The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Huso KKU PR, 2020-07-13 02:52:10

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

คู่มือนักศึกษา ปี 2563_merged

194

HS 723 807 ภาษาเยอรมันเพ่อื การทอ่ งเทีย่ วในอีสาน 3 (3-0-6)
HS 723 808
HS 724 803 German for Tourism in Isan
HS 724 804
HS 724 809 เง่ือนไขของรายวชิ า: HS 722 108#
HS 724 810
ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์อีสาน ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สถาปัตยกรรม

จิตรกรรม ประติมากรรมและหัตถกรรม คีตศิลป์และนาฏศิลป์ กลุ่มชาติพันธ์ุ และแหล่ง

ท่องเที่ยวตา่ งๆท่ีเด่นๆ ในอสี าน

ภาษาเยอรมันเพอ่ื การบรกิ ารทางการแพทย์ 3 (3-0-6)

German for Medical Services

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

คาศัพท์และสานวนเฉพาะทเี่ ก่ียวข้องกับการบริการทางการแพทย์ การสอบถามอาการ

และการใหค้ าแนะนาผู้ป่วย ระบบขอ้ มูล ทักษะการส่อื สารในการให้บรกิ ารลูกคา้

การเขยี นภาษาเยอรมันเพ่อื การส่อื สารทางธรุ กิจ 3 (3-0-6)

German Writing for Business Communication

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 722 108#

การเขียนภาษาเยอรมัน ในหวั ข้อเก่ียวกับ การนาเสนอขายสินค้าและให้ขอ้ มลู ของบรษิ ทั

การสัง่ ซื้อ การขนส่งสินค้าทางเรอื การชาระเงนิ จดหมายการเตอื น จดหมายการร้องเรียน

ภาษาเยอรมันเพื่ออุตสาหกรรมและการลงทุน 3 (3-0-6)

German for Industry and Investment

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

การลงทุนของบริษัทเยอรมันในประเทศไทย การส่งออกและการนาเข้า ประเภทของ

อุตสาหกรรมและการลงทนุ รายงานประจาปีและผลกาไร การเจรจาการคา้ การจดทะเบยี น

การค้าและกฎหมายธรุ กิจ

ภาษาเยอรมันเพ่ือการนาเสนอทางธรุ กจิ 3 (3-0-6)

German for Business Presentations

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

การแนะนาองค์กรธุรกิจ แผนการตลาด ข้อมูลรายได้และผลกาไรประจาปี การ

นาเสนอสนิ คา้ การรับประกันสนิ ค้าและการบรกิ ารลกู คา้ แผนการอนาคต

ภาษาเยอรมนั เพือ่ การสอื่ สารในสถานทท่ี างาน 3 (3-0-6)

German for Communication in the Workplace

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

การสนทนาทางโทรศพั ท์ การบรกิ ารลูกค้าและการให้ขอ้ มลู จดหมายธรุ กจิ และบันทึก

ข้อความ การโฆษณาและการประชาสัมพนั ธ์ การประชุม การสมคั รงาน

195

HS 724 811 ภาษาเยอรมนั เพื่อการประชมุ ทางธรุ กิจ 3 (3-0-6)
HS 724 812
HS 724 813 German for Business Meetings
HS 724 814
HS 724 815 เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

การแนะนาผูเ้ ขา้ รว่ มประชุม การกลา่ วเปิดประชมุ การพจิ ารณาทบทวนการประชุมใน

คร้งั กอ่ นหน้าน้ี การแนะนาวาระการประชุม วาระสบื เนือ่ งและวาระเพือ่ พิจารณา การเสนอ

ความคิดเห็น การสรุป การกาหนดวันเวลาในการประชุมคร้งั ต่อไป การกล่าวปิด รายงาน

การประชมุ

ภาษาเยอรมนั เพ่ือเศรษฐกจิ และการคา้ 3 (3-0-6)

German for Economy and Commerce

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

บทความภาษาเยอรมนั เก่ียวกบั นโยบายทางด้านเศรษฐกิจและการคา้ ของกลุ่มประเทศท่ี

ใช้ภาษาเยอรมันและสหภาพยุโรป ข่าวภาษาเยอรมันเพื่อเศรษฐกจิ และการค้า ศัพท์เฉพาะ

ทางและ กรณศี กึ ษา

ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมนั เพื่อการเจรจาตอ่ รอง 3 (3-0-6)

German Language and Culture for Negotiation

เง่อื นไขของรายวิชา: HS 722 108#

ธรรมชาติของการเจรจาต่อรอง บทบาทของภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันเพ่ือการเจรจา

ต่อรอง การปรับปรุงการสื่อสารในการเจรจาต่อรอง จริยธรรมในการเจรจาต่อรอง

กรณีศกึ ษา

ภาษาเยอรมนั เพอื่ การเงนิ และการธนาคาร 3 (3-0-6)

German for Finance and Banking

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 722 108#

บทอ่านภาษาเยอรมันเกี่ยวกับ บทบาทของกระทรวงการคลัง ภาวะเงินฝืดและเงินเฟ้อ

ประเภทของธนาคารและบญั ชีเงนิ ฝาก การแลกเงนิ และอัตราแลกเปล่ียน การโอนเงนิ อัตรา

ดอกเบีย้ การให้สินเชือ่ และการให้กู้

ภาษาในหนังสือพิมพ์เยอรมนั 3 (3-0-6)

Language in German Newspapers

เงือ่ นไขของรายวิชา: HS 722 108#

ภาษาเยอรมันที่ใช้ในหนังสือพิมพ์เยอรมัน การพาดหัวข่าวและหัวข้อข่าว ข่าวส้ัน

ประจาวัน ข่าวทันโลก ข่าววพิ ากษ์ และบทความ

หมวดวชิ าวิชาทักษะทางภาษาฝรั่งเศส

HS 731 101 ภาษาฝรง่ั เศสพน้ื ฐาน 1 3 (3-0-6)

Fundamental French I

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

ทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาฝรั่งเศสในระดับพื้นฐาน ศัพท์สานวนและ

โครงสรา้ งไวยากรณเ์ พอื่ การส่ือสารในชวี ิตประจาวัน

196

HS 731 102 ภาษาฝร่ังเศสพนื้ ฐาน 2 3 (3-0-6)
HS 731 103
HS 731 104 Fundamental French II
HS 731 105
HS 731 106 เงื่อนไขของรายวิชา: HS 731 101#
HS 731 201
HS 731 202 ทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาฝร่ังเศสในระดับที่สูงขึ้น ศัพท์สานวนและ
HS 732 107
โครงสรา้ งไวยากรณเ์ พ่ือการสอื่ สารในชีวติ ประจาวนั

ภาษาฝร่งั เศสสาหรับผเู้ ริม่ เรียน 3 (3-0-6)

French for Beginners

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ศัพท์ สานวน และโครงสร้างไวยากรณ์ภาษาฝร่ังเศสพื้นฐาน สาหรับการสื่อสาร

ในชวี ิตประจาวัน

ภาษาฝรัง่ เศส 1 3 (3-0-6)

French I

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาฝรั่งเศสในระดับกลาง ศัพท์ สานวน

และโครงสรา้ งไวยากรณ์เพอ่ื การสื่อสารในชวี ิตประจาวัน

ภาษาฝรั่งเศสเพอื่ การสอ่ื สารในชีวติ ประจาวัน 3 (3-0-6)

French for Communication in Everyday Life

เงื่อนไขรายวิชา: HS 731 103#

ศัพท์ สานวน และโครงสร้างไวยากรณใ์ นระดบั ท่ีสงู ขน้ึ สาหรบั การส่ือสาร ใน

ชีวติ ประจาวนั

ภาษาฝรง่ั เศส 2 3 (3-0-6)

French II

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 731 104#

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาฝร่งั เศสระดับกลางขั้นสงู โดยเนน้ การ

ใชค้ าศัพทส์ านวนและโครงสร้างไวยากรณ์ทห่ี ลากหลายขึน้

การฟังและการพดู ภาษาฝร่งั เศส 1 3 (3-0-6)

French Listening and Speaking I

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ทักษะการฟังและการพดู เพื่อการส่อื สารในชีวติ ประจาวัน

การอา่ นภาษาฝรัง่ เศส 1 3 (3-0-6)

French Reading I

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

กลวิธกี ารอ่าน การฝึกอา่ นบทอา่ นคัดสรรขนาดสน้ั เพ่ือการจับประเด็นสาคญั

ภาษาฝรั่งเศส 3 3 (3-0-6)

French III

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 731 102# หรือ HS 731 105# หรือ HS 731 106#

การพัฒนาทักษะการ ฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาฝรั่งเศสในระดับ กลางข้ันสูง ศัพท์

สานวนและโครงสรา้ งไวยากรณ์เพื่อการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เกยี่ วกับสถานการณ์ปัจจบุ นั

197

HS 732 108 ภาษาฝร่ังเศส 4 3 (3-0-6)
HS 732 203
HS 732 204 French IV
HS 732 205
HS 733 109 เง่ือนไขของรายวชิ า: HS 732 107#
HS 733 110
HS 733 206 การพฒั นาทกั ษะการฟังการพูด อา่ นและเขียนภาษาฝรง่ั เศสในระดบั กลางขั้นสงู ขึ้น ศัพท์

สานวนและโครงสร้างไวยากรณเ์ พ่อื การอภปิ รายเกยี่ วกบั ประเด็นสาคัญ

การเขียนภาษาฝร่ังเศส 1 3 (3-0-6)

French Writing I

เงื่อนไขของรายวชิ า: HS 731 102# หรือ HS 731 105# หรอื HS 731 106#

การเขยี นขอ้ ความดว้ ยประโยคความเดยี ว ความรวม และความซ้อน โดยเน้นการใชศ้ ัพท์

สานวน โครงสร้างทีเ่ หมาะสม เพือ่ การสอื่ สารในชวี ติ ประจาวนั

การฟังและการพดู ภาษาฝรง่ั เศส 2 2 (1-2-2)

French for Listening and Speaking II

เง่อื นไขของรายวิชา: HS 731 102# หรือ HS 731 201

การสนทนาทางโทรศัพท์ การสนทนาเพื่อแลกเปล่ียนข่าวสาร การเล่าเรื่อง การแสดง

ความชื่นชม การแสดงความยนิ ดีและเสยี ใจ การพูดถึงเหตกุ ารณใ์ นอดตี แผนการในอนาคต

และความปรารถนา

การอา่ นภาษาฝรั่งเศส 2 3 (3-0-6)

French Reading II

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 731 107# หรือ HS 731 202#

การอ่านและวิเคราะห์บทอ่านภาษาฝร่ังเศส การวิเคราะห์โครงสร้างของตัวบทประเภท

ต่างๆและเทคนิคการนาเสนอ

ภาษาฝร่งั เศส 5 3 (3-0-6)

French V

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 732 108#

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาฝร่ังเศสในระดับสูง ศัพท์ สานวนและ

โครงสร้างไวยากรณ์เพื่อการแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ เกีย่ วกับสถานการณป์ ัจจุบนั

ภาษาฝรั่งเศส 6 3 (3-0-6)

French VI

เงื่อนไขของรายวิชา: HS 733 109#

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาฝร่ังเศสในระดับสูง ศัพท์ สานวนและ

โครงสร้างไวยากรณเ์ พือ่ การอภิปรายเกย่ี วกบั ประเดน็ สาคญั

การเขยี นภาษาฝร่งั เศส 2 3 (3-0-6)

French Writing II

เงื่อนไขของรายวชิ า: HS 731 108# หรือ HS 732 203#

หลักการโครงสร้างองค์ประกอบและลกั ษณะของการเขียนยอ่ หน้า การย่อความและการ

เขยี นเรยี งความขนาดส้ัน การจัดลาดบั ความคิดและเรียบเรยี งเป็นภาษาเขียนทถี่ กู ต้อง

198

HS 733 207 การอภิปรายและนาเสนอภาษาฝรั่งเศส 3 (3-0-6)
HS 733 208
HS 734 111 French Discussion and Public Presentation
HS 734 209
เงื่อนไขของรายวชิ า: HS 732 108# หรือ HS 732 204#

ทักษะการฟังและการพดู เพ่ือการอภปิ รายเก่ียวกบั เหตุการณ์ปัจจบุ นั ประเดน็ ปัญหาทาง

สังคมเศรษฐกิจและการเมือง เทคนิคการนาเสนอในท่ีสาธารณะ การเตรียมบทพูดและสื่อ

ประกอบ

การเขียนภาษาฝรงั่ เศสเชิงสรา้ งสรรค์ 3 (3-0-6)

French Creative Writing

เงือ่ นไขของรายวชิ า: : HS 732108# หรือ HS 733 206#

คาศัพท์ สานวน โครงสรา้ งทางภาษา รปู แบบ และเทคนคิ การนาเสนอ เพื่อเขยี นโฆษณา

บทความ เร่ืองสน้ั บทละคร และบทกวี

ภาษาฝรัง่ เศส 7 3 (3-0-6)

French VII

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 733 110#

การพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาฝรั่งเศสในระดับขั้นสูง เพื่อการ

วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์ประเด็นปัญหาต่างๆ

การอา่ นและการเขยี นภาษาฝร่งั เศสเชิงวิชาการ 3 (3-0-6)

Academic French Reading and Writing

เง่ือนไขของรายวิชา: HS 732 108# หรือ HS 733 109#

เทคนิคการอ่านและเขียน การพัฒนาการใช้ศัพท์ สานวน โครงสร้างภาษาฝรั่งเศสเพื่อ

การอา่ นเชิงวิชาการและเขยี นงานทางวิชาการ

หมวดวิชาภาษาศาสตรแ์ ละภาษาศาสตรป์ ระยกุ ต์สาขาวิชาเอกภาษาฝรัง่ เศส

HS 732 301 ภาษาศาสตรฝ์ ร่งั เศสขน้ั แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to French Linguistics

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 731 105# หรือ HS 731 106#

ขอบเขตและทฤษฎีของภาษาศาสตร์ ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับสัทศาสตร์ สัทวิทยา ระบบ

หน่วยคา วากยสัมพันธ์ อรรถศาสตร์ และวจั นปฎิบตั ิศาสตร์

HS 733 302 สัทศาสตรแ์ ละสทั วทิ ยาฝรัง่ เศส 3 (3-0-6)

French Phonetics and Phonology

เงือ่ นไขของรายวิชา: HS 732 108#

ความรู้พ้นื ฐานเกย่ี วกบั สัทศาสตรแ์ ละสทั วิทยา อวยั วะในการออกเสยี ง การออกเสียงสระ

และพยัญชนะ และการถอดเสยี ง

HS 734 303 การวิเคราะหห์ นว่ ยคาและประโยคภาษาฝรั่งเศส 3 (3-0-6)

French Morphological and Syntactic Analysis

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 732 301#

การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของคาและโครงสร้างประโยคตามทฤษฎภี าษาศาสตร์

199

HS 734 401 การลา่ มภาษาฝร่ังเศส 3 (3-0-6)
HS 734 402
HS 734 403 French Interpretation

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 733 109#

ประวัติการล่าม ประเภทการล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการและทฤษฎีทางภาษา

สาหรับการล่าม การฝึกปฏิบัตลิ ่าม การวิเคราะห์ปัญหาและแกป้ ญั หา

การสอนภาษาฝร่งั เศสในฐานะภาษาตา่ งประเทศ 3 (3-0-6)

Teaching French as a Foreign Language

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 732 108#

แนวคิดและทฤษฎีการสอนภาษาฝร่ังเศสในฐานะภาษาต่างประเทศ สภาพปัญหาและ

การแก้ปัญหา

ภาษาฝร่ังเศสและการทดสอบ 3 (3-0-6)

French and Testing

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 732 108#

เทคนิคการเตรียมสอบข้อสอบมาตรฐานภาษาฝรั่งเศส เพื่อการศึกษาต่อหรือประกอบ

อาชพี

หมวดวิชาวรรณคดแี ละอารยธรรมสาขาวชิ าเอกภาษาฝรง่ั เศส

HS 733 501 วรรณคดฝี รง่ั เศสชน้ิ เอก 3 (3-0-6)

French Masterpieces

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 703 501#

การวิเคราะห์องค์ประกอบ ความสัมพันธ์กบั สังคมและลักษณะเด่นของวรรณคดีฝร่งั เศส

ชิ้นเอกคดั สรร

HS 734 502 กวีนพิ นธฝ์ รง่ั เศส 3 (3-0-6)

French Poetry

เงอื่ นไขของรายวิชา: HS 703 501#

ฉนั ทลกั ษณ์ในกวีนิพนธฝ์ รัง่ เศส การอ่านบทกวคี ดั สรรของกวีสาคญั การวเิ คราะหแ์ นวคดิ

และศิลปะการประพนั ธ์

HS 734 503 วรรณกรรมของกลุม่ ประเทศทีใ่ ชภ้ าษาฝร่งั เศส 3 (3-0-6)

French Literary Works of the Francophone Countries

เงือ่ นไขของรายวชิ า: HS 703 501#

การวิเคราะห์แก่นเร่ือง แนวคิดทางด้านสังคม การเมืองและวัฒนธรรมจากงานคัดสรร

ของนกั เขียนในกลุม่ ประเทศทใ่ี ช้ภาษาฝรง่ั เศส

HS 734 601 ฝรั่งเศสปจั จบุ นั 3 (3-0-6)

France Today

เงอื่ นไขของรายวชิ า: *HS 701 602# หรือ **HS 732 108#

สภาพทางภูมิศาสตร์สังคมและเศรษฐกิจการเมืองและการปกครอง การศึกษา

ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศฝร่งั เศสในสมัยปจั จบุ ัน

200

HS 734 602 สังคมและวฒั นธรรมเอเชียในวรรณกรรมฝรั่งเศส 3 (3-0-6)
HS 734 603
Asian Societies and Cultures in French Literature

เง่ือนไขของรายวชิ า: HS 703 501#

การวิเคราะห์สงั คมและวฒั นธรรมของชาตเิ อเชียในวรรณกรรมฝร่ังเศสคัดสรร

ความสมั พันธ์ฝร่งั เศส-ไทย

French-Thai Relations 3 (3-0-6)

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 732 108#
ความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝร่งั เศสกับประเทศไทย

ต้งั แตอ่ ดตี ถงึ ปัจจุบนั ไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝร่ังเศส

หมวดวชิ าสัมมนา ฝึกงาน สหกจิ ศึกษาสาขาวิชาเอกภาษาฝร่งั เศส

HS 733 796 การฝกึ งาน 3 (0-6-3)

Practicum (ไม่นับหนว่ ยกิต)

เงอื่ นไขของรายวชิ า: HS 732 108#

การฝกึ ปฏิบตั ิงานในหน่วยงานที่กาหนดไม่น้อยกว่า 320 ชวั่ โมง เขยี นและนาเสนอรายงาน

การฝึกงาน

HS 734 761 สัมมนาทางภาษาฝรง่ั เศส 3 (3-0-6)

Seminar in French

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 733 110#

การค้นคว้า การอภิปราย และการเขียนรายงานในหวั ข้อเร่ืองที่สนใจเกี่ยวกับประเด็นทางสังคม

เศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรม

HS 734 785 สหกิจศกึ ษา 6 หนว่ ยกติ

Cooperative Education

เง่ือนไขของรายวิชา: HS 734 111# และ ผ่านการอบรมเตรียมความ

พรอ้ มกอ่ นออกปฏบิ ตั ิสหกจิ ศึกษา

การฝึกปฏิบตั ิงานเสมอื นเป็นพนักงานเต็มเวลาในหน่วยงานภาครัฐหรอื สถานประกอบการ

เอกชนท่ีมคี วามร่วมมือกับมหาวทิ ยาลยั การเขยี นรายงาน และการนาเสนอผลการปฏิบตั งิ าน

หมวดวิชาเฉพาะทาง และวิจยั สาขาวชิ าเอกภาษาฝร่ังเศส

HS 733 801 ภาษาฝรงั่ เศสสาหรับงานเลขานุการ 3 (3-0-6)

French for Secretarial Work

เงอื่ นไขของรายวิชา: HS 732 108#

ศพั ท์สานวนและการใชภ้ าษาฝรง่ั เศสเกี่ยวกบั เลขานกุ ารและงานเลขานกุ าร การติดต่อทาง

โทรศัพท์ การจดบนั ทกึ การจดั ประชมุ การจดบันทกึ รายงานการประชมุ และการเขียนจดหมาย

201

HS 733 802 ภาษาฝรั่งเศสด้านงานบริการภาคพน้ื ดนิ ในธรุ กจิ การบนิ 3 (3-0-6)
HS 734 802
HS 734 803 French for Airline Ground Service

เงอื่ นไขของรายวชิ า: HS 732 108#

คาศัพท์ สานวน และการใช้ภาษาฝรงั่ เศสด้านงานบรกิ ารภาคพื้นดนิ ในธุรกิจการบนิ

ภาษาฝรั่งเศสเพอื่ การท่องเที่ยวในอนภุ ูมิภาคลุม่ น้าโขง 3 (3-0-6)

French for Tourism in the Mekong Sub-region

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 703 802#

ศัพท์ สานวน และการใช้ภาษาฝรั่งเศสเพ่ือการท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับ

ศลิ ปะ วัฒนธรรมและประเพณใี นอนภุ ูมิภาคล่มุ นา้ โขง

ภาษาฝรง่ั เศสเพ่อื ธรุ กิจ 3 (3-0-6)

French for Business

เง่ือนไขของรายวิชา: HS 733 110#

ศัพท์ สานวน และการใช้ภาษาฝรั่งเศสเกี่ยวกับโครงสรา้ งและบุคลากร

ในบริษัท ระบบและวิธีการในการดาเนินธุรกิจ ขอบข่ายของงานท่ีเกี่ยวข้อง

กบั การทาธุรกจิ

สาขาวิชาสงั คมศาสตร์

รายวชิ ากลางของสาขาวชิ าสงั คมศาสตร์

HS 401 201 โลกาภวิ ตั นก์ บั สังคมโลก 3 (3-0-6)

Globalization and World Society

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคิดเก่ียวกับโลกาภิวัตน์ด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รูปแบบของโลกาภิวัตน์ในสังคม

สมยั ใหม่ การพัฒนาสือ่ และการส่ือสารในยุคโลกาภิวัตน์ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

วัฒนธรรมในภาวะโลกาภิวตั น์

HS 401 501 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การพัฒนาสงั คม 3 (3-0-6)

Philosophy of Sufficiency Economy and Social

Development

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ความเป็นมาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดและยุทธศาสตร์การพัฒนาท่ี

เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับครัวเรือนและชุมชน การ

ประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยงานต่าง ๆ ในภาครัฐและภาคเศรษฐกิจทั้งในระดับสังคม

จุลภาคและมหภาค

202

HS 401 801 การพัฒนาในระยะเปลย่ี นผ่านทางเศรษฐกิจสงั คม 3 (3-0-6)
HS 402 101
HS 402 202 Development in Socio-economic Transition
HS 402 301
HS 402 302 เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี
HS 402 401
การเปลี่ยนผ่านทางเศรษฐกิจสังคมของประเทศกาลังพัฒนาในกระแสโลกาภิวัตน์

กระบวนการความเป็นท้องถิ่นในยุคโลกาภิวัตน์ การเปลี่ยนแปลงของสังคมเกษตรกรรม การ

เปลยี่ นผา่ นทางเศรษฐกิจ สังคม ของชนบทไทย

สงั คมศาสตรข์ นั้ แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Social Science

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ปรัชญาว่าด้วยความรู้และการแสวงหาความรู้ แนวคิดและความคิดทางสังคมศาสตร์

กลุ่มแนวคิดและทฤษฎีพ้ืนฐานทางด้านสังคมศาสตร์ การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎี

สังคมศาสตรเ์ พ่อื ทาความเขา้ ใจปรากฏการณ์ทางสงั คม และกรณีศกึ ษา

ประเดน็ ปัจจบุ ันทางสงั คมศาสตร์ 3 (3-0-6)

Current Issues in Social Sciences

เง่ือนไขของรายวชิ า : ไม่มี

ประเด็นปจั จบุ ันในสงั คมศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง ความสัมพันธ์ระหวา่ ง

ประเทศ แรงงานขา้ มชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วฒั นธรรมและชาตพิ นั ธ์ุ สง่ิ แวดล้อม และสอื่

การจดั ระเบยี บทางสังคม 3 (3-0-6)

Social Organization

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ความหมาย แนวคิด วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงขององค์การ แนวคิดองค์การ

หลักการพื้นฐานการจัดการองคก์ ารภาครัฐ เอกชน และองค์กรท่ีไม่แสวงผลกาไร การประยกุ ต์ใช้

แนวคดิ องคก์ ารกบั การแกป้ ญั หาการจัดการในโลกสมยั ใหม่ กรณีศึกษา

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 3 (3-0-6)

Natural Resources Environment and Management

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

แนวคิดและความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาและแนว

ทางการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มของไทยจากอดตี ถึงปจั จุบนั แนวทางการพัฒนา

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่เหมาะสมกับสภาพของประเทศไทย รวมทั้งการสร้าง

จิตสานึกของประชาชน

ระเบียบวธิ ีวิจยั พืน้ ฐานทางสังคมศาสตร์ 3 (3-0-6)

Basic Research Methodology in Social Sciences

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ความหมายและความสาคญั ของการวจิ ยั ปรชั ญาและแนวคิดพน้ื ฐานทางสังคมศาสตร์ของ

การแสวงหาความรู้โดยการวิจัย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ การต้ังคาถามการวิจัย การ

ทบทวนวรรณกรรม การเก็บขอ้ มลู การตรวจสอบขอ้ มูล การวเิ คราะหข์ อ้ มูล การอภิปรายผล การ

สรปุ ผลการวิจัย และการนาเสนอผลการวิจัย

203

หมวดวชิ าพื้นฐานของวชิ าเอก

HS 420 001 ความตระหนักร้ขู ้ามวัฒนธรรม 3 (3-0-6)

Cross-Cultural Literacy

เงอื่ นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

แนวคิดพหวุ ัฒนธรรมและแนวคิดและทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง โลกาภิวตั น์ในระดบั ชุมชน

และองค์กร ปรากฏการณ์ทางสังคมในชุมชนและในองค์กรท่ีสะท้อนความเป็นพหุ

วัฒนธรรม การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม เคร่ืองมือสาหรับทาความเข้าใจชุมชนและองค์กรใน

สังคม พหุวัฒนธรรม

หมวดวิชาสงั คมวิทยาและมานษุ ยวิทยา

HS 421 101 สังคมวิทยาข้ันแนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Sociology

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ความหมาย พฒั นาการของศาสตรส์ ังคมวิทยา วธิ ีการศกึ ษาปรากฏการณ์ทางสังคมมนุษย์

และ ส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม สังคมมนุษย์และการจัดระเบียบทางสังคม กลุ่มทางสังคม สถาบัน

ทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคมและปัญหาทางสังคม การเปล่ียนแปลงทางสังคมและ

วฒั นธรรม ความไมเ่ สมอภาคทางสังคม พฤติกรรมรว่ มและขบวนการทางสังคม

HS 421 102 มานุษยวิทยาวฒั นธรรมขนั้ แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Cultural Anthropology

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ความหมาย ขอบเขตของมานุษยวิทยา ระเบียบวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา วิวัฒนาการ

ของมนุษย์และเชื้อชาติ ทฤษฎีท่ีสาคัญทางมานุษยวิทยา สภาพแวดล้อมกับ การปรับตัวของ

มนุษย์ในสังคมท่ีมีวัฒนธรรมหลากหลายและขอบข่ายการศึกษาที่ เกี่ยวข้อง เช่น ระบบเศรษฐกิจ

ครอบครวั เครอื ญาติ การเมือง การปกครองและระบบศาสนาภายใตก้ ระแส โลกาภวิ ตั น์

HS 422 103 แนวคดิ และทฤษฎที างสังคมวทิ ยา 3 (3-0-6)

Sociological Concepts and Theories

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคิดและความคิดทางสังคมวิทยา ทฤษฎีโครงสร้างหน้าท่ี ทฤษฎีความขัดแย้ง ทฤษฎี

ปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลกั ษณ์ แนวคิดหลังทันสมัยนิยม และทฤษฎีเชิงวิพากษ์ ประเด็นถกเถียงใหมๆ่

เกีย่ วกบั ทฤษฎี และแนวโนม้ ของทฤษฎสี งั คมวทิ ยา

HS 422 104 ประชากรและสังคม 3 (3-0-6)

Population and Society

เง่อื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

แนวคิดและทฤษฎีการเติบโตของประชากร ทฤษฎีของการเปลี่ยนแปลงประชากรและการ

พัฒนาเศรษฐกิจ ตัวกาหนดการเติบโตของประชากร ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับมิติอ่ืนๆ

ไดแ้ ก่ เขตที่อย่อู าศัย ฐานะทางเศรษฐกจิ และเพศสภาพ ประเด็นดา้ นการเจรญิ พนั ธ์ุและการสมรส

การเจบ็ ป่วยและการตาย การเคล่ือนยา้ ยและการย้ายถน่ิ

204

HS 422 105 แนวคิดและทฤษฎที างมานุษยวทิ ยา 3 (3-0-6)
HS 422 106
HS 422 110 Anthropological Concepts and Theories
HS 423 107
HS 423 108 เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี
HS 423 109
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา

ทฤษฎมี านุษยวทิ ยาในปัจจบุ ัน ทฤษฎมี านุษยวิทยากบั ปรากฏการณท์ างสงั คม

ชาตพิ ันธ์วุ ิทยา 3 (3-0-6)

Ethnology

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคิดของชาติพันธ์ุวิทยา ทฤษฎีของความเป็นชาติพันธ์ุ ระเบียบวิธีวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์

ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างกลุ่มชาติพันธ์ุต่างๆ ปัญหาและแนวโน้มของการพัฒนากลุ่มชาติ

พนั ธ์ใุ นประเทศไทย

ภาษาอังกฤษสาหรบั สังคมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา 3 (3-0-6)

English for Sociology and Anthropology

เง่ือนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

การพัฒนาทักษะการฟัง การพดู การอา่ น และการเขียนภาษาองั กฤษ เพือ่ การเรยี น การ

ทาวจิ ยั และประกอบอาชพี ดา้ นสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยา

สงั คมวทิ ยาการสือ่ สาร 3 (3-0-6)

Sociology of Communication

เง่อื นไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคิดและทฤษฎสี ังคมวิทยาการส่ือสาร การสื่อสารระหว่างประเทศในระบบเศรษฐกิจ

การเมืองโลก บทบาทและผลกระทบของการตดิ ต่อสื่อสารในการพฒั นาเศรษฐกจิ การเมอื ง สงั คม

และวัฒนธรรมในประเทศกาลังพัฒนาและประชาคมโลก และการวิเคราะห์ปัญหาการ

ติดตอ่ ส่ือสารในการสังคมปจั จุบัน

สังคมวทิ ยาเศรษฐกจิ 3 (3-0-6)

Economic Sociology

เง่อื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

พรมแดนของศาสตร์สังคมวิทยาเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ แนวคดิ สงั คมวิทยาเศรษฐกิจ

คลาสสิคเก่ียวกับต้นกาเนิดและพัฒนาการของระบบทุนนิยม ผลสืบเน่ืองทางสังคมของระบบทุน

นิยม แนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจร่วมสมัยเก่ียวกับการทันสมัยและการพัฒนาโลกาภิวัตน์และ

ท้องถน่ิ นยิ ม วัฒนธรรมและการบรโิ ภค และทนุ ทางสังคม

สถติ ิพ้นื ฐานสาหรับการวิจยั ทางสงั คมศาสตร์ 3 (2-3-5)

Basic Statistics for Social Sciences Research

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

สถติ ิพรรณนาและสถิตอิ า้ งอิง การใช้สถิติสาหรบั หนง่ึ ตวั แปรสองตัวแปร ในการวจิ ยั ทาง

สังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความ

แตกต่างคา่ เฉล่ยี ความสมั พันธ์ และการแปลผลในการวเิ คราะห์ข้อมูล

205

HS 423 111 มานษุ ยวทิ ยาประยกุ ต์ 3 (3-0-6)
HS 423 112
HS 423 113 Applied Anthropology
HS 423 114
HS 423 115 เงื่อนไขของรายวชิ า : ไม่มี

ขอบข่ายและความหมายของมานุษยวิทยาประยุกต์ พัฒนาการของมานุษยวิทยาใน

สังคมไทยและสังคมโลก หลักการในการประยุกต์มานุษยวิทยา ในการทางานกับกลุ่มวัฒนธรรม

ต่างๆ กรณีศึกษาในประเทศไทยและประเทศอน่ื ๆ บทบาทของมานุษยวทิ ยาประยุกตใ์ นปัจจบุ นั

มานษุ ยวิทยากบั การพัฒนาและการแกป้ ญั หาสังคม

สังคมวทิ ยาชนบท 3 (3-0-6)

Rural Sociology

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

เนื้อหาสาระของสังคมวิทยาชนบท และการศึกษาสังคมชนบท แนวคิดและทฤษฎี ในการ

วเิ คราะหส์ ังคมชนบท การต้งั ถนิ่ ฐานและการประกอบอาชพี ลักษณะประชากรและวิถีชีวิต การ

จัดระเบียบทางสังคมของสังคมชนบท การเปลี่ยนแปลง และการวิเคราะห์ การเปล่ียนแปลงของ

สังคมชนบท ปัญหาชนบท และการวเิ คราะห์ปญั หาชนบท ชนบทในยุคโลกาภวิ ตั น์

สังคมวิทยาเมือง 3 (3-0-6)

Urban Sociology

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

สภาพการทาให้เป็นเมือง การวิเคราะห์โครงสรา้ งหน้าท่ีของเมือง รูปแบบความสัมพนั ธ์

การเปลีย่ นแปลง ปัญหาที่เกิดขน้ึ ในสงั คมเมือง

จติ วิทยาสังคม 3 (3-0-6)

Social Psychology

เง่ือนไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ความหมาย ขอบข่ายและวิธีการศกึ ษาของจิตวิทยาสงั คม การรับรู้เก่ยี วกับปจั เจกบคุ คล

และกลุ่ม ปฏิสัมพันธ์ในกลุ่ม ทัศนคติ บรรทัดฐานทางสังคมและ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคล

ตัวตนและเอกลักษณ์ ทางสังคม ความรักและ ความก้าวร้าว ความขัดแย้งและแนวทางยุติความ

ขัดแยง้

สังคมวทิ ยาการเมอื ง 3 (3-0-6)

Political Sociology

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไม่มี

ความหมาย ขอบเขต และกาเนิดของสังคมวิทยาการเมือง ประเด็นหลักและแนวทาง

การศึกษาสังคมวิทยาการเมืองความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม สถาบันทาง

สังคมอ่ืนๆ และพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนในกระบวนการทางการเมือง การวิเคราะห์

โครงสร้างทางอานาจ และบทบาทของกลุ่มอานาจต่างๆในสังคม พินิจศึกษาวัฒนธรรมทาง

การเมือง การขัดเกลาทางการเมือง ภาวะผู้นาทางการเมือง ระบอบประชาธิปไตย และการ

เปลี่ยนแปลงทางการเมอื ง

206

HS 423 117 สังคมวทิ ยาว่าดว้ ยเพศวถิ ี 3 (3-0-6)
HS 423 119
HS 423 120 Sociology of Sexuality
HS 423 121
HS 424 116 เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไม่มี
HS 424 118
ความรู้ ความเข้าใจและทัศนคตทิ ี่เกยี่ วข้องกับเรอ่ื งเพศ เพศภาวะพฤติกรรมทางเพศของ

มนุษย์ แนวคิดเก่ียวกับ ร่างกายและตัวตนของผู้หญิง เพศสัมพันธ์ในบริบทของสังคม วัฒนธรรม

และอานาจ ปัญหาทางเพศและการใหก้ ารปรึกษาปญั หาเพศในสงั คมปัจจุบัน

มานุษยวทิ ยาเรอื นร่าง 3 (3-0-6)

Anthropology of the Body

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

การสารวจความคิดเกี่ยวกับเรือนร่างของมนุษย์ และการวิพากษ์ความรู้ วาทกรรม และ

มายาคติท่ีเก่ียวเน่ืองกับเรือนร่างของมนุษย์ในแง่มุมทางมานุษยวิทยาและศาสตร์แขนงต่างๆ ท่ี

เกย่ี วขอ้ ง

มานษุ ยวทิ ยาสอ่ื 3 (3-0-6)

Anthropology of the Media

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

การสารวจและวิพากษ์ส่ือในเชิงมานุษยวิทยา ตลอดจนพิจารณาอิทธิพลของส่ือมวลชน

และส่อื รปู แบบใหมท่ ีม่ ตี อ่ ผ้คู นและวัฒนธรรมในสังคมร่วมสมยั

การเปลย่ี นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม 3 (3-0-6)

Socio-Cultural Change

เง่ือนไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคิดระเบียบวิธีวิจัย และทฤษฎีการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม โดยเน้นถึง

โครงสร้างทางสังคม และระบบคณุ คา่ ของสงั คม ที่เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว

สงั คมวทิ ยาสุขภาพ 3 (3-0-6)

Health Sociology

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคิดและทฤษฎที างสงั คมวทิ ยาและศาสตรอ์ ่ืน ๆ ที่ เกีย่ วกบั สขุ ภาพ โรคบทบาทผปู้ ่วย

อาชพี ที่เกยี่ วกับการดูแลสุขภาพ และองคก์ ารการให้บริการสขุ ภาพในชมุ ชน

ชายแดนศกึ ษา 3 (3-0-6)

Border Studies

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

ความหมาย ลักษณะ และความสาคัญของชายแดน พัฒนาการของการศึกษาชายแดน

ความสาคัญของการศึกษาชายแดน การเคล่ือนย้ายข้ามเขตแดน ชาติพันธุ์ธารงและชาตินิยมใน

พื้นที่ชายแดน วัฒนธรรมและอตั ลกั ษณข์ องคนในพ้ืนทช่ี ายแดน กจิ กรรมทางเศรษฐกิจในชายแดน

และปญั หาในพ้ืนทีช่ ายแดน

207

หมวดวชิ าพลวัตทางสังคมและวฒั นธรรม

HS 423 201 วฒั นธรรมศกึ ษา 3 (3-0-6)

Cultural Studies

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ประวัติความเป็นมา มโนทศั น์ แนวคิด ระเบยี บวิธวี จิ ัย และทฤษฎีหลักในวฒั นธรรมศกึ ษา

วฒั นธรรมและอดุ มการณ์ วัฒนธรรม ความหมาย และความรู้ ทฤษฎกี ารเปล่ียนแปลงทางสงั คม

และ วฒั นธรรม โดยเน้นถึงระบบคณุ คา่ ของสงั คมทีเ่ ปลี่ยนแปลง

อยา่ งรวดเรว็

HS 423 206 ลุ่มน้าโขงศกึ ษา 3 (3-0-6)

Mekong Studies

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

ลักษณะทางภูมินิเวศน์ พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ความหลากหลายของเชื้อชาติและ

วฒั นธรรมของประเทศในอนุภาคลุ่มนา้ โขง ความร่วมมือและ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมเศรษฐกิจ

การเมืองการปกครอง สภาพและความสาคัญปัจจุบันของกลุ่มประเทศลุ่มน้าโขงในบริบทของ

ภมู ภิ าคนิยม และโลกาภิวตั น์

HS 423 207 เพศภาวะ วัฒนธรรมและสังคม 3 (3-0-6)

Gender Culture and Society

เง่อื นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความหมายและขอบเขตของเพศภาวะและเพศทางชีวภาพ ปัจจัยและเงื่อนไขท่ีส่งผลต่อ

บทบาททางเพศและความสัมพันธ์หญิง-ชาย บทบาททางเพศกับการขัดเกลาทางสังคม แนวคิด

และการวิเคราะห์เพศภาวะ บทบาทหญิง-ชายในสังคมมิติต่างๆ การพัฒนาสตรีและการส่งเสริม

บทบาทหญงิ -ชายในสังคมไทย

HS 424 202 หลกั การวเิ คราะห์ชมุ ชน 3 (2-3-5)

Principles of Community Analysis

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความหมายและการวิเคราะห์ชุมชน หลักการและวิธีการศึกษาชุมชน และทฤษฎีต่างๆ

เกย่ี วกบั ชมุ ชนเพ่ือการวางแผนชุมชน การเตรยี มชมุ ชน การกระทาชุมชน และการพฒั นาชมุ ชน

HS 424 203 การย้ายถ่ินและการทาใหเ้ ป็นเมือง 3 (3-0-6)

Migration and Urbanization

เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี

ทฤษฎีและประเภทของการย้ายถิ่น การวัดการย้ายถิ่น การย้ายถ่ินของประชากรบาง

ประเทศโดยเฉพาะประเทศไทย ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการย้ายถิ่น และผลกระทบของการย้ายถิ่น

การทาใหเ้ ป็นเมืองในประเทศ กระบวนการเจรญิ เตบิ โตของเมือง ความสมั พันธ์ระหว่างการย้ายถิ่น

กบั การทาให้เป็นเมือง

208

HS 424 204 แรงงานกบั สังคม 3 (3-0-6)
HS 424 205
Labour and Society

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับแรงงาน การเคล่ือนย้ายและการย้ายถ่ินของแรงงานใน

ภาคอุตสาหกรรมและผลกระทบ แรงงานนอกระบบและผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ระดับ

ครอบครวั และชุมชน ผลกระทบนโยบายดา้ นเศรษฐกจิ และสังคมทีม่ ตี อ่ แรงงาน

ขบวนการสังคมและประชาสังคม 3 (3-0-6)

Social Movement and Civil Society

เง่ือนไขของรายวชิ า : ไม่มี

ความหมาย พฒั นาการ และความเช่ือมโยงของขบวนการสงั คมและประชาสังคม แนวคิด

และทฤษฎีเก่ียวกับขบวนการสังคม แนวคิดและการวิเคราะห์ประชาสังคม แนวคิดและการ

เคล่ือนไหวของประชาสังคมไทย ประชาสงั คมกับการจดั การความขดั แยง้ แนวโนม้ ขบวนการสังคม

และประชาสงั คมไทย

หมวดวิชาการพฒั นาทรัพยากรมนุษยแ์ ละองคก์ ร

HS 423 301 การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ 3 (3-0-6)

Human Resource Development

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ความเป็นมนุษย์และชีวิตในทัศนะทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์และ

มนุษยศาสตร์ แนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่าง

ทรัพยากรมนุษย์กับองค์กรและชุมชน การวิเคราะห์และการวางแผนการพัฒนาทรัพยากร

มนุษย์ และการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

การศกึ ษานอกสถานที่

HS 423 302 สงั คมวทิ ยาองค์กร 3 (3-0-6)

Organization Sociology

เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวความคิดและทฤษฎเี ก่ยี วกบั สังคมวทิ ยาองค์กร รูปแบบและบทบาทขององค์กร

ในสังคม สมัยใหม่และหลังสมัยใหม่ การวิเคราะหอ์ งคก์ รและความสมั พันธ์ระหวา่ งองคก์ ร

การเปล่ยี นแปลง และการพัฒนาองคก์ ร

HS 423 304 องค์การระหวา่ งประเทศกบั การพัฒนา 3 (3-0-6)

International Organization and Development

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างประเทศ บทบาทของ องค์กร

ระหวา่ งประเทศ และความร่วมมอื ระดับภมู ิภาคในการพัฒนา บรรษัทขา้ มชาตใิ นระบบทุน

นิยมโลก องคก์ รพฒั นาเอกชนขบวนการทางสังคมและเครือขา่ ยภาคประชาชนในการพัฒนา

ระหว่างประเทศ การวิเคราะห์ปัญหาความขัดแย้งและแนวทางแก้ไขในการพัฒนาระหว่าง

ประเทศ

209

HS 424 303 สังคมวิทยาการพัฒนา 3 (3-0-6)

Development Sociology

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคิดสังคมวิทยาการพัฒนา ความหมาย กระบวนการ และผลกระทบของ

การพัฒนาต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมตามธรรมชาติ สถานการณ์การพัฒนา และประเด็น

ปัญหาการพัฒนาในภูมิภาคต่างๆ ของโลก วิธีการศึกษาและการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ

ของประเดน็ เฉพาะทางสงั คมวทิ ยาการพฒั นา

หมวดวิชาวิจยั ทางสังคมวิทยาและมานษุ ยวิทยา

. HS 422 401 ระเบยี บวิธวี จิ ยั ขนั้ แนะนาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 3 (2-3-5)

Introduction to Research Methodology in Sociological and

Anthropological

เง่ือนไขของรายวิชา : ไม่มี

วิธีการค้นคว้าหาความรู้ หลักการวิจยั ทางสังคมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา ความสาคญั ของ

ปัญหาวิจัยและการพัฒนากรอบแนวความคิด บทบาทของแนวคิดและทฤษฎีในการวิจัย การ

ออกแบบการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัยและ

จรยิ ธรรมของการวิจยั

HS 423 402 ระเบยี บวิธีวิจยั เชงิ ปริมาณ 3 (2-3-5)

Qualitative Research Methodology

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคิดเก่ียวกับการวิจัยเชิงปริมาณ การกาหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย การพัฒนา

กรอบแนวคิดในการวิจัย การออกแบบการวิจัย สมมติฐานการวิจัย ประชากรและการส่มุ ตวั อยา่ ง

การวัดตัวแปร การพัฒนาแบบสัมภาษณ์ การจัดกระทากับข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการ

เขยี นรายงานการวิจยั

HS 423 403 ระเบยี บวธิ ีวิจยั เชิงคณุ ภาพ 3 (2-3-5)

Qualitative Research Methodology

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไม่มี

ฐานคดิ ในการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม การประยกุ ต์ใช้การวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ ลกั ษณะ

การวิจัยและข้อมูลเชิงคุณภาพ แนวคิดที่สาคัญ ขั้นตอน เทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการวิจัยเชิง

คุณภาพ

HS 423 404 เทคนคิ การจดั การขอ้ มลู วจิ ัย 3 (2-3-5)

Research Data Management Technique

เงือ่ นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

การประยุกต์ใช้โปรแกรมเพื่อสืบค้นข้อมูล เทคนิคการจัดการข้อมูล การใช้โปรแกรม

สาเร็จรปู สาหรับการวิเคราะห์ข้อมลู ในการวิจัยเชิงปรมิ าณ และเชิงคุณภาพด้านสังคมวิทยาและ

มานษุ ยวิทยา

210

HS 423 405 การสารวจมตมิ หาชน 3 (2-3-5)
HS 424 405
Public Opinion Survey

เงือ่ นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

การสารวจมติมหาชนกับสังคม การใช้ส่ือกับการสารวจมติมหาชน เทคนิคการสุ่ม

ตัวอย่าง การสร้างคาถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลความหมาย การ

รายงานผลการ สารวจและการนาผลการสารวจไปใช้ในสังคม กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ

สารวจมตมิ หาชน

การวจิ ยั เชงิ ประเมินผล 3 (2-3-5)

Evaluation Research

เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคิดพื้นฐานเกีย่ วกับการวิจัยประเมินผล การเขียนโครงการ การประเมนิ ผลโครงการ

รปู แบบการประเมินผลโครงการ ขอ้ มูลเพื่อการประเมิน การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การเขยี นรายงาน

โครงการประเมินผล การเผยแพร่ข่าวสารการประเมินผล และจรรยาบรรณของนักวิจัย

ประเมินผล

หมวดวชิ าพ้ืนฐานของวชิ าเอก

HS 430 001 การเรยี นร้โู ดยการใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน 3 (3-0-6)

Community-Based Learning

เง่ือนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคิด วิธีการเรียนรจู้ ากชุมชน วิธีการปรับตวั และการเข้าหาชุมชน การจัดกระบวนการ

ชุมชนเพ่ือการเรียนรู้ การเข้าร่วมใช้ชีวิตในชุมชนเพ่ือศึกษาเรียนรู้ การดาเนินชีวิต การทา

กจิ กรรม ปัญหา และวธิ กี ารแกป้ ญั หา

หมวดวิชาแนวคิด ทฤษฎเี พอื่ การพฒั นา

HS 433 501 แนวคิดและกระบวนการพัฒนาชุมชน 3 (2-1-6)

Concepts and Process of Community Development

เงอื่ นไขของรายวิชา : ไม่มี

ปรัชญา ขอบเขต ความหมายของการพัฒนา แนวคิดเชิงวิพากษ์และทฤษฎีการพัฒนา

กระแสหลกั ทฤษฎีการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพฒั นาที่เก่ียวข้องกับความยากจนของประชาสงั คม

การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและความอยดู่ มี สี ุข

211

หมวดวิชาวจิ ยั เพ่ือการพฒั นา

HS 433 601 การวิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 3 (2-1-6)

Participatory Action Research

เง่ือนไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ความหมาย แนวคดิ การต้งั หวั ข้อวจิ ยั คาถามการวจิ ยั วตั ถุประสงค์ กรอบแนวคดิ การวิจัย

กระบวนการวิจยั บทบาทผู้มีส่วนร่วม เทคนิคการวิจยั ระเบียบวธิ วี ิจัย และกรณศี ึกษา

HS 433 602 การวิจัยเชิงปรมิ าณและการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพเพอื่ การพัฒนา 3 (2-1-6)

Quantitative Research and Qualitative Research for Development

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความสาคัญของปัญหาการวิจัย การกาหนดวัตถุประสงค์ คาถามการวิจัย กรอบแนวคิด

การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อการพัฒนาสังคม การเขียน

รายงานการวจิ ัย

หมวดวิชาสหกิจศกึ ษา ภาคสนามและสารนิพนธ์

HS 424 785 สหกจิ ศกึ ษาทางสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา 9 หนว่ ยกิต

Co-operative Education in Sociology and Anthropology

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : จะต้องผ่านการอบรมการเตรียมความพร้อมกอ่ นไปสหกจิ ศึกษา ทีค่ ณะ

มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตรห์ รอื มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ จดั การอบรม

การปฏิบัติงานท่ี เก่ียวข้องกับอาชีพนักสังคมวิทยา ในหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนโดย

ไดร้ บั ความเห็นชอบจากภาควิชา

HS 434 785 สหกจิ ศกึ ษาทางพัฒนาสงั คม 9 หนว่ ยกิต

Cooperative Education in Social Deveopmet

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ผ่านการอบรมเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นออกปฏบิ ัตสิ หกิจศกึ ษา

ปฏิบัติงานเต็มเวลาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคม ในองค์กรภาครัฐ องค์กรเอกชน และ

องค์กรพัฒนาภาคเอกชน หรือหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่ได้รับความเห็นชอบจากกรรมการบริหาร

หลกั สูตรการจดั การการพัฒนาสังคม เปน็ เวลาไม่นอ้ ยกวา่ 1 ภาคการศกึ ษา

หมวดวชิ าพฒั นาสงั คม

HS 433 801 สวัสดิการสังคมและสวสั ดกิ ารชุมชน 3 (2-1-6)

Social Welfare and Community Welfare

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบ รูปแบบ หลักการ ขอบเขตของสวัสดิการสังคม

ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับการสงั คมสงเคราะห์ แนวคิดเก่ียวกับสวัสดิการสงั คม งานสวัสดิการสังคม

ในประเทศต่าง ๆ องค์การสวัสดิการสังคม นโยบายสังคมและนโยบายสวัสดิการสังคม บริการ

ต่างๆ ที่รัฐบาลและเอกชนจัดข้ึน โครงการบริการสังคมสาหรับครอบครัว เด็ก เด็กกาพร้า

คนชรา คนพิการ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการและแรงงาน สวัสดิการชุมชนและแนวโน้มการ

จัดบรกิ ารสวสั ดกิ ารสงั คม

212

HS 433 802 ผ้ปู ระกอบการสังคม 3 (2-1-6)
HS 433 803
HS 433 804 Social Entrepreneur
HS 434 805
HS 434 806 เง่อื นไขของรายวิชา : ไมม่ ี
HS 434 807
หลักการ แนวคิด และองค์ประกอบของผู้ประกอบการสังคม การศึกษาภาคสนาม ด้าน

การจัดการพัฒนาสังคมและผู้ประกอบการสังคม กรณีศึกษาและการวิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วย

ทฤษฎีการพัฒนาสังคม

จติ สาธารณะและองค์กรภาคประชาสงั คม 3 (2-1-6)

Public Spirit and Civil Organization

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคิด ความหมาย องค์ประกอบ กระบวนการ และปัญหาของจติ สาธารณะและองค์กร

ภาคประชาสังคม กรณีศึกษาของการปฎิบัติท่ีดีในองค์การท่ีมีจิตสาธารณะ องค์การท่ีมีจิต

สาธารณะ คณุ ธรรมและจริยธรรมทางสังคม

การใชส้ ่ือเพอ่ื การพฒั นาสงั คม 3 (2-1-6)

Media Utilization for Social Development

เงื่อนไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคดิ เรอ่ื งสอ่ื เพ่อื การพฒั นา ทฤษฎกี ารส่อื สาร การใช้สอ่ื เพือ่ การพัฒนาสังคมขององค์กร

ต่าง ๆ

ความคดิ เชิงระบบกบั การพฒั นาสงั คม 3 (2-1-6)

System Thinking and Social Development

เงือ่ นไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคิดและความหมายของความคิดเชิงระบบ ตัวแบบของการจัดการและการวิเคราะห์

ความคิดเชิงระบบ ทฤษฎีไร้ระเบียบและความซับซ้อนของสังคม ตัวแบบประชาชนในธุรกิจ

ราชการและเอกชน

ธรรมาภบิ าลการพฒั นาสังคม 3 (2-1-6)

Good Governance in Social Development

เง่ือนไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคิด วิธีการ กระบวนการวางแผนการธรรมาภิบาลในการพัฒนาสังคม ความสัมพันธ์

ระหว่างการวางแผนพัฒนาระดับต่างๆ วิธีการและกระบวนการสาหรับธรรมมาภิบาลใน การ

พัฒนาสังคมของโครงการพัฒนาของภาครัฐและเอกชน การวิเคราะห์ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัย

เสีย่ งในการดาเนินโครงการพัฒนา การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการพฒั นา

ภาษาองั กฤษเพอ่ื การพฒั นาสงั คม 3 (2-1-6)

English for Social Development

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

การพฒั นาทกั ษะการฟัง พูด อ่านและเขยี นภาษาอังกฤษ เพือ่ ใหส้ ามารถสอ่ื สาร ใน

สถานการณต์ ่างๆ สาหรบั งานพฒั นาสงั คม

213

หมวดวชิ าชมุ ชน สงั คมไทย และภูมิภาค

HS 433 901 ชุมชนศกึ ษา 3 (2-1-6)

Community Study

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

ความรู้พื้นฐานและแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับชุมชนศึกษา ชุมชนเปรียบเทียบในอนุภูมิภาคลุ่ม

น้าโขง แนวทาง วิธีการและเครื่องมือในการศึกษาชมุ ชน การวเิ คราะหช์ ุมชน การจัดทารายงาน

และการใช้ประโยชนจ์ ากการศึกษาชมุ ชน

HS 433 902 กระบวนการเรียนรูแ้ ละการจดั การความรู้ในชมุ ชน 3 (2-1-6)

Learning Process and Knowledge Management in Community

เง่ือนไขของรายวิชา : ไมม่ ี

ความสาคัญ แนวคดิ ปรัชญา กระบวนการการเรยี นรู้ วิธกี าร ยทุ ธศาสตร์ บรรยากาศ และ

เทคนิค กระบวนการในการเสรมิ สร้างการเรียนรูเ้ พื่อการพฒั นาสงั คม แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ

ความรู้ การจัดการความรู้สาหรบั สังคมฐานความรู้และองค์การยคุ ใหม่ของ การจัดการความรู้

การจัดการความรู้และการบริหารองคก์ าร การถอดบทเรียน และชมุ ชนปฏิบัติ

HS 433 903 วิสาหกิจชมุ ชนและวสิ าหกจิ สงั คม 3 (2-1-6)

Community Enterprise and Social Enterprise

เง่อื นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความเป็นมา ความหมาย ปรัชญา แนวคิด เป้าหมาย ความสาคัญ ระดับ ประเภทของ

วิสาหกิจชุมชน การจัดการกล่มุ การจัดการด้านการผลิต การพัฒนาการผลิตและบรรจภุ ัณฑ์ การ

จัดการการตลาด การจัดการด้านการประชาสัมพันธ์ ปัจจัยส่งเสริมและปัจจยั จากัดในการจัดการ

วิสาหกิจชุมชน แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน รวมท้ังความเป็นมา ความหมาย

ประเภท ลักษณะสาคัญ การใช้แนวคิดกิจการเพ่ือสังคมในประเทศต่าง ๆ และประเทศไทย แนว

ทางการพัฒนาภาคส่วนกิจการเพ่อื สงั คมและปจั จัยความสาเรจ็

HS 433 904 การพฒั นาในประชาคมอาเซยี น 3 (2-1-6)

Development in ASEAN Community

เงอ่ื นไขของรายวิชา : ไม่มี

ความรู้พื้นฐานข้ันแนะนาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม

การเมอื งของประเทศในประชาคมอาเซยี น ประเดน็ ปจั จบุ ันของการพัฒนาในประชาคมอาเซยี น

HS 434 905 การกลายเป็นเมืองและการพัฒนาชมุ ชนเมอื ง 3 (2-1-6)

Urbanization and Urban Community Development

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

ความหมาย ขอบเขต แนวคิดและวัตถุประสงค์ของการพัฒนาชุมชนเมือง แนวคิดเก่ียวกับ

เมืองศึกษา องค์ความรู้เก่ียวกับการพัฒนาชุมชนเมือง รูปแบบ วิธีการ ปัญหา การแก้ไขปัญหา

ในการพฒั นาเมืองและการกลายเป็นเมอื ง การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื ของชมุ ชนเมอื ง

214

HS 434 906 การพฒั นาองค์กรชมุ ชนและเครือข่ายทางสงั คม 3 (2-1-6)

Community Organization and Social Network Development

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคิด รูปแบบ โครงสร้าง กระบวนการจัดการและกระบวนการพัฒนาองค์กรชุมชนและ

เครือข่ายทางสังคมท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนและสังคม บทบาท กิจกรรมการพัฒนา และ

ผลกระทบต่อการพัฒนาชุมชนและสังคม ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานขององค์กรชุมชนและ

เครือขา่ ยทางสังคม กรณีศึกษา

สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ

หมวดวิชาทกั ษะภาษาอังกฤษ

HS 111 001 การออกเสียงภาษาอังกฤษ 3 (2-2-5)

English Pronunciation

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

การออกเสียงภาษาอังกฤษ พยัญชนะ สระ การเน้นเสียงระดับคา การเน้นเสียงระดับ

ประโยค วจั นะต่อเน่อื ง ทานองเสยี ง จังหวะ

HS 111 002 การฟังและการพูดภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวนั 3 (2-2-5)

English Listening and Speaking in Everyday Life

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ทกั ษะการฟงั และพูดในชีวิตประจาวัน การทักทาย การอาลา การแนะนาตนเอง การเล่าเรือ่ ง

เกย่ี วกบั ตนเอง การนัดหมาย การขอโทษ การสอื่ สารทางโทรศพั ท์

HS 111 006 การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจ 3 (3-0-6)

English Reading Comprehension

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

การอ่านหลากหลาย การอ่านบันเทิงคดี การอ่านสารคดี การสร้างคาศัพท์ การอ่านเร็ว

กระบวนการอา่ น กลยุทธก์ ารอ่าน

HS 111 008 การเขียนภาษาองั กฤษระดบั ยอ่ หน้าและเรียงความ 3 (3-0-6)

English Paragraph and Essay Writing

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

การเขียนย่อหน้าและเรียงความ องค์ประกอบของย่อหน้าและเรียงความภาษาอังกฤษ

ประเภทของเรียงความ กระบวนการเขียน กลไกการเขียน โครงสร้างประโยค และประเภทของ

ขอ้ ผดิ พลาด

HS 111 009 การเขียนติดต่อทางสังคมและธุรกจิ 3 (3-0-6)

Social and Business Correspondence

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การเขียนติดต่อ คาศัพท์ สานวน รูปแบบ โครงสร้างประโยคสาหรับการเขียนเพ่ือตดิ ต่อทาง

สงั คมและธุรกิจ

215

HS 112 003 การอภิปรายภาษาองั กฤษเกีย่ วกับประเดน็ ปจั จุบนั 3 (2-2-5)
HS 112 004
HS 112 007 English Discussion on Current Issues
HS 113 005
HS 113 010 เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 111 002#

การอภิปรายเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจบุ ัน การวางแผน การโต้แย้ง การวิพากษ์ การแสดงความ
คิดเหน็ การสนับสนนุ ความเห็น การถก การเห็นดว้ ย การไม่เหน็ ด้วย

การฟังและจดบันทึกภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)

English Listening and Note-Taking

เงื่อนไขของรายวชิ า: HS 111 002#

ฝึกการฟงั เพอื่ ใจความหลักและรายละเอยี ดเฉพาะ จดบันทกึ สรปุ บันทึก นาเสนองานและเข้า

รว่ ม

การอ่านภาษาอังกฤษเชงิ วิชาการ 3 (3-0-6)

English Academic Reading

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 111 006#

การอ่านเนื้อหาเชิงวิชาการ กลยุทธ์การอ่าน การอ่านเร็ว การจับใจความหลกั การ

ยอ่ เน้ือหา การสงั เคราะหเ์ นื้อหา การอ่านเชิงวิพากษ์ คาศพั ท์เชิงวิชาการ

การพดู ภาษาองั กฤษในท่ีชมุ ชน 3 (2-2-5)

English Public Speaking

เงื่อนไขของรายวชิ า: HS 112 003#

หลักการพูดในท่ีชุมชน การวางแผนและเตรียมตัว การโน้มน้าว การพูดแบบ

บรรยายและพรรณนา การพดู ในพิธกี าร

การเขยี นภาษาองั กฤษข้นั สงู 3 (3-0-6)

Advanced English Writing

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 111 008#

การเขียนเรียงความเชิงสาธก องค์ประกอบของเรียงความเชิงสาธก ประเภท การถอด

ความ การสรุปความ และการอ้างอิง

หมวดวิชาภาษาศาสตร์

HS 111 101 ภาษาศาสตรภ์ าษาองั กฤษขัน้ แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to English Linguistics

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ทฤษฎีและขอบเขตของภาษาศาสตรภ์ าษาอังกฤษขั้นแนะนา สัทศาสตร์ สัทวทิ ยา

วิทยาหนว่ ยคา อรรถศาสตร์ และความสมั พันธข์ องภาษาศาสตรก์ บั ศาสตร์อน่ื ๆ

HS 111 102 สทั ศาสตรแ์ ละระบบเสียงภาษาองั กฤษ 3 (3-0-6)

English Phonetics and Phonology

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

เสยี งในภาษาพูด สรีรสัทศาสตร์ สัทอกั ษรลาหรบั การออกเสยี งภาษาอังกฤษ สัทสัมพันธ

ลกั ษณ์ ฝกึ การฟงั และการออกเสียง และการวิเคราะห์ระบบเสียง

216

HS 112 103 วทิ ยาหน่วยคาและวากยสมั พนั ธภ์ าษาองั กฤษ 3 (3-0-6)
HS 113 104
HS 113 105 English Morphology and Syntax
HS 113 106
HS 113 107 เงื่อนไขของรายวชิ า: HS 111 101#
HS 113 108
โครงสร้างคา กระบวนการสร้างคา ประเภทของคาทางไวยากรณ์ ประเภทและโครงสร้าง

ของวลี ส่วนประกอบหลักและส่วนขยายในประโยค การรวมประโยค และการวิเคราะห์ประโยค

ภาษาอังกฤษ

อรรถศาสตรแ์ ละวจั นปฏบิ ัตศิ าสตรภ์ าษาอังกฤษ 3 (3-0-6)

English Semantics and Pragmatics

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 111 101#

ประเภทของความหมาย ความสัมพันธ์ทางความหมายของคาและประโยค

ความหมายชบี้ ่งเปน็ นยั ในการสนทนา วจั นกรรม

ภาษาศาสตรส์ งั คม 3 (3-0-6)

Sociolinguistics

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ภาษาในแง่ที่เกี่ยวข้องกับสังคม อิทธิพลของสังคมท่ีมีต่อการใช้ภาษา ลักษณะการใช้

ภาษาในสงั คม และประเภทของภาษาในสงั คม

ภาษาศาสตร์จติ วิทยา 3 (3-0-6)

Psycholinguistics

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ปัจจัยในการพัฒนาภาษาและการเข้าใจภาษา การรับภาษาแรก การเรียนรู้ภาษาท่ีสอง

และความผิดปกติทางภาษา

การวเิ คราะหว์ าทกรรมขั้นแนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Discourse Analysis

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความรทู้ ั่วไปเก่ยี วกับวาทกรรม โครงสร้างวาทกรรมประเภทต่างๆ กลยทุ ธท์ างภาษาในวาท

กรรม และวาทกรรมวิเคราะห์เชงิ วิพากยข์ ั้นแนะนา

โครงสร้างภาษาองั กฤษ 3 (3-0-6)

English Structure

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ประเภทของคาภาษาอังกฤษทางไวยากรณ์ คุณลักษณะและชนิดของวลี อนุประโยค

และประโยค

217

หมวดวชิ าวรรณคดี

HS 111 201 วรรณกรรมภาษาองั กฤษขนั้ แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to English Literature

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

นิยามของวรรณกรรมภาษาอังกฤษ นวนิยาย เรื่องสั้น เรียงความ บทละครและงาน

รอ้ ยกรอง

HS 112 202 วรรณกรรมภาษาองั กฤษกับโลกปจั จุบัน 3 (3-0-6)

English Literature and Contemporary World

เง่อื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

วรรณกรรมภาษาองั กฤษท่สี ะทอ้ นสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ความเชอื่ ภาษา

ศิลปะ ส่ือ และการดาเนนิ ชวี ิตในโลกปัจจบุ นั

HS 112 203 งานรอ้ ยแก้วภาษาองั กฤษ 3 (3-0-6)

English Prose

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การอา่ นเรอ่ื งสนั้ และนยิ ายภาษาองั กฤษ และการอา่ นและวิเคราะห์วรรณกรรมรอ้ ยแก้ว

ท่เี ป็นภาษาองั กฤษ

HS 112 204 ทฤษฎีวรรณคดี 3 (3-0-6)

Literary Theories

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

ทฤษฎีวรรณคดีตา่ งๆ ทฤษฎวี รรณคดีและวรรณคดี ทฤษฎวี รรณคดีและศาสตร์อนื่ ๆ

HS 113 205 งานรอ้ ยกรองภาษาองั กฤษ 3 (3-0-6)

English Poetry

เง่อื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

องค์ประกอบหลักและประเภทของงานร้อยกรอง และการวิเคราะห์งานร้อยกรอง

ภาษาอังกฤษ

HS 113 206 สตรนี ิยมในวรรณกรรมภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)

Feminism in English Literature

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

แนวคิดสตรนี ยิ มในวรรณกรรมภาษาอังกฤษประเภทตา่ งๆ และพัฒนาการของแนวคิดสตรีนิยม

ในวรรณกรรมภาษาองั กฤษ

HS 113 207 ภาษาอังกฤษในกรีกปกรณัม 3 (3-0-6)

Greek Mythology

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ตัวละครและเหตุการณ์ท่ีสาคัญในกรีกปกรณัม ตัวละครและเหตุการณ์สาคัญที่เป็นท่ีมาของคา

และสานวนในภาษาอังกฤษ และอิทธิพลของกรีกปกรณัมท่ีมีต่อการใช้ภาษาและแนวคิดในวัฒนธรรม

ตะวนั ตก

218

HS 113 208 การละครภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)

English Drama

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

หลักการ พัฒนาการ และองค์ประกอบของการละครภาษาอังกฤษ การวิเคราะห์เน้ือหาของ

บทละคร และเทคนิคและเทคโนโลยที ่ีใช้ในการละคร

หมวดวิชาภาษาและวัฒนธรรม

HS 113 301 ภาษาอังกฤษและวฒั นธรรม 3 (3-0-6)

English Language and Culture

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาอังกฤษและวัฒนธรรม การส่ือสารด้วยวัจนภาษาและอวัจน

ภาษาในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ภาษาและเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และ

ประเด็นสาคัญในเหตุการณป์ จั จบุ ันท่เี กยี่ วข้องกบั วฒั นธรรมและการใชภ้ าษา

HS 113 302 นานาภาษาอังกฤษโลก 3 (3-0-6)

Global Englishes

เง่อื นไขของรายวิชา: ไม่มี

บริบททางประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพัฒนาการของภาษาอังกฤษ

ลกั ษณะทางภาษาของวธิ ภาษาองั กฤษในภมู ิภาคตา่ งๆ และบทบาทของภาษาอังกฤษในปจั จบุ ัน

HS 113 303 ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมประชานยิ ม 3 (3-0-6)

English in Popular Culture

เง่ือนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

วัฒนธรรมประชานิยม ชนิดต่างๆ วัฒนธรรมประชานิยมและสังคมสมัยใหม่ วัฒนธรรมประชา

นิยมและคตนิ ยิ ม

HS 113 304 ภาษาองั กฤษในการสอ่ื สารขา้ มวฒั นธรรม 3 (3-0-6)

English in Cross-Cultural Communication

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

การใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารข้ามวัฒนธรรม วิธีการส่ือในบริบทเฉพาะ การสื่อสาร

ด้วยอวจั นภาษาในบริบทประชาคมอาเซยี น

HS 113 305 ภาษาองั กฤษในการศกึ ษาพหวุ ัฒนธรรม 3 (3-0-6)

English in Multicultural Studies

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

รูปแบบภาษา คาศัพท์ สานวน การพูดและการเขียนเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมทางด้านอาหาร

เครือ่ งแตง่ กาย เทศกาล งานหัตถกรรม งานศลิ ปะ

219

หมวดวชิ าการแปลและการล่าม

HS 112 401 การแปลภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาไทย 3 (3-0-6)

English to Thai Translation

เง่อื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ทฤษฎีการแปล การแปลระดับคา วลี ประโยค ย่อหน้า การแปลงานเขียนร้อย
แก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
ลกั ษณะและปญั หาของการแปล และการแก้ไขขอ้ ผดิ

HS 112 402 การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)

Thai to English Translation

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ การแปลระดับคา วลี ประโยค

ย่อหน้า การแปลงานเขียนร้อยแก้วจากหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และส่ิงพิมพ์อ่ืนๆ จาก

ภาษาไทยเปน็ ภาษาองั กฤษ การแปลแบบตคี วาม ลักษณะและปญั หาของการแปล การแกไ้ ข

ข้อผดิ

HS 113 403 การแปลข่าวและสารคดี 3 (3-0-6)

News and Documentary Translation

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

การแปลขา่ วและสารคดีประเภทต่าง ๆ จากภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาไทยและจาก

ภาษาไทยเปน็ ภาษาองั กฤษ ความถกู ต้องและความเหมาะสมของภาษา

HS 113 404 การแปลเอกสารทางภาษาองั กฤษธุรกิจ 3 (3-0-6)

Translation of Business English Documents

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การแปลเอกสารทางธุรกจิ ชนดิ ตา่ งๆ ในดา้ นเศรษฐกิจ ธนาคาร การเงนิ และการตลาด

HS 113 405 การแปลงานวรรณกรรม 3 (3-0-6)

Literary Translation

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การแปลงานวรรณกรรม และเรื่องส้ัน จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและ จาก

ภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ความถกู ตอ้ ง ความเหมาะสมและความสละสลวยของภาษา

HS 113 406 การแปลงานโสตทศั น์ 3 (3-0-6)

Audiovisual Translation

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

การแปลบทภาพยนตร์ บทละคร และบทรายการโทรทัศนป์ ระเภทตา่ งๆ เพ่ือนาไปใช้ทา

บทบรรยายและบทพากย์ จากภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ

ความถูกตอ้ ง ความเหมาะสม และความสละสลวยของภาษา

220

HS 113 407 การแปลดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 (3-0-6)
HS 113 408
HS 113 409 Translation of Science and Technology

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การแปลผลงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และ

จากภาษาไทยเป็นภาษาองั กฤษ ความถูกตอ้ งและความเหมาะสมของภาษา

การแปลเชิงกฎหมาย 3 (3-0-6)

Translation of Legal Translation

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

การแปลงานเชิงกฎหมายจากเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับกฎหมายต่างๆ จากภาษาอังกฤษ

เปน็ ภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาองั กฤษ ความถูกต้องและความเหมาะสมของภาษา

การลา่ มข้นั แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Interpretation

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

หลักการ บทบาทและความรับผิดชอบของอาชีพล่าม เทคนิคการพูดในท่ีสาธารณะ

สาหรับล่าม การล่ามจากเอกสาร การจับใจความสาหรับล่ามพูด การล่ามพูดอย่างเป็นทางการ

และไม่เป็นทางการ การล่ามในท่ีประชุม จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษและจากอังกฤษเป็น

ภาษาไทย

หมวดวิชาการแปลและการลา่ ม

HS 113 501 วฒั นธรรมนานาชาตดิ า้ นธรุ กจิ 3 (3-0-6)

International Culture in Business

เง่อื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

หลักการการสือ่ สารธุรกิจในบริบทนานาชาติ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและมารยาท

ในการตดิ ตอ่ ทางธรุ กจิ กับนานาประเทศ การพัฒนาคาศพั ท์ สานวน และไวยากรณท์ ่ีเกยี่ วขอ้ ง

HS 113 502 การแปลทางธรุ กจิ 3 (3-0-6)

Business Translation

เงอื่ นไขของรายวิชา: HS 112 401#

ประวัติการแปล ทฤษฎีการแปล ลักษณะและปัญหาการแปลทางภาษาอังกฤษธุรกิจ

การฝึกแปลภาษาอังกฤษธุรกิจจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและจากภาษาไทยเป็น

ภาษาอังกฤษ การแกไ้ ข

HS 113 503 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอื่ สารทางธุรกจิ 3 (3-0-6)

English for Business Communication

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

หลักการการสื่อสารเพื่อติดต่อในบริบทธุรกิจการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารทาง

ธุรกจิ และการนาเสนอทางธุรกิจ

221

HS 113 504 การสนทนาในภาษาองั กฤษเชิงธรุ กิจ 3 (3-0-6)
HS 113 505
HS 113 506 Oral Conversation in Business English

HS 113 507 เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี
HS 113 508 การสนทนาเพื่อใช้ติดต่อทางสังคมในบริบทธุรกิจ คาศัพท์และสานวนในการติดต่อทาง
HS 113 509
HS 113 510 ธรุ กิจประเภทตา่ งๆ

การอา่ นและการเขียนรายงานภาษาองั กฤษธุรกจิ 3 (3-0-6)

Reading and Writing Reports in Business English

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

หลักการและกลยุทธ์ในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษในบริบทธุรกิจ คาศัพท์

สานวน และไวยากรณ์ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

โครงงานพิเศษทางภาษาองั กฤษธรุ กจิ 3 (1-4-4)

Special Project in Business English

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การพัฒนาความสามารถทางกระบวนการวิจัยทางธุรกิจ การค้นหา ตีความ วิเคราะห์

และประเมินสารสนเทศ เพ่ือหาข้อมูลในการแก้ปัญหา วางแผนการทางาน วิเคราะห์ข้อมูล

ดาเนนิ โครงการและการเขยี นรายงาน

ภาษาองั กฤษเพือ่ ธุรกิจการโรงแรม 3 (3-0-6)

English for Hotel Business

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สารในธรุ กจิ การโรงแรม คาศพั ท์ สานวน และไวยากรณ์

ภาษาองั กฤษเพ่ือธุรกิจการท่องเทยี่ ว 3 (3-0-6)

English for Tourism Business

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารในธุรกิจการท่องเท่ียว คาศัพท์ สานวน และ

ไวยากรณ์

ภาษาอังกฤษเพอื่ ธรุ กจิ สายการบิน 3 (3-0-6)

English for Aviation

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารในธรุ กิจสายการบนิ คาศัพท์ สานวน และไวยากรณ์

ภาษาองั กฤษเพ่ือธรุ กจิ การดูแลสุขภาพ 3 (3-0-6)

English for Health Care Business

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารในธุรกิจการดูแลสุขภาพ คาศัพท์ สานวน และ

ไวยากรณ์

222

HS 113 511 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การจดั การกิจกรรมทางธุรกจิ 3 (3-0-6)
HS 113 512
HS 113 513 English for Business Event Management
HS 113 514
HS 113 515 เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี
HS 113 516
HS 113 517 การใชภ้ าษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารในการจัดการจดั กจิ กรรมทางธุรกจิ คาศัพท์ สานวน

และไวยากรณ์

ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6)

English for Public Relations

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในการประชาสัมพันธ์ คาศัพท์ สานวน และ

ไวยากรณ์

ภาษาอังกฤษสาหรบั สื่อมวลชน 3 (3-0-6)

English for Mass Media

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารในงานด้านส่ือมวลชน คาศัพท์ สานวน และ

ไวยากรณ์

ภาษาอังกฤษสาหรบั เลขานกุ าร 3 (3-0-6)

English for Secretary

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การใชภ้ าษาองั กฤษเพอ่ื การสือ่ สารในงานเลขานุการ คาศพั ท์ สานวน และไวยากรณ์

ภาษาอังกฤษเพอื่ การคา้ ระหวา่ งประเทศ 3 (3-0-6)

English for International Trade

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในการค้าระหว่างประเทศ คาศัพท์ สานวน และ

ไวยากรณ์

ภาษาองั กฤษเพ่ือการขายและการจัดซือ้ 3 (3-0-6)

English for Sales and Purchasing

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในการขายและการจัดซื้อ คาศัพท์ สานวน และ

ไวยากรณ์

ภาษาองั กฤษสาหรบั การตลาดและการโฆษณา 3 (3-0-6)

English for Marketing and Advertising

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารในการตลาดและการโฆษณา คาศัพท์ สานวน และ

ไวยากรณ์

223

HS 113 518 ภาษาองั กฤษเพอ่ื โลจสิ ตกิ ส์ 3 (3-0-6)
English for Logistics
เง่อื นไขของรายวิชา: ไม่มี

การใชภ้ าษาองั กฤษเพอื่ โลจสิ ตกิ ส์ คาศัพท์ สานวน และไวยากรณ์

หมวดวิชาการแปลและการล่าม

HS 113 601 หลักการการรับรู้ภาษา 3 (3-0-6)

Principles of Language Acquisition

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

หลักการและแนวคิดของการรับภาษาที่หน่ึงและภาษาที่สอง กระบวนการ การพัฒนา

และการประยกุ ตใ์ ช้หลกั การในการสอนและวิจยั

HS 113 602 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษาท่ีสอง 3 (3-0-6)

Second Language Curriculum Design and Development

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

หลักการและวิธีการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา ประเภท ระดับ และ

องค์ประกอบของหลักสูตร กรอบแนวความคิดปัจจุบันในการออกแบบที่มีบทบาทต่อการ

ออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทางภาษา กระบวนการในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรทาง

ภาษา การนาหลักสูตรไปใช้ และการประเมินหลักสูตร

HS 113 603 การวดั และประเมนิ ผลภาษา 3 (3-0-6)

Language Testing and Assessment

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ทฤษฏี หลักการ และแนวคิดด้านการวัดและประเมินผลทางภาษา โครงสร้างของ

แบบทดสอบ คุณสมบัติของแบบทดสอบ ประเภทของแบบทดสอบและการประเมิน การ

ออกแบบและพัฒนาแบบทดสอบ การประเมินผลทกั ษะภาษาต่างๆ

HS 113 604 เทคโนโลยกี ารเรยี นการสอนภาษา 3 (3-0-6)

Technology in Language Teaching and Learning

เง่อื นไขของรายวิชา: ไม่มี

หลักการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนภาษา การประเมินซอฟต์แวร์และเว็บไซต์

การออกแบบกจิ กรรมท่ีประยุกตเ์ ทคโนโลยีในการสอนฟัง พูด อา่ นและเขียน

HS 113 605 การสอนการอ่านและการเขยี นภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)

English Reading and Writing Pedagogy

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

วธิ ีการสอนการอ่านและการเขียน, การออกแบบหลกั สูตรและการวางแผนบทเรียน, การ

ออกแบบและการสร้างสอื่ การสอน, งานในการอ่านและการเขยี น, การประเมนิ ผลการอ่านและ

การเขียน

224

HS 113 606 การสอนการฟังและการพูดภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)
HS 113 607
HS 113 608 English Listening and Speaking Pedagogy
HS 113 609
HS 114 610 เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

วิธีการสอนการฟังและการพูด การออกแบบหลักสูตรและการวางแผนการเรียน การ

ออกแบบและพัฒนาสื่อการสอนงานในการฟงั และการพดู การประเมนิ ผลการฟังและการพูด

การสอนไวยากรณ์และคาศัพท์ภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)

English Grammar and Vocabulary Pedagogy

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

วิธีการสอนการไวยากรณแ์ ละคาศัพท์, การออกแบบหลักสตู รและการวางแผนบทเรียน,

การออกแบบและการสร้างส่ือการสอน, งานเกี่ยวกับการเรียนไวยากรณ์และคาศัพท์, การ

ประเมินผลการเรยี นไวยากรณ์และคาศัพท์

การสอนแบบใช้ภาระงานเป็นฐาน 3 (3-0-6)

Task-Based Language Teaching

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

นิยามของงาน ประเภทของการสอนโดยใช้งานเป็นฐาน การออกแบบและการนาไปใช้

แผนการสอนโดยใช้งานเป็นฐาน การประเมินโดยใชง้ านเปน็ ฐาน

การสอนภาษาอังกฤษเพ่ือวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ 3 (3-0-6)

Teaching English for Specific Purposes

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

วธิ ีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะทาง การออกแบบรายวชิ า การวเิ คราะหค์ วามต้องการ

และการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

การสอนภาษาองั กฤษในฐานะภาษาท่ีสอง 3 (2-2-5)

English as a Second Language Pedagogy

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

แนวโน้มของการสอนภาษาท่ีสองในปัจจุบัน การคัดเลือกส่ือและกิจกกรมการเรียนการ

สอน การสร้างแผนการเรียนและการนาไปใช้ การประเมินการสอน

หมวดวชิ าสมั มนา สหกจิ ศกึ ษา และฝกึ งาน

HS 114 785 สหกิจศึกษาทางภาษาอังกฤษ 6 หน่วยกิต

Cooperative Education in English

เงื่อนไขของรายวิชา: HS 114 801# และ ผ่านการอบรมเตรียมความ

พรอ้ มก่อนออกปฏิบตั สิ หกิจศึกษา

การฝึกปฏิบัติงานแบบเต็มเวลาในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนที่มี ความร่วมมือกับ

มหาวทิ ยาลยั การเขียนรายงานและการนาเสนอผลการปฏบิ ตั งิ าน

225

HS 114 796 การฝกึ งานทางภาษาองั กฤษ 6 หน่วยกติ

English Practicum (ไมน่ ับหนว่ ยกติ )

เงอื่ นไขของรายวิชา: HS 113 010#

การฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานตามความเห็นชอบของสาขาวิชาภาษาอังกฤษ การเขียน

รายงาน การนาเสนอผลการปฏิบัตงิ าน

หมวดวิชาดา้ นวจิ ัย วจิ ัยในการศึกษาด้านภาษาองั กฤษ 3 (3-0-6)
HS 114 801
Research in English Language Studies
HS 114 802
เงอ่ื นไขของรายวชิ า: HS 113 010#

ประเภทของวิจัยด้านภาษา การทบทวนวรรณกรรม ระเบียบวิธีวิจัย การเก็บและ

วิเคราะห์ขอ้ มูล การเขยี นรายงานและการนาเสนอ

สัมมนาภาษาองั กฤษ 3 (2-2-5)

Seminar in English

เง่อื นไขของรายวชิ า: HS 113 010#

หัวข้อปัจจบุ นั ท่เี กี่ยวกบั ภาษาองั กฤษ การอภิปราย การนาเสนอ การเขยี นรายงาน

สาขาวชิ าประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี

HS 801 103 อารยธรรมโลก 3(3-0-6)

World Civilization

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

วิวัฒนาการของอารยธรรมตะวันตกและอารยตะวันออก ต้ังแต่ยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ

สงั คม วัฒนธรรม รวมทง้ั อิทธิพลตอ่ สงั คมไทย

HS 801 101 ประวัตศิ าสตร์ไทย 1 3(3-0-6)

Thai History I

เง่ือนไขของรายวิชา: ไม่มี

สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมทั้งเหตุการณ์ท่ีน่าสนใจใน

ประวตั ิศาสตรไ์ ทย เริม่ แต่กอ่ นสมัยสุโขทัย จนถงึ กรุงธนบรุ ี

HS 801 102 ประวตั ิศาสตรไ์ ทย 2 3(3-0-6)

Thai History II

เง่ือนไขของรายวิชา: ไม่มี

การเปลี่ยนแปลง ทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และการต่างประเทศของไทย นับแต่สถาปน กรุงเทพมหานคร

จนถงึ ก่อน พ.ศ.2475 สถานภาพประวตั ิศาสตรน์ พิ นธ์ไทยในอดีตและแนวโนม้ ในอนาคต

226

HS 801 104 ประวัตศิ าสตรภ์ มู ปิ ญั ญาอสี าน 3(3-0-6)

Isan Intellectual History

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

พฒั นาการวิถีชวี ติ แนวความคิด โลกทัศน์และภมู ิปญั ญาที่มีอทิ ธพิ ลตอ่ การดารงชวี ิตของชาวอีสาน ตง้ั แต่อดตี

จนถงึ ปจั จบุ ัน

HS 801 105 ประวตั ศิ าสตร์เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตย้ คุ ตน้ จนถึงสมัยอาณานิคม 3(3-0-6)

Southeast Asian History from Early times to Colonial Period

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับประเทศต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัฒนธรรมพื้นเมือง อิทธิพลของอารยธรรม

อินเดีย จีน การเข้ามาของอิสลาม อาณาจักรต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเข้ามาของชาติตะวันตกและ

การยึดครองอาณานิคมในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตจ้ นถึงคริสต์ศตวรรษท่ี 19

HS 801 106ประวตั ิศาสตรเ์ อเชยี ตะวันออกเฉยี งใตต้ งั้ แตย่ คุ อาณานคิ มถึงปัจจบุ ัน 3(3-0-6)

Southeast Asian History from Colonial Period to Present

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การเปล่ียนแปลงทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ตงั้ แตย่ คุ อาณานิคมจนถึงปจั จุบัน

HS 801 107 ประวัติศาสตรล์ าว 3(3-0-6)

History of Laos

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

พัฒนาการและการเปลีย่ นแปลงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คมของลาวตั้งแต่ ค.ศ.1779 จนถงึ ปจั จุบนั

HS 801 108 ประวตั ิศาสตรเ์ วยี ดนาม 3(3-0-6)

History of Vietnam

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของประเทศเวียดนาม การเปล่ียนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของ

เวยี ดนามตง้ั แตย่ ุคอาณานคิ มจนถึงปจั จบุ นั

HS 801 113 โบราณคดใี นประเทศไทย 3(3-0-6)

Archaeology in Thailand

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ศิลปะและวัฒนธรรมในประเทศไทยต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์

จนถงึ ยคุ เริ่มแรกสมยั สโุ ขทัย ล้านนาและล้านช้าง

HS 802 115 วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ 3(3-0-6)

Historical Method

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

วิธีการค้นคว้าหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ การใช้หลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์บอกเล่า การกาหนด

ประเดน็ ศกึ ษา การเรยี บเรียง จัดทารายงาน และนาเสนอผลการศึกษาประวัติศาสตร์

227

HS 801 109 ประวัติศาสตร์ยโุ รปสมัยใหม่ 3(3-0-6)

History of Modern Europe

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

วิวัฒนาการการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมยุโรป ต้ังแต่ ศตวรรษที่ 19 เป็น ต้นมา โดยเน้น

แนวความคดิ ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีและบทบาทยุโรปในโลกปจั จบุ ัน

HS 801 110 ประวัตศิ าสตร์ท้องถน่ิ 3(3-0-6)

Local History

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ความหมาย ขอบเขต เน้ือหาสาระ แนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในประเทศไทย พัฒนาการ

ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมของท้องถ่ินต่างๆ ในประเทศไทย วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

กรณศี กึ ษาประวตั ศิ าสตรท์ ้องถิน่

HS 801 111 ประวัตศิ าสตรไ์ ทยสมยั ใหม่ 3(3-0-6)

Modem Thai History

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

การเปลย่ี นแปลงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คมในประเทศไทย นับตั้งแตช่ ว่ งการปฏิวตั ิ พ.ศ.2475 จนถึง

ปัจจุบนั

HS 801 112 ประวัตศิ าสตรอ์ สี าน 3(3-0-6)

History of Isan

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

การเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรมอสี านต้ังแตอ่ ดตี จนถึงปัจจบุ ัน

HS 801 114 ประวัติศาสตร์และภาพยนตร์ 3(3-0-6)

History and Films

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความหมายและความสาคัญของภาพยนตร์องิ ประวตั ิศาสตร์ เหตกุ ารณส์ าคัญในประวัตศิ าสตรโ์ ลก

จากภาพยนตร์ การวิเคราะห์วิธีการนาเสนอภาพยนตร์ การเลอื กเรอื่ งราวทางประวตั ศิ าสตร์เพอื่ สรา้ งเป็นภาพยนตร์

การเชอื่ มโยงขอ้ เทจ็ จริงทางประวตั ศิ าสตร์กับภาพยนตร์

สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา 3 (3-0-6)
หมวดวิชาปรชั ญา
HS 821 003 ปรัชญาข้ันแนะนา

Introduction to Philosophy
เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ทฤษฎีทางปรัชญาบริสุทธ์ิ อภิปรัชญา ญาณวิทยา จรยิ ศาสตร์ และสนุ ทรียศาสตร์

228

HS 821 103 ตรรกศาสตร์ 3 (3-0-6)

Logic

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

องค์ประกอบในการคิดอย่างมีเหตุผลเชิงตรรกะ สารวจปัญหาเบ้ืองต้นเก่ียวกับบ่อเกิดแห่งความรู้ การใช้

เหตผุ ลท้งั แบบ นริ นัยและอปุ นัย ธรรมชาติของความสมเหตสุ มผลและความบกพรอ่ งในการใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะ

HS 821 104 การใชเ้ หตุผล 3 (3-0-6)

Reasoning

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความหมายของการใช้เหตุผล วิธีการใช้เหตุผลแบบต่างๆ ข้อบกพร่องในการใช้เหตุผลและวิเคราะห์การใช้

เหตุผลในบรบิ ทต่างๆ

HS 821 105 ปรัชญาตะวนั ออกเบอื้ งตน้ 3 (3-0-6)

Introduction to Eastern Philosophy

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

บ่อเกิดและแนวคิดสาคญั ปรัชญาตะวนั ออก ปรัชญาจีน อินเดยี ญีป่ นุ่ และอิสลาม

HS 821 106 ประวัติปรชั ญาตะวนั ตก 3 (3-0-6)
History of Western Philosophy

เง่อื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ประวัติความคิดทางปรัชญาตะวันตก ปรัชญากรกี โบราณ ปรัชญาตะวนั ตกยุคกลาง ปรัชญาตะวันตกยุคฟน้ื ฟู

ศลิ ปวทิ ยาการ ปรัชญาตะวันตกสมยั ใหม่ อิทธิพลของปรัชญาตะวนั ตกสมัยใหมท่ ่มี ีตอ่ ปรชั ญายุคปัจจุบัน

HS 821 107 พทุ ธปรัชญามหายาน 3 (3-0-6)
Mahayana Buddhist Philosophy

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

กาเนิดและพฒั นาการของพุทธปรัชญามหายาน ทฤษฎคี วามจริงกบั ความรู้ ความสมเหตสุ มผลของความรู้

ทฤษฎปี ระตีตยะสมตุ ปาทและกษณกิ วาท ทฤษฏนี าตมวาท ทฤษฎคี วามความว่างของโลก ทฤษฎีความความหมาย

ของโลก

HS 821 108 ปรัชญาในวรรณกรรมอาเซยี น 3 (3-0-6)

Philosophy in Asian Literature

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

วธิ ีการทางปรัชญาเพอื่ ศกึ ษาวรรณกรรม ปญั หาปรชั ญาทป่ี รากฏในวรรณกรรม อิทธพิ ลของปรชั ญาที่มตี อ่

วรรณกรรม ศึกษาวรรณกรรมทีไ่ ดร้ ับรางวลั วรรณกรรมสร้างสรรคย์ อดเยย่ี มแหง่ อาเซียน (รางวัลซีไรต์ )

HS 821 109 จรยิ ศาสตร์ 3 (3-0-6)

Ethics

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

ลกั ษณะการตคี วาม ความหมายของ ดี ช่วั ถูก ผดิ ลกั ษณะของการอ้างเหตุผลทใ่ี ช้ในการตดั สนิ เปา้ หมาย

สงู สุดของชีวติ ปัญหาเร่อื งหลกั เกณฑ์สงู สุดในการตัดสินความประพฤติ ตามทัศนะของนกั ปรชั ญากลุ่มตา่ ง ๆ

229

HS 821 110 ปรัชญาอินเดยี 3 (3-0-6)

Indian Philosophy

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ลักษณะและแนวคดิ สาคัญในปรัชญาอนิ เดีย ปรัชญาพระเวท อุปนิษัท ภควัทคีตา จารวาก เชน พุทธปรัชญา

และปรชั ญาสายอาสิตกะอื่น ๆ
HS 821 111 ตรรกศาสตรส์ ัญลักษณ์ 3 (3-0-6)

Symbolic Logic

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

วิธีแสดงความสมเหตุสมผลและไม่สมเหตุสมผลของการอ้างเหตผุ ลในตรรกศาสตรป์ ระพจน์และตรรกศาสตร์

ภาคขยาย กฎความสมเหตุสมผล กฎความสมมูลกัน กฎการต้ังสมมติฐานแบบเง่ือนไข กฎการต้ังสมมติฐานทางอ้อม

และกฎต่าง ๆ ของตรรกศาสตรภ์ าคขยาย

HS 821 112 ปรัชญาจนี 3 (3-0-6)

Chinese Philosophy

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

แนวความคิดทางปรัชญาของนักปรัชญาจีนที่สาคัญ เล่าจื้อ ขงจื้อ ม่อจื้อ เม่งจื้อ จวงจ้ือ ซุ่นจื้อ ฮั่นเฟยจื้อ

ต่งจง้ ซู จซู ี ปรัชญานติ ธิ รรมนิยม และปรัชญาจีนในสมยั ปัจจุบนั

HS 821 113 ปรัชญาญีป่ นุ่ 3 (3-0-6)

Japanese Philosophy

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

แนวคิดทางปรัชญาของญ่ีปุ่นจากอดีตถึงปัจจุบัน ที่สัมพันธ์กับมิติทางวัฒนธรรม ศาสนา จริยธรรมและ

ความงาม โดยเน้นแนวคิดลัทธิชินโต ลัทธิเต๋า ขงจื้อ บูชิโด พุทธศาสนานิกายหลัก อันเป็นรากฐานความคิดสาคัญของ

ชาวญีป่ นุ่

HS 821 114 ญาณวิทยา 3 (3-0-6)

Epistemology

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ปัญหาเกี่ยวกับท่ีมาของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ ความเชื่อ ความจริง ความแน่นอนและความน่าจะเปน็

ความรู้กอ่ นประสบการณ์และความรหู้ ลงั ประสบการณ์

HS 821 115 ปรชั ญาสงั คม 3 (3-0-6)

Social Philosophy

เงือ่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ความหมายของมโนทัศน์ต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ในความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลในสังคมและบุคคลกับสังคม มโนทัศน์

เร่ืองผลประโยชน์ส่วนตน ผลประโยชน์ของสังคม สทิ ธิและหนา้ ที่ ความเสมอภาค เสรภี าพ และความยุติธรรม

HS 821 116 สนุ ทรียศาสตร์ 3 (3-0-6)

Aesthetics

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความหมาย ความสาคญั และขอบเขตของสนุ ทรียศาสตร์ ความสมั พันธ์ของสนุ ทรียศาสตรก์ บั ศาสตร์สาขาอ่นื

สุนทรยี ภาพในปรชั ญาตะวนั ตก - ตะวนั ออก ทฤษฎศี ลิ ปะ เกณฑ์การตดั สนิ ความงาม ประสบการณท์ างสนุ ทรยี ะ และ

ปัญหาสนุ ทรยี ศาสตร์

230

HS 821 117 ปรัชญากบั วิถชี ีวติ 3 (3-0-6)

Philosophy and Way of Life

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ความหมายและประเภทของปรัชญา ความจรงิ ของจักรวาลและชีวิตมนุษย์ ชวี ิตท่ีประเสรฐิ ระบบคณุ คา่ ที่

แตกตา่ งกัน ความดงี ามกับประโยชนท์ างวัตถุ ความรกู้ บั ความเชอ่ื ปรัชญาในวิถชี วี ติ

หมวดวิชาศาสนา

HS 821 203 ศาสนาขัน้ แนะนา 3 (3-0-6)

Introduction to Religion

เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ความเป็นมาของศาสนาและศาสดา หลักธรรมในศาสนาท่ีมีผู้นับถือ รวมทั้งการประยุกต์ใช้หลักธรรมใน

ชีวิตประจาวัน

HS 821 204 ศาสนาเปรียบเทียบ 3 (3-0-6)

Comparative Religion

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

ศาสนาต่างๆที่มีผู้นับถือในปัจจุบัน โดยเน้นเร่ืองศาสดา คัมภีร์ พิธีกรรม นิกาย คาสอน จุดมุ่งหมายสูงสุด

การเปรียบเทียบความเหมือนกัน ความคล้ายคลึงกัน ความแตกต่างกัน ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา และปัญหา

เก่ยี วข้องของศาสนาในสถานการณป์ ัจจุบัน

HS 821 205 ศาสนากับสงั คมและวัฒนธรรม 3 (3-0-6)

Religion and Society and Culture

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไม่มี

แนวคิดทางศาสนา สังคม วัฒนธรรม บทบาทของศาสนาที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรม ความจาเป็นของศาสนา

ต่อสังคมและวัฒนธรรมนัน้ ๆ วิเคราะหค์ วามเช่อื และศาสนาภาคปฏบิ ตั ิในสังคมปัจจุบัน

HS 821 206 พทุ ธศาสนาเบ้อื งตน้ 3 (3-0-6)

Introduction to Buddhism

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ประวัติพุทธศาสนาโดยสังเขป ศึกษาลักษณะเฉพาะของพุทธศาสนา หลักคาสอนพ้ืนฐานท่ีสาคัญ ชีวิตและ

อดุ มการณ์ตามแนวทางพุทธศาสนา

HS 821 207 พทุ ธศาสนากบั สงั คมและวฒั นธรรมไทย 3 (3-0-6)

Buddhism and Thai Society and Culture

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

อิทธิพลของพระพุทธศาสนาต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย สารวจและวเิ คราะห์หลักพทุ ธธรรมท่สี ะท้อนให้เห็น

ถึงความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนากับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย การประยุกต์พุทธธรรมเพ่ือ

การดาเนนิ ชวี ติ และแก้ปัญหาสงั คมไทยในปัจจบุ นั

231

HS 821 208 พทุ ธศาสนากับชีวติ ประจาวนั 3 (3-0-6)

Buddhism and Daily life

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

หลักธรรมในพุทธศาสนา การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และอิทธิพลของพุทธศาสนาในด้านเศรษฐกิจ

สังคม การเมือง ศีลธรรม

HS 821 209 การพฒั นาจิต 3 (2-2-5)

Mental Development

เงอื่ นไขของรายวชิ า: ไม่มี

หลักทั่วไปของการฝึกอบรมจิตตามหลักพุทธศาสนา การปฏิบัติสมาธิหรือ สมถะกรรมฐานและวิปัสสนา-

กรรมฐาน

HS 821 210 พุทธศาสนพธิ ี 2 (1-2-3)

Buddhist Ceremony

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ระเบยี บพิธที พ่ี ึงปฏบิ ตั ใิ นทางพระพุทธศาสนากศุ ลพิธี บญุ พิธี ทานพธิ ี ปกณิ กพิธี ราชกุศลพธิ ี และพุทธศาสน

พธิ ีในประเพณอี ีสาน

HS 821 211 ศาสนาเพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 (3-0-6)

Religions for Development of Quality of Life

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

ความเข้าใจเบ้ืองต้นเก่ียวกับศาสนาและคุณภาพชีวิต วิธีคิดตามหลักการของศาสนา ศาสนาธรรมกับชีวิต

ศาสนากับปญั หาจริยธรรมในโลกสมัยใหม่ การอยู่รว่ มกันในสังคมทมี่ ีหลายศาสนา

HS 821 212 ศาสนาฮนิ ดู 3 (3-0-6)

Hinduism

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

ลักษณะทั่วไปของศาสนาฮินดูในยุคพระเวท ยุคมหากาพย์ ยุคหลังของศาสนาฮินดู และวิวัฒนาการของ

ศาสนาพราหมณส์ ศู่ าสนาฮินดู หลักคาสอน พิธีกรรม จริยธรรม และนิกายในศาสนาฮนิ ดู ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งศาสนา

ฮนิ ดกู ับศาสนาอ่ืนๆ อิทธิพลของศาสนาฮนิ ดใู นสถานทีต่ า่ ง ๆ

HS 821 213 ศาสนาในประชาคมอาเซียน 3 (3-0-6)

Religions in ASEAN Communities

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

ศาสนาต่างๆ ในกลุ่มประชาคมอาเซียน อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อประชาคมอาเซียนในด้านสังคม การเมือง

เศรษฐกจิ ภาษาและศลิ ปวฒั นธรรมโดยรวม

HS 821 214 พทุ ธศาสนามหายาน 3 (3-0-6)

Mahayana Buddhism

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

ประวัติพุทธศาสนาจากปัจฉิมโพธิกาลจนถึงกาเนิดนิกายมหายาน หลักการและความเช่ือท่ีสาคัญของนิกาย

มหายาน อดุ มคติเกย่ี วกบั พระโพธสิ ตั ว์ คัมภีร์ นกิ ายตา่ ง ๆ ตลอดจนถงึ ววิ ัฒนาการของพุทธศาสนามหายาน

232

HS 821 215 พุทธศาสนาในประเทศไทย 3 (3-0-6)

Buddhism in Thailand

เงือ่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

ความเป็นมาและวิวัฒนาการของพุทธศาสนาในประเทศไทย สถาบันสงฆ์ รวมท้ังการศึกษาและการปกครอง

ของคณะสงฆไ์ ทย อิทธิพลของพทุ ธศาสนาทีม่ ีตอ่ วรรณคดี การศกึ ษาและศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ

HS 821 216 ศาสนาของจีนและญ่ีปุน่ 3 (3-0-6)

Religion of China and Japan

เง่อื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ภูมิหลังและความสมั พันธ์ทางศาสนาของจีนและญปี่ ุ่น ศาสนาและคาสอนของเลา่ จื้อ ขงจ้ือ และปราชญจ์ ีนท่ี

สาคัญ ศาสนาชินโต และพุทธศาสนา ตลอดจนลทั ธติ า่ ง ๆ ในญ่ปี ่นุ อทิ ธิพลของศาสนาทง้ั ของจนี และญี่ปุ่นทีม่ ตี อ่ สงั คม

ของประเทศทง้ั สอง

HS 821 217 พุทธศาสนาในโลกปจั จบุ นั 3 (3-0-6)

Buddhism in the Contemporary World

เง่ือนไขของรายวิชา: ไม่มี

การเผยแผ่ ความเคลื่อนไหว และอิทธิพลของพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันในทวีปเอเชีย ยุโรป อเมริกา

ออสเตรเลียและแอฟรกิ า

HS 821 218 ศิลปะการครองเรือนในพทุ ธศาสนา 3 (3-0-6)

Art of Wedlock in Buddhism

เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

การเลือกคู่ครอง การเตรียมการสมรส การวางแผนชีวิตในการแต่งงาน การสร้างความสุขในชีวิตสมรส

การเข้าใจอันดีของสมาชิกในครอบครัว การเล้ียงดลู กู การสงเคราะห์ญาตแิ ละสมาชิกในครอบครัว บทบาทหน้าที่ของ

สามแี ละภรรยา ธรรมะในการครองเรือน ข้อปฏบิ ัติทั่วไปของชวี ิตคู่

หมวดวชิ าวฒั นธรรม

419 130 วฒั นธรรมไทย 3 (3-0-6)

Thai Culture

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

สังคมไทย วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี คา่ นิยมในสงั คมไทย พลเมอื ง

ดีตามประเพณีและวัฒนธรรม จิตสาธารณะ ศาสนากับการดาเนินชีวิต การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม

ภูมปิ ัญญาไทย การอนุรกั ษ์และวิวฒั นาการของวัฒนธรรมไทย

419 131 วัฒนธรรมอสี าน 3 (3-0-6)

Esarn Culture

เง่ือนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

โครงสร้างวฒั นธรรมโดยทั่วไป รูปแบบเฉพาะของวฒั นธรรมอสี าน ประวตั ิศาสตร์ ศาสนา ประเพณวี ัฒนธรรม

ทางวัตถุ วัฒนธรรมทางคตธิ รรม วัฒนธรรมทางสังคม วัฒนธรรมเนติธรรม อิทธิพลของวัฒนธรรมอ่ืนๆ ที่มีต่อชีวิตของ

คนอสี าน

233

รายวิชาภาษาอาเซยี น

HS 911 101 ภาษาเขมร 1 3 (3-0-6)

Khmer I

เงอื่ นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

ลักษณะภาษา โครงสรา้ ง ศัพท์พน้ื ฐาน การฟงั และการพดู ในสถานการณ์ต่างๆ การอ่านและการ

เขยี นข้อความส้นั ๆ

HS 911 102 ภาษาเขมร 2 3 (3-0-6)

Khmer II

เงือ่ นไขของรายวิชา : HS 911 101#

พัฒนาทกั ษะภาษาเขมรและความร้ดู า้ นศัพท์และโครงสรา้ งภาษาเขมรในชวี ติ ประจาวนั ทีซ่ บั ซอ้ น

มากข้ึน การพดู ในโอกาสต่างๆ การอ่านบทความ การอ่านเร่ืองสั้น การเขยี นแสดงความคดิ เห็น การ

แปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย

HS 912 103 ภาษาเขมรขั้นกลาง 1 3 (3-0-6)

Intermediate Khmer I

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 911 102#

โครงสร้างทางภาษาท่ซี ับซอ้ นมากขึ้น มีทกั ษะในการพูด การอา่ น การเขียน ท่ีซบั ซอ้ นกว่าระดับสอง การพูด

ในโอกาสต่างๆ

HS 912 104 ภาษาเขมรขัน้ กลาง 2 3 (3-0-6)

Intermediate Khmer I

เง่ือนไขของรายวชิ า : HS 911 103#

โครงสร้างภาษาทใี่ ช้เชิงวิชาการ การอา่ นข่าวหนังสอื พิมพน์ ิตยสาร เรื่องสั้น การเขยี นบนั ทกึ ขอ้ ความ บันทึก

ประจาวัน การแสดงความคดิ เหน็ การแปลภาษาเขมร

HS 913 105 ภาษาเขมรข้นั สงู 3 (3-0-6)

Advanced Khmer

เงื่อนไขของรายวิชา : 427 114#

โครงสร้างประโยคท่ีซับซ้อนทีใ่ ช้ในวงการธรุ กจิ การสือ่ สารในเชงิ ธรุ กิจและราชการ การเขียนบทความ

รายงานธุรกิจ ทกั ษะการวิเคราะห์ สรปุ และการนาเสนอเป็นภาษาเขมร

HS 921 101 ภาษาลาว 1 3 (3-0-6)

Laotian I

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ลักษณะภาษา โครงสรา้ ง และศพั ท์พน้ื ฐานในภาษาลาว การฟงั และพูดภาษาลาวในสถานการณ์ตา่ งๆ

การอา่ นและเขยี นข้อความสั้นๆ ในภาษาลาว

HS 921 102 ภาษาลาว 2 3 (3-0-6)

Laotian II

เง่อื นไขของรายวิชา: HS 921 101# หรือ 427 211# หรอื 416 141#

พัฒนาทักษะภาษาลาว การพดู ในโอกาสตา่ งๆ การอ่านบทความ การอ่านเรื่องส้ัน การเขียน

บทความ การเขยี นแสดงความคิดเหน็ การแปลภาษาลาวเปน็ ภาษาไทย

234

HS 922 103 ภาษาลาว 3 3 (3-0-6)

Laotian III

พฒั นาทักษะภาษาลาว เข้าใจและสามารถใชส้ านวนสุภาษติ ลาว การแปลเอกสารลาวเปน็ ภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นลาว การพดู และการเขยี นเพือ่ วัตถปุ ระสงค์เฉพาะ

HS 931 101 ภาษาพมา่ 1 3 (3-0-6)

Burmese I

เง่อื นไขของรายวิชา: ไมม่ ี

ลักษณะภาษา โครงสรา้ ง และศพั ท์พืน้ ฐานในภาษาพม่า การฟังและพดู ภาษาพม่าในสถานการณ์

ต่างๆ การอา่ นและเขียนขอ้ ความส้นั ๆ ในภาษาพมา่

HS 931 102 ภาษาพมา่ 2 3 (3-0-6)

Burmese II

เง่ือนไขของรายวิชา: HS 931 101#

พฒั นาทักษะภาษาพมา่ และความรดู้ ้านศพั ท์และโครงสร้างภาษาพมา่ ในชีวิตประจาวันที่ซบั ซอ้ นมาก

ข้นึ การพดู ในโอกาสตา่ งๆ การอ่านบทความ การอ่านเร่อื งสน้ั การเขยี นแสดงความคดิ เห็น การแปลภาษา

พมา่ เป็นภาษาไทย

HS 932 103 ภาษาพมา่ ขัน้ กลาง 1 3 (3-0-6)

Intermediate Burmese I

เง่ือนไขของรายวิชา : HS 931 101#

โครงสรา้ งประโยคท่ีซบั ซ้อนมากขน้ึ มีทักษะในการพูด การอา่ น การเขยี น ท่ซี ับซ้อนกวา่ ระดบั สอง การพูด

ในโอกาสต่างๆ

HS 932 104 ภาษาพมา่ ขน้ั กลาง 2 3 (3-0-6)

Intermediate Burmese II

เงอ่ื นไขของรายวิชา : HS 931 103#

โครงสร้างประโยคทซี่ ับซอ้ นมากขน้ึ ที่ใชจ้ รงิ ในชวี ิตประจาวัน การพูดในชวี ิตประจาวนั การอา่ นขา่ ว

หนังสือพิมพ์ นติ ยสาร เรือ่ งสั้น การเขียนบนั ทึกขอ้ ความ บันทกึ ประจาวัน การแสดงความคิดเหน็ การแปลภาษา

พม่า

HS 933 105 ภาษาพมา่ ข้นั สูง 3 (3-0-6)

Advanced Burmese

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : 427 314#

โครงสรา้ งประโยคทซ่ี บั ซ้อนทใี่ ชใ้ นวงการธุรกิจ การสอ่ื สารในเชิงธุรกิจและราชการ การเขียนบทความ

รายงานธุรกิจ ทักษะการวิเคราะห์ สรุป และการนาเสนอเป็นภาษาพมา่

HS 941 101 ภาษาเวียดนาม 1 3 (3-0-6)

Vietnamese I

เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี

ลกั ษณะภาษา โครงสรา้ ง และศพั ทพ์ น้ื ฐานในภาษาเวยี ดนาม การฟังและพูดภาษาเวยี ดนามใน

สถานการณต์ ่างๆ การอ่านและเขียนข้อความสั้น ๆ ในภาษาเวยี ดนาม

235

HS 941 102 ภาษาเวียดนาม 2 3 (3-0-6)

Vietnamese II

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 941 101#

คาศัพท์และโครงสรา้ งประโยคทซ่ี ับซ้อน การฟงั และการพดู ภาษาเวียดนามในสถานการณต์ า่ งๆ การ

อา่ นข้อความและการเขยี นรูปแบบตา่ งๆ

HS 942 103 ภาษาเวยี ดนามข้นั กลาง 1 3 (3-0-6)

Intermediate Vietnamese I

เง่อื นไขของรายวชิ า : HS 941 102

โครงสรา้ งประโยคท่ซี ับซอ้ นมากขึน้ มที ักษะในการพดู การอา่ น การเขียน ที่ซบั ซ้อนกวา่ ระดับสอง การพูด

ในโอกาสตา่ งๆ

HS 942 104 ภาษาเวยี ดนามขัน้ กลาง 2 3 (3-0-6)

Intermediate Vietnamese II

เงอื่ นไขของรายวชิ า : HS 942 103#

โครงสรา้ งประโยคท่ีซับซ้อนมากข้นึ ที่ใชจ้ รงิ ในชวี ิตประจาวัน การพดู ในชวี ิตประจาวัน การอ่านข่าว

หนงั สือพมิ พน์ ิตยสาร เรือ่ งส้นั การเขียนบันทึกขอ้ ความ บันทกึ ประจาวัน การแสดงความคิดเห็น การ

แปลภาษาเวียดนาม

HS 943 105 ภาษาเวยี ดนามขั้นสงู 3 (3-0-6)

Advanced Vietnamese

เงื่อนไขของรายวิชา : 427 414#

โครงสร้างประโยคที่ซับซ้อนที่ใช้ในวงการธุรกิจ การสื่อสารในเชิงธุรกิจและราชการ การเขียนบทความ

รายงานธรุ กจิ ทักษะการวเิ คราะห์ สรุป และการนาเสนอเป็นภาษาเวียดนาม

HS 951 101 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซยี 1 3 (3-0-6)

Bahasa Indonesian I

เง่ือนไขของรายวชิ า: ไม่มี

ลกั ษณะภาษา โครงสร้าง และศพั ทพ์ ้นื ฐานในภาษาบาฮาซา อินโดนเี ซีย การฟงั และพูดภาษา

บาฮาซา อินโดนีเซยี ในสถานการณ์ตา่ งๆ การอา่ นและเขยี นข้อความส้นั ๆ ในภาษาบาฮาซา อินโดนีเซยี

HS 951 102 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนเี ซยี 2 3 (3-0-6)

Bahasa Indonesian II

เงอ่ื นไขของรายวิชา: HS 951 101#

พัฒนาทักษะภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซียและความรูด้ ้านศพั ท์และโครงสรา้ งภาษาบาฮาซา

อนิ โดนเี ซียในชวี ติ ประจาวันท่ซี ับซอ้ นมากขนึ้ การพดู ในโอกาสตา่ งๆ การอ่านบทความ การอา่ นเร่ือง

สั้น การเขยี นแสดงความคิดเห็น การแปลภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซยี เปน็ ภาษาไทยหรือภาษาองั กฤษ

HS 952 103 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซียข้นั กลาง 1 3 (3-0-6)

Intermediate Bahasa Indonesia I

เงื่อนไขของรายวิชา : HS 951 102#

โครงสร้างประโยคทีซ่ ับซอ้ นมากข้นึ มที ักษะในการพดู การอ่าน การเขียน ทซี่ บั ซ้อนกวา่ ระดบั สอง การพูด

ในโอกาสตา่ งๆ

236

HS 952 104 ภาษาบาฮาซา อินโดนีเซยี ขัน้ กลาง 2 3 (3-0-6)

Intermediate Bahasa Indonesia II

เงือ่ นไขของรายวิชา : HS 952 103#

โครงสร้างประโยคที่ซบั ซอ้ นมากขน้ึ ทใี่ ชจ้ รงิ ในชีวิตประจาวัน การพูดในชีวติ ประจาวัน การอา่ นข่าว

หนงั สอื พิมพน์ ติ ยสาร เรอ่ื งสน้ั การเขียนบนั ทึกข้อความ บันทึกประจาวัน การแสดงความคดิ เห็น การแปลภาษา

บาฮาซา อนิ โดนเี ซยี

HS 953 105 ภาษาบาฮาซา อนิ โดนีเซียข้นั สงู 3 (3-0-6)

Advanced Bahasa Indonesia

เง่ือนไขของรายวิชา : 427 514#

โครงสร้างประโยคท่ีซับซ้อนท่ีใช้ในวงการธุรกิจ การสื่อสารในเชิงธุรกิจและราชการ การเขียนบทความ

รายงานธรุ กจิ ทักษะการวเิ คราะห์ สรุป และการนาเสนอเป็นภาษาบาฮาซา อนิ โดนเี ซยี

คาอธิบายรายวิชา (Course Description)
สาหรบั นกั ศกึ ษาทกุ หลกั สูตร ยกเวน้ หลกั สูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑติ และหลักสตู รเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตศ้ ึกษา

รายวิชาในกล่มุ วิชาภาษา

000 101 ภาษาองั กฤษ 1 3(3-0-6)

English I

เง่อื นไขของรายวชิ า : ไม่มี

การพฒั นาทักษะการอา่ น เขยี น พดู ฟัง เพ่ือสามารถส่อื สารไดใ้ นชวี ิตประจาวนั และในการเรยี น

000 102 ภาษาอังกฤษ 2 3(3-0-6)

English II

เงือ่ นไขของรายวชิ า : 000 101

การพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน พูด ฟัง เพื่อสามารถส่ือสารได้ในชีวิตประจาวันและในการเรียนในระดับ

ท่ีสงู ข้ึนจากท่เี รยี นในวชิ า 000 101

000 103 ภาษาองั กฤษ 3 3(3-0-6)

English III

เง่ือนไขของรายวิชา : 000 102

การพัฒนาทกั ษะการอา่ น เขยี น พูด ฟัง นาเสนอ อภิปราย ไดใ้ นชีวติ ประจาวันการเรียน และ อาชีพ

000 104 ภาษาองั กฤษ 4 3(3-0-6)

English IV

เงอ่ื นไขของรายวชิ า : 000 103

การพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน พูด ฟัง นาเสนอ อภิปราย ได้ในชีวิตประจาวัน การเรียน แล ะ อาชีพ

ในระดบั ทีส่ ูงขึน้ จากทเี่ รยี นในวชิ า 000 103

237

รายวิชาในกลุม่ วชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

000 145 ภาวะผนู้ าและการจัดการ 3(3-0-6)

Leadership and Management

เง่อื นไขของรายวิชา: ไม่มี

แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับภาวะผู้นา บุคลิกภาพ ลักษณะและบทบาทผู้นา การสร้างทีมงานและการทางาน

เป็นทีม หลักการและทฤษฎีการจัดการ การจัดการตัวเอง การจัดการภาวะวิกฤต การจัดการ การเปลี่ยนแปลง

การจดั การความขดั แยง้ การจดั การเชงิ กลยทุ ธ์ แนวทางการพัฒนาภาวะผ้นู าและการจัดการ

000 147 ศาสตรข์ องความสุข 3(3-0-6)

Science of Happiness

เง่ือนไขของรายวิชา: ไม่มี

แนวคิดและความสาคัญของความสขุ มิติของความสขุ ศิลปะการดาเนินชีวิตอย่างมคี วามสขุ การปฏิบตั ิตนให้

เกิดสขุ ภาวะทางกายและสขุ ภาวะทางใจ การดาเนินชวี ิตอยา่ งมีสุนทรียภาพ

000 159 ความเปน็ พลเมอื งในสังคมประชาธิปไตย 3 (3-0-6)

Citizenship in Democratic Society
เงือ่ นไขของรายวชิ า : ไม่มี

แนวคิดหลักการและองค์ความร้เู กี่ยวกับความเปน็ พลเมืองในสงั คมประชาธิปไตย สิทธิและ
หน้าท่ีของพลเมืองตามรัฐธรรมนูญ การดารงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ การ
พฒั นาการมีส่วนรว่ มอยา่ งสันตวิ ธิ ี การพฒั นาจติ สาธารณะ เพ่อื บ่มเพาะความเปน็ พลเมือง

รายวิชาในกลมุ่ วิชาคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์

000 174 ทกั ษะการเรยี นรู้ 3(3-0-6)

Learning Skills

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

แนวคิดและความสาคัญของทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การรู้ดจิ ทิ ัล การคดิ เชงิ วิเคราะห์

การคัดสรรแหล่งสารสนเทศ การแสวงหาสารสนเทศ การประเมิน วิเคราะห์ การเขียนและนาเสนอ

ในเชิงวิชาการ จรรยาบรรณและความเทย่ี งตรงทางวชิ าการ

000 176 ผู้ประกอบการสรา้ งสรรค์ 3(3-0-6)

Creative Entrepreneurs

เงอื่ นไขของรายวิชา: ไม่มี

คุณลักษณะผู้ประกอบการ หลักจริยธรรมสาหรับผู้ประกอบการ ความรับผิดชอบต่อสังคมของ

องคก์ ร การสรา้ งแรงจูงใจ การตดั สนิ ใจ การวเิ คราะห์ตลาด การหาแหล่งทุน การวางแผนธรุ กิจ การสรา้ ง

แบรนด์ และเครื่องหมายการค้า การบัญชีเบ้ืองต้น การชาระภาษี และการประเมนิ ผลประกอบการ

238

สงั กดั คณะนติ ิศาสตร์

777 100 ความรูเ้ บื้องตน้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป 3 (3-0-6)

Introduction to Law

เงื่อนไขของรายวชิ า :ไมม่ ี

ศกึ ษาแนวหลกั เกณฑพ์ ื้นฐานของกฎหมายโดยทว่ั ไป การแยกประเภทของกฎหมาย ขอบเขตที่

กฎหมายบังคับใช้ ศพั ทก์ ฎหมายท่ีควรรู้ หลกั สาคญั ในการกระทาผิดทางอาญา และ กฎหมายวา่ ด้วย

ความสัมพนั ธข์ องครอบครวั ทง้ั น้ีเพื่อใหร้ ู้จกั สทิ ธิ หนา้ ท่ี และเสรภี าพอนั พงึ ไดร้ บั ตามกฎหมาย

คาอธบิ ายรายวิชา (Course Description)
สาหรับนกั ศึกษาหลกั สูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต และหลกั สตู รเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ศึกษา

GE 141 153 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน 3 (3-0-6)
GE 142 145 Local Wisdom
GE 151 144 เงื่อนไขของรายวิชา: ไมม่ ี

องค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาท้องถ่ิน ใน
การดารงชีวิต ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ในการพฒั นาชมุ ชน การปลกู ฝงั วัฒนธรรม อันดีงาม
ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นในการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม

ภาวะผูน้ าและการจัดการ 3 (3-0-6)

Leadership and Management

เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี

แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกบั ภาวะผูน้ า บคุ ลกิ ภาพ ลักษณะและบทบาท

ผู้นา การสร้างทีมงานและการทางานเป็นทีม หลักการและทฤษฎีการจัดการ

การจัดการตัวเอง การจัดการภาวะวิกฤต การจัดการการเปลี่ยนแปลง การ

จัดการความขัดแย้ง การจัดการเชิงกลยุทธ์ แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นาและ

การจัดการ

พหุวัฒนธรรม 3 (3-0-6)

Multiculturalism

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

วฒั นธรรมและความหลากหลายทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมตะวนั ตก วฒั นธรรม
ตะวนั ออก วฒั นธรรมอาเซยี น วัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรมอีสาน การเปลย่ี นแปลง
ทางสังคมและกระแสโลกาภวิ ตั น์กบั ผลกระทบทางวฒั นธรรม วัฒนธรรมกบั วถิ ชี ีวิต

239

GE 153 158 วถิ ีชวี ติ ชุมชนและการเรยี นร้ชู มุ ชน 3 (1-6-4)
GE 321 415
GE 363 789 Community Ways of Life and Community Learning
LI 101 001
LI 101 002 เงอ่ื นไขของรายวิชา: ไม่มี

วถิ ีชาวบ้าน การวนิ ิจฉัยชมุ ชน หลกั การพฒั นาชมุ ชน ขอ้ มลู และเครอ่ื งมอื สาหรับ

การศึกษาชุมชน การเขียนโครงการศึกษาและบริการชุมชน การดาเนินโครงการและการ

ประเมนิ โครงการ ปฏบิ ัตกิ ารการเรียนรชู้ ุมชนในภาคสนาม

ทกั ษะการเรยี นรู้ 3 (3-0-6)

Learning Skills

เงือ่ นไขของรายวชิ า : ไมม่ ี

แนวคิดและความสาคัญของทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การรู้

ดจิ ทิ ลั การคิดเชิงวิเคราะหก์ ารคดั สรรแหล่งสารสนเทศ การแสวงหาสารสนเทศ

การประเมินวิเคราะห์ การเขียนและนาเสนอในเชิงวิชาการจรรยาบรรณและ

ความเทย่ี งตรงทางวิชาการ

ผู้ประกอบการสรา้ งสรรค์ 3 (3-0-6)

Creative Entrepreneurs

เงอ่ื นไขของรายวชิ า: ไมม่ ี

คุณลักษณะผู้ประกอบการ หลักจริยธรรมสาหรับผู้ประกอบการ ความ

รบั ผดิ ชอบต่อสงั คมขององค์กร การสรา้ งแรงจูงใจ การตดั สนิ ใจ การวิเคราะหต์ ลาด การหา

แหล่งทุน การวางแผนธุรกิจ การสร้างแบรนด์ และเคร่ืองหมายการค้า การบัญชีเบ้ืองต้น

การชาระภาษี และการประเมนิ ผลประกอบการ

ภาษาองั กฤษ 1 3 (3-0-6)

English I

เงื่อนไขของรายวชิ า: ไม่มี

พัฒนาทักษะการอ่าน เขียน พูด ฟัง ในชีวิตประจาวัน การเล่าเรื่องราวเก่ียวกับ
ตนเอง การแสดงความรู้สึก การบรรยายบุคลิกภาพ การบรรยายลักษณะ คน ส่ิงของ
สถานท่ี การตรวจสอบความเข้าใจความหมาย การบอกเล่าประสบการณ์ (โดยรวมเนือ้ หา
ระดบั 1 ถึงระดับ 5)

ภาษาองั กฤษ 2 3 (3-0-6)

English II

เงอ่ื นไขของรายวิชา: 000 101 หรอื LI 101 001 หรอื เทียบเท่า

ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ในบริบทเชิงวิชาการเบื้องต้น การ

แสดงความรู้สึก การตั้งคาถาม การเปรียบเทียบ และการแสดงความคิดเห็น (โดยรวม

เน้ือหาระดับ 2 ถงึ ระดบั 6)

240

LI 102 003 ภาษาอังกฤษ 3 3 (3-0-6)
LI 102 004 English III
เงือ่ นไขของรายวชิ า: 000 102 หรือ LI 101 002 หรือ เทยี บเท่า

ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน เชิงวิชาการ การนาเสนอ การอภิปราย การ

แสดงความคิดเห็น การตีความ การเข้าใจความหมายจากบริบท การจับใจความสาคัญ

(โดยรวมเน้อื หาระดับ 3 ถงึ ระดับ 7)

ภาษาองั กฤษ 4 3 (3-0-6)

English IV

เงอ่ื นไขของรายวิชา: 000 103 หรือ LI 102 003 หรอื เทยี บเทา่

ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนเชิงวิชาการขั้นสูง การฟังบรรยาย การ

แสดงความคิดเห็นกับเรื่องราวต่างๆ การพูดเพ่ือโน้มน้าว การรายงานสถานการณ์ การ

วเิ คราะหข์ อ้ มูลข่าวสาร การเขยี นเรียงความ (โดยรวมเนอื้ หาระดับ 4 ถึงระดบั 8)

241 ประเภทวชิ า/คณะท่ีรบั บรกิ าร

รายวชิ าท่บี ริการใหแ้ ก่นกั ศกึ ษาตา่ งคณะ ศกึ ษาทัว่ ไป เลือกเสรี

รหัส-ชอ่ื วชิ า /
/
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
/
 สาขาวชิ าภาษาสเปน /
HS 711 101 Basic Spanish I
HS 711 102 Basic Spanish II /
/
 สาขาวชิ าภาษาเกาหลี
HS 331 001 Korean I /
HS 331 002 Korean II /

 สาขาวชิ าภาษาจนี /
HS 311 001 Chinese I /
HS 311 002 Chinese II
/
 สาขาวิชาภาษาเยอรมัน /
HS 721 101 German for Communication I
HS 721 102 German for Communication II /
/
 สาขาวิชาภาษาญปี่ ่นุ /
HS 321 001 Basic Japanese I /
HS 321 002 Basic Japanese II /

 สาขาวชิ าภาษาฝรง่ั เศส /
HS 731 101 Basic French I /
HS 731 102 Basic French II /
/
 สาขาวชิ าประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี /
HS 801 103 World Civilization /
HS 801 101 Thai History I /
HS 801 102 Thai History II /
HS 801 104 Isarn Intellectual History /
HS 801 105 South East Asian History from Early Times to Colonial /
Period
HS 801 106 South East Asian History from Colonial Period to Present
HS 801 107 History of Laos
HS 801 108 History of Vietnam
HS 801 113 Archaeology in Thailand
HS 801 114 History and Films
HS 802 115 Historical Method
HS 801 109 History of Modern Europe
HS 801 110 Local History
HS 801 111 Modem Thai History
HS 801 112 History of Isan

242

รายวิชาท่บี ริการใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาตา่ งคณะ ประเภทวชิ า/คณะท่รี บั บรกิ าร

รหสั -ช่อื วิชา ศกึ ษาท่วั ไป เลือกเสรี

สาขาวิชาปรชั ญาและศาสนา /
HS 821 003 Introduction to Philo. /
HS 821 103 Logic /
HS 821 104 Reasoning /
HS 821 105 Intro. to Eastern Philo /
HS 821 106 Hist. of West. Philo. /
HS 821 107 Philosophy in Asian Literature /
HS 821 109 Ethics /
HS 821 110 Indian Philosophy /
HS 821 111 Symbolic Logic /
HS 821 112 Chinese Philosophy /
HS 821 113 Japanese Philosophy /
HS 821 114 Epistemology /
HS 821 115 Social Philosophy /
HS 821 116 Aesthetics /
HS 821 117 Philosophy and Way of Life
/
 สาขาวิชาศาสนา /
HS 821 203 Intro. to Religion /
HS 821 204 Comparative Religion /
HS 821 205 Reli. And Socie. And Culture /
HS 821 206 Intro. to Buddhism /
HS 821 207 Buddhism and Thai Society and Culture /
HS 821 208 Buddhism and Daily Life /
HS 821 209 Mental Development /
HS 821 210 Buddhist Ceremonies /
HS 821 211 Religions and Development of Life /
HS 821 212 Hinduism /
HS 821 213 Religion in ASEAN Communities /
HS 821 214 Mahayana Buddhism /
HS 821 215 Buddhism in Thailand /
HS 821 216 Religions of China and Japan /
HS 821 217 Buddhism in the Contemporary Word /
HS 821 218 Art of wedlock in Buddhism /
419 130 Thai Culture
419 131 Esern Culture

243 ประเภทวิชา/คณะทรี่ ับบรกิ าร

รหสั -ชอื่ วิชา ศึกษาท่ัวไป เลอื กเสรี

 สาขาวิชาภาษาอาเซยี น /
HS 911 101 Khmer I /
HS 911 102 Khmer II /
HS 912 103 Intermediate Khmer I /
HS 912 104 Intermediate Khmer II /
HS 913 105 Advanced Khmer /
HS 921 101 Laotian I /
HS 921 102 Laotian II /
HS 922 103 Laotian III /
HS 931 101 Burmese I /
HS 931 102 Burmese II /
HS 932 103 Intermediate Burmese I /
HS 932 104 Intermediate Burmese II /
HS 932 105 Advanced Burmese /
HS 941 101 Vietnamese I /
HS 941 102 Vietnamese II /
HS 942 103 Intermediate Vietnamese I /
HS 942 104 Intermediate Vietnamese II /
HS 943 105 Advanced Vietnamese /
HS 951 101 Bahasa Indonesia I /
HS 951 102 Bahasa Indonesia II /
HS 952 103 Intermediate Bahasa Indonesia I /
HS 952 104 Intermediate Bahasa Indonesia II /
HS 953 105 Advanced Bahasa Indonesia


Click to View FlipBook Version