยกติ

000 160 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศขั้นพ้ืนฐาน ไม่นับหน่วยกิต

หรอื วิชาศึกษาทั่วไปทไ่ี ดร้ ับความเห็นชอบจากสานักวชิ าศกึ ษาทั่วไปท่ีจะเปดิ เพม่ิ ภายหลงั

นักศึกษาสามารถศึกษาเรียนรู้เพื่อพัฒนาทกั ษะพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยตนเอง โดย

เรยี นรายวชิ า 000 160 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศขั้นพ้ืนฐาน 3 หน่วยกิต เป็นรายวิชาไม่นับหน่วยกิต ใน

ระบบ e-Learning ของมหาวิทยาลัย (http:// e-Learning.kku.ac.th/) หรืออาจเข้ารับการอบรมในหลักสูตร

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดโดยมหาวิทยาลัยหรือคณะหรือหน่วยงานต่าง ๆ และจะต้องสอบผ่าน

“มาตรฐานความร้คู วามสามารถทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศขน้ั พน้ื ฐาน สาหรับนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี

มหาวิทยาลัยขอนแก่น” โดยระบบ e-testing ที่จัดโดยศูนย์นวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตาม

เกณฑ์ทมี่ หาวิทยาลัยกาหนด ซึง่ ถอื เป็นสว่ นหน่งึ ของเกณฑก์ ารสาเรจ็ การศึกษาในหลักสูตรปรญิ ญาตรี

กลมุ่ วชิ ามนุษย-์ สังคม

15

1.2 กลุ่มวชิ ามนุษย-์ สงั คม 3 หน่วยกติ
GE 142 145 ภาวะผนู้ าและการจัดการ 3 หน่วยกิต

หรอื วิชาศกึ ษาทวั่ ไปทไี่ ดร้ บั ความเห็นชอบจากสานกั วิชาศึกษาทัว่ ไปท่จี ะเปดิ เพม่ิ ภายหลงั

กลมุ่ วิชาวทิ ย-์ คณติ 6 หน่วยกติ
1.3 กลมุ่ วชิ ากลุ่มวชิ าวทิ ย์-คณิต 3 หน่วยกิต

GE 321 415 ทักษะการเรียนรู้ 3 หนว่ ยกิต
GE 363 789 ผู้ประกอบการสร้างสรรค์
หรอื วชิ าศกึ ษาทัว่ ไปทไ่ี ด้รับความเห็นชอบจากสานักวชิ าศึกษาทั่วไปท่จี ะเปดิ เพิ่มภายหลงั

1.4 กลุ่มวชิ าศกึ ษาท่วั ไปของคณะ 6 หน่วยกิต
(1) กลุม่ วชิ ามนษุ ย-์ สังคม 3 หน่วยกิต
3 หน่วยกติ
HS 420 001 ความตระหนกั รูข้ า้ มวัฒนธรรม
HS 430 001 การเรียนรโู้ ดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน

หรือ วชิ าศึกษาท่วั ไปทไี่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสานักวชิ าศกึ ษาท่ัวไปท่ีจะเปิดเพม่ิ ภายหลงั

(2) กลุ่มวิชาภาษา 6 หน่วยกิต

ให้นกั ศกึ ษาเลือกเรียนวิชาเลือกภาษาตา่ งประเทศของคณะ 2 รายวิชา 6 หน่วยกติ จากวิชาตอ่ ไปน้ี

HS 311 001 ภาษาจนี 1 3 หน่วยกิต

HS 321 001 ภาษาญปี่ ุ่นขนั้ ตน้ 1 3 หนว่ ยกิต

HS 331 001 ภาษาเกาหลี 1 3 หน่วยกิต

HS 911 101 ภาษาเขมร 1 3 หนว่ ยกิต

HS 921 101 ภาษาลาว 1 3 หน่วยกิต

HS 931 101 ภาษาพมา่ 1 3 หน่วยกิต

HS 941 101 ภาษาเวียดนาม 1 3 หนว่ ยกติ

HS 951 101 ภาษาบาฮาซา อินโดนเี ซยี 1 3 หนว่ ยกิต

16

HS 311 102 ภาษาจนี 2 3 หนว่ ยกติ
HS 321 102 ภาษาญป่ี ุ่นข้ันต้น 2 3 หน่วยกติ
HS 331 102 ภาษาเกาหลี 2 3 หนว่ ยกิต
HS 911 102 ภาษาเขมร 2 3 หน่วยกติ
HS 921 102 ภาษาลาว 2 3 หนว่ ยกติ
HS 931 102 ภาษาพมา่ 2 3 หน่วยกติ
HS 941 102 ภาษาเวียดนาม 2 3 หน่วยกติ
HS 951 102 ภาษาบาฮาซา อินโดนเี ซีย 2 3 หนว่ ยกติ

หรอื วิชาศกึ ษาท่วั ไปทไี่ ด้รบั ความเหน็ ชอบจากสานักวิชาศกึ ษาทวั่ ไปท่จี ะเปดิ เพิม่ ภายหลัง

2. หมวดวชิ าเฉพาะ 87 หน่วยกิต

1) ชดุ วชิ าหลัก 51 หน่วยกติ

ใหน้ ักศึกษาลงทะเบียนเรยี นและสอบผา่ นชุดวิชาดงั ตอ่ ไปนี้หรอื ชดุ วิชาทจี่ ะเปิดสอนเพมิ่ เตมิ

ในภายหลงั

HS 212 103 การจดั หาสารสนเทศและความรู้ 12 หนว่ ยกิต

HS 212 104 การจดั สารสนเทศและความรู้ 12 หน่วยกติ

HS 212 105 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 15 หนว่ ยกติ

HS 212 106 การบริการแบบดจิ ิทัล 12 หน่วยกิต

2) ชุดวชิ าเสริม 18 หนว่ ยกติ

ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผา่ นชุดวิชาดังต่อไปน้ีหรือชดุ วชิ าทจี่ ะเปดิ สอนเพิ่ม เตมิ

ในภายหลัง จานวนหนว่ ยกิตรวมไมน่ อ้ ยกวา่ 18 หน่วยกิต

HS 213 203 การกากับดแู ลสารสนเทศ 9 หน่วยกิต

HS 213 204 การสร้างสรรค์เน้อื หาสาระดิจิทลั 9 หนว่ ยกติ

HS 213 205 การจัดการเอกสาร 9 หน่วยกิต

HS 213 206 การจัดการความรู้ 9 หนว่ ยกิต

HS 213 207 การจดั การสารสนเทศมรดกทางวฒั นธรรม 9 หน่วยกติ

HS 213 208 การจดั การสารสนเทศกฎหมายและการ 9 หนว่ ยกติ

พาณิชย์

17

3) ชดุ วิชาการบูรณาการการเรยี นรูก้ ับการทางาน (WIL) 18 หนว่ ยกิต

การบูรณาการการเรียนรู้กับการทางานในหลักสูตรนี้ส่วนหน่ึงได้บูรณาการในแต่ละชุดวิชา

โดยกาหนดให้ผู้เรียนจัดทาโครงงานบูรณาการความรู้กับการปฏบิ ัติ (Capstone project) หรือการฝึกฝน/ฝึกหดั

(Traineeships/Internships) ในองค์การนอกจากนนั้ ผ้เู รียนต้องลงทะเบียนเรยี นและ สอบผา่ นชดุ วิชาดงั ต่อไปน้ี

หรือรายวิชาทจ่ี ะเปิดสอนเพิม่ เตมิ ในภายหลัง จานวนหน่วยกติ รวมไม่น้อยกวา่ 18 หนว่ ยกิต

HS 214 796 การบูรณาการการเรยี นรู้กบั การทางาน 18 หนว่ ยกติ

4) หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หน่วยกติ

ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาเลือกเสรีท่ีเปิดสอนในมหาวิทยาลัยขอนแก่น หรือ

สถาบันการศึกษาอื่น โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า

6 หนว่ ยกติ

18

หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ
สาขาวชิ าเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา
คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

(หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ.2563)

ลกั ษณะโครงสรา้ งและขอบขา่ ยของหลักสูตร มดี งั ตอ่ ไปนี้

1.หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป 30 หน่วยกิต

1.1 กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต

1.2 กลุ่มวิชามนุษย์-สงั คม 12 หน่วยกิต

1.3 กลุ่มวิชากลุ่มวชิ าวิทย์-คณิต 3 หนว่ ยกติ

1.4 กลุ่มวิชาศึกษาทัว่ ไปของคณะ 3 หน่วยกิต

2.หมวดวิชาเฉพาะ 93 หน่วยกติ

2.1 วิชาบังคบั ของวชิ าเอก 60 หนว่ ยกิต

2.2 วิชาบงั คบั เลอื ก 27 หนว่ ยกติ

2.3 วิชาเลอื ก 6 หน่วยกิต

3.วิชาเลอื กเสรี 6 หนว่ ยกิต

รวมตลอดหลกั สตู ร 129 หนว่ ยกติ

1. หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 30 หน่วยกติ

กลุ่มวิชาภาษา

1.1 กลมุ่ วิชาภาษา 12 หน่วยกิต

ก. รายวชิ าภาษาองั กฤษ

LI 101 001 ภาษาองั กฤษ 1 3 หนว่ ยกติ

LI 101 002 ภาษาอังกฤษ 2 3 หน่วยกิต

LI 102 003 ภาษาอังกฤษ 3 3 หนว่ ยกิต

LI 102 004 ภาษาองั กฤษ 4 3 หน่วยกิต

000 160 คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศข้ันพ้ืนฐาน ไม่นบั หนว่ ยกติ

หรอื วิชาศกึ ษาทั่วไปทไี่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสานกั วชิ าศึกษาทวั่ ไปที่จะเปดิ เพิ่มภายหลัง

นักศึกษาสามารถศึกษาเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทักษะพน้ื ฐานทางคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยตนเอง โดย

เรียนรายวชิ า 000 160 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศข้ันพื้นฐาน 3 หน่วยกิต เป็นรายวิชาไม่นับหน่วยกิต ใน

ระบบ e-Learning ของมหาวิทยาลัย (http:// e-Learning.kku.ac.th/) หรืออาจเข้ารับการอบรมในหลักสูตร

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีจัดโดยมหาวิทยาลัยหรือคณะหรือหน่วยงานต่าง ๆ และจะต้องสอบผ่าน

“มาตรฐานความรคู้ วามสามารถทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศขั้นพื้นฐาน สาหรบั นักศึกษาระดับปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยขอนแก่น” โดยระบบ e-testing ท่ีจัดโดยศูนย์นวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตาม

เกณฑ์ท่มี หาวิทยาลัยกาหนด ซ่ึงถือเปน็ สว่ นหน่งึ ของเกณฑก์ ารสาเร็จการศกึ ษาในหลักสูตรปริญญาตรี

กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

19

1.2 กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 12 หนว่ ยกิต
GE 141 153 ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น 3 (3-0-6)
Local Wisdom 3 (3-0-6)
GE 151 144 พหุวัฒนธรรม
Multiculturalism 3 (1-6-4)

GE 153 158 วิถีชีวิตชมุ ชนและการเรยี นรชู้ ุมชน 3 (3-0-6)
Community Ways of Life and Community Learning

GE 161 892 ศิลปค์ ิดสรา้ งสรรค์
Art and Creative Apprentices

หรอื วชิ าศึกษาท่วั ไปทไี่ ดร้ ับความเหน็ ชอบจากสานกั ศกึ ษาทว่ั ไป หรอื ทจี่ ะเปิดภายหลงั

กลมุ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 3 หน่วยกติ
1.3 กลุม่ วิชากลมุ่ วชิ าวิทย-์ คณติ 3 (3-0-6)

GE 363 789 ผู้ประกอบการสร้างสรรค์
Creative Entrepreneurs

หรอื วิชาศกึ ษาทั่วไปทไ่ี ดร้ บั ความเห็นชอบจากสานกั ศึกษาทั่วไป หรอื ท่จี ะเปิดภายหลัง

1.4 กลุม่ วชิ าศกึ ษาท่วั ไปของคณะ 3 หน่วยกติ

ใหน้ ักศกึ ษาเลือกเรียนวชิ าเลือกภาษาตา่ งประเทศของคณะ 1 รายวิชา 3 หนว่ ยกติ จากวชิ าต่อไปนี้

HS 311 001 ภาษาจนี 1 3 (3-0-6)

Chinese I

HS 321 001 ภาษาญปี่ ุน่ ขนั้ ต้น 1 3 (3-0-6)

Basic Japanese I

HS 331 001 ภาษาเกาหลี 1 3 (3-0-6)

Korean I

20

2. หมวดวชิ าเฉพาะ 93 หน่วยกิต

นักศึกษาจะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นและสอบผ่านรายวชิ าในหมวดวิชาเฉพาะดังตอ่ ไปน้ี

2.1 หมวดวชิ าบังคบั 60 หน่วยกิต

(1) หมวดวชิ าภาษาอังกฤษ จานวน 3 รายวิชา 9 หนว่ ยกติ

HS 113 011 การเขียนภาษาองั กฤษทางวิชาการ 3 (3-0-6)

HS 113 508 ภาษาองั กฤษเพอ่ื ธรุ กิจการท่องเทีย่ ว 3 (3-0-6)

HS 114 012 การอภปิ รายด้วยภาษาอังกฤษหัวขอ้ เกย่ี วกบั อาเซียน 3 (3-0-6)

(2) หมวดวชิ าบงั คบั เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ศกึ ษา จานวน 18 รายวิชา 51 หน่วยกิต

HS 811 101 ประวัติศาสตร์เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 1 3 (3-0-6)

HS 811 102 ประวัติศาสตรเ์ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 2 3 (3-0-6)

HS 811 103 ภาษา ศาสนา และวรรณกรรม ในเอเชยี 3 (3-0-6)

ตะวนั ออกเฉยี งใต้

HS 811 201 อตุ สาหกรรมการท่องเท่ียว 3 (3-0-6)

HS 811 301 การผลิตสอื่ เพอ่ื การเผยแพร่ข้อมลู ทางเอเชยี 3 (3-0-6)

ตะวนั ออกเฉยี งใต้

HS 812 104 ความหลากหลายทางชาตพิ ันธุ์ในเอเชยี ตะวันออก 3 (3-0-6)

เฉียงใต้

HS 812 105 ประวตั ศิ าสตร์ศลิ ปะและโบราณคดีในเอเชยี 3 (3-0-6)

ตะวันออกเฉียงใต้

HS 812 106 แนวคดิ และทฤษฎีสาหรับเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตศ้ ึกษา 3 (3-0-6)

HS 812 107 อาเซียน ชาตมิ หาอานาจ และองค์กรระหว่าง 3 (3-0-6)

ประเทศ

HS 812 108 พรมแดนและชายแดนในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ 3 (3-0-6)

HS 812 202 มัคคเุ ทศก์ทางประวตั ศิ าสตร์ 3 (3-0-6)

HS 813 109 ระเบียบวิธีวจิ ยั สาหรบั เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 3 (3-0-6)

ศกึ ษา

HS 813 203 ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสารคดี 3 (3-0-6)

HS 813 302 การเขียนและผลิตสารคดีทางประวัตศิ าสตร์ 3 (3-0-6)

HS 813 796 การฝกึ งานทางเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตศ้ กึ ษา 6 หนว่ ยกิต

(ไมน่ บั หนว่ ยกติ )

HS 814 110 ประเด็นสาคัญปัจจบุ นั ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 3 (3-0-6)

HS 814 204 ปฏิบัตกิ ารท่องเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ 3 (2-3-5)

HS 814 761 เอกตั ศึกษาทางเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ศกึ ษา 3 (3-0-6)

21

นักศึกษาทุกคนจะต้องผ่าน รายวิชา HS 813 796 การฝึกงานทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ศกึ ษา จานวน 6 หน่วยกติ (ไมน่ บั หนว่ ยกติ ) โดยมรี ะยะเวลาฝกึ งานไม่ตา่ กว่า 8 สัปดาห์

2.2 หมวดวชิ าบงั คับเลือก 36 หน่วยกิต

2.2.1 หมวดวิชาเอกเลอื ก 27 หน่วยกติ

นักศึกษาจะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นและสอบผ่านรายวชิ าในหมวดวิชาบังคบั เลอื กทง้ั สองกลมุ่ ดังต่อไปนี้

(1) หมวดวิชาภาษาอาเซยี น 12 หน่วยกิต

ให้นกั ศกึ ษาเลือกเรยี นภาษาอาเซียน ภาษาใดภาษาหนง่ึ ระหวา่ งภาษาเวียดนาม หรอื บาฮาซา อินโดนเี ซีย

ไม่นอ้ ยกว่า 4 รายวชิ า รวม 12 หนว่ ยกติ ดงั ตอ่ ไปนี้ หรอื รายวชิ าทจี่ ะเปิดเพิม่ เตมิ ในภายหลงั

HS 941 101 ภาษาเวยี ดนาม 1 3 (3-0-6)

HS 941 102 ภาษาเวียดนาม 2 3 (3-0-6)

HS 942 103 ภาษาเวยี ดนามขั้นกลาง 1 3 (3-0-6)

HS 942 104 ภาษาเวยี ดนามขนั้ กลาง 2 3 (3-0-6)

HS 951 101 ภาษาบาฮาซา อินโดนเี ซีย 1 3 (3-0-6)

HS 951 102 ภาษาบาฮาซา อินโดนีเซีย 2 3 (3-0-6)

HS 952 103 ภาษาบาฮาซา อินโดนเี ซียขนั้ กลาง 1 3 (3-0-6)

HS 952 104 ภาษาบาฮาซา อินโดนเี ซยี ขนั้ กลาง 2 3 (3-0-6)

(2) หมวดวิชาโท 15 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาโทเพียง 1 ชุดวิชาโท ที่เปิดสอนในคณะมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์และวชิ าโทสาขาอืน่ ๆ ทจ่ี ะเปดิ เพม่ิ เตมิ ในภายหลงั โดยมีจานวนหนว่ ยกติ รวมไมน่ ้อยกวา่ 15 หนว่ ยกติ

(3) หมวดวิชาเลอื ก 6 หน่วยกติ

ใหน้ ักศกึ ษาเลอื กลงทะเบยี นเรียนในกลุ่มวชิ าตอ่ ไปน้ี ใหค้ รบ 6 หน่วยกติ ระหว่างรายวชิ า

HS 814 785 สหกิจศกึ ษาทางเอเชียตะวันออกเฉียงใตศ้ ึกษา จานวน 6 หน่วยกิต หรือรายวชิ าอื่น ๆ ในกลมุ่ วิชา

ภาษาอังกฤษและเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ศึกษา รวมกนั ให้ได้ 6 หน่วยกิต

3.1 วิชาสหกิจศึกษา

HS 814 785 สหกิจศกึ ษาทางเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตศ้ ึกษา 6 หนว่ ยกิต

นักศึกษาท่ีเลือกเรียนวชิ า HS 814 785 จะตอ้ งผา่ นการอบรมการเตรียมความพร้อม

ก่อนออกไปสหกิจศึกษา ทีค่ ณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรห์ รอื มหาวิทยาลัยจดั ให้

3.2 วิชาภาษาองั กฤษ

HS 111 002 การฟังและการพูดภาษาองั กฤษในชีวิตประจาวัน 3 (2-2-5)

HS 111 009 การเขียนติดต่อทางสังคมและธุรกจิ 3 (3-0-6)

3.3 วชิ าเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา

HS 814 205 แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วตามประวตั ศิ าสตร์ไทย 3 (3-0-6)

HS 814 206 ประวัติศาสตรเ์ พ่ือการท่องเท่ียวในเอเชยี ตะวนั ออก 3 (3-0-6)

เฉียงใต้ 1

22

3. วชิ าเลือกเสรี
นักศกึ ษาจะต้องลงทะเบียนเรยี นและสอบผ่านรายวิชาเลอื กเสรีที่เปดิ สอนใน

มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น หรือสถาบนั การศึกษาอื่น โดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
จานวนไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต

23

หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ

สาขาวชิ าภาษาไทย

คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

(หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ.2559)

------------------------------

ลักษณะโครงสรา้ งและขอบข่ายของหลกั สูตร มีดงั ตอ่ ไปนี้

1. หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 30 หนว่ ยกิต
หน่วยกิต
2. หมวดวชิ าเฉพาะ 99 หน่วยกิต
หน่วยกติ
2.1 วิชาเอก 84 หน่วยกิต
หน่วยกติ
2.1.1 วชิ าบังคับ 42 หนว่ ยกิต
หน่วยกติ
2.1.2 วชิ าเลือก 27 หน่วยกติ

2.1.3 วิชาบังคบั เลอื ก 15

2.2. วิชาโท 15

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6

รวมตลอดหลักสูตร 135

1. หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป 30 หน่วยกิต

กลุม่ วิชาภาษา

(1) กล่มุ ภาษา 12 หน่วยกิต

000 101 ภาษาองั กฤษ 1 3 หนว่ ยกติ

000 102 ภาษาองั กฤษ 2 3 หนว่ ยกติ

000 103 ภาษาองั กฤษ 3 3 หน่วยกิต

000 104 ภาษาองั กฤษ 4 3 หนว่ ยกิต

* 000 160 คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศขัน้ พื้นฐาน ไม่นบั หนว่ ยกิต

** หรอื วิชาศกึ ษาทวั่ ไปท่ีได้รับความเห็นชอบจากสานกั วชิ าศกึ ษาทั่วไปทจ่ี ะเปิดเพม่ิ ภายหลัง

*นักศึกษาสามารถศึกษาเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ด้วยตนเอง โดยเรยี นรายวชิ า 000 160 คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศข้ันพน้ื ฐาน 3 หน่วยกิต เป็นรายวิชาไมน่ บั

หน่วยกิต ในระบบ e-Learning ของมหาวิทยาลัย (http:// e-learning.kku.ac.th/) หรืออาจเข้ารับการอบรมใน

หลักสูตรคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดโดยมหาวิทยาลัยหรือคณะหรือหน่วยงานต่าง ๆ และจะต้องสอบ

ผ่าน “มาตรฐานความรู้ความสามารถทาง คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศข้ันพ้ืนฐาน สาหรับนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรี มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ” ตามเกณฑท์ ม่ี หาวิทยาลยั กาหนด ซ่ึงถอื เปน็ ส่วนหนง่ึ ของเกณฑ์การสาเร็จการศึกษา

ในหลกั สูตรระดับปริญญาตรี

24

(2) กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 3 หน่วยกิต

000 147 ศาสตรข์ องความสุข 3 หน่วยกิต

หรอื วชิ าศกึ ษาทั่วไปทไ่ี ดร้ ับความเห็นชอบจากสานกั วชิ าศึกษาทว่ั ไปท่ีจะเปิดเพิ่มภายหลงั

(3) กลมุ่ วชิ าคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ

000 174 ทักษะการเรียนรู้ 3 หนว่ ยกติ

000 175 การคิดเชงิ สรา้ งสรรค์และการแก้ปัญหา 3 หนว่ ยกิต

หรือ วชิ าศึกษาท่ัวไปท่ไี ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสานกั วชิ าศกึ ษาท่วั ไปทจ่ี ะเปดิ เพิม่ ภายหลัง

(4) กลมุ่ วิชาศกึ ษาท่วั ไปของคณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 9 หน่วยกิต

1) กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์

HS 420 001 ความตระหนักรขู้ า้ มวฒั นธรรม 3 หน่วยกติ

HS 430 001 การเรยี นรโู้ ดยการใช้ชมุ ชนเปน็ ฐาน 3 หนว่ ยกิต

2) กลมุ่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ

ให้นักศกึ ษาเลอื กเรียนภาษาตา่ งประเทศของคณะในรายวชิ าภาษาใดภาษาหนงึ่ ต่อไปน้ี 1 รายวชิ า

3 หน่วยกติ

HS 311 001 ภาษาจนี 1 3 หน่วยกิต

HS 321 001 ภาษาญี่ปนุ่ ข้นั ตน้ 1 3 หนว่ ยกิต

HS 331 001 ภาษาเกาหลี 1 3 หนว่ ยกิต

HS 911 101 ภาษาเขมร 1 3 หน่วยกติ

HS 921 101 ภาษาลาว 1 3 หน่วยกิต

HS 931 101 ภาษาพมา่ 1 3 หนว่ ยกติ

HS 941 101 ภาษาเวียดนาม 1 3 หน่วยกิต

HS 951 101 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซีย 3 หนว่ ยกติ

หรอื วิชาศึกษาท่ัวไปท่ีได้รบั ความเหน็ ชอบจากสานักวชิ าศึกษาทั่วไปที่จะเปิดเพิ่มภายหลัง

2. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต
2.1 วิชาเอก 84 หน่วยกิต
2.1.1 วิชาบงั คบั 42 หน่วยกิต
416 111 ภาษาศาสตร์ภาษาไทย
416 112 พฒั นาการภาษาไทย 3 หนว่ ยกติ
416 113 การพัฒนาทกั ษะการสอ่ื สาร 1 3 หน่วยกติ
416 131 วรรณกรรมศึกษา 3 หนว่ ยกิต
416 211 ลกั ษณะภาษาไทย 3 หนว่ ยกิต
416 212 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร 2 3 หนว่ ยกิต
416 221 ภาษากบั การสื่อสารมวลชน 3 หน่วยกิต
416 222 การรเู้ ท่าทนั ส่ือ 3 หนว่ ยกติ
3 หนว่ ยกิต

25

416 231 พฒั นาการวรรณกรรมไทย 3 หน่วยกิต

416 232 วรรณกรรมสองฝั่งโขง 3 หนว่ ยกติ

416 331 การอา่ นตัวบทภาษาองั กฤษทางภาษาและวรรณกรรม 3 หนว่ ยกติ

416 332 วรรณคดเี อกของไทย 3 หน่วยกติ

416 333 วรรณกรรมวิจารณ์ 3 หนว่ ยกติ

416 334 คติชนวิทยา 3 หนว่ ยกติ

2.1.2 วชิ าเลือก 27 หนว่ ยกติ

ให้เลือกจากรายวชิ าต่อไปน้ี หรือรายวิชาท่จี ะเปิดสอนเพิ่มเติมภายหลงั จานวนไมน่ ้อยกวา่

27 หน่วยกติ

416 213 การสอื่ สารทางวิชาการ 3 หน่วยกติ

416 214 การพดู ในทชี่ มุ ชน 3 หน่วยกติ

416 223 ความรู้เบอ้ื งต้นทางสอ่ื สารมวลชน 3 หนว่ ยกติ

416 224 การพูดทางวทิ ยแุ ละโทรทัศน์ 3 หน่วยกติ

416 233 วรรณกรรมของสนุ ทรภู่ 3 หน่วยกิต

416 234 พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 9 3 หน่วยกติ

416 235 วรรณกรรม ของ ม.ร.ว.คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช 3 หน่วยกิต

416 236 เร่ืองสั้นและนวนิยาย 3 หน่วยกติ

416 237 วรรณกรรมสตรี 3 หน่วยกติ

416 311 การเขยี นสร้างสรรค์ 3 หนว่ ยกติ

416 312 ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย 3 หน่วยกิต

416 313 ภาษาไทยถน่ิ 3 หน่วยกิต

416 314 เสยี งและระบบเสยี งในภาษาไทย 3 หนว่ ยกติ

416 315 ภาษากับสังคม 3 หนว่ ยกิต

416 316 ภาษากบั ความหมาย 3 หนว่ ยกิต

416 317 การวิเคราะห์วาทกรรมขนั้ แนะนา 3 หนว่ ยกติ

416 318 ภาษาอีสาน 3 หนว่ ยกิต

416 321 การเขียนบท 3 หนว่ ยกติ

416 322 การสอ่ื สารขา้ มวัฒนธรรม 3 หนว่ ยกิต

416 323 การสอ่ื สารกับการพัฒนา 3 หนว่ ยกติ

416 324 การสอ่ื สารกับสอื่ ใหม่ 3 หน่วยกิต

416 325 การสอื่ สารในงานประชาสัมพันธ์ 3 หน่วยกิต

416 326 การสื่อสารในงานโฆษณา 3 หน่วยกิต

416 327 การสอื่ สารในงานหนังสอื พมิ พ์ 3 หน่วยกติ

416 328 กลการประพันธบ์ ทภาพยนตร์ 3 หนว่ ยกติ

416 335 วรรณกรรมรักร่วมเพศ 3 หน่วยกิต

416 336 วรรณกรรมไซเบอรส์ เปซ 3 หนว่ ยกิต

26

416 337 วรรณกรรมกบั สงั คม 3 หน่วยกติ
416 338 วรรณกรรมสรา้ งสรรค์ยอดเยี่ยมแหง่ อาเซยี น 3 หนว่ ยกติ
416 339 วรรณกรรมไทยหลังสมยั ใหม่ 3 หน่วยกติ
416 411 ภาษาศาสตร์กบั การเรยี นรูภ้ าษา 3 หนว่ ยกติ
416 412 ลีลาภาษาในวรรณกรรม 3 หน่วยกิต
416 413 วจั นปฏิบัติศาสตร์ขัน้ แนะนา 3 หน่วยกิต
416 414 ภาษากบั การแปล 3 หน่วยกิต
416 431 วรรณคดีเปรยี บเทียบ 3 หนว่ ยกิต
416 432 การแปรรูปวรรณกรรม 3 หน่วยกิต
416 433 วรรณกรรมพทุ ธศาสนา 3 หน่วยกิต
416 434 วรรณกรรมอีสาน 3 หนว่ ยกิต

2.1.3 หมวดวชิ าบงั คบั เลอื ก

ให้นกั ศึกษาเลอื กลงทะเบยี นเรยี นและสอบผา่ นจากรายวชิ าดังตอ่ ไปนีห้ รอื รายวิชาทีจ่ ะเปดิ สอน

เพ่ิมเติมในภายหลงั

(1) วิชาบังคับเลอื กรายวชิ าภาษาต่างประเทศ 2

ให้นักศึกษาเลือกเรียนภาษาตา่ งประเทศตอ่ ไปน้ีอย่างนอ้ ย 1 รายวชิ า ทั้งน้ีตอ้ งเปน็ วชิ าภาษา

เดยี วกนั กบั ที่ไดล้ งทะเบยี นเรยี นในหมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป

HS 311 002 ภาษาจนี 2 3 หน่วยกติ

HS 321 002 ภาษาญ่ีปุน่ ขน้ั ตน้ 2 3 หน่วยกติ

HS 331 002 ภาษาเกาหลี 2 3 หนว่ ยกติ

HS 911 102 ภาษาเขมร 2 3 หนว่ ยกิต

HS 921 102 ภาษาลาว 2 3 หน่วยกติ

HS 931 102 ภาษาพมา่ 2 3 หน่วยกติ

HS 941 102 ภาษาเวยี ดนาม 2 3 หนว่ ยกติ

HS 951 102 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนเี ซยี 2 3 หนว่ ยกิต

(2) วชิ าบงั คับเลือกของวิชาเอก

ให้เลอื กจากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ หรือรายวชิ าที่จะเปดิ สอนเพมิ่ เติมภายหลงั จานวน 6 หนว่ ยกิต ไดแ้ ก่

416 101 การแต่งคาประพนั ธแ์ ละอ่านทานอง 3 หน่วยกติ

416 102 พธิ ีกรมืออาชีพ 3 หน่วยกติ

416 103 วรรณกรรมหมอลา 3 หนว่ ยกติ

และให้เลอื กจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ จานวนไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ โดยเลอื กเรียนรายวชิ า 416 491 กบั

416 492 หรือ 416 495

416 491 สมั มนาทางภาษาและวรรณกรรมไทย 3 หนว่ ยกติ

416 492 โครงงานพิเศษทางภาษาและวรรณกรรมไทย 3 หนว่ ยกิต

27

416 495 สหกิจศกึ ษาทางภาษาและวรรณกรรมไทย 6 หนว่ ยกติ

นักศึกษาที่จะเรียนวิชา 416 495 จะต้องผ่านการอบรมการเตรียมความพร้อมก่อนออกไปปฏิบัติ สห

กจิ ศกึ ษาท่ีคณะหรอื มหาวทิ ยาลัยจัดให้

2.2 วชิ าโท 15 หนว่ ยกิต

ให้เลอื กเรยี นวชิ าตอ่ ไปน้ีเพยี ง 1 วชิ าโท ทเี่ ปิดสอนในคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์

และวิชาโทสาขาอ่ืน ๆ ท่ีจะเปิดเพิ่มเติมในภายหลัง โดยมีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต และโดยไดร้ บั

ความเหน็ ชอบจากอาจารย์ท่ปี รึกษา และ/หรือ สาขาวชิ า ซงึ่ จะส่งเสรมิ ประสบการณว์ ิชาชีพ ตอ่ ไป

1. วิชาโทภาษาอังกฤษ

2. วิชาโทภาษาฝรงั่ เศส

3. วิชาโทภาษาเยอรมนั

4. วชิ าโทภาษาสเปน

5. วชิ าโทภาษาจนี

6. วิชาโทภาษาญี่ปนุ่

7. วชิ าโทภาษาเกาหลี

8. วิชาโทการจัดการสารสนเทศ

9. วชิ าโทการประชาสัมพนั ธ์

10. วิชาโทการจัดการจดหมายเหตดุ จิ ิทัล

11. วชิ าโทสังคมวิทยาและมานุษยวทิ ยา

12. วชิ าโทภาษาส่ือสารมวลชน

13. วิชาโทประวตั ิศาสตร์และโบราณคดี

14. วิชาโทปรชั ญา

15. วิชาโทศาสนา

16. วิชาโทพัฒนาสงั คม

3. วชิ าเลือกเสรี 6 หนว่ ยกติ

ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าเลอื กเสรที ี่เปดิ สอนในมหาวิทยาลัยขอนแก่น หรอื สถาบนั การศกึ ษาอ่ืน โดย

ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร จานวนไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต

28

หลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต
สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์

คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
(หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)

ลกั ษณะโครงสร้างและขอบข่ายของหลักสูตร มีดังต่อไปนี้

1. หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 30 หนว่ ยกิต

1.1 กลมุ่ วชิ าภาษา 12 หนว่ ยกิต

1.2 กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต

1.3 กล่มุ วชิ าคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต

1.4 รายวิชาศกึ ษาท่วั ไปของคณะมนุษยศาสตร์

และสงั คมศาสตร์ เรยี นจานวน 3 วชิ า 9 หนว่ ยกติ

1.4.1 กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 6 หน่วยกติ

1.4.2 กลุม่ วชิ าภาษา(ต่างประเทศ 1) ใหน้ ักศึกษาเลอื กเรียนวชิ าภาษาต่างประเทศ

ภาษาใดภาษาหนง่ึ 3 หนว่ ยกิต

2. หมวดวชิ าเฉพาะ 106 หน่วยกิต

- กลมุ่ วชิ าพนื้ ฐาน 84 หน่วยกติ

- กลมุ่ วชิ าบงั คบั 16 หนว่ ยกิต

- กลุม่ วิชาเลือก 6 หน่วยกติ

3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี 6 หน่วยกิต

รวมตลอดหลกั สตู ร 142 หนว่ ยกติ

1. หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป 30 หนว่ ยกิต

ใหน้ กั ศึกษาลงทะเบยี นเรยี น และสอบผ่านรายวชิ าดงั ตอ่ ไปนี้

(1) กลุ่มวชิ าภาษา 12 หน่วยกติ

000 101 ภาษาอังกฤษ 1 3 หน่วยกิต

000 102 ภาษาองั กฤษ 2 3 หน่วยกติ

000 103 ภาษาอังกฤษ 3 3 หน่วยกติ I

000 104 ภาษาอังกฤษ 4 3 หนว่ ยกติ

(2) กลมุ่ วิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต

000 159 ความเป็นพลเมอื งในสงั คมประชาธปิ ไตย 3 หนว่ ยกิต

หรือวชิ าศกึ ษาทว่ั ไปทไ่ี ดร้ ับความเหน็ ชอบจากสานกั วิชาศกึ ษาท่วั ไปทีจ่ ะเปดิ ภายหลัง

29

(3) กล่มุ วิชาคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต

000 160 คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศขัน้ พื้นฐาน1 ไม่นับหนว่ ยกิต

000 174 ทักษะการเรยี นรู้ 3 หนว่ ยกติ

000 175 การคดิ เชิงสรา้ งสรรคแ์ ละการแกป้ ัญหา 3 หนว่ ยกิต

(4) รายวิชาศกึ ษาทว่ั ไปของคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ เรยี นจานวน 3 วิชา 9 หน่วยกติ

(4.1) กลมุ่ วิชามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 6 หน่วยกติ

HS 420 001 ความตระหนกั รู้ขา้ มวัฒนธรรม 3 หน่วยกิต

HS 430 001 การเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน 3 หน่วยกิต

(4.2) กลุ่มวิชาภาษา(ตา่ งประเทศ 1) ใหน้ กั ศกึ ษาเลือกเรยี นวชิ าภาษาตา่ งประเทศภาษาใดภาษาหนง่ึ

ต่อไปน้ี 1 รายวชิ า 3 หน่วยกติ

HS 311 001 ภาษาจนี 1 3 หนว่ ยกิต

HS 321 001 ภาษาญป่ี ุ่นขนั้ ต้น 1 3 หน่วยกิต

HS 331 001 ภาษาเกาหลี 1 3 หน่วยกติ

HS 911 101 ภาษาเขมร 1 3 หน่วยกิต

HS 921 101 ภาษาลาว 1 3 หนว่ ยกติ

HS 931 101 ภาษาพมา่ 1 3 หน่วยกิต

HS 941 101 ภาษาเวยี ดนาม 1 3 หน่วยกิต

HS 951 101 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซีย 1 3 หน่วยกิต

หรอื วชิ าศึกษาท่วั ไปทไี่ ด้รับความเหน็ ชอบจากสานักวิชาศึกษาทว่ั ไปท่จี ะเปิดภายหลงั

2. หมวดวชิ าเฉพาะ 106 หน่วยกติ
ใหน้ กั ศึกษาลงทะเบียนเรียน และสอบผ่านรายวชิ าดงั ตอ่ ไปนี้
84 หน่วยกิต
(1) กลมุ่ วชิ าพืน้ ฐาน 3 หนว่ ยกิต
HS 411 101 รฐั ประศาสนศาสตร์ขน้ั แนะนา 3 หน่วยกิต
HS 411 102 ทฤษฎอี งคก์ ารและการจัดการ 3 หน่วยกติ
HS 411 301 รฐั ศาสตร์ข้นั แนะนา 3 หนว่ ยกติ
HS 411 302 การเมอื งและการบริหารราชการไทย

1นักศึกษาสามารถศึกษาเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะพ้ืนฐานทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยตนเอง โดยเรียนรายวิชา 000 160
คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศข้นั พ้ืนฐาน 3 หนว่ ยกติ เป็นรายวิชาไมน่ บั หนว่ ยกติ ในระบบ e-Learning ของมหาวิทยาลยั (http:// e-
Learning.kku.ac.th/) หรืออาจเข้ารับการอบรมในหลักสตู รคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่จดั โดยมหาวิทยาลัยหรือคณะหรือหนว่ ยงานตา่ ง
ๆ และจะต้องสอบผ่าน “มาตรฐานความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศข้ันพื้นฐาน สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น” โดยระบบ e-testing ทีจ่ ัดโดยศูนยน์ วตั กรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ตามเกณฑ์ทีม่ หาวิทยาลยั กาหนด ซึง่ ถือ
เป็นส่วนหนงึ่ ของเกณฑ์การสาเรจ็ การศกึ ษาในหลักสูตรปริญญาตรี

30

HS 411 401 การอา่ นและการเขยี นเชงิ วชิ าการทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 3 หน่วยกิต
HS 412 103 นโยบายสาธารณะ 3 หน่วยกิต
HS 412 104 หลกั และเทคนคิ การวางแผน 3 หน่วยกิต
HS 412 303 ระบบเศรษฐกิจและการเมอื ง 3 หนว่ ยกติ
HS 412 304 ความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ 3 หน่วยกิต
HS 412 402 การคดิ วิเคราะห์เชงิ บูรณาการทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 3 หน่วยกติ
HS 412 501 หลักกฎหมายมหาชน 3 หนว่ ยกิต
HS 412 601 การจัดการการพัฒนา 3 หน่วยกิต
HS 412 901 ภมู ริ ัฐศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ
HS 413 105 การบริหารทรัพยากรมนุษยเ์ ชงิ กลยุทธ์ 3 หน่วยกติ
HS 413 106 การจัดการการเงนิ และการคลงั ภาครฐั 3 หนว่ ยกติ
HS 413 403 ระเบียบวิธวี ิจัยทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ
HS 413 404 การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์เชิงกลยุทธ์ 3 หนว่ ยกิต
HS 413 405 ระเบียบวธิ ปี ฏบิ ัติราชการและการบริหารการบริการ 3 หน่วยกิต
สาธารณะ
HS 413 406 การบรหิ ารโครงการเชงิ กลยทุ ธ์ 3 หนว่ ยกติ
HS 413 502 กฎหมายปกครอง 3 หนว่ ยกิต
HS 413 602 การบริหารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 3 หน่วยกิต
HS 413 603 การวางแผนพ้นื ท่ีและภูมิภาค 3 หน่วยกิต
HS 414 407 จติ วทิ ยาในการบรหิ าร 3 หนว่ ยกติ
HS 414 408 จรยิ ธรรมทางการบริหาร 3 หนว่ ยกิต
HS 414 409 การบริหารคุณภาพและนวัตกรรมการจดั การภาครฐั 3 หนว่ ยกิต
HS 414 410 ภาวะผนู้ า 3 หน่วยกิต
HS 414 801 การบรหิ ารท้องถิ่น 3 หนว่ ยกติ
777100 ความรู้เบ้ืองตน้ เกย่ี วกบั กฎหมายทั่วไป 3 หนว่ ยกิต

(2) กลมุ่ วชิ าบังคับ 16 หนว่ ยกติ

ใหน้ ักศกึ ษาลงทะเบียนเรียนและสอบผา่ นรายวชิ าตอ่ ไปนี้ หรอื รายวชิ าท่จี ะเปิดสอนเพมิ่ เติมภายหลงั

จานวนไมน่ ้อยกว่า 13 หน่วยกิต

(2.1) วิชาบงั คบั ทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต

HS 413 411 การจัดการภาครฐั และเอกชน 3 หนว่ ยกติ

(2.2) สหกิจศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยใหน้ กั ศึกษาลงทะเบียนเรยี นและสอบผา่ นรายวชิ า
ดงั ต่อไปนี้ จานวนไม่นอ้ ยกวา่ 10 หน่วยกติ โดยเลอื กเรยี นรายวชิ า HS 414 761 และ HS 414 785 หรอื รายวชิ าท่ี
หลักสูตรจะเปดิ เพ่มิ เตมิ ในภายหลัง

31

HS 412 785 เตรียมสหกิจศกึ ษาทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 1 1 (1-1-2) ไม่นับหนว่ ยกิต
HS 413 785 เตรยี มสหกจิ ศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ 2 1 (1-1-2) ไมน่ บั หนว่ ยกติ
HS 414 761 สมั มนาทางรัฐประศาสนศาสตร์ 1 (1-1-2) 1 หนว่ ยกติ
HS 414 785 สหกจิ ศึกษาทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 9 หนว่ ยกิต

นักศึกษาท่ีจะลงทะเบียนในรายวิชา HS 414 785 สหกิจศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้ จะต้องผ่าน
การอบรมเตรียมความพร้อมก่อนการออกปฏิบตั ิสหกิจศึกษาไม่นอ้ ยกว่า 30 ชั่วโมง ท่ีคณะฯ หรือมหาวิทยาลัยจดั อบรม
ให้ หรือลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่คณะเปิดสอนเทียบเท่ากับการอบรมสหกิจศึกษาอย่างใดอย่างหนึ่ง และต้องผ่านการ
ลงทะเบียนในรายวิชา HS 412 785เตรียมสหกิจศึกษาทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 1 และ HS 413 785 เตรยี มสหกจิ ศึกษา
ทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 2

(2.3) กล่มุ วชิ าบงั คบั ภาษาต่างประเทศ 2 ให้นกั ศกึ ษาเลือกลงทะเบียนเรียนและสอบผา่ นรายวชิ า

กลมุ่ วชิ าภาษาตา่ งประเทศในรายวิชาทต่ี อ่ เนื่องจากรายวชิ าทไี่ ดล้ งทะเบยี นไปแลว้ อยา่ งน้อย 1 รายวชิ า 3 หน่วยกิต

ดงั ต่อไปน้ี

HS 311 002 ภาษาจนี 2 3 หน่วยกิต

HS 321 002 ภาษาญปี่ ุ่นขั้นตน้ 2 3 หนว่ ยกิต
HS 331 002 ภาษาเกาหลี 2 3 หน่วยกิต
HS 911 102 ภาษาเขมร 2 3 หนว่ ยกติ
HS 921 102 ภาษาลาว 2 3 หน่วยกิต
HS 931 102 ภาษาพมา่ 2 3 หน่วยกิต
HS 941 102 ภาษาเวียดนาม 2 3 หน่วยกิต
HS 951 102 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนเี ซีย 2 3 หน่วยกิต

หรือรายวิชาทจ่ี ะเปดิ เพมิ่ ในภายหลงั

(3) กลมุ่ วิชาเลือกทางรัฐประศาสนศาสตร์ 6 หน่วยกติ

ใหน้ ักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวชิ าต่อไปนี้ หรอื รายวชิ าทจ่ี ะเปดิ สอนเพิม่ เตมิ ภายหลัง

จานวนไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต

HS 413 305 การพฒั นาทางการเมืองไทย 3 หน่วยกติ

HS 413 412 พฤติกรรมและการพัฒนาองค์การ 3 หน่วยกติ

HS 413 413 เศรษฐกจิ การเมอื งทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3 หน่วยกิต

HS 413415 การบริหารความมั่นคงมนุษย์ 3 หนว่ ยกติ

HS 413 417 นโยบายสาธารณะในบริบทโลก 3 หนว่ ยกติ

HS 414 414 การจดั การองค์กรไมแ่ สวงกาไร 3 หน่วยกิต

32

HS 414 416 เศรษฐกิจการเมอื งว่าดว้ ยการบริหารการพฒั นา 3 หนว่ ยกติ
HS 414 418 การจัดการภาครัฐเชงิ เปรียบเทยี บในอาเซยี น 3 หน่วยกติ
HS 414 419 หลักและเทคนคิ การประเมินการบรกิ ารงานสาธารณะ 3 หน่วยกิต
HS 414 503 กฎหมายสาหรบั การบรหิ ารงานบุคคล 3 หน่วยกิต

3. หมวดวิชาเลอื กเสรจี านวนไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกิต

ให้นกั ศึกษาลงทะเบยี นรายวิชาเลือกเสรีทเ่ี ปิดสอนในมหาวิทยาลัยขอนแกน่ หรอื สถาบันการศึกษาอื่น

ตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ

33

สาขาวิชาภาษาตะวนั ออก
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

(หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ.2560)

ลักษณะโครงสรา้ งและขอบขา่ ยของหลกั สตู ร มดี งั ตอ่ ไปนี้

1. หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป 30 หน่วยกติ

1.1 กลมุ่ วชิ าภาษา 12 หนว่ ยกติ

1.2 กล่มุ วิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ

1.3 กล่มุ วชิ าคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ 6 หน่วยกิต

1.4 รายวชิ าศึกษาทวั่ ไปของคณะมนุษยศาสตร์

และสงั คมศาสตร์ เรียนจานวน 3 วชิ า 9 หน่วยกิต

1.4.1 กลมุ่ วิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกติ

1.4.2 กลมุ่ วิชาภาษา(ตา่ งประเทศ 1) ให้นักศึกษาเลอื กเรียนวิชาภาษาตา่ งประเทศ

ภาษาใดภาษาหนึ่ง 3 หน่วยกิต

2. หมวดวชิ าเฉพาะ 105 หนว่ ยกิต

- กลุ่มวชิ าพนื้ ฐาน 24 หน่วยกติ

- กล่มุ วชิ าบังคบั 60 หนว่ ยกติ

- กลุม่ วิชาเลือก 21 หนว่ ยกติ

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

รวมตลอดหลกั สตู ร 141 หนว่ ยกติ

1. หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 30 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษา 12 หนว่ ยกิต
000 101 ภาษาอังกฤษ 1
000 102 ภาษาอังกฤษ 2 3 หน่วยกิต
3 หน่วยกติ
000 103 ภาษาอังกฤษ 3
3 หนว่ ยกติ
000 104 ภาษาองั กฤษ 4
000 160 คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศพืน้ ฐาน 3 หน่วยกติ
ไมน่ ับหน่วยกิต

รายวิชา 000 160 เป็นรายวชิ าท่นี ักศกึ ษาจะตอ้ งเรียนรดู้ ว้ ยตนเองในระบบ
e-Learning ของมหาวิทยาลัย หรือสมคั รเข้ารบั การอบรมในหัวขอ้ ตา่ งๆ ทม่ี หาวิทยาลยั กาหนด ไมม่ ีการเรียนการสอน
ในช้นั เรยี นและไมน่ ับหนว่ ยกิต นักศกึ ษาจะตอ้ งสอบผา่ นรายวชิ า 000 160 ในระบบ e-Testing ตามเกณฑท์ ี่
มหาวทิ ยาลยั กาหนด

34

(2) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 3 หน่วยกิต

000 153 ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ 3 หน่วยกติ

(3) กลุ่มวิชาคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต

000 174 ทักษะการเรียนรู้ 3 หน่วยกิต 3 3

000 176 ผ้ปู ระกอบการสร้างสรรค์ 3 หน่วยกติ

(4) รายวชิ าศึกษาท่ัวไปของคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ เรียนจานวน 3 วชิ า 9 หน่วยกิต

(4.1) กล่มุ วชิ ามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต

HS 420 001 ความตระหนักร้ขู ้ามวัฒนธรรม 3 หน่วยกติ

HS 430 001 การเรียนรู้โดยใช้ชมุ ชนเปน็ ฐาน 3 หนว่ ยกติ

(4.2) กลมุ่ วิชาภาษา(ต่างประเทศ 1) ให้นักศึกษาเลือกเรยี นวชิ าภาษาตา่ งประเทศภาษาใดภาษา

หน่งึ ตอ่ ไปน้ี 1 รายวิชา 3 หน่วยกิต

HS 311 001 ภาษาจนี 1 3 หนว่ ยกิต

HS 321 001 ภาษาญปี่ ุ่นขน้ั ต้น 1 3 หน่วยกติ

HS 331 001 ภาษาเกาหลี 1 3 หนว่ ยกติ

HS 911 101 ภาษาเขมร 1 3 หน่วยกิต

HS 921 101 ภาษาลาว 1 3 หนว่ ยกิต

HS 931 101 ภาษาพมา่ 1 3 หนว่ ยกิต

HS 941 101 ภาษาเวยี ดนาม 1 3 หน่วยกิต

HS 951 101 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซีย 1 3 หน่วยกติ

หมายเหตุ นักศึกษาจะตอ้ งไม่เลือกเรยี นวิชาภาษาตา่ งประเทศวิชาเดียวกบั วชิ าเอก

2. หมวดวิชาเฉพาะ 105 หน่วยกติ

(1) กลมุ่ วิชาพน้ื ฐาน 24 หน่วยกิต

ใหน้ กั ศึกษาลงทะเบยี นเรยี นและสอบผา่ นรายวชิ าดงั ต่อไปนหี้ รอื รายวิชาทีจ่ ะเปดิ สอน

เพิ่มเตมิ ในภายหลงั

HS 301 801 วฒั นธรรมเอเชียตะวันออก 3 หน่วยกติ

HS 301 802 ประวัตศิ าสตร์เอเชียตะวนั ออก 3 หน่วยกติ

HS 301 803 ภาษาศาสตร์ขั้นแนะนา 3 หน่วยกิต

HS 301 804 วิเคราะหว์ รรณกรรมเอเชยี ตะวนั ออก 3 หนว่ ยกติ

HS 303 805 สมั มนาทางภาษาตะวนั ออก 3 หนว่ ยกติ

HS 303 806 ระเบียบวิธวี จิ ยั ทางภาษาตะวนั ออก 3 หนว่ ยกิต

HS 304 807 วัฒนธรรมทางธุรกิจในเอเชียตะวนั ออก 3 หน่วยกิต

HS 304 808 ประเด็นปัจจุบนั ในเอเชยี ตะวันออก 3 หนว่ ยกิต

35

(2) กลุ่มวชิ าบังคบั 16 หนว่ ยกติ

นักศึกษาที่จะศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก ต้องเลือกวิชาเอกทจี่ ะ

เรยี น 1 รายวิชา จากทเี่ ปดิ สอนทัง้ หมด 2 วชิ าเอก ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) ภาษาจนี

(2) ภาษาญป่ี ่นุ

1.1 วชิ าเอกภาษาจนี 60 หน่วยกิต

ให้นกั ศึกษาลงทะเบยี นเรียนและสอบผ่านรายวชิ าดังต่อไปนี้หรือรายวิชาท่จี ะเปิด

สอนเพมิ่ เติมในภายหลงั จานวนหนว่ ยกิตไม่นอ้ ยกว่า 60 หน่วยกติ

HS 311 101 ภาษาจนี ขน้ั ตน้ 1 3 หน่วยกิต

HS 311 102 ภาษาจนี ข้นั ตน้ 2 3 หนว่ ยกิต

HS 311 201 การฟังและการพดู ภาษาจนี ในชวี ิตประจาวนั 3 หนว่ ยกิต

HS 311 202 การฟังและการพดู ภาษาจนี เพื่อการส่ือสาร 3 หน่วยกิต

HS 312 103 ภาษาจนี ขั้นกลาง 1 3 หนว่ ยกติ

HS 312 104 ภาษาจนี ข้นั กลาง 2 3 หน่วยกติ

HS 312 203 การสนทนาและอภิปรายภาษาจนี 3 หนว่ ยกติ

HS 312 204 การฟังและการพดู ภาษาจนี ทางวิชาการ 3 หนว่ ยกิต

HS 312 205 การอา่ นภาษาจนี เพ่ือความเข้าใจ 3 หนว่ ยกิต

HS 312 206 การอ่านภาษาจีนเชงิ วเิ คราะห์ 3 หนว่ ยกติ

HS 312 207 การเขียนภาษาจนี 3 หน่วยกติ

HS 312 601 การสนทนาภาษาจนี ในเชงิ ธรุ กจิ 3 หนว่ ยกิต

HS 313 105 ภาษาจนี ขัน้ สงู 1 3 หน่วยกิต

HS 313 106 ภาษาจนี ขนั้ สงู 2 3 หน่วยกิต

HS 313 208 การอ่านขา่ วภาษาจนี 3 หนว่ ยกติ

HS 313 301 ไวยากรณภ์ าษาจนี 3 หนว่ ยกติ

HS 313 602 ภาษาจนี ธุรกจิ 3 หนว่ ยกิต

HS 313 603 ภาษาจนี เพอ่ื การท่องเทยี่ ว 3 หน่วยกิต

HS 313 604 การเขยี นภาษาจนี ในเชงิ ธรุ กิจ 3 หนว่ ยกิต

HS 313 796 การฝึกงาน ไมน่ ับหนว่ ยกิต

HS 314 209 การแปลภาษาไทยเป็นภาษาจนี 3 หน่วยกติ

(3) กลุ่มวิชาเลอื ก 4

3.1 วชิ าเลอื กของวชิ าเอกภาษาจนี 18 หนว่ ยกติ

ให้นักศึกษาลงทะเบยี นเรยี นและสอบผา่ นรายวิชาดงั ต่อไปน้ีหรือรายวิชาที่จะเปิด

สอนเพ่ิมเตมิ ในภายหลัง จานวนหน่วยกติ ไมน่ ้อยกว่า 18 หน่วยกติ

36

HS 312 401 ศิลปะและวฒั นธรรมจนี 3 หนว่ ยกติ
HS 312 402 นทิ านสภุ าษิตจนี 3 หน่วยกติ
HS 312 403 วัฒนธรรมการค้าของจีน 3 หนว่ ยกติ
HS 313 404 ภาษาจนี โบราณ 3 หนว่ ยกติ
HS 313 501 วรรณกรรมจีน 3 หน่วยกติ

HS 314 210 การแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย 3 หน่วยกติ

HS 314 605 การอา่ นหนังสอื พมิ พจ์ นี ธรุ กิจ 3 หนว่ ยกติ

HS 314 701 เศรษฐกิจจนี ร่วมสมยั 3 หนว่ ยกติ

HS 314 702 หลักการจัดการธรุ กิจจนี 3 หนว่ ยกติ

HS 314 785 สหกิจศกึ ษาทางภาษาจนี 9 หน่วยกติ

3.2 วิชาบังคับเลอื ก (ภาษาตา่ งประเทศ 2) 3 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชากลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศใน

รายวิชาที่ต่อเน่อื งจากรายวิชาทไ่ี ดล้ งทะเบยี นไปแลว้ อย่างน้อย 1 รายวชิ า 3 หน่วยกิต ดงั ต่อไปน้ี

HS 321 002 ภาษาญป่ี นุ่ ข้ันต้น 2 3 หนว่ ยกติ

HS 331 102 ภาษาเกาหลี 2 3 หน่วยกิต

HS 911 102 ภาษาเขมร 2 3 หน่วยกติ

HS 921 102 ภาษาลาว 2 3 หน่วยกติ

HS 931 102 ภาษาพมา่ 2 3 หนว่ ยกิต

HS 941 102 ภาษาเวยี ดนาม 2 3 หนว่ ยกติ

HS 951 102 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซีย 2 3 หนว่ ยกิต

2.2 วชิ าเอกภาษาญ่ปี นุ่

ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรยี นและสอบผา่ นรายวชิ าดังตอ่ ไปน้ีหรือรายวิชาที่จะเปดิ สอน

เพิม่ เติมในภายหลงั จานวนหน่วยกิตรวมไมน่ ้อยกวา่ 60 หนว่ ยกติ

HS 321 101 ภาษาญปี่ ุ่น 1 3 หนว่ ยกิต

HS 321 102 ภาษาญปี่ ุ่น 2 3 หน่วยกิต

HS 321 301 เสียงและระบบเสียงภาษาญีป่ นุ่ 3 หน่วยกิต

HS 322 103 ภาษาญปี่ นุ่ 3 3 หนว่ ยกิต

HS 322 104 ภาษาญปี่ ุ่น 4 3 หนว่ ยกิต

HS 322 201 การฟังและพดู ภาษาญป่ี นุ่ 1 3 หน่วยกติ

HS 322 202 การฟังและพูดภาษาญป่ี ุ่น 2 3 หนว่ ยกติ

HS 322 211 การอา่ นและเขียนภาษาญป่ี นุ่ 1 3 หน่วยกิต

HS 322 212 การอ่านและเขียนภาษาญป่ี ุ่น 2 3 หนว่ ยกิต

HS 322 302 การวิเคราะหโ์ ครงสร้างภาษาญป่ี ุ่น 1 3 หน่วยกิต

HS 322 401 ภาษาญป่ี ุ่นกับสงั คมและวฒั นธรรม 3 หนว่ ยกติ

37

HS 323 105 ภาษาญป่ี นุ่ 5 3 หนว่ ยกติ

HS 323 106 ภาษาญปี่ ุ่น 6 3 หน่วยกิต

HS 323 203 การฟงั และพดู ภาษาญปี่ นุ่ 3 3 หนว่ ยกิต

HS 323 204 การสนทนาและการอภปิ รายภาษาญีป่ นุ่ 3 หนว่ ยกิต

HS 323 213 การอ่านและเขยี นภาษาญ่ปี ุ่น 3 3 หน่วยกิต

HS 323 214 คันจสิ าหรับนกั ศกึ ษาวิชาเอกภาษาญ่ีปนุ่ 3 หนว่ ยกิต

HS 323 215 การอ่านและการเขียนภาษาญี่ปนุ่ เชิงวเิ คราะห์ 3 หน่วยกิต

HS 323 601 การแปลภาษาญปี่ นุ่ 1 3 หน่วยกิต

HS 323 796 การฝึกงาน ไมน่ ับหนว่ ยกติ

HS 324 107 ภาษาญป่ี นุ่ 7 3 หน่วยกติ

(3) กลุม่ วิชาเลือก

3.1 วิชาเลือกของวชิ าเอกภาษาญ่ปี ุ่น

ใหน้ ักศึกษาลงทะเบยี นเรยี นและสอบผ่านรายวชิ าดงั ตอ่ ไปนี้หรือรายวิชาทีจ่ ะเปิดสอน

เพิ่มเติมในภายหลงั จานวนหน่วยกติ ไม่นอ้ ยกว่า 18 หนว่ ยกติ

HS 324 303 การวเิ คราะหโ์ ครงสร้างภาษาญป่ี ุ่น 2 3 หนว่ ยกติ

HS 324 501 วรรณกรรมชนิ้ เอกของญป่ี นุ่ 3 หน่วยกิต

HS 324 602 การแปลภาษาญ่ปี นุ่ 2 3 หนว่ ยกิต

HS 324 603 ภาษาญปี่ ุน่ สาหรับลา่ ม 3 หน่วยกิต

HS 324 604 ภาษาญป่ี นุ่ เพ่ือธุรกิจ 3 หน่วยกติ

HS 324 701 ภาษาญปี่ ุ่นเพือ่ การท่องเท่ยี วในอนุภมู ภิ าคลุม่ นา้ โขง 3 หน่วยกิต

HS 324 702 ภาษาญปี่ ุ่นเพื่อการโรงแรม 3 หน่วยกิต

HS 324 703 ภาษาญปี่ ุ่นเพอ่ื เลขานุการ 3 หนว่ ยกิต

HS 324 785 สหกิจศกึ ษาทางภาษาญป่ี นุ่ 9 หน่วยกติ

HS 324 901 การเขียนและการอภปิ รายงานวจิ ยั ภาษาญปี่ นุ่ 3 หน่วยกติ

3.2 วิชาบงั คบั เลือก (ภาษาต่างประเทศ 2)

ให้นักศึกษาเลือกลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชากลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศใน

รายวิชาท่ตี อ่ เนือ่ งจากรายวิชาทไี่ ด้ลงทะเบียนไปแล้วอยา่ งน้อย 1 รายวิชา 3 หน่วยกิต ดงั ต่อไปนี้

HS 311 002 ภาษาจนี 2 3 หนว่ ยกติ

HS 331 102 ภาษาเกาหลี 2 3 หน่วยกิต

HS 911 102 ภาษาเขมร 2 3 หน่วยกิต

HS 921 102 ภาษาลาว 2 3 หนว่ ยกิต

HS 931 102 ภาษาพมา่ 2 3 หน่วยกิต

HS 941 102 ภาษาเวยี ดนาม 2 3 หนว่ ยกิต

HS 951 102 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซยี 2 3 หน่วยกิต

38

(4) กลุม่ วชิ าเลอื กเสรี 6 หน่วยกิต

ใหน้ กั ศึกษาลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าเลอื กเสรีที่เปดิ สอนในมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ หรือ

สถาบนั การศึกษาอ่ืนตามประกาศของมหาวิทยาลยั จานวนไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกติ

39

หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑติ
สาขาวิชาภาษาตะวนั ตก

คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่
(หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ.2560)

ลักษณะโครงสรา้ งและขอบขา่ ยของหลักสูตร มีดงั ตอ่ ไปน้ี

1. หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 30 หน่วยกติ

1.1 กล่มุ วิชาภาษา 12 หน่วยกติ

1.2 กลุม่ วชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต

1.3 กลมุ่ วชิ าคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ 6 หน่วยกิต

1.4 รายวชิ าศกึ ษาทวั่ ไปของคณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ เรียนจานวน 3 วชิ า 9 หน่วยกติ

1.4.1 กลุ่มวชิ ามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต

1.4.2 กลุ่มวิชาภาษา(ต่างประเทศ 1) ใหน้ ักศกึ ษาเลอื กเรยี นวชิ าภาษาต่างประเทศ

ภาษาใดภาษาหนึง่ 3 หนว่ ยกิต

2. หมวดวชิ าเฉพาะ 111 หนว่ ยกิต

2.1 กล่มุ วิชาพืน้ ฐาน 24 หน่วยกิต

2.2 กลมุ่ วิชาเอก 72 หน่วยกติ

- กลุ่มวชิ าบังคับ 48 หน่วยกิต

- กล่มุ วชิ าเลือก 24 หนว่ ยกติ

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี 6 หนว่ ยกิต

รวมตลอดหลักสตู ร 147 หน่วยกิต

1. หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป 30 หน่วยกติ

(1) กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกติ

000 101 ภาษาองั กฤษ 1 3 หน่วยกติ

000 102 ภาษาองั กฤษ 2 3 หนว่ ยกิต

000 103 ภาษาองั กฤษ 3 3 หน่วยกติ

000 104 ภาษาอังกฤษ 4 3 หนว่ ยกิต

000 160 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศพ้ืนฐาน ไมน่ บั หนว่ ยกติ

รายวิชา 000 160 เป็นรายวิชาท่ีนักศึกษาจะต้องเรียนรู้ด้วยตนเองในระบบ
e-Learning ของมหาวิทยาลัย หรือสมัครเข้ารับการอบรมในหัวข้อต่างๆ ท่ี

มหาวิทยาลัย กาหนด ไม่มีการเรียนการสอนในชั้นเรียนและไม่นับหน่วยกิต

นักศึกษาจะต้องสอบผ่านรายวิชา 000 160 ในระบบ e-Testing ตามเกณฑ์ที่

มหาวทิ ยาลัยกาหนด

40

(2) กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกติ

000 145 ภาวะผนู้ าและการจัดการ 3 หน่วยกิต

(3) กลมุ่ วิชาคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต

000 174 ทกั ษะการเรียนรู้ 3 หนว่ ยกิต 3 3

000 175 การคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์และการแกป้ ญั หา 3 หนว่ ยกิต

(4) รายวชิ าศึกษาท่วั ไปของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เรยี นจานวน 3 วชิ า 9 หนว่ ยกิต

(4.1) กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต

HS 420 001 ความตระหนกั ร้ขู ้ามวัฒนธรรม 3 หน่วยกิต

HS 430 001 การเรียนรู้โดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน 3 หนว่ ยกิต

(4.2) กลุ่มวชิ าภาษา(ตา่ งประเทศ 1) ใหน้ กั ศึกษาเลอื กเรียนวิชาภาษาตา่ งประเทศภาษาใดภาษาหนึง่

ต่อไปน้ี 1 รายวชิ า 3 หน่วยกติ

HS 311 001 ภาษาจนี 1 3 หน่วยกติ

HS 321 001 ภาษาญปี่ ุ่นขน้ั ต้น 1 3 หนว่ ยกิต

HS 331 001 ภาษาเกาหลี 1 3 หนว่ ยกติ

HS 911 101 ภาษาเขมร 1 3 หน่วยกิต

HS 921 101 ภาษาลาว 1 3 หน่วยกิต

HS 931 101 ภาษาพมา่ 1 3 หนว่ ยกติ

HS 941 101 ภาษาเวียดนาม 1 3 หนว่ ยกติ

HS 951 101 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซยี 1 3 หน่วยกติ

หมายเหตุ นกั ศึกษาจะต้องไม่เลือกเรยี นวชิ าภาษาตา่ งประเทศวชิ าเดยี วกบั วชิ าเอก

2. หมวดวิชาเฉพาะ 111 หน่วยกิต

(1) กลุ่มวชิ าพื้นฐาน 24 หน่วยกิต

ให้นกั ศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผา่ นรายวิชาดงั ตอ่ ไปน้ีหรือรายวิชาทีจ่ ะเปิดสอน

เพ่ิมเตมิ ในภายหลงั

HS 701 601 ภาษาและประวตั ิศาสตรช์ นชาตติ ะวนั ตก 3 หน่วยกิต

HS 701 602 วัฒนธรรมชนชาติตะวนั ตก 3 หน่วยกติ

HS 703 301 การแปลภาษาตะวนั ตกเปน็ ภาษาไทย 3 หนว่ ยกิต

HS 703 302 การแปลภาษาไทยเป็นภาษาตะวันตก 3 หนว่ ยกติ

HS 703 501 วรรณกรรมยโุ รป 3 หนว่ ยกติ

HS 703 801 ภาษาตะวันตกเพื่อการโรงแรม 3 หนว่ ยกิต

HS 703 802 ภาษาตะวันตกเพอ่ื การทอ่ งเท่ยี ว 3 หนว่ ยกิต

41

HS 704 901 ระเบียบวธิ ีวิจยั ทางภาษาตะวนั ตก 3 หน่วยกิต

(2) กลมุ่ วชิ าบงั คบั 16 หน่วยกติ

นักศึกษาที่จะศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก ต้องเลือกวิชาเอกท่ีจะ

เรียน 1 รายวิชา จากทเี่ ปิดสอนท้ังหมด 3 วิชาเอก ดังตอ่ ไปนี้

(1) ภาษาสเปน

(2) ภาษาเยอรมนั

(3) ภาษาฝรั่งเศส

2.1 วชิ าเอกภาษาสเปน

2.1.1 วชิ าบงั คับ 48 หนว่ ยกิต

ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผา่ นรายวิชาดังต่อไปน้หี รือรายวิชาท่ีจะเปิดสอน

เพม่ิ เติมในภายหลงั จานวนหนว่ ยกิตรวมไม่นอ้ ยกวา่ 48 หน่วยกิต

HS 711 103 ภาษาสเปน 1 3 หน่วยกติ

HS 711 104 ภาษาสเปน 2 3 หน่วยกติ

HS 711 201 การฟงั และการพดู ภาษาสเปน 1 3 หน่วยกติ

HS 711 202 การฟงั และการพดู ภาษาสเปน 2 3 หนว่ ยกติ

HS 712 105 ภาษาสเปน 3 3 หนว่ ยกติ

HS 712 203 การฟงั และการพดู ภาษาสเปน 3 3 หน่วยกติ

HS 712 204 การอ่านภาษาสเปน 1 3 หน่วยกิต

HS 712 205 การฟังและการพดู ภาษาสเปน 4 3 หน่วยกิต

HS 712 206 การเขยี นภาษาสเปน 1 3 หนว่ ยกิต

HS 712 301 ภาษาศาสตร์ภาษาสเปนข้ันแนะนา 3 หน่วยกติ

HS 713 106 ภาษาสเปน 4 3 หน่วยกติ

HS 713 107 ภาษาสเปน 5 3 หนว่ ยกิต

HS 713 207 การอ่านภาษาสเปน 2 3 หน่วยกิต

HS 713 208 ภาษาสเปนเพ่อื การอภิปรายและการโต้วาที 3 หน่วยกิต

HS 713 209 การเขยี นภาษาสเปน 2 3 หนว่ ยกิต

HS 713 796 การฝกึ งาน (ไมน่ บั หนว่ ยกติ )

HS 714 108 ภาษาสเปน 6 3 หน่วยกิต

2.1.2 วิชาเลอื ก 24 หนว่ ยกติ

2.1.2.1 วิชาเลือกของวิชาเอกภาษาสเปน 21 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาดังต่อไปนี้หรือ

รายวชิ าที่จะเปิดสอนเพิม่ เตมิ ในภายหลัง จานวนหนว่ ยกติ รวมไมน่ ้อยกว่า 21 หน่วยกติ

HS 711 401 การใชภ้ าษาสเปน 3 หน่วยกติ

HS 713 801 ภาษาสเปนเพอ่ื ธุรกจิ 1 3 หนว่ ยกติ

HS 713 802 ภาษาสเปนเพอื่ ธุรกิจ 2 3 หนว่ ยกิต

42

HS 714 210 ภาษาสเปนสาหรบั การพดู ในที่ชมุ ชน 3 หนว่ ยกิต

HS 714 402 ภาษาสเปนในฐานะภาษาตา่ งประเทศ 3 หนว่ ยกติ

HS 714 501 วรรณกรรมสเปนยุคทอง 3 หน่วยกติ

HS 714 601 อารยธรรมสเปนและลาตนิ อเมริกา 3 หน่วยกิต

HS 714 761 สมั มนาทางภาษาสเปน 3 หน่วยกติ

HS 714 785 สหกจิ ศกึ ษา 6 หนว่ ยกิต

นักศึกษาท่ีจะลงทะเบียนวิชา **HS 714 785 จะต้องผ่านการอบรมการเตรียมความพร้อม

ก่อนไปสหกิจศึกษา ที่คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์จดั ให้

2.1.2.2 วชิ าบังคับเลือก(ภาษาต่างประเทศ 2) 3 หน่วยกติ

ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาภาษาต่างประเทศดังต่อไปนี้อย่าง

น้อย 1 รายวชิ า ทง้ั นตี้ อ้ งเป็นวชิ าภาษาเดยี วกันกบั ภาษาทไี่ ด้ลงทะเบยี นเรียนในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป

HS 311 002 ภาษาจนี 2 3 หน่วยกติ

HS 321 002 ภาษาญปี่ ่นุ ขัน้ ตน้ 2 3 หน่วยกิต

HS 331 102 ภาษาเกาหลี 2 3 หนว่ ยกติ

HS 911 102 ภาษาเขมร 2 3 หน่วยกติ

HS 921 102 ภาษาลาว 2 3 หน่วยกิต

HS 931 102 ภาษาพมา่ 2 3 หนว่ ยกิต

HS 941 102 ภาษาเวยี ดนาม 2 3 หน่วยกิต

HS 951 102 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนเี ซีย 2 3 หน่วยกิต

2.2 วชิ าเอกภาษาเยอรมนั

2.2.1 วชิ าบังคับ 48 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาดังต่อไปน้ีหรือรายวิชาที่จะเปิด

สอนเพ่มิ เติมในภายหลัง จานวนหน่วยกติ รวมไมน่ ้อยกวา่ 48 หนว่ ยกิต

HS 721 103 ภาษาเยอรมัน 1 3 หนว่ ยกติ

HS 721 104 ภาษาเยอรมนั 2 3 หน่วยกิต

HS 721 105 การฟังและการพดู ภาษาเยอรมนั 1 3 หนว่ ยกติ

HS 721 106 การฟงั และการพูดภาษาเยอรมนั 2 3 หนว่ ยกิต

HS 722 107 ภาษาเยอรมนั 3 3 หน่วยกติ

HS 722 108 ภาษาเยอรมัน 4 3 หนว่ ยกิต

HS 722 201 การเขียนภาษาเยอรมัน 1 3 หน่วยกิต

HS 722 202 การอา่ นภาษาเยอรมนั 1 3 หนว่ ยกติ

HS 722 301 สทั ศาสตร์เยอรมัน 3 หน่วยกิต

HS 722 801 ภาษาเยอรมนั สาหรบั ธุรกิจการบรกิ าร 3 หนว่ ยกติ

HS 723 203 การฟงั ภาษาเยอรมันขั้นสงู 3 หนว่ ยกิต

43

HS 723 204 การอ่านภาษาเยอรมัน 2 3 หน่วยกติ

HS 723 205 การเขยี นภาษาเยอรมนั 2 3 หน่วยกติ

HS 723 802 ประเทศเยอรมนีในปจั จุบนั 3 หนว่ ยกิต

HS 723 796 การฝึกงาน (ไม่นบั หน่วยกติ )

HS 724 803 การเขียนภาษาเยอรมนั เพ่ือการสอื่ สารทางธรุ กิจ 3 หนว่ ยกิต

HS 724 804 ภาษาเยอรมันเพอื่ อตุ สาหกรรมและการลงทนุ 3 หนว่ ยกติ

2.2.2 วชิ าเลอื ก 24 หน่วยกิต

2.2.2.1 วชิ าเลอื กของวชิ าเอกภาษาเยอรมนั 21 หนว่ ยกติ

ให้นักศึกษาลงทะเบยี นเรียนและสอบผา่ นรายวิชาดังต่อไปน้ีหรือรายวชิ าท่จี ะ

เปดิ สอนเพม่ิ เตมิ ในภายหลงั จานวนหน่วยกติ รวมไม่น้อยกวา่ 21 หนว่ ยกิต

HS 721 101 ภาษาเยอรมนั เพอ่ื การสื่อสาร 1 3 หนว่ ยกติ

HS 721 102 ภาษาเยอรมนั เพือ่ การสอ่ื สาร 2 3 หน่วยกติ

HS 722 302 การวเิ คราะห์ภาษาเยอรมนั ในมมุ มองภาษาศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต

HS 723 303 วากยสมั พันธเ์ ยอรมัน 3 หน่วยกิต

HS 723 805 ภาษาเยอรมนั สาหรับการส่อื สารธุรกิจ 3 หนว่ ยกิต

HS 723 806 การสนทนาภาษาเยอรมนั ในบรบิ ททางธุรกจิ 3 หน่วยกติ

HS 723 807 ภาษาเยอรมันเพอ่ื การท่องเท่ียวในอีสาน 3 หนว่ ยกติ

HS 723 808 ภาษาเยอรมนั เพื่อการบรกิ ารทางการแพทย์ 3 หน่วยกิต

HS 72 4304 สานวนโวหารเยอรมนั ในมุมมองทางภาษาศาสตร์ 3 หน่วยกิต

HS 724 305 คาในภาษาเยอรมันและความหมาย 3 หน่วยกติ

HS 724 306 ภาษาศาสตรแ์ ละการสอนภาษาเยอรมนั ในฐานะ 3 หน่วยกติ

ภาษาตา่ งประเทศ

HS 724 307 ภาษาเยอรมนั ในฐานะภาษาตา่ งประเทศและ 3 หนว่ ยกิต

การทดสอบ

HS 724 501 งานร้อยแก้วเยอรมัน 3 หนว่ ยกติ

HS 724 502 วรรณคดเี ยอรมนั ร่วมสมยั 3 หนว่ ยกิต

HS 724 503 วรรณคดีเยอรมนั ยุคดงั้ เดมิ 3 หน่วยกิต

HS 724 809 ภาษาเยอรมนั เพื่อการนาเสนอทางธรุ กจิ 3 หน่วยกิต

HS 724 810 ภาษาเยอรมนั เพื่อการสื่อสารในสถานทที่ างาน 3 หน่วยกติ

HS 724 811 ภาษาเยอรมันเพ่อื การประชมุ ทางธรุ กจิ 3 หนว่ ยกิต

HS 724 812 ภาษาเยอรมันเพ่อื เศรษฐกิจและการค้า 3 หนว่ ยกิต

HS 724 813 ภาษาและวฒั นธรรมเยอรมนั เพือ่ การเจรจา 3 หนว่ ยกติ

ต่อรอง

HS 724 814 ภาษาเยอรมันเพอ่ื การเงินและการธนาคาร 3 หนว่ ยกติ

HS 724 815 ภาษาในหนงั สือพมิ พ์เยอรมนั 3 หน่วยกติ


Click to View FlipBook Version