The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Huso KKU PR, 2020-07-13 02:52:10

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

144

สาขาวิชาประวัติศาสตรแ์ ละโบราณคดี
รหัส HS 80

แบง่ ออกเปน็ 1 หมวดวิชาโดยใช้เลขตัวที่ 5 แสดงหมวดวิชา ดงั นี้
เลข 1 หมายถึง หมวดวิชาประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี

145

สาขาวิชาปรชั ญาและศาสนา
รหสั HS 82

แบง่ ออกเปน็ 3 หมวดวิชาโดยใชเ้ ลขตวั ที่ 5 แสดงหมวดวชิ า ดงั น้ี

เลข 1 หมายถึง หมวดวชิ าปรชั ญา
เลข 2 หมายถึง หมวดวชิ าศาสนา
เลข 3 หมายถงึ หมวดวิชาวัฒนธรรม

146

ระบบรหสั วชิ าสงั กัดศูนยภ์ าษาอาเซียน
รหัส HS 9X (427XXX)

แบง่ ออกเป็น 5 หมวดวชิ าโดยใช้เลขตัวท่ี 5 แสดงหมวดวิชาหรอื กลุ่มองคค์ วามรูข้ องรายวิชา ดังน้ี

ตวั เลข HS 9xx/427 (สามตัวแรก) หมายถึง รายวชิ าภาษาอาเซียน
ตัวเลขตัวที่ 4 หมายถึง ภาษา
เลข 1 หมายถงึ ภาษาเขมร
เลข 2 หมายถงึ ภาษาลาว
เลข 3 หมายถงึ ภาษาพมา่
เลข 4 หมายถงึ ภาษาเวียดนาม
เลข 5 หมายถึง ภาษาบาฮาซา อนิ โดนเี ซยี
ตวั เลขตวั ท่ี 5 หมายถงึ แสดงหมวดวชิ า
เลข 1 หมายถงึ หมวดวชิ าภาษา
เลข 2 หมายถงึ หมวดวิชาภาษาและวัฒนธรรม
เลข 3 หมายถึง หมวดวชิ าวรรณกรรม
เลข 4 หมายถงึ หมวดวิชาภาษาเพื่ออาชีพ
เลข 5 หมายถงึ หมวดวิชาภาษาเพอื่ การทอ่ งเที่ยว
ตวั เลขตัวที่ 6 หมายถึง แสดงลาดับท่ีของวชิ า

147

คาอธิบายรายวชิ า
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

วิชาภาษาเกาหลี

HS 331 001 ภาษาเกาหลี 1 3 (3-0-6)

Korean I

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

การพฒั นาทกั ษะการฟงั พดู อ่านและเขียนภาษาเกาหลีระดับพนื้ ฐาน เพอื่ การสื่อสารในชวี ิต

ประจาวนั เรียนรไู้ วยากรณ์ภาษาเกาหลรี ะดับพื้นฐาน และคาศพั ท์ภาษาเกาหลีประมาณ 350 ตวั HS

HS 331 002 ภาษาเกาหลี 2 3 (3-0-6)

Korean II

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 331 001 # หรือ 407 101

การพฒั นาทกั ษะการฟงั พูด อา่ นและเขียนภาษาเกาหลพี ื้นฐานในระดบั ทส่ี งู ขนึ้ เพอื่ การส่ือสารใน

ชวี ิตประจาวนั และเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาเกาหลีประมาณ 350 ตวั

HS 332 101 ภาษาเกาหลี 3 3 (3-0-6)

Korean III

เง่อื นไขของรายวชิ า : 407 102 #

การพฒั นาทกั ษะการฟัง พูด อา่ น และเขยี นภาษาเกาหลรี ะดับกลางขน้ั ต้น เพอ่ื การสือ่ สารในชีวิตประจาวัน

เรยี นรู้ไวยากรณภ์ าษาเกาหลรี ะดบั กลางข้ันตน้ และคาศพั ท์ภาษาเกาหลีเพมิ่ ขน้ึ อีกประมาณ 350 คา

HS 332 102 ภาษาเกาหลี 4 3 (3-0-6)

Korean IV

เงื่อนไขของรายวชิ า : 407 211

การพัฒนาทกั ษะการฟัง พดู อ่าน และเขียนภาษาเกาหลรี ะดับกลางขนั้ สงู เพือ่ การส่อื สารในชีวิตประจาวนั

เรยี นรู้ไวยากรณภ์ าษาเกาหลรี ะดบั กลางขัน้ สูง และคาศพั ทภ์ าษาเกาหลีเพม่ิ ขึ้นอกี ประมาณ 350 คา

407 321 ภาษาเกาหลีเพื่อการท่องเที่ยว 3 (3-0-6)

Korean for Tourism

เง่ือนไขของรายวิชา : 407 212 #

ทักษะภาษาเกาหลสี าหรบั การท่องเทย่ี ว การจดั โปรแกรมการทอ่ งเที่ยว การใหข้ ้อมลู เกย่ี วกับสถานท่ี

ท่องเทีย่ วทีส่ าคญั

407 331 การสนทนาภาษาเกาหลี 3 (3-0-6)

Korean Conversation

เง่ือนไขของรายวิชา : 407 212#

การสนทนาภาษาเกาหลีในสถานการณ์ต่างๆ การซื้อส้ินค้า การใช้บริการขนส่งสาธารณะ การใช้บริการ

ร้านอาหาร การใช้บริการโรงภาพยนตร์ การใช้บริการร้านขายยาและโรงพยาบาล การใช้บริการโรงแรม และการใช้

บริการสายการบนิ

148

407 332 การอ่านภาษาเกาหลี 3 (3-0-6)

Korean Reading

เงอื่ นไขของรายวิชา : 407 212#

ทักษะพน้ื ฐานสาหรบั การอ่านภาษาเกาหลี ในระดบั ย่อหนา้ หรอื บทความสั้นๆ จากหนังสือเรยี น สอ่ื ออนไลน์

หนงั สือพิมพ์

407 333 การเขียนภาษาเกาหลี 3 (3-0-6)

Korean Writing

เง่ือนไขของรายวชิ า : 407 212 #

ทักษะพ้นื ฐานสาหรับการเขยี นภาษาเกาหลี ในระดบั ยอ่ หนา้ หรอื บทความสัน้ ๆ

407 381 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 3 (3-0-6)

Korean Language and Culture

เง่ือนไขของรายวิชา : 407 212 #

ลกั ษณะและความสมั พันธร์ ะหวา่ งภาษากบั วฒั นธรรมเกาหลี วถี ชี ีวติ ประเพณี และมารยาทในสังคมเกาหลี

หลกั สูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑติ

HS 212 103 การจดั หาสารสนเทศและความรู้ 12 (9-6-21)
HS 212 104
Information and Knowledge Acquisition

เงื่อนไขของชดุ วชิ า: ไมม่ ี

การจัดการสมัยใหม่, ข้อมูล-สารสนเทศ-ความรู้ในฐานะท่ีเป็น ทรัพยากรเชิงกลยุทธ์ใน

การบริหารองค์การ, พฤติกรรมสารสนเทศ, ความต้องการของ ผู้บริโภคเชิงลึก, การประยุกต์

เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลใน การจัดหาสารสนเทศ และความรู้, การวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์, ทักษะที่

จาเป็นตอ่ การจัดหา สารสนเทศและความรู้ การบูรณาการการเรยี นรู้ กับการทางานดว้ ยการทา

โครงงานบูรณาการความรู้กบั การปฏบิ ัติ หรือ การฝึกฝน/การฝกึ หดั งาน

การจดั สารสนเทศและความรู้ 12 (9-6-21)

Information and Knowledge Organization

เงอ่ื นไขของชดุ วชิ า: ไมม่ ี

หลักการและทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการจัดสารสนเทศและความรู้, ระบบการจัด

สารสนเทศและความรู้, กระบวนการการจัดสารสนเทศและ ความรู้, การจัดทารายการ

สารสนเทศและความรู้, เมทาดาทา, เคร่ืองมือ ในการจัดระบบสารสนเทศและความรู้ ได้แก่

ระบบการจัดหมวดหมู่ อนุกรมวิธาน ออนโทโลยี มาตรฐานการควบคุมคาศัพท์อ่ืนสาหรับการ

เข้าถึง สารสนเทศ และความรู้ในระบบสารสนเทศขององค์กรธุรกิจ ทักษะที่จาเป็น ต่อการจัด

สารสนเทศและความรู้ การบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน ด้วยการทาโครงงานบูรณาการ

ความรกู้ บั การปฏบิ ัติ หรอื การฝึกฝน/ การฝึกหัดงาน

149

HS 212 105 การวิเคราะหข์ ้อมลู 15 (9-12-24)
HS 212 106
HS 213 203 Data Analytics
HS 213 204
เง่ือนไขของชดุ วชิ า: ไมม่ ี

วิทยาการข้อมูลข้ันแนะนา, สถิติเชิงวิเคราะห์, การจัดการฐานข้อมูล และคลังข้อมูล,

การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ, การเขียน โปรแกรมสาหรับงานทางด้าน

วิทยาการข้อมูล, การวิเคราะห์และนาเสนอ ข้อมูล, การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางดิจิทัลใน

การวิเคราะห์ ข้อมูล, ทักษะที่ จาเป็นต่อการวิเคราะห์ข้อมูล, การบูรณาการการเรียนรู้กับ

การทางาน ดว้ ยการทาโครงงาน บูรณาการความรกู้ ับการปฏบิ ตั ิ หรือ การฝกึ ฝน/ การฝึกหดั

งาน

การบริการแบบดิจทิ ลั 12 (9-6-21)

Digital Services

เงือ่ นไขของชุดวิชา: ไมม่ ี

พฤติกรรมสารสนเทศและพฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัล, การตลาด ดิจิทัล, การคิด

เชิงออกแบบ, การออกแบบและพัฒนาบริการสารสนเทศ ดิจิทัลสารสนเทศ, การให้บริการ

สารสนเทศดิจิทัล, ทักษะท่จี าเปน็ ตอ่ การบรกิ ารแบบดิจิทลั , การบรู ณาการการเรียนรกู้ ับการ

ทางานดว้ ยการทา โครงงานบรู ณาการความรกู้ ับการปฏิบตั ิ หรือ การฝึกฝน/การฝกึ หัดงาน

การกากับดแู ลสารสนเทศ 9 (6-6-15)

Information Governance

เง่อื นไขของชดุ วชิ า: ไม่มี

หลกั ธรรมาภบิ าล, การกากับดูแลกิจการ, การกากบั ดูแลสารสนเทศ, ความเปน็ สว่ นตัว

และความปลอดภยั ทางดจิ ิทัล, การบริหารความต่อเนื่อง การดาเนินงาน, การประเมินความ

เสี่ยงและการฟ้ืนฟูในภาวะ ภัยพิบัติ, การสงวนรกั ษาทางดจิ ทิ ัล, ทักษะท่ีจาเป็นต่อการกากับ

ดูแล สารสนเทศ, การบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน ด้วยการทาโครงงานบูรณาการ

ความรูก้ บั การปฏบิ ัติ หรือ การฝกึ ฝน/การฝึกหดั งาน

การสร้างสรรค์เน้อื หาสาระดิจิทลั 9 (6-6-15)

Digital Content Creation

เงื่อนไขของชดุ วชิ า: ไม่มี

หลักการและทฤษฎีการส่ือสาร, การส่ือสารดิจิทัล, การรู้เท่าทันส่ือใน ยุคดิจิทัล, การ

ป รั บ แ ต่ ง ส า ร ส น เ ท ศ , ดิ จิ ทั ล ค อ น เ ท น ต์ แ ล ะ สื่ อ ใ ห ม่ , ก า ร เ ขี ย น

เชิงสร้างสรรค์, การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ดจิ ิทัล, การนาเสนอ เผยแพร่ส่งต่อดิจทิ ัล

คอนเทนต์ผ่านส่ือใหม่, ทักษะท่ีจาเป็นต่อการสร้างสรรค์ สาระดิจิทัล การบูรณาการการ

เรียนรู้กับการทางานด้วยการทา โครงงานบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติ หรือ การฝึกฝน/

การฝกึ หัดงาน

150

HS 213 205 การจดั การเอกสาร 9 (6-6-15)
HS 213 206
HS 213 207 Records Management
HS 213 208
เงอ่ื นไขของชดุ วิชา: ไม่มี

หลักการและทฤษฏีการจัดการเอกสาร, มาตรฐานการจัดการเอกสาร, แผนงานจัดการ

เอกสารขององค์การ, การสารวจเอกสาร, กระบวนงาน สารบรรณ, การบริหารเอกสาร สาคญั

ที่สุดและเอกสารจดหมายเหตุ, การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเอกสาร, ทักษะที่

จาเป็นต่อ การจัดการเอกสาร, การบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน ด้วยการทาโครงงาน

บูรณาการความรู้กบั การปฏิบตั ิ หรือการฝึกฝน/การฝึกหดั งาน

การจัดการความรู้ 9 (6-6-15)

Knowledge Management

เงอ่ื นไขของชดุ วชิ า: ไมม่ ี

หลักการและแนวทางการจัดการความรู้, ทุนความรู้ขององค์กร, กระบวนการและ

เคร่ืองมือจัดการความรู้, กลยุทธ์ทางความรู้เพื่อความได้ เปรียบในการแข่งขันและการเติบโต

ขององค์การ, การประยุกต์เทคโนโลยี ดิจิทัล ในการจัดการความรู้, ทักษะที่จาเป็นต่อการ

จัดการความรู้, การบูรณาการการเรียนรู้กับการทางานดว้ ยการทาโครงงานบูรณาการ ความรู้

กบั การปฏบิ ัติ หรอื การฝกึ ฝน/การฝกึ หดั งาน

การจัดการสารสนเทศมรดกทางวฒั นธรรม 9 (6-6-15)

Cultural Heritage Information Management

เงอื่ นไขของชดุ วิชา: ไมม่ ี

แนวคิดและกรอบงานด้านมรดกทางวัฒนธรรม, มนุษยศาสตร์ดิจิทัล, สถาบันมรดก

ทางวัฒนธรรมในกลุ่มหอศิลป์, หอสมุด, หอจดหมายเหตุ และพิพิธภัณฑ์, กระบวนการ

จัดการสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม, การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการ

สารสนเทศมรดก ทางวัฒนธรรม, ทักษะท่ีจาเป็นต่อ การจัดการสารสนเทศมรดกทาง

วัฒนธรรม, การบูรณาการการเรียนรูก้ ับการทางาน ด้วยการทา โครงงานบูรณาการความรู้

กับการปฏบิ ัติ หรือ การฝึกฝน/การฝกึ หัดงาน

การจัดการสารสนเทศกฎหมายและการพาณิชย์ 9 (6-6-15)

Legal and Business Information Management

เงอ่ื นไขของชดุ วชิ า: ไมม่ ี

ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับการพาณิชย์ กฎหมาย และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายเก่ียวกับ

สารสนเทศและการประกอบธุรกิจ ประเภทของสารสนเทศ กฎหมาย, แหล่งสารสนเทศ

กฎหมาย การจัดหมวดหมู่สารสนเทศกฎหมาย การบริการ สารสนเทศกฎหมาย, และการจัด

อบรมผู้ใช้สารสนเทศกฎหมาย ทักษะที่จาเป็นต่อการจัดสารสนเทศกฎหมายและการพาณิชย์

การบูรณาการ การเรียนรู้กับการทางาน ด้วยการทาโครงงานบูรณาการ ความรู้กับการปฏิบัติ

หรอื การฝกึ ฝน/การฝกึ หดั งาน

151

HS 214 796 การบรู ณาการการเรียนรูก้ ับการทางาน 9 (6-3-36)

HS 111 002 Work Integrated Learning
HS 111 009
HS 113 011 เงือ่ นไขของชุดวชิ า: ไม่มี
HS 113 508
การทดลองปฏิบัติงานในองค์การเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลา ขององค์การ,

ปฏิบัติตามระเบียบการบริหารงานบุคคลขององค์การตลอด ระยะเวลาการปฏบิ ัตงิ าน, การทา

โครงงานบูรณาการความรู้กบั การปฏิบัติ

สาขาวิชาเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา

การฟงั และการพูดภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน 3 (2-2-5)
English Listening and Speaking in Everyday Life
เง่ือนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ทักษะการฟังและพดู ในชีวิตประจาวัน การทกั ทาย การอาลา การแนะนาตนเอง

การเล่าเร่ืองเกีย่ วกับตนเอง การนดั หมาย การขอโทษ การสอ่ื สารทางโทรศพั ท์

การเขียนตดิ ต่อทางสงั คมและธุรกจิ 3 (3-0-6)

Social and Business Correspondence

เง่ือนไขของรายวิชา: ไม่มี

การเขียนติดตอ่ คาศัพท์ สานวน รูปแบบ โครงสร้างประโยคสาหรับการเขียนเพื่อตดิ ตอ่

ทางสังคมและธรุ กจิ

การเขยี นภาษาอังกฤษทางวิชาการ 3 (3-0-6)

Academic English Writing

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

หลักการเขียนภาษาอังกฤษทางวิชาการ กระบวนการเขียน การเรียบเรียง ความคิด

รูปแบบ การเขียนประเภทต่างๆ การเขียนประโยคความเดียว ความรวม และความซ้อนที่ดี

การเขียนระดับยอ่ หน้าและเรียงความสัน้ ๆ ทีด่ ี

ภาษาองั กฤษเพือ่ ธรุ กิจการทอ่ งเทยี่ ว 3 (3-0-6)

English for Tourism Business

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารในธุรกิจการท่องเท่ียว คาศัพท์ สานวน และ

ไวยากรณ์

152

HS 114 012 การอภิปรายดว้ ยภาษาอังกฤษหวั ขอ้ เก่ยี วกับอาเซียน 3 (3-0-6)

English Discussion on ASEAN Topics

เง่อื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ทักษะการฟังและพดู ภาษาอังกฤษเพ่ือการอภิปรายให้และสนบั สนนุ ความคิดเหน็

การโต้แย้ง จดบันทึกและ นาเสนอ ในหัวข้อท่ีเก่ียวกับอาเซียน และคาศัพท์ สานวน และ

โครงสร้างทส่ี าคญั

หมวดวชิ าบังคับเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตศ้ กึ ษา

HS 811 101 ประวตั ิศาสตร์เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ 1 3 (3-0-6)
HS 811 102
HS 811 103 History of Southeast Asia I
เงือ่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี
HS 811 201
พัฒนาการของรัฐในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ตงั้ แต่สมยั โบราณจนถงึ คริสต์ศตวรรษที่ 19
อิทธพิ ลจากภายนอก ลทั ธอิ าณานคิ ม และผลกระทบต่อภมู ภิ าค

ประวัตศิ าสตรเ์ อเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 2 3 (3-0-6)
History of Southeast Asia II

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

พัฒนาการของรัฐสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน
ความสัมพันธใ์ นภมู ิภาคกับการเปลีย่ นแปลงของโลกภายนอก

ภาษา ศาสนา และวรรณกรรม ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 3 (3-0-6)
Languages, Religions and Literatures in Southeast Asia

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

นิยามและขอบเขต ของภาษา ศาสนา และวรรณกรรม รากฐานวัฒนธรรมของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ผ่านภาษา ศาสนาและความเช่ือ และวรรณกรรม ภาษากับการส่ือสารใน

เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ แนวคดิ เก่ยี วกับศาสนาและความเชอ่ื ท่สี าคัญในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้
วรรณกรรมสาคัญในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้

อตุ สาหกรรมการทอ่ งเที่ยว 3 (3-0-6)
Tourism Industry
เง่อื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ความหมายและความสาคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว องค์ประกอบของ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว บทบาทและผลกระทบของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวท่ีมีต่อ

เศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม การจัดการธุรกจิ อุตสาหกรรมการทอ่ งเท่ียว

153

HS 811 301 การผลิตสือ่ เพ่ือการเผยแพร่ขอ้ มลู ทางเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 3 (3-0-6)
HS 812 104
Media Production and Information Dissemination on
HS 812 105
HS 812 106 Southeast Asia
HS 812 107
เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

แนวคิดเกี่ยวกับการผลิตและการใช้ส่ือเพ่ือการส่ือสารข้อมูลทางด้านเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้ผ่านทางสื่อมวลชนและอินเทอร์เน็ต การวิเคราะห์สื่อ กระบวนการผลิตส่ือ ในงาน

โฆษณา ประชาสมั พันธเ์ พ่ือการทอ่ งเทย่ี ว

ความหลากหลายทางชาติพนั ธุใ์ นเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 3 (3-0-6)

Ethnic Diversity in Southeast Asia

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความหมายของกลุ่มชาติพันธุ์ ขอบเขตและความสาคัญของการศึกษา ความ

หลากหลายทางชาตพิ ันธุ์ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตใ้ นฐานะของอาณาบริเวณทีม่ คี วามหลากหลาย

ทางชาติพันธ์ุ กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศต่าง ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การย้ายถิ่นและการ

เคลื่อนย้ายของกลุม่ ชาติพันธุ์ ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์กับรัฐ การธารงชาตพิ ันธ์ุ และ

กลุ่มชาติพันธุท์ า่ มกลางการพัฒนา กระแสโลกาภิวัตน์ รวมทง้ั สภาวะข้ามชาตใิ นเอเชยี ตะวันออก

เฉียงใต้

ประวัติศาสตรศ์ ลิ ปะและโบราณคดใี นเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 3 (3-0-6)

History of Arts and Archaeology in Southeast Asia

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

พัฒนาการด้านศิลปะ วัฒนธรรม และโบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สมัยก่อน

ประวตั ิศาสตรถ์ งึ คริสตศตวรรษท่ี 19

แนวคดิ และทฤษฎสี าหรับเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ศกึ ษา 3 (3-0-6)

Concepts and Theories in Southeast Asian Studies

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความหมายและประเภทของแนวคิดและทฤษฎีสาหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
และการประยุกต์ใช้ ได้แก่ แนวคิดรัฐแสงเทียน-รัฐชาติ แนวคิดการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม
แนวคิดการพฒั นา แนวคิดเพศภาวะ และเพศวถิ ี

อาเซยี น ชาติมหาอานาจ และองคก์ รระหว่างประเทศ 3 (3-0-6)

ASEAN, the Great Powers and International Organizations
เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

บทบาทของมหาอานาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม และวฒั นธรรม ในอดีตและปัจจบุ ัน องคก์ รระหวา่ งประเทศและบทบาทต่อการพัฒนาใน
เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

154

HS 812 108 พรมแดนและชายแดนในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 3 (3-0-6)
HS 812 202
HS 813 109 Borders and Frontiers in Southeast Asia
HS 813 203
HS 813 302 เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี
HS 813 796
จุดกาเนิดของพรมแดนและพัฒนาการของรัฐชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกจิ สังคม การเมืองตามแนวชายแดนในระดับรฐั ชาติและชมุ ชน

มัคคุเทศกท์ างประวตั ิศาสตร์ 3 (3-0-6)

Historical Tourist Guide

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับงานมัคคุเทศก์ บทบาทหน้าท่ีของมัคคุเทศก์ กฎหมายท่ี

เกี่ยวข้องในงานมัคคุเทศก์ การบูรณาการความรู้ทางประวัติศาสตร์ในงานมัคคุเทศก์ การ

ประยุกตใ์ ช้ความรดู้ ้านประวัตศิ าสตร์ในงานมัคคเุ ทศก์ กระบวนการและวิธีการจัดการทอ่ งเท่ยี ว

การวางแผนนาเท่ยี ว การทอ่ งเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ การเขยี นรายงาน

ระเบียบวิธีวิจยั สาหรับเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา 3 (3-0-6)

Research Methodology for Southeast Asian Studies

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความรูพ้ ื้นฐานเกย่ี วกบั การวิจยั และระเบยี บวิธวี ิจัย การวจิ ยั ทางประวัติศาสตร์ การวจิ ยั

ทางสังคมและวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลักการวิจัยเอกสารและการวิจัยเชิง
คุณภาพ การออกแบบการวิจัย การดาเนินการวิจัย การเขียนรายงานวิจัย และการเผยแพร่

ผลการวิจยั

ประวตั ศิ าสตร์และสารคดี 3 (3-0-6)

History and Documentary
เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

นิยามความหมาย ประเภทของสารคดี พัฒนาการงานเขียนสารคดีตั้งแต่อดีตจนถึงยุค
ปจั จุบัน การวิเคราะหต์ ัวอย่างงานสารคดชี ิน้ เอกในไทยและเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

การเขียนและผลติ สารคดีทางประวตั ิศาสตร์ 3 (3-0-6)

Writing and Producing Historical Documentaries

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

หลักการเขียนสารคดี กรรมวิธกี ารผลติ สารคดี การรวบรวมและการจดั การข้อมูล การ

เขียนคอนเทนต์ การเขียนและผลิตส่ือสารคดีทางประวัติศาสตร์ ในรูปแบบส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือ

วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ และสื่อออนไลน์

การฝกึ งานทางเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ศึกษา 6 หน่วยกติ

Practicum in Southeast Asian Studies ไม่นบั หน่วยกติ

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานตามความเหน็ ชอบของหลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ศึกษา การเขียนรายงานและการนาเสนอผลการปฏิบัติงาน

155

HS 814 110 ประเดน็ สาคญั ปจั จุบันในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 3 (3-0-6)
HS 814 204
HS 814 205 Current Issues in Southeast Asia
HS 814 206
HS 814 761 เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี
HS 814 785
ประเดน็ สาคญั ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ในด้านการเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม

กฎหมายระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ธุรกิจ การตลาด โลจิสติกส์ และโอกาสใน

การประกอบอาชพี

ปฏิบัตกิ ารทอ่ งเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ 3 (2-2-5)

Practice in Historical Tourism

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การนาเท่ียวภาคสนาม เทคนิคการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การนา

เที่ยว การบรรยาย และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การฝึกปฏบิ ัติจัดนาเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์

ภายในประเทศและตา่ งประเทศ

แหล่งท่องเทยี่ วตามประวตั ิศาสตรไ์ ทย 3 (3-0-6)

Historical Sites in Thai History

เง่อื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย ต้ังแต่สมัยก่อน

ประวัตศิ าสตรจ์ นถึงปัจจบุ นั และการเขยี นเชงิ ประวตั ศิ าสตร์เพอ่ื การทอ่ งเท่ียว

ประวัตศิ าสตรเ์ พอื่ การท่องเที่ยวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1 3 (3-0-6)

History for Tourism in Southeast Asia I

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ และแหลง่ ท่องเที่ยวบนผนื แผน่ ดนิ ใหญข่ องเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้ ต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน และการเขียนเชิงประวัติศาสตร์เพ่ือการ

ทอ่ งเทีย่ ว

เอกตั ศึกษาทางเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตศ้ ึกษา 3 (3-0-6)

Individual Study in Southeast Asian Studies

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

การพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตามความสนใจของนักศึกษา
ภายใต้คาแนะนาของอาจารย์ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และสังเคราะห์การเขียน
รายงานและนาเสนอผลการศึกษา

สหกิจศกึ ษาทางเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา 6 หนว่ ยกิต

Cooperative Education in Southeast Asian Studies

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

การปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนตามความเห็นชอบของหลักสูตรเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใตศ้ ึกษา การเขยี นรายงานและการนาเสนอผลการปฏิบัตงิ าน

156

สาขาวชิ าภาษาไทย

หมวดวิชาบงั คับเลอื ก

416 101 การแต่งคาประพันธ์และอา่ นทานอง 3 (3-0-6)

Poetry Writing and Rhythmic Recitation

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

ลกั ษณะเฉพาะของการอ่านทานอง ลลี าและนา้ เสยี งในการอา่ นทานอง ทานองหลวง ทานองพราหมณ์

ทานองนกั เรยี น ทานองชาวบา้ น ทานองพื้นถน่ิ ลักษณะ องคป์ ระกอบ ววิ ฒั นาการ ประเภท หลักและการแต่งคา

ประพนั ธ์ร้อยกรองประเภทตา่ ง ๆ

416 102 พิธีกรมืออาชีพ 3 (3-0-6)

Professional Host/Master of Ceremonies

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ลกั ษณะและคณุ สมบัตทิ ดี่ ีของพธิ กี ร บทบาทและหน้าที่ หลกั การพดู เบ้ืองต้น สาระระเบียบ ข้อปฏบิ ตั ิ

ประเพณแี ละมารยาททพี่ ธิ ีกรพงึ รู้ ทางก้าวสู่การเป็นพธิ ีกรมอื อาชพี

416 103 วรรณกรรมหมอลา 3 (3-0-6)

Morlum Literature

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

ววิ ฒั นาการหมอลา ทานองลา กลอนลา หมอลาเรือ่ ง หมอลาซ่ิง ศลิ ปนิ หมอลา

หมวดวชิ าภาษาและภาษาศาสตร์

416 111 ภาษาศาสตร์ภาษาไทย 3 (3-0-6)

Thai Linguistics

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความรู้เก่ียวกับภาษาศาสตร์ การเกิดเสียงในภาษา โครงสร้างระบบเสียงและการถ่ายเสียง หน่วยคาและ

ระบบคา ระบบประโยค และความหมายของคา

416 112 พัฒนาการภาษาไทย 3 (3-0-6)

Development of Thai Language

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

แนวคดิ การศึกษาภาษาศาสตรเ์ ชงิ ประวตั ิและเปรียบเทยี บ การเปลยี่ นแปลงของภาษา สาเหตแุ ละประเภท

ของการเปลีย่ นแปลง ลกั ษณะภาษาไทยสมยั สโุ ขทัย สมยั อยุธยา และสมยั รตั นโกสินทร์

416 113 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร 1 3 (3-0-6)

Communication Skills Development I

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การฟัง พูด อ่าน และเขียนอย่างมีประสิทธิผล กระบวนการและกลวิธกี ารรับและสง่ สารในสถานการณ์ตา่ ง

รปู แบบ

157

416 211 ลกั ษณะภาษาไทย 3 (3-0-6)

Characteristics of Thai Language

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

โครงสร้างระบบเสียงและไวยากรณ์ หมวดคา การสร้างคา วลแี ละประโยค และทฤษฎีการวเิ คราะห์ภาษา

416 212 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร 2 3 (3-0-6)

Communication Skills Development II

เงอื่ นไขของรายวิชา: 416 113 #

การพัฒนาทักษะการรับและส่งสารท่ีมีประสิทธิผล การวิเคราะห์ และสังเคราะห์สารโดยการฟัง พูด อ่าน

และเขียน

416 213 การสอ่ื สารทางวชิ าการ 3 (3-0-6)

Academic Communication

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ลกั ษณะงานวชิ าการ วธิ ีการสอื่ สารในงานวิชาการตา่ งรูปแบบ การนาเสนองานวิชาการ

416 214 การพูดในท่ชี ุมชน 3 (3-0-6)

Public Speaking

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ประเภทของการพูด องค์ประกอบ หลกั การและเทคนคิ การพูด การเตรยี มเนือ้ หาและเรยี บเรยี งความคิด

การวเิ คราะหบ์ ทพดู การรา่ งบทพูด และการพดู ในทชี่ มุ ชนแบบต่าง ๆ

416 311 การเขียนสร้างสรรค์ 3 (3-0-6)

Creative Writing

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความหมายและลกั ษณะเฉพาะของการเขยี นสรา้ งสรรค์ องค์ประกอบและรูปแบบของการเขียนสร้างสรรค์

การใชภ้ าษาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การเขยี นสารคดี บันเทงิ คดแี ละงานเขียนสรา้ งสรรคค์ ดั สรร

416 312 ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย 3 (3-0-6)

Foreign Languages in the Thai Language

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

สาเหตแุ ละวิธกี ารรับคา สานวนจากภาษาต่างประเทศ ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย การปรับศัพท์

การบญั ญตั ิศพั ท์ การสรา้ งคาในภาษาไทยและศพั ท์สันนษิ ฐาน

416 313 ภาษาไทยถิ่น 3 (3-0-6)

Thai Dialects

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

ลกั ษณะและความสาคญั ของภาษาถิ่น วธิ กี ารศึกษาภาษาถ่ิน ภาษาถน่ิ ตา่ ง ๆ ของไทย ความสมั พันธ์

ระหวา่ งภาษาถิ่นอืน่ กบั ภาษาถน่ิ กลาง บทบาทและสถานภาพของภาษาถนิ่ ในประเทศไทย

416 314 เสียงและระบบเสยี งในภาษาไทย 3 (3-0-6)

Sounds and Sound Systems in Thai

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

แนวคดิ พน้ื ฐาน พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ การถ่ายเสยี งภาษาไทยโดยใชส้ ัทอักษรสากล ทฤษฎหี น่วย

เสยี ง การวิเคราะห์ระบบเสยี งภาษาไทย

158

416 315 ภาษากับสงั คม 3 (3-0-6)

Language and Society

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ขอบเขต ความสาคญั ประเภท บทบาทของภาษาในสงั คม วัจนลีลา ภาวะหลายภาษา ทศั นคตขิ องคนใน

สังคมต่อภาษาและผูพ้ ูด ปัจจยั ทางสังคมทท่ี าใหภ้ าษาแปรเปล่ยี นการเปลย่ี นแปลงภาษา กรณีศกึ ษา

416 316 ภาษากับความหมาย 3 (3-0-6)

Language and Meaning

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ขอบเขตและการศึกษา แนวคิดทฤษฎี ประเภทของคาและความหมาย ความหมายตรง ความหมายอ้อม

การเปลยี่ นแปลงความหมาย ประเด็นภาษากับความหมายในสังคมไทย

416 317 การวิเคราะห์วาทกรรมขั้นแนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Discourse Analysis

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ความรูข้ ้ันพื้นฐานเกี่ยวกับภาษาระดับขอ้ ความ โครงสรา้ งข้อความประเภทตา่ ง ๆ กลวิธที างภาษาในขอ้ ความ

และวเิ คราะห์วาทกรรมเชงิ วพิ ากษ์ขั้นแนะนา

416 318 ภาษาอีสาน 3 (3-0-6)

Isan Language

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ขอบเขตและความหมายภาษาอีสาน การแบ่งกลุ่มภาษาอีสาน ความแตกต่างภาษาอีสานถิ่นต่าง ๆ การ

เปล่ยี นแปลงภาษาอสี าน อักษรไทนอ้ ย

416 411 ภาษาศาสตร์กบั การเรียนรภู้ าษา 3 (3-0-6)

Linguistics and Language Learning

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

องค์ประกอบ และวธิ ีการเรยี นรูภ้ าษา ภาษาแม่ และภาษาทส่ี อง

416 412 ลีลาภาษาในวรรณกรรม 3 (3-0-6)

Style in Literature

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความหมาย รปู แบบ ลักษณะและกลวธิ ีการสรรถ้อยคา กรณีศึกษา

416 413 วจั นปฏิบัตศิ าสตร์ขนั้ แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Pragmatics

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

ความร้แู ละความสาคญั ของวจั นปฏิบตั ศิ าสตร์ โครงสร้างการสนทนา วัจนกรรม การตคี วามหมาย

การศึกษาวจั นกรรมในภาษาไทยปจั จุบนั กรณศี ึกษา

416 414 ภาษากบั การแปล 3 (3-0-6)

Language and Translation

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

ศาสตรก์ ารแปล การแปลประโยคและข้อความภาษาไทยและภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจาวัน

159

หมวดวิชาภาษาส่อื สารมวลชน

416 221 ภาษากับการส่อื สารมวลชน 3 (3-0-6)

Language and Mass Communication

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับสอื่ สารมวลชน วัจนภาษา และอวัจนภาษาในส่ือสารมวลชน

416 222 การรูเ้ ทา่ ทันสือ่ 3 (3-0-6)

Media Literacy

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความหมาย ความสาคัญและประเภทของสี่อ การวิเคราะห์ ตีความ ประเมินค่าและสงั เคราะห์สื่อประเภท

ตา่ ง ๆ

416 223 ความร้เู บอ้ื งตน้ ทางสื่อสารมวลชน 3 (3-0-6)

Fundamental Knowledge of Mass Communication

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความหมาย ประเภท บทบาท หน้าที่ อทิ ธิพลของการสอ่ื สารมวลชนทง้ั ระดับบคุ คลและสงั คม

416 224 การพูดทางวิทยุและโทรทัศน์ 3 (3-0-6)

Speech for Radio and Television

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ประเภทของการพูดทางวิทยุและโทรทัศน์ การอ่านออกเสียง การใช้เสียงในงานวิทยุและโทรทัศน์ประเภท

ตา่ ง ๆ เกณฑ์การประเมนิ และทดสอบผูป้ ระกาศขา่ ว

416 321 การเขยี นบท 3 (3-0-6)

Script Writing

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความรู้ขนั้ พื้นฐานของการเขียนบท องค์ประกอบ รปู แบบและลกั ษณะการเขยี นบทประเภทตา่ ง ๆ

416 322 การสอ่ื สารขา้ มวฒั นธรรม 3 (3-0-6)

Cross-cultural Communication

เง่อื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความรแู้ ละความเขา้ ใจในวฒั นธรรมทแ่ี ตกต่าง ความหมาย ความสาคญั ของการสื่อสารขา้ มวัฒนธรรม

ลกั ษณะและกระบวนการสอื่ สารขา้ มวัฒนธรรม ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อประสทิ ธภิ าพของการสอื่ สารขา้ มวฒั นธรรม

416 323 การสื่อสารกบั การพัฒนา 3 (3-0-6)

Communication and Development

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

หลักการสอ่ื สารเพื่อการพัฒนา การส่อื สารสาหรับผนู้ าในการพฒั นา การพูด การเขยี นและการผลิตส่ือเพื่อ

การพัฒนา

416 324 การสอื่ สารกับสอ่ื ใหม่ 3 (3-0-6)

Communication and New Media

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

กระแสโลกาภิวตั น์ สื่อใหม่ การสื่อสารกับการเปล่ยี นแปลง

160

416 325 การส่ือสารในงานประชาสัมพนั ธ์ 3 (3-0-6)

Communication in Public Relations

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความหมาย ความสาคญั กลยทุ ธแ์ ละการใชภ้ าษาในการประชาสมั พนั ธ์

416 326 การสอ่ื สารในงานโฆษณา 3 (3-0-6)

Communication in Advertisement

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความหมาย ความสาคัญ กลยทุ ธแ์ ละการใช้ภาษาในการโฆษณา

416 327 การสื่อสารในงานหนงั สอื พมิ พ์ 3 (3-0-6)

Communication in Newspapers

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

แหลง่ ข่าว การคัดเลอื ก การเขยี น กระบวนการผลติ งานหนงั สอื พมิ พ์

416 328 กลการประพันธ์บทภาพยนตร์ 3 (3-0-6)

Film Script Composition Devices

เง่ือนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

คุณสมบัติของนักเขียนบทภาพยนตร์ นาฏยกระบวนทัศน์ แบบรูปของบทภาพยนตร์ ศัพท์เฉพาะ กลการ

ประพันธ์ การเล่าเรื่อง ภาษาภาพ การพัฒนาเร่อื งย่อเป็นโครงเรื่อง โครงเรอ่ื งเป็นบทภาพยนตร์ บทภาพยนตร์เปน็

บทถา่ ยทา

หมวดวชิ าวรรณกรรมและคติชนวิทยา

416 131 วรรณกรรมศึกษา 3 (3-0-6)

Literary Studies

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

แนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย วรรณกรรมต่างยุคสมัย รายประเภทรายบุคคล สหบท

วรรณกรรมคดั สรร

416 231 พัฒนาการวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)

Development of Thai Literature

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความรูเ้ ก่ยี วกับวรรณกรรมไทย วรรณกรรมไทยสมยั ตา่ ง ๆ พัฒนาการของวรรณกรรมไทย

416 232 วรรณกรรมสองฝ่ังโขง 3 (3-0-6)

Literary Works in Two Sides of the Mekong

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

สงั คมวัฒนธรรมไทย-ลาว ความสัมพนั ธข์ องสองฝั่งโขง นทิ าน บทกวี เรอ่ื งสั้น นวนยิ าย เพลงและภาพยนตร์

สองฝัง่ โขง

161

416 233 วรรณกรรมของสุนทรภู่ 3 (3-0-6)

Literary Works of Sunthorn Phu

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

สุนทรภู่ในฐานะบคุ คลสาคัญของโลกและพหุวัฒนธรรมในวรรณกรรม กลการประพันธ์วรรณทรรศน์เกี่ยวกับ

สิทธมิ นุษยชนและสิ่งแวดลอ้ ม พลังฝมี อื

416 234 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 9 3 (3-0-6)

Literary Works of King Rama IX

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

พระราชกรณียกจิ ดา้ นวรรณกรรม กลการประพันธ์ วรรณทรรศน์เก่ยี วกบั ชาติ ศาสนา สถาบนั กษัตริย์

วาทวเิ คราะห์และพลังฝีมือ

416 235 วรรณกรรม ของ ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์ ปราโมช 3 (3-0-6)

Literary Works of M.R.Kukrit Pramoj

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ม.ร.ว.คึกฤทธ์ิ ปราโมช ในฐานะบุคคลสาคัญของโลก พหุวัฒนธรรมในวรรณกรรมกลการประพันธ์

วรรณทรรศน์เก่ียวกับการเมือง ศาสนา สถาบันกษัตริย์ ศิลปวัฒนธรรม และสิทธิมนุษยชน วาทวิเคราะห์ พลังฝีมือ

และสหบท

416 236 เร่อื งสนั้ และนวนยิ าย 3 (3-0-6)

Short Stories and Novels

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

พัฒนาการ กลการประพันธ์ ความสัมพนั ธ์กบั สังคม เร่อื งส้ันและนวนยิ ายคดั สรร

416 237 วรรณกรรมสตรี 3 (3-0-6)

Women’s Literature

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความหมายและขอบเขต พฒั นาการ ภาพลักษณ์และประสบการณส์ ตรีในวรรณกรรม บริบททางสังคม

และการเมือง เพศวิถี วรรณกรรมคดั สรร

416 331 การอ่านตัวบทภาษาองั กฤษทางภาษาและวรรณกรรม 3 (3-0-6)

Reading Language and Literary Texts in English

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

การพัฒนาทักษะการอ่านตัวบทภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวกับภาษาและวรรณกรรม ศัพท์เฉพาะทางภาษาและ

วรรณกรรม

416 332 วรรณคดเี อกของไทย 3 (3-0-6)

Thai Literary Masterpieces

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

ลักษณะและความสาคัญของวรรณกรรมเอก แนวทางการศกึ ษาวรรณกรรมเอก คัดสรรตา่ งยุคสมัย ประเภท

และกวี

162

416 333 วรรณกรรมวจิ ารณ์ 3 (3-0-6)

Literary Criticism

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

การวจิ ารณว์ รรณกรรมเบอ้ื งตน้ ทฤษฎีตะวันออกและตะวนั ตกกับวรรณกรรมไทย

416 334 คติชนวทิ ยา 3 (3-0-6)

Folklore

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

ความหมาย ลกั ษณะ ขอบข่ายและประเภทของคตชิ นวิทยา คตชิ นวิทยากบั วัฒนธรรม ทฤษฎี และวธิ ีการ

ศึกษาคตชิ นวทิ ยา การเกบ็ ขอ้ มลู ภาคสนามและการวเิ คราะห์ขอ้ มูล งานวิจยั ทางด้านคตชิ นวทิ ยาคดั สรร

416 335 วรรณกรรมรักรว่ มเพศ 3 (3-0-6)

Homosexual Literature

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความหมายและขอบเขต พฒั นาการ ภาพลกั ษณแ์ ละประสบการณร์ ักรว่ มเพศในวรรณกรรม บริบททางสังคม

และการเมือง เพศวิถแี ละวรรณกรรมคดั สรร

416 336 วรรณกรรมไซเบอรส์ เปซ 3 (3-0-6)

Cyber Space Literature

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความหมายและขอบเขต พัฒนาการของวรรณกรรมไซเบอร์สเปซ ลักษณะเฉพาะ ประเด็นในการศึกษา

วรรณกรรมไซเบอร์สเปซคัดสรร

416 337 วรรณกรรมกับสังคม 3 (3-0-6)

Literature and Society

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งวรรณกรรมกบั สงั คมและอิทธิพลทีม่ ีตอ่ กัน

416 338 วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยยี่ มแห่งอาเซียน 3 (3-0-6)

S.E.A. Write Literature

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความเป็นมา พัฒนาการ วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเชียนคัดสรร ความสัมพันธ์ระหว่าง

วรรณกรรมยอดเยี่ยมแหง่ อาเซียนกับสังคม

416 339 วรรณกรรมไทยหลังสมยั ใหม่ 3 (3-0-6)

Postmodern Literature

เง่อื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

แนวคิด ทฤษฎีหลังสมัยใหม่ ความเปน็ มา พฒั นาการ วรรณกรรมคดั สรร

416 431 วรรณคดเี ปรียบเทียบ 3 (3-0-6)

Comparative Literature

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความรู้เก่ียวกับวรรณคดีเปรียบเทียบ กระบวนทัศน์สหชาติ สหศาสตร์ สหศิลป์และสหบท วรรณกรรม

คัดสรร

163

416 432 การแปรรปู วรรณกรรม 3 (3-0-6)

Literature Transmutation

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

คุณสมบัติของนักแปรรูปวรรณกรรม นาฏยกระบวนทัศน์ แบบรูปของบทละคร วัจนลีลาของบทสนทนา

การปะติดความ การหยิบยืม การดัดแปลง การแปรรูปวรรณกรรมเพื่อการอ่านเป็นวรรณกรรมเพื่อการแสดง

วรรณกรรมเพ่อื การแสดงเปน็ วรรณกรรมเพ่ือการอ่าน

416 433 วรรณกรรมพทุ ธศาสนา 3 (3-0-6)

Buddhist Literature

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมพุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรม ลักษณะเด่นด้านรูปแบบ เนื้อหา

แนวคิด และวรรณศิลป์

416 434 วรรณกรรมอสี าน 3 (3-0-6)

Isan Literature

เง่อื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ความหมาย ลกั ษณะ อัตลกั ษณ์และคุณคา่ ในดา้ นต่าง ๆ ความสัมพันธร์ ะหว่างตัวบทกับสังคมอสี าน การ

สืบสานและการนาคุณค่าไปประยุกต์ใชใ้ ห้สมสมัย

หมวดวชิ าสมั มนา โครงงานพเิ ศษ และสหกจิ ศกึ ษา

416 491 สมั มนาทางภาษาและวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)

Seminar in Thai Language and Literature

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความหมายของการสัมมนา การกาหนดประเด็น การสืบค้นและการนาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาด้าน

ภาษาและวรรณกรรมไทย

416 492 โครงงานพิเศษทางภาษาและวรรณกรรมไทย 3 (0-12-6)

Special Project in Thai Language and Literature

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ลักษณะด้านวิชาชีพท่ีเก่ียวกับภาษาและวรรณกรรมในองค์กรต่าง ๆ การเตรียมการฝึกปฏิบัติงาน การฝึก

ปฏิบัติงานเพ่ืออาชีพที่เกี่ยวกับภาษาและวรรณกรรมไทย การรายงานผลและการนาเสนอผลการฝึกปฏิบัติงานใน

รูปแบบโครงงานพิเศษทางภาษาและวรรณกรรมไทย

416 495 สหกิจศึกษาทางภาษาและวรรณกรรมไทย 6 หน่วยกติ

Cooperative Education in Thai Language and Literature

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การฝึกปฏิบัติงานเสมือนเป็นพนักงานเต็มเวลา ในหน่วยงานภาครัฐ หรือสถานประกอบการเอกชนทาง

ด้านภาษาไทย หรือในสาขาวิชาที่เก่ียวข้อง จัดทารายงานให้สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน นาเสนอผล

การปฏิบตั งิ าน

164

สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์

หมวดวชิ าพื้นฐาน

HS 411 101 รัฐประศาสนศาสตรข์ นั้ แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Public Administration

เง่อื นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความหมาย พัฒนาการของความรู้ แนวคิด ส่ิงแวดล้อมของการบรหิ ารงานสาธารณะ ความรู้

เบอื้ งต้นทางนโยบายสาธารณะ การจดั การและการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ การคลงั สาธารณะ การพัฒนา

องคก์ าร รัฐประศาสนศาสตรก์ บั ความเป็นสหวิทยาการ กรณศี ึกษา

HS 411 102 ทฤษฎีองค์การและการจดั การ 3 (3-0-6)

Organization Theories and Management

เงือ่ นไขของรายวิชา :ไมม่ ี

ความหมาย แนวคิด ววิ ฒั นาการและการเปลี่ยนแปลงของทฤษฎอี งค์การ แนวคดิ ทฤษฎอี งคก์ าร

หลกั การพ้นื ฐานการจดั การองคก์ ารภาครฐั เอกชน และองค์กรที่ไมแ่ สวงผลกาไร การประยกุ ตใ์ ช้แนวคดิ

ทฤษฎีองคก์ ารกบั การแกป้ ญั หาการจดั การในโลกสมัยใหม่ กรณีศึกษา

HS 412 103 นโยบายสาธารณะ 3 (3-0-6)

Public Policy

เงือ่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคิดพ้นื ฐานในการศึกษาและวิเคราะหน์ โยบายสาธารณะระดบั ต่างๆ ตัวแบบในการวเิ คราะห์

นโยบาย ผลกระทบของนโยบายสาธารณะ การเปลีย่ นแปลงนโยบายในช่วงเวลาตา่ งๆ กรณศี ึกษา

HS 412 104 หลักและเทคนคิ การวางแผน 3 (3-0-6)

Principles and Techniques of Planning

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

นยิ าม ความหมาย ปรัชญา และแนวคิดเกี่ยวกับการวางแผน ความสาคญั ของการวางแผน

องคป์ ระกอบและประเภทของการวางแผน กระบวนทศั น์ใหมใ่ นการวางแผน กระบวนการและขั้นตอนของ

การวางแผน เทคนคิ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์สถานการณ์ เทคนคิ การวางแผนเชิงกลยทุ ธ์ กลวธิ ี

การสร้างประสทิ ธภิ าพของการวางแผน การนาแผนไปสู่การปฏบิ ัติ และการตดิ ตามประเมินผลเพื่อทบทวน

แผน

HS 413 105 การบริหารทรัพยากรมนษุ ย์เชงิ กลยทุ ธ์ 3 (3-0-6)

Strategies for Human Resource Management

เงอ่ื นไขของรายวิชา :ไม่มี

แนวคิดการบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ ความท้าทายในการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ กระบวนการการ

บริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ เทคโนโลยีสารสนเทศท่ใี ชใ้ นการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ยแ์ ละการบริหารทรพั ยากร

มนุษย์เชงิ กลยทุ ธ์

165

HS 413 106 การจัดการการเงินและการคลงั ภาครฐั 3 (3-0-6)

Public Finance Management

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ความหมาย การเงนิ ภาครัฐและการคลังภาครฐั กบั การพฒั นาประเทศ การบรหิ ารอัตรา

แลกเปลี่ยนเงินตรา การบริหารอัตราดอกเบย้ี การจดั เก็บรายได้ของรฐั การจัดทางบประมาณ การใชจ้ ่าย

งบประมาณ การรักษาเสถยี รภาพทางการเงนิ และการคลงั ของรฐั

หมวดวิชารัฐศาสตร์

HS 411 301 รฐั ศาสตร์ขั้นแนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Political Sciences

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไม่มี

บทนยิ าม พฒั นาการ และขอบขา่ ยของการศกึ ษาวชิ ารัฐศาสตร์ ความสมั พันธ์ของรฐั ศาสตร์กับ
ศาสตรท์ างสังคมอน่ื ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคดิ รฐั และอานาจอธปิ ไตย อานาจทางการเมอื ง
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรัฐและบุคคล อดุ มการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง
พฤตกิ รรมและวฒั นธรรมทางการเมือง

HS 411 302 การเมืองและการบรหิ ารราชการไทย 3 (3-0-6)

Thai Politics and Goverment Administration

เง่ือนไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคดิ เกย่ี วกับการเมืองและการบริหารราชการในระบอบประชาธิปไตย ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง

การเมืองและการบรหิ าร สถาบันและกระบวนการทางการเมอื งของไทย ระบบการบริหารจัดการและ

ระบบราชการของไทย

HS 412 303 ระบบเศรษฐกจิ และการเมือง 3 (3-0-6)

Political and Economy Systems

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

ความหมาย ความสัมพันธ์ระหวา่ งเศรษฐกิจและการเมอื ง เศรษฐกิจและการเมอื งในยคุ บรรพกาล

เศรษฐกิจและการเมอื งแบบทนุ นิยม เศรษฐกิจและการเมืองแบบสงั คมนิยม เศรษฐกจิ และการเมอื งแบบผสม

เศรษฐกจิ และการเมืองแบบอนรุ ักษ์นิยมใหม่ และเสรีนยิ มใหม่ เศรษฐกจิ และการเมอื งแนววิพากษ์ ระบบ

เศรษฐกจิ และการเมืองแบบหลังทุนนิยม

HS 412 304 ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ 3 (3-0-6)

International Relations

เงือ่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี

พื้นฐานการเมืองระหว่างประเทศ ธรรมชาติและโครงสรา้ งระบบการเมืองระหว่างประเทศ ในปจั จบุ ัน

ทางด้านการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนอุดมการณ์ท่ีมีผลต่อพฤตกิ รรมของรัฐ

เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการดาเนนิ การดา้ นความสมั พันธ์ทางรฐั ความร่วมมือระหวา่ งประเทศในรปู แบบตา่ ง ๆ

ระเบียบปฏบิ ัติ กฎหมายและสถาบันระหวา่ งประเทศ

166

HS 413 305 การพัฒนาทางการเมอื งไทย 3 (3-0-6)

Thai Political Development

เง่ือนไขของรายวิชา : ไมม่ ี

แนวคดิ เกย่ี วกบั การพัฒนาทางการเมือง ปจั จยั ของการพฒั นาทางการเมือง ววิ ัฒนาการทาง

ประวัตศิ าสตร์กบั การพฒั นาทางการเมอื งไทย วฒั นธรรมทางการเมืองไทย รัฐธรรมนญู กบั ชีวติ ทางการ

เมืองไทย การเลือกตง้ั กบั การพัฒนาทางการเมืองไทย รัฐสภากบั การพฒั นาทางการเมอื งไทย พรรค

การเมืองกบั การพัฒนาทางการเมืองไทย ระบบราชการกบั การพัฒนาทางการเมืองไทย ความรนุ แรง

ทางการเมอื งกับการพัฒนาทางการเมืองไทย แนวโนม้ ในอนาคตของภูมทิ ศั น์การเมืองไทย

หมวดวิชารัฐประศาสนศาสตร์

HS 411 401 การอ่านและการเขยี นเชงิ วชิ าการทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3 (3-0-6)

Academic Reading and Writing in Public Administration

เง่ือนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ลกั ษณะงานวชิ าการ หลกั การ วิธอี ่าน และเขยี นงานวชิ าการ และรูปแบบของงานวชิ าการทาง

รฐั ประศาสนศาสตร์ หลกั การและเทคนิคการนาเสนองานวิชาการ

HS 412 402 การคดิ วิเคราะหเ์ ชิงบรู ณาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3 (3-0-6)

Integrated Analytical Thinking in Public Administration

เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ระบบ หลักการ วิธกี าร และกระบวนการคิดวิเคราะหเ์ ชิงบรู ณาการทางรฐั ประศาสนศาสตร์ แนว

ทฤษฎวี พิ ากษ์ และแนวหลงั สมยั ใหม่ วพิ ากษก์ ารจัดการสาธารณะของไทย

HS 413 403 ระเบียบวิธวี ิจยั ทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 3 (3-0-6)

Research Methodology in Public Administration

เงอ่ื นไขของรายวชิ า :ไม่มี

ความสมั พันธ์ระหว่างการวจิ ยั ทางสงั คมศาสตรก์ ับรฐั ประศาสนศาสตร์ หลกั และประเภทของการวิจยั

ทางการบรหิ าร การกาหนดหัวข้อ คาถามวจิ ยั และการออกแบบการวิจัย การสุ่มตัวอยา่ ง การสร้าง

เครอื่ งมือวจิ ัย การเกบ็ และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การเขยี นรายงาน การเขียนและการประเมนิ ผลการวจิ ยั

HS 413 404 การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์เชงิ กลยทุ ธ์ 3 (3-0-6)

Strategies for Human Resource Development

เง่ือนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

การเรียนรขู้ องบุคคลและกลุม่ ปฏสิ มั พนั ธภ์ ายในองคก์ ร การวิเคราะหอ์ งคก์ รสาหรบั การพัฒนา

ทรัพยากรมนษุ ย์ การสร้างแรงจูงใจพลวัตกลุ่ม เทคนิคการฝกึ อบรมและการสรา้ งขีดความสามารถของ

ทรพั ยากรมนุษย์ในองคก์ ร

HS 413 405 ระเบียบวิธีปฏบิ ตั ริ าชการและการบริหารการบรกิ ารสาธารณะ 3 (3-0-6)

Public Administrative Procedures and Service

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไม่มี

หลักการปฏบิ ตั ริ าชการ กฎหมายและระเบียบทเ่ี กี่ยวกบั การบรหิ ารราชการของไทย เช่นพระราช

บญั ญตั ขิ ้อมลู ข่าวสารของราชการ ระเบยี บสารบรรณ ระเบยี บพสั ดุ กรณีศึกษาของการจดั บริการสาธารณะ

167

HS 413 406 การบริหารโครงการเชงิ กลยุทธ์ 3 (3-0-6)

Strategic Project Management

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ความสมั พันธเ์ ชิงระบบของโครงการ ประเภทของโครงการเทคนิคการวางแผนและการเขียน

โครงการวิธีการตา่ ง ๆ การวิเคราะห์โครงการ การนาโครงการไปปฏบิ ตั ิ การประเมนิ โครงการ การ

ประยกุ ต์เทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ นการบริหารโครงการ อภิปรายปัญหาและแนวทางการแก้ไขในการบริหาร

โครงการ

HS 414 407 จิตวิทยาในการบริหาร 3 (3-0-6)

Psychology in Administration

เง่ือนไขของรายวิชา : ไมม่ ี

การนาจิตวทิ ยามาประยกุ ตใ์ ช้ในการบริหารสาธารณะ พฤตกิ รรมสมั พันธภาพระหวา่ งบุคคล

ทัศนคติ ความตอ้ งการ การสรา้ งแรงจูงใจ การพัฒนาบคุ ลิกภาพของบุคคลในองค์การภาครัฐ

HS 414 408 จรยิ ธรรมทางการบรหิ าร 3 (3-0-6)

Administrative Ethics

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความรทู้ ว่ั ไปเกยี่ วกบั จรยิ ธรรม แนวคิดและทฤษฎีทางจรยิ ธรรม การบริหารจดั การทดี่ ี จรยิ ธรรม

สาหรับผบู้ ริหาร จรยิ ธรรมในกระบวนการบริหาร การประยุกตใ์ ชห้ ลกั การทางศาสนาในการบรหิ าร กรณีศกึ ษา

HS 414 409 การบรหิ ารคณุ ภาพและนวัตกรรมการจัดการภาครฐั 3 (3-0-6)

Quality Management and Innovation in Public Sector

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ปรัชญา ยทุ ธศาสตร์การจดั การภาครัฐ ความหมายและความสาคัญของการบรหิ ารคณุ ภาพและ

การเพ่ิมผลผลติ แนวคดิ และทฤษฎเี กยี่ วกบั การบริหารคณุ ภาพและการเพ่ิมผลผลติ ระบบการบรหิ าร

คุณภาพและการเพมิ่ ผลผลิต ดาเนินการบรหิ ารคณุ ภาพและการเพ่ิมผลผลิตในงานภาครฐั และความหมาย

ความสาคญั และสาระสาคัญของนวัตกรรมการจดั การภาครฐั นวัตกรรมในการจัดการภาครฐั ท่สี าคญั

การศึกษาการบริหารคณุ ภาพและการเพิ่มผลผลิต และการใช้นวัตกรรมในหน่วยงานภาครัฐ และการ

อภิปรายผล

HS 414 410 ภาวะผูน้ า 3 (3-0-6)

Leadership

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคดิ และทฤษฏีของภาวะผนู้ า คณุ สมบตั ิและคณุ ลกั ษณะ บทบาทหนา้ ทแ่ี ละความสามารถของ

ผู้นา ประเภทและที่มาของผู้นา แรงผลกั ดนั ทที่ าให้เกดิ ภาวะผู้นา การพฒั นาความเปน็ ผนู้ าและการ

ประเมินผ้นู า

HS 413 411 การจดั การภาครัฐและเอกชน 3 (3-0-6)

Public and Private Management

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

แนวคิดการจดั การภาครฐั และเอกชน ความสมั พนั ธ์ระหว่างองค์กรภาครัฐและเอกชน บทบาท

ขององคก์ รภาครฐั และเอกชนในการพัฒนา การบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ขององค์กรภาครฐั และเอกชน กรณีศึกษา

168

HS 413 412 พฤติกรรมและการพัฒนาองคก์ าร 3 (3-0-6)

Organization Behavior and Development

เง่อื นไขของรายวิชา :ไม่มี

หลักการ แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกับพฤติกรรมองค์การและการพฒั นาองค์การ แนวความคิดเชิง

ระบบทีเ่ กีย่ วข้อง วธิ ีออกแบบและจดั หนว่ ยงาน การปฏบิ ัติการพัฒนาองคก์ าร การปฏิรปู ระบบบรหิ าร

สานกั งานการวิจัย ด้านการจดั การและการพัฒนาองคก์ าร

HS 413 413 เศรษฐกจิ การเมอื งทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 3 (3-0-6)

Political Economy in Public Administration

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการเมอื ง เศรษฐกิจ และรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคดิ และววิ ฒั นาการของ

เศรษฐกจิ การเมืองแนวเสรนี ยิ มและมาร์กซสิ ต์ เศรษฐกิจการเมอื งเสรีนิยมใหม่กบั ยุทธศาสตร์การจดั การ

ภาครฐั ความสาเรจ็ และความลม้ เหลวของการจดั การสาธารณะภายใตห้ ลักการเศรษฐกจิ การเมอื งเสรี

นยิ มใหม่

HS 414 414 การจดั การองค์กรไม่แสวงกาไร 3 (3-0-6)

Nonprofit Organizations Management

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความหมาย ความสาคัญ พฒั นาการ หลักการจัดการการจดั ทาแผน การบรหิ ารโครงการ การ

บญั ชีเพือ่ การบริหาร การบริหารและพัฒนาบคุ คล กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศขององคก์ ร

เพ่ือสาธารณะประโยชน์

HS 413 415 การบริหารความม่นั คงมนุษย์ 3 (3-0-6)

Human Security Administration

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคิดการบรหิ ารความมั่นคงมนุษย์ คุณภาพชวี ิต ความเสมอภาค ความยากจน ความกินดีอยู่

ดี สันติศึกษาและการพัฒนา สิทธิมนษุ ยชน กฎหมายกบั การพัฒนา กรณศี กึ ษา

HS 414 416 เศรษฐกจิ การเมอื งว่าดว้ ยการบรหิ ารการพัฒนา 3 (3-0-6)

Political Economy of Development Administration

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคิดทั่วไปเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ การเมอื ง แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกบั เศรษฐกจิ การเมือง แนวคิด

เศรษฐกิจการเมืองกับขอบเขตการบริหารงานสาธารณะของรัฐและกลยุทธใ์ นการพฒั นาประเทศ อิทธพิ ลของ

เศรษฐกจิ การเมอื งสานกั เสรนี ิยมใหม่ เศรษฐกิจการเมอื งวา่ ด้วยการบรหิ ารการปกครองทเี่ อ้ือตอ่ พฒั นาการ

ทางเศรษฐกิจสังคมของประเทศ มาร์กซิสตแ์ นวใหมก่ ับการแปรรปู วสิ าหกจิ ของรัฐ แนวทางทเ่ี หมาะสมของ

การบริหารการพัฒนาในกระแสเศรษฐกจิ การเมืองโลก

HS 413 417 นโยบายสาธารณะในบริบทโลก 3 (3-0-6)

Public Policy in Global Context

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคิดนโยบายสาธารณะเปรียบเทียบ นโยบายสาธารณะแบบเสรีนยิ ม นโยบายสาธารณะแบบสงั คม

นิยม นโยบายสาธารณะแบบผสม กรณศี กึ ษา

169

HS 414 418 การจดั การภาครัฐเชิงเปรียบเทียบในอาเซียน 3 (3-0-6)

Comparative Public Management in ASEAN

เง่ือนไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคิด ทฤษฎกี ารจดั การภาครัฐเชงิ เปรียบเทยี บ พลวตั ร ความรว่ มมอื ความทา้ ทายในการบรหิ าร

จัดการภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในประชาคมอาเซยี น กรณีศึกษา

HS 414 419 หลักและเทคนคิ การประเมินการบริการงานสาธารณะ 3 (3-0-6)

Principle and Techniques of Public Services Assessment

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

แนวคิดและทฤษฎกี ารประเมนิ การประเมินในระบบบริหารงานสาธารณะ หลักและวธิ ีการ

ประเมนิ การประเมนิ นโยบาย แผนโครงการและการประเมนิ การประเมินภาคปฏิบัติ การอภิปรายและ

สรปุ ความรแู้ ละประสบการณ์ทางการประเมนิ

หมวดวชิ านติ ศิ าสตร์

HS 412 501 หลกั กฎหมายมหาชน 3 (3-0-6)

Principles of Public Law

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ความหมายและพฒั นาการของกฎหมายมหาชน หลักการของกฎหมายมหาชน การแบง่ ประเภท

ของกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน การบรกิ ารสาธารณะ คาส่งั และสัญญาทางปกครอง นติ วิ ธิ ี

ในการควบคุมอานาจรัฐและเจา้ หน้าท่ขี องรัฐ

HS 413 502 กฎหมายปกครอง 3 (3-0-6)

Administrative Law

เง่ือนไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ทฤษฎีและแนวคิดทางปกครอง หลกั ปกครองของรฐั และเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั สทิ ธิและหน้าท่ีระหว่าง

รัฐกบั เอกชน และเอกชนกับรัฐ การบรกิ ารสาธารณะ คาส่ังทางปกครอง นิตกิ รรมและสญั ญาทางปกครอง

การควบคมุ อานาจรัฐและเจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐ นิติวธิ ีทางปกครอง

HS 414 503 กฎหมายสาหรับการบริหารงานบคุ คล 3 (3-0-6)

Law for Human Resource Management

เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี

หลกั กฎหมายแรงงาน ประวตั ิความเป็นมาของกฎหมายแรงงานในประเทศไทย หลกั กฎหมาย

แรงงาน การคุม้ ครองแรงงาน แรงงานสมั พันธ์ การจดั หางาน การประกอบอาชีพของแรงงานตา่ งดา้ ว

แนวทางในการพจิ ารณาและตีความปญั หาต่างๆ ที่เกยี่ วขอ้ งกบั แรงงานและกฎหมายประกันสงั คม

หมวดวชิ าบรหิ ารเชิงบูรณาการ

HS 412 601 การจัดการการพฒั นา 3 (3-0-6)

Development Management

เง่อื นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรัฐประศาสนศาสตร์กับการจัดการการพฒั นา ววิ ฒั นาการของการจดั การ

การพัฒนา สานกั คดิ ทางการจดั การการพฒั นา กระบวนการบรหิ ารองคก์ ารเพื่อการพฒั นา กลยทุ ธก์ าร

บรหิ ารนโยบายที่เนน้ โครงการพัฒนาตามภาคส่วน ประเด็นปญั หารว่ มสมยั ทางการจดั การการพัฒนา

170

HS 413 602 การบรหิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 3 (3-0-6)

Natural Resource and Environment Management

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

สถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติ วิกฤตสิ่งแวดลอ้ ม การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ

และสงิ่ แวดลอ้ ม เทคนคิ การวเิ คราะห์ความเส่ยี งและการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม

HS 413 603 การวางแผนพ้ืนทแ่ี ละภมู ิภาค 3 (3-0-6)

Spatial and Regional Planning

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคดิ หลัก ทฤษฎี และหลกั การทางพ้ืนทแี่ ละภมู ิภาค ทฤษฎีทาเลทต่ี ัง้ ทฤษฎเี มอื ง-ชนบท

ภูมนิ ิเวศวิทยา การวิเคราะหส์ ัจจะเชงิ พนื้ ท่แี ละภมู ภิ าคเพอื่ นการพัฒนาด้านต่างๆ วิธวี ิทยา ทกั ษะพ้นื ฐาน

กระบวนการ วธิ ีการ กรณีศึกษา และปฏบิ ตั กิ ารวางแผนพัฒนาพน้ื ที่และภมู ภิ าค

หมวดวิชาสมั มนา โครงงานพิเศษ และสหกิจศึกษา

HS 412 785 เตรียมสหกิจศึกษาทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 1 1 (1-1-2)

Preparation for Cooperative Education in Public Administration I ไม่นับหนว่ ยกติ

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

เตรยี มความพรอ้ มดา้ นสหกิจศกึ ษา เรยี นรู้ลกั ษณะตาแหนง่ และบทบาทหน้าทขี่ ององค์การ เพือ่ ให้

นักศึกษาสาขารัฐประศาสนศาสตรเ์ ข้าไปปฏบิ ตั ฝิ กึ วิชาชีพในหลักสตู รได้ โดยใหเ้ ลือกลงปฏิบตั ิในองค์กร

ภาครฐั หรอื เอกชน

HS 413 785 เตรียมสหกจิ ศกึ ษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ 2 1 (1-1-2)

Preparation for Cooperative Education in Public Administration II ไม่นับหน่วยกิต

เงื่อนไขของรายวชิ า : HS412785

เรียนรู้ลักษณะตาแหน่งและบทบาทหนา้ ท่ีขององคก์ าร เพือ่ ใหน้ กั ศึกษาสาขารัฐประศาสนศาสตร์

เขา้ ไปปฏบิ ตั ิ ฝกึ วชิ าชพี ในหลกั สูตรได้ โดยให้เลือกลงปฏบิ ัติในองค์กรภาครฐั หรือเอกชน

HS 414 761 สมั มนาทางรฐั ประศาสนศาสตร์ 1 (1-1-2)

Seminar in Public Administration

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

สมั มนาประเด็นทางรัฐประศาสนศาตร์ เช่น การบริหารทอ้ งถน่ิ การบริหาร ทรพั ยากรธรรมชาติ

และสิง่ แวดล้อม การบรหิ ารองคก์ ารและทรัพยากรมนษุ ย์ การบริหารความขัดแยง้ การบรหิ ารการพัฒนา

สรุประบบคดิ ทางรัฐประศาสนศาสตร์

HS 414 785 สหกจิ ศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ 9 หน่วยกติ

Cooperative Education in Public Administration

เง่ือนไขของรายวิชา : HS 412 785 และ HS 413 785

การปฏิบัตงิ านในหนว่ ยงานภาครฐั หรือเอกชน การสัมมนาประสบการณ์การบรหิ ารงาน การนาเสนอ

แนวคดิ และกลยุทธก์ ารบรหิ ารงาน

171

หมวดวิชาการบริหารทอ้ งถน่ิ

HS 414 801 การบรหิ ารทอ้ งถ่ิน 3 (3-0-6)

Local Administration

เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคดิ ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในระดับท้องถ่ิน ความสัมพันธโ์ ครงสร้างอานาจระหวา่ งการเมือง

และการบริหารในระดบั รัฐและระดบั ทอ้ งถ่ิน กระบวนทัศนใ์ หม่และยทุ ธศาสตร์ของการบริหารปกครอง

ท้องถ่นิ กระบวนการบริหารปกครองทอ้ งถน่ิ ทีเ่ นน้ ผลงาน คุณภาพการบรกิ ารสาธารณะขององค์กร-

ปกครองทอ้ งถ่นิ บทบาทของภาคพลเมอื งในการบริหารปกครองทอ้ งถ่ิน

หมวดวชิ าภูมิศาสตร์และการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ

HS 412 901 ภมู ิรฐั ศาสตร์ 3 (3-0-6)

Political Geography

เงอื่ นไขของรายวิชา :ไม่มี

ความหมาย องค์ประกอบ ขอบข่าย พัฒนาการของแนวคดิ และทฤษฎที างภมู ิรฐั ศาสตร์ การ

วิเคราะหภ์ มู ิรัฐศาสตรท์ ้ังกายภาพและวัฒนธรรมในการกาหนดทิศทางรัฐภายใต้บริบทโลกาภิวตั น์ การ

รวมกลุ่มเครอื ขา่ ยพันธมติ รของรัฐ การประยุกต์ใช้กับการบรหิ ารจดั การภาครัฐ โดยใชก้ รณศี ึกษาทั้งไทย

และตา่ งประเทศ

วิชาพน้ื ฐานภาษาตะวันออก-วิชาเอกภาษาจนี และวชิ าเอกภาษาญ่ีปุ่น 3 (3-0-6)

HS 301 801 วัฒนธรรมเอเชยี ตะวันออก
East Asia Culture
เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ประเพณสี าคญั ปรัชญา ศลิ ปะ วถิ ชี วี ติ ความเชอื่ ธรรมเนียมปฏบิ ตั ิของเอเชีย

HS 301 802 ตะวนั ออก 3 (3-0-6)

ประวัตศิ าสตร์เอเชียตะวันออก
East Asia History
เง่ือนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

การพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

HS 301 803 รวมทั้งเหตุการณท์ ีน่ า่ สนใจในประวัตศิ าสตร์เอเชยี ตะวนั ออก 3 (3-0-6)
ภาษาศาสตรข์ ั้นแนะนา
Introduction to linguistics

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไม่มี

ขอบเขตและทฤษฎีภาษาศาสตร์พื้นฐาน เกี่ยวกับสัทวิทยา ระบบหน่วยคา

วากยสมั พันธ์ และอรรถศาสตร์

172

HS 301 804 วิเคราะหว์ รรณกรรมเอเชียตะวันออก 3 (3-0-6)
HS 303 805 East Asia Literature Analysis
HS 303 806
เงื่อนไขของรายวชิ า : ไม่มี
HS 304 807
HS 304 808 การวิเคราะหแ์ นวคิด ข้อคิด และสญั ลักษณ์วรรณกรรมที่แปลเป็นภาษาไทยในด้านการ

นาเสนอแนวคิด ข้อคดิ สญั ลักษณ์ท่ปี รากฏในวรรณกรรม

สมั มนาทางภาษาตะวันออก 3 (3-0-6)
Seminar in East Asia Languages

เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี

การค้นคว้า การวิเคราะห์ การอภิปราย และการเขียนในหัวข้อที่เก่ียวข้องกับภาษา

สงั คม และวฒั นธรรม

ระเบยี บวิธีวิจยั ทางภาษาตะวันออก 3 (3-0-6)

Research Methodology in East Asia Languages

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับการวิจัยการเขียนเค้าโครงงานวิจัย การทบทวนวรรณกรรมท่ี

เก่ียวข้อง การออกแบบงานวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บและ การวิเคราะห์ข้อมูล

และการเขยี นรายงานการวิจัย

วัฒนธรรมทางธุรกจิ ในเอเชยี ตะวนั ออก 3 (3-0-6)
Business Culture in East Asia
เงื่อนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

คุณลักษณะเฉพาะของชาวเอเชียตะวันออก การสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจ การ

สรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คล การส่ือสารขา้ มวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออก

ประเด็นปัจจบุ ันในเอเชียตะวันออก 3 (3-0-6)
Current Issue in East Asia

เงอื่ นไขของรายวิชา : ไม่มี

ประเด็นปัจจุบันด้านการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ การศึกษาวิทยาศาสตร์

และความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีของประเทศตา่ งๆ ในเอเชยี ตะวันออก

หมวดวิชาพืน้ ฐานของวชิ าเอกภาษาจีน 3 (3-0-6)

HS 311 001 ภาษาจีน 1
Chinese I
เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

สัทอักษรพินอิน การเขียนอักษรจีน คาศัพท์ ไวยากรณ์และโครงสร้างประโยคใน

ระดบั พืน้ ฐาน การสนทนาในชีวติ ประจาวนั และเนอ้ื หาเกย่ี วกบั วฒั นธรรมและความเป็นอยู่

HS 311 002 ของชาวจีน 3 (3-0-6)

ภาษาจนี 2
Chinese II
เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 311 001#

การใช้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน อักษรจีน คาศัพท์ ไวยากรณ์และ

สานวนภาษาจนี ในระดับตน้ วฒั นธรรมและความเป็นอยู่ของชาวจีน

173

หมวดวชิ าทักษะทางภาษาของวชิ าเอกภาษาจนี

HS 311 101 ภาษาจีนขน้ั ต้น 1 3 (3-0-6)

Elementary Chinese I

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ภาษาจีนในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน สานวนภาษา และหลักไวยากรณ์

จีนเรียนรอู้ กั ษรจนี 500 ตวั อักษร

HS 311 102 ภาษาจีนข้ันตน้ 2 3 (3-0-6)

Elementary Chinese II

เงือ่ นไขของรายวชิ า : HS 311 101#

ภาษาจีนในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน สานวนภาษา และหลักไวยากรณ์

จีน เรียนรู้อักษรจีนเพิ่มจากรายวิชา HS 311 101 อกี 500 ตัวอกั ษร

HS 311 201 การฟังและพดู ภาษาจีนในชีวิตประจาวนั 3 (2-2-5)
HS 311 202
HS 312 103 Chinese Listening and Speaking in Everyday Life
HS 312 104
HS 312 203 เงื่อนไขของรายวชิ า : ไม่มี

ทักษะการฟังและการพูดในการทักทาย การแนะนาตนเองและผู้อ่ืน การกล่าวลา

การถามและบอกทิศทาง การเชื้อเชิญ การกล่าวขอโทษ การนัดหมาย การออกเสียงใน

ระดับหน่วยเสยี ง

การฟังและการพดู ภาษาจีนเพ่ือการส่อื สาร 3 (2-2-5)

Communication Chinese Listening and Speaking

เงอื่ นไขของรายวิชา : HS 311 201#

การสรุปใจความสาคญั จากเรอื่ งที่ฟงั การวเิ คราะหข์ ้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรื่อง

ที่ฟัง การพดู แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เรอ่ื งท่ีฟัง

ภาษาจนี ขัน้ กลาง 1 3 (3-0-6)

Intermediate Chinese I

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : HS 311 002# หรือ HS 311 102#

ภาษาจีนที่มีเน้ือหาและสานวนที่ซับซ้อน สานวนภาษาและหลักไวยากรณ์จีน เรียนรู้

อักษรจีนเพ่ิมจากรายวิชา HS311002 หรือ HS311102 อกี 500 ตวั อกั ษร

ภาษาจีนขน้ั กลาง 2 3 (3-0-6)

Intermediate Chinese II

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 312 103#

ภาษาจีนที่มีเน้ือหาและสานวนที่ซับซ้อนขึ้น สานวนภาษาและหลักไวยากรณ์จีน

เรียนรอู้ ักษรจนี เพม่ิ จากรายวชิ า HS 312 103 อกี 500 ตัวอกั ษร

การสนทนาและการอภปิ รายภาษาจนี 3 (2-2-5)

Chinese for Conversation and Discussion

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 311 002# หรอื HS 311 102#

การอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั สงั คม การเมือง และการบนั เทงิ

174

HS 312 204 การฟังและการพูดภาษาจีนทางวชิ าการ 3 (2-2-5)
HS 312 205
HS 312 206 Academic Chinese Listening and Speaking
HS 312 207
HS 313 105 เงื่อนไขของรายวิชา : HS 312 203#
HS 313 106
HS 313 208 เทคนคิ การอภิปราย การนาเสนอ การประชุม การรายงาน และการอธบิ าย

การอ่านภาษาจีนเพื่อความเขา้ ใจ 3 (3-0-6)

Chinese Comprehensive Reading

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 311 002# หรือ HS 311 102#

ทกั ษะพน้ื ฐานในการอา่ น กลวธิ กี ารอ่าน การหาความหมายของคาศัพท์ และการจบั

ประเดน็ สาคญั ของงานเขยี น

การอ่านภาษาจีนเชงิ วเิ คราะห์ 3 (3-0-6)

Chinese Critical Reading

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 312 205#

การอ่านและจบั ประเดน็ สาคัญทางความคดิ จากเอกสารคัดสรรในหัวขอ้ ต่าง ๆ
การวเิ คราะหค์ าศัพท์ การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งประโยคซบั ซอ้ นการจบั ประเด็นและใจความ
สาคญั การสรุปความ

การเขียนภาษาจนี 3 (3-0-6)

Chinese Writing

เงอื่ นไขของรายวชิ า : HS 311 102#

หลกั การเขยี น โครงสร้างของเรียงความ การเขยี นเชิงบรรยาย พรรณนา

ภาษาจีนขน้ั สงู 1 3 (3-0-6)

Advanced Chinese I

เง่ือนไขของรายวิชา : HS 312 104#

ภาษาจีนที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เพ่ือศึกษาคาศัพท์ โครงสร้างรูปประโยค สานวน

ภาษาและไวยากรณ์ เรยี นรอู้ ักษรจนี เพม่ิ จากรายวชิ า HS 312 104 อีก 500 ตวั อกั ษร

ภาษาจนี ข้ันสงู 2 3 (3-0-6)

Advanced Chinese II

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 313 105#

ภาษาจีนที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเพื่อศึกษาคาศัพท์ โครงสร้างรูปประโยค สานวน

ภาษาและไวยากรณ์ เรยี นรอู้ กั ษรจนี เพิม่ จากรายวิชา HS 312 105 อีก 500 ตวั อกั ษร

การอา่ นขา่ วภาษาจีน 3 (3-0-6)

Chinese News Reading

เงอื่ นไขของรายวชิ า : HS 312 206#

หลักการอ่าน โครงสรา้ งประโยคขา่ ว สานวนภาษา และความหมายของคาศัพท์ในข่าว

ภาษาจีน

175

HS 314 209 การแปลภาษาไทยเป็นภาษาจนี 3 (3-0-6)
HS 314 210
Thai to Chinese Translation

เง่อื นไขของรายวชิ า : HS 313 106#

หลักการแปลภาษาจีน ทฤษฎีการแปล ชนิดของการแปล การแปลระดับประโยค

และย่อหน้าจากภาษาไทยเป็นภาษาจีน

การแปลภาษาจีนเปน็ ภาษาไทย 3 (3-0-6)

Chinese to Thai Translation

เงื่อนไขของรายวชิ า : HS 313 106#

ทฤษฎีการแปล ลักษณะและปัญหาของการแปล ความหมายของคา และ

โครงสร้างทางภาษา การแปล ข่าว สารคดี เอกสารทางธุรกิจ จดหมาย วรรณกรรมจีนโดย

เนน้ การแปลจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย

หมวดวชิ าภาษาศาสตรแ์ ละภาษาศาสตรป์ ระยุกต์

HS 313 301 ไวยากรณภ์ าษาจีน 3 (3-0-6)

Chinese Grammar

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 312 104#

คา ชนดิ และหนา้ ท่ีของคา วลี โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของประโยคในภาษาจนี

หมวดวิชาประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรม และวรรณคดี

HS 312 401 ศิลปะและวัฒนธรรมจีน 3 (3-0-6)

Chinese Art and Culture

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไม่มี

ศิลปะการต่อสู้ของจีน กระบวนท่าการรามวยไท้เก๊ก ศิลปะการเขียนพู่กันจีน ทฤษฏี

และหลักการเขียนอักษรจีน การจัดโครงสร้างการวางเน้ือท่ีและการจัดองค์ประกอบพื้นที่

รวมของภาพ

HS 312 402 นทิ านสภุ าษิตจนี 3 (3-0-6)

Chinese Proverb tales

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : HS 311 102#

นิทานสภุ าษติ จนี คดั สรร คตธิ รรมและปรชั ญาทส่ี อดแทรก และการใช้

HS 312 403 วฒั นธรรมการคา้ ของจีน 3 (3-0-6)

Chinese Trade Culture

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 311 102#

คณุ ลักษณะเฉพาะของชาวจนี การประชุมทางการคา้ การสร้างความสมั พนั ธ์ทางธรุ กจิ

การส่ือสารข้ามวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การเจรจาต่อรอง การจัดการ ข้อ

หา้ มความชอบ และงานเฉลมิ ฉลอง

176

HS 313 404 ภาษาจนี โบราณ 3 (3-0-6)
HS 313 501
Ancient Chinese

เงื่อนไขของรายวชิ า : HS 313 105#

โครงสร้างภาษา ไวยากรณ์ ความหมายของคาศพั ท์จากงานเขียนทโ่ี ดดเด่นในประเทศ

จีนสมัยเดมิ

วรรณกรรมจีน 3 (3-0-6)

Chinese Literature

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : HS 313 105#

ประวัติและพัฒนาการของวรรณกรรมจีนตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงสมัยปัจจุบัน

โดยสังเขป ศึกษาประวัตินักเขียน และผลงานช้ินเอกทคี่ ัดสรรแลว้

หมวดวิชาเฉพาะด้าน

HS 312 601 การสนทนาภาษาจนี ในเชิงธุรกิจ 3 (2-2-5)

Business Chinese Conversation

เงอื่ นไขของรายวชิ า : HS 312 102#

การสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจ การเลี้ยงรับรอง การเจรจาทางธุรกิจ การส่ังสินค้า

การส่งสินค้า การประกันสินค้า ศุลกากร การจัดการข้อมูลทางการค้า การเซ็นต์สัญญา

การติดตามหนี้ส้ิน การชดใช้สินไหม สัญญาตัวแทน การค้าทางอิเล็กทรอนิกส์ วิธีการ

สง่ เสริมการขายตา่ งประเทศ

HS 313 602 ภาษาจนี ธรุ กิจ 3 (3-0-6)

Business Chinese

เงือ่ นไขของรายวิชา : HS 312 601#

การสอบถามราคา การเสนอราคาและการต่อรองราคา การสั่งซื้อสินค้า ส่วนลดและ

ค่านายหน้า กาหนดวันส่งมอบสินค้า วิธีการชาระเงิน การบรรจุหีบห่อ การบรรทุกและ

ลาเลยี งสินค้า การเซน็ สัญญา การประกนั ภัย การเรียกคา่ เสยี หาย การเงนิ และการธนาคาร

HS 313 603 ภาษาจีนเพ่อื การท่องเทีย่ ว 3 (3-0-6)

Chinese for Tourism

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 313 105#

การกล่าวต้อนรับ ขอบคุณ และอาลานักท่องเทย่ี ว การสารองที่พัก การเดินทาง และ

สถานทท่ี อ่ งเทีย่ วการให้ขอ้ มูลเกย่ี วกบั สถานทท่ี ่องเที่ยว และสงิ่ ท่มี คั คเุ ทศกค์ วรรู้

HS 313 604 การเขยี นภาษาจนี ในเชิงธรุ กจิ 3 (3-0-6)

Business Chinese Writing

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 312 602#

การเขยี นจดหมายธรุ กจิ บทโฆษณาสินคา้ การเขยี นคากลา่ วสนุ ทรพจน์ในเชิง

ธุรกจิ และเอกสารการค้า

177

HS 313 796 การฝึกงาน 3 (0-6-3)
HS 314 605
HS 314 701 Practicum
HS 314 702
HS 314 785 เงื่อนไขของรายวิชา HS 313 104#

การฝึกปฎิบัติงานในหน่วยงานตามความเห็นชอบของหลักสูตรไม่น้อยกว่า 160

ช่วั โมง เขียนรายงานการฝกึ งานเพอ่ื ประกอบการประเมนิ ผล

การอา่ นหนังสือพิมพ์จนี ธรุ กิจ 3 (3-0-6)

Business Chinese Newspapers Reading

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 313 602#

หลกั การอา่ นหนงั สอื พมิ พ์ธรุ กิจ โครงสรา้ งประโยคขา่ ว สานวนภาษา และความหมาย

ของคาศัพทใ์ นขา่ ว

เศรษฐกิจจนี ร่วมสมยั 3 (3-0-6)

Contemporary Chinese Economy

เง่ือนไขของรายวิชา : HS 313 601#

ววิ ัฒนาการของเศรษฐกิจจีน การพฒั นาดา้ นเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรม นโยบาย

การเงิน หลักทรัพย์การเงิน ปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

การพัฒนาเขตเศรษฐกิจ การเปิดระบบการคา้ เสรีในประเทศจนี

หลกั การจดั การธรุ กิจจีน 3 (3-0-6)

Principles of Business Chinese Management

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 313 602#

หลักการจัดการธุรกิจจีน แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับการจัดการธุรกิจจีน วิวัฒนาการ

ของทฤษฎกี ารจัดการ เทคนคิ วธิ กี ารบรหิ ารธุรกิจของจีน

สหกิจศกึ ษาทางภาษาจีน 6 หน่วยกติ

Cooperative Education in Chinese

เงอื่ นไขของรายวชิ า : HS 313 106#

การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานตามความเห็นชอบของสาขาวิชาภาษาจีนเสมือนเป็น

พนักงานเต็มเวลาในหน่วยงาน ภาครัฐหรือเอกชน และเขียนรายงานการฝึกงานเพื่อ

ประกอบการประเมินผล และนาเสนอผลการปฏิบัติงาน

หมวดวิชาพ้นื ฐานของวิชาเอกภาษาญ่ปี ุ่น

HS 321 001 ภาษาญีป่ ุน่ ขัน้ ตน้ 1 3 (3-0-6)

Basic Japanese I

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

การพัฒนาทักษะการฟงั พูด อ่านและเขียนภาษาญี่ปุ่นระดบั ตน้ เพ่ือการสื่อสารใน

ชวี ติ ประจาวนั และเรียนรู้อักษรคันจิขน้ั ตน้ ประมาณ 50 ตวั

178

HS 321 002 ภาษาญ่ีปนุ่ ขั้นตน้ 2 3 (3-0-6)

Basic Japanese II

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 321 001#

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาญ่ีปุ่นระดับต้นขั้นต้น เพื่อการ

ส่ือสารในชีวิตประจาวันและเรียนรูอ้ กั ษรคันจเิ พมิ่ ข้นึ 100 ตวั

หมวดวชิ าทกั ษะทางภาษาของวชิ าเอกภาษาญ่ีป่นุ

HS 321 101 ภาษาญ่ีป่นุ 1 3 (3-0-6)

Japanese I

เงอื่ นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาญ่ีปุ่นระดับต้นข้ันต้น

เพื่อการส่อื สารในชีวิตประจาวนั และ เรียนรู้อกั ษรคันจปิ ระมาณ 100 ตวั

HS 321 102 ภาษาญี่ปนุ่ 2 3 (3-0-6)

Japanese II

เงื่อนไขของรายวชิ า : HS 321 101#

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาญี่ปุ่นระดับต้นขั้นสูง

เพ่อื การสื่อสารในชีวติ ประจาวนั และเรียนร้อู กั ษรคันจิเพม่ิ ข้ึนอกี 150 ตัว

HS 322 103 ภาษาญปี่ นุ่ 3 3 (3-0-6)

Japanese III

เงื่อนไขของรายวชิ า : HS 321 102#

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ภาษาญ่ีปุ่นระดับกลางขั้นต้นเพื่อ

การส่อื สารในชีวติ ประจาวนั และเรยี นร้อู ักษรคันจเิ พิม่ ข้นึ อกี ประมาณ 200 ตวั

HS 322 104 ภาษาญ่ีป่นุ 4 3 (3-0-6)

Japanese IV

เง่อื นไขของรายวชิ า : HS 322 103#

การพัฒนาทักษะการฟงั พูด อ่าน และเขียนภาษาญ่ปี ุ่นระดับกลางขน้ั สูงขน้ึ เพือ่

การส่ือสารในชีวติ ประจาวนั และเรยี นตวั อักษรคันจเิ พ่ิมอีก 200 ตวั

HS 322 201 การฟงั และพดู ภาษาญีป่ ่นุ 1 3 (2-2-5)

Japanese Listening and Speaking I

เง่อื นไขของรายวชิ า : HS 321 102#

การทักทาย การกล่าวอาลา การแนะนาตัวเอง การบอกเวลา การถามและการบอก

ทิศทาง การขอรอ้ ง การใหค้ าแนะนา การบอกวิธีการ

HS 322 202 การฟังและการพดู ภาษาญี่ปนุ่ 2 3 (2-2-5)

Japanese Listening and Speaking II

เง่ือนไขของรายวชิ า : HS 322 201#

การสนทนาทางโทรศัพท์ การสนทนาเพ่ือแลกเปลย่ี นข่าวสาร การเล่าเรอ่ื ง การแสดง

ความชื่นชม การแสดงความยินดีและเสียใจ การพูดถึงเหตุการณ์ในอดีต แผนการในอนาคต

และความปรารถนา

179

HS 322 211 การอา่ นและเขียนภาษาญ่ปี ่นุ 1 3 (3-0-6)
HS 322 212
HS 323 105 Japanese Reading and Writing I
HS 323 106
HS 323 203 เง่ือนไขของรายวชิ า : HS 321 102#
HS 323 204
HS 323 213 กลวิธีการอ่านและเขียน ประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความ

ซอ้ น ความสมั พันธข์ องกลุ่มประโยค การจับประเด็นสาคัญของยอ่ หนา้

การอา่ นและเขยี นภาษาญ่ปี ุ่น 2 3 (3-0-6)

Japanese Reading and Writing II

เงือ่ นไขของรายวชิ า : HS 322 211#

กลวิธีการอ่านและเขียน การตั้งวัตถุประสงค์ในการอ่าน การต้ังคาถามเพื่อเป็น

แรงจูงใจให้ติดตามเนื้อเรื่อง การจบั ประเด็นสาคญั การเรียงลาดับความคิดและการสรปุ ความ

จากการอา่ นความเรยี งขนาดสน้ั

ภาษาญีป่ ุน่ 5 3 (3-0-6)

Japanese V

เง่ือนไขของรายวิชา : HS 322 104#

การพฒั นาทกั ษะการฟงั พูด อา่ น และเขียนภาษาญี่ปุ่นระดับสงู เพ่ือ การ

ส่ือสาร และแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับเหตุการณ์ และเรื่องต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน

โดยใช้สานวนที่เปน็ ทางการและซับซ้อนขน้ึ และเรียนตวั อกั ษรคนั จเิ พิ่มอีก 300 ตัว

ภาษาญี่ปุน่ 6 3 (3-0-6)

Japanese VI

เงอื่ นไขของรายวิชา : HS 323 105#

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน เรียนโครงสร้างไวยากรณ์ท่ีซับซ้อนข้ึน

ในบทความ และฝึกการอภิปรายในหัวข้อที่เก่ียวข้องกับบทความต่างๆ เรียนรู้อักษรคันจิ

เพ่ิมขน้ึ อีก 500 ตวั

การฟังและพดู ภาษาญ่ปี ุ่น 3 3 (2-2-5)

Japanese Listening and Speaking III

เงอื่ นไขของรายวิชา : HS 322 202#

การสนทนาเกย่ี วกับเหตกุ ารณป์ ัจจุบันและประเดน็ ปญั หาสงั คม

การสนทนาและการอภปิ รายภาษาญป่ี ุน่ 3 (2-2-5)

Japanese Conversation and Discussion

เงื่อนไขของรายวชิ า : HS 322 202#

การสนทนาและการอภปิ รายอย่างเป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ การพูดในพิธีการ

ตา่ งๆ เทคนคิ การอภิปราย การอภิปรายกลุ่มย่อย การสมั ภาษณ์ และการใหส้ ัมภาษณ์

การอา่ นและเขยี นภาษาญปี่ ่นุ 3 3 (3-0-6)

Japanese Reading and Writing III

เง่ือนไขของรายวิชา : HS 322 212#

กลวิธีการอ่านและการเขียน การหาเหตุและผล การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

ขอ้ สมมตุ ฐิ าน และการเขียนเรียงความจากเรือ่ งขนาดยาว

180

HS 323 214 คนั จสิ าหรบั นักศึกษาวชิ าเอกภาษาญป่ี นุ่ 3 (3-0-6)
HS 323 215
HS 324 107 Kanji for Japanese Major Students

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : HS 322 401#

โครงสร้างของตัวอักษรคันจิ ประเภทของตัวอักษรคันจิ และตัวอักษรคันจิที่ใช้

ประจาซง่ึ กาหนดโดยกระทรวงศึกษาประเทศญ่ีป่นุ จานวน 800 ตัว

การอ่านและการเขียนภาษาญี่ปุ่นเชิงวิเคราะห์ 3 (3-0-6)

Japanese Reading and Critical Writing

เง่ือนไขของรายวชิ า : HS 323 213#

กลวธิ ีการอ่านและเขียน การวิเคราะหค์ วามนา่ เชื่อถือของแหลง่ ขอ้ มูลตา่ งๆนา้ เสยี ง

ทัศนคตกิ ารจูงใจ และวัตถุประสงค์ของผู้เขยี น และการเขยี นความเรียงเชงิ วเิ คราะห์

ภาษาญี่ป่นุ 7 3 (3-0-6)

Japanese VII

เงื่อนไขของรายวชิ า : HS 323 106#

การใช้ภาษาญีป่ ุ่นเพื่อการสอื่ สารได้อยา่ งถูกตอ้ ง สละสลวย ในสถานการณต์ ่างๆ ใน

ระดบั ทส่ี งู ข้ึน เรยี นตวั อกั ษรคนั จเิ พ่ิมขึ้นอีก 500 ตวั

หมวดวชิ าภาษาศาสตรแ์ ละภาษาศาสตร์ประยกุ ตข์ องวชิ าเอกภาษาญปี่ ุน่

HS 321 301 เสียงและระบบเสยี งภาษาญป่ี ุ่น 3 (3-0-6)

Japanese Phonetics and Phonology

เงอื่ นไขของรายวิชา : HS 321 101#

เสียงและระบบเสียงของภาษาญป่ี ุ่น ฐานกรณเ์ สยี งสระ พยัญชนะ การออกเสียงสงู ตา่

และการออกเสยี งสมั ผสั รวมทัง้ ฝกึ ให้มีความสามารถในการฟังและออกเสยี งได้อยา่ งถูกต้อง

ชัดเจน

HS 322 302 การวิเคราะห์โครงสรา้ งภาษาญปี่ นุ่ 1 3 (3-0-6)

Japanese Syntactical Analysis I

เงื่อนไขของรายวชิ า : HS 321 102#

การวิเคราะหโ์ ครงสรา้ งภาษาญีป่ นุ่ ชนดิ และหน้าทีข่ องคา ลาดับคา วลี อนปุ ระโยค

และประโยค

HS 324 303 การวิเคราะห์โครงสรา้ งภาษาญปี่ นุ่ 2 3 (3-0-6)

Japanese Syntactical Analysis II

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : HS 323 601#

การวเิ คราะห์โครงสรา้ งภาษาญป่ี ุ่นตามทฤษฎภี าษาศาสตร์

181

หมวดวชิ าประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรม และวรรณคดีของวชิ าเอกภาษาญ่ปี ่นุ

HS 322 401 ภาษาญ่ีปุ่นกับสังคมและวัฒนธรรม 3 (3-0-6)

Japanese, Society and Culture

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 321 102#

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาญี่ปุ่นกับสังคมและวัฒนธรรม การใช้

ภาษาญ่ปี นุ่ ในสถานการณท์ ี่เปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ

HS 324 501 วรรณกรรมชน้ิ เอกของญ่ีปุ่น 3 (3-0-6)

Masterpieces of Japanese Literary Works

เงือ่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี

วรรณกรรมชิ้นเอกญ่ีปุน่ ตง้ั แตส่ มยั กอ่ นเฮอนั จนถึงสมัยใหม่

หมวดวิชาเฉพาะด้านของวิชาเอกภาษาญปี่ ุ่น

HS 323 601 การแปลภาษาญี่ปุ่น 1 3 (3-0-6)

Japanese Translation I

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 322 104#

ทฤษฎกี ารแปล ลักษณะและปัญหาของการแปล ความหมายของคา และโครงสร้าง

ทางภาษา โดยเน้นการแปลภาษาญ่ีปุ่นเป็นภาษาไทย เช่น การแปลสานวน คาพังเพย

สภุ าษิต นิทานสาหรับเด็ก ข่าว สารคดี เอกสารทางธุรกิจ และจดหมาย

HS 324 602 การแปลภาษาญป่ี ่นุ 2 3 (3-0-6)

Japanese Translation II

เงอื่ นไขของรายวิชา : HS 323 601#

การแปลหนงั สือการ์ตนู เร่อื งสั้น วรรณกรรมเดก็ งานเขียนร้อยแก้วและรอ้ ยกรองจาก

หนังสือพิมพ์ วารสาร นติ ยสาร และสิง่ พิมพ์อ่ืน ๆ โดยเนน้ แปลจากภาษาไทยเป็นภาษาญป่ี นุ่

HS 324 603 ภาษาญ่ปี นุ่ สาหรบั ล่าม 3 (3-0-6)

Japanese for Interpreters

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 323 106#

เทคนิคการเป็นล่าม จรรยาบรรณของล่าม การแปลบทสนทนา การพูดในพิธีการ

อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการอภิปรายปากเปล่า จากภาษาไทยเป็น

ภาษาญป่ี ุ่น และภาษาญี่ปนุ่ เปน็ ภาษาไทย

HS 324 604 ภาษาญปี่ ุ่นเพ่ีอธุรกจิ 3 (3-0-6)

Japanese for Business

เงือ่ นไขของรายวิชา : HS 323 106#

การใช้คาศัพท์ สานวน ประโยคภาษาญี่ปุ่น ในสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเก่ียวกับ

ธรุ กจิ ระบบและระเบยี บในการปฏบิ ตั ิทางการค้าตามธรรมเนียมญี่ปุ่น

182

HS 324 701 ภาษาญ่ปี นุ่ เพื่อการทอ่ งเทยี่ วในอนภุ ูมิภาคลุ่มนา้ โขง 3 (3-0-6)
HS 324 702
HS 324 703 Japanese for Tourism in the Mekong Sub-region

เง่ือนไขของรายวิชา : HS 323 106#

คาศัพท์ สานวน โครงสร้างประโยค เกี่ยวกับ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การเมือง

การปกครอง ศิลปวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวในแหล่งทอ่ งเที่ยวที่สาคัญ และ

วถิ ีชีวิตคนไทย โดยเนน้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือและอนภุ มู ภิ าคลมุ่ นา้ โขง

ภาษาญป่ี ุ่นเพือ่ การโรงแรม 3 (3-0-6)

Japanese for Hotel Staff

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 323 106#

การใช้คาศพั ท์ สานวน โครงสรา้ งประโยค และการใช้ภาษาญ่ีป่นุ ดา้ นการบริการใน

โรงแรม

ภาษาญี่ป่นุ เพอ่ื เลขานุการ 3 (3-0-6)

Japanese for Secretary

เงือ่ นไขของรายวชิ า : HS 323 106#

คาศัพท์ สานวน โครงสร้างประโยคเกี่ยวกับการต้อนรับแขก การติดต่อนัดหมาย

การสนทนาทางโทรศพั ท์ และการติดต่อเอกสารเชิงธุรกจิ

หมวดวชิ าสมั มนา วจิ ัย ฝึกงาน และสหกจิ ศึกษาของวชิ าเอกภาษาญปี่ ุ่น

HS 323 796 การฝกึ งาน 3 (0-6-3)

Practicum ไม่นับหนว่ ยกติ

เงอื่ นไขของรายวชิ า : HS 323 105#

การฝึกปฎิบัติงานในหน่วยงานตามความเห็นชอบของหลักสูตรภาษาญ่ีปุ่นไม่น้อย

กวา่ 160 ชว่ั โมง เขยี นรายงานการฝกึ งานเพ่ือประกอบการประเมนิ ผล

HS 324 785 สหกจิ ศกึ ษาทางภาษาญี่ป่นุ 9 หน่วยกติ

Cooperative Education in Japanese

เงอื่ นไขของรายวชิ า : HS 323 106#

การฝึกปฏิบัติงานเสมือนเป็นพนักงานเต็มเวลาในหน่วยงาน ภาครัฐหรือ

สถานประกอบการเอกชนท่ีมีการใช้ภาษาญี่ปุ่น การเขียนรายงาน และการนาเสนอผลการ

ปฏบิ ัติงาน

HS 324 901 การเขยี นและการอภิปรายงานวิจัยภาษาญ่ปี นุ่ 3 (3-0-6)

Japanese Writing and Discussion of Paper Research

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 303 806#

การจัดลาดับความคิด การใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้องและเหมาะสม การแสดงความ

คดิ เหน็ ขัดแย้ง และการเขยี นรายงานวิจัย การอภปิ ราย การเขยี น การนาเสนอผลการศึกษา

และการเขยี นสารนพิ นธ์ในระดับพื้นฐานเกยี่ วกบั วัฒนธรรม สงั คมหรือภาษาญีป่ ่นุ

183

หมวดวชิ าวิชาท่วั ไป

สาขาวิชาภาษาตะวนั ตก-วิชาเอกภาษาสเปน วชิ าเอกภาษาฝรั่งเศส วิชาเอกภาษาเยอรมนั

HS 701 601 ภาษาและประวตั ิศาสตร์ชนชาตติ ะวนั ตก 3 (3-0-6)

Western Languages and History

เง่อื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ตระกูลภาษาของชนชาติตะวันตก ประวัติศาสตร์ฝร่ังเศส เยอรมัน สเปน โดยสังเขป สภาพ

เศรษฐกจิ สังคม และระบอบการเมืองในปจั จุบนั

HS 701 602 วฒั นธรรมชนชาติตะวนั ตก 3 (3-0-6)

Cultures of Western Nations

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ศลิ ปะ สถาปัตยกรรม การแสดง อาหาร แฟชั่นของชนชาตติ ะวันตก

HS 703 301 การแปลภาษาตะวันตกเป็นภาษาไทย 3 (3-0-6)

Western Languages Translation into Thai

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

ทฤษฎีและหลักการแปลเบื้องต้น ปัญหาการแปล การฝึกแปลบทความจากนิตยสารและ

หนังสือพิมพ์ และบทอ่านงานวรรณกรรม จากภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน หรือภาษาสเปนเป็น

ภาษาไทย

HS 703 302 การแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาตะวันตก 3 (3-0-6)

Thai Translation into Western languages

เงอื่ นไขของรายวิชา: HS 703 301#

ปัญหาการแปล การฝึกแปลบทความจากนิตยสารและหนังสือพิมพ์ และบทอ่านงาน

วรรณกรรม จากภาษาไทยเปน็ ภาษาฝรงั่ เศส ภาษาเยอรมัน หรือภาษาสเปน

HS 703 501 วรรณกรรมยโุ รป 3 (3-0-6)

European Literature

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

วิวฒั นาการวรรณกรรมยโุ รปต้ังแต่ยคุ กลางจนถึงปัจจุบันโดยสังเขป การอ่านงานวรรณกรรม

ภาษาฝรงั่ เศส ภาษาเยอรมัน ภาษาสเปน

HS 703 801 ภาษาตะวันตกเพือ่ การโรงแรม 3 (3-0-6)

Western Languages for Hotel

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ศัพท์ สานวน โครงสร้างประโยค ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน และสเปน เพ่ือการบริการลูกค้า

ในโรงแรม การเสนอและการจัดโปรแกรมทัวร์ใหก้ บั ลกู ค้า การแกป้ ญั หาในการปฏิบตั ิหน้าท่ภี ายใน

องค์กรที่มคี วามหลากหลายด้านเชอื้ ชาตแิ ละวฒั นธรรม

184

HS 703 802 ภาษาตะวันตกเพอื่ การท่องเทยี่ ว 3 (3-0-6)
HS 704 901
Western Languages for Tourism

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

หลักการมัคคุเทศก์เบื้องต้น ประเภทมัคคุเทศก์ การท่องเท่ียวและนักท่องเทีย่ ว ศัพท์ สานวน

โครงสร้างประโยค ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน และสเปน ในการให้บริการและข้อมูลเก่ียวกับการ

ท่องเท่ียว

ระเบียบวิธวี ิจยั ทางภาษาตะวนั ตก 3 (3-0-6)

Research Methodology in Western Languages

เง่อื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความหมายของการวิจัย เทคนิคและวิธีดาเนินการวิจัยทางภาษาตะวันตก การกาหนดหวั ข้อ

และการกาหนดวัตถุประสงค์ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง การเก็บรวบรวมและ

วิเคราะห์ขอ้ มลู การสรปุ ผลและการเขยี นรายงาน

หมวดวิชาวชิ าทักษะทางภาษาสเปน

HS 711 101 ภาษาสเปนข้นั พื้นฐาน 1 3 (3-0-6)

Basic Spanish I

เง่ือนไขรายวิชา: ไมม่ ี

พยัญชนะ สระ และเสยี งของภาษาสเปน ทกั ษะการฟงั การพดู การอ่านและการเขยี นขนั้ พนื้ ฐาน

ไวยากรณพ์ ืน้ ฐาน รูปประโยคแบบต่าง ๆ

HS 711 102 ภาษาสเปนขัน้ พืน้ ฐาน 2 3 (3-0-6)

Basic Spanish II

เงื่อนไขรายวิชา: HS 711 101#

การใชภ้ าษาสเปนในการเลา่ เกยี่ วกับเหตกุ ารณ์ประจาวัน การแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วความชอบ ความรู้

เบือ้ งตน้ เกี่ยวกบั ประเทศสเปนและลาตินอเมริกา การเดินทาง คาสงั่ ให้ทา การพูดเก่ียวกับเหตกุ ารณ์ใน

อดตี และอนาคตขนั้ พน้ื ฐาน

HS 711 103 ภาษาสเปน 1 3 (3-0-6)
HS 711 104
Spanish I

เงื่อนไขรายวิชา: ไมม่ ี

ความรู้พื้นฐานทางหลกั ไวยากรณภ์ าษาสเปน บุรุษสรรพนาม การกระจายกรยิ าเบอ้ื งตน้ ของ

กริยาแบบปกติและแบบผิดปกติในปัจจุบันกาล คานาหน้านาม กฎเกณฑ์โดยทั่วไปเกี่ยวกับความ

สอดคลอ้ งระหวา่ งเพศและพจน์ในภาษาสเปน และกรยิ าเบอ้ื งตน้ ท่ใี ชใ้ นการบอกความชอบ gustar

ภาษาสเปน 2 3 (3-0-6)

Spanish II

เงอ่ื นไขรายวิชา: HS 711 103#

กลุ่มกริยาที่มีโครงสร้างการใช้แบบเดียวกับ gustar ประโยคเปรียบเทียบ ประโยคคาส่ัง

พืน้ ฐาน กริยาวลีพน้ื ฐาน การใช้อดตี กาลสมบรู ณร์ ูปกริยาเดี่ยวและการกระจายกรยิ าพ้ืนฐาน

185

HS 711 201 การฟังและการพูดภาษาสเปน 1 3 (3-0-6)
HS 711 202
HS 712 105 Spanish for Listening and Speaking I
HS 712 203
HS 712 204 เงือ่ นไขรายวิชา: ไม่มี

บทสนทนาภาษาสเปนขั้นพื้นฐาน การถามและให้ข้อมูลส่วนตัว การบรรยายบุคคล

ครอบครัว การบรรยายสถานท่ี หน้าท่ีการงาน กิจวัตรประจาวัน การบอกวันเวลา สภาพอากาศ

อาการเจ็บป่วย อารมณ์ความรู้สึก รสนิยมและความสนใจส่วนตัว มีส่วนร่วมในบทสนทนาขนาด

สน้ั การฟงั บทสนทนาขนาดสน้ั เพ่ือความเขา้ ใจ

การฟงั และการพดู ภาษาสเปน 2 3 (3-0-6)

Spanish for Listening and Speaking II

เงื่อนไขรายวชิ า: HS 711 201#

การอภิปรายแผนการและประสบการณ์ในอดีต การนาเสนอประวัติบุคคล การถามและให้

บอกทิศทาง การให้คาแนะนา การออกคาสัง่ การนาเสนอความสนใจส่วนตัว การมีสว่ นร่วมในบท

สนทนาท่คี ุ้นเคย และการฟงั บทสนทนาเพอ่ื ความเขา้ ใจ

ภาษาสเปน 3 3 (3-0-6)

Spanish III

เงื่อนไขรายวชิ า: HS 711 104#

การใช้อดตี กาลไม่สมบรู ณเ์ พอื่ บรรยายเหตกุ ารณใ์ นอดตี ประโยคคาสัง่ ในรูปแบบปฏิเสธ

กาลอดตี สมบรู ณ์ กรรมตรงและกรรมรอง อนาคตกาล และมิติ- ปริกลั ปมาลา

การฟงั และการพดู ภาษาสเปน 3 3 (3-0-6)

Spanish for Listening and Speaking III

เงอ่ื นไขรายวิชา: HS 711 202#

บทสนทนาภาษาสเปนแผนการในอนาคต แผนการประกอบอาชีพ แผนการเดินทาง

การทานาย สมมตฐิ าน การแสดงความคดิ เหน็ สว่ นตัว อภิปรายเกยี่ วกบั ข่าวสารประจาวันและ

หัวข้อทางวัฒนธรรม การให้คาอธิบายและเหตุผล เห็นพ้อง เห็นแย้ง การมีส่วนร่วมในบท

สนทนาทัว่ ไปและการฟังประกาศโฆษณาและรายการทวี ีเพอื่ จบั ใจความสาคั

การอา่ นภาษาสเปน 1 3 (3-0-6)

Spanish Reading I

เงอ่ื นไขรายวิชา: HS 711 104#

การอ่านบทความภาษาสเปนขนาดส้ัน ประกาศ โฆษณา ใบปลิวแผ่นพับ โปสการ์ด

จดหมายหรือจดหมายอิเล็กโทรนิกส์แบบไม่เป็นทางการ คู่มือ และบทความขนาดส้ันจาก

นิตยสาร กลวิธีในการอ่านเพื่อหาข้อมูลสาคัญ เทคนิคในการเดาความหมายคาศัพท์จาก

บรบิ ท

186

HS 712 205 การฟงั และการพดู ภาษาสเปน 4 3 (3-0-6)

HS 712 206 Spanish for Listening and Speaking IV
HS 713 106
HS 713 107 เงื่อนไขรายวิชา: HS 712 203#
HS 713 207
HS 713 208 บทสนทนาภาษาสเปนเก่ียวกับหัวข้อเฉพาะ การเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียและการให้เหตุผล

หัวข้อทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การประกอบอาชีพ สานวนภาษาท่ีเป็นทางการและไม่

เป็นทางการในสถานการณ์สังคมท่ีแตกต่าง การนาเสนอหัวข้อเฉพาะทาง มีส่วนร่วมและอภิปราย

ในหัวข้อท่ีเป็นนามธรรม การฟังข่าวและรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อจับประเด็นและรายละเอียด

สาคญั

การเขยี นภาษาสเปน 1 3 (3-0-6)

Spanish Writing I

เงอื่ นไขรายวชิ า: HS 712 105#

การเขียนภาษาสเปนในระดับย่อหน้าขนาดสั้นเก่ียวกับข้อมูลส่วนตัว กิจกรรมใน

ชีวิตประจาวัน การเขียนบันทึกขนาดสั้น การเขียนไปรษณียบัตร จดหมายหรือจดหมายอิเล็กโทร

นิกส์แบบไม่เป็นทาง การกรอกใบสมัคร การเขียนประโยคในรูปแบบท่ีหลากหลายและการฝึกใช้

คาเชื่อมประโยคท่ีเหมาะสม

ภาษาสเปน 4 3 (3-0-6)

Spanish IV

เง่อื นไขรายวชิ า: HS 712 105#

ความแตกต่างของการใช้อดีตกาลท้ัง 3 ประเภท ประโยคเง่ือนไข มิติปริกัลปมาลาใน

ปจั จบุ นั กาล และกริยาบพุ บท

ภาษาสเปน 5 3 (3-0-6)

Spanish V

เงอื่ นไขรายวชิ า: HS 713 106#

การใช้ปริกัลปมาลาข้ันสูง ความแตกต่างระหว่างมิติมาลาบอกเลา่ และมติ ิปรกิ ัลป์ปมาลา

มิตปิ ริกัลปมาลาและมิตเิ งื่อนไขในทางปฏิบัติ การพดู โดยตรงและการพูดโดยออ้ ม

การอา่ นภาษาสเปน 2 3 (3-0-6)

Spanish Reading II

เงอ่ื นไขรายวชิ า: HS 712 204#

การอ่านบทความภาษาสเปน เร่ืองเล่า บทบรรยาย นิทาน เร่ืองสั้น ข่าว หนังสือพิมพ์

และส่ือ บทความเกี่ยวกับการอภิปรายโต้แย้ง เทคนิคในการอ่านเพื่อความเข้าใจและหาประเด็น

สาคญั การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งของบทความและรูปแบบการใชภ้ าษา

ภาษาสเปนเพอื่ การอภิปรายและการโต้วาที 3 (3-0-6)

Spanish for Discussion and Debate

เงอื่ นไขรายวชิ า: HS 713 106#

ศัพท์ สานวน วลี โครงสร้างภาษาสเปนในการอภปิ รายและโตว้ าที การนาเสนอความคิดเห็น

การแสดงและแลกเปลีย่ นความคิดเห็น การให้เหตุผล รูปแบบการโตว้ าที การเห็นพ้องและการเหน็ แยง้

การหกั ล้าง การคดั คา้ น การเลือกใช้ถ้อยคาและสานวน มารยาทในการอภิปรายและโตว้ าที

187

HS 713 209 การเขียนภาษาสเปน 2 3 (3-0-6)
HS 714 108
HS 714 210 Spanish Writing II

เง่อื นไขรายวิชา: HS 712 206#

การเขียนบทความภาษาสเปนที่มขี นาดยาวและซับซ้อน บทความเร่ืองเล่า บทบรรยาย บันทึก

ประจาวัน การเขียนย่อความ การเขียนจดหมายหรือจดหมายอิเล็กโทรนิกส์ท่ีเป็นทางการ การเขียน

เรียงความ การเขียนประโยคที่มีโครงสร้างซับซ้อน การใช้คาเชื่อมในระดับย่อหน้าท่ีเหมาะสม การ

รูปแบบใช้ประโยคทซ่ี บั ซ้อน การเรียบเรียงความคดิ และการวางโครงสร้างของบทความ

ภาษาสเปน 6 3 (3-0-6)

Spanish VI

เง่อื นไขรายวชิ า: HS 713 107#

กฎการใช้ se, voz pasiva, impersonal โครงสร้างทางไวยากรณข์ น้ั สงู วทิ ยา

หนว่ ยคาระดับสูงและตน้ กาเนิดคา

ภาษาสเปนสาหรับการพูดในท่ชี ุมชน 3 (3-0-6)

Spanish for Public Speaking

เง่อื นไขรายวชิ า: HS 713 208#

การใช้ภาษาสเปนในการพูดในที่ชุมชนเก่ียวกับสถานการณ์ปัจจุบัน การพูดอย่าง

เป็นทางการ การพูดอย่างไม่เป็นทางการและการพูดก่ึงทางการ การตอบคาถาม การ

รวบรวมข้อมูล การวางโครงเร่ือง การเลือกใช้ภาษา การนาเสนอความคิดเห็นส่วนบุคคล

การใชส้ ่ือและบคุ ลกิ ภาพ

หมวดวิชาภาษาศาสตรแ์ ละภาษาศาสตรป์ ระยกุ ต์ของสาขาวชิ าเอกภาษาสเปน

HS 711 401 การใช้ภาษาสเปน 3 (3-0-6)

Spanish Usage

เงื่อนไขรายวชิ า: HS 711 104#

การผสมผสานความรู้ไวยากรณ์ ศัพท์และวาทกรรมที่ใช้ในการสื่อสารประจาวัน

ข้อมูลท่ัวไปเกี่ยวกับประเทศสเปนและกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาสเปน ประเภทของคา การ

บรรยายบุคคล สถานท่ีและส่ิงของ ตัวเลข การเปรยี บเทียบ การสรา้ งประโยคคาถามและการ

ตอบ กริยาช่วย การบรรยายอารมณ์ความรู้สึก ศัพท์เก่ียวกับอาหาร เครื่องด่ืม เสื้อผ้า สี การ

ขนสง่ สาธารณะ สถานทสี่ าธารณะ สานวนทจี่ าเป็นสาหรับการสนทนาข้นั เร่มิ ตน้

HS 712 301 ภาษาศาสตรภ์ าษาสเปนขนั้ แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Spanish Linguistics

เงือ่ นไขรายวิชา: HS 712 105#

ทฤษฎเี บ้อื งต้นของภาษาศาสตร์ ความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกบั สัทศาสตร์ วทิ ยาหน่วยคา

วายกสัมพันธ์ อรรถศาสตร์และวจั นปฏบิ ัตศิ าสตร์

188

HS 714 402 ภาษาสเปนในฐานะภาษาต่างประเทศ 3 (3-0-6)

Spanish as a Foreign Language

เง่ือนไขรายวิชา: HS 713 107#

ขอ้ มูลทวั่ ไปเกย่ี วกับกรอบมาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาประเทศใน

กลุ่มสหภาพยุโรป ภาษาแม่ ภาษาที่สองและภาษาต่างประเทศ การสอนภาษาสเปน

ความสามารถทางภาษาของผู้เรียน ศัพท์เฉพาะทางการสอนภาษาสเปน รูปแบบวิธีการเรียน

ภาษา การกาหนดเปา้ หมายและจดุ ประสงคก์ ารสอน การเลือกเนอื้ หา การออกแบบกจิ กรรม

การสอน ขอ้ ผิดพลาดในการเรียนภาษาและการให้ผลสะท้อนกลบั เชงิ แก้ไข

หมวดวชิ าวรรณคดแี ละอารยธรรมของสาขาวชิ าเอกภาษาสเปน

HS 714 501 วรรณกรรมสเปนยคุ ทอง 3 (3-0-6)

Spanish Literature in the Golden Age

เง่อื นไขรายวิชา: HS 712 105#

วรรณคดีสเปนยุคทอง ลักษณะ เนื้อหา แก่นเรื่อง รูปแบบ การใช้ภาษา และ

ความสาคญั การวเิ คราะหต์ ัวบทท่คี ัดสรร

HS 714 601 อารยธรรมสเปนและลาตินอเมริกา 3 (3-0-6)

Hispanic Civilization

เง่ือนไขรายวชิ า: HS 713 107#

ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์จากยุคกลางถึงยคุ ปจั จบุ ัน ลักษณะทางสงั คม

และวัฒนธรรมของชาวสเปนและประเทศทีใ่ ชภ้ าษาสเปนเป็นภาษาราชการ

หมวดวิชาสมั มนา ฝกึ งาน สหกิจศกึ ษาสาขาวิชาเอกภาษาสเปน

HS 713 796 การฝึกงาน 3 (0-6-3)

Practicum (ไมน่ ับหน่วยกิต)

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 712 205#

การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานที่กาหนดไม่น้อยกว่า 320 ช่ัวโมง เขียนและนาเสนอ

รายงานการฝึกงาน

HS 714 761 สมั มนาทางภาษาสเปน 3 (3-0-6)

Seminar in Spanish

เงอื่ นไขของรายวชิ า: HS 713 208#

การคน้ ควา้ การอภปิ ราย และการเขียนรายงานในหวั ขอ้ เรือ่ งการเรียนการสอนภาษา

สเปน บทบาทและความสาคัญของภาษาสเปนเพื่อการส่ือสารระดับนานาชาติ หลักสูตร

ภาษาสเปนในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาษาสเปนเชงิ วชิ าการ

HS 714 785 สหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต

Cooperative Education

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 714 108#

การฝึกปฏิบัติงานแบบเต็มเวลาในหน่วยงานภาครัฐหรอื สถานประกอบการเอกชนทม่ี ี

ความรว่ มมือกบั มหาวทิ ยาลยั การเขียนรายงานและการนาเสนอผลการปฏิบตั งิ าน

189

หมวดวิชาเฉพาะทาง และวจิ ัยสาขาวชิ าเอกภาษาสเปน

HS 713 801 ภาษาสเปนเพอื่ ธุรกิจ 1 3 (3-0-6)

Spanish for Business I

เงื่อนไขรายวิชา: HS 712 105#

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างของบริษัท การใช้ภาษาสเปนพื้นฐานในการติดต่อ

ธุรกิจ การเจรจาทางธุรกิจ การนาเสนอข้อมูลผลิตภัณฑ์และแผนธุรกิจ และการใช้โทรศัพท์

ทางธุรกิจ คาศัพท์เฉพาะทางธรุ กิจ และโครงสรา้ งภาษาทใี่ ชท้ างธุรกจิ

HS 713 802 ภาษาสเปนเพ่อื ธุรกิจ 2 3 (3-0-6)

Spanish for Business II

เงื่อนไขรายวชิ า: HS 713 801#

ภาษาสเปนทางด้านการเงิน การตลาดและหัวข้อทางเศรษฐกิจโดยทั่วไป ศัพท์

เฉพาะท่ีเก่ียวข้องเร่ืองภาษี สัญญา การเขียนจดหมายหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ทางธุรกิจ

การเขยี นประวัตกิ ารทางาน จดหมายแนะนาตัว และการเตรยี มตวั เพ่ือสมั ภาษณง์ าน

หมวดวชิ าวชิ าทกั ษะทางภาษาเยอรมนั

HS 721 101 ภาษาเยอรมันเพ่ือการส่อื สาร 1 3 (3-0-6)

German for Communication I

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การทักทาย การแนะนาตัว การกล่าวคาลา การตั้งคาถาม การแสดงความคิดเห็น

การสั่ง อาหารและการซื้อสนิ คา้

HS 721 102 ภาษาเยอรมนั เพื่อการส่อื สาร 2 3 (3-0-6)

German for Communication II

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 721 101#

การทางานและการใช้เวลาว่าง ครอบครัวและงานบ้าน การสอบถามและการให้ ข้อมลู

HS 721 103 ภาษาเยอรมัน 1 3 (3-0-6)

German I

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

การผันกริยา ประโยคคาถาม บุรุษสรรพนาม คานาหน้าคานาม คาปฏิเสธ คากริยา

วเิ ศษณ์ คาบพุ บท การบอกเวลา คากริยาแบบแยกตัว กรรมตรง คากรยิ าบอกอาการ และรปู

อดีตกาล

HS 721 104 ภาษาเยอรมนั 2 3 (3-0-6)

German II

เงื่อนไขของรายวิชา: HS 721 103#

คาบุพบทท่ีบ่งช้ีเวลาและสถานที่ ประโยคคาส่ัง กรรมรอง บุรุษสรรพนามในรูปกรรม

ตรงและกรรมรอง

190

HS 721 105 การฟังและการพูดภาษาเยอรมนั 1 3 (3-0-6)
HS 721 106
HS 722 107 German Listening and Speaking I
HS 722 108
HS 722 201 เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี
HS 722 202
HS 723 203 การฟงั และการพูดสาหรับการแนะนาตัวเองและบคุ คลอื่น การทาความรู้จกั บุคคล การ

บอกเวลา การเลา่ ถึงกิจวัตรประจาวนั การเล่าเรอ่ื งในอดตี

การฟังและการพดู ภาษาเยอรมนั 2 3 (3-0-6)

German Listening and Speaking II

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 721 105#

การฟังและการพูดสาหรับการบอกทิศทาง ท่ีต้ังของสถานท่ีและสิ่งของ การบรรยาย

แฟชั่นเส้ือผา้ ความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คล การเรียนรู้ ส่ือสารมวลชน

ภาษาเยอรมัน 3 3 (3-0-6)

German III

เงื่อนไขของรายวิชา: HS 721 101# หรือ HS 721 103#

การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาเยอรมันในการติดต่อสื่อสารโดยการใช้หลักไวยากรณ์ท่ี

ซับซ้อน เพื่อการอธิบายบุคลิกลักษณะของคน ลักษณะภมู ิอากาศและภูมิประเทศ การศึกษา

งานและอาชีพ

ภาษาเยอรมนั 4 3 (3-0-6)

German IV

เงื่อนไขของรายวิชา: HS 722 107#

การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาเยอรมันในการติดต่อสื่อสาร การอ่านบทความ การ

อภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินทางท่องเที่ยว เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

การเมอื ง การธนาคาร การบริโภคและมาตรฐานการดาเนินชีวติ

การเขยี นภาษาเยอรมนั 1 3 (3-0-6)

German Writing I

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 721 104# หรือ HS 721 102#

การเขียนภาษาเยอรมันในระดับพื้นฐาน การบรรยายตัวบุคคล การบรรยายการ

ทอ่ งเท่ียวเพือ่ พักผอ่ น การเขยี นจดหมายสว่ นตัวและทางการ การแสดงความเห็น

การอา่ นภาษาเยอรมัน 1 3 (3-0-6)

German Reading I

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 721 104# หรอื HS 721 102#

วัตถุประสงค์ในการอ่าน เทคนิคท่ีใช้ในการช่วยให้อ่านเข้าใจ การสรุปประเด็นและ

เนือ้ หาสาคัญ

การฟงั ภาษาเยอรมนั ข้ันสงู 3 (3-0-6)

Advanced German Listening

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 721 106#

การฝึกทักษะการฟัง ในหัวข้อท่ีเก่ียวกับบทสัมภาษณ์ สื่อสารมวลชน การศึกษา

การเมือง และเศรษฐกจิ

191

HS 723 204 การอ่านภาษาเยอรมนั 2 3 (3-0-6)
HS 723 205
German Reading II

เง่อื นไขของรายวิชา: HS 722 202#

การอ่านและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานเขียนภาษาเยอรมันในส่ือประเภท ต่าง ๆ

ดา้ นสังคม การเมอื ง การบนั เทิง และเยาวชน

การเขยี นภาษาเยอรมัน 2 3 (3-0-6)

German Writing II

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 722 201#

การเขียนภาษาเยอรมันเชิงวิจารณ์ในหัวข้อท่ีเก่ียวกับเศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา

ส่ือมวลชน และสวสั ดกิ ารสังคม

หมวดวิชาภาษาศาสตรแ์ ละภาษาศาสตรป์ ระยุกต์สาขาวชิ าภาษาเยอรมนั

HS 722 301 สัทศาสตรเ์ ยอรมนั 3 (3-0-6)

German Phonetics

เงอื่ นไขของรายวชิ า: HS 721 104# หรือ HS 721 102#

การออกเสียงภาษาเยอรมัน หน่วยเสียง สัทอักษร การเน้นเสียงและทานองเสียงใน

ประโยค เสียงที่เปน็ ปัญหาสาหรบั ผ้เู รยี น

HS 722 302 การวเิ คราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ 3 (3-0-6)

Analying German Language in the Aspects of Linguistics

เง่อื นไขของรายวิชา: HS 721 104# หรือ HS 721 102#

ประวัติภาษาเยอรมันโดยสังเขป สัทศาสตร์ สัทวิทยา วจีวิภาค วากยสัมพันธ์

อรรถศาสตร์ และวจั นปฏิบตั ิศาสตร์

HS 723 303 วากยสัมพนั ธ์เยอรมนั 3 (3-0-6)

German Syntax

เงื่อนไขของรายวชิ า: HS 722 108#

วากยสัมพันธ์ขั้นแนะนา ชนิดของคา โครงสร้างประโยค ชนิดประโยค และการวิเคราะห์

ประโยค

HS 724 304 สานวนโวหารเยอรมันในมุมมองทางภาษาศาสตร์ 3 (3-0-6)

German Phraseology in the Aspect of Linguistics

เงอื่ นไขของรายวิชา: HS 722 108#

ความสาคัญของสานวนโวหารและการเรียนภาษา การวิเคราะห์สานวนโวหาร การแปล

สานวนโวหารและการเทยี บเคียง การเปรียบเทียบสานวนโวหารไทย-เยอรมัน

HS 724 305 คาในภาษาเยอรมนั และความหมาย 3 (3-0-6)

Words in German and Meanings

เงือ่ นไขของรายวิชา: HS 722 108#

คาและความหมายเพื่อการเรียนภาษา การวิเคราะห์คาและความหมาย คาและ

ความหมายในการแปลและการเทยี บเคียง

192

HS 724 306 ภาษาศาสตรแ์ ละการสอนภาษาเยอรมนั ในฐานะภาษาตา่ งประเทศ 3 (3-0-6)
HS 724 307
Linguistics and Teaching German Language as a Foreign Language

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 722 108#

บทบาทของภาษาศาสตร์เพ่ือการสอนภาษาเยอรมนั ในฐานะภาษาต่างประเทศ แนวการ

สอน ปญั หาในการสอนและการเรยี นภาษาเยอรมนั

ภาษาเยอรมนั ในฐานะภาษาตา่ งประเทศและการทดสอบ 3 (3-0-6)

German as a Foreign Language and Testing

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

การประยุกต์ใช้ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ในการทดสอบความรู้ภาษาเยอรมันเพ่ือ

ศึกษาต่อระดบั บัณฑติ ศกึ ษาและระดบั ทีส่ งู ข้ึน

หมวดวชิ าวรรณคดแี ละอารยธรรมสาขาวชิ าเอกภาษาเยอรมัน

HS 724 501 งานรอ้ ยแก้วเยอรมนั 3 (3-0-6)

German Prose

เงอื่ นไขของรายวิชา: HS 722 108#

งานร้อยแก้วภาษาเยอรมันที่สาคัญตั้งแต่หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 1 ถึงสิ้นสุดสงครามโลก

คร้งั ท่ี 2 และตัง้ แต่การรวมประเทศเยอรมนั จนถงึ ปัจจบุ นั

HS 724 502 วรรณคดเี ยอรมันรว่ มสมัย 3 (3-0-6)

German Contemporary Literature

เง่อื นไขของรายวิชา: HS 722 108#

วรรณคดีของเยอรมนั ตะวนั ตก และเยอรมนั ตะวนั ออกที่สาคัญ ๆ ตั้งแต่หลังสงครามโลก

คร้ังท่ี 2 จนถึงการรวมประเทศเยอรมัน วรรณคดีเยอรมันหลังจากการรวมประเทศจนถึง

ปจั จุบัน

HS 724 503 วรรณคดีเยอรมนั ยคุ ดงั้ เดิม 3 (3-0-6)

German Literature of the Classical Period

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

รูปแบบของวรรณคดี ยคุ คลาสสิค แนวคดิ นักประพนั ธเ์ อกแห่งยคุ คลาสสคิ

หมวดวชิ าสมั มนา ฝึกงาน สหกจิ ศึกษาสาขาวิชาเอกภาษาเยอรมนั

HS 723 796 การฝกึ งานในภาษาเยอรมนั 3 (0-6-3)

Practicum in German (ไม่นับหนว่ ยกติ )

เงื่อนไขของรายวิชา: HS 722 108#

การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานท่ีกาหนดไม่น้อยกว่า 320 ช่ัวโมง เขียนและนาเสนอรายงาน

การฝกึ งาน

193

HS 724 761 สัมมนาทางภาษาเยอรมัน 3 (3-0-6)
HS 724 785
Seminar in German

เงอื่ นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

การค้นคว้า การอภิปราย และการเขียนรายงานในหัวข้อเรื่องการเรียนการสอน

ภาษาเยอรมัน บทบาทและความสาคัญของภาษาเยอรมันเพ่ือการสื่อสารระดับโลก หลักสูตร

ภาษาเยอรมันในกล่มุ ประเทศลุ่มนา้ โขงและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาษาเยอรมนั เชิงวชิ าการ

สหกจิ ศกึ ษา 6 หน่วยกิต

Cooperative Education

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ผ่านการอบรมเตรยี มความพร้อมก่อนออกปฏิบตั ิสหกิจศกึ ษา

การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานตามความเหน็ ชอบของหลักสตู รภาษาเยอรมัน ท่ีเกี่ยวข้องกับ

สาขาวิชาภาษาเยอรมันเพื่ออาชีพ รวมถึงการเขียนรายงาน

หมวดวิชาเฉพาะทาง และวิจยั สาขาวิชาเอกภาษาเยอรมัน

HS 722 801 ภาษาเยอรมันสาหรบั ธรุ กิจการบริการ 3 (3-0-6)

German for Business Service Sector

เง่ือนไขของรายวิชา: HS 722 107#

ภาษาเยอรมนั ในการตอ้ นรบั ลกู ค้า การแนะนาบริษัท การอธบิ ายโครงสรา้ งบรษิ ทั และ

หนา้ ที่ของบุคลากร การดแู ลลกู คา้ และการสนทนาทางโทรศัพท์

HS 723 802 ประเทศเยอรมนีในปัจจุบนั 3 (3-0-6)

Germany Today

เงื่อนไขของรายวชิ า: HS 722 108#

ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์เยอรมันโดยสังเขป เศรษฐกิจและการประกันสังคม

การศึกษา ลกั ษณะทว่ั ไปของชาวเยอรมนั เทศกาลทสี่ าคญั

HS 723 805 ภาษาเยอรมนั สาหรบั การส่ือสารทางธรุ กิจ 3 (3-0-6)

German for Business Communication

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

ภาษาเยอรมนั ท่ใี ช้ในการส่ือสารทางธรุ กิจ เกยี่ วกบั การจดั ประชมุ เอกสารธุรกิจ และการ

สมัครงาน

HS 723 806 การสนทนาภาษาเยอรมันในบริบททางธุรกิจ 3 (3-0-6)

German Conversation in Business Context

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

การสนทนาภาษาเยอรมันในเชิงธุรกิจเก่ียวกับกาไรและผลประกอบการ ผู้ถือหุ้นและ

การลงทุน ผลกระทบของสภาพเศรษฐกิจ การแก้ปญั หาในเชงิ ธุรกจิ และแผนธุรกิจ


Click to View FlipBook Version