The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wisut7942, 2021-03-22 22:10:14

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

146

ลาํ ดับ ภาพประกอบ / วีดิทศั น คําบรรยาย
ที่ เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 25

120. โนต ทํานองหลักเพลงประจําบาน เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 26

เทีย่ วกลบั ประโยคท่ี 25 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 27

วรรคที่ 1

มอื ขวา - รํ - - รํ รํ - มํ - รํ - ดํ - ล - ซ
มอื ซา ย - ลฺ - ร - ล - ม - ร - ด - - ซฺ -

วรรคที่ 2

มือขวา - - ล ซ - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ท ล - ซ
มอื ซา ย - ม - - ม - - ด - - ด - - - ซฺ -

121. โนตทาํ นองหลักเพลงประจาํ บา น
เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 26

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มอื ซาย - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

วรรคท่ี 2

มือขวา - - มํ รํ - รํ - รํ - รํ ดํ ท - - ดํ รํ
มอื ซาย - - - ร - ซ - ร ร - - - ล ท - ร

122. โนตทาํ นองหลักเพลงประจาํ บา น
เทย่ี วกลบั ประโยคที่ 27

วรรคที่ 1

มอื ขวา - รํ - - รํ รํ - มํ - รํ - ดํ - ล - ซ
มอื ซาย - ลฺ - ร - ล - ม - ร - ด - - ซฺ -

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - - ล ซ - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ท ล - ซ
มอื ซาย - ม - - ม - - ด - - ด - - - ซฺ -

147

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วีดทิ ศั น คําบรรยาย
ที่ เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 28

123. โนตทาํ นองหลักเพลงประจําบา น เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 29

เทยี่ วกลับ ประโยคท่ี 28 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 30

วรรคท่ี 1

มือขวา - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มอื ซา ย - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

วรรคท่ี 2

มือขวา - - มํ รํ - รํ - รํ - รํ ดํ ท - - ดํ รํ
มือซา ย - - - ร - ซ - ร ร - - - ล ท - ร

124. โนตทํานองหลกั เพลงประจําบา น
เท่ียวกลับ ประโยคท่ี 29

วรรคที่ 1

มือขวา - - - - รํ มํ - - รํ มํ - - รํ มํ - รํ
มอื ซาย - - - ซ - - ร ซ - - ร ซ - - ร -

วรรคที่ 2

มอื ขวา - ล - ซ - ซ - - - ม - ม - ม - -
มือซาย - - ซฺ - - ด - ด - - ร - ด ร - ร

125. โนตทํานองหลกั เพลงประจําบา น
เทยี่ วกลับ ประโยคที่ 30

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - - ซ ซ - ล - ซ - ม ร - - - ร ม
มือซา ย - ซฺ - - - ลฺ - ซฺ - - - ด ซฺ ด - -

วรรคที่ 2

มอื ขวา ซ ล - ซ - ซ - ซ ล ท - ล - ล - ล
มอื ซาย - - ซฺ - - ด - ซฺ - - ลฺ - - ร - ลฺ

148

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วีดทิ ัศน คําบรรยาย
ท่ี เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 31

126. โนตทํานองหลักเพลงประจําบา น เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 32

เที่ยวกลบั ประโยคที่ 31 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 33

วรรคท่ี 1

มือขวา - - - ล - - - ล - - ซ ซ - ล - ดํ
มอื ซา ย - - - ร - ลฺ - - - ร - - - ม - ด

วรรคท่ี 2

มือขวา - ซ - ล - ดํ - รํ - มํ - รํ - ดํ - ล
มือซาย - ร - ม - ด - ร - ม - ร - ด - ม

127. โนต ทาํ นองหลกั เพลงประจําบาน
เทยี่ วกลับ ประโยคที่ 32

วรรคท่ี 1 - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ทล-ซ
ม--ด --ด- - - ซฺ -
มือขวา - - ล ซ
มือซา ย - ม - - -ม-ม ซ-มซ - ดํ - ฟ
--ร- -ร-- -ด-ด
วรรคท่ี 2

มือขวา - ซ - -
มือซา ย - ด - ด

128. โนต ทาํ นองหลกั เพลงประจาํ บาน
เท่ียวกลบั ประโยคที่ 33

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - ฟ - - ฟ ซํ - - ลํ ซํ - - ฟ ซํ - ฟ
มอื ซา ย - ดํ - รํ - - ดํ รํ - - ฟ รํ - - - ดํ

วรรคที่ 2

มอื ขวา - มํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - - ดํ รํ มํ ฟ
มอื ซา ย - - รํ ดํ - - ดํ ล - - ซ ล - - - -

149

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วดี ิทศั น คําบรรยาย
ท่ี เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 34

129. โนต ทาํ นองหลกั เพลงประจําบา น เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 35

เที่ยวกลบั ประโยคท่ี 34 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 36

วรรคท่ี 1

มือขวา - ฟ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ รํ - - - รํ มํ
มือซา ย - ดํ - ซ - ล - ซ - - - ดํ ซ ดํ - -

วรรคท่ี 2

มือขวา ฟ ซํ ฟ - - ฟ - ซํ - ลํ - ฟ - ซํ - ลํ
มอื ซาย - - - ดํ - - - ซ - ล - ดํ - ซ - ล

130. โนต ทํานองหลักเพลงประจําบา น
เทย่ี วกลบั ประโยคที่ 35

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - - - ล - - - ล - - ซ ซ - ล - ดํ
มือซาย - - - ร - ลฺ - - - ซฺ - - - ลฺ - ด

วรรคที่ 2

มือขวา - ซ - ล - ดํ - รํ - มํ - รํ - ดํ - ล
มอื ซา ย - ร - ม - ด - ร - ม - ร - ด - ม

131. โนตทํานองหลกั เพลงประจาํ บาน
เทย่ี วกลบั ประโยคท่ี 36

วรรคท่ี 1 - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ทล-ซ
ม--ด --ด- - - ซฺ -
มือขวา - - ล ซ
มอื ซาย - ม - - -ม-ม ซ-มซ - ดํ - ฟ
--ร- -ร-- -ด-ด
วรรคท่ี 2

มอื ขวา - ซ - -
มือซาย - ด - ด

150

ลาํ ดับ ภาพประกอบ / วดี ทิ ัศน คําบรรยาย
ท่ี เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 37

132. โนตทํานองหลักเพลงประจําบา น เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 38

เทีย่ วกลับ ประโยคท่ี 37 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 39

วรรคที่ 1

มือขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล
มือซาย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มอื ซา ย - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

133. โนต ทํานองหลักเพลงประจาํ บา น
เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 38

วรรคที่ 1

มือขวา - - ซ ซ - ล - ซ - ล - ดํ - ล - ซ
มอื ซา ย - ซฺ - - - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ลฺ - ซฺ

วรรคที่ 2

มอื ขวา - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ซ - -
มือซา ย - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

134. โนต ทํานองหลักเพลงประจําบา น
เที่ยวกลับ ประโยคท่ี 39

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - ม - ม ซ ซ - - ซ - ม ซ - ม - -
มือซา ย - - ร - - ด - ด - ร - - ด ร - ร

วรรคท่ี 2

มือขวา - - ด ร - - ร ด - ร - ร ม ร - -
มอื ซา ย - ลฺ - - ด ล - ซฺ ลฺ - ด - - - ด ลฺ

151

ลาํ ดับ ภาพประกอบ / วดี ิทศั น คําบรรยาย
ที่ เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 40

135. โนต ทาํ นองหลกั เพลงประจาํ บาน เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 41

เท่ยี วกลับ ประโยคที่ 40 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 42

วรรคที่ 1

มือขวา - ม - ม ซ ม - - - - ด ร - - ด -
มอื ซา ย - - ร - - - ร ด - ลฺ - - ด ลฺ - ซ

วรรคที่ 2

มอื ขวา - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มอื ซาย - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

136. โนต ทํานองหลกั เพลงประจาํ บา น
เท่ยี วกลบั ประโยคที่ 41

วรรคท่ี 1

มือขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล
มอื ซา ย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ

วรรคที่ 2

มือขวา - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มือซา ย - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

137. โนตทํานองหลักเพลงประจาํ บา น
เที่ยวกลบั ประโยคท่ี 42

วรรคที่ 1

มือขวา - - ซ ซ - ล - ซ - ซ - - ซ ล ท ดํ
มอื ซา ย - ซฺ - - - ลฺ - ซฺ - ร - ม - - - ด

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - - มํ มํ - รํ - ดํ - รํ - ดํ - ล - ซ
มือซา ย - ม - - - ร - ด - - ด - - - ซฺ -

152

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วดี ิทศั น คําบรรยาย
ที่ เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 43

138. โนต ทาํ นองหลักเพลงประจาํ บาน เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 44

เที่ยวกลบั ประโยคที่ 43 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 45

วรรคท่ี 1

มือขวา - ดํ - ฟ - มํ - รํ - - - ดํ - - รํ มํ
มอื ซา ย - ด - ด - - ร - - ซ - - - ดํ - -

วรรคที่ 2

มือขวา ฟ ซํ ฟ - - ฟ - ซํ - ลํ - ลํ - ซํ - ฟ
มือซา ย - - - ดํ - - - ซ - ดํ - ล - ซ - ดํ

139. โนต ทํานองหลักเพลงประจําบาน
เท่ียวกลับ ประโยคท่ี 44

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - ดํ - ฟ - ซํ - ลํ - ซํ - ฟ - มํ - รํ
มอื ซาย - ซ - ดํ - ซ - ล - ซ - ดํ - ท - ล

วรรคที่ 2

มอื ขวา - ล ซ - ซ ซ - ดํ - มํ - รํ - ดํ - ล
มือซา ย - - - ซฺ - ร - ด - ม - ร - ด - ม

140. โนต ทาํ นองหลักเพลงประจําบา น
เท่ียวกลับ ประโยคท่ี 45

วรรคท่ี 1 - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ทล-ซ
ม--ด --ด- - - ซฺ -
มอื ขวา - - ล ซ
มือซา ย - ม - - -ม-ม ซ-มซ - ดํ - ฟ
--ร- -ร-- -ด-ด
วรรคที่ 2

มอื ขวา - ซ - -
มอื ซาย - ด - ด

153

ลําดับ ภาพประกอบ / วดี ทิ ศั น คําบรรยาย
ท่ี เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 46

141. โนตทาํ นองหลักเพลงประจาํ บา น เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 47

เทย่ี วกลบั ประโยคที่ 46 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 48

วรรคท่ี 1

มือขวา - ดํ - ฟ - ซํ - ลํ - ซํ - ฟ - มํ - รํ
มือซา ย - ซ - ดํ - ซ - ล - ซ - ดํ - ท - ล

วรรคที่ 2

มอื ขวา - ล ซ - ซ ซ - ดํ - มํ - รํ - ดํ - ล
มอื ซา ย - - - ซ - ร - ด - ม - ร - ด - ม

142. โนต ทํานองหลกั เพลงประจําบา น
เทยี่ วกลับ ประโยคที่ 47

วรรคที่ 1 - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ทล-ซ
ม--ด --ด- - - ซฺ -
มือขวา - - ล ซ
มอื ซาย - ม - - -ม-ม ซ-มซ - ดํ - ฟ
--ร- -ร-- -ด-ด
วรรคท่ี 2

มือขวา - ซ - -
มือซา ย - ด - ด

143. โนตทํานองหลักเพลงประจําบา น
เท่ียวกลับ ประโยคท่ี 48

วรรคที่ 1

มอื ขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล
มอื ซา ย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ

วรรคที่ 2

มอื ขวา - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มือซาย - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

154

ลําดับ ภาพประกอบ / วีดทิ ศั น คําบรรยาย
ที่ เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 49

144. โนตทํานองหลกั เพลงประจําบา น เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 50

เทีย่ วกลบั ประโยคท่ี 49 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 51

วรรคที่ 1

มอื ขวา - - - - รํ มํ - - รํ มํ - - รํ มํ - รํ
มือซา ย - - - ซ - - ร ซ - - ร ซ - - ร -

วรรคท่ี 2

มือขวา - ซํ - ซํ ฟ มํ - รํ - ดํ - ซ - - ล ล
มอื ซาย - - ซ - - - ร ร - ด - ซฺ - ลฺ - -

145. โนต ทาํ นองหลกั เพลงประจาํ บาน
เทย่ี วกลบั ประโยคที่ 50

วรรคที่ 1

มอื ขวา - รํ - ดํ - ล - ซ - ดํ - รํ - ดํ - ฟ
มอื ซา ย - ร - ด - ลฺ - ซฺ - ด - ร - ด - ด

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - ดํ - ซ - - ล ล
มือซา ย - - ด ด - - ร ร - ด - ซฺ - ลฺ - -

146. โนตทาํ นองหลักเพลงประจําบาน
เที่ยวกลับ ประโยคที่ 51

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - รํ - ดํ - ล - ซ - ดํ - รํ - ดํ - ฟ
มือซาย - ร - ด - ลฺ - ซฺ - ด - ร - ด - ด

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ลํ
มอื ซาย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ล - ล

155

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วีดทิ ศั น คําบรรยาย
ท่ี เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 52

147. โนต ทํานองหลกั เพลงประจาํ บาน เพลงประจาํ บา น เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 53

เทยี่ วกลบั ประโยคที่ 52 เพลงประจาํ บาน เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 54

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - ลํ - ลํ - ลํ - ซํ - ซํ - - ฟ ซํ - ฟ
มือซา ย - รํ - ดํ - ล - ซ - - รํ มํ - - - ดํ

วรรคที่ 2

มอื ขวา - - รํ มํ - - - รํ มํ รํ - - รํ ดํ - รํ
มอื ซาย - ดํ - - - ร - - - - ดํ ล - ซ - ร

148. โนตทาํ นองหลกั เพลงประจําบาน
เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 53

วรรคที่ 1

มือขวา - - - - - ม - ม - ม - ม - ม - -
มือซา ย - - - ด - - ร - ด - ร - ด ร - ร

วรรคที่ 2

มือขวา - ล - ซ - ซ - - - ม - ม - ม - -
มอื ซาย - - ซฺ - - ด - ด - - ร - ด ร - ร

149. โนต ทาํ นองหลกั เพลงประจาํ บา น
เท่ยี วกลับ ประโยคท่ี 54

วรรคท่ี 1

มอื ขวา ซ ล - ซ - ซ - - ซ ม - ม - ม - -
มือซาย - - ซฺ - - ด - ด - - ร - ด - ร ร

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - ท ล - - - ล ท - ดํ - รํ - มํ - รํ
มอื ซาย - - - ซ ร ซ - - - ซ - ร - ม - ร

156

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วีดทิ ศั น คาํ บรรยาย
ที่ เพลงประจําบาน เที่ยวกลับ ประโยคที่ 55

150. โนตทํานองหลักเพลงประจําบาน

เทย่ี วกลบั ประโยคท่ี 55

วรรคที่ 1

มือขวา - ซํ - มํ - รํ - ดํ - ซ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซาย - ซ - ม - ร - ด - ร - ด - ร - ม

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - รํ - มํ - ฟ - ซํ - ลํ - ซํ - - ลํ ลํ
มือซาย - ล - ท - ดํ - ซ - ล - ซ - ล - -

151. โนตทาํ นองหลกั เพลงประจําบา น เพลงประจาํ บาน เทย่ี วกลับ ประโยคที่ 56
เที่ยวกลับ ประโยคที่ 56

วรรคท่ี 1

มือขวา - ลํ - ลํ - ลํ - ซํ - ฟ - รํ - ดํ - ฟ
มอื ซาย - รํ - ดํ - ล - ซ - ดํ - ล - ซ - ดํ

วรรคที่ 2

มอื ขวา - - - ซ - - - ล - - - ดํ - - - รํ
มือซาย - - -ร - - - ม - - - ด - - - ร

152. เพลงประจําบาน เทย่ี วกลับ

นักเรียนทําความเขาใจกับโนตทํานองหลักเพลงประจําบาน

เที่ยวกลับ และบรรเลงฆองมอญวงใหญตามเสียงและภาพ

การบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ วดี ิทศั นท ีละวรรค ปฏบิ ัตซิ ้ํากันหลายๆครง้ั จนจบเทย่ี วกลบั
เพลงประจาํ บา น เที่ยวกลับ เพ่ือใหเกิดทักษะความชํานาญและถูกตองตามทํานองและ
จังหวะ รวมท้ังเคล่ือนไหวมือตีฆองมอญวงใหญได
ประกอบจังหวะฉิ่ง คลองแคลว และสมั พนั ธตามจงั หวะ

ถา นักเรียนคนใดยังไมสามารถทํากิจกรรมดังกลาวได

ใหนักเรียนยอนเสียงและภาพวีดิทัศน เพื่อกลับไป

ทบทวนไดตามความเหมาะสม

157

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วีดทิ ศั น คําบรรยาย
ท่ี

153. จากการท่นี ักเรียนไดเรยี นรูและปฏิบัติฆองมอญวงใหญ

เพลงประจําบานไดถูกตองแลว ใหนักเรียนบรรเลง

ฆองมอญวงใหญเพลงประจําบาน ตั้งแตตนจนจบเพลง

พรอมๆกัน

การบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ ตอไปจะเปนการสาธิตการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

เพลงประจําบา น เพลงประจําบาน ประกอบจังหวะหนาทับ และจังหวะฉ่ิง

ประกอบจงั หวะหนาทับและจังหวะฉิง่ ใหนกั เรยี นปฏบิ ัตไิ ปพรอมๆกบั การดวู ีดทิ ัศน

หลังจากท่ีนักเรียนไดดูและฟงเพลงจากวีดิทัศน

การสาธิตการบรรเลงฆองมอญวงใหญเพลงประจําบานน้ี

แลว ใหนักเรียนฝกปฏิบัติ และทบทวนกิจกรรมการเรียน

ตา งๆใหถูกตอง

สรปุ
เพลงประจําวัด ใชบรรเลงประโคมในการจัดงานท่ีวัดและบรรเลงประโคมสอดแทรกในชวงเวลาตางๆ

ที่วางเวนจากพิธีกรรม เพลงประจําวัดคนมอญจะใชบรรเลงไดเฉพาะท่ีวัดเทานั้น เพราะเพลงประจําวัดใชบรรเลง

ประโคมแดสิ่งศักดิ์สิทธ์ิภายในวัด และไมวาจะเปนงานมงคล เชน งานบวช หรืองานศพ ตองทําพิธีบูชา
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทุกคร้ัง เพลงประจําวัด ใชตะโพนมอญ และเปงมางคอกตีกํากับจังหวะหนาทับ ใน 1 หนาทับ

มีความยาวเทากับ 2 ประโยค ทํานองเพลงมีทํานองขึ้นตน 2 ประโยค ทํานองหลักของเพลงมีความยาวท้ังหมด

66 ประโยค หรือ 33 จังหวะหนาทับ โดยแบงเปนทํานองเที่ยวแรก 36 ประโยค หรือ 18 จังหวะหนาทับ และ
ทํานองเที่ยวกลับ 30 ประโยค หรอื 15 จงั หวะหนาทับ

เพลงประจําบาน เปนเพลงที่ใชบรรเลงประโคมขณะบําเพ็ญกุศลท่ีบาน เพื่อเปนสิริมงคล และความ
เจรญิ รงุ เรือง คนมอญแตเดิมไดใชเพลงประจําบานประโคมในการบําเพ็ญกุศลไดทั้งงานมงคลและงานอวมงคล
เพลงประจําบานใชบรรเลงประโคมในงานบําเพ็ญกุศลท่ีวัดได ซ่ึงตางกับเพลงประจําวัดท่ีคนมอญใชบรรเลง

ประโคมไดเฉพาะที่วัดหามมิใหไปใชบรรเลงท่ีบาน เพลงประจําบาน ใชตะโพนมอญ และเปงมางคอกตีกํากับ

จังหวะหนาทับ ใน 1 หนาทับมีความยาวเทากับ 4 ประโยค ทํานองเพลงมีทํานองขึ้นตน 2 ประโยค ทํานองหลัก
ของเพลงมีความยาวท้ังหมด 56 ประโยค หรือ 14 จังหวะหนาทับ โดยแบงเปนทํานองเที่ยวแรก 24 ประโยค

หรือ 6 จงั หวะหนา ทบั และทาํ นองเทย่ี วกลบั 32 ประโยค หรอื 8 จังหวะหนา ทบั

158

แบบทดสอบระหวา งเรยี น
บทท่ี 5 เร่ือง เพลงประจําวดั

ดานความรู

คําช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ีมีท้งั หมด 9 ขอ

2. ขอ สอบแตล ะขอมีคําตอบใหเลือก 4 คําตอบ
3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในชอ ง ก ข ค หรือ ง ทถี่ กู ตองทีส่ ดุ เพยี ง

คําตอบเดยี วลงในกระดาษคาํ ตอบ

1. “เพลงประจําวัด” ชาวมอญเรียกวาเพลงอะไร
ก. โรว โรต
ข. โกกเปงหะมาว
ค. ปา ตกะลา
ง. ปาตกาว

2. ขอใดคือความหมายของเพลงประจําวดั
ก. การใหความเคารพส่ิงศกั ดิ์สทิ ธภ์ิ ายในวัด
ข. การบรรเลงเพอ่ื เปนการประโคมที่วัด
ค. การอญั เชิญสิ่งศักดสิ์ ิทธภ์ิ ายในวัด
ง. ความเจรญิ รุง เรอื งของวดั

3. ขอ ใดไมใ ชเหตุผลท่ชี าวมอญหา มบรรเลงเพลงประจําวัดทบี่ าน
ก. เปนเพลงทใ่ี ชบ รรเลงในงานอวมงคล
ข. เปนเพลงท่ีบรรเลงประโคมใหก บั สงิ่ ศักดิ์สิทธิ์ภายในวดั
ค. ชาวมอญถอื วา เพลงประจําวดั เปน ของวัด
ง. เปน เพลงทใี่ ชบ ชู าตะละทาน

4. จงั หวะทีใ่ ชในการดนตรีไทย แยกออกเปน 3 อยาง ยกเวน ขอ ใด
ก. จังหวะสามัญ
ข. จังหวะฉ่งิ
ค. จังหวะฉบั
ง. จงั หวะหนาทบั

159

5. “กรอ” คือวธิ กี ารบรรเลงเคร่ืองดนตรีประเภทใด
ก. กลองทัด
ข. ฆองวง
ค. กลองแขก
ง. ฉิ่ง

6. เคร่ืองดนตรีที่ขงึ ดว ยหนงั ชน้ิ ใดเกิดข้นึ เปน ช้นิ แรก
ก. ตะโพน
ข. ทับ
ค. กลองมลายู
ง. รํามะนา

7. สญั ลักษณข องตัวโนต ท หมายถงึ ขอใด
ก. วธิ กี ารตตี ะโพนมอญแบบเปด มอื ทห่ี นาเทง หรอื หนาเล็ก
ข. วธิ กี ารตตี ะโพนมอญแบบปด มอื ทหี่ นาเทง หรือหนาเลก็
ค. วิธกี ารตตี ะโพนมอญแบบเปด มือท่ีหนาทงึ หรอื หนา ใหญ
ง. วธิ กี ารตตี ะโพนมอญพรอมกนั ทง้ั สองหนา

8. หนาทบั ทใ่ี ชตีกํากับทาํ นองเพลงประจําวดั 1 หนาทบั มีกป่ี ระโยค
ก. 1 ประโยค
ข. 2 ประโยค
ค. 3 ประโยค
ง. 4 ประโยค

9. หนาทบั ที่ใชต ีกาํ กบั ทํานองเพลงประจําวัด 1 หนาทับ ในสว นท่ีเปงมางคอกตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง
มีกี่ประโยค
ก. 1 ประโยค
ข. 2 ประโยค
ค. 3 ประโยค
ง. 4 ประโยค

160

แบบทดสอบระหวา งเรยี น
บทท่ี 5 เรอ่ื ง เพลงประจําวัด

ดา นทักษะ
คาํ ชี้แจง ใหนักเรยี นแบงกลุมๆละ 2 คน แลว ปฏบิ ตั ฆิ อ งมอญวงใหญ เพลงประจําวัด ตัง้ แตต นจนจบ ทีละกลุม

161

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทท่ี 5 เรื่อง เพลงประจําบา น

ดานความรู

คาํ ชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีท้ังหมด 9 ขอ

2. ขอสอบแตล ะขอมีคําตอบใหเลอื ก 4 คําตอบ
3. ใหนกั เรียนทาํ เคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในชอ ง ก ข ค หรอื ง ทถ่ี กู ตองทีส่ ดุ เพียง

คาํ ตอบเดียวลงในกระดาษคําตอบ

1. “เพลงประจําบา น” ชาวมอญเรยี กวาเพลงอะไร
ก. โรว โรต
ข. โกกเปงหะมาว
ค. ปา ตกะลา
ง. ปาตกาว

2. ขอ ใดคือความหมายของเพลงประจาํ บา น
ก. การใหความเคารพส่ิงศกั ด์ิสิทธภ์ิ ายในบาน
ข. การบรรเลงเพื่อเปนการประโคมบาน
ค. การอัญเชิญสิง่ ศักดิ์สทิ ธ์ิภายในบาน
ง. ความเจรญิ รงุ เรอื ง

3. เพลงประจําบา นใชบรรเลงในโอกาสใด
ก. บรรเลงประโคมขณะบําเพ็ญกุศลท่ีบา น
ข. บรรเลงประโคมขณะบาํ เพ็ญกุศลที่วัด
ค. บรรเลงประโคมในงานมงคล
ง. ถูกทุกขอ

4. การบรรเลงแทรกเสียงเขามาในเวลาบรรเลงทํานอง “เก็บ” ท่ีเรียกวา “สะบดั ” สามารถแทรกไดแหงละกี่พยางค
ก. 1 พยางค
ข. 2 พยางค
ค. 3 พยางค
ง. 4 พยางค

162

5. “ประคบ” หมายถึง ขอใด
ก. เปนวิธีปฏบิ ัติอยา งหนงึ่ ของเครื่องดนตรีประเภทตีที่ใชบังคับเสียงสูงตา่ํ
ข. การบรรเลงท่ที าํ ใหเสียงดนตรดี งั ชดั เจน ถูกตองตามความเหมาะสมของทาํ นองเพลง
ค. เปน วธิ กี ารบรรเลงอยางหนึง่ ทท่ี ําใหเ กิดเสยี งเตนระริกไปในตัวเลก็ นอย
ง. การบรรเลงใหเ สยี งดนตรีหลายๆเสียงดังตดิ ตอกัน และถกู ตองตามความเหมาะสม

6. จากโนต ด ร ม ฟ ซ ล ท ดํ ถามือซา ยอยทู ่ีโนต ตวั ด และจะตีเปนคู 5 มอื ขวาจะอยทู โ่ี นตตวั ใด
ก. ซ
ข. ล
ค. ท
ง. ดํ

7. หนาทบั ท่ใี ชต ีกํากับทาํ นองเพลงประจําบาน 1 หนา ทบั มีกปี่ ระโยค
ก. 1 ประโยค
ข. 2 ประโยค
ค. 3 ประโยค
ง. 4 ประโยค

8. หนาทบั ท่ใี ชตกี าํ กบั ทาํ นองเพลงประจําบาน 1 หนา ทบั ในสวนที่เปงมางคอกตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง
มีกปี่ ระโยค
ก. 1 ประโยค
ข. 2 ประโยค
ค. 3 ประโยค
ง. 4 ประโยค

9. หนาทับท่ีใชตีกํากับทาํ นองเพลงประโยค หรือลงจบของเพลงประจําบาน เปงมางคอกจะตีรวั ในหองเพลงใดบาง
ก. 2 หองเพลงสุดทา ย
ข. 4 หอ งเพลงสุดทาย
ค. 6 หอ งเพลงสุดทาย
ง. 8 หอ งเพลงสุดทาย

163

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทที่ 5 เร่ือง เพลงประจาํ บา น

ดา นทักษะ

คําชแี้ จง ใหน กั เรียนแบง กลมุ ๆละ 2 คน แลวปฏบิ ัติฆองมอญวงใหญ เพลงประจําบา น ตั้งแตต นจนจบ
ทลี ะกลุม

164

แบบทดสอบระหวา งเรยี น
บทที่ 5 เรอ่ื ง การบรรเลงทํานองหลกั เพลงประจาํ วดั และประจาํ บา น

ประกอบจงั หวะหนา ทบั และจังหวะฉิ่ง

ดานทกั ษะ

คาํ ช้แี จง ใหนักเรยี นแบง กลุมๆละ 2 คน ปฏิบัตติ ามหวั ขอตอไปนี้

- ปฏบิ ตั ฆิ องมอญวงใหญเพลงประจําวัด ประกอบจงั หวะหนาทบั และจงั หวะฉิ่ง
- ปฏิบตั ฆิ องมอญวงใหญเ พลงประจาํ บา น ประกอบจังหวะหนาทบั และจังหวะฉ่งิ

165

แบบทดสอบวดั ความรคู วามเขาใจในภาคทฤษฎี หลังเรยี น
เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ รายวชิ า ปพ าทย 4 ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 5

กลมุ สาระการเรียนรูวชิ าชีพปพ าทย

คาํ ชแ้ี จง 1. แบบทดสอบฉบบั นี้มที ง้ั หมด 30 ขอ

2. ขอ สอบแตล ะขอมีคาํ ตอบใหเ ลอื ก 4 คําตอบ
3. ใหน ักเรยี นทาํ เครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในชอง ก ข ค หรือ ง ที่ถกู ตอง ที่สุดเพียง

คาํ ตอบเดียวลงในกระดาษคําตอบ

1. ลกู ฆอ งมอญวงใหญมที ัง้ หมดก่ีลูก
ก. 14 ลูก
ข. 15 ลกู
ค. 16 ลกู
ง. 17 ลูก

2. วงปพ าทยมอญเครื่องคู มีเครือ่ งดนตรชี ิน้ ใดบา งทเ่ี พิม่ ข้ึนมาจากวงปพาทยม อญเครอื่ งหา
ก. ฆองมอญวงเล็ก และระนาดทมุ
ข. ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุม เหลก็
ค. เปงมาง และโหมง
ง. ระนาดทมุ และเปงมาง

3. วงปพ าทยม อญในระยะแรกประกอบดวยเคร่ืองดนตรีชิ้นใดบา ง
ก. ระนาดเอก ปม อญ ตะโพนมอญ เปง มาง ฉาบใหญ
ข. ระนาดเอก ฆองมอญ ปมอญ ตะโพนมอญ ฉาบใหญ
ค. ฆอ งมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ เปง มาง ฉาบใหญ
ง. ฆองมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ ฉิ่ง ฉาบใหญ

4. ขอใดไมใ ชก ารประสมวงปพาทยม อญ
ก. วงปพ าทยม อญเคร่ืองหา
ข. วงปพาทยมอญเครื่องหก
ค. วงปพาทยม อญเครื่องคู
ง. วงปพ าทยมอญเครื่องใหญ

166

5. ปพาทยมอญเขามาเผยแพรใ นประเทศไทยต้ังแตส มัยใด
ก. สมยั กรงุ สโุ ขทัย
ข. สมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา
ค. สมัยกรุงธนบรุ ี
ง. สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร

6. รา นฆองมอญแบบโบราณ ทางหัวโคงดานซา ยมือของผูบรรเลงนิยมแกะสลักเปนรูปอะไร
ก. หงส
ข. ครฑุ
ค. กนิ นร
ง. พระ

7. ใครเปน ผูนําเอาฆองมอญมาบรรเลงประกอบการราํ ผใี นชมุ ชนมอญจงั หวดั ปทมุ ธานี
ก. นายสี (ไมทราบนามสกุล)
ข. นายเจ้นิ ดนตรเี สนาะ
ค. นายสมุ ดนตรเี จริญ
ง. หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง)

8. การประสมวงปพาทยม อญเคร่ืองคเู กิดข้ึนในสมัยใด
ก. รัชกาลท่ี 2
ข. รชั กาลท่ี 3
ค. รชั กาลท่ี 4
ง. รชั กาลที่ 5

9. หวั โคงของรานฆองมอญดานซา ยมือของผบู รรเลงมชี ่อื เรียกวาอะไร
ก. หนาพระ
ข. หางหงส
ค. หางแมงปอ ง
ง. หางกินนร

10. ขอ ใดไมใ ชพธิ ีกรรมของชาวมอญ
ก. พธิ ีรําบายศรี
ข. พธิ รี าํ เจา
ค. พิธรี าํ สามถาด
ง. พธิ รี ําผี

167

11. ขอใดไมใชเ คร่ืองดนตรีในวงปพ าทยมอญเคร่อื งหา
ก. ระนาดเอก
ข. ระนาดทมุ
ค. ตะโพนมอญ
ง. เปง มางคอก

12. คเู สียงตา งเสียง (คหู ก) ของฆองมอญวงใหญมที ง้ั หมดก่ีคู
ก. 10 คู
ข. 11 คู
ค. 12 คู
ง. 13 คู

13. คูถ างตา งเสียง (คู 10) ของฆองมอญวงใหญมที ัง้ หมดกี่คู
ก. 2 คู
ข. 4 คู
ค. 6 คู
ง. 8 คู

14. ลูกฆอ งมอญวงใหญม ีการขามเสียงระหวางลูกท่เี ทาใดบาง
ก. ระหวา งลกู ท่ี 1 กบั ลูกท่ี 2 และลกู ที่ 4 กบั ลูกท่ี 5
ข. ระหวา งลกู ที่ 2 กบั ลูกท่ี 3 และลกู ที่ 5 กับลูกท่ี 6
ค. ระหวางลกู ท่ี 3 กับลูกที่ 4 และลกู ท่ี 6 กับลูกที่ 7
ง. ระหวางลูกท่ี 4 กับลูกท่ี 5 และลูกที่ 7 กบั ลูกท่ี 8

15. คถู างเสียงเดยี วกนั (คู 15) ของฆองมอญวงใหญมีทง้ั หมดก่คี ู
ก. 1 คู
ข. 2 คู
ค. 3 คู
ง. 4 คู

16. คเู สียงเดียวกัน (คูแ ปด) ของฆองมอญวงใหญม ีทั้งหมดก่คี ู
ก. 4 คู
ข. 6 คู
ค. 8 คู
ง. 10 คู

168

17. เสียง ดํ หรอื โดสงู หมายถงึ ขอใด
ก. เสยี งของลกู ฆอ งมอญลกู ที่ 7 นับจากซายมือของผูบ รรเลง
ข. เสียงของลูกฆอ งมอญลูกที่ 8 นบั จากซายมือของผูบรรเลง
ค. เสียงของลกู ฆอ งมอญลกู ที่ 9 นบั จากซา ยมือของผบู รรเลง
ง. เสียงของลกู ฆองมอญลูกท่ี 10 นับจากซายมือของผูบรรเลง

18. “ฆองมอญ” ภาษามอญเรียกวา อะไร
ก. ปาตกาง
ข. ปา ตกะลา
ค. ปาตนาม
ง. ปา ตจยา

19. เสียง ซฺ หรอื ซอลตา่ํ หมายถงึ ขอใด
ก. เสยี งของลูกฆอ งมอญลกู ที่ 1 นับจากซา ยมือของผบู รรเลง
ข. เสียงของลกู ฆองมอญลูกท่ี 2 นบั จากซา ยมือของผบู รรเลง
ค. เสยี งของลูกฆอ งมอญลูกท่ี 3 นับจากซา ยมือของผูบรรเลง
ง. เสยี งของลูกฆองมอญลูกที่ 4 นบั จากซายมือของผบู รรเลง

20. จากกระแสคาํ บอกเลา บุคคลทานใดท่แี บกหามฆอ งมอญวงแรกเขา มาในประเทศไทย
ก. นายสี (ไมทราบนามสกุล)
ข. นายเจน้ิ ดนตรีเสนาะ
ค. นายสมุ ดนตรเี จริญ
ง. หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

21. เสยี งของฆองมอญวงใหญล กู สดุ ทาย (ลกู ยอด) ทางขวามือของผตู ี ตรงกบั โนตเสยี งใด
ก. เร
ข. มี
ค. ซอล
ง. ที

22. เสยี งของฆองมอญวงใหญล กู แรก (ลูกท่งั ) ทางซา ยมือของผตู ี ตรงกับโนตเสยี งใด
ก. โด
ข. เร
ค. มี
ง. ซอล

169

23. ขอใดไมใชสว นประกอบของฆองมอญ
ก. หรู ะวิง
ข. โขนฆอง
ค. ลกู มะหวด
ง. เทา ฆอง

24. เพลงประจาํ วัดใชเ คร่ืองดนตรชี ิน้ ใดบางบรรเลงกํากับจังหวะหนา ทบั
ก. ตะโพนมอญ และเปงมางคอก
ข. ตะโพน และกลองสองหนา
ค. ตะโพน และกลองทดั
ง. กลองแขก

25. เพลงประจาํ บา นจัดอยูในเพลงประเภทใด
ก. เพลงพธิ ีกรรม
ข. เพลงเรื่อง
ค. เพลงโหมโรง
ง. เพลงประกอบการแสดง

26. เพลงประจําวดั ใชเ คร่ืองดนตรีชนิ้ ใดบรรเลงขนึ้ นําเปน ชิน้ แรก
ก. ฆองมอญวงใหญ
ข. ตะโพนมอญ
ค. โหมง
ง. ระนาดเอก

27. ขอใดคือความหมายของเพลงประจาํ บาน
ก. การเชญิ สงิ่ ศักด์สิ ทิ ธท์ิ ี่เปน ม่ิงขวัญ
ข. ความเจรญิ รงุ เรือง
ค. การใหค วามเคารพสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ
ง. บรรเลงเพอ่ื เปน การประโคมทบ่ี าน

28. เน้อื ของหนาทับที่ใชต กี ํากับทาํ นองเพลงประจําบานมีกป่ี ระโยค
ก. 2 ประโยค
ข. 4 ประโยค
ค. 6 ประโยค
ง. 8 ประโยค

170

29. ขอใดคือความหมายของเพลงประจําวัด
ก. ความเจริญรงุ เรืองในวดั
ข. บรรเลงเพ่อื เปนการประโคมทีว่ ัด
ค. การใหความเคารพสิ่งศักด์ิสิทธิ์ภายในวัด
ง. การเชิญสงิ่ ศกั ดิ์สิทธ์ิทเ่ี ปน มง่ิ ขวัญในวัด

30. เพลงประจําบาน ชาวมอญใชบ รรเลงในงานอะไร
ก. งานศพ
ข. งานบวช
ค. งานทาํ บญุ บา น
ง. ถูกทุกขอ

171

แบบประเมินผลการเรยี น และการสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น

172

แบบประเมนิ ผลการเรียน หนวยการเรยี นรทู ี.่ ..5... เรอ่ื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรูท่ี...1... เรอ่ื ง...ประวัตปิ พ าทยมอญ และเคร่ืองดนตรใี นวงปพาทยมอญ...

รายวิชา...ปพ าทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่...5...

คําช้ีแจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหค ะแนนผลการเรยี นท่ีระบุไวในคูมอื การใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ดา นความรู

ลํา ัดบ ี่ทช่อื - สกลุ รวม ระดับ
คะแนน คุณภาพ
ประวั ิตความเปนมาของ
ปพาทยมอญในประเทศไทย

เคร่ืองดนตรีในวง
ปพาทยมอญ

การประสมวง ปพาทยมอญ
ประเภทตาง ๆ

(3) (3) (3) (9)

1 ระดับคณุ ภาพ สรุปผลประเมินดา นความรู
2 ดีมาก ระดับดมี าก = ...... คน
3 ดี ระดบั ดี = ....... คน
4 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
5 ปรับปรุง ระดับปรบั ปรงุ = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑคณุ ภาพ
ระดบั 4 = 8 - 9
ระดบั 3 = 6 - 7
ระดับ 2 = 4 - 5
ระดบั 1 = 1 – 3

173

แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมการเรียน
หนว ยการเรยี นรูที.่ ..5... เรอื่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรูท่.ี ..1... เรอ่ื ง...ประวตั ปิ พ าทยม อญ และเครื่องดนตรีในวงปพาทยมอญ...
รายวิชา...ปพาทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่.ี ..5...

คําช้ีแจง ใหครูผสู อนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวใ นคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชื่อ - สกลุ
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดับคณุ ภาพ สรปุ ผลประเมินดา นคุณลกั ษณะ
3 ดมี าก ระดบั ดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดบั ดี = ....... คน
5 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
6 ปรับปรุง ระดบั ปรบั ปรุง = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑคณุ ภาพ
ระดับ 4 = 13 - 15
ระดบั 3 = 9 - 12
ระดับ 2 = 5 - 8
ระดับ 1 = 1 – 4

174

แบบประเมนิ ผลการเรยี น หนว ยการเรียนรทู ่ี...5... เรื่อง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรียนรูท ี่...2... เร่ือง...เอกลักษณของฆองมอญวงใหญ. ..
รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหสั วิชา...ศ 32210... ชน้ั มธั ยมศึกษาปท.่ี ..5...

คําช้ีแจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรียนที่ระบไุ วใ นคูม ือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ดา นความรู

ลาํ ดบั ท่ี ช่ือ - สกลุ หลุมของฆองมอญวงใหญ รวม ระดบั
คูเสียงของฆองมอญวงใหญ คะแนน คุณภาพ
คู ถางของ ฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (9)

1 ระดบั คุณภาพ สรุปผลประเมนิ ดานความรู
2 ดมี าก ระดับดีมาก = ...... คน
3 ดี ระดับดี = ....... คน
4 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
5 ปรบั ปรงุ ระดับปรับปรุง = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑค ุณภาพ
ระดับ 4 = 8 - 9
ระดับ 3 = 6 - 7
ระดับ 2 = 4 - 5
ระดับ 1 = 1 – 3

175

แบบประเมนิ ผลการสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน
หนวยการเรียนรูท ี่...5... เรอื่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรูที่...2... เรือ่ ง...เอกลักษณของฆองมอญวงใหญ. ..
รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหสั วิชา...ศ 32210... ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี...5...

คาํ ชแ้ี จง ใหค รูผูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวในคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ช่อื - สกลุ
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลประเมินดานคณุ ลกั ษณะ
3 ดีมาก ระดับดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดับดี = ....... คน
5 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
6 ปรับปรุง ระดับปรับปรงุ = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑค ุณภาพ
ระดบั 4 = 13 - 15
ระดบั 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดบั 1 = 1 – 4

176

แบบประเมินผลการเรยี น หนว ยการเรียนรูที่...5... เร่ือง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรทู ี่...3... เร่อื ง…ความรูพ น้ื ฐานเก่ียวกับฆองมอญวงใหญ. ..

รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ช้ันมัธยมศกึ ษาปที.่ ..5...

คําช้ีแจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรยี นที่ระบุไวใ นคมู อื การใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ดา นความรู

ลาํ ดับท่ี ชื่อ - สกุล ประวั ิตและ สวนประกอบของ รวม ระดับ
ฆองมอญวงให ญ คะแนน คณุ ภาพ

วิธีการ ํสารวจความพ รอมและป ัรบ
เค ่ืรองดนต ีรกอนการบรรเลง
ทา ัน่ง วิธีการจับไ มและ ัลกษณะ
วิธีการ ีตฆองมอญวงใหญ

วิธีการเก็บ ัรกษาฆองมอญวงใหญ
และไ ม ีตฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (9)

1 ระดับคณุ ภาพ สรปุ ผลประเมินดานความรู
2 ดมี าก ระดบั ดมี าก = ...... คน
3 ดี ระดบั ดี = ....... คน
4 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
5 ปรบั ปรุง ระดบั ปรับปรงุ = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑค ุณภาพ
ระดับ 4 = 8 - 9
ระดับ 3 = 6 - 7
ระดับ 2 = 4 - 5
ระดับ 1 = 1 – 3

177

แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น
หนว ยการเรียนรทู ่.ี ..5... เร่ือง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรียนรูท่ี...3... เรอ่ื ง...ความรพู น้ื ฐานเกย่ี วกับฆอ งมอญวงใหญ. ..
รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ช้ันมัธยมศึกษาปท .่ี ..5...

คาํ ชีแ้ จง ใหครผู ูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนที่ระบุไวใ นคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชือ่ - สกลุ
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดบั คณุ ภาพ สรุปผลประเมินดา นคณุ ลกั ษณะ
3 ดมี าก ระดับดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดับดี = ....... คน
5 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
6 ปรบั ปรุง ระดบั ปรับปรุง = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ
ระดบั 4 = 13 - 15
ระดับ 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดับ 1 = 1 – 4

178

แบบประเมินผลการเรยี น หนว ยการเรียนรูท.่ี ..5... เร่อื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรทู .ี่ ..4... เรื่อง...แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ...

รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชั้นมธั ยมศึกษาปท่.ี ..5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหค ะแนนผลการเรียนทร่ี ะบไุ วในคมู ือการใชเอกสารประกอบการเรยี นการสอน

ดานความรู ดา นทกั ษะ

ลําดบั ชือ่ - สกลุ วิธีการปฏิบั ิตแบบ ฝก ัทกษะการบรรเลง รวม ระดบั
ที่ ฆองมอญวงใหญ คะแนน คุณภาพ

ความแ มนยําของทํานองในการปฏิบั ิต
แบบ ฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ความถูก ตองของจังหวะในการปฏิบั ิต
แบบ ฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ุคณภาพเ ีสยงและรส ืมอในการปฏิบั ิต
แบบ ฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ปฏิภาณไหวพ ิรบในการปฏิบั ิตแบบ ฝก
ัทกษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
บุค ิลกภาพในการปฏิบั ิตแบบ ฝก ัทกษะ

การบรรเลงฆองมอญวงใหญ

(3) (3) (3) (3) (3) (3) (18)

1 ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผลประเมินดา นความรแู ละทกั ษะ
2 ดีมาก ระดับดีมาก = ...... คน
3 ดี ระดบั ดี = ....... คน
4 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
5 ปรบั ปรงุ ระดบั ปรบั ปรงุ = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ
ระดับ 4 = 15 - 18
ระดบั 3 = 11 - 14
ระดบั 2 = 6 - 10
ระดับ 1 = 1 - 5

179

แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียน
หนว ยการเรียนรทู .่ี ..5... เรอื่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรียนรูท่ี...4... เร่ือง...แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ...
รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวชิ า...ศ 32210... ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่...5...

คาํ ชแี้ จง ใหค รผู ูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนที่ระบุไวใ นคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชื่อ - สกลุ
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดับคณุ ภาพ สรุปผลประเมินดานคุณลกั ษณะ
3 ดีมาก ระดบั ดมี าก = ...... คน
4 ดี ระดับดี = ....... คน
5 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
6 ปรบั ปรุง ระดบั ปรบั ปรงุ = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ
ระดับ 4 = 13 - 15
ระดับ 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดบั 1 = 1 – 4

180

แบบประเมนิ ผลการเรยี น หนวยการเรยี นรูท ี.่ ..5... เรอ่ื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรยี นรูที.่ ..5... เรอื่ ง...เพลงประจําวดั ...

รายวิชา...ปพาทย 4... รหสั วิชา...ศ 32210... ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท.่ี ..5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรียนทีร่ ะบไุ วในคูมอื การใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ดานความรู ดานทกั ษะ

ลําดับ ชอ่ื - สกลุ ประวั ิตเพลงประ ํจาวัด รวม ระดบั
ที่ ความหมายของศัพทสังคีต คําวา คะแนน คณุ ภาพ

ัจงหวะ กรอ และหนาทับ
หนาทับเพลงประ ํจาวัด
ความแ มน ํยาของทํานองเพลงประ ํจาวัด
ความ ูถก ตองของ ัจงหวะเพลงประ ํจาวัด
คุณภาพเสียงและรส ืมอในการบรรเลง

ฆองมอญวงให ญ
ป ิฏภาณไหวพริบในการบรรเลง

ฆองมอญวงให ญ
บุคลิกภาพในการบรรเลง

ฆองมอญวงให ญ

(3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (24)

1 ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลประเมินดา นความรูและทกั ษะ
2 ดีมาก ระดับดมี าก = ...... คน
3 ดี ระดับดี = ....... คน
4 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
5 ปรับปรุง ระดบั ปรับปรงุ = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑคณุ ภาพ
ระดับ 4 = 19 - 24
ระดับ 3 = 13 - 18
ระดบั 2 = 7 - 12
ระดับ 1 = 1 - 6

181

แบบประเมนิ ผลการสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น
หนวยการเรยี นรทู ่.ี ..5... เรอ่ื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรียนรทู .ี่ ..5... เร่ือง...เพลงประจาํ วดั ...
รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี.่ ..5...

คาํ ชแ้ี จง ใหครผู ูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวในคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชอ่ื - สกุล
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดับคณุ ภาพ สรปุ ผลประเมนิ ดา นคุณลกั ษณะ
3 ดีมาก ระดับดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดับดี = ....... คน
5 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
6 ปรับปรงุ ระดับปรับปรุง = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑคุณภาพ
ระดับ 4 = 13 - 15
ระดบั 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดบั 1 = 1 – 4

182

แบบประเมินผลการเรยี น หนว ยการเรยี นรูท่ี...5... เรอ่ื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจัดการเรยี นรูที.่ ..6... เร่อื ง...เพลงประจําบาน...

รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชัน้ มัธยมศึกษาปท .่ี ..5...

คําช้ีแจง ใหครูผูสอนใสคะแนนที่เหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหค ะแนนผลการเรียนท่รี ะบุไวในคมู ือการใชเอกสารประกอบการเรยี นการสอน

ดานความรู ดา นทกั ษะ

ลาํ ดับ ชือ่ - สกลุ ประวั ิตเพลงประ ํจาบาน รวม ระดบั
ที่ ความหมายของศัพทสังคีต คําวา สะบัด คะแนน คณุ ภาพ

ประคบ และคู
หนาทับเพลงประ ํจาบาน
ความแ มน ํยาของทํานองเพลงประ ํจาบาน
ความ ูถก ตองของ ัจงหวะเพลงประ ํจาบาน
คุณภาพเสียงและรส ืมอในการบรรเลง

ฆองมอญวงให ญ
ป ิฏภาณไหวพริบในการบรรเลง

ฆองมอญวงให ญ
บุคลิกภาพในการบรรเลง

ฆองมอญวงให ญ

(3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (24)

1 ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผลประเมนิ ดา นความรูและทกั ษะ
2 ดมี าก ระดบั ดีมาก = ...... คน
3 ดี ระดบั ดี = ....... คน
4 พอใช ระดบั พอใช = ...... คน
5 ปรับปรุง ระดับปรบั ปรงุ = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ
ระดบั 4 = 19 - 24
ระดับ 3 = 13 - 18
ระดับ 2 = 7 - 12
ระดบั 1 = 1 - 6

183

แบบประเมนิ ผลการสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น
หนว ยการเรียนรูท.ี่ ..5... เรอื่ ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี...6... เรอ่ื ง...เพลงประจาํ บาน...
รายวิชา...ปพ าทย 4... รหัสวิชา...ศ 32210... ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท.่ี ..5...

คําช้ีแจง ใหครูผสู อนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนที่เหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนที่ระบุไวในคูมือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ช่อื - สกลุ
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผลประเมินดา นคุณลกั ษณะ
3 ดมี าก ระดับดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดบั ดี = ....... คน
5 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
6 ปรบั ปรุง ระดบั ปรับปรุง = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ
ระดบั 4 = 13 - 15
ระดับ 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดบั 1 = 1 – 4

184

แบบประเมนิ ผลการเรยี น หนวยการเรียนรทู ่ี...5... เร่อื ง...การบรรเลงเพลงมอญ...
แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี...7...

เรอ่ื ง...การบรรเลงทาํ นองหลักเพลงประจาํ วดั และประจําบานประกอบจงั หวะหนาทบั และจังหวะฉ่ิง...
รายวชิ า...ปพ าทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี...5...

คําชี้แจง ใหครูผูสอนใสคะแนนท่ีเหมาะสมใหตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และ

การใหคะแนนผลการเรียนทีร่ ะบไุ วในคมู ือการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ดา นทกั ษะ

ลําดบั ชอ่ื - สกลุ ความแ มน ํยาของทํานองเพลงประ ํจาวัด รวม ระดบั
ท่ี ความ ูถก ตองของ ัจงหวะเพลงประ ํจาวัด คะแนน คุณภาพ
ความแ มน ํยาของทํานองเพลงประ ํจาบาน
ความ ูถก ตองของ ัจงหวะเพลงประ ํจาบาน
คุณภาพเสียงและรส ืมอในการบรรเลง

ฆองมอญวงให ญ
ป ิฏภาณไหวพริบในการบรรเลงฆองมอญวงให ญ

บุคลิกภาพในการบรรเลงฆองมอญวงให ญ

(3) (3) (3) (3) (3) (3) (3) (21)

1 ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผลประเมนิ ดานความรูและทกั ษะ
2 ดีมาก ระดบั ดีมาก = ...... คน
3 ดี ระดบั ดี = ....... คน
4 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
5 ปรบั ปรุง ระดับปรับปรุง = ....... คน
6
7
8
9
10

เกณฑค ณุ ภาพ
ระดบั 4 = 17 - 21
ระดบั 3 = 12 - 16
ระดบั 2 = 7 - 11
ระดับ 1 = 1 - 6

185

แบบประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
หนว ยการเรียนรูท ี่...5... เร่ือง...การบรรเลงเพลงมอญ... แผนการจดั การเรยี นรูท ่ี...7...
เร่ือง...การบรรเลงเพลงประจําวัดและประจาํ บานประกอบจังหวะหนาทับและจงั หวะฉงิ่ ...

รายวิชา...ปพาทย 4... รหสั วชิ า...ศ 32210... ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่.ี ..5...

คําช้แี จง ใหครูผูสอนประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคลโดยใชวิธีสังเกตในขณะดําเนินการสอน

แลวใสคะแนนท่ีเหมาะสม ใหตรงกับการพฤติกรรมของนักเรียน โดยใชเกณฑการประเมิน และการใหคะแนน
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนท่ีระบุไวใ นคูมือการใชเ อกสารประกอบการเรียนการสอน

ลํา ัดบ ่ีท
ความข ัยนหม่ันเ ีพยร

ความรับ ิผดชอบ
การตรง ตอเวลา
ความ ่ืซอสัต ยสุจริต
มีจิตสาธารณะ

รวมคะแนน
ระ ัดบ ุคณภาพ
ชือ่ - สกุล
(3) (3) (3) (3) (3) (15)
1
2 ระดบั คณุ ภาพ สรุปผลประเมินดา นคณุ ลกั ษณะ
3 ดีมาก ระดับดีมาก = ...... คน
4 ดี ระดบั ดี = ....... คน
5 พอใช ระดับพอใช = ...... คน
6 ปรบั ปรุง ระดับปรับปรงุ = ....... คน
7
8
9
10

เกณฑคณุ ภาพ
ระดับ 4 = 13 - 15
ระดบั 3 = 9 - 12
ระดบั 2 = 5 - 8
ระดับ 1 = 1 – 4

186

เกณฑก ารประเมิน และการใชแบบประเมนิ ผล

เกณฑการประเมินน้ี เปนการประเมินผลแบบรายบุคคล ที่มีครูผูสอนทําหนาท่ีประเมิน โดยจะตอง
สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่เขารับการประเมินอยางละเอียด ตามรายการประเมินและเกณฑการ
ใหคะแนนทรี่ ะบไุ ว โดยผปู ระเมนิ ตอ งปฏิบัติดงั นี้

1. ศึกษาทําความเขาใจเกี่ยวกับรายการประเมิน และเกณฑการใหคะแนนที่ระบุไวอยาง
ละเอยี ดเพื่อใหไดผ ลการประเมินที่ถูกตอ งตามเกณฑทก่ี ําหนดไว

2. สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนและเขียนคะแนนตามระดับคุณภาพท่ีระบุในเกณฑ
การใหค ะแนนลงในชองคะแนน

3. รวมคะแนนจากแบบประเมนิ หลงั จากเสร็จสน้ิ การประเมินในแตล ะบท

การประเมินและการใหคะแนน
การประเมินจะใหคะแนนตามเกณฑการประเมิน โดยใชวิธีการประเมินผลตามสภาพจริง ที่มีระดับ

คะแนน 3 , 2 และ 1 ตามลาํ ดบั ความถกู ตอ งตามเกณฑการใหคะแนน

187

เกณฑก ารประเมนิ และการใหคะแนน การประเมินผลการเรยี น
เร่ือง แบบฝก ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

รายการประเมนิ ระดับคะแนน

1. ความแมนยําของ 32 1
ทาํ นองในการปฏบิ ัติ สามารถปฏบิ ตั แิ บบฝก
แบบฝกทกั ษะการ สามารถปฏบิ ัติแบบฝก สามารถปฏิบตั แิ บบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ ง
บรรเลงฆองมอญ มอญวงใหญได แตขาด
วงใหญ ทักษะการบรรเลงฆอง ทกั ษะการบรรเลงฆอง ความแมนยํา ไม
สมบูรณ ไมครบถวน
2. ความถกู ตองของ มอญวงใหญไดอยาง มอญวงใหญได มีความ
จงั หวะในการปฏบิ ตั ิ ปฏิบตั แิ บบฝกทกั ษะ
แบบฝกทกั ษะการ แมน ยาํ มีความ แมน ยาํ ชัดเจน การบรรเลงฆองมอญวง
บรรเลงฆอ งมอญ ใหญค รอ มจังหวะเปน
วงใหญ สมบูรณช ัดเจน พอสมควร สว นใหญ ขาดความ
สมบรู ณ ไมครบถวน
3. คุณภาพเสยี งและ ครบถว น ถกู ตองตาม
รสมือในการปฏบิ ัติ สามารถปฏบิ ัติฆองมอญ
แบบฝกทกั ษะการ หลักวิธีการปฏบิ ตั ิ วงใหญไ ด แตขาด
บรรเลงฆองมอญ คุณภาพเสียงและรสมือ
วงใหญ สามารถปฏิบัตแิ บบฝก สามารถปฏบิ ัติแบบฝก ตามหลกั วิธีการปฏบิ ัติ
ใชกลวธิ คี วบคมุ ใหเ สยี ง
ทักษะการบรรเลงฆอง ทักษะการบรรเลงฆอ ง ดงั - เบาไดไมช ัดเจน
ขาดการสอดใสอารมณ
มอญวงใหญเขากับ มอญวงใหญเ ขากับ กับบทเพลง ขาดความ
สมบรู ณ
จังหวะไดอยางถูกตอง จังหวะได แตบ รรเลง

มคี วามสมบูรณ ชดั เจน ครอมจังหวะในบาง

ถกู ตองตามหลักวิธีการ ประโยค

ปฏิบตั เิ ขาจังหวะ

สามารถปฏบิ ัติฆองมอญ สามารถปฏิบตั ฆิ องมอญ

วงใหญไ ด มคี ุณภาพ วงใหญได มีคุณภาพ

เสียงและรสมอื มคี วาม เสยี งและรสมอื ตาม

ถูกตองสมบูรณชดั เจน หลักวธิ กี ารปฏิบัติ ใช

ตามหลกั วธิ ีการปฏิบตั ิ กลวิธีควบคมุ ใหเ สียง

ใชก ลวธิ ีควบคุมใหเสียง ดัง - เบาได สอดใส

ดัง - เบาได สอดใส อารมณเหมาะสมกับ

อารมณเ หมาะสมกับ บทเพลงได มคี วาม

บทเพลงไดอยา งไพเราะ สมบูรณ ชัดเจน

มคี วามสมบูรณชัดเจน พอสมควร

ครบถวน ถูกตองตาม

หลกั วธิ ีการปฏิบัติ

188

รายการประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1
มีปฏภิ าณไหวพริบใน 2 ไมมีปฏิภาณไหวพรบิ ใน
4. ปฏภิ าณไหวพริบ การแกป ญหาการ การแกป ญหาการปฏบิ ัติ
ในการปฏบิ ัติแบบฝก ปฏิบัติฆองมอญวงใหญ มีปฏภิ าณไหวพรบิ ใน ฆอ งมอญวงใหญ
ทักษะการบรรเลง ไดเปน อยางดี การแกป ญหาการ
ฆอ งมอญวงใหญ ปฏบิ ัตฆิ อ งมอญวงใหญ ขาดบุคลกิ ภาพในการ
5. บุคลกิ ภาพในการ มีบุคลิกภาพในการ ได แตไมสมบรู ณ ปฏบิ ัตฆิ อ งมอญวงใหญ
ปฏิบตั แิ บบฝก ทกั ษะ ปฏิบตั ิฆอ งมอญวงใหญ ตามหลักวธิ กี ารปฏิบตั ิ
การบรรเลงฆองมอญ ถกู ตองตามหลักวธิ กี าร มีบคุ ลิกภาพในการ
วงใหญ ปฏิบัติ ครบถว น ปฏิบัติฆอ งมอญวงใหญ
สมบูรณ ตามหลกั วิธกี ารปฏิบตั ิ
แตไ มส มบูรณ

189

เกณฑการประเมิน และการใหคะแนน การประเมินผลการเรยี น
เร่อื ง เพลงประจําวดั

รายการประเมนิ ระดับคะแนน
1. ความแมน ยํา
ของทาํ นองเพลง 32 1
ประจําวัด
สามารถปฏิบัตเิ พลง สามารถปฏบิ ตั เิ พลง สามารถปฏิบัตเิ พลง
2. ความถูกตอง
ของจงั หวะเพลง ประจาํ วัดไดอยา ง ประจาํ วัดได มีความ ประจําวัดได แตขาด
ประจาํ วัด
แมนยาํ มคี วาม แมนยํา ชัดเจน ความแมน ยํา ไมสมบูรณ
3. คุณภาพเสยี ง
และรสมือในการ สมบูรณ ชัดเจน พอสมควร ไมค รบถวน
บรรเลงฆองมอญ
วงใหญ ครบถวน ถูกตองตาม

หลกั วธิ ีการปฏิบัติ

สามารถปฏิบตั เิ พลง สามารถปฏบิ ตั ิเพลง ปฏบิ ัตเิ พลงประจาํ วัด

ประจําวัดเขากับ ประจําวดั เขากบั จังหวะ ครอมจงั หวะเปน สว น

จังหวะไดอยา งถูกตอง ได แตบ รรเลงครอม ใหญ ขาดความสมบรู ณ

มีความสมบรู ณ ชัดเจน จังหวะในบางประโยค ไมค รบถว น

ถกู ตองตามหลักวธิ ีการ

ปฏบิ ัตเิ ขาจงั หวะ

สามารถปฏิบตั ิฆองมอญ สามารถปฏบิ ัตฆิ องมอญ สามารถปฏิบัตฆิ องมอญ

วงใหญได มคี ุณภาพ วงใหญได มีคุณภาพ วงใหญไ ด แตขาด

เสียงและรสมอื มคี วาม เสยี งและรสมอื ตาม คุณภาพเสียงและรสมือ

ถูกตองสมบรู ณช ดั เจน หลักวิธีการปฏิบตั ิ ใช ตามหลักวิธกี ารปฏบิ ัติ

ตามหลกั วธิ ีการปฏบิ ัติ กลวิธคี วบคมุ ใหเ สยี ง ใชกลวธิ ีควบคุมใหเ สยี ง

ใชก ลวธิ ีควบคุมใหเสียง ดงั - เบาได สอดใส ดงั - เบาไดไมชดั เจน

ดัง - เบาได สอดใส อารมณเหมาะสมกบั ขาดการสอดใสอารมณ

อารมณเหมาะสมกบั บทเพลงได มคี วาม กบั บทเพลง ขาดความ

บทเพลงไดอยา งไพเราะ สมบรู ณ ชัดเจน สมบรู ณ

มคี วามสมบูรณชัดเจน พอสมควร

ครบถว น ถูกตองตาม

หลกั วธิ ีการปฏบิ ตั ิ

190

รายการประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1
มปี ฏิภาณไหวพรบิ ใน 2 ไมมีปฏิภาณไหวพรบิ ใน
4. ปฏภิ าณไหว การแกป ญหาการ การแกป ญหาการปฏบิ ัติ
พริบในการบรรเลง ปฏบิ ตั ิฆอ งมอญวงใหญ มีปฏภิ าณไหวพริบใน ฆอ งมอญวงใหญ
ฆอ งมอญวงใหญ ไดเปนอยางดี การแกป ญหาการ
ปฏบิ ัตฆิ อ งมอญวงใหญ ขาดบุคลกิ ภาพในการ
5. บคุ ลกิ ภาพใน มบี คุ ลกิ ภาพในการ ได แตไมสมบรู ณ ปฏบิ ัตฆิ อ งมอญวงใหญ
การบรรเลงฆอง ปฏิบตั ิฆอ งมอญวงใหญ ตามหลักวธิ กี ารปฏิบตั ิ
มอญวงใหญ ถูกตองตามหลักวธิ กี าร มบี คุ ลิกภาพในการ
ปฏิบตั ิ ครบถวน ปฏิบัติฆอ งมอญวงใหญ
สมบรู ณ ตามหลกั วิธกี ารปฏิบตั ิ
แตไมส มบูรณ

191

เกณฑการประเมิน และการใหคะแนน การประเมินผลการเรียน
เรือ่ ง เพลงประจาํ บา น

รายการประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1
2

1. ความแมนยํา สามารถปฏิบตั เิ พลง สามารถปฏิบตั เิ พลง สามารถปฏิบตั ิเพลง

ของทํานองเพลง ประจําบา นไดอ ยาง ประจาํ บานได มีความ ประจาํ บา นได แตข าด

ประจาํ บา น แมน ยํา มคี วาม แมนยํา ชัดเจน ความแมนยํา ไมสมบูรณ

สมบรู ณ ชัดเจน พอสมควร ไมครบถวน

ครบถวน ถูกตองตาม

หลกั วิธีการปฏบิ ัติ

2. ความถกู ตอง สามารถปฏบิ ัตเิ พลง สามารถปฏิบัตเิ พลง ปฏบิ ัตเิ พลงประจําบาน

ของจังหวะเพลง ประจําบา นเขากบั ประจําบานเขา กบั ครอ มจังหวะเปน สวน

ประจําบาน จงั หวะไดอยางถูกตอง จังหวะได แตบรรเลง ใหญ ขาดความสมบูรณ

มีความสมบูรณ ชัดเจน ครอมจงั หวะในบาง ไมครบถวน

ถกู ตองตามหลักวธิ กี าร ประโยค

ปฏบิ ตั ิเขาจงั หวะ

3. คุณภาพเสียง สามารถปฏบิ ตั ิฆองมอญ สามารถปฏิบัติฆองมอญ สามารถปฏิบตั ฆิ องมอญ

และรสมือในการ วงใหญไ ด มคี ุณภาพ วงใหญได มคี ุณภาพ วงใหญได แตขาด

บรรเลงฆอ งมอญวง เสยี งและรสมอื มีความ เสียงและรสมือตาม คณุ ภาพเสียงและรสมือ

ใหญ ถกู ตองสมบรู ณชัดเจน หลักวธิ ีการปฏิบตั ิ ใช ตามหลักวธิ ีการปฏิบัติ

ตามหลักวธิ กี ารปฏบิ ัติ กลวธิ ีควบคมุ ใหเ สียง ใชกลวธิ ีควบคุมใหเ สยี ง

ใชกลวิธีควบคุมใหเสยี ง ดัง - เบาได สอดใส ดงั - เบาไดไมชดั เจน

ดัง - เบาได สอดใส อารมณเ หมาะสมกับ ขาดการสอดใสอารมณ

อารมณเ หมาะสมกบั บทเพลงได มคี วาม กับบทเพลง ขาดความ

บทเพลงไดอยา งไพเราะ สมบรู ณ ชดั เจน สมบูรณ

มคี วามสมบูรณช ัดเจน พอสมควร

ครบถวน ถูกตองตาม

หลกั วธิ กี ารปฏิบัติ

192

รายการประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1
มปี ฏิภาณไหวพรบิ ใน 2 ไมมีปฏิภาณไหวพรบิ ใน
4. ปฏภิ าณไหว การแกป ญหาการ การแกป ญหาการปฏบิ ัติ
พริบในการบรรเลง ปฏบิ ตั ิฆอ งมอญวงใหญ มีปฏภิ าณไหวพริบใน ฆอ งมอญวงใหญ
ฆอ งมอญวงใหญ ไดเปนอยางดี การแกป ญหาการ
ปฏบิ ัตฆิ อ งมอญวงใหญ ขาดบุคลกิ ภาพในการ
5. บคุ ลกิ ภาพใน มบี คุ ลกิ ภาพในการ ได แตไมสมบรู ณ ปฏบิ ัตฆิ อ งมอญวงใหญ
การบรรเลงฆอง ปฏิบตั ิฆอ งมอญวงใหญ ตามหลักวธิ กี ารปฏิบตั ิ
มอญวงใหญ ถูกตองตามหลักวธิ กี าร มบี คุ ลิกภาพในการ
ปฏิบตั ิ ครบถวน ปฏิบัติฆอ งมอญวงใหญ
สมบรู ณ ตามหลกั วิธกี ารปฏิบตั ิ
แตไมส มบูรณ

193

เกณฑก ารประเมิน และการใหค ะแนน การประเมินผลการเรยี น
เร่ือง การบรรเลงเพลงประจําวดั และประจําบานประกอบจังหวะหนาทบั และจงั หวะฉ่ิง

รายการประเมนิ ระดับคะแนน
1. ความแมน ยํา
ของทํานองเพลง 32 1
ประจาํ วดั
สามารถปฏบิ ัตเิ พลง สามารถปฏบิ ัตเิ พลง สามารถปฏบิ ัติเพลง
2. ความถกู ตอง
ของจงั หวะเพลง ประจําวัดไดอยาง ประจาํ วัดได มีความ ประจําวดั ได แตขาด
ประจาํ วดั
แมน ยํา มคี วาม แมนยาํ ชัดเจน ความแมนยํา ไมส มบรู ณ
3. ความแมนยาํ
ของทํานองเพลง สมบูรณ ชดั เจน พอสมควร ไมครบถวน
ประจาํ บา น
ครบถวน ถูกตองตาม
4. ความถกู ตอง
ของจงั หวะเพลง หลกั วธิ ีการปฏบิ ัติ
ประจําบา น
สามารถปฏบิ ัติเพลง สามารถปฏบิ ตั เิ พลง ปฏบิ ตั เิ พลงประจําวัด

ประจาํ วัดเขา กับ ประจําวดั เขา กับจงั หวะ ครอมจังหวะเปน สวน

จงั หวะไดอยา งถูกตอง ได แตบรรเลงครอม ใหญ ขาดความสมบูรณ

มคี วามสมบรู ณ ชดั เจน จงั หวะในบางประโยค ไมครบถวน

ถกู ตองตามหลักวิธีการ

ปฏบิ ัติเขา จงั หวะ

สามารถปฏบิ ัตเิ พลง สามารถปฏิบตั เิ พลง สามารถปฏบิ ตั ิเพลง

ประจําบานไดอยา ง ประจําบา นได มีความ ประจาํ บา นได แตข าด

แมนยํา มคี วาม แมน ยาํ ชดั เจน ความแมน ยํา ไมสมบูรณ

สมบรู ณ ชดั เจน พอสมควร ไมครบถวน

ครบถว น ถูกตองตาม

หลกั วิธีการปฏบิ ัติ

สามารถปฏิบตั เิ พลง สามารถปฏิบัตเิ พลง ปฏบิ ัตเิ พลงประจาํ บาน

ประจําบานเขากับ ประจําบานเขา กับ ครอ มจงั หวะเปนสวน

จงั หวะไดอยา งถูกตอง จงั หวะได แตบ รรเลง ใหญ ขาดความสมบรู ณ

มคี วามสมบรู ณ ชัดเจน ครอ มจงั หวะในบาง ไมค รบถว น

ถกู ตองตามหลักวธิ กี าร ประโยค

ปฏิบตั เิ ขา จงั หวะ

194

รายการประเมิน 3 ระดบั คะแนน 1
5. คุณภาพเสยี ง สามารถปฏิบตั ิฆองมอญ 2 สามารถปฏบิ ตั ฆิ องมอญ
และรสมอื ในการ วงใหญได มีคุณภาพ วงใหญไ ด แตขาด
บรรเลงฆองมอญ เสยี งและรสมอื มีความ สามารถปฏบิ ตั ิฆองมอญ คุณภาพเสยี งและรสมือ
วงใหญ ถกู ตองสมบูรณชดั เจน วงใหญได มคี ุณภาพ ตามหลกั วิธกี ารปฏิบัติ
ตามหลกั วิธีการปฏบิ ตั ิ เสียงและรสมอื ตาม ใชก ลวิธคี วบคุมใหเสยี ง
6. ปฏภิ าณไหว ใชก ลวิธีควบคุมใหเสยี ง หลักวิธกี ารปฏิบัติ ใช ดงั - เบาไดไมชดั เจน
พริบในการบรรเลง ดงั - เบาได สอดใส กลวธิ ีควบคุมใหเสียง ขาดการสอดใสอารมณ
ฆองมอญวงใหญ อารมณเ หมาะสมกบั ดงั - เบาได สอดใส กับบทเพลง ขาดความ
7. บุคลกิ ภาพใน บทเพลงไดอยางไพเราะ อารมณเหมาะสมกบั สมบูรณ
การบรรเลงฆอง มคี วามสมบรู ณชัดเจน บทเพลงได มีความ
มอญวงใหญ ครบถว น ถูกตองตาม สมบูรณ ชดั เจน ไมมปี ฏภิ าณไหวพริบใน
หลกั วธิ กี ารปฏิบตั ิ พอสมควร การแกปญหาการปฏิบัติ
ฆอ งมอญวงใหญ
มปี ฏิภาณไหวพริบใน มีปฏภิ าณไหวพริบใน
การแกปญหาการ การแกป ญหาการ ขาดบคุ ลกิ ภาพในการ
ปฏบิ ัตฆิ องมอญวงใหญ ปฏบิ ัติฆอ งมอญวงใหญ ปฏบิ ัติฆองมอญวงใหญ
ไดเปนอยางดี ได แตไ มสมบรู ณ ตามหลกั วธิ กี ารปฏบิ ัติ
มีบุคลกิ ภาพในการ
มบี ุคลกิ ภาพในการ ปฏิบตั ิฆองมอญวงใหญ
ปฏบิ ตั ฆิ องมอญวงใหญ ตามหลักวิธกี ารปฏบิ ตั ิ
ถูกตองตามหลักวธิ ีการ แตไ มส มบรู ณ
ปฏิบตั ิ ครบถวน
สมบูรณ

195

เกณฑการประเมนิ และการใหค ะแนน การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรม

รายการประเมิน 3 ระดับคะแนน 1
1. ความขยนั หมั่น มีความขยนั หมนั่ เพียร 2 ไมมีความขยนั หมน่ั
เพียร ในการเรยี น หมัน่ เพยี ร และไมมีการ
ฝก ฝนทบทวนความรู มีความขยนั หมน่ั เพียร ทบทวนความรู
2. ความรบั ผิดชอบ อยา งสมํ่าเสมอ ในการเรยี น แตไมคอย
ฝกฝนทบทวนความรู ไมมีความรบั ผดิ ชอบใน
3. การตรงตอเวลา มีความรบั ผดิ ชอบ มี ทุกๆอยางท่ีไดรับ
ความเอาใจใสใ นสิง่ ที่ มีความรบั ผดิ ชอบในส่ิง มอบหมาย
4. ความซื่อสัตย ไดร ับมอบหมายดีมาก ทไ่ี ดร บั มอบหมายเปน เขา เรียนสายเปนประจํา
สุจริต บางครัง้ และไมตรงตอเวลาทม่ี ี
มคี วามตรงตอเวลาใน เขา หองเรยี นชา บา ง การนดั หมาย
5. มจี ติ สาธารณะ การเขา หองเรียน และ และมาสายเม่ือมีการ
เมือ่ มีการนดั หมายเปน นดั หมายเปนบางคร้งั ไมร ักษากฎระเบียบและ
อยางดี ขอ ตกลง
มคี วามซ่ือสัตย
มคี วามซ่ือสตั ย อยูใน พอสมควร และไม เปนผูทีไ่ มมีจิต
กฎระเบยี บ และ รกั ษากฎระเบยี บ และ สาธารณะ ไมมีความ
ขอ ตกลงในหอ งเรียนดี ขอตกลงเปน บางครงั้ เออื้ เฟอเผอื่ แผ
มาก เปนผทู ่ีมีจิตสาธารณะ
มคี วามเอ้ือเฟอ เผ่ือแผ
เปน ผูทีม่ ีจติ สาธารณะ พอสมควร
มคี วามเอ้ือเฟอ เผื่อแผ
เปน อยา งมาก


Click to View FlipBook Version