The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wisut7942, 2021-03-22 22:10:14

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

46

สรปุ
ฆองมอญวงใหญวงแรก เขามาอยูในประเทศไทยพรอมกับชาวมอญที่อพยพและมีผูแบกหามฆองมอญ

เขา มาดวย ฆองมอญมีสว นประกอบทีส่ ําคัญ คือ รานฆอ ง และลกู ฆอง กอนที่จะบรรเลงตองมีการสํารวจความพรอม
ของเคร่ืองดนตรีใหอยูในสภาพท่ีพรอมใชงานกอนทุกครั้ง ทานั่งตีจะนั่งขัดสมาธิราบ หรือน่ังพับเพียบก็ได
นั่งใหตรงตําแหนงกึ่งกลางของรานฆอง ลําตัวตรง โดยนั่งฝงท่ีดานซายมือของผูบรรเลงเปนสวนของหนาพระ
วิธกี ารจับไมจะใชหลกั การเดียวกนั กบั การจบั ไมฆองไทย ลักษณะวิธีการตี คือ ตีใหหนาไมฆองต้ังฉากกับลูกฆอง
ตีใหถูกตรงกลางปุมของลูกฆอง ใชขอมือและกลามเน้ือแขนเปนหลัก ยกไมใหสูงจากลูกฆองที่จะตีพอสมควร
(ประมาณ 5 - 6 นิ้ว) หลงั จากบรรเลงเสรจ็ ใหทําความสะอาดโดยใชผ า เช็ด และใชผา คลุมใหเรียบรอ ย

47

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทที่ 3 เรื่อง ความรพู ้ืนฐานเกีย่ วกบั ฆอ งมอญวงใหญ

ดา นความรู

คําช้แี จง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มที ้ังหมด 9 ขอ

2. ขอสอบแตละขอมีคาํ ตอบใหเลอื ก 4 คําตอบ
3. ใหนกั เรียนทาํ เครื่องหมายกากบาท (X) ลงในชอง ก ข ค หรอื ง ท่ถี ูกตองทสี่ ุดเพยี ง

คาํ ตอบเดยี วลงในกระดาษคําตอบ

1. จากกระแสที่วา มนี ักดนตรปี พ าทยมอญอพยพมาจากเมืองเมาะตะมะ และไดแบกฆองมอญประจําตระกูล
ชื่อวา “จุวาง” มาดว ย ในที่นี้หมายถงึ ใคร
ก. ครูสมุ ดนตรีเจรญิ
ข. ครเู จนิ้ ดนตรีเจรญิ
ค. นายสี (ไมท ราบนามสกุล)
ง. ครชู ะอุม ดนตรเี สนาะ

2. ฆอ งมอญวงใหญ 1 วง มีลูกฆองทง้ั หมดกี่ลูก
ก. 14 ลูก
ข. 15 ลูก
ค. 16 ลูก
ง. 17 ลกู

3. รา นฆอ งมอญทําจากไมเนื้อแขง็ ขุดเจาะเปน กลองเสยี ง ประกอบดว ยกส่ี วน
ก. 1 สวน
ข. 2 สวน
ค. 3 สวน
ง. 4 สว น

4. การสํารวจความพรอมของฆอ งมอญวงใหญกอนการบรรเลง ขอ ใดมีความสําคัญนอยท่สี ดุ
ก. ลกู ฆองตองอยูตรงกลางรานฆอง โดยทีฉ่ ัตรของลูกฆองตอ งไมส ัมผัสกับรา นฆองและลกู ฆองขา งเคยี ง
ข. ลูกฆอ งเรยี งลาํ ดับตามตําแหนงของระดบั เสียงไดถูกตอง
ค. ลูกฆอ งและรานฆองตองอยใู นสภาพท่สี ะอาด พรอ มทีจ่ ะบรรเลง
ง. คณุ ภาพเสยี งของลกู ฆอ งแตละลูกอยูในสภาพสมบูรณ

48

5. ขอใดไมใชวิธกี ารจับไมตีฆองมอญวงใหญ
ก. ใหกานไมวางพาดกระชบั กบั รอ งกลางตรงขอมอื และเลยเขา ไปใตแขนเล็กนอ ย
ข. ใหแ นวไมกบั แขนของผบู รรเลงเปนแนวเสน ตรงเดียวกนั
ค. สวนหวั ของไมต องอยูในสภาพทสี่ มบรู ณ
ง. น้วิ ทุกน้วิ จับไมใหแ นนพอประมาณ

6. ขอ ใดไมใ ชล ักษณะวิธกี ารตฆี องมอญวงใหญท่ีถกู ตอง
ก. ยกไมใ หส งู จากลกู ฆองทจี่ ะตีพอสมควร ประมาณ 9 - 10 นิว้
ข. ตใี หหนาไมต ง้ั ฉากกับลูกฆอง
ค. ตีใหถูกตรงกลางปุม ของลูกฆอง
ง. ใชข อมือและกลา มเนอ้ื แขนเปนหลัก

7. ขอใดไมใ ชวิธีการเก็บรักษาฆองมอญวงใหญท ่ีถูกตอง
ก. การลากหรือดันฆองมอญไปกบั พื้นท่เี รยี บจะชวยประหยัดแรง และทําใหร า นฆองเกดิ การกระแทก
ข. ควรเกบ็ ฆองมอญไวในท่ีอุณหภูมิพอเหมาะ ไมร อนจดั หรอื เยน็ จัดมากเกนิ ไป
ค. การเคลอ่ื นยายฆองมอญจะตอ งใชวธิ กี ารยกเทา น้นั
ง. เม่อื ตะกัว่ ถวงเสยี งหลุดใหรีบตดิ ทันที

8. ขอ ใดไมใ ชว ิธเี ก็บไมต ีฆองมอญวงใหญทถี่ ูกวิธี
ก. เมอ่ื ตเี สรจ็ ใหว างไมตีไวบนลกู ฆองบรเิ วณก่ึงกลางของรานฆอง
ข. เม่ือตีเสร็จใหวางไมต ีไวที่พ้ืนบรเิ วณกึง่ กลางระหวางผูบรรเลงกับรา นฆอง
ค. เมื่อตเี สรจ็ ใหเสียบไมต ีไวใ นรา นฆอ งตรงบรเิ วณก่ึงกลางของรานฆอ ง
ง. ไมม ขี อถูก

9. ขอ ใดไมใ ชว ิธีการเกบ็ รักษาฆอ งมอญวงใหญภ ายหลงั การบรรเลงทีถ่ ูกตอง
ก. ทําความสะอาดเพยี งใชผา เชด็
ข. ใชผ าซึง่ เย็บตามรปู แบบของรานฆองคลุมใหเ รียบรอย
ค. ยกเก็บไวใ นทส่ี ูงจากพนื้ พอสมควร ประมาณ 1 - 2 เมตร
ง. หา มใชเ ครือ่ งขัด ขดั ลกู ฆองใหเปน เงางามโดยเด็ดขาด

49

บทที่ 4

แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

หลังจากที่ไดศึกษาความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับฆองมอญวงใหญที่เปนความรูดานทฤษฎีไปแลว ข้ันตอไป
จะเปน การฝก ปฏิบัตดิ านทกั ษะ โดยแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญในเลมนี้ ผูจัดทําไดประดิษฐข้ึนใหม
โดยมีวตั ถปุ ระสงคเพ่อื ใหนกั เรียนไดใชฝ กปฏบิ ัติกอนทจี่ ะตอ เพลงประจําวัด และประจําบานในหลักสูตรรายวิชา
ปพ าทย 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ของวทิ ยาลัยนาฏศิลป

กอนที่จะเริม่ ฝก ปฏิบตั ิทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ นักเรียนทุกคนจะตองทําความเขาใจเก่ียวกับ
สัญลกั ษณ ชว งเสยี ง และตาํ แหนงของตวั โนตทอ่ี ยูบนฆองมอญวงใหญ ดงั น้ี

ซฺ อา นวา ซอลต่าํ หมายถึง ลกู ฆอ งมอญลกู ที่ 1 นบั จากซายมือของผูบรรเลง
ลฺ อา นวา ลาตาํ่ หมายถึง ลกู ฆองมอญลกู ท่ี 2 นบั จากซายมอื ของผบู รรเลง
ด อานวา โด หมายถึง ลูกฆองมอญลกู ท่ี 3 นับจากซายมือของผูบรรเลง
ร อา นวา เร หมายถงึ ลกู ฆองมอญลกู ท่ี 4 นับจากซายมอื ของผูบ รรเลง
ม อา นวา มี หมายถงึ ลูกฆองมอญลูกท่ี 5 นับจากซายมอื ของผูบรรเลง
ซ อา นวา ซอล หมายถงึ ลูกฆองมอญลูกท่ี 6 นับจากซายมอื ของผบู รรเลง
ล อานวา ลา หมายถึง ลูกฆองมอญลกู ท่ี 7 นบั จากซายมือของผบู รรเลง
ท อา นวา ที หมายถงึ ลูกฆองมอญลูกที่ 8 นับจากซายมือของผูบรรเลง
ดํ อานวา โดสูง หมายถงึ ลกู ฆองมอญลกู ที่ 9 นบั จากซายมอื ของผบู รรเลง
รํ อานวา เรสูง หมายถึง ลกู ฆอ งมอญลกู ที่ 10 นบั จากซา ยมอื ของผูบรรเลง
มํ อา นวา มีสูง หมายถงึ ลกู ฆองมอญลกู ท่ี 11 นับจากซา ยมอื ของผบู รรเลง
ฟ อา นวา ฟาสูง หมายถึง ลกู ฆองมอญลูกท่ี 12 นับจากซา ยมอื ของผูบ รรเลง
ซํ อานวา ซอลสงู หมายถึง ลูกฆอ งมอญลกู ท่ี 13 นับจากซายมอื ของผบู รรเลง
ลํ อานวา ลาสูง หมายถงึ ลูกฆองมอญลูกท่ี 14 นับจากซายมอื ของผูบรรเลง
ทํ อานวา ทีสูง หมายถงึ ลกู ฆอ งมอญลูกท่ี 15 นับจากซา ยมอื ของผบู รรเลง

หมายถงึ การตรี วบจงั หวะในโนต 3 พยางคด ว ยวธิ ีการตีสะเดาะ หรือสะบัด โดยเร่ิมจาก
การตีดวยมือซา ย 1 พยางค และตามดวยมือขวาอีก 2 พยางค

หมายถงึ การตรี วบจังหวะในโนต 3 พยางคดวยวิธกี ารสะบัด โดยเร่ิมจากการตีดวยมือขวา
2 พยางค และตามดวยมือซา ยอีก 1 พยางค

50

ซฺ ทํ
ลฺ ลํ

ด ม ซ ดํ รํ มํฟซ ํ


ล ท

เสยี งและตําแหนงตัวโนต ของลูกฆองมอญวงใหญ
ทีม่ า : วสิ ุทธิ์ จยุ มา

วิธีการฝกคือจะใหนักเรียนฝกปฏิบัติดวยวิธีการที่ถูกตองทีละแบบฝกใหเกิดความคลองแคลวกอนแลว
จงึ จะเรมิ่ ฝก ปฏิบัติในแบบฝกตอ ไปจนจบทุกแบบฝก โดยแตล ะแบบฝกจะมโี นต และคาํ อธิบายประกอบดงั น้ี

แบบฝก ทกั ษะที่ 1 การตไี ลเ สียงทลี ะมือขนึ้ - ลง

มอื ขวา - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท
มอื ซาย - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ด - - - ร - - - ม - - - ซ - - - ล - - - -

มอื ขวา - - - ดํ - - - รํ - - - มํ - - - ฟ - - - ซํ - - - ลํ - - - ทํ - - - ทํ
มอื ซาย - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

มอื ขวา - - - ลํ - - - ซํ - - - ฟ - - - มํ - - - รํ - - - ดํ - - - ท - - - -
มอื ซา ย - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ล

มือขวา - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
มือซาย - - - ซ - - - ม - - - ร - - - ด - - - ลฺ - - - ซฺ

คําอธิบาย
ใชม อื ซายตีไลเ สยี งโดยเริม่ ตง้ั แตเ สยี ง ซฺ (ลูกทม่ี ีเสยี งตาํ่ สุดอยูทางซายมือของผูบรรเลง) และตีเรียงเสียง

ขึ้นไปทีละลกู จนถึงเสยี ง ล แลว ใชม อื ขวาตีไลเ สยี งตอไปตัง้ แตเสียง ท เรียงข้ึนไปทีละเสียงจนถึงเสียง ทํ (ลูกที่มี
เสียงสูงสุดอยูทางขวามือของผูบรรเลง) เปนการจบการไลเสียงขาขึ้น และในทางกลับกัน ใชมือขวาตีไลเสียง
ตง้ั แตเสยี ง ทํ (ลกู ท่ีมีเสยี งสูงสดุ อยูทางขวามือของผูบรรเลง) และตีเรียงเสียงลงมาทีละลูกจนถึงเสียง ท แลวใช

51

มือซายตีไลเสียงตอไปต้ังแตเสียง ล เรียงลงไปทีละเสียงจนถึงเสียง ซฺ (ลูกท่ีมีเสียงต่ําสุดอยูทางซายมือของ
ผูบรรเลง) เปนการจบการไลเ สียงขาลง

แบบฝก ทักษะที่ 2 การตีไลเ สียงสองมือพรอมกนั เปนคเู สยี งตา งๆ ขนึ้ - ลง

มอื ขวา - - - ซ - - - ล - - - ท - - - ดํ - - - รํ - - - มํ - - - ฟ - - - ซํ
มอื ซาย - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ม - - - ด - - - ร - - - ม - - - ดํ - - - ซ

มือขวา - - - ลํ - - - ทํ - - - ทํ - - - ลํ - - - ซํ - - - ฟ - - - มํ - - - รํ
มอื ซาย - - - ล - - - ท - - - ท - - - ล - - - ซ - - - ดํ - - - ม - - - ร

มอื ขวา - - - ดํ - - - ท - - - ล - - - ซ
มอื ซา ย - - - ด - - - ม - - - ลฺ - - - ซฺ

คาํ อธิบาย
ใชมือขวาและมือซายตีพรอมกันโดยลงน้ําหนักมือใหเทากัน และใหเสียงลูกฆองทั้งสองดังเทากันเปนคู

ตางๆ โดยเร่ิมจากเสียงคู 8 เรียงกันสองเสียง คือ คูของเสียง ซ กับ ซฺ และ ล กับ ลฺ เสียงตอไปตีเปนเสียงคู 5
คอื เสยี ง ท กบั ม จากนั้นตเี ปน เสียงคู 8 เรียงไปอีกสามเสียง คือ เสียง ดํ กับ ด เสียง รํ กับ ร และเสียง มํ กับ
ม เสียงตอไปตีเปนเสียงคู 4 คือ เสียง ฟ กับ ดํ จากน้ันตีเปนเสียงคู 8 เรียงไปอีกสามเสียง คือ เสียง ซํ กับ ซ
เสยี ง ลํ กบั ล และเสยี ง ทํ กบั ท เปนการจบการไลคูเ สียงขาขนึ้ และในทางกลับกันใหตีไลเสียงเปนคูเหมือนเดิม
ยอ นกลบั ไปจนถงึ เสยี งแรกเปน การจบการไลค เู สยี งขาลง

แบบฝก ทกั ษะที่ 3 การตแี บงมอื 3 พยางค

มือขวา - ล - ซ - ท - ล - รํ - ดํ - มํ – รํ - ฟ - มํ - ลํ - ซํ - ทํ - ลํ
มือซา ย - - ซฺ - - - ลฺ - - - ด - - - ร - - - ม - - - ซ - - - ล -

คําอธบิ าย
ใน 1 หอ งเพลงจะมโี นตอยู 3 พยางค วธิ กี ารตีใชรูปแบบการแบง มอื เปนแบบ ขวา - ซาย - ขวา โดยเริ่ม

จากมือขวาตีที่โนตพยางคแรกหน่ึงครั้ง ตามดวยมือซายตีท่ีโนตพยางคที่ 2 หน่ึงครั้ง และจบดวยการตีดวยมือ
ขวาท่ีโนต พยางคที่ 3 อีกหนง่ึ คร้ัง โดยใหร ะยะหางของจงั หวะแตละเสียงมีความเทากันและสม่ําเสมอนับวาจบ 1
หองเพลง เชน โนตหองท่ี 1 ใชมือขวาตีท่ีเสียง ล มือซายตีที่เสียง ซฺ และจบดวยมือขวาตีท่ีเสียง ซ นับวาจบ 1
หองเพลง จากนั้นตตี อไปตามโนต ทีก่ าํ หนดใหตอเน่อื งจนครบ 7 หองเพลง

52

แบบฝกทักษะที่ 4 การตีแบงมอื 3 พยางค แบบผสมมือ

มือขวา - ล - ซ - ท - ล - รํ - ดํ - มํ – รํ - ฟ - มํ - ลํ - ซํ - ทํ - ลํ
มือซา ย - - ซฺ ซฺ - - ลฺ ลฺ - - ด ด - - ร ร - - ม ม - - ซ ซ - - ล ล

คําอธบิ าย
ใน 1 หองเพลงจะมีโนตอยู 3 พยางค วิธีการตีใชรูปแบบการแบงมือเปนแบบ ขวา - ซาย - คู โดยเร่ิม

จากมือขวาตที ่ีโนต พยางคแ รกหนึ่งครั้ง ตามดวยมือซายตีท่ีโนตพยางคที่ 2 หน่ึงครั้ง และจบดวยการตีดวยมือขวา
และมอื ซายพรอ มกันเปนเสยี งคแู ปดท่โี นตพยางคท่ี 3 อีกหน่งึ ครั้ง โดยใหระยะหางของจังหวะแตละเสียงมีความ
เทากันและสมา่ํ เสมอนบั วา จบ 1 หองเพลง เชน โนตหองท่ี 1 ใชมือขวาตีท่ีเสียง ล มือซายตีท่ีเสียง ซฺ และจบดวย
การตีดวยมือขวาและมือซายพรอมกันเปนเสียงคูแปดโดยมือขวาตีท่ีเสียง ซ และมือซายตีที่เสียง ซฺ นับวาจบ 1
หองเพลง จากนัน้ ตีตอ ไปตามโนตทกี่ าํ หนดใหต อเนอ่ื งจนครบ 7 หอ งเพลง

แบบฝก ทกั ษะที่ 5 การตีคูถาง

มือขวา - - รดํ ํ - - ดํ - ฟ - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มือซาย - - - ด - ด - ด - ด - ด - - ร ร

คําอธบิ าย
โนต หองที่ 1 ใชว ธิ ีตีแบงมือ 3 พยางคเปนแบบ ขวา - ขวา - ซาย ดวยวิธีการตีสะบัด โดยเร่ิมจากใชมือขวา

ตีที่เสียง รํ ตามดวยเสียง ดํ แลวใชมือซายตีรับที่เสียง ด โนตหองที่ 2 และ 3 ตีสองมือพรอมกันเปนเสียงคู 8
และคถู าง โดยเสียงคู 8 ใชมือซายตที ีเ่ สียง ด และมือขวาตที ี่เสียง ดํ สว นคูถา งใชม อื ซายตที ีเ่ สยี ง ด และมือขวา
ตีทเ่ี สยี ง ฟ โนตหองที่ 4 ตีแบงมือ 3 พยางค เปนแบบ ขวา - ซาย - คู โดยใชมือขวาตีท่ีเสียง มํ หนึ่งครั้ง ตามดวย
มอื ซายตีท่เี สยี ง ร หนึ่งคร้ัง และจบดว ยการตที เี่ สียงคู 8 เสียง ร และ รํ

แบบฝกตอไปตั้งแตแบบฝกทักษะที่ 6 ถึง แบบฝกทักษะที่ 20 เปนการฝกตีมือฆองสํานวนมอญ
ซึ่งเปนเอกลักษณเฉพาะของมือฆองมอญท่ีมีอยูในเพลงประจําวัด และประจําบาน ในประโยคตางๆ โดยให
นักเรียนฝกปฏบิ ตั ิทลี ะแบบฝกจนคลอ งแคลว จนครบทุกแบบฝก ดังนี้

แบบฝกทักษะท่ี 6 การตมี ือฆอ งสํานวนมอญ

มอื ขวา - ท - - รํ ท - - - ล - - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ - ซ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซา ย - - ล ท - - ล ซ - - ซ ล - - ซ ม - - ร ม - - - ด - ร - ด - ร - ม

คาํ อธิบาย
มือฆองสาํ นวนมอญ มอี ยูในทํานองหลักเพลงประจาํ วัด ประโยคท่ี 6 หอ งท่ี 1 - 8

53

แบบฝกทกั ษะที่ 7 การตีมือฆองสํานวนมอญ
มือขวา - รํ - - - ท – ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มอื ซาย - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

คาํ อธิบาย
มอื ฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลงประจําวัด ประโยคที่ 10 , 38 และ 40 หองท่ี 1 - 8

แบบฝกทกั ษะที่ 8 การตีมือฆอ งสาํ นวนมอญ
มือขวา ซ - ม - ร ม – ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มือซาย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

คาํ อธิบาย
มือฆอ งสํานวนมอญ มีอยูใ นทํานองหลกั เพลงประจาํ วัด ประโยคท่ี 14 , 22 , 44 และ 52 หอ งที่ 1 - 8

แบบฝกทักษะที่ 9 การตีมือฆอ งสาํ นวนมอญ
มือขวา - ดํ - - ดํ รํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ - ท ล - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ
มือซา ย - ซ - ล - - ซ ล - - ดํ ล - - - ซ - - - ซ - - ซ ม - - ร ม - - - ด

คาํ อธบิ าย
มอื ฆองสาํ นวนมอญ มีอยูในทํานองหลกั เพลงประจําวดั ประโยคที่ 15 และ 45 หอ งท่ี 1 - 8

แบบฝก ทกั ษะที่ 10 การตีมือฆองสํานวนมอญ
มือขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มือซา ย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - - - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

คําอธบิ าย
มือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทาํ นองหลักเพลงประจําวัด ประโยคที่ 13 , 17 , 43 และ47 หองที่ 1 - 8

54

แบบฝก ทกั ษะที่ 11 การตีมือฆองสาํ นวนมอญ

มอื ขวา - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล
มอื ซาย - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ -

คาํ อธิบาย
มอื ฆองสาํ นวนมอญ มอี ยใู นทาํ นองหลกั เพลงประจําวัด ประโยคที่ 11 , 33 , 41 และ 63 หองที่ 5 - 8

และประโยคที่ 34 , 64 หองท่ี 1 - 4

แบบฝกทกั ษะที่ 12 การตมี ือฆองสํานวนมอญ

มือขวา - รํ - ดํ - ท – ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มอื ซาย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซฺ - - ลฺ - -

คาํ อธบิ าย
มอื ฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลกั เพลงประจาํ วัด ประโยคท่ี 19 , 28 , 49 และ 58 หองท่ี 1 - 8

แบบฝก ทกั ษะที่ 13 การตมี ือฆองสาํ นวนมอญ

มอื ขวา - - ล ท - - - ล - ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - ดํ
มือซา ย - ซ - - - ลฺ - - - - ม - - ม - ม - - ม - - ร - ร - - ม - - ร - ด

คาํ อธิบาย
มือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลงประจําวัด ประโยคท่ี 29 หองท่ี 5 - 8 ถึงประโยคท่ี 30

หองท่ี 1 - 4 และประโยคท่ี 59 หองท่ี 5 - 8 ถงึ ประโยคที่ 60 หองที่ 1 - 4

แบบฝก ทักษะท่ี 14 การตีมือฆองสํานวนมอญ

มอื ขวา - - - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - - - - รํ มํ - - รํ มํ - - รํ มํ - รํ
มือซาย - - - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - - - ซ - - ร ซ - - ร ซ - - ร -

คําอธิบาย
หองที่ 1 - 4 มือฆองสาํ นวนมอญ มีอยใู นทาํ นองหลักเพลงประจําวดั ประโยคท่ี 11 และ 41 หองที่ 1 - 4
หองที่ 5 - 8 มือฆองสาํ นวนมอญ มอี ยูในทํานองหลักเพลงประจําบาน ประโยคท่ี 17 , 29 และ 49

หอ งท่ี 1 - 4

55

แบบฝก ทักษะท่ี 15 การตมี ือฆองสาํ นวนมอญ

มอื ขวา - ซํ - ฟ - มํ – รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มือซาย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

คําอธิบาย
มือฆองสํานวนมอญ มอี ยูใ นทํานองหลักเพลงประจาํ บาน ประโยคท่ี 3 , 7 , 11 , 16 , 37 , 41 และ

48 หองท่ี 1 - 8

แบบฝก ทกั ษะที่ 16 การตีมือฆองสํานวนมอญ

มอื ขวา - - ล ซ - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ท ล – ซ - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มือซาย - ม - - ม - - ด - - ด - - - ซฺ - - ด – ด - - ร - - ร - - - ด - ด

คําอธิบาย
มือฆองสาํ นวนมอญ มีอยใู นทาํ นองหลักเพลงประจาํ บาน ประโยคท่ี 6 , 14 , 32 , 36 , 45 และ 47

หอ งท่ี 1 - 8

แบบฝกทักษะที่ 17 การตมี ือฆองสํานวนมอญ

มอื ขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - ดํ - ซ - - ล ล - รํ – ดํ - ล - ซ - ดํ - รํ - ดํ - ฟ
มอื ซา ย - - ด ด - - ร ร - ด - ซฺ - ลฺ - - - ร – ด - ลฺ - ซฺ - ด - ร - ด - ด

คาํ อธิบาย
มอื ฆองสํานวนมอญ มีอยใู นทาํ นองหลักเพลงประจาํ บา น ประโยคท่ี 18 หอ งท่ี 5 - 8 ถงึ ประโยคที่

19 หองท่ี 1 - 4 และ ประโยคที่ 50 หอ งที่ 5 - 8 ถึง ประโยคที่ 51 หอ งท่ี 1 - 4

แบบฝก ทกั ษะท่ี 18 การตีมือฆองสาํ นวนมอญ

มือขวา - - - - - ม - ม - ม - ม - ม - - - ล – ซ - ซ - - - ม - ม - ม - -
มอื ซา ย - - - ด - - ร - ด - ร - ด ร – ร - - ซฺ - - ด - ด - - ร - ด ร - ร

คําอธบิ าย
เปนการฝก การตมี ือฆองสํานวนมอญ ซง่ึ มีอยใู นทํานองหลักเพลงประจําบา น ประโยคที่ 21 และ 53

หองที่ 1 - 8

56

แบบฝกทกั ษะที่ 19 การตีมือฆองสํานวนมอญ
มอื ขวา - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ – ฟ - - มํ รํ - รํ - รํ - รํ ดํ - - - ดํ รํ
มือซาย - ด - ด - - ร - - ร - - - ด – ด - - - ร - ซ - ร ร - - ท ล ท - ร
คาํ อธิบาย

มือฆองสาํ นวนมอญ มีอยใู นทํานองหลกั เพลงประจาํ บาน ประโยคท่ี 26 และ 28 หองที่ 1 - 8

แบบฝกทักษะที่ 20 การตีมือฆองสํานวนมอญ
มือขวา - ฟ - - ฟ ซํ - - ลํ ซํ - - ฟ ซํ - ฟ - มํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - - ดํ รํ มํ ฟ
มือซาย - ดํ - รํ - - ดํ รํ - - ฟ รํ - - - ดํ - - รํ ดํ - - ดํ ล - - ซ ล - - - -
คําอธิบาย

มอื ฆองสํานวนมอญ มีอยูในทาํ นองหลักเพลงประจําบาน ประโยคท่ี 33 หอ งท่ี 1 - 8

57

กิจกรรมการเรียนการสอน

ในส่ือวดี ิทศั นป ระกอบคําบรรยาย

บทที่ 4 แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

คําแนะนาํ สําหรบั ครูผูสอน

1. ตรวจสอบและจดั เตรยี มเคร่ืองดนตรีท่จี ะใชในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน วสั ดอุ ุปกรณ ส่ือ
การเรยี นรู เครื่องมือการวดั และประเมินผล ที่กาํ หนดไวใ หอยูใ นสภาพท่ีพรอมใชงาน

2. กอนทําการสอนควรชี้แจงบทบาทและหนาทีข่ องนักเรยี น และกําหนดขอตกลงรวมกัน
3. ขณะปฏบิ ัติกิจกรรม ครูควรเปนท่ีปรึกษาใหคําแนะนาํ กับนักเรียน
4. ครผู สู อนจะตอ งสงั เกตนักเรียนอยางใกลชิดขณะปฏบิ ัติกจิ กรรมการเรียน เพื่อประเมินผลการใช
เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
5. หลังจากเสร็จสิ้นการศกึ ษาเรียนรูเนื้อหาแตละกิจกรรมการเรยี นแลว ใหน ักเรยี นทบทวนเน้อื หา
และฝก ปฏิบตั ิฆองมอญวงใหญในแตละกจิ กรรมหลายๆคร้ัง
6. ครูผสู อนคอยควบคมุ เวลาในการเรยี นและปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรยี น

58

กิจกรรมการเรียนการสอน

ในสอ่ื วดี ทิ ัศนป ระกอบคาํ บรรยาย

บทท่ี 4 แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

คําแนะนาํ สําหรบั นักเรยี น

1. นกั เรยี นอา นโนตฆอ งมอญวงใหญ ดูภาพประกอบ และวีดทิ ศั นป ระกอบคําบรรยาย
2. นักเรียนปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนกจิ กรรมการเรยี นที่กําหนดไว
3. แตล ะวรรคของแบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ จะมโี นตฆอ งมอญวงใหญ ภาพประกอบ
และเสยี ง/ภาพวดี ทิ ัศนก ารปฏิบตั ิแบบฝกทักษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญป ระกอบคําบรรยาย
4. นกั เรยี นฝกปฏบิ ัตฆิ องมอญวงใหญแ ตละกจิ กรรมตามทํานองในวดี ทิ ัศน
5. นกั เรียนฝกปฏิบตั ิฆองมอญวงใหญดว ยตนเองโดยไมใ ชวีดิทัศน
6. ถา นักเรยี นยังปฏบิ ัติฆองมอญวงใหญในกจิ กรรมใดไมได ใหนักเรียนยอ นกลบั ไปทบทวนการปฏบิ ตั ิ
ฆองมอญวงใหญต ามคําบรรยายในกิจกรรมเดิมจนกวาจะสามารถปฏบิ ัตไิ ด แลว จึงปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการเรียนถัดไป
7. ใหนักเรยี นรักษาเวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรม และปฏิบัติกจิ กรรมตามที่ครูผูส อนกํากบั ดูแล

59

วดี ิทศั น ประกอบคาํ บรรยาย
กิจกรรมการเรยี นการสอน แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

ลําดับ ภาพประกอบ / วีดทิ ศั น คําบรรยาย
ท่ี

1. วดี ทิ ศั นประกอบคาํ บรรยาย ใหนักเรียนทุกคนทําความเขาใจ และสังเกตเกี่ยวกับ
แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ สัญลักษณ ระดับเสียง และตําแหนงของตัวโนตที่อยูบน
ฆอ งมอญวงใหญ ดังนี้

2. ภาพประกอบลําดับเสยี งและตาํ แหนง ลูกฆองมอญวงใหญมีทั้งหมด 15 ลูก เสียงของลูก

ตัวโนต ของลูกฆอ งมอญวงใหญ ฆองมอญมีลักษณะพิเศษ คือจะมีการขามเสียง 2 เสียง

โดยนับจากซายมือของผูบรรเลงจะอยูระหวางลูกที่ 2 ถึง

ลูกที่ 3 และลูกที่ 5 ถึงลูกที่ 6 คือเสียง ทีต่ํา และเสียง

ซฺ หลมุ ทํ ฟา เสยี งทถ่ี กู ขา มน้ี เรียกวา หลมุ
ลฺ ลํ เสียงฆองมอญวงใหญมีดังนี้ ลูกท่ี 1 เปนโนตเสียง

ด ซํ ซอลตํ่า ลูกที่ 2 เสียง ลาต่ํา ลูกที่ 3 เสียง โด ลูกท่ี 4
ร ม ซ ล ท ดํ รํ มํฟ เสยี ง เร ลกู ที่ 5 เสียง มี และลูกท่ี 6 ถงึ ลูกที่ 15

จะเรียงไลเสียงจากเสียงซอล ถึงเสียง ทสี งู โดยไมม ีการ

ขามเสียง ดังภาพประกอบ

3. กิจกรรมการเรียนแบบฝก ทักษะการบรรเลงฆอ งมอญ

วงใหญ จะใหนกั เรยี นฝก ปฏิบัติทลี ะแบบฝกใหเกิดความ

แบบฝก ทกั ษะ คลอ งแคลว กอ นแลวจึงจะเรม่ิ ฝกปฏิบัตใิ นแบบฝกตอไป

การบรรเลงฆองมอญวงใหญ จนจบทกุ แบบฝก โดยแตล ะแบบฝกจะมีแผนภมู โิ นต

วดี ิทัศนและคําอธิบายประกอบดงั นี้

60

ลําดับ ภาพประกอบ / วีดิทัศน คําบรรยาย
ที่
ใหนักเรียนทําความเขาใจกับโนตแบบฝกทักษะการ
4. แบบฝกทกั ษะท่ี 1 บรรเลงฆองมอญวงใหญ แลวตีฆองมอญวงใหญตามเสียง
และภาพวีดิทศั น แบบฝกละ 3 ครงั้
การตไี ลเสยี งทลี ะมือ ขนึ้ - ลง แบบฝก ทกั ษะที่ 1 การตีไลเ สยี งทีละมือ
ข้ึน - ลง
1.1 การตไี ลเ สยี งขึน้
เร่ิมดวยใชมือซายตีไลเสียงโดยเริ่มตั้งแตเสียงซอลตํ่า
วรรคท่ี 1 และตเี รียงเสียงข้ึนไปทีละลูกจนถงึ เสียง ที แลว ใชมือขวา
ตีไลเสียงตอไปตั้งแตเสียง โดสูง เรียงขึ้นไปทีละเสียง
มอื ขวา - - - - - - - - - - - - - - - - จนถึงเสียง ทสี ูง เปนการจบการไลเสียงขาข้ึน และในทาง
มอื ซาย - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ด - - - ร กลบั กนั ใชม ือขวาตีไลเสียงต้ังแตเสียงทีสูง และตีเรียง
เสียงลงมาทีละลูกจนถึงเสียงโดสูง แลวใชมือซายตีไล
วรรคท่ี 2 เสียงตอไปตั้งแตเสียงที เรียงลงไปทีละเสียงจนถึงเสียง
ซอลตํ่า เปนการจบการไลเสียงขาลง นักเรียนปฏิบัติตาม
มือขวา - - - - - - - - - - - - - - - - วีดิทศั นดงั นี้

มอื ซาย - - - ม - - - ซ - - - ล - - - ท

วรรคท่ี 3

มือขวา - - - ดํ - - - รํ - - - มํ - - - ฟ
มือซา ย - - - - - - - - - - - - - - - -

วรรคท่ี 4

มอื ขวา - - - ซํ - - - ลํ - - - ทํ - - - ทํ
มอื ซา ย - - - - - - - - - - - - - - - -

วรรคที่ 5

มือขวา - - - ลํ - - - ซํ - - - ฟ - - - มํ
มือซาย - - - - - - - - - - - - - - - -

วรรคท่ี 6

มือขวา - - - รํ - - - ดํ - - - - - - - -
มอื ซา ย - - - - - - - - - - - ท - - - ล

วรรคที่ 7

มือขวา - - - - - - - - - - - - - - - -
มอื ซา ย - - - ซ - - - ม - - - ร - - - ด

วรรคท่ี 8 ----
- - - ซฺ
มือขวา - - - -
มือซาย - - - ลฺ

61

ลําดับ ภาพประกอบ / วดี ทิ ัศน คําบรรยาย
ท่ี
แบบฝก ทักษะที่ 2 การตีไลเ สียงสองมือพรอมกันเปนคู
5. แบบฝกทักษะท่ี 2 เสียงตา งๆ ขน้ึ - ลง

การตีไลเ สยี งสองมือพรอมกัน ใชมือขวาและมือซายตีพรอมกันโดยลงนํ้าหนักมือให
เทากัน และใหเสียงลูกฆองท้ังสองดังเทากันเปนคูตางๆ
เปนคเู สยี งตางๆ ข้นึ - ลง โดยเริ่มจากเสียงคู 8 เรียงกันสองเสียง คือ คูของเสียง
ซอล กับ ซอลตํ่า และ ลา กับ ลาตํ่า เสียงตอไปตีเปน
วรรคที่ 1 เสียงคู 5 คือ เสียงที กับ มี จากน้ันตีเปนเสียงคู 8 เรียง
ไปอีกสามเสียง คือ เสียงโดสูง กับโด เสียงเรสูง กับเร
มือขวา - - - ซ - - - ล - - - ท - - - ดํ และเสียงมีสูง กับมี เสียงตอไปตีเปนเสียงคู 4 คือ
มือซาย - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ม - - - ด เสียงฟาสูง กับ โดสูง จากนั้นตีเปนเสียงคู 8 เรียงไปอีก
สามเสียง คือ เสียงซอลสูง กับซอล เสียงลาสูง กับ ลา
วรรคท่ี 2 และเสยี งทสี งู กับ ที เปนการจบการไลคูเสียงขาข้ึน และ
ในทางกลับกันใหตีไลเสียงเปนคูเหมือนเดิมยอนกลับไป
มือขวา - - - รํ - - - มํ - - - ฟ - - - ซํ จนถึงเสียงแรกเปนการจบการไลคูเสียงขาลง นักเรียน
มือซาย - - - ร - - - ม - - - ดํ - - - ซ ปฏิบตั ิตามวีดทิ ัศนดงั นี้

วรรคท่ี 3

มือขวา - - - ลํ - - - ทํ - - - ทํ - - - ลํ
มอื ซา ย - - - ล - - - ท - - - ท - - - ล

วรรคท่ี 4

มือขวา - - - ซํ - - - ฟ - - - มํ - - - รํ
มือซา ย - - - ซ - - - ดํ - - - ม - - - ร

วรรคท่ี 5

มือขวา - - - ดํ - - - ท - - - ล - - - ซ
มือซาย - - - ด - - - ม - - - ลฺ - - - ซฺ

6. แบบฝก ทักษะที่ 3 แบบฝก ทกั ษะที่ 3 การตแี บงมือ 3 พยางค

การตีแบงมือ 3 พยางค ใน 1 หองเพลงจะมีโนตอยู 3 พยางค วิธีการตีใช

วรรคท่ี 1 รูปแบบการแบงมือเปนแบบ ขวา - ซาย - ขวา โดยเร่ิม
จากมอื ขวาตีที่โนตพยางคแรกหน่ึงคร้ัง ตามดวยมือซายตี
มอื ขวา - ล - ซ - ท - ล - รํ - ดํ - มํ - รํ ทโ่ี นต พยางคที่ 2 หนงึ่ ครง้ั และจบดว ยการตดี วยมือขวาที่
มอื ซา ย - - ซฺ - - - ลฺ - - - ด - - - ร -
โนตพยางคที่ 3 อีกหน่ึงคร้ัง โดยใหระยะหางของจังหวะ
วรรคที่ 2 แตละเสียงมีความเทากันและสมํ่าเสมอนับวาจบ 1 หอง
เพลง เชน โนตหองท่ี 1 ใชมือขวาตีท่ีเสียง ลา มือซายตีที่
มือขวา - ฟ - มํ - ลํ - ซํ - ทํ - ลํ เสียง ซอลตํ่า และจบดวยมือขวาตีที่เสียง ซอล นับวาจบ
มอื ซาย - - ม - - - ซ - - - ล -

1 หองเพลง จากนั้นตีตอไปตามโนตท่ีกําหนดใหตอเน่ือง

จนครบ 7 หอ งเพลง นักเรียนปฏิบตั ิตามวีดทิ ศั นดงั น้ี

62

ลําดับ ภาพประกอบ / วดี ทิ ศั น คําบรรยาย
ท่ี
แบบฝกทกั ษะท่ี 4 การตแี บงมือ 3 พยางค แบบผสม
7. แบบฝก ทกั ษะท่ี 4 มอื

การตีแบง มอื 3 พยางค แบบผสมมอื ใน 1 หองเพลงจะมีโนตอยู 3 พยางค วิธีการตีใช
รูปแบบการแบงมือเปนแบบ ขวา - ซาย - คู โดยเร่ิมจาก
วรรคที่ 1 มือขวาตีท่ีโนตพยางคแรกหนึ่งคร้ัง ตามดวยมือซายตีท่ี
โนตพยางคท่ี 2 หนึ่งคร้ัง และจบดวยการตีดวยมือขวา
มือขวา - ล - ซ - ท - ล - รํ - ดํ - มํ - รํ และมือซายพรอมกันเปนเสียงคูแปดท่ีโนตพยางคที่ 3
อีกหนึ่งครั้ง โดยใหระยะหางของจังหวะแตละเสียงมี
มือซา ย - - ซฺ ซฺ - - ลฺ ลฺ - - ด ด - - ร ร ความเทากันและสม่ําเสมอนับวาจบ 1 หองเพลง เชน
โนตหองท่ี 1 ใชมือขวาตีที่เสียง ลา มือซายตีท่ีเสียง ซอล
วรรคท่ี 2 ต่ํา และจบดวยการตีดวยมือขวาและมือซายพรอมกัน
เปนเสียงคูแปดโดยมือขวาตีท่ีเสียง ซอล และมือซายตีท่ี
มอื ขวา - ฟ - มํ - ลํ - ซํ - ทํ - ลํ เสียง ซอลต่ํา นับวาจบ 1 หองเพลง จากน้ันตีตอไป
ตามโนต ที่กําหนดใหตอเนื่องจนครบ 7 หองเพลง
มอื ซา ย - - ม ม - - ซ ซ - - ล ล นกั เรียนปฏบิ ตั ติ ามวีดทิ ัศนดงั นี้
แบบฝก ทกั ษะที่ 5 การตีคูถ าง
8. แบบฝก ทกั ษะที่ 5
การตคี ูถ าง โนตหองที่ 1 ใชวิธีตีแบงมือ 3 พยางคเปนแบบ
ขวา - ขวา - ซาย ดวยวิธีการตีสะบัด โดยเร่ิมจาก
มือขวา - - รดํ ํ - - ดํ - ฟ - ดํ - ฟ - มํ - รํ ใชมือขวาตีท่ีเสียง เรสูง ตามดวยเสียง โดสูง แลวใช
มือซา ย - - - ด - ด - ด - ด - ด - - ร ร มือซายตีรับที่เสียง โด โนตหองท่ี 2 และ 3 ตีสองมือ
พรอมกันเปนเสียงคู 8 และคูถาง โดยเสียงคู 8
ใชมือซายตีที่เสียง โด และมือขวาตีที่เสียง โดสูง
สวนคูถางใชมือซายตีท่ีเสียง โด และมือขวาตีท่ีเสียง
ฟาสูง โนตหองท่ี 4 ตีแบงมือ 3 พยางค เปนแบบ
ขวา - ซาย - คู โดยใชมือขวาตีท่ีเสียง มีสูง หน่ึงครั้ง
ตามดวยมือซายตีที่เสียง เร หน่ึงคร้ัง และจบดวยการตีที่
เสียงคู 8 เสียง เร และ เรสูง นักเรียนปฏิบัติตามวีดิทัศน
ดังนี้

63

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วีดทิ ัศน คําบรรยาย
ที่
แบบฝกตอไปตั้งแตแบบฝกทักษะที่ 6 ถึง แบบฝก
9. ทักษะท่ี 20 เปนการฝกตีมือฆองสํานวนมอญ ซ่ึงเปน
เอกลักษณของมือฆองมอญที่มีอยูในเพลงประจําวัด และ
แบบฝก ทักษะที่ 6 – 20 ประจาํ บาน ในประโยคตางๆ โดยใหนักเรียนฝกปฏิบัติทีละ
การบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ แบบฝกจนคลองแคลว จนครบทุกแบบฝก แลวจะชวยให
นักเรียนสามารถตอเพลงไดงายและรวดเร็วมากยิ่งข้ึน
สํานวนมอญ รวมถึงสามารถบรรเลงฆองมอญวงใหญใหประสบ
ผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑการประเมินไดอยางมีคุณภาพ และ
10. แบบฝกทกั ษะที่ 6 ประสทิ ธิภาพยง่ิ ข้ึน
การตมี ือฆองสํานวนมอญ
ตอไปใหนักเรียนทําความเขาใจกับโนตแบบฝกทักษะ
วรรคที่ 1 การตีมือฆองสํานวนมอญ และตีฆองมอญวงใหญตาม
เสียงและภาพวดี ิทศั น แบบฝกละ 3 คร้ัง
มือขวา - ท - - รํ ท - - - ล - - ท ล - - แบบฝกทักษะที่ 6
มือซาย - - ล ท - - ล ซ - - ซ ล - - ซ ม
การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง
ประจําวดั ประโยคที่ 6 หองท่ี 1 - 8

วรรคที่ 2

มอื ขวา ซ ล - - ซ ล ท ดํ - ซ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซา ย - - ร ม - - - ด - ร - ด - ร - ม

11. แบบฝก ทักษะท่ี 7 แบบฝก ทกั ษะที่ 7

การตมี ือฆองสาํ นวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

วรรคท่ี 1 ประจาํ วดั ประโยคที่ 10 , 38 และ 40 หอ งท่ี 1 - 8

มอื ขวา - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ

มือซา ย - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

วรรคที่ 2

มอื ขวา - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มอื ซา ย - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

64

ลําดับ ภาพประกอบ / วีดทิ ัศน คาํ บรรยาย
ท่ี
แบบฝกทกั ษะที่ 8
12. แบบฝกทักษะที่ 8 การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

การตีมือฆองสํานวนมอญ ประจาํ วัด ประโยคท่ี 14 , 22 , 44 และ 52 หองที่ 1 - 8

วรรคท่ี 1

มอื ขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ -
มอื ซาย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ

มือซา ย - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

13. แบบฝก ทักษะที่ 9 แบบฝกทกั ษะท่ี 9

การตีมือฆองสาํ นวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

วรรคท่ี 1 ประจําบา น ประโยคท่ี 15 และ 45 หอ งท่ี 1 - 8

มือขวา - ดํ - - ดํ รํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ

มือซาย - ซ - ล - - ซ ล - - ดํ ล - - - ซ

วรรคท่ี 2

มือขวา - ท ล - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ
มอื ซา ย - - - ซ - - ซ ม - - ร ม - - - ด

14. แบบฝก ทกั ษะที่ 10 แบบฝกทกั ษะที่ 10

การตีมือฆองสาํ นวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

วรรคท่ี 1 ประจําวดั ประโยคที่ 13 , 17 , 43 และ47 หองท่ี 1 - 8

มือขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ

มือซาย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - -

วรรคท่ี 2

มือขวา - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มอื ซา ย - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

15. แบบฝกทักษะท่ี 11 แบบฝก ทักษะที่ 11

การตมี ือฆองสํานวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

มือขวา - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล ประจําวดั ประโยคท่ี 11 , 33 , 41 และ 63 หองที่ 5 - 8

มือซา ย - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ -

65

ลําดบั ภาพประกอบ / วดี ทิ ศั น คาํ บรรยาย
ที่
แบบฝก ทักษะที่ 12
16. แบบฝกทักษะท่ี 12 การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

การตีมือฆองสํานวนมอญ ประจาํ วดั ประโยคที่ 19 , 28 , 49 และ 58 หองท่ี 1 - 8

วรรคท่ี 1

มือขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ
มอื ซาย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม

วรรคท่ี 2

มือขวา - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล

มอื ซาย - ซ - ม - ร - ด - - ซฺ - - ลฺ - -

17. แบบฝก ทกั ษะท่ี 13 แบบฝก ทกั ษะท่ี 13

การตมี ือฆองสํานวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

วรรคที่ 1 ประจําวัด ประโยคที่ 29 หองที่ 5 - 8 ถึงประโยคท่ี 30
หองที่ 1 - 4 และประโยคท่ี 59 หองท่ี 5 - 8 ถึงประโยคท่ี
มือขวา - - ล ท - - - ล - ซ - ซ - ซ - - 60 หอ งที่ 1 - 4
มอื ซา ย - ซ - - - ลฺ - - - - ม - - ม - ม

วรรคท่ี 2

มอื ขวา ล ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - ดํ
มือซาย - - ม - - ร - ร - - ม - - ร - ด

18. แบบฝก ทักษะท่ี 14 แบบฝก ทกั ษะท่ี 14

การตีมือฆองสํานวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ ในวรรคที่ 1 มีอยูใน

วรรคที่ 1 ลท- - ลท- - ลท-ล ทํานองหลักเพลงประจําวัด ประโยคที่ 11 และ 41 หองท่ี
- - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - 1 - 4 และในวรรคที่ 2 มีอยูในทํานองหลักเพลง
มอื ขวา - - - - ประจําบา น ประโยคที่ 17 , 29 และ 49 หอ งท่ี 1 - 4
มอื ซาย - - - ร

วรรคที่ 2

มือขวา - - - - รํ มํ - - รํ มํ - - รํ มํ - รํ
มอื ซา ย - - - ซ - - ร ซ - - ร ซ - - ร -

66

ลําดับ ภาพประกอบ / วดี ิทศั น คําบรรยาย
ที่
แบบฝกทกั ษะท่ี 15
19. แบบฝกทักษะที่ 15 การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

การตมี ือฆองสํานวนมอญ ประจําบาน ประโยคท่ี 3 , 7 , 11 , 16 , 37 , 41 และ
48 หอ งที่ 1 - 8
วรรคท่ี 1

มือขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล
มือซาย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ

วรรคที่ 2

มอื ขวา - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ

มือซาย - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

20. แบบฝก ทักษะท่ี 16 แบบฝกทกั ษะท่ี 16

การตีมือฆองสํานวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

วรรคท่ี 1 ประจําบาน ประโยคที่ 6 , 14 , 32 , 36 , 45 , 47 ,
หอ งท่ี 1 - 8
มือขวา - - ล ซ - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ท ล - ซ

มือซาย - ม - - ม - - ด - - ด - - - ซฺ -

วรรคท่ี 2

มือขวา - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มือซา ย - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

21. แบบฝก ทักษะท่ี 17 แบบฝกทกั ษะท่ี 17

การตีมือฆองสํานวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

วรรคท่ี 1 ประจําบาน ประโยคท่ี 18 หองที่ 5 - 8 ถึง ประโยคท่ี
19 หองที่ 1 - 4 และ ประโยคท่ี 50 หองท่ี 5 - 8 ถึง
มอื ขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - ดํ - ซ - - ล ล ประโยคที่ 51 หองที่ 1 - 4
มอื ซาย - - ด ด - - ร ร - ด - ซฺ - ลฺ - -

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - รํ - ดํ - ล - ซ - ดํ - รํ - ดํ - ฟ
มือซาย - ร - ด - ลฺ - ซฺ - ด - ร - ด - ด

67

ลําดบั ภาพประกอบ / วดี ทิ ศั น คําบรรยาย
ที่
แบบฝกทกั ษะที่ 18
22. แบบฝก ทักษะที่ 18 การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

การตมี ือฆองสาํ นวนมอญ ประจาํ บาน ประโยคที่ 21 และ 53 หอ งที่ 1 - 8

วรรคท่ี 1

มอื ขวา - - - - - ม - ม - ม - ม - ม - -
มอื ซา ย - - - ด - - ร - ด - ร - ด ร - ร

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - ล - ซ - ซ - - - ม - ม - ม - -

มือซาย - - ซฺ - - ด - ด - - ร - ด ร - ร

23. แบบฝกทักษะท่ี 19 แบบฝกทักษะที่ 19

การตีมือฆองสาํ นวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

วรรคที่ 1 ประจาํ บา น ประโยคท่ี 26 และ 28 หอ งท่ี 1 - 8

มือขวา - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ

มอื ซาย - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

วรรคท่ี 2

มือขวา - - มํ รํ - รํ - รํ - รํ ดํ - - - ดํ รํ
มอื ซาย - - - ร - ซ - ร ร - - ท ล ท - ร

24. แบบฝก ทักษะที่ 20 แบบฝกทักษะที่ 20

การตมี ือฆองสาํ นวนมอญ การตีมือฆองสํานวนมอญ มีอยูในทํานองหลักเพลง

วรรคท่ี 1 ประจําบา น ประโยคท่ี 33 หอ งท่ี 1 - 8

มือขวา - ฟ - - ฟ ซํ - - ลํ ซํ - - ฟ ซํ - ฟ

มอื ซาย - ดํ - รํ - - ดํ รํ - - ฟ รํ - - - ดํ

วรรคท่ี 2

มอื ขวา - มํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - - ดํ รํ มํ ฟ
มอื ซาย - - รํ ดํ - - ดํ ล - - ซ ล - - - -

68

ลาํ ดบั ภาพประกอบ / วดี ทิ ัศน คําบรรยาย
ที่

25. ใหนักเรียนทุกคนทําความเขาใจแบบฝกทักษะการ

บรรเลงฆองมอญวงใหญ และบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ตามเสียง และภาพวีดิทัศน ทีละแบบฝกใหเกิดความ

คลองแคลวกอน แลวจึงจะเร่ิมฝกปฏิบัติในแบบฝกตอไป

สรุป จนจบทุกแบบฝก เพ่ือใหเกิดทักษะความชํานาญและ

แบบฝกทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ ถูกตองตามทํานองและจังหวะ รวมท้ังเคล่ือนไหวมือตี

ฆองมอญวงใหญไ ดค ลอ งแคลวและสมั พนั ธตามจงั หวะ

ถา นกั เรียนคนใดยงั ไมสามารถทาํ กจิ กรรมดังกลา วได

ใหน ักเรียนยอนเสยี งและภาพวดี ิทศั น เพ่ือกลับไปทบทวน

ไดตามความเหมาะสม

สรุป
แบบฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ เปนแบบฝกที่ใหนักเรียนใชฝกปฏิบัติกอนที่จะตอเพลง

ประจําวัด และประจําบาน โดยใหนักเรียนฝกปฏิบัติดวยวิธีการท่ีถูกตองทีละแบบฝกใหเกิดความคลองแคลว

กอนแลวจึงจะเริ่มฝกปฏิบัติในแบบฝกตอไปจนครบทุกแบบฝก แลวจะชวยใหนักเรียนสามารถตอเพลงไดงาย

และรวดเร็วมากย่ิงขึ้น รวมถึงสามารถบรรเลงฆองมอญวงใหญใหประสบผลสัมฤทธ์ิตามเกณฑการประเมินได
อยางมีคุณภาพ และประสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น

69

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทที่ 4 เรอ่ื ง แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ

ดานความรู

คําช้แี จง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ีมที ้งั หมด 3 ขอ

2. ขอ สอบแตล ะขอมีคําตอบใหเ ลือก 4 คําตอบ
3. ใหน กั เรียนทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในชอ ง ก ข ค หรอื ง ที่ถกู ตองทสี่ ดุ เพยี ง

คาํ ตอบเดียวลงในกระดาษคําตอบ

1. สญั ลักษณทีห่ มายถงึ การตีรวบจงั หวะในโนต 3 พยางค ดวยวธิ กี ารตีสะเดาะหรือสะบัด โดยเริ่มจากการตี
ดวยมือซาย 1 พยางค และตามดวยมือขวาอีก 2 พยางค คือ สัญลักษณในขอ ใด

ก. ข. ค. ง.

2. ขอ ใดอธบิ ายวธิ ีการตีฆอ งมอญวงใหญจากโนต มือฆอง - - รํรํ - - ดํ - ฟ ไดถูกตอง
---ด -ด-ด

ก. วิธีการตสี ะบัด โดยเรมิ่ จากใชมือขวาตีที่เสยี ง รํ ตามดว ยเสยี ง ดํ แลวใชมือซายตรี ับท่ีเสียง ด
โนต หอ งท่ี 2 ตีสองมอื พรอมกนั เปน เสยี งคู 8 และคูถาง โดยเสยี งคู 8 ใชม ือซายตีท่ีเสยี ง ด
และมอื ขวาตที ่ีเสยี ง ดํ สวนคถู า งใชม ือซา ยตีทเ่ี สยี ง ด และมือขวาตีท่ีเสียง ฟ

ข. วิธีการตีสะเดาะ โดยเริ่มจากใชม ือขวาตีทเี่ สยี ง รํ ตามดวยเสยี ง ดํ แลว ใชมอื ซา ยตีรบั ท่ีเสียง ด
โนต หองที่ 2 ตีสองมือพรอมกันเปนเสยี งคู 8 และคถู าง โดยเสียงคู 8 ใชมือซา ยตีท่เี สยี ง ด
และมอื ขวาตที ่ีเสยี ง ดํ สวนคูถ างใชม ือซายตีทเ่ี สียง ด และมือขวาตีที่เสยี ง ฟ

ค. วิธกี ารตีสะบัด โดยเร่ิมจากใชม ือซายตีท่ีเสยี ง รํ ตามดว ยเสียง ดํ แลว ใชมอื ขวาตรี ับท่ีเสยี ง ด
โนตหองที่ 2 ตีสองมือพรอมกนั เปน เสยี งคู 8 และคถู าง โดยเสียงคู 8 ใชม ือขวาตีทเ่ี สียง ด
และมือซา ยตีที่เสยี ง ดํ สว นคูถ างใชม ือขวาตีทเ่ี สียง ด และมือซายตที ี่เสียง ฟ

ง. วิธกี ารตีสะเดาะ โดยเริ่มจากใชม ือซายตีท่ีเสียง รํ ตามดว ยเสยี ง ดํ แลว ใชม ือขวาตีรับที่เสียง ด
โนต หองที่ 2 ตีสองมือพรอมกันเปน เสยี งคู 8 และคูถาง โดยเสยี งคู 8 ใชมือขวาตที เ่ี สียง ด
และมอื ซา ยตที ่ีเสยี ง ดํ สว นคูถา งใชม ือขวาตีที่เสียง ด และมือซา ยตีที่เสียง ฟ

70

3. สญั ลกั ษณตัวโนต ซ อานวา อะไร และมีความหมายอยา งไร
ก. อา นวา ซอลต่าํ หมายถึง ลกู ฆองมอญลกู ที่ 1 นับจากซายมือของผูบรรเลง
ข. อานวา ซอล หมายถึง ลกู ฆองมอญลูกท่ี 1 นบั จากซายมือของผูบรรเลง
ค. อา นวา ซอล หมายถึง ลูกฆองมอญลกู ที่ 6 นับจากซา ยมือของผูบรรเลง
ง. อานวา ซอลสูง หมายถงึ ลกู ฆองมอญลูกท่ี 13 นบั จากซา ยมือของผูบรรเลง

71

แบบทดสอบระหวางเรยี น
บทท่ี 4 เรอื่ ง แบบฝก ทกั ษะการบรรเลงฆอ งมอญวงใหญ

ดานทกั ษะ

คาํ ชีแ้ จง ใหนักเรียนแบงกลมุ ๆละ 2 คน แลวปฏบิ ัติแบบฝก ทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญ
แบบฝก ที่ 1 - 20 ทลี ะกลุม

72

บทท่ี 5
เพลงประจาํ วัด - เพลงประจาํ บา น

นกั เรยี นไดศ กึ ษาเรยี นรูเบอื้ งตนเกยี่ วกับปพ าทยมอญ และฝกทักษะการบรรเลงฆองมอญวงใหญมาแลว
จากเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การบรรเลงเพลงมอญ ต้ังแตบทท่ี 1 - 4 โดยเนื้อหาสาระไดให
ความรพู ื้นฐานเบ้ืองตนทง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัตขิ ้ันพน้ื ฐานการบรรเลงฆองมอญวงใหญ ในบทท่ี 5 น้ี จะให
นักเรียนฝกปฏิบัติฆองมอญวงใหญเพลงประจําวัด และเพลงประจําบาน ซ่ึงเปนการนําความรูและทักษะ
การบรรเลงฆองมอญวงใหญจากบทท่ี 1 - 4 มาใชปฏิบัติจริง โดยเนื้อหาสาระของแตละเพลงจะประกอบดวย
ประวัติเพลง ศัพทสังคีต หนาทับที่ใชตีกํากับจังหวะ และทํานองหลัก (ทํานองหลักเพลงประจําวัดและ
เพลงประจําบานท่ีใหนักเรียนฝกปฏิบัตินี้ เปนทางท่ีไดสืบทอดกันมาจากรุนสูรุนของวงปพาทยมอญในอําเภอ
ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยผูจัดทําไดรับการถายทอดจาก ผศ.ดร.ดุษฎี มีปอม ผูเชี่ยวชาญดนตรีไทย
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม) ดังน้ี

1. เพลงประจําวดั

1.1 ประวัติเพลงประจําวดั

เพลงประจําวดั เปน เพลงมอญที่นิยมนํามาใชฝกหัดในวงปพาทยมอญเปนเพลงแรก ชาวมอญ

เรียกวา โกกเปงหะมาว หมายถงึ การอญั เชญิ ส่งิ ศกั ดสิ์ ิทธ์ภิ ายในวัด เพลงประจําวัดใชบรรเลง

ประโคมในการจดั งานท่ีวัด โดยใชบรรเลงประโคมสอดแทรกไปในชวงเวลาตางๆที่วางเวนจากพิธีกรรม คนมอญ

จะใชบ รรเลงไดเฉพาะท่วี ดั เทา นนั้ เพราะมคี วามเช่ือวาเพลงประจําวดั ใชบรรเลงประโคมใหกับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิภายในวัด

โดยเฉพาะอยางยิ่ง ตะละทาน ซ่ึงเปนเจาท่ีปกปกษรักษาวัด การจัดงานในวัดมอญไมวาจะเปนงานมงคลหรือ

งานอวมงคลตองทําพิธีบอกกลาวนําเคร่ืองบูชามาบูชาตะละทานทุกคร้ัง เพลงประจําวัดจึงถูกหามไมใหไปบรรเลง

ที่บาน นอกจากนั้นคนมอญยังมีความเช่ือถืออยางเครงครัดท่ีวา ส่ิงใดที่เปนของวัดจะไมนํามาไวที่บาน

เพลงประจาํ วดั ซึ่งถอื วา เปน ของวดั ชาวมอญจึงหามไมใหนําไปบรรเลงที่บา น (พิศาล บุญผูก, 2553, หนา 31)

1.2 ศัพทสังคีต
1.2.1 จังหวะ หมายถงึ การแบงสว นยอยของทํานองเพลง ซึ่งดําเนินไปดวยเวลาอันสมํ่าเสมอ

ทกุ ๆระยะของสว นท่แี บงนี้คือจงั หวะ

จงั หวะที่ใชใ นการดนตรไี ทย แยกออกไดเปน 3 อยาง คือ

73

1.2.1.1 จังหวะสามัญ หมายถึง จังหวะท่ัวไปท่ีจะตองยึดถือเปนหลักสําคัญของการ
ขับรองและบรรเลงแมจะไมมีสิ่งใดเปนเคร่ืองใหสัญญาณจังหวะ ก็ตองมีความรูสึกอยูในใจตลอดเวลา จังหวะ
สามัญนี้อาจแบงซอยลงไปไดเปนข้ันๆ แตละขั้นจะใชเวลาสั้นลงคร่ึงหน่ึงเสมอไป และเมื่อจังหวะส้ันลงครึ่งหน่ึง
จาํ นวนจังหวะก็มากข้นึ อกี เทา ตัว

อุทาหรณ เพลงหนึ่งมี 8 จังหวะ กินเวลาบรรเลง 128 วินาที จึงเปนจังหวะละ 16
วนิ าที จะซอยสว นจงั หวะลงไดดังนี้

จังหวะละ 16 วินาที เปน เพลง 8 จงั หวะ
จงั หวะละ 8 วนิ าที เปนเพลง 16 จงั หวะ
จังหวะละ 4 วินาที เปน เพลง 32 จงั หวะ
จงั หวะละ 2 วนิ าที เปนเพลง 128 จังหวะ
ผูขับรองและผูบรรเลงดนตรีจะยึดถือเอาจังหวะขนาดไหนเปนสําคัญก็แลวแตความ
เหมาะสมของลกั ษณะเพลงนนั้ ๆ
1.2.1.2 จังหวะฉ่ิง เปนการแบงจังหวะดวยเสียงที่ตีฉ่ิง เพื่อใหรูจังหวะเบาและจังหวะหนัก
โดยปรกติฉ่ิงจะตีสลับกันเปน “ฉ่ิง” ทีหนึ่ง “ฉับ” ทีหนึ่ง ฉ่ิงเปนจังหวะเบา และฉับเปนจังหวะหนัก สวนจะใช
จังหวะถ่หี รือหางอยางไรกแ็ ลว แตล ักษณะของเพลง
เพลงพิเศษบางเพลงอาจตีแตเสียงท่ีดังฉ่ิงลวนๆ หรือฉับลวนๆ ก็ได เพลงสําเนียงจีน
หรือญวนมักตีเปน “ฉิ่งฉิ่งฉับ” แตน่ีเปนการแทรกเสียงฉ่ิงพยางคท่ี 2 เขามาอีกพยางคหนึ่งเทานั้น มิไดเปน
จงั หวะพิเศษอยา งใดสวนเพลงจงั หวะพิเศษ เชน เพลงจําพวกโอโลม ชมตลาด และยานี การตีฉิ่งมีจังหวะกระช้ัน
ในตอนทายประโยค เพราะเปนเพลงประเภทประโยคละ 7 จงั หวะ
1.2.1.3 จงั หวะหนาทับ คือ การถือเอาหนาทับเปนเกณฑในการนับจังหวะ หมายความวา
เมื่อหนาทับตีจบไปเที่ยวหนึ่งก็นับเปน 1 จังหวะ ตีจบไป 2 เที่ยวก็เปน 2 จังหวะ แตหนาทับที่ใชเปนเกณฑ
ในการกําหนดจังหวะนี้ โดยปรกติใชแตหนาทับท่ีเปนประเภทของเพลงน้ันๆ เชน ปรบไก หรือสองไม กับ
อัตราสวนของเพลง เชน 3 ชั้น 2 ชั้น และชั้นเดียว สวนเพลงที่มีหนาทับพิเศษซ่ึงมีความยาวมากก็มิไดถือเอา
หนาทับประจําเพลงเชน นนั้ มาเปน เกณฑก าํ หนดจงั หวะ เชน เพลงตระนิมติ (2 ชัน้ ) ซงึ่ มีหนาทับตะโพนประจําเพลงอยู
เวลาบรรเลงตะโพนกจ็ ะตีหนา ทับตระ ซึง่ มคี วามยาวเทากันกับทํานองเพลง หนาทับกับทํานองเพลงก็จะจบลง
พรอมกัน แลวจะถือวาเพลงตระนิมิตมีจังหวะเดียวหาไดไม หากจะตรวจใหทราบวาเพลงตระนิมิตมีกี่จังหวะ
ก็จะตองใชหนาทับปรบไก 2 ชั้น เปนเกณฑตรวจสอบ เพราะเพลงตระนิมิตเปนเพลงประเภทหนาทับปรบไก
เมอ่ื นาํ หนา ทบั ปรบไกมาตใี หเ ขา กบั ทาํ นองเพลงตระนมิ ติ ก็จะตหี นาทบั ได 8 เทย่ี ว จึงเปนอันรูไดวาเพลงตระนิมิต
มี 8 จังหวะ การที่นักดนตรีพูดกันวาเพลงนี้เทาน้ันจังหวะ เพลงนั้นเทาน้ันจังหวะ ก็หมายถึงการนับจังหวะ
หนาทับ ดังกลาวมานี้ (มนตรี ตราโมท, 2531, หนา 6 - 7)
1.2.2 กรอ ความหมายที่ 1. คือ เปนวิธีบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทตี เชน ระนาด ฆองวง
อยางหนึ่งซึ่งใชวิธีตี 2 มือสลับกันถี่ๆ เหมือนรัวเสียงเดียว แตวิธีที่เรียกวา “กรอ” นี้ มือท้ังสองไมไดตีอยูท่ี

74

ลูกเดียวกัน โดยปกติมักจะตีเปนคู 2 คู 3 คู 4-5-6 และ 8 ฯลฯ ความหมายที่ 2. คือ เปนคําเรียกทาง
ของการดําเนินทํานองเพลงอยางหน่ึง ที่ดําเนินไปโดยใชเสียงยาวๆ ชาๆ เพลงท่ีดําเนินทํานองอยางนี้เรียกวา
“ทางกรอ” ท่ีเรียกอยางน้ีก็ดวยเหตุเพลงที่มีความยาวๆน้ัน เครื่องดนตรีประเภทตีไมสามารถจะทําใหยาวได
จงึ ตอ งตกี รอ (ดังขอ 1) ใหไ ดค วามยาวเทากับความประสงคของทาํ นองเพลง (มนตรี ตราโมท, 2531, หนา 1)

1.2.3 หนาทับ คือ วิธีการตีเครื่องดนตรีท่ีขึงดวยหนังจําพวกที่เลียนเสียงมาจาก “ทับ”
เชน ตะโพน และกลองแขก เปนตน ซึ่งมีบัญญัติเปนแบบแผนสําหรับตีประกอบจังหวะประจํากับทํานองเพลง
โดยเฉพาะ

อธิบาย : ทับ เปนช่ือเครื่องดนตรีท่ีขึงดวยหนังหนาเดียว ใชตีประกอบจังหวะทํานอง
ดนตรี มาแตโบราณ สมัยปจจุบันเราเรียกวา “โทน” (ท่ีตีคูกับรํามะนาในวงมโหรี) หนาที่อันสําคัญของทับ คือ
ตีประกอบจังหวะใหถ กู ตองกับประโยคเพลง และกลมกลืนกับทํานองเพลงรองหรือดนตรี หมายความวา ทับก็ตองตี
เปนเพลง แตเสียงของทับไมสามารถตีเปนทํานองได จึงตีแตเพียงเปนเคร่ืองบอกสัดสวนและประโยคของเพลง
นั้นๆ วิธีตีทับประจําเพลงน้ี ผูรองหรือผูบรรเลงดนตรีตองยึดถือเปนส่ิงสําคัญ ถารองหรือบรรเลงเพลงใดไมตรงกับ
วิธีตีของทับ ก็ถือวาเพลงน้ันผิดโดยขาดหรือเกิน ทับจึงเปนเสมือนผูกํากับอันสําคัญ เปนหัวหนาของบทเพลง
อยางหน่ึง วิธีตีหรือเพลงของทับนี้ จึงเรียกวา “หนาทับ” สมัยตอมาไทยเราไดเพ่ิมเติมเครื่องขึงดวยหนังตีประกอบ
จงั หวะขึน้ ตามกาลสมัย โดยใชว ธิ ีตีเลยี นเสยี งมาจากทับอีกหลายอยาง เชน ตะโพน สองหนา กลองแขก กลองมลายู
เปน ตน แมแ ตทบั ซ่ึงเปนของเดิม ก็ยงั เพิม่ กลองรํามะนาเขา ตีสอดแทรกเปนคูกัน วิธีตีหรือเพลงของเครื่องขึงดวยหนัง
จาํ พวกน้ี จงึ เรียกวา “หนา ทบั ” ทั้งหมด (มนตรี ตราโมท, 2531, หนา 33 - 34)

1.3 หนาทับเพลงประจาํ วดั
กอนที่จะเร่ิมเรยี นหนาทับเพลงประจําวัด และ หนาทับเพลงประจําบานนักเรียนทุกคนจะตอง

ทาํ ความเขา ใจเก่ยี วกับสัญลกั ษณของตัวโนต ซงี่ จะขอกําหนดเปนขอตกลงในเอกสารประกอบการเรียนการสอน
ในเลม น้ี ดังนี้

ป หมายถึง เสียง เปง คือ วิธีการตเี ปง มาง 1 ลูกแบบเปดมือ
ป หมายถึง เสยี ง ปะ คือ วธิ กี ารตตี ะโพนมอญแบบปดมือท่หี นาเทง หรือ หนาเล็ก
ท หมายถึง เสียง เทง คือ วิธกี ารตีตะโพนมอญแบบเปดมือท่หี นาเทง หรอื หนาเล็ก
ทํ หมายถึง เสยี ง ทงึ คือ วิธีการตตี ะโพนมอญแบบเปดมือที่หนาทงึ หรือ หนา ใหญ
พ หมายถึง เสียง พรดื คือ วิธกี ารตีตะโพนมอญพรอมกันทั้งสองหนา
รวั หมายถึง วธิ กี ารตเี ปงมางคอกเคลาไปกับทํานองเพลง โดยใชว ิธีตีเริ่มจากลูกทมี่ ี

เสยี งสงู ไลไปหาเสียงต่ําและเริ่มจากจังหวะชาไลไปหาจังหวะเรว็ ข้นึ เรื่อยๆ
สลับไลเสียงขึ้น - ลง ตามความเหมาะสม
ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง หมายถึง การตเี ปง มางคอกสอดแทรกไปกับทํานอง
เพลงควบคูไปกับตะโพนมอญ ตามความเหมาะสม

75

หนาทับเพลงประจําวัด เปนหนาทับประเภทที่ใชตะโพนมอญและเปงมางคอกตีกํากับจังหวะ
หนา ทบั ซงึ่ สามารถแบงออกไดเปน 2 สว น คอื สว นของหนา ทับท่ีใชตีกํากับทํานองขึ้นตนของเพลง และ หนาทับ
ที่ใชตีกํากับทํานองเพลง ในสวนของหนาทับที่ใชตีกํากับทํานองเพลง ประโยคสุดทาย หรือลงจบ เปงมางคอก
จะเปล่ยี นเปนตรี ัวใน 4 หองเพลงสุดทาย โดยเน้อื ของหนา ทับเพลงประจาํ วัดท้ังหมดมีดังน้ี

ข้นึ ตน

เปงมางคอก - - - - - - - - - - - - - - - - รวั

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - ท ทํ - - - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ

เปง มางคอก รวั

ตะโพนมอญ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

หนาทบั เพลงประจําวัด

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

เปง มางคอก -ท-ท --ทท ตีสอดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง
ตะโพนมอญ - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ลงจบ (สมาน นอยนติ ย, 2553 , หนา 55)

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง รัว

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

1.4 ทํานองหลักเพลงประจําวดั
ทํานองหลักเพลงประจําวัด สามารถแบง ทวงทํานองเพลงไดหลายแบบ เชน แบบทอน แบบเที่ยว

หรือแบบอ่ืนๆก็ไดข้ึนอยูกับนักดนตรีแตละบาน แตละสํานักท่ีจะมีวิธีการแบงเพ่ือทําใหการทองจําทํานองเพลง
เขาใจงายย่ิงข้ึน แตในเอกสารประกอบการเรียนการสอนเลมน้ีผูจัดทําใชวิธีแบงทํานองออกเปน 2 สวน คือ
สวนข้ึนตนเพลง มีความยาว 2 ประโยคเพลง และสวนของทํานองเพลง โดยในสวนของทํานองเพลงมีความยาว
66 ประโยคเพลง หรอื 33 จงั หวะหนาทบั จะแบง ออกเปน 2 เทีย่ ว คือ เที่ยวแรก 36 ประโยค (ประโยคท่ี 1 - 36)
หรือ 18 จังหวะหนาทับ และเท่ียวกลับ 30 ประโยค (ประโยคท่ี 37 - 66) หรือ 15 จังหวะหนาทับ ตามโนตมือฆอง
ทคี่ ูก ับโนต หนา ทบั กาํ กับจงั หวะในแตละประโยคเพลง ดงั นี้

76

ขน้ึ ตน

มือขวา - - - - - - - - - - - - - - - ซ - - - ล - - - ท - - - ล - - - ซ
มือซา ย - - - - - - - - - - - - - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ม - - - ลฺ - - - ซฺ

เปงมางคอก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - รวั

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - ท ทํ - - - - ท ทํ - - ท ทํ - - - - - - - -

มอื ขวา - ซ - รํ - - - มํ - รํ - ดํ - ท - ล - ซ - ดํ - รํ - มํ - รํ - ดํ -ท-ล
มือซา ย - ร - ร ---ม -ร-ด - - ลฺ ม - ร - ด -ร-ม -ร-ด - - ลฺ -

เปง มางคอก - - ท ทํ - - ท ทํ รวั - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ
- - ท ทํ - - ท ทํ
ตะโพนมอญ - - ท ทํ

เท่ียวแรก
ประโยคที่ 1

มอื ขวา - - - ล - - - ล - - - ล - - - ซ - - - ซ - - ล ท - มํ รํ - รํ - รํ รํ
มอื ซาย - - - ร - - - ลฺ - - - ร - - - ซฺ - ร - - - ซ - - - - - ท - ล - ซ

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 2
มอื ขวา - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - - - ล ซ - ซ - ซ - - - - ด - - ร ม
มือซาย - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม - - - ม - ร - ด - ซฺ - - - ด - -

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 3
มอื ขวา - - - - - มํ - มํ - รํ - มํ - ซํ - ลํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ - ล ซ - ซ - ซ ซ
มือซา ย - - - ม - - - - - ร - ม - ซ - ล - ท - ล - ซ - ม - - - ม - ร - ด

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

77

ประโยคท่ี 4
มอื ขวา - ซ - ดํ - รํ - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - ล ซ - ซ ซ - ดํ - ซ - ดํ - รํ - มํ
มือซาย - ร - ด - ร - ม - ซ - ม - ร - ด - - - ซฺ - ร - ด - ร - ด - ร - ม

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 5
มือขวา - - - - ซ ล - - ซ - ซ - ซ ล - - - ท - - รํ ท - - - ล - - ท ล - -
มอื ซา ย - - ร ม - - ซ ม - ร - ม - - ซ ม - - ล ท - - ล ซ - - ซ ล - - ซ ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 6 - รํ - มํ
มือขวา - ท - - รํ ท - - - ล - - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ - ซ - ดํ -ร-ม
มอื ซา ย - - ล ท - - ล ซ - - ซ ล - - ซ ม - - ร ม - - - ด - ร - ด

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 7
มือขวา - มํ รํ - รํ รํ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - มํ - รํ - รํ - ซํ - ลํ - ซํ ฟ มํ - รํ
มือซาย - - - ร - ล - ซ - ล - ซ - ม - ร - - ร - - ล - ซ - - ซ - - - ร -

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 8
มือขวา - รํ ดํ ท - - ล ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มอื ซาย ร - - - ล ซ - - - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

78

ประโยคท่ี 9
มือขวา - - ลํ - ลํ ลํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - รํ - - รํ มํ ฟ ซํ - ลํ - ซํ ฟ มํ - รํ
มือซาย - - - ล - - - ท - ล - ซ - - ร - - ล - ท - - - ซ - - ซ - - - ร -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 10
มอื ขวา - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มือซาย - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 11 ลท- - ลท- - ลท-ล - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท -ท-ล
มือขวา - - - - - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - -ม-ร -ด-- - - ลฺ -
มือซาย - - - ร ซ-ซ -
---ป -ป-ป -ป-ป ---- ---- -ป-ป
เปงมางคอก - - - ป ---- ---- ---- -ท-ท --ทท ---ป ----
ตะโพนมอญ - - - - ----

ประโยคท่ี 12
มอื ขวา - - - รํ - มํ - รํ - รํ - - - ท - ท ดํ รํ ดํ - - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซา ย - - - ร - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - - - ซ - - - ร - ม - ด - ร - ม

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 13
มอื ขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มอื ซา ย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - - - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

79

ประโยคท่ี 14
มือขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มือซาย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 15
มอื ขวา - ดํ - - ดํ รํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ - ท ล - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ
มือซาย - ซ - ล - - ซ ล - - ดํ ล - - - ซ - - - ซ - - ซ ม - - ร ม - - - ด

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 16
มือขวา - - - รํ - มํ - รํ - รํ - - - ท - ท ดํ รํ ดํ - - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มือซา ย - - - ร - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - - - ซ - - - ร - ม - ด - ร - ม

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 17
มือขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มอื ซาย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - - - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 18
มอื ขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซา ย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

80

ประโยคท่ี 19 -ท-ล -ท-ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท ---ล
มือขวา - รํ - ดํ - - ลฺ - - - ลฺ - -ม-ม -ซ-ม -ร-ด --ซ - - ลฺ - -
มือซา ย - - ด -
---ป -ป-ป -ป-ป ---- ---- ---ป -ป-ป
เปงมางคอก - - - ป ---- ---- ---- -ท-ท --ทท ---- ----
ตะโพนมอญ - - - -

ประโยคท่ี 20
มือขวา - - - - - รํ - รํ - มํ - ซํ - มํ - รํ - รํ ดํ ท - - ล ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซา ย - - - ร - - - - - ม - ซ - ม - ร ร - - - ล ซ - - - ซ - ม - ร - ด

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 21
มอื ขวา - - ซ ล - - ดํ รํ มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ - ม - ซ - ล - ซ - ท รํ - ท ล - -
มอื ซา ย - ม - - ซ ล - - - - ดํ ล - - - ซ - - ซฺ - - - ซฺ - - - - ล - - ซ ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 22
มือขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซา ย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 23
มอื ขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มอื ซาย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซ - - ลฺ - -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

81

ประโยคท่ี 24
มือขวา - - - - - รํ - รํ - ท - รํ - มํ - ซํ - - ทํ ทํ - ลํ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ
มอื ซาย - - - ร - - - - - ม - ร - ม - ซ - ท - - - ล - ซ - ล - ซ - ม - ร

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกบั ทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 25
มือขวา - ดํ - มํ - - - - - - - ซ - - ล ท - ดํ - - - มํ - รํ - รํ - - ดํ รํ - ดํ
มือซาย - ซ - - รํ ดํ ท ล - ร - - - ซ - - - - - ซ - - - - - - ล ท - - - ซ

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 26
มือขวา - ซ - ดํ - - รํ มํ - รํ - ดํ - ท - ล - มํ - รํ - มํ - ซํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ
มอื ซาย - ร - ด - - - ม - ร - ด - - ลฺ - - ม - ร - ม - ซ - ท - ล - ซ - ม

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 27
มอื ขวา - - รํ รํ - มํ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - รํ ดํ ท - - ล ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซาย - ร - - - ม - ซ - ล - ซ - ม - ร ร - - - ล ซ - - - ซ - ม - ร - ด

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 28
มือขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มอื ซา ย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซ - - ลฺ - -

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

82

ประโยคท่ี 29
มอื ขวา - ล - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - - ล ท - - - ล - ซ - ซ - ซ - -
มือซา ย - ลฺ - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - ซ - - - ลฺ - - - - ม - - ม - ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 30
มือขวา ล ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - ดํ - ซ - ดํ - ท - ล - ซ - ซ - ซ - -
มือซา ย - - ม - - ร - ร - - ม - - ร - ด - ร - ด - - ลฺ - - - ซฺ - - ม - ม

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 31
มอื ขวา ล ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - ดํ - ซ - ดํ - ท - ล - ดํ - รํ - - มํ มํ
มอื ซา ย - - ซฺ - - ร - ร - - ซฺ - - ร - ด - ร - ด - - ลฺ - - ด - ร - ม - -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 32
มือขวา - มํ - ล - มํ - รํ - รํ - - ดํ รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มอื ซา ย - ม - ม - ม - ร - - ล ท - - - ซ - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 33
มือขวา - ล - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล
มอื ซาย - ลฺ - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ -

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

83

ประโยคท่ี 34
มอื ขวา - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล - มํ - รํ - ดํ - มํ - รํ - ดํ - ท - ล
มอื ซา ย - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ - - ม - ร - ด - ม - ร - ด - - ลฺ -

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 35
มือขวา - มํ รํ - รํ - รํ รํ - - - ซ - - ล ท ล - ล ท - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซาย - - - ท - ล - ซ - ร - - - ซ - - - ซ - - - ด - ร - ม - ด - ร - ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 36
มอื ขวา - ลํ - ซํ - มํ - รํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มอื ซา ย - ล - ซ - ม - ร - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

เท่ยี วกลับ
ประโยคที่ 37

มอื ขวา - - ลํ - ลํ ลํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - รํ - - รํ มํ ฟ ซํ - ลํ - ซํ ฟ มํ - รํ
มือซาย - - - ล - - - ท - ล - ซ - - ร - - ล - ท - - - ซ - - ซ - - - ร -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 38
มือขวา - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มอื ซาย - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

84

ประโยคที่ 39
มือขวา - - ลํ - ลํ ลํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - รํ - - รํ มํ ฟ ซํ - ลํ - ซํ ฟ มํ - รํ
มือซาย - - - ล - - - ท - ล - ซ - - ร - - ล - ท - - - ซ - - ซ - - - ร -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 40
มือขวา - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มอื ซาย - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 41 ลท- - ลท- - ลท-ล - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท -ท-ล
มือขวา - - - - - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - -ม-ร -ด-- - - ลฺ -
มอื ซาย - - - ร ซ-ซ -
---ป -ป-ป -ป-ป ---- ---- -ป-ป
เปงมางคอก - - - ป ---- ---- ---- -ท-ท --ทท ---ป ----
ตะโพนมอญ - - - - ----

ประโยคท่ี 42
มือขวา - - - รํ - มํ - รํ - รํ - - - ท - ท ดํ รํ ดํ - - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มอื ซา ย - - - ร - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - - - ซ - - - ร - ม - ด - ร - ม

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกบั ทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 43
มอื ขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มือซาย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - - - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

85

ประโยคท่ี 44
มือขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มือซาย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 45
มอื ขวา - ดํ - - ดํ รํ - - มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ - ท ล - ท ล - - ซ ล - - ซ ล ท ดํ
มือซาย - ซ - ล - - ซ ล - - ดํ ล - - - ซ - - - ซ - - ซ ม - - ร ม - - - ด

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 46
มือขวา - - - รํ - มํ - รํ - รํ - - - ท - ท ดํ รํ ดํ - - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มือซา ย - - - ร - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - - - ซ - - - ร - ม - ด - ร - ม

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 47
มือขวา - - - ม - - - มม - ซ - - - ม - ซ - - ซ ม - - ซ ล ท - รํ - ท ล - -
มอื ซาย - - - ลฺ - - ม - - - - ร - - - - - ม - - ร ม - - - ล - ล - - ซ ม

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 48
มอื ขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มอื ซา ย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกบั ทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

86

ประโยคที่ 49 -ท-ล -ท-ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท ---ล
มอื ขวา - รํ - ดํ - - ลฺ - - - ลฺ - -ม-ม -ซ-ม -ร-ด --ซ - - ลฺ - -
มอื ซา ย - - ด -
---ป -ป-ป -ป-ป ---- ---- ---ป -ป-ป
เปงมางคอก - - - ป ---- ---- ---- -ท-ท --ทท ---- ----
ตะโพนมอญ - - - -

ประโยคที่ 50
มือขวา - - - - - รํ - รํ - มํ - ซํ - มํ - รํ - รํ ดํ ท - - ล ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มือซา ย - - - ร - - - - - ม - ซ - ม - ร ร - - - ล ซ - - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 51
มอื ขวา - - ซ ล - - ดํ รํ มํ รํ - - ดํ รํ - ดํ - ม - ซ - ล - ซ - ท รํ - ท ล - -
มอื ซาย - ม - - ซ ล - - - - ดํ ล - - - ซ - - ซฺ - - - ซฺ - - - - ล - - ซ ม

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 52
มอื ขวา ซ - ม - ร ม - ซ - - ซ ล ซ - ซ - - รํ - - - ท - ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มือซา ย - ร - ด - - ซฺ - - ม - - - ม - ร - ซ - ซ - - ล - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 53
มือขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มอื ซา ย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซ - - ลฺ - -

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

87

ประโยคท่ี 54
มอื ขวา - - - - - รํ - รํ - ท - รํ - มํ - ซํ - - ทํ ทํ - ลํ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ
มอื ซาย - - - ร - - - - - ม - ร - ม - ซ - ท - - - ล - ซ - ล - ซ - ม - ร

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 55
มอื ขวา - ดํ - มํ - - - - - - - ซ - - ล ท - ดํ - - - มํ - รํ - รํ - - ดํ รํ - ดํ
มือซาย - ซ - - รํ ดํ ท ล - ร - - - ซ - - - - - ซ - - - - - - ล ท - - - ซ

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 56
มอื ขวา - ซ - ดํ - - รํ มํ - รํ - ดํ - ท - ล - มํ - รํ - มํ - ซํ - ทํ - ลํ - ซํ - มํ
มอื ซา ย - ร - ด - - - ม - ร - ด - - ลฺ - - ม - ร - ม - ซ - ท - ล - ซ - ม

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 57
มอื ขวา - - รํ รํ - มํ - ซํ - ลํ - ซํ - มํ - รํ - รํ ดํ ท - - ล ท ดํ - ดํ มํ - รํ - ดํ
มือซาย - ร - - - ม - ซ - ล - ซ - ม - ร ร - - - ล ซ - - - ซ - ม - ร - ด

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 58
มือขวา - รํ - ดํ - ท - ล - ท - ล - ล - มํ - ซํ - มํ - รํ - ดํ - - - ลท - - - ล
มอื ซาย - - ด - - - ลฺ - - - ลฺ - - ม - ม - ซ - ม - ร - ด - - ซ - - ลฺ - -

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

88

ประโยคที่ 59
มอื ขวา - ล - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - - ล ท - - - ล - ซ - ซ - ซ - -
มือซา ย - ลฺ - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - ซ - - - ลฺ - - - - ม - - ม - ม

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคที่ 60
มอื ขวา ล ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - ดํ - ซ - ดํ - ท - ล - ซ - ซ - ซ - -
มือซาย - - ม - - ร - ร - - ม - - ร - ด - ร - ด - - ลฺ - - - ซฺ - - ม - ม

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 61
มือขวา ล ซ - ซ - ซ - - ล ซ - ซ - ซ - ดํ - ซ - ดํ - ท - ล - ดํ - รํ - - มํ มํ
มือซา ย - - ซฺ - - ร - ร - - ซฺ - - ร - ด - ร - ด - - ลฺ - - ด - ร - ม - -

เปงมางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 62
มือขวา - มํ - ล - มํ - รํ - รํ - - ดํ รํ - ดํ - - ล ท - - - ล - ล - มํ - รํ - ล
มือซา ย - ม - ม - ม - ร - - ล ท - - - ซ - ซ - - - ลฺ - - - ม - ม - ร - ลฺ

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 63
มอื ขวา - ล - - ล ท - - ล ท - - ล ท - ล - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล
มอื ซา ย - ลฺ - ร - - ลฺ ร - - ลฺ ร - - ลฺ - - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ -

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

89

ประโยคท่ี 64
มือขวา - มํ - รํ - - ดํ - ดํ - - ลท - ท - ล - มํ - รํ - ดํ - มํ - รํ - ดํ - ท - ล
มือซาย - ม - ร - ด - - ซ - ซ - - - ลฺ - - ม - ร - ด - ม - ร - ด - - ลฺ -

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 65
มือขวา - มํ รํ - รํ - รํ รํ - - - ซ - - ล ท ล - ล ท - ดํ - รํ - มํ - ดํ - รํ - มํ
มือซา ย - - - ท - ล - ซ - ร - - - ซ - - - ซ - - - ด - ร - ม - ด - ร - ม

เปง มางคอก - - - ป - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - - - - - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท - - ท ท - - - - - - - -

ประโยคท่ี 66 (ลงจบ)
มือขวา - - - - - - - รํ - ดํ - ซ - ล - ดํ - - - รํ - - - มํ - - - ซํ - - - ลํ
มอื ซาย - - - - - - - ร - ด - ร - ม - ด - - - ร - - - ม - - - ซ - - - ล

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง รัว

ตะโพนมอญ - ท - ท - - ท ท - - ท ท - ท - ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

90

2. เพลงประจําบาน

2.1 ประวตั ิเพลงประจําบาน

เพลงประจําบาน ชาวมอญเรียกวา โรวโรต หมายถึง ความเจริญรุงเรือง เพลงประจําบาน

เปนเพลงที่ใชบรรเลงประโคมขณะบําเพ็ญกุศลท่ีบานเพ่ือความเปนสิริมงคลและความเจริญรุงเรือง ใชบรรเลง

ประโคมในโอกาสท่ีวางจากพิธีกรรมอ่ืนเชนเดียวกับเพลงประจําวัด คนมอญในสมัยกอนใชเพลงประจําบาน

ประโคมในการบําเพ็ญกุศลไดท้ังงานมงคลและงานอวมงคล เพลงประจําบานสามารถนําไปใชบรรเลงประโคมที่วัด

ไดซ ึ่งตา งกับเพลงประจาํ วัดทีค่ นมอญใชบรรเลงประโคมไดเ ฉพาะทีว่ ัดหา มมิใหไปใชบรรเลงที่บาน (พิศาล บุญผูก,

2553, หนา 31 - 32)

2.2 ศพั ทสงั คตี
2.2.1 สะบดั คอื การบรรเลงที่แทรกเสียงเขามาในเวลาบรรเลงทํานอง “เก็บ” อีก 1 พยางค

ซึ่งแลว ผูบรรเลงแตจะเห็นสมควรวา จะแทรกตรงไหน ทํานองท่ีแทรกนั้นเรียกวา สะบัด แตการแทรกเสียงที่จะให

เปนสะบัด ตองแทรกแหงละพยางคเดียวเทาน้ัน ถาแทรกเปนพืดไปก็จะกลายเปน “ขย้ี” (มนตรี ตราโมท,

2531, หนา 31)

2.2.2 ประคบ หมายถึง การบรรเลงท่ีทําใหเสียงดนตรีดังชัดเจนถูกตองตามความเหมาะสม
ของทาํ นองเพลง การบรรเลงดนตรไี มว าจะเปนประเภทดีด สี ตี หรือเปา นอกจากทําเสียงสูงตํ่าถูกทํานองแลว

จะตองใชเสียงดังเหมาะสมกับทํานองดวย เชน ตีฆองวงใหญ แมเปนฆองลูกเดียวกัน บางครั้งก็ตองตีใหดัง

“หนอด” บางคร้ังก็ตองตีใหดัง “หนง” การสีซอบางคร้ังก็ตองการใหหวานใหเพราะใหดุดัน ซ่ึงจะชัดเจนไดก็
ดวยการประคบท้งั น้ัน และเครื่องดนตรีชนิดอ่ืนๆ ก็เปนเชนเดียวกัน เปรียบใหเห็นงายๆ ก็เหมือนกับการพูด

อกั ษร ร. และ ล. ก็ตองกําหนดใหรูวาคําไหนควรทําปากอยางไร และล้ินจดตรงไหน อยางไรซึ่งในภาษาของ

ดนตรีเรียกวา ประคบทัง้ ส้ิน (มนตรี ตราโมท, 2531, หนา 17)

2.2.3 คู หมายถงึ 2 เสยี ง และเสียงทง้ั 2 นี้อาจบรรเลงใหดังพรอมกันก็ไดหรือดังคนละทีก็ได
เสยี งท้งั 2 น้หี า งกันเทา ใดก็เรยี กวาคูเทานั้น แตการนับจะตองนับเสียงที่ดังท้ัง 2 รวมอยูดวย สมมุติวาเสียงหนึ่ง

อยทู ี่อักษร บ. อีกเสียงหนึ่งอยูท่ีอักษร พ. การนับก็ตองนับ 1 บ. 2 ป. 3 ผ. 4 ฝ. และ 5 พ. คูเชนน้ีก็ตอง

เรยี กวา “คู 5” (มนตรี ตราโมท, 2531, หนา 5)

2.3 หนาทับเพลงประจําบาน
หนา ทับเพลงประจําบา น เปนหนาทับประเภทที่ใชตะโพนมอญและเปงมางคอกตีกํากับจังหวะ

หนา ทับ ซึง่ สามารถแบง ออกไดเ ปน 2 สวน คือ สวนของหนาทบั ที่ใชตีกํากับทํานองขึ้นตนของเพลง และ หนาทับ

ท่ใี ชตีกํากบั ทํานองเพลง ในสว นของหนาทบั ที่ใชต กี าํ กบั ทํานองเพลง ประโยคสุดทาย หรือลงจบ เปงมางคอกจะ

เปลี่ยนเปน ตรี วั ใน 4 หองเพลงสุดทา ย โดยเนอื้ ของหนา ทบั เพลงประจาํ บานทั้งหมดมีดงั น้ี

91

ขึน้ ตน

เปงมางคอก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - รวั

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท ทํ - - - - ท ทํ - - ท ทํ

เปง มางคอก รวั

ตะโพนมอญ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

หนา ทับเพลงประจาํ บา น

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - พ - ป - - - - - - - - - - - - - - - -

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - ป ป - ป - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - - - - - - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท ทํ - ท - ทํ

เปงมางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

(สมาน นอ ยนติ ย, 2553 , หนา 55)

ลงจบ

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง รัว

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

2.4 ทํานองหลักเพลงประจําบาน
ทํานองหลักเพลงประจําบาน สามารถที่จะแบงทวงทํานองเพลงไดหลายแบบ เหมือนกับเพลง

ประจําวดั แตในเอกสารประกอบการเรียนการสอนเลมน้ีผูจดั ทาํ ใชวิธีแบง ทาํ นองออกเปน 2 สวน คอื สว นขึ้นตน เพลง
มีความยาว 2 ประโยคเพลง และสวนของทํานองเพลง โดยในสวนของทํานองเพลงมีความยาว 56 ประโยค
เพลง หรือ 14 จังหวะหนาทับ จะแบงออกเปน 2 เที่ยว คือ เท่ียวแรก 24 ประโยค (ประโยคท่ี 1 - 24) หรือ 6
จังหวะหนาทับ และเท่ียวกลับ 32 ประโยค (ประโยคที่ 25 - 56) หรือ 8 จังหวะหนาทับ ตามโนตมือฆองที่คูกับ
โนตหนาทบั กํากบั จงั หวะในแตละประโยคเพลง ดงั นี้

92

ขน้ึ ตน

มือขวา - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - รํ - - - ดํ - - - ล
มอื ซา ย - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ร - - - ด - - - ลฺ

เปง มางคอก - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - รัว

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท ทํ - - - - ท ทํ - - ท ทํ

มือขวา - - - ซ ---ล - - - ดํ - - - รํ - ฟ - รํ - ดํ - ลํ - - - ซํ - - - ฟ
มือซา ย - - - ซฺ - - - ลฺ ---ด - - - ร - ดํ - ล -ซ-ล ---ซ - - - ดํ

เปง มางคอก - - ท ทํ - - ท ทํ รัว -ท-ท - - ท ทํ - - ท ทํ
- - ท ทํ - - - -
ตะโพนมอญ - - ท ทํ

ประโยคที่ 1 - ฟ - ฟ เที่ยวแรก มํ รํ - - ดํ รํ - - ดํ รํ มํ ฟ
มอื ขวา - - - - ---- - - ดํ ล - - ซ ล - - - -
มือซา ย - - - ดํ - มํ - - ฟ ซํ - ฟ - มํ ซํ -
---ป - - รํ มํ - - - ดํ - - - รํ ---ป -ป-ป -ป-ป
เปง มางคอก - - - - ---- -ป-ป -ป-ป ---- ---- ---- ----
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - พ - ป - - - -

ประโยคท่ี 2
มอื ขวา - - มํ มํ - รํ - มํ - ฟ - ซํ - ลํ - ซํ - ลํ - - ซํ ฟ - ดํ - รํ ดํ - ดํ ดํ - ฟ
มือซา ย - ท - - - ล - ท - ดํ - ซ - ล - ซ - ล - - ซ ดํ - ซ - - - ด - ด - ด

เปงมางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - ป ป - ป - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท

ประโยคท่ี 3
มอื ขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มอื ซา ย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - - - - - - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท ทํ - ท - ทํ

93

ประโยคท่ี 4
มอื ขวา - - - ซ - ล - ซ - ม ร - - - ร ม ซ ล - ซ - ซ - ซ ล ท - ล - ล - ล
มอื ซาย - - - ซฺ - ลฺ - ซฺ - - - ด ซฺ ด - - - - ซฺ - - ด - ซฺ - - ลฺ - - ร - ลฺ

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคท่ี 5
มือขวา - - - ล - - - ล - - ซ ซ - ล - ดํ - ซ - ล - ดํ - รํ - มํ - รํ - ดํ - ล
มือซา ย - - - ร - ลฺ - - - ร - - - ม - ด - ร - ม - ด - ร - ม - ร - ด - ม

เปงมางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - พ - ป - - - - - - - - - - - - - - - -

ประโยคที่ 6
มอื ขวา - - ล ซ - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ท ล - ซ - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มอื ซาย - ม - - ม - - ด - - ด - - - ซฺ - - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

เปงมางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - ป ป - ป - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท

ประโยคท่ี 7
มือขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มอื ซา ย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - - - - - - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท ทํ - ท - ทํ

ประโยคที่ 8
มือขวา - - ซ ซ - ล - ซ - ล - ดํ - ล - ซ - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ซ - -
มือซา ย - ซฺ - - - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ลฺ - ซฺ - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

เปง มางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

94

ประโยคท่ี 9
มือขวา - ม - ม ซ ซ - - ซ - ม ซ - ม - - - - ด ร - - ร ด - ร - ร ม ร - -
มือซาย - - ร - - ด - ด - ร - - ด ร - ร - ลฺ - - ด ลฺ - ซฺ ลฺ - ด - - - ด ลฺ

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - พ - ป - - - - - - - - - - - - - - - -

ประโยคที่ 10
มอื ขวา - ม - ม ซ ม - - - - ด ร - - ด - - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มือซา ย - - ร - - - ร ด - ลฺ - - ด ลฺ - ซฺ - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - ป ป - ป - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท

ประโยคที่ 11
มือขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มือซา ย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - - - - - - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท ทํ - ท - ทํ

ประโยคท่ี 12
มอื ขวา - - ซ ซ - ล - ซ - ซ - - ซ ล ท ดํ - - มํ มํ - รํ - ดํ - รํ - ดํ - ล - ซ
มอื ซา ย - ซฺ - - - ลฺ - ซฺ - ร - ม - - - ด - ม - - - ร - ด - - ด - - - ซฺ -

เปงมางคอก ตีสอดแทรกไปกับทํานองเพลง

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 13
มอื ขวา - ดํ - ฟ - มํ - รํ - - - ดํ - - รํ มํ ฟ ซํ ฟ - - ฟ - ซํ - ลํ - ลํ - ซํ - ฟ
มือซาย - ด - ด - - ร - - ซ - - - ดํ - - - - - ดํ - - - ซ - ดํ - ล - ซ - ดํ

เปงมางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - พ - ป - - - - - - - - - - - - - - - -

95

ประโยคท่ี 14
มอื ขวา - ดํ - ฟ - ซํ - ลํ - ซํ - ฟ - มํ - รํ - ล ซ - ซ ซ - ดํ - มํ - รํ - ดํ - ล
มือซาย - ซ - ดํ - ซ - ล - ซ - ดํ - ท - ล - - - ซฺ - ร - ด - ม - ร - ด - ม

เปงมางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - ป ป - ป - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท

ประโยคที่ 15
มอื ขวา - - ล ซ - ซ ล ดํ - รํ - ดํ ท ล - ซ - ซ - - - ม - ม ซ - ม ซ - ดํ - ฟ
มือซาย - ม - - ม - - ด - - ด - - - ซฺ - - ด - ด - - ร - - ร - - - ด - ด

เปงมางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - - - - - - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท ทํ - ท - ทํ

ประโยคท่ี 16
มอื ขวา - ซํ - ฟ - มํ - รํ - มํ รํ - รํ รํ - ล - ดํ - ล - ซ - ล - ดํ - ฟ - มํ - รํ
มอื ซาย - - ด ด - - ร ร - - - ร - ร - ลฺ - ด - ลฺ - ซฺ - ลฺ - ด - ด - - ร ร

เปง มางคอก ตสี อดแทรกไปกบั ทาํ นองเพลง

ตะโพนมอญ - - - - - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - - - - ท - ท - - ท ทํ - - ท ทํ

ประโยคที่ 17
มอื ขวา - - - - รํ มํ - - รํ มํ - - รํ มํ - รํ - ซํ - ซํ ฟ มํ - รํ - ดํ - ซ - - ล ล
มอื ซาย - - - ซ - - ร ซ - - ร ซ - - ร - - - ซ - - - ร ร - ด - ซฺ - ลฺ - -

เปง มางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - พ - ป - - - - - - - - - - - - - - - -

ประโยคท่ี 18
มือขวา - รํ - ดํ - ล - ซ - ดํ - รํ - ดํ - ฟ - ซํ - ฟ - มํ - รํ - ดํ - ซ - - ล ล
มอื ซาย - ร - ด - ลฺ - ซฺ - ด - ร - ด - ด - - ด ด - - ร ร - ด - ซฺ - ลฺ - -

เปงมางคอก - - - - - - - ป - ป - ป - ป - ป - - ป ป - ป - - ป ป - ป - - - -
ตะโพนมอญ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ท - ท


Click to View FlipBook Version