The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Risk management 2563 Laemchabang city municipality

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by awww_www, 2021-03-26 00:20:06

Risk management 2563 Laemchabang city municipality

Risk management 2563 Laemchabang city municipality

แผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง
(Risk Management)

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
ตามหลักเกณฑก์ ระทรวงการคลังวา่ ด้วยมาตรฐานและ

หลักเกณฑป์ ฏบิ ัติการบรหิ ารจัดการความเสยี่ ง
สำหรบั หนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2562

หนว่ ยตรวจสอบภายใน

เทศบาลนครแหลมฉบัง
อำเภอศรีราชา จังหวดั ชลบุรี





คำนำ

แนวคิดเร่ืองการบริหารความเส่ียงได้นำมาใช้ในการบริหารงานขององค์กร เพื่อใช้เป็น
เครื่องมือการบริหารงานที่จะช่วยให้ผู้บริหารเกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายตามที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ล และคุ้มคา่ โดยลดโอกาสท่ีจะเกิด
ความเสย่ี งหรอื ความไม่แน่นอนทีจ่ ะส่งผลกระทบหรือก่อให้ความเสยี หายในดา้ นต่าง ๆ ตอ่ องค์กร เปน็ การสรา้ ง
ภูมิคุ้มกันให้กับองค์กร ซ่ึงสอดคล้องกับแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy) ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ในส่วนของการเตรียมตัวให้พร้อมท่ีจะเผชิญผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดา้ น
ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตทั้งใกล้และไกล รวมทั้งสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิตท่ีว่า “อปฺปมาโท
อมตํปท”ํ ความไม่ประมาทเป็นทางไมต่ าย

องค์กรท่ีจัดทำระบบบริหารความเส่ียงได้อย่างมีประสิทธิผลจะช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ใน
ดา้ นกลยุทธ์ (strategic risk : S) คอื การบรหิ ารความเสย่ี งจะช่วยใหอ้ งค์กรบรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ ซ่ึง
สอดคล้องและสนับสนุนพันธกิจหลักขององค์กร ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk : O) คือ การบริหาร
ความเส่ียงจะช่วยให้องค์กรพิจารณาความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน รวมถึงพิจารณา
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินงานด้วย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology
Risk : T) คือการบริหารความเส่ียงที่มีประสิทธิผลจะช่วยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มมีความเช่ือม่ันข้อมูลใน
ด้านมาตรการป้องกันและระบบเทคโนโลยี ขององค์กร และด้านธรรมาภิบาล (Good Governance Risk : G)
เช่ือถอื ศรทั ธา ในการดำเนนิ การบริหารจัดการแผนงาน/โครงการ (Public Trust) ของหนว่ ยงาน/เจ้าหนา้ ที่

หน่วยงานตรวจสอบภายใน เทศบาลนครแหลมฉบังได้จัดทำคู่มือการบริหารความเสี่ยง
เพ่อื ใหห้ น่วยงานในสังกัดเทศบาลนครแหลมฉบังได้ใช้เป็นแนวทางในการจดั ทำระบบการบริหารความเส่ียงและ
การควบคุมภายใน ซง่ึ ผู้จดั ทำหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่าคมู่ อื ดังกล่าวจะเปน็ ประโยชน์ต่อหน่วยงานไม่มากก็นอ้ ย หากมี
ขอ้ ผดิ พลาดประการใดผูจ้ ัดทำขอนอมรบั ไว้ และจะดำเนนิ การปรับปรงุ แก้ไขในโอกาสต่อไป

หนว่ ยงานตรวจสอบภายใน
เทศบาลนครแหลมฉบงั



สารบญั

คำนำ บทนำ หน้า
บทที่ 1 1. หลกั การและเหตุผล ก
บทท่ี 2 2. วตั ถุประสงค์ของแผนบริหารจัดการความเสย่ี ง 1
3. เป้าหมาย 1
บทท่ี 3 4. ประโยชนข์ องการบริหารจัดการความเสีย่ ง 2
5. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงานการบริหารความเสี่ยง 2
6. นิยามความเส่ียง 2
ขอ้ มลู พื้นฐานของเทศบาลนครแหลมฉบัง 3
1. ประวตั ิความเปน็ มา 4
2. ดา้ นการเมอื ง/การปกครอง 6
3. ประชากร 6
4. สภาพทางสงั คม 8
5. ระบบการบริการพ้ืนฐาน 9
6. ระบบเศรษฐกิจ 9
7. เศรษฐกิจพอเพยี งท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งนำ้ ) 11
8.ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม 14
9. ทรพั ยากรธรรมชาติ 16
10. ตราสัญลกั ษณ์ 16
11. วิสัยทัศนก์ ารพัฒนา 17
12. ยทุ ธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา 18
13. จุดมงุ่ หมายเพือ่ การพฒั นา 18
14. อำนาจหน้าทีข่ องเทศบาลนครแหลมฉบัง 18
15. โครงสรา้ งองคก์ ร 20
16. อตั รากำลัง 21
17. แผนท่เี ขตเทศบาล 23
แนวทางการบรหิ ารความเส่ียง 23
1. แนวทางการดำเนินงาน ในการบรหิ ารความเสีย่ งของเทศบาลนครแหลมฉบัง 24
25
แบงเป็น ๒ ระยะ
2. กลไกลการบริหารจัดการความเสย่ี ง ประกอบด้วย 25
3. โครงสรา้ งการบรหิ ารความเส่ียง 25
26



สารบญั (ต่อ)

4. คณะกรรมการและคณะทำงานการบริหารจัดการความเส่ยี ง หน้า
บทท่ี 4 กระบวนการบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง 27
29
1 การประเมินความเสี่ยง เพ่ือบรรลุเปา้ หมายการดำเนนิ งาน
ตามยทุ ธศาสตร์ของเทศบาล 29
32
2. แนวคดิ เร่อื งการบรหิ ารความเสีย่ ง 35
3. กระบวนการบรหิ ารความเส่ียง 46
บทที่ 5 แผนบรหิ ารจดั การความเส่ยี ง 47
1. ข้นั ตอนการจดั ทำแผนบริหารจดั การความเส่ียง 48
2. โครงการ/กิจกรรมตามยทุ ธศาสตรท์ ่คี ัดเลือกเพื่อประเมินความเส่ยี ง 49
3. การกำหนดข้นั ตอนและวตั ถปุ ระสงค์ข้ันตอน 51
4. การระบุเหตุการณ์ความเส่ียง 60
5. การวิเคราะหค์ วามเสี่ยงและการประเมินความเสีย่ ง (แบบ Rm-1) 76
6. การประเมินผลการควบคุมและการจัดการความเส่ยี งโครงการ (แบบ Rm-2) 88
7. แผนการบริหารความเสีย่ งโครงการ (แบบ Rm-3) 94
บรรณานกุ รม

บทท่ี 1
บทนำ

แผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี



บทที่ 1
บทนำ

1. หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2545 “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพ่ือ

ประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐการลด
ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลกิ หน่วยงานที่ไม่จาํ เป็น การกระจายภารกิจและทรพั ยากรให้แก่
ท้องถ่ิน การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ การอํานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของ
ประชาชน ท้ังน้ีโดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงานในการปฏิบัติหน้าท่ีของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี (พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดีพ.ศ. 2546)
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งให้คำนึงถงึ ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยขอ้ มูล
การติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแตล่ ะภารกิจ”

การบริหารความเสี่ยงในภาครัฐจึงเป็นสว่ นหนงึ่ ของความรับผิดชอบภาครฐั (Public Accountability)
ที่มีต่อประชาชนและทรัพย์สินของประเทศ อันจะนํามาซ่ึงการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี (Good
Governance) จาก พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินข้างต้น ทำให้ภาครัฐในปัจจุบันจำเป็นต้องบริหาร
ราชการแบบมีส่วนร่วมของประชาชนมากข้ึนกว่าเดิมและต้องเปิดเผยข้อมูลในการปฏิบัติราชการประชาชน
สามารถตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานไดด้ ังน้นั การบริหารความเส่ียงจึงมสี ่วนอยา่ งย่ิงในการปอ้ งกัน
การไม่ได้รับการยอมรับจากภาคประชาชน และป้องกันความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคตทำให้การบริหาร
จดั การภาครฐั มกี ารตัดสินใจท่ดี ีขนึ้ ด้วย การบริหารความเสี่ยงนอกจากเปน็ การบริหารเชงิ ป้องกัน (Preventive
Management) แล้ว การบริหารความเส่ียงยังเป็นส่วนสำคัญต่อการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ในการผลักดันให้
ภาครัฐมีผลการดำเนินการท่ีเป็นเลิศ เป็นองค์การสมรรถนะสูง (High Performance Organization - HPO)
การบริหารความเส่ียงเป็นกระบวนการท่ีสำคัญในการเน้นความสำคัญหรือช้ีให้เห็นความเส่ียงท่จี ะส่งผลกระทบ
ต่อกิจกรรมท่ีองค์การได้วางไว้สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ระบุบทบาทของการบริหารความเส่ียงไว้ดังนี้คือ
“การบริหารความเส่ียงน้ันเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการประเมินประเด็นยุทธศาสตร์และรวมถึงวัตถุประสงค์
คุณภาพการให้บริการ การนําระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธ์ิมาประยุกต์ใช้อย่างจริงจัง โดยให้มีการจัดทำแผน
ยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงานให้สอดคล้องและเช่ือมโยงกับนโยบายและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของ
รฐั บาล มกี ารกำหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ทช่ี ัดเจน ให้วดั ผลในทุกระดับตงั้ แต่ระดับองค์การไปจนถึงระดับบุคคล”
(ทม่ี า: กรมบญั ชกี ลาง)

ดังน้ัน เทศบาลนครแหลมฉบัง จึงได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการความเสี่ยง พร้อมท้ัง
จัดทำแผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ขนึ้ สำหรบั ใช้เป็นแนวทางในการบรหิ าร
และควบคุมกิจกรรม โดยคำนึงถึงการบรรลุเป้าประสงค์ ของประเด็นยุทธศาสตร์วิสัยทัศน์ และพันธกิจของ
เทศบาลนครแหลมฉบัง เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือผลักดันการดําเนินงานของ หน่วยงานให้มีประสทิ ธิภาพย่ิงขึ้น เกิด
ผลสมั ฤทธ์ติ อ่ ภารกิจของรัฐ และเกิดประโยชน์สขุ แกป่ ระชาชน ซ่งึ สอดคล้องกับเปา้ หมายตามพระราชกฤษฎกี า
ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกจิ การบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 รวมถึงเพ่ือลดโอกาสท่ีจะทำใหเกิดความ
เสียหายและผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตขององค์กรให้อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับและตรวจสอบได้อย่าง
เป็นระบบ

แผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี



2. วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนบริหารจัดการความเส่ยี ง

2.1 เพ่ือให้ผู้บริหารท้องถิ่นและผู้ปฏิบัติงานของเทศบาลนครแหลมฉบังเข้าใจในหลักการ และ
กระบวนการบรหิ ารจัดการความเสยี่ ง

2.2 เพอ่ื ให้การบริหารงานและการปฏิบัติงานของเทศบาลนครแหลมฉบัง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เกดิ ประสิทธผิ ล รวมถงึ บรรลตุ ามเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และวิสัยทศั น์

2.3 เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการความเสี่ยง การส่ือสาร การสร้างความเข้าใจ ให้
สอดคล้องเชือ่ มโยงการบริหารจัดการความเสยี่ งกบั กลยทุ ธข์ องเทศบาลนครแหลมฉบัง

2.4 เพ่ือให้ประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียของเทศบาลนครแหลมฉบัง มีความเชื่อม่ันในศักยภาพของ
เทศบาลนครแหลมฉบัง

3. เปา้ หมาย
3.1 ผู้บริหารและผูป้ ฏิบตั ิงาน มคี วามเข้าใจในหลักการและกระบวนการบรหิ ารจัดการ ความเสี่ยง
3.2 ผู้บรหิ ารและผปู้ ฏบิ ัติงาน สามารถระบคุ วามเส่ียง วเิ คราะหค์ วามเสี่ยง ประเมินความเส่ียง รวมถึง

สามารถจัดการความเส่ยี งให้อยู่ในระดบั ทีย่ อมรับได้
3.3 ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานสามารถนำแผนบริหารจัดการความเสี่ยงไปใช้ในการบริหารงานท่ี

รับผิดชอบ พัฒนาความสามารถของบุคลากรและกระบวนการดำเนินงาน รวมถึงเกิดความรับผิดชอบต่อความ
เส่ียงและการบรหิ ารความเสีย่ งเหมาะสมอย่างเป็นข้ันตอน

3.4 การบริหารจัดการความเส่ียงถูกกำหนดข้ึนอย่างหมาะสมทั่วท้ังองค์กร รวมถึงเกิดความ
รบั ผิดชอบและไดร้ ับการปลูกฝงั ใหเ้ ป็นวฒั นธรรมขององค์กร

4. ประโยชน์ของการบริหารจดั การความเส่ียง
การดำเนินการบริหารความเสี่ยงจะช่วยให้ผู้บริหารมีข้อมูลท่ีใชในการตัดสินใจได้ดีย่ิงขึ้น และทำให

องคกรสามารถจัดการกับปญหาอุปสรรค และอยู่รอดได้ในสถานการณท่ีไม่คาดคิดหรือสถานการณท่ีอาจทำให
องคกรเกิดความเสียหาย ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร้ ับการดำเนินการบรหิ ารความเส่ยี ง มีดงั น้ี

4.1 เป็นสวนหนงึ่ ของหลกั การบรหิ ารกจิ การบานเมืองทด่ี ี
การบริหารความเส่ียงจะช่วยคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยง และผู้บริหาร

ทุกระดับตระหนักถึงความเส่ียงหลักท่ีสำคัญและสามารถทำหน าที่ในการกำกับดูแล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกดิ ประสทิ ธผิ ล

4.2 สรา้ งฐานข้อมลู ทเ่ี ป็นประโยชนตอการบรหิ ารและการปฏิบตั งิ านในเทศบาล
การบรหิ ารความเสยี่ งจะเป็นแหล่งข้อมลู สำหรบั ผู้บริหารในการตดั สินใจดา้ นต่าง ๆ ซึง่ รวมถึงการ

บรหิ ารความเสี่ยงซ่ึงต้ังอยู่บนสมมติฐานในการตอบสนองต่อเป้าหมายและภารกิจหลักขององคกรรวมถึงระดับ
ความเสยี่ งทย่ี อมรบั ได้

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบรุ ี



4.3 ชว่ ยสะทอนใหเหน็ ภาพรวมของความเสี่ยงต่าง ๆ ที่สำคัญไดท้ ง้ั หมด
การบริหารความเส่ียงจะทำใหบุคลากรมีความเขาใจถึงเป้าหมายและภารกิจหลักของเทศบาล

และตระหนักถึงความเส่ียงสำคัญท่ีส่งผลกระทบในเชิงลบตอ่ เทศบาลไดอ้ ย่างครบถ้วน ซง่ึ ครอบคลมุ ความเสี่ยง
ธรรมาภิบาล

4.4 เป็นเคร่อื งมือสำคญั ในการบริหารงาน
การบริหารความเสี่ยงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถม่ันใจได้ว่าความเสี่ยงได้รับการจัดการอย่าง

เหมาะสมและทันเวลา รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือท่ีสำคัญของ ผู้บรหิ ารทองถิ่นในการบริหารงานและการตัดสนิ ใจใน
ด้านต่าง ๆ เชน การวางแผนการกำหนดกลยุทธ การติดตามควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงาน ซ่ึงสงผลใหการ
ดำเนินงานของสถาบันเป็นไปตามเป้าหมายทกี่ ำหนดและสามารถปองผลประโยชน รวมทง้ั เพ่ิมมลู คาแกองคกร

4.5 ชว่ ยใหการพฒั นาองคกรเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั
การบริหารความเสีย่ งทำใหรูปแบบการตดั สนิ ใจเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เชน การตัดสนิ ใจโดยท่ี

ผู้บรหิ ารทองถ่ินมีความเขาใจในกลยุทธ วตั ถปุ ระสงคขององคกร และระดับความเส่ียงอยา่ งชดั เจน
4.6 ชว่ ยใหการพฒั นาการบริหารและจดั สรรทรัพยากรเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล
การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างเหมาะสม โดยพิจารณาถึงระดับความเส่ียงในแต่ละกิจกรรม

และการเลือกใชมาตรการในการบริหารความเสี่ยง เชน การใชทรัพยากรสำหรับกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่าง ๆ
และกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูงยอมแตกต่างกัน หรือการเลือกใชมาตรการแต่ละประเภทยอมใชทรัพยากร
แตกตา่ งกนั เปน็ ตน้

5. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานการบริหารความเสย่ี ง
5.1 ขน้ั ตอนการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการหรือคณะทำงานการบริหารจัดการความเสี่ยงของเทศบาล
ดำเนินการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารจัดการความเส่ียงของเทศบาลนครแหลมฉบังในการบรรลุ

เป้าหมายตามกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ และเป้าหมายตามแผนดำเนินงานประจำปีของส่วนราชการ โดยมี
ผู้บริหารระดับสูง และผู้แทนจากทุกส่วนราชการในสังกัดร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงานโดยผู้บริหาร
สงู ต้องมีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบายหรอื แนวทางในการบริหารจัดการความเส่ยี ง

5.2 ข้ันตอนการวเิ คราะหแ์ ละระบปุ ัจจยั เส่ยี ง
มีการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยง ท่ีส่งผลกระทบหรืออาจสร้างความเสียหาย (ทั้งท่ีเป็นตัวเงิน

และไม่เป็นตัวเงิน) หรือความล้มเหลวหรือลดโอกาสท่ีจะบรรลุเป้าหมายตามกฎหมายจัดตั้งสวนราชการ
เป้าหมายตามแผนดำเนินงานประจำปของสวนราชการ รวมท้ังมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงทุจริต พรอมทั้งมีการ
จัดลำดบั ความสำคัญของปัจจัยเส่ยี ง โดยดำเนินการ ดงั นี้

1) จดั อบรมใหความรูเกีย่ วกับการบริหารความเส่ยี งแกบคุ ลากร
2) จัดประชุมปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง โดยทำการระบุปัจจัยเสี่ยงวิเคราะห์
ความเส่ยี ง และจัดลำดบั ความเส่ยี ง

แผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี



5.3 ขั้นตอนการจดั ทำแผนบรหิ ารจัดการความเส่ียง
การจัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยงนั้น ต้องได้รับความเห็นชอบและอนุมัติจากผู้บริหาร

ระดับสูงของเทศบาล มีการส่ือสาร การทำความเขาใจเกี่ยวกับแผนการบริหารความเส่ียงฯ รวมท้ังกำหนด
แ น ว ท างใน ก ารติ ด ต า ม แ ล ะ ป ระ เมิ น ผ ล แ ล ะ แ จ งเวี ย น ให กั บ ทุ ก ห น่ ว ย งา น ใน สั งกั ด ท ร าบ แ ล ะ ถื อ ป ฏิ บั ติ
ท้ังน้ีแผนบริหารความเสี่ยงควรกำหนดกิจกรรม มาตรการท่ีจะแกไข การลดหรือป้องกันความเส่ียงให
ครอบคลุมทุกด้าน ได้แก ความเส่ียงด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติงาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และด้านธรรมาภบิ าล

5.4 ข้ันตอนการดำเนินการตามแผนการบริหารความเสีย่ งขององคกร
การดำเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงขององค์กรน้ัน ควรให้มีการกำกับ ติดตาม

ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนอย่างครบถว้ นทกุ กจิ กรรม รวมทง้ั พิจารณาหาแนวทางแกไขทอ่ี าจจะเกิดขึ้น
ในระหว่างดำเนินการ และนำเสนอผู้บรหิ ารระดบั สงู ของสวนราชการอยา่ งนอ้ ย ปละ 1 คร้งั หรือทกุ ไตรมาส

4.5 ขนั้ ตอนการจดั ทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
เมอ่ื มีการจัดทำแผนการบริหารความเส่ียงขององค์กร มกี ารดำเนินงานตามแผนแล้วนั้น ขัน้ ต่อไป

เป็นการจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเส่ียงโดยระบุผลการประเมินความเสย่ี งและ
จากทไี่ ด้ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง โดยจำแนกระหว่างปัจจัยเสย่ี งทสี่ ามารถควบคุม บรหิ าร จดั การ
และปัจจัยเส่ียงที่ยังไม่สามารถควบคุม บริหารจัดการใหอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ทั้งนี้ จะตองมีการกำหนด
ขอเสนอแนะในการปรบั ปรุงแผนเพ่อื ใชในการดำเนินงานในปตอไปและนำเสนอต่อผ้บู ริหารต่อไป

6. นยิ ามความเสี่ยง
1. ความเสยี่ ง (Risk)
ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณหรือการกระทำใด ๆ ที่อาจจะเกิดข้ึนภายในสถานการณท่ีไม่

แน่นอนและจะส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย (ท้ังท่ีเป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน) หรือก่อใหเกิดความ
ล้มเหลว หรือลดโอกาสท่ีจะบรรลุวัตถุประสงคและเป้าหมายขององคกร ทั้งในด้านการปฏิบัติงาน ด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านธรรมาภิบาล ซ่ึงอาจเป็นผลกระทบทางบวกด้วยก็ได้ โดยวัดจากผลกระทบ
(Impact) ที่ได้รับ และโอกาสทีจ่ ะเกิด (Likelihood) ของเหตกุ ารณ
ลกั ษณะของความเส่ยี ง สามารถแบงออกไดเ้ ปน็ 3 สวน ดังน้ี

1) ปัจจัยเสย่ี ง คือ สาเหตทุ ีจ่ ะทำใหเกิดความเสีย่ ง
2) เหตกุ ารณเส่ยี ง คอื เหตกุ ารณทสี่ ่งผลกระทบตอการดำเนนิ งาน หรอื นโยบาย
3) ผลกระทบของความเสี่ยง คือ ความรุนแรงของความเสียหายที่นาจะเกิดขึ้นจาก
เหตกุ ารณเส่ียง
2. การบรหิ ารความเส่ยี ง (Risk Management)
การบริหารความเส่ียง หมายถึง กระบวนการที่ใชในการบริหารจัดการใหโอกาสท่ีจะเกิดเหตุการณ
ความเสี่ยงลดลงหรือ ผลกระทบของความเสียหายจากเหตุการณความเส่ียงลดลงอยู่ในระดบั ท่ีองคกรยอมรับได้
ดังนั้น องคกรตองมีการจดั การกับความเสี่ยงขององคกรที่เหมาะสม เพือ่ ที่จะสามารถลดความสญู เสียท่จี ะเกิด

แผนบรหิ ารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี



แกองคกรรวมไปถึงการสร้างโอกาส หรือสร้างมูลคาเพิ่มใหกับองคกรได้ในอนาคต ซ่ึงการบริหารจัดการ
ความเสี่ยง มีหลายวิธีดังนี้

1) การยอมรบั ความเสี่ยง (Risk Acceptance) เปน็ การยอมรับความเสีย่ งท่ีเกิดขึ้น เนื่องจาก
ความไมค่ ุมคา ในการดำเนนิ การควบคุมหรอื จัดกจิ กรรมปองกันความเส่ียง นนั้

2) การลดหรือการควบคุมความเส่ียง (Risk Reduction) เป็นการปรับปรุงระบบการทำงาน
หรอื การออกแบบวธิ ีการทำงานใหม่เพื่อลดโอกาสที่จะเกิด หรือลดผลกระทบใหอยู่ในระดับที่องคกรยอมรับได้
การควบคุม (Control) คือ การกระทำใด ๆ ท่ีฝ่ายบริหารกำหนดใหมีขึ้นเพื่อช่วยใหองคกร บรรลุวัตถุประสงค
และเป้าหมายตามท่ีกำหนดไว ท้ังน้ี การควบคุมแบงเป็น 5 ประเภท คือ

ก) การควบคุมแบบปองกัน (Preventive Controls) เป็นการปองกันจากสิ่งที่ไม่ตองการ
ใหเกิดขน้ึ ในองคกร

ข) การควบคุมแบบคนหา (Detective Controls) เป็นการคนหา สงิ่ ท่ีไมถ่ ูกตองในองคกร
ค) การควบคมุ แบบแกไข (Corrective Controls) เป็นการแกไขปญหาท่ีตรวจพบ
ง) การควบคุมแบบสั่งการ (Directive Controls) เป็นการสงเสริมส่ิงท่ีตองการใหเกิดขึ้น
ในองคกร
จ) การควบคุมแบบทดแทน (Compensating Controls) เป็นการควบคุมท่ีช่วยทดแทน
หรือชดเชยการควบคุมท่ขี าดไป
3) การกระจายความเสี่ยง หรือการถ่ายโอนความเส่ียง (Risk Sharing) เป็นการกระจายหรือ
ถา่ ยโอนความเสีย่ งใหผู้อ่นื ชว่ ยแบง่ ความรบั ผิดชอบไป
4) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) เป็นการจัดการความเสี่ยงที่อยู่ในระดับ
สูงมากและหน่วยงานไม่อาจ ยอมรับได้เนื่องจากมีผลกระทบจากปัจจัยภายนอกซ่ึงไม่สามารถควบคุมได้ และ
จำเปน็ ต้องตัดสินใจยกเลิกโครงการหรือกจิ กรรมน้นั
3. กิจกรรมการควบคมุ (Control Activities)
กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบาย มาตรการ และวิธีการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริหารนำมาใชเพื่อ
ก่อใหเกิดความเชื่อมั่นได้วา คำส่ังหรือวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ ท่ีฝ่ายบริหารกำหนดขึ้นไวมีการปฏิบัติตาม และ
มีการดำเนินการตาม มาตรการต่าง ๆ ท่ีจำเป็นในการที่จะจัดการกับความเส่ียงได้อย่างเหมาะสม
เพ่ือใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคขององคกรได้ กิจกรรมการควบคุมตองมีอยู่ในทุกสวนงานขององคกร และ
กำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ได้แก การอนุมัติ การมอบอำนาจ การตรวจทาน การกระทบยอด การสอบทาน
ผลการดำเนนิ งาน การปองกันและดแู ลรักษาทรัพยสิน และการแบ่งแยกอำนาจและหนาที่ เป็นตน

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบุรี

บทที่ 2
ขอ้ มูลพื้นฐาน
ของเทศบาลนครแหลมฉบงั

แผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี



บทที่ 2
ข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลนครแหลมฉบัง

1. ประวัตคิ วามเป็นมา
เทศบาลตำบลแหลมฉบังจัดต้ังขึ้นตาม"พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลแหลมฉบัง อำเภอศรี

ราชาและอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี พ.ศ.2534" ซึ่งไดป้ ระกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 108 ตอน
ที่ 211 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2534 มีข้อบังคับใช้ต้ังแต่วันที่ 3 มกราคม 2535 โดยยกฐานะพื้นที่บางส่วน
ของสุขาภิบาลอ่าวอุดม (เดิม) อำเภอศรีราชา และพื้นท่ีบางส่วนของสุขาภิบาลบางละมุง (เดิม)
อำเภอบางละมุง ต่อมาเทศบาลตำบลแหลมฉบังได้เปล่ียนแปลงฐานะเป็น "เทศบาลน ครแหลมฉบัง"
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เม่ือวันท่ี 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 โดยอาศัยอำนาจตามความ
ในมาตรา 11 และมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ
เทศบาล(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2546

1.1 ด้านกายภาพ
1) ท่ีตั้ง
เทศบาลนครแหลมฉบงั อยู่ห่างจากกรงุ เทพมหานคร เป็นระยะทางประมาณ 125 กิโลเมตร

มพี น้ื ท่ีรวมทั้งสนิ้ 109.65 ตารางกโิ ลเมตร คดิ เป็นร้อยละ 2.5 ของพื้นท่ีจงั หวดั ชลบุรี มอี าณาเขตดิ ต่อ ดงั นี้
ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กับ ตำบลสุรศักด์ิ อำเภอศรรี าชา
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลหนองขามและตำบลบงึ อำเภอศรรี าชา
ทศิ ใต้ ติดต่อกับ ตำบลบางละมุงและตำบลตะเคียนเต้ยี อำเภอบางละมุง
ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั ทะเลฝง่ั ตะวันออกของอา่ วไทย

ขอบเขตของเทศบาลตามพระราชกฤษฎกี าจดั ตงั้ เทศบาล มีดังนี้
ทิศเหนอื ตั้งแต่หลักเขตที่ 1 ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลอ่าวไทยด้านตะวันตกท่ีจุดเส้น
ขนานระยะ200 เมตร กับแนวเส้นแบ่งเขตตำบลระหว่างตำบลสุรศักดิ์กับตำบลทุ่งสุขลา บรรจบกับริมชายฝั่ง
ทะเลอ่าวไทยด้านทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก ตามแนวเส้นขนานระยะ 200 เมตร กับแนวแบ่งเขต
ระหวา่ งตำบลสรุ ศกั ดิก์ บั ตำบลท่งุ สขุ ลากับหลักเขตท่ี 2 ซึ่งตั้งอยู่รมิ ทางหลวง

จากหลักเขตที่ 2 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกตัดกับทางรถไฟสาย
ตะวันออก ท่ีจุดซึ่งอยู่ห่างจากถนนสุขาภิบาล 6 ตัดกับทางรถฟสายตะวันออกทางทิศเหนือตามแนวทางรถไฟ
สายตะวันออกระยะ 1.70 เมตร ทิศตะวันออกตามแนวเส้นต้ังฉากกับแนวศูนย์กลางทางรถไฟสายตะวันออก
ระยะ 550 เมตรถงึ หลกั เขตที่ 3

ทศิ ตะวันออก จากหลักเขตที่ 4 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกตามแนวเส้นตั้งฉากกับ
แนวศนู ย์กลางทางรถไฟสายตะวนั ออก ถงึ หลักเขตท่ี 5 ซึ่งตงั้ อยู่บนเสน้ ขนานระยะ 3,500 เมตรกบั ศูนย์กลาง
ทางรถไฟสายตะวันออก

แผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี



หลักเขตที่ 5 เป็นเส้นขนานระยะ 3,500 เมตรกับศูนย์กลางทางรถไฟ
สายตะวันออกถงึ หลักเขตที่ 6 ซง่ึ ตง้ั อยรู่ มิ หว้ ยกงไดฝง่ั ใต้

ทิศใต้ จากหลักเขตท่ี 6 เลียบริมหัวยกงไดฝั่งใต้ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และ
เลียบริมคลองบางละมุงฝั่งใต้ไปไปทางทิศตะวันตกถึงหลักเขตท่ี 7 ซ่ึงต้ังอยู่ริมชายฝ่ังทะเลอาวไทย
ดา้ นตะวันตกบริเวณปากคลองบางละมงุ ฝงั่ ใต้

ทิศตะวนั ตก จากหลักเขตที่ 7 เป็นสน้ ต้งั ฉากระยะ 3,000 เมตรกบั ชายฝง่ั ทะเลอ่าวไทย
ด้านทิศตะวนั ตกเฉียงใต้ ถึงหลกั เขตท่ี 8

จากหลักเขตที่ 8 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือถึงหลักเขตที่ 9
ซง่ึ ตง้ั อยปู่ ลายสดุ ของเขอ่ื นกน้ั คลน่ื ทา่ เรอื นำ้ ลึกแหลมฉบงั ดา้ นทศิ ใต้

จากหลักเขตท่ี 9 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือถึงหลักเขต
ท่ี 10 ซึ่งตงั้ อยู่ปลายสุดของทา่ เทียบเรอื บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกดั (มหาชน)

จากหลักเขตท่ี 10 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือถึงหลักเขต
ท่ี 11 ซง่ึ ตง้ั อยปู่ ลายสดุ ของทา่ เรอื บริษทั ไทยออยล์ จำกดั

1.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของเทศบาลนครแหลมฉบังเป็นพื้นที่ซายฝั่งทะเลมีชายฝ่ังทะเล อยู่ทางด้าน

ทิศตะวันตกซึ่งปกติติดกับอ่าวไทย มีท่ีราบบริเวณชายฝ่ังเป็นบริเวณกว้าง มีภูเขาขนาดเล็กความสูงไม่เกิน
200 เมตร (จากระดับน้ำทะเลปานกลาง) ทางบริเวณตอนเหนือของเทศบาลหลายแห่ง เช่น เขาไผ่ เขาขวาง
เขาน้อย เขานำ้ ชบั เขาทงุ่ ววั เขาพุ เขาโพธ์ิใบ เขาหนองอ่าง เขาบ่อยา เขาแหลมฉบัง

1.3 ลักษณะภมู อิ ากาศ
เทศบาลนครแหลมฉบังอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน มีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

พัดผ่านทำให้อากาศชุ่มชื้นและมีฝนตก ลักษณะภูมิอากาศโดยท่ัวไปไม่ร้อนจัดและไม่หนาวมาก แบ่งออกเป็น
3 ฤดกู าล ดังน้ี

ฤดรู ้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม โดยในช่วงเดือนเมษายนอากาศ
จะรอ้ นทีส่ ดุ

ฤดฝู น เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม ซ่ึงเป็นช่วงอิทธิพลของลมมรสุม
ตะวันตกเฉยี งใต้

ฤดูหนาว เริ่มต้ังแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยในเดือนธันวาคมจะมีอุณหภูมิ
ตำ่ สดุ มลี มมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื พดั ผ่าน

แผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี



1.4 ลักษณะของดิน
ลกั ษณะดินสว่ นใหญ่เป็นดนิ ร่วนปนทราย

1.5 ลักษณะของแหลง่ น้ำ
เทศบาลนครแหลมฉบังมีคลองและห้วย คือ คลองบางละมุ้ง คลองแหลมฉบัง คลองหนอง

เปด็ หาย คลองบ้านนา ห้วยวังตาขอน ห้วยเล็ก ห้วยใหญ่ และลำห้วยกงได

1.6 ลกั ษณะของไม้และปา่ ไม้
เนือ่ งจากพน้ื ทขี่ องเทศบาลนครแหลมฉบงั ติดกับชายฝ่งั ทะเล ป่าท่ีสำคญั จึงเป็นป่าชายเลนป่าชาย

เลนเป็นแหล่งอาหารสำคัญของมนุษย์ เน่ืองจากเป็นที่ที่สิ่งมีชีวิตในทะเล เช่น ปลา ปู กุ้ง และหอยนานาชนิด
เขา้ มาอาศัยหลบภยั เจรญิ เตบิ โต สบื พันธ์ุและวางไข่

2. ด้านการเมือง/การปกครอง

2.1 เขตการปกครอง
1) พ้ืนท่ีบางส่วนของสุขาภิบาลอ่าวอุดม (เดิม) มีพ้ืนท่ีจำนวน 72.56 ตารางกิโลเมตร หรือ

45,350 ไร่ รวม 4 ตำบล 19 หมบู่ ้าน ประกอบดว้ ย
- พืน้ ทีต่ ำบลทุ่งสุขลา (ทง้ั ตำบล จำนวน 12 หมูบ่ ้าน (หมทู่ ี่ 1 ถงึ หมทู่ ี่ 12)
- พื้นท่ีตำบลสรุ ศกั ดิ์ (บางสว่ น) จำนวน 2 หมู่บา้ น (หมทู่ ี่ 3 และหมู่ท่ี 9)
- พืน้ ที่ตำบลบงึ (บางส่วน) จำนวน 4 หมู่บา้ น (หมทู่ ี่ 1, 5, 9 และ 10)
- พื้นทต่ี ำบลหนองขาม (บางสว่ น) จำนวน 1 หมบู่ า้ น (หมทู่ ี่ 11)

2) พ้ืนที่บางส่วนของสุขาภิบาลบางละมุง (เดิม) มีพื้นที่จำนวน 16.03 ตารางกิโลเมตร หรือ
10,018.75 ไร่ ประกอบด้วย พื้นทตี่ ำบลบางละมงุ (บางสว่ น) จำนวน 5 หมูบ่ า้ น (หมู่ที่ 4, 6, 7, 8 และ 9)

3) พ้ืนน้ำ(ทะเล) มพี ้ืนท่จี ำนวน 21.06 ตารางกิโลเมตร ทางดา้ นตะวนั ตกของเขตเทศบาลฯ

2.2 การเลอื กตัง้
เทศบาลนครแหลมฉบังแบง่ เขตการเลือกต้ังออกเปน็ 4 เขต ดงั น้ี
เขตเลอื กตง้ั ท่ี 1 ประกอบดว้ ย หมู่ท่ี 1 , 2 , 3, 5, 7 ,9 , 10 ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรรี าช
เขตเลือกตง้ั ท่ี 2 ประกอบดว้ ย หมู่ท่ี 3 , 9 ต.สรุ ศกั ด์ิ อ.ศรีราชา
เขตเลอื กต้ังที่ 3 ประกอบด้วย หมูท่ ่ี 6, 8 , 11 , 12 ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรรี าชา
หมทู่ ี่ 11 ต.หนองขาม อ.ศรรี าชา
หมทู่ ่ี 1 , 5 ต.บงึ อ.ศรีราชา
เขตเลอื กตั้งที่ 4 ประกอบด้วย หมู่ที่ 9 , 10 ต.บึง อ.ศรรี าชา
หมู่ท่ี 4 , 6 , 7 , 8 , 9 ต.บางละมงุ อ.บางละมงุ

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี



3. ประชากร
3.1 ขอ้ มลู เกี่ยวกบั จำนวนประชากร
ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังมีประชากรจำนวน 87,409 คน แยกเป็นชาย 42,924 คน

หญิง 44,485 คน จำนวนครวั เรือน 78,796 ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากร 797.82 คน/ตาราง
กโิ ลเมตร

3.2 ชว่ งอายุและจำนวนประชากร

ช่วงอายุ จำนวนประชากร (คน) รวม
ชาย หญิง

นอ้ ยกว่า 1 ปี 592 599 1,191

1 - 2 ปี 1,217 1,099 2,316

3 - 5 ปี 1,914 1,923 3,837

6 - 11 ปี 4,265 3,924 8,189

12 - 14 ปี 2,038 2,015 4,053

15 - 17 ปี 1,829 1,769 3,598

18 - 25 ปี 4,422 4,703 9,125

26 - 49 ปี 18,173 19,067 37,240

50 - 60 ปี 5,013 5,117 10,130

60 ปขี น้ึ ไป 2,967 3,849 6,816

ทม่ี า : งานทะเบยี นราษฎรและบตั ร สำนกั ปลัดเทศบาล (ข้อมลู ณ เดือนพฤษภาคม 2562)

4. สภาพทางสังคม

4.1 การศกึ ษา

ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบงั มีสถานศกึ ษาของรฐั และเอกชน ดงั นี้

จำนวนนักเรยี น

สถานศกึ ษา เปดิ สอน อนบุ าล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย/ ปวส. รวม
ปวช.

สำนักงานการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

เขตการศึกษา 3 จ.ชลบรุ ี

โรงเรียนวัดบา้ นนา (ฟนิ วทิ ยาคม) อนุบาล-ประถมฯ 288 701 - - - 989

โรงเรียนวดั แหลมฉบงั อนบุ าล-มต้น 47 160 66 - - 273

โรงเรยี นวัดใหม่เนนิ พยอม อนุบาล-ประถมฯ 140 407 - - - 549

โรงเรยี นวดั มโนรม อนุบาล-มต้น 157 633 357 - - 1,147

โรงเรียนวดั พระประทานพร อนบุ าล-ประถมฯ 60 215 - - - 275

โรงเรียนบา้ นซากยายจนี อนุบาล-ประถมฯ 194 414 - - - 608

โรงเรียนบรษิ ทั ไทยกสกิ ร 166 688 263 - - 1,117

สงเคราะห์ อนบุ าล-มต้น

โรงเรียนวัดหนองคล้า อนุบาล-ประถมฯ 148 399 - - - 547

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบรุ ี

๑๐

จำนวนนกั เรยี น

สถานศกึ ษา เปดิ สอน อนุบาล ประถม ม.ต้น ม.ปลาย/ ปวส. รวม
ปวช.

โรงเรียนทุ่งสุขลาพิทยา "กรงุ ไทย ม.ต้น-ม.ปลาย - - 1,044 444 - 1,488

โรงเรยี นบ้านบางละมุง อนุบาล-ประถมฯ 31 127 - - - 158

โรงเรยี นวดั สุกรียบ์ ุญญราม อนบุ าล -ม.ต้น 105 209 117 - - 431

โรงเรยี นบ้านทุ่งกราด อนุบาล-ม.ตน้ 80 242 303 - - 625

สงั กัดเทศบาลนครแหลมฉบัง 617 1,692 - - - 2,309

โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบงั 1 อนบุ าล-ประถม

โรงเรยี นเทศบาลแหลมฉบงั 2 อนบุ าล-ประถมฯ 374 1,173 - - - 1,547

โรงเรยี นเทศบาลแหลมฉบัง 3 ม.ตน้ - - 1,136 122 - 1,258

สงั กัดเอกชน 302 870 349 - - 1,521

โรงเรยี นบุญจติ วทิ ยา อนุบาล-ม.ต้น

โรงเรยี นทนาพรวิทยา (บางละมุง) ประถม-ม.ต้น - 495 159 - - 654

โรงเรียนเทคโนโลยีศรีราชา ปวช.-ปวส. - - - 727 885 1,612

โรงเรียนเทคโนโลยแี หลมฉบัง ปวช.-ปวส. - - - 835 790 1,625

โรงเรียนวศิ วกรรมแหลมฉบัง ปวช.-ปวส. - - - 617 564 1,211

รวมจำนวนนักเรยี น 19,944

ทม่ี า : งานโรงเรยี น กองการศึกษา (ข้อมลู ณ เดือน มิถนุ ายน 2562)

4.2 การสาธารณสุข
ปจั จบุ ันเทศบาลนครแหลมฉบงั มศี ูนย์บริการสาธารณสขุ 3 แหง่
1. ศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ 1 ต้งั อยู่เลขท่ี 281 ม.11 ถ.สุขาภิบาล 8 ต.หนองขาม อ.ศรีราชา

2. ศูนย์บรกิ ารสาธารณสุข 2 (บ้านท่งุ กราด) ตงั้ อยูเ่ ลขท่ี 11/20 ม.8 ต.บางละมุง อ.บางละมงุ

3. ศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ 3 (บา้ นเขานำ้ ชับ) ต้ังอยเู่ ลขที่ 99/9 ม.6 ต.ทุง่ สุขลา อ.ศรีราชา

1) สถานพยาบาลของรฐั
โรงพยาบาลแหลมฉบงั

2) สถานพยาบาลสังกดั เอกชน
1. โรงพยาบาลวิภาราม
2. คลนิ ิก จำนวน 24 แหง่

3) บุคลากรทางการแพทย์
1. พยาบาล จำนวน 6 คน
2. ทนั ตแพทย์ จำนวน 1 คน
3. เภสัชกร จำนวน 1 คน

แผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบุรี

๑๑

4. นกั วชิ าการสง่ เสรมิ สาธารณสขุ จำนวน 1 คน

5. นักวิชาการสุขาภิบาล จำนวน 5 คน

6. อาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.) จำนวน 288 คน

4.3 อาชญากรรม

คดีประทษุ ร้ายตอ่ ทรพั ยแ์ ละประชาชน จำนวน 83 คดี

คดปี ระทษุ ร้ายตอ่ รา่ งกาย จำนวน 23 คดี

คดีจากอุบตั ิเหตุ จำนวน 19 คดี

คดอี ุกฉกรรจ์ จำนวน 2 คดี

ทมี่ า : สถานีตำรวจภรแหลมฉบงั (ขอ้ มูลสรปุ ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562)

4.4 ยาเสพตดิ

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่สำคัญและมีแนวโน้มท่ีจะขยายตัวเพ่ิมข้ึน เน่ืองจากในเขต

เทศบาลนครแหลมฉบังมีประชากรอยู่เป็นจำนวนมาก มีทั้งประชาชนในพื้นที่ ประชาชนที่มาจากจังหวัดต่างๆ

และจากประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มผู้เข้าไปกระทำผิดเก่ียวกับยาเสพติดมีแนวโน้มเป็นกลุ่มเยาวชนและผู้ใช้

แรงงาน เทศบาลจงึ ดำเนินการจัดให้มีโครงการตา่ งๆ เพื่อป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติด

4.5 การสงั คมสงเคราะห์

เทศบาลนครแหลมฉบังได้ดำเนินการด้านสังคมสงเคราะห์ โดยการจัดโครงการสงเคราะห์

ผู้มีรายได้น้อยและไร้ท่ีพึ่ง โครงการสงเคราะห์แว่นตาสำหรับเด็ก เยาวชน และประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่มี

ปัญหาทางสายตา มกี ารตรวจเยี่ยมผู้ปว่ ยติดเตียง รวมท้ังไดด้ ำเนนิ การจ่ายเบี้ยยังชพี ใหก้ ับผสู้ ูงอายผุ ู้พิการ และ

ผปู้ ่วยเอดส์

5. ระบบการบริการพื้นฐาน

5.1 การคมนาคมขนสง่

ทางบก

เทศบาลนครแหลมฉบังมีเส้นทางคมนาคมสายหลักที่สำคัญ คือ ถนนสุขุมวิท (ทางหลวงแผ่นดิน

หมายเลข 3 ) หรือถนนสายบางนา - ตราด ซ่ึงเป็นทางหลวงแผ่นดินสายแรกของภาคตะวันออก เริ่มต้นจาก

กรุงเทพฯ - จังหวัดสมุทรปราการ - จังหวัดฉะเชิงเทรา - จังหวัดชลบุรี - จังหวัดระยอง - จังหวัดจันทบุรีและ

สน้ิ สุดท่ีจังหวัดตราด

ทางรถไฟสายศรีราชา - แหลมฉบัง
ทางรถไฟส าย ศรีราช า -แห ล มฉบังเป็น เส้ น ทางรถไฟที่แยกจากรถไฟส าย ฉะเชิงเทรา -สัตหี บ
ที่บรเิ วณอำเภอศรีราชามงุ่ เข้าสู่ทา่ เรือน้ำลกึ และนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง มีระยะทางทงั้ หมด 9.3 กิโลเมตร

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี

๑๒

ท่าเรือพาณิชยร์ ะหวา่ งประเทศ

การท่าเรือแห่งประเทศไทยได้ทำการก่อสร้างท่าเรือแหลมฉบังเป็นท่าเรือน้ำลึกหลักในการ

ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ มีพ้ืนท่ีขนาด 6,340 ไร่ มีความพร้อมในด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวย

ความสะดวกท่ีทันสมัย เป็นไปตามมาตรฐานสากล สามารถรองรับเรือขนาดใหญ่พิเศษได้ รวมทั้งมี พ้ืนท่ี

สนบั สนนุ (Supporting Areas) สำหรับประกอบการทา่ เทียบเรือและกิจการต่อเน่ืองอยา่ งเพียงพอ

โครงขา่ ยถนนกายในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง

- ถนนสุขุมวิทของกรมทางหลวง ระยะทางภายในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังทั้งส้ิน

10.80 กิโลเมตร เขตทางกวา้ ง 60 เมตร ประกอบด้วยช่องทางไป - กลับ จำนวน 4 - 6 ชอ่ งทาง ซึ่งเช่ือมต่อ

ระหว่างอำเภอศรีราชากับอำเภอบางละมงุ

- ถนนทางหลวงหมายเลข 7 (ช่วงแยกเขา้ แหลมบัง) ของกรมทางหลวง ระยะทางรวมท้ังสิ้น

4.30 กิโลเมตร โดยก่อสร้างเพิ่มมาตรฐานถนนเล่ียงเมืองเดิมและก่อสร้างทางแนวใหม่และมีทางแยกเข้า

แหลมฉบังเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดเขตทางกว้าง 60 เมตร ประกอบด้วยช่องทางจราจรไป - กลับ

กว้างช่องละ 3.50 เมตร จำนวน 4 ช่องทาง มชี ่องทางจอดรับ - สง่ หรือกรณีฉกุ เฉินกว้างชอ่ งละ 2.50 เมตร

จำนวน 2 ชอ่ งทาง

- สขุ าภบิ าล 8 เดิมเป็นถนนสุขาภิบาล เป็นถนนลาดยางแยกจากถนนสุขุมวิทไปสู่

ชมุ ชน บา้ นหนองขาม (ตำบลหนองขาม) และสวนอุตสาหกรรมเครอื สหพฒั น์ฯ

- ถนนสุขาภิบาล 5 เดิมเป็นถนนสุขาภิบาล เป็นถนนลาดยางแยกจากถนนสุขุมวิทไปสู่

ชมุ ชนอา่ วอุดม ซ่งึ ประชาชนอาศยั อยู่หนาแนน่

- ถนนสุขาภิบาล 3 เดิมเป็นถนนสุขาภิบาล เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กแยกจากถนน

สุขุมวิทไปสู่โครงการท่าเรือขนส่งการเกษตรอ่าวอุดม โรงแป้งมันสำปะหลัง และบรรจบเชื่อมกับ

ถนนสขุ าภิบาล 5

- ถนนสขุ าภบิ าล 1 – 6 เดมิ เป็นถนนสขุ าภิบาล เป็นถนนลาดยางแยกจากถนนสุขมุ วิทเข้าสู่

สถานยี อ่ ยอา่ วไผข่ องการไฟฟา้ ฝ่ายผลติ ฯ

- ถนนสุขาภบิ าล 7 เดิมเป็นถนนสุขาภิบาล เป็นถนนลาดยางแยกจากถนนสุขุมวิทไป

สู่ชมุ ชนบา้ นแหลมฉบงั และบรเิ วณคลังเก็บน้ำมนั ของบริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกดั (มหาชน)

- ถนนสขุ าภิบาล 10 – 3 เป็นโครงการสายหลัก ประเภท จ.3 ขนาดเขตทางกว้าง

40 เมตร ประกอบด้วยช่องทางจราจรไป - กลับ กว้างช่องละ 3.50 เมตร จำนวน 4 ช่องทาง มีชอ่ งทางจอด

รถรับส่งหรือในกรณีฉุกเฉินกว้างช่องละ 2.50 เมตร จำนวน 2 ช่องทาง มีเกาะกลางถนนกว้าง 4 เมตร เป็น

ถนนแยกจากถนนสขุ ุมวทิ เข้าสูศ่ นู ยร์ าชการเมอื งใหม่แหลมฉบัง

- ถนนโครงการ จ.4 เป็นถนนสายหลักมีเขตทางกว้าง 40 เมตร ประกอบด้วยช่องทาง

จราจรไป - กลับ กว้างช่องละ 3.50 เมตร จำนวน 4 ช่องทาง มีช่องทางจอดรับส่งหรือกรณีฉุกเฉินกว้างช่อง

ละ 2.50 เมตร จำนวน 2 ช่องทางมีเกาะกลางถนนกว้าง 4 เมตร เป็นถนนแยกจากถนนสุขุมวิท เข้าสู่เคหะ

ชมุ ชนเมอื งใหมแ่ หลมฉบงั ระยะทางประมาณ 6 - 8 กโิ ลเมตร

แผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๑๓

- ถนนโครงการ จ.2 เป็นถนนสายหลักมีขนาดเขตทางกว้าง 40 เมตร ประกอบด้วย
ช่องทางจราจรไป - กลับ กว้างช่องละ 3.50 แตร จำนวน 4 ช่องทาง มีช่องทางจอดรถรับส่ง หรือในกรณี
ฉุกเฉิน กว้างช่องละ 2.50 เมตร จำนวน 2 ช่องทาง มีเกาะกลางถนนกว้าง 4 เมตร เป็นถนนที่เช่ือมระหว่าง
ถนนสุขาภิบาล 10 – 3 (ถนนโครงการ จ.3) กับถนนโครงการ จ.4 หรือระหว่างศูนย์ราชการแหลมฉบังกับ
เคหะชมุ ชนเมอื งใหมแ่ หลมฉบังในแนวทางที่ขนานกบั ถนนสุขุมวิท

นอกจากน้ียังมีถนนเชื่อมระหว่างถนนและถนนเข้าสู่ชุมชนท่ีสำคัญต่าง ๆ อีกมากมาย
เช่น ถนนสุขาภบิ าล 10 - 2 ถนนอา่ วอุดม ถนนไทยออยล์ ถนนเขาพุ - บา้ นทุง่ ถนนทางเข้าเอสโซ่ ถนนหนอง
อ่าวเกาะกลาง ถนนชากยายจีน - เขาดิน ถนนซากยายจีน - มาบเสม็ดแดง ถนนบ้านชากยายจีน - หนองขาม
ถนนไร่หนงึ่ - หนองขาม ฯลฯ

5.2 ไฟฟา้
การให้บริการด้านไฟฟ้าของประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครแหลมฉบังอยู่ในความรับผิดชอบของ

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอศรีราชา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเมืองพัทยา และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคบึง
ซ่ึงได้ให้บริการไฟฟ้าแก่ชุมชนภายในเขตเทศบาลฯ ได้อย่างทั่วถึงและเพียงพอต่อปริมาณความต้องการ
โดยเทศบาลฯ จดั ต้งั งบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการขยายเขตไฟฟา้ สาธารณะเอง

5.3 ประปา
การประปาส่วนภูมิภาคแหลมฉบังมีท่ีต้ังสำนักงานติดกับสถานีโทรคมนาคมภาคพ้ืนดิน

ผ่านดาวเทียม โดยใช้น้ำดิบจากอ่างเก็บน้ำหนองค้อ และมีการซ้ือน้ำประปาจากบริษัทจัดการและพัฒนา
ทรัพยากรนำ้ ภาคตะวนั ออก (EAST WATER) เพอื่ ให้เพียงพอตอ่ การอุปโภค บริโภคของประชาชน

ปี พ.ศ. ปริมาณน้ำท่ผี ลติ ปริมาณนำ้ ทจ่ี ำหนา่ ย พน้ื ท่ีจำหน่ายประปะ จำนวนผใู้ ช้น้ำ

(ลบ.ม./เดอื น) (ลบ.ม./เดอื น) (ตร.กม.) (ราย)

2562 2,643,338 1,888,283 113.44 26,228

ที่มา : การประปาสว่ นภมู ิภาค สาขาแหลมฉบัง ข้อมลู ณ เดือนพฤษภาคม 2562

5.4 โทรศพั ท์
ในพ้ืนที่เทศบาลนครแหลมฉบังมีชุมสายโทรศัพท์สำหรับให้บริการขยายเขต 2 ชุมสาย คือ

ชุมสายอ่าวอุดม ชุมสายโทรศัพท์แหลมฉบัง แต่มีสำนักงานบริการที่รับผิดชอบในการติดต่อขอใช้บริการ
1 สำนักงาน คือ ศูนย์บรกิ ารลกู คา้ ทีโอที สาขาแหลมฉบัง

5.5 ไปรษณยี ห์ รือการสือ่ สารหรอื การขนส่ง และวสั ดุ ครุภัณฑ์
ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังมีท่ีทำการไปรษณีย์ -โทรเลขเปิดให้บริการ จำนวน 3 แห่ง ได้แก่

ท่ที ำการไปรษณยี แ์ หลมฉบงั ท่ที ำการไปรษณยี ์อ่าวอดุ ม และทที่ ำการไปรษณยี ์หนองขาม

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบรุ ี

๑๔

6. ระบบเศรษฐกจิ

6.1 การเกษตร

ประชากรในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จะมีการทำนา

ปลูกข้าวโพด ปลูกฟกั ทอง ปลูกมนั สำปะหลัง และปลูกผัก

6.2 การประมง

ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังจะมีชุมชนท่ีอยู่ติดกับชายทะเลอยู่ 3 ชุมชน คือ ชุมชนบ้าน

บางละมุง ชุมชนบ้านแหลมฉบัง และชุมชนบ้านอ่าวอุดม ซ่ึงท้ัง 3 ชุมชนนี้จะมีการเล้ียงปลาในกระชังและ

ทำประมงชายฝ่งั

6.3 การปศสุ ตั ว์

เทศบาลนครแหลมฉบังมกี ารทำปศสุ ัตว์ คอื การเล้ยี งโค สกุ ร ไก่เนอื้ ไก่ไข่ไกพ่ นื้ เมือง

6.4 การบริการ

ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบงั มสี ถานประกอบการด้านบริการ ดงั น้ี

1. โรงแรม 18 แหง่
2. รีสอร์ท 8 แหง่
3. ธนาคาร 21 แหง่

4. โรงภาพยนตร์ 1 แห่ง

6.5 การทอ่ งเท่ยี ว

ในพ้ืนท่ีของเทศบาลนครแหลมฉบังมแี หล่งทอ่ งเทย่ี ว คอื

1. วดั นางเศรษฐรี ้าง, โบสถ์วดั ร้าง เป็นโบราณสถาน อยู่ในชมุ ชนบา้ นบา

2. ศูนยก์ ารเรียนรู้เกษตรชุมชน อยูใ่ นชมุ ชนบา้ นหนองคลา้ ใหม่

3. สวนเกษตรตามรอยพ่อ, ข้านเกษตรพอเพียง อยูใ่ นชมุ ชนบ้านบางละมุง

4. ศูนยก์ ารเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง อยูใ่ นชมุ ชนบ้านทงุ่ กราด

5. ปา่ ชายเลนแหลมฉบัง อยู่ในชมุ ชนบ้านแหลมฉบัง

6.6 อุตสาหกรรม

ในพื้นท่ีเทศบาลนครแหลมฉบังประกอบด้วยนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังและโรงฯ อุตสาหกรรม

ในเขตสวนอตุ สาหกรรมเครือสหพัฒน์ฯ

- กลมุ่ อตุ สาหกรรมในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง ประกอบดว้ ย

(1) กลุม่ อตุ สาหกรรมปโิ ตรเลียม

อุ ต ส า ห ก ร ร ม ปิ โ ต ร เลี ย ม เป็ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ท่ี มี มู ล ค่ า ก า ร ล ง ทุ น สู ง ท่ี สุ ด ใ น เข ต

เทศบาลนครแหลมฉบงั แยกเป็น

1. โรงกลั่นน้ำมนั 2 แหง่ คอื

1.1 โรงกลัน่ นำ้ มัน บริษทั ไทยออยล์ จำกัด

1.2 โรงกล่นั น้ำมัน บรษิ ัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

แผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบุรี

๑๕

2. คลงั เกบ็ น้ำมนั ปโิ ตรเลยี ม 3 แหง่ คือ
2.1 คลงั เก็บน้ำมนั ของ บรษิ ัท ไทยออยล์ จำกัด
2.2 คลังเก็บนำ้ มนั ของ บรษิ ัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
2.3 คลังเก็บน้ำมนั ของ บรษิ ัท ปตท. จำกดั (มหาชน)

3. คลังเกบ็ ก๊าซ LPG ซ่ึงเปน็ ก๊าซหงุ ต้ม 3 แหง่ คอื
3.1 คลงั เกบ็ ก๊าซ LPG ของ บริษัท ไทยออยล์ จำกดั
3.2 คลังเก็บกา๊ ซ LPG ของ บรษิ ทั เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกดั (มหาชน)
3.3 คลังเกบ็ ก๊าซ LPG ของ บริษัท ปตท. จำกดั (มหาชน)

(2) กลุม่ นิคมอดุ สาหกรรมแหลมฉบงั
นิ ค ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ห ล ม ฉ บั ง อ ยู่ ใน ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ก า ร นิ ค ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม

แหง่ ประเทศไทย ตั้งอยบู่ นพ้นื ท่ี 3,556 ไร่ ตำบลท่งุ สุขลา อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี
(3) กล่มุ สวนอตุ สาหกรรมเครอื สหพฒั น์ฯ
โครงการอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ฯ เป็นโครงการของเอกชนก่อตั้งเม่ือปี พ.ศ.2520

โดยบริษัท สหพัฒน์อินเตอร์โฮลด้ิง จำกัด ต้ังอยู่ท่ีตำบลหนองขาม อำเภอศรีราชา บนพ้ืนที่ 1,300 ไร่
แบ่งเปน็ พน้ื ทอี่ ุตสาหกรรม 780 ไร่ และพนื้ ทส่ี าธารณปู โภคและสง่ิ แวดล้อม 520 ไร่

6.7 การพาณิชยแ์ ละกลมุ่ อาชพี
นอกจากอุตสาหกรรมที่เป็นพื้นฐานทางเศรษฐกิจท่ีสำคัญภายในเขตเทศบาลแล้ว ธุรกิจท่ีมี

ความสำคัญรองลงมา ได้แก่ การพาณิชยกรรมและการขนสินค้า ซ่ึงเป็นธุรกิจท่ีต่อเนื่องจากอุตสาหกรรม
ทางการผลิต คอื เป็นการกระจายสินค้าและการจำหนา่ ยสนิ คา้ ประกอบการพาณิชยอ์ ่นื ๆ เช่น

สถานประกอบการดา้ นพาณชิ ยกรรม
1. ศูนย์การค้า/หา้ งสรรพสนิ ค้า 2 แห่ง
2. ตลาดสด 13 แห่ง
3. ร้านค้าทัว่ ไป 550 แห่ง
4. สถานีบริการนำ้ มัน 11 แหง่
5. สถานบี รกิ ารก๊าซ NGV / LPG 6 แห่ง
กลุ่มอาชพี
1. กลุ่มท๊อฟฟ่โี บราณ
2. กลุม่ ท๊อฟฟ่จี ุก
3. กล่มุ นำ้ พรกิ
4. กลมุ่ กะปิ
5. กลมุ่ ดอกไมจ้ นั ทน์/พวงหรีด
6. กลุ่มตะกร้าสานพลาสตกิ

แผนบริหารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบรุ ี

๑๖

6.8 แรงงาน
เนื่องจากในพ้ืนท่ีเทศบาลนครแหลมฉบังเป็นท่ีต้ังของท่าเรือแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรม

แหลมฉบังและเขตสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ฯ จึงมีการจ้างแรงงานเป็นจำนวนมาก มีทั้งแรงงานในพ้ืนที่
แรงงานจากต่างจงั หวัด และแรงงานต่างดา้ ว

7. เศรษฐกิจพอเพยี งทอ้ งถ่นิ (ด้านการเกษตรและแหลง่ นำ้ )

7.1 ข้อมูลพืน้ ฐานของหมบู่ ้านหรอื ชุมชน

ชมุ ชนของเทศบาลนครแหลมฉบงั จำนวน 23 ชุมชน

1. ชมุ ชนบา้ นอา่ วอดุ ม 13. ชุมชนบา้ นบางละมงุ

2. ชุมชนบา้ นทงุ่ 14. ชมุ ชนบา้ นหนองมะนาว

3. ชุมชนบา้ นแหลมฉบงั 15. ชุมชนบา้ นจุกกะเฌอ

4. ชุมชนบา้ นนาเก่า 16. ชุมชนบ้านหนองคลา้ เกา่

5. ชุมชนตลาดอ่าวอดุ ม 17. ชมุ ชนบา้ นหนองคล้าใหม่

6. ชุมชนวดั มโนรม 18. ชุมชนบา้ นไร่หนึง่

7. ชุมชนบา้ นเขาน้ำชบั 19. ชุมชนวดั พระประทานพร

8. ชุมชนบา้ นแหลมทอง 20. ชมุ ชนบ้านหนองขาม

9. ชุมชมบ้านชากยายจีน 21. ชุมชนบา้ นชากกระปอก

10. ชุมชนบา้ นหว้ ยเล็ก 22. ชุมชนบ้านเศรษฐีในฝนั

11. ชุมชนบ้านนาใหม่ 23. ชุมชนบา้ นหนองพงั พวย

12. ชุมชนบา้ นทุง่ กราด

7.2 ข้อมลู ดา้ นการเกษตร
ท่ีประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีจำนวน 5 ชุมชน คือ ชุมชนบ้านทุ่งกราด ชุมชนบ้านพังพวย

ชมุ ชนบ้านหนองคล้าใหม่ ชุมชนบ้านหนองคล้าเก่า และชุมชนบา้ นหนองมะนาว ซง่ึ เกษตรกรส่วนใหญ่จะทำนา
ปลกู ขา้ วโพด ปลูกฟกั ทอง ปลกู มันสำปะหลัง และปลกู ผกั ชนดิ ต่าง ๆ

7.3 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
การสง่ น้ำเพื่อการเกษตร จะมแี หลง่ นำ้ มาจากการปลอ่ ยนำ้ ของโครงการชลประทานชลบรุ ี

7.4 ขอ้ มลู ดา้ นเหล่งนำ้ กนิ น้ำใช้ (หรือนำ้ เพอ่ื การอปุ โภค บรโิ ภค)
แหล่งนำ้ เพือ่ การอปุ โภค บริโภคมาจากการประปาส่วนภมู ิภาคสาขาแหลมฉบงั , การประปาสว่ น

ภูมิภาคสาขาพัทยา และจากการปล่อยนำ้ ของโครงการชลประทานชลบุรี

8.ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม
8.1 การนับถอื ศาสนา
ประชากรในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัดให้ประซาชนได้ทำบุญ

และศึกษาปฏิบัติธรรม จำนวน 17 แห่ง ดงั นี้

แผนบริหารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี

๑๗

1. วัดใหมเ่ นนิ พะยอม 2. วดั มโนรม

3. วดั เนนิ บุญญาราม 4. วัดแหลมฉบงั

5.วดั บา้ นนา 6.วดั หนองคล้า

7.วดั ศรีวนาราม 8.วดั แหลมทอง

9.วัดศรธี รรมาราม 10.วัดบางละมงุ

11.วัดพระประทานพร 12.วัดปชานาถ

13.วัดแหลมฉบัง(เก่า) 15. วัดสันติครี เี ขต

14.วดั สุกรยี บ์ ญุ ญาราม 16.วดั เขาน้ำชบั สิทธิวราราม

17.วดั เขาท่งุ ววั

8.2 ประเพณีและงานประจำปี

ประเพณีท่ีถือปฏิบัติอย่างสม่ำสมอจะเป็นพิธีการทางศาสนา การเฉลิมฉลอง และงานบุญต่าง ๆ

เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหนูชา

วนั ลอยกระทง เป็นต้น

8.3 ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ภาษาถิน่

ภูมิปัญญาท้องถ่ินในพ้ืนท่ีเทศบาลนครแหลมฉบังจะเกี่ยวกับการจักสานต่างๆ เช่น กระจาด

ตะกร้า กระดัง กระบุง กระเปา๋ และมีการใชส้ มนุ ไพรพ้ืนบ้านในการรักษาโรคต่างๆ เชน่ โรคงสู วัด โรคเริม

ภาษาทใ่ี ชส้ ือ่ สาร คอื ภาษาไทย

8.4 สนิ ค้าพน้ื เมืองและของท่ีระลกึ

น้ำพริกแกงต่างๆ การจักสานต่างๆ ดอกไม้จันทน์ประดิษฐ์ พวงหรีด กะปีเคยแท้ ท๊อฟฟี่โบราณ

ท๊อฟฟี่จุก

9. ทรัพยากรธรรมชาติ

9.1 นำ้

เทศบาลนครแหลมฉบงั มีคลองและลำหว้ ย ดงั น้ี

คลอง จำนวน 4 แห่ง คือ คลองบางละมุง คลองแหลมฉบัง คลองหนองเป็ดหาย

และคลองบา้ นนา

ลำหว้ ย จำนวน 4 แห่ง คือ หว้ ยวังตาขอน ห้วยเลก็ ห้วยใหญ่ และลำห้วยกงได

9.2 ปา่ ไม้

ป่าท่ีสำคัญเป็นป่าชายเลน ซึ่งเป็นแหล่งอาหารสำคัญของมนุษย์ เนื่องจากเป็นที่ท่ีสิ่งมีชีวิต

ในทะเล เชน่ ปลา ปู ก้งุ และหอยนานาชนิดเขา้ มาอาศยั สบื พนั ธุ์ และวางไข่

9.3 ภูเขา

ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังมีภูเขาขนาดเล็กความสูงไม่เกิน 200 เมตร (จากระดับน้ำทะเล)

ทางบริเวณตอนเหนือของเทศบาลหลายแห่ง เช่น เขาไผ่ เขาขวาง เขาน้อย เขาน้ำซับ เขาทุ่งวัว เขาพุ

เขาโพธใ์ิ บ เขาหนองอา่ ง เขาบ่อยา และเขาแหลมฉบัง

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี

๑๘

9.4 คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
พืน้ ที่ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังส่วนใหญ่เป็นพ้ืนท่ีอตุ สาหกรรม จึงท่ีตงั้ ของโรงงาน บ้านเรือน

ท่ีอยูอ่ าศัย คุณภาพของทรพั ยากรธรรมชาตจิ ึงอยู่ระดับปานกลาง

10. ตราสญั ลักษณ์

เรอื หมายถงึ เปน็ เมืองท่าเรือพาณิชยร์ ะหวา่ งประเทศ
ปลอ่ งไฟ หมายถึง เป็นเมอื งอตุ สาหกรรม
ภเู ขา หมายถึง ท่ตี ั้งของเทศบาล
ดวงอาทติ ย์ หมายถึง ความรุง่ โรจน์
11. วสิ ยั ทัศน์การพฒั นา

"อตุ สาหกรรมไร้มลพิษ เศรษฐกิจรงุ่ เรือง เมอื งน่าอยู่ คคู่ ุณธรรม"
12. ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลนครแหลมฉบังมี 6 ดา้ น ดงั น้ี
๑. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาดา้ นโครงสร้างพืน้ ฐานและสาธารณปู โภค
๑.๑ ก่อสร้างปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษาถนน สะพาน ทางเดนิ เทา้ ท่อระบายน้ำ ท่าเทียบเรือ ฯลฯ
๑.๒ ตดิ ต้งั ขยายไฟฟา้ สาธารณะ
๑.๓ ขยายเขตวางท่อประปา
๑.๔ พฒั นาระบบจราจร
๒. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาดา้ นการจัดการส่งิ แวดลอ้ มและการจัดการชายฝั่งแบบบรู ณาการ
๒.๑ การบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อม

โดยการมสี ่วนรว่ มและบรู ณาการในทกุ ระดับ
๒.๒ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลอย่างครบวงจร ตลอดจน การ

ลดมลภาวะ การจัดการของเสียท่ีเกิดข้ึนบนบกและในทะเล โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ภาครัฐ
ภาคประชาชนและสามารถนำผลพลอยไดจ้ ากการดำเนนิ งานมาใช้ประโยชน์

๒.๓ เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ การป้องกันและควบคุมมลพิษจากขยะ น้ำเสีย
ฝนุ่ ละออง กา๊ ซ และเสียง ให้อยู่ในระดบั มาตรฐาน

๒.๔ การอนุรักษ์ การปกป้อง ฟ้ืนฟู และจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ท่ีอยู่อาศัยของ
สัตว์ รวมถึงการจัดการทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรธรรมชาติ ให้เป็นไปอย่างสมดุล และสอดคล้องกับแนว
ทางการพฒั นาทีย่ ่งั ยืน โดยเนน้ การมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

๒.๕ นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการ
และการควบคุมคุณภาพสงิ่ แวดล้อม รวมทง้ั เพ่ิมความสะดวก รวดเรว็ ในการบรกิ ารประชาชน

แผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๑๙

๒.๖ ป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มจากการประกอบการฆ่าสตั ว์
๒.๗ จัดระบบการประมง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร และส่งเสริมการดำรงชีวิตของ
ประชากร
๒.๘ การป้องกันและจดั การอันตรายทีเ่ กดิ ขึ้นจากธรรมชาติและมนษุ ย์สร้างขน้ึ
๒.๙ ปรบั ปรงุ ภมู ทิ ัศนโ์ ดยรอบเขตเทศบาลฯ
๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนาดา้ นเศรษฐกจิ
๓.๑ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการสรา้ งอาชีพและเพ่ิมรายได้ใหแ้ ก่ประชาชน
๓.๒ จดั ต้ังศูนย์แสดงสนิ คา้ ร้านค้าชมุ ชน
๓.๓ อำนวยความสะดวกนักลงทุนที่จะมาลงทุนในเขตเทศบาลฯ โดยมอบปัจจัยพ้ืนฐานใน
การพฒั นาให้กบั นักลงทุน
๓.๔ พัฒนาส่งเสริมคุณภาพและสุขาภิบาลของอาหารและสถานประกอบการของ
ผู้ประกอบการรา้ นอาหารและแผงลอยใหถ้ ูกสุขลักษณะ สะอาด และปลอดภยั
๓.๕ จัดตง้ั ศนู ยข์ อ้ มลู เพื่อการพฒั นาเศรษฐกจิ
๔. ยุทธศาสตร์การพฒั นาด้านสังคม
๔.๑ ส่งเสริมการศึกษา บุคลากร และกระบวนการเรียนการสอนทุกรูปแบบ ทั้งในและนอก
ระบบท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิตในท้องถ่ินกับ
วถิ ีชีวิตในทอ้ งถิน่
๔.๒ สร้างสภาพแวดล้อมแหล่งเรียนรู้การศึกษาวิจัยและนวัตกรรมใหม่ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้
แบบบูรณาการทั้งในและนอกระบบ โดยส่งเสรมิ นิสัยรกั การอ่านต้ังแต่เด็กจนตลอดชีวิต และสร้างแหล่งบริการ
องค์ความรู้อย่างสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของเทศบาลฯ รวมท้ังกิจกรรมทางด้านสังคม ศาสนา วัฒนธรรม
และการกฬี า

๔.๒.๑ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพือ่ ส่งเสรมิ คุณภาพการศกึ ษา
๔.๒.๒ จัดทำเอกสารทางวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และประเมินผลการ
จัดการศึกษา
๔.๒.๓ สง่ เสรมิ การกีฬา และนนั ทนาการแก่ประชาชน เยาวชน ในทอ้ งถน่ิ
๔.๓ จัดกิจกรรมเสริมสร้างเด็กเพ่ือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการพัฒนาให้มี
ความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรมตั้งแต่เด็กแรกเกิดและ ให้ความสำคัญแก่การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม
ครอบครวั อบอ่นุ ปลกู ฝงั ความรู้ให้ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
๔.๔ เพิ่มประสิทธิภาพในการให้ความช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์และจัดการด้าน
สวัสดิการให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผู้ด้อยโอกาส เดก็ เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพกิ าร และผู้ปว่ ยเอดส์
๔.๕ ส่งเสริมการสร้างชุมชนเข้มแข็งครอบครัวอบอุ่นมีความเอื้ออาทรในชุมชนเพื่อป้องกัน
และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ
๔.๖ สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้เยาวชนและประชาชนมีความรู้ด้านเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ
๕. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาดา้ นสาธารณสขุ
๕.๑ พัฒนาระบบบรกิ ารและการประกันสขุ ภาพให้มีคณุ ภาพทวั่ ถึงและเป็นธรรม
๕.๒ เสรมิ สร้างการมสี ่วนรว่ มในการสรา้ งสขุ ภาพและการพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพในชุมชน
๕.๓ เสริมสร้างศกั ยภาพ ดแู ล และสนบั สนนุ การมสี ว่ นรว่ มของเครือขา่ ยคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค
๕.๔ พัฒนาระบบบริการดา้ นสาธารณสุข โดยม่งุ เน้นผลสัมฤทธ์ใิ ห้มคี ณุ ภาพ ได้มาตรฐาน
๕.๕ ส่งเสรมิ สขุ ภาพและควบคุมป้องกนั โรค โดยการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ น

แผนบริหารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563

เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี

๒๐

๖. ยุทธศาสตร์การพฒั นาด้านการเมืองการบริหาร

๖.๑ สนับสนุนกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อ
กระตุ้นประชาชนใหม้ ีสว่ นร่วมในการพฒั นา

๖.๒ พัฒนาจัดตง้ั และสนับสนนุ ใหม้ ที ีท่ ำการชุมชนหรือศาลาเอนกประสงค์

๖.๓ พัฒนาปรับปรุงระบบการบริหาร การบริการ และข้อมูลสารสนเทศ เพ่ิมประสิทธิภาพ
สถานทกี่ ารให้บรกิ าร

๖.๔ พัฒนาและเพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงานของพนักงานและ พนกั งานจา้ ง

๖.๕ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีสถานท่ีอุปกรณ์ เคร่ืองมือเครื่องใช้ท่ีทันสมัย เหมาะสมและ
เพยี งพอต่อการปฏบิ ตั งิ าน

๖.๖ สร้างและพัฒนาเครือข่ายการดูแลและป้องกันอุบัติภัยและความปลอดภัยในชีวิตและ

ทรพั ยส์ ิน

๖.๗ เผยแพร่ประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ขา่ วสารและการปฏบิ ตั ิงานของทางราชการอย่างต่อเนื่อง
๖.๘ เสริมสร้างจติ สำนึกและความตระหนกั ในระบอบประชาธิปไตย

๖.๙ เพิ่มประสิทธภิ าพในการจดั เกบ็ รายไดข้ องเทศบาลฯ
๖.๑๐ ประเมนิ ประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล และความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงาน
ของเทศบาลฯ

๖.๑๑ ส่งเสริมความรู้ กฎระเบียบ กฎหมายแก่ประชาชน รวมท้ังรวบรวมข้อมูล ต่าง ๆ

เพอ่ื เปน็ แหลง่ คน้ ควา้ เสรมิ สรา้ งความรูส้ ปู่ ระชาชน

13. จดุ มุ่งหมายเพือ่ การพัฒนา
1. เพื่อพัฒนาเส้นทางคมนาคม เคร่ืองหมายจราจร สะพาน ระบบระบายน้ำ ขยายพื้นที่การ

ใหบ้ รกิ ารด้านประปา ติดตง้ั และขยายเขตไฟฟา้ สาธารณะให้เพียงพอตอ่ ความต้องการของประชาชน

2. เพ่ือพัฒนาบ้านเมืองให้สะอาดสวยงาม คุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตเทศบาล ฯ
มีความเป็นอยูด่ ีขึน้

3. เพอื่ พัฒนาการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างคุม้ คา่ และรักษาสิ่งแวดล้อม

4. เพ่อื ปรับภูมิทัศนเ์ มืองใหส้ วยงาม
5. เพอื่ ส่งเสริมและสนบั สนุนให้ประชาชนมีอาชีพและรายไดเ้ พยี งพอตอ่ การดำรงชวี ิต
6. เพื่อบริการด้านการศึกษา กีฬาและเทคโนโลยีให้มีคุณภาพ และตอบสนองความต้องการของ

ประชาชน
7. เพื่อการอนุรกั ษเ์ ผยแพร่และปลูกฝงั ศิลปวฒั นธรรม ศาสนา และภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น

8. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ด้อยโอกาส เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
และผ้ปู ่วยเอดส์

9. เพอื่ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน
10. เพื่อยกระดบั คุณภาพชีวติ ของประชาชนในทอ้ งถนิ่
11. เพือ่ ใหป้ ระชาชนเขา้ มามีส่วนรว่ มในกจิ กรรมต่างๆ และตรวจสอบในการบริหารท้องถน่ิ
12. เพ่ือพัฒ นาบุคลากรของท้องถ่ินอย่างต่อเนื่อง และมีรูปแบบการบริหารจัดการ
ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
13. เพือ่ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การที่ดี
14. เพ่อื เสรมิ สรา้ งความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส์ ินของประชาชน

แผนบริหารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี

๒๑

14. อำนาจหนา้ ทขี่ องเทศบาลนครแหลมฉบงั
อำนาจหนา้ ที่ของ เทศบาลนคร ตามพระราชบัญญตั เิ ทศบาล พ.ศ. 2496 มีดงั น้ี
1. รกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน
2. ให้มแี ละบำรงุ ทางบกและทางน้ำ
3. รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและท่ีสาธารณะ รวมทั้งการจัดการกำจัดมูลฝอยและ

ส่งิ ปฏิกลู
4. ปอ้ งกันและระงบั โรคติดต่อ
5. ให้มเี ครื่องใชใ้ นการดับเพลิง
6. ให้ราษฎรไดร้ บั การศกึ ษาอบรม
7. สง่ เสรมิ การพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผสู้ ูงอายุ และผพู้ กิ าร
8. บำรุงศิลปะ จารตี ประเพณี ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และวฒั นธรรมอนั ดีของทอ้ งถ่ิน
9. ใหม้ นี ำ้ สะอาดหรอื การประปา
10. ให้มีโรงฆ่าสตั ว์
11. ให้มแี ละบำรงุ สถานทที่ ำการพิทกั ษแ์ ละรกั ษาคนเจบ็ ไข้
12. ให้มีและบำรุงทางระบายนำ้
13. ให้มแี ละบำรงุ สว้ มสาธารณะ
14. ใหม้ แี ละบำรุงการไฟฟา้ หรอื แสงสว่างโดยวธิ อี ่นื
15. ใหม้ ีการดำเนินกิจการโรงรับจำนำหรอื สถานสนิ เชอ่ื ท้องถ่นิ
16. ให้มแี ละบำรงุ การสงเคราะห์มารดา และเดก็
17. กจิ การอย่างอื่นซง่ึ จำเป็นเพ่ือการสาธารณสขุ
18. การควบคมุ สุขลกั ษณะและอนามยั ในรา้ นจำหน่ายอาหาร โรงมหรสพและสถานบรกิ ารอน่ื
19. จดั การเกีย่ วกบั ท่อี ยู่อาศยั และการปรับปรุงแหล่งเสอ่ื มโทรม
20. จดั ให้มแี ละควบคุมตลาด ทา่ เทียบเรือ ทา่ ข้ามและที่จอดรถ
21. การวางผงั เมืองและการควบคมุ การกอ่ สรา้ ง
22. การสง่ เสรมิ กิจการการทอ่ งเทย่ี ว
23. หนา้ ที่อน่ื ตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิใหเ้ ปน็ หนา้ ทีข่ องเทศบาล

อำนาจหน้าท่ีของ เทศบาลนคร ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ

ใหแ้ ก่

องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 ให้เทศบาล เมอื งพทั ยา และองคก์ ารบริหารส่วนตำบลมีดังน้ี
1. การจดั ทำแผนพฒั นาทอ้ งถิ่นของตนเอง
2. การจดั ใหม้ ีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ
3. การจัดให้มีและควบคุมตลาด ทา่ เทียบเรอื ท่าขา้ ม และที่จอดรถ
4. การสาธารณปู โภคและการก่อสร้างอน่ื ๆ
5. การสาธารณูปการ
6. การส่งเสริม การฝกึ และประกอบอาชพี
7. การพาณิชย์ และการสง่ เสริมการลงทุน
8. การสง่ เสรมิ การท่องเท่ียว
9. การจดั การศึกษา
10. การสังคมสงเคราะห์ และการพฒั นาคุณภาพชวี ิตเด็ก สตรี คนชรา และผ้ดู ้อยโอกาส

แผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563

เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๒๒

11. การบำรงุ รักษาศิลปะ จารตี ประเพณี ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ และวัฒนธรรมอนั ดีของทอ้ งถิ่น
12. การปรับปรุงแหล่งชมุ ชนแออัดและการจดั การเกย่ี วกบั ท่อี ยู่อาศยั
13. การจดั ให้มีและบำรุงรักษาสถานทพ่ี ักผอ่ นหยอ่ นใจ
14. การส่งเสริมกฬี า
15. การส่งเสรมิ ประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน
16. ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของราษฎรในการพัฒนาทอ้ งถนิ่
17. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรยี บร้อยของบ้านเมือง
18. การกำจดั มลู ฝอย สง่ิ ปฏกิ ลู และนำ้ เสยี
19. การสาธารณสขุ การอนามัยครอบครัว และการรกั ษาพยาบาล
20. การจดั ให้มีและควบคุมสสุ านและฌาปนสถาน
21. การควบคมุ การเลยี้ งสัตว์
22. การจัดให้มีและควบคมุ การฆ่าสตั ว์
23. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และการ
สาธารณสถาน อ่ืนๆ
24. การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม
25. การผงั เมอื ง
26. การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
27. การดูแลรักษาทสี่ าธารณะ
28. การควบคุมอาคาร
29. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
30. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความ
ปลอดภัยในชวี ติ และ ทรัพย์สิน
31. กิจการอ่ืนใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามท่ีคณะกรรมการประกาศ
กำหนด

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี

๒๓

15. โครงสรา้ งองค์กร

16. อัตรากำลัง
15.1 อตั รากำลงั พนักงานเทศบาล ลูกจา้ งประจำ และพนกั งานจา้ ง

หนว่ ยงาน พนักงานเทศบาล (คน) ลูกจา้ งประจำ (คน) พนักงานจ้าง (คน) รวม
ช. ญ. รวม ช. ญ. รวม ช. ญ. รวม

สำนกั ปลดั เทศบาล 28 38 66 5 - 5 126 76 202 273

สำนักการคลงั 6 39 45 - - 0 20 51 71 116

สำนักการชา่ ง 23 9 32 3 2 5 135 113 248 285

สำนักการสาธารณสุขฯ 9 40 49 3 1 4 52 119 171 224

กองวชิ าการและแผนงาน 7 14 21 - - 0 15 27 42 63

กองการศึกษา 6 13 19 1 - 1 44 26 70 90

กองช่างสขุ าภิบาล 8 10 18 - 1 1 54 23 77 96

กองสวัสดกิ ารสงั คม 5 16 21 - - 0 17 22 39 60

หนว่ ยตรวจสอบภายใน - 1 1 - - 0 - 3 3 4

รวมทง้ั สิ้น 92 180 272 12 4 16 463 460 923 1,211

หมายเหตุ : ไม่รวมพนักงานครเู ทศบาล (สังกดั สถานศึกษา) และพนักงานจา้ งศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก

ทมี่ า : แบบสำรวจอตั รากำลังพนักงานเทศบาล ณ วันที่ 1 มีนาคม 2564

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๒๔

15.2 อตั รากำลงั พนกั งานเทศบาล พนกั งานครเู ทศบาล ลกู จ้างประจำ และพนักงานจ้างฯ

ลำดบั ที่ ประเภท จำนวน หมายเหตุ

1 พนกั งานเทศบาล 272

2 พนกั งานประจำ 16

3 พนักงานจ้าง 923 (งบอุดหนนุ )

4 พนักงานจา้ ง (ครสู อนเดก็ ด้อยโอกาส) 1

5 สงั กัดสถานศกึ ษา 157
6 พนกั งานเทศบาล
7 ลูกจา้ งประจำ (ตำแหน่ง ภารโรง) 2 (งบอุดหนนุ )
8 พนกั งานจ้าง
9 ผู้ช่วยครู 21
พนักงานจา้ งทัว่ ไป
60 (งบรายไดเ้ ทศบาลฯ)
33
(
สังกดั ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็

10 ผูช้ ่วยครผู ู้ดูแลเด็ก
11 พนักงานครเู ทศบาล 3 บ (งบรายได้เทศบาลฯ)
12 พนักงานจ้าง (ผดู้ ูแลเด็ก) 13
10 อุ (งบอดุ หนนุ )
(ด
รวม 1,511 งห
ท่มี า : แบบสำรวจอัตรากำลังพนกับนงุ านเทศบาล ณ วนั ท่ี 1 มนี าคม 2564
อนุ
17. แผนทีเ่ ขตเทศบาล ด)



นุ



)

แผนบริหารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี

บทท่ี 3
แนวทางการบรหิ ารความเสยี่ ง

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี

๒๕

บทท่ี 3
แนวทางการบริหารความเสีย่ ง

แนวทางการดำเนนิ งานและกลไกลการบริหารจัดการความเสยี่ ง
1. แนวทางการดำเนินงาน ในการบรหิ ารความเส่ียงของเทศบาลนครแหลมฉบัง แบงเปน็ ๒ ระยะ ดังน้ี

ระยะท่ี 1 การเรมิ่ ตน้ และการพัฒนา
1) กำหนดนโยบายหรือแนวทางในการบริหารความเสีย่ งของเทศบาลนครแหลมฉบัง
2) ระบุปัจจยั เสีย่ ง และประเมนิ โอกาส ผลกระทบ จากปัจจยั เส่ียง
3) วิเคราะห์และจดั ลำดบั ความสำคัญของปจั จยั เสีย่ งจากการดำเนินงาน
4) จัดทำแผนบริหารความเส่ียงของปัจจัยเสี่ยงท่ีอยู่ในระดับสูง (High) และสูงมาก

(Extreme) รวมทั้งปจั จยั เสี่ยงทอ่ี ยู่ในระดับปานกลาง (Medium) ที่มนี ัยสำคัญ
5) สื่อสารทำความเขาใจเกี่ยวกับแผนบริหารความเส่ียงใหผู้ปฏิบัติงานของเทศบาลนคร

แหลมฉบังทราบ และสามารถนำไปปฏิบัตไิ ด้
6) รายงานความก้าวหนาของการดำเนินงานตามแผนบรหิ ารจดั การความเส่ียง
7) รายงานสรุปการประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนบริหารจัดการ

ความเสี่ยง
ระยะท่ี 2 การพฒั นาสู่ความย่ังยนื
1) ทบทวนแผนบรหิ ารความเสย่ี งในปทีผ่ ่านมา
2) พฒั นากระบวนการบริหารความเสย่ี งสำหรบั ความเส่ียงแตล่ ะประเภท
3) ผลกั ดนั ใหมีการบริหารความเส่ียงทัว่ ทงั้ องคกร
4) พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรในการดำเนินงานตามกระบวนการบริหารจัดการ

ความเส่ยี ง

2. กลไกลการบรหิ ารจัดการความเสีย่ ง ประกอบด้วย
1) ผู้บริหารทองถ่ิน มีหนาที่แต่งต้ังคณะกรรมการ/คณะทำงานบริหารจัดการความเสี่ยง สงเสริมใหมี

การบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม รวมท้ังพิจารณาใหความเห็นชอบหรืออนุมัติ
แผนการบริหารจัดการความเส่ียงเพ่ือนำไปปฏบิ ตั ติ อไป

2) คณะกรรมการ/คณะทำงานบริหารจัดการความเสี่ยง มีหนาที่ดำเนินการใหมีระบบการบริหาร
จัดการความเสี่ยง จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงรายงานและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการบริหาร
จดั การความเสย่ี ง รวมท้ังทบทวนแผนการบริหารความเส่ยี ง เพอ่ื ปรบั ปรุงการดำเนนิ งานตอไปในอนาคต

3) ผู้ปฏิบัติงาน หรือบุคลากรแต่ละสำนัก/กอง ของเทศบาลนครนนทบุรี มีหนาที่สนับสนุนข้อมูล
ท่ีเก่ียวของใหกับคณะทำงานบริหารจัดการความเส่ียง และใหความร่วมมือในการปฏิบัติงานตามแผนบริหาร
จัดการความเสี่ยง

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี

๒๖

กลไกการบริหารความเสย่ี ง

ผบู้ ริหารท้องถิ่น แต่งต้งั คณะกรรมการ/ พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ/อนมุ ตั ิ
คณะทำงานบรหิ ารความเสย่ี ง
คณะกรรมการ/ 6. ทบทวนแผน
คณะทำงาน 1. ระบุปจั จัยเสยี่ ง ประเมิน บริหารความเส่ียง
บรหิ ารความเส่ียง โอกาสและผลกระทบ
2. วเิ คราะห์และจัดลำดบั พิจารณา/ 5. รายงาน/ประเมินผล
ผู้ปฏิบตั ิงาน ความสำคญั เสนอแนะ การบรหิ ารความเสีย่ ง
3. จดั ทำแผนบรหิ ารความเสี่ยง
4. สอื่ สารทำความเข้าใจ
กับผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน

สนบั สนนุ ข้อมลู เกี่ยวข้อง ปฏบิ ตั งิ านตามแผนบรหิ ารความเส่ียง

3. โครงสร้างการบริหารความเสย่ี ง

นายกเทศมนตรีนครแหลมฉบงั

คณะทำงานบรหิ ารความเสีย่ ง

ผู้ปฏิบตั งิ าน

3.1 หนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบตามโครงสรา้ ง
โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย การกำกับดูแล การตัดสินใจ การจัดทำแผน

การดำเนินการ การตดิ ตามผล และการสอบทาน ซึ่งในแต่ละองค์ประกอบมอี ำนาจหนา้ ท่ี ดังน้ี
1. นายกเทศมนตรี
1) แต่งต้งั คณะทำงานบรหิ ารความเสย่ี ง
2) สง่ เสริมและติดตามให้มีการบรหิ ารความเสยี่ งอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสม
3) พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบและอนุมตั ิแผนการบริหารความเสยี่ ง
4) พจิ ารณาผลการบริหารความเสยี่ งและเสนอแนวทางการพัฒนา
2. คณะทำงานบริหารความเสย่ี ง
1) จดั ใหม้ รี ะบบและกระบวนการบริหารความเสย่ี งท่เี ป็นระบบมาตรฐานเดยี วกันทั้งองค์กร
2) ดำเนินการตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามมาตรการลดและ

ควบคุมความเส่ยี ง
3) รายงานและติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารความเสี่ยงที่สำคัญ เสนอต่อ

นายกเทศมนตรเี พอื่ พิจารณา

แผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๒๗

3. ผู้ปฏบิ ัตงิ าน
1) สนับสนนุ ขอ้ มูลท่ีเก่ยี วข้องใหก้ บั คณะทำงานบริหารความเส่ยี ง
2) ให้ความรว่ มมือในการปฏิบตั ิงานตามแผนบรหิ ารความเส่ียง

4. คณะกรรมการและคณะทำงานการบรหิ ารจดั การความเส่ียง
เทศบาลนครแหลมฉบัง ได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารจัดการความเส่ียงของหน่วยงานภาครัฐ

ตามคำสัง่ เทศบาลนครแหลมฉบังท่ี
4.1 คำสั่งที่ 2644/2563 ลงวันท่ี 30 ตุลาคม 2563 เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการ

ความเสี่ยงของเทศบาลนครแหลมฉบัง ตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์
ปฏิบัติการบริหารจัดการความเส่ียงสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 ข้อ 4 ประจำปงบประมาณ
พ.ศ. 2563 โดยมีอำนาจหนา้ ที่ ดังนี้

1. นำนโยบาย ข้อเสนอแนะ ที่ได้รับจากคณะกรรมการบริหารความเส่ียงของเทศบาลนคร
แหลมฉบัง มาแปลงเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติและนำเสนอในรูปแบบบูรณาการ มีองค์ประกอบที่ดีครบถ้วนโดยมี
การกำหนดกระบวนการดำเนินงานท่ีชัดเจนเป็นระบบ ให้ทุกสำนัก/กอง จัดทำแผนการบริหารจัดการความ
เสี่ยง งวดปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ 2562 ตามแบบฟอร์มท่ีกำหนด และรวบรวมแบบ
รายงานฯ ดงั กล่าว ภายในวันท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2563 ดังน้ี

(1) ก. แบบฟอรม์ การระบเุ หตกุ ารณค์ วามเสย่ี ง
(2) ข. แบบฟอร์ม การวิเคราะห์ความเสยี่ งและการประเมนิ ความเสี่ยง
(3) ค. แผนภมู คิ วามเสี่ยง
(4) ง. แบบฟอร์ม แผนบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง

2. วิเคราะห์เหตุการณ์ความเส่ียงขององค์กรที่มีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ เป้าหมายและ
ผลสำเร็จ ของเทศบาลนครแหลมฉบงั เพอ่ื พจิ ารณาและให้นโยบาย

3. พิจารณาความพอเพียงของมาตรการ การควบคุมภายในอย่างสมเหตุสมผล ให้การปฏิบัติงาน
บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด และดำเนินการบริหารความเสี่ยงท่ียังคงเหลืออยู่เพื่อกำหนดวิธีการ
ควบคุม ป้องกัน หรือลดความเส่ียงของเทศบาลนครแหลมฉบัง เพื่อให้เกิดความม่ันใจในการดำเนินงาน ลด
ความผดิ พลาดทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ หรือหากเกิดขึน้ ก็ใหอ้ ยใู่ นระดับท่ียอมรับได้

4. ติดตามผลการจัดการความเส่ียงขององค์กร โดยมีแผนงานที่ชัดเจนสามารถบรรลุเป้าหมายใน
แผนงานได้ครบถ้วน มีการกำหนดเกณฑ์ระดับความรุนแรงแยกรายปัจจัยเส่ียง กำหนดเป้าหมายในเชิงระดับ
ความรุนแรงที่คาดหวังและสามารถรายงานระดับความรุนแรงของแต่ละปัจจัยรายไตรมาส มีการกำหนด Risk
Appetite และ Risk Tolerance ทกุ ปัจจัยเส่ียง รวมถึงการมกี ารบริหารปัจจยั เส่ียงแบบบูรณาการ

5. กำกับให้มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานการบริหารความเสี่ยง เสนอคณะกรรมการ
บริหารความเสี่ยง จัดทำและทบทวนแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี ทบทวนคู่มือบริหารความเสี่ยง ของ
เทศบาลนครแหลมฉบงั เสนอต่อนายกเทศบาลนครแหลมฉบัง

6. สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบบริหารความเส่ียง และระบบควบคุมภายในอย่างต่อเนอ่ื ง และ
สนับสนุนการให้มีระบบ Intranet เป็นช่องทางการสื่อสารภายในองค์กร ในการเผยแพร่นโยบาย กฎระเบียบ
คำสัง่ และคู่มือการปฏบิ ตั งิ าน รวมท้งั ข่าวสารตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วกบั การบริหารความเสี่ยงไดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ ทัง้ องคก์ ร

7. แต่งตงั้ คณะทำงานย่อยเพ่อื สนับสนุนการดำเนนิ งานได้ตามจำเป็นเหมาะสม
8. อนื่ ๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

แผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี

๒๘

4.2 คำส่ังท่ี 2645/2563 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2563 เร่ือง แต่งต้ังเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบการ
บริหารจัดการความเส่ียงตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหาร
จัดการความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2562 ข้อ 4 ของ หน่วยตรวจสอบภายใน เทศบาลนคร
แหลมฉบัง โดยให้เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ การจัดทำแผนการบริหารจัดการความเส่ียง การติดตามประเมินผล
การบริหารจัดการความเส่ียง การจัดทำรายงานผลตามแบบแผนบริหารจัดการความเส่ียง พิจารณาทบทวน
แผนบริหารจัดการความเสยี่ ง ของ หน่วยตรวจสอบภายใน

แผนบริหารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี

บทท่ี 4
กระบวนการ
บรหิ ารจดั การความเสี่ยง

แผนบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๒๙

บทท่ี 4
กระบวนการบริหารจดั การความเสี่ยง

1. การประเมนิ ความเสี่ยง เพือ่ บรรลุเปา้ หมายการดำเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์ของเทศบาล
กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค และเป้าหมายยุทธศาสตร์เป็น

กระบวนการที่ใชในการระบุ วิเคราะห์ ประเมิน และจัดลำดับความเส่ียงท่ีมีผลกระทบต อการ
บรรลุวัตถุประสงคในการดำเนินงานขององคกร รวมทั้งการจัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยง โดยกำหนด
แนวทางการควบคุมเพ่ือปองกันหรือลดความเส่ียงใหอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ ซึ่งเทศบาลนครแหลมฉบัง
มขี ั้นตอนหรือกระบวนการบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง 6 ขนั้ ตอนหลกั ดังนี้

1. ระบคุ วามเสีย่ ง
เป็นการระบุเหตุการณใด ๆ ทั้งท่ีมีผลดี และผลเสียตอการบรรลุวัตถุประสงค โดยตองระบุได้ด้วย

วาเหตุการณนัน้ จะเกดิ ที่ไหน เมือ่ ใด และเกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร
2. ประเมนิ ความเสีย่ ง
เป็นการวิเคราะห์ความเสี่ยง และจัดลำดับความเสี่ยงโดยพิจารณาจากการประเมินโอกาสที่จะ

เกิดความเส่ียง และความรุนแรงของผลกระทบจากเหตกุ ารณความเสี่ยง โดยอาศยั เกณฑมาตรฐานที่ได้กำหนด
ไว ทำใหการตัดสินใจจดั การกับความเสย่ี งเป็นไปอยา่ งเหมาะสม

3. จัดการความเสย่ี ง
เป็นการกำหนดมาตรการ หรือแผนปฏิบัติการในการจัดการ และควบคุมความเสี่ยงท่ีสูง (High)

และสูงมาก (Extreme) นั้นใหลดลง ใหอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ สามารถปฏิบัติได้จริง และควรตองพิจารณาถึง
ความคุมคาในดานคาใชจ่าย และตนทุนที่ตองใชลงทุนในการกำหนดมาตรการหรือแผนปฏิบัติการน้ันกับ
ประโยชนทไี่ ด้รบั ด้วย

4. รายงานและติดตามผล
เป็นการรายงานติดตามผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงที่ได้ดำเนินการท้ังหมด

ตามลำดบั ให้ฝ่ายบรหิ ารรบั ทราบและใหความเหน็ ชอบดำเนนิ การตามแผนบริหารจดั การความเสยี่ ง
5. ประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการความเสีย่ ง
เป็นการประเมินการบริหารความเสี่ยงประจำป เพ่ือใหมั่นใจวาองคกรมีการบริหารความเสี่ยง

เป็นอย่างเหมาะสม เพยี งพอ ถูกตอง และมีประสทิ ธภิ าพ มีมาตรการหรือกลไกการควบคุมความเสยี่ ง(Control
Activity) ที่ดำเนินการสามารถลดและควบคุมความเสี่ยงท่ีเกิดข้ึนได้จริง และอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ หรือตอง
จัดหามาตรการหรือตัวควบคุมอื่นเพ่ิมเติม เพื่อใหความเส่ียงที่ยังเหลืออยู่หลังมีการจัดการ (Residual Risk)
อยู่ในระดบั ทีย่ อมรบั ได้ และใหองคกรมีการบรหิ ารความเสยี่ งอย่างต่อเน่ือง

6. ทบทวนการบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง
เป็นการทบทวนประสิทธิภาพของแนวการบริหารความเส่ียงในทุกขั้นตอน เพื่อพัฒนาระบบ

ใหดียิง่ ข้นึ

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๓๐

กระบวนการบริหารความเส่ียงเทศบาลนครแหลมฉบงั

1. ระบุ
ความเส่ียง

6. ทบทวน 2. ประเมิน
การบริหาร ความเสย่ี ง
ความเส่ียง

5. 3. จัดการ
ประเมินผล ความเสยี่ ง
การบรหิ าร

4. รายงาน
และตดิ ตามผล

1. การระบคุ วามเสีย่ ง
เป็นกระบวนการที่ผู้บรหิ ารและผู้ปฏิบัตงิ านรว่ มกันระบุความเสย่ี งและปัจจยั เส่ยี ง โดยตองคำนึงถึง

ความเส่ียงท่ีมีสาเหตุมาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ปัจจัยเหลานี้มีผลกระทบตอวัตถุประสงคและ
เป้าหมายขององคกร หรือผลการปฏบิ ัติงานทั้งในระดบั องคกรและระดบั กจิ กรรม ในการระบุปจั จัยเส่ยี งจะตอง
พิจารณาวามีเหตุการณใดหรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฏิบัติงานท่ีอาจเกิดความผิดพลาดความเสียหาย
และไม่บรรลุวัตถุประสงคที่กำหนด ดังน้ัน จึงจำเป็นตองเขาใจในความหมายของ “ความเส่ียง” (Risk)
“ปจจยั เสยี่ ง” (Risk Factor) และ “ประเภทความเสี่ยง” กอนท่ีจะดำเนินการระบคุ วามเส่ยี งได้อย่างเหมาะสม

1.1 ความเส่ียง (Risk) หมายถึง เหตุการณ/การกระทำใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใตสถานการณท่ีไม่
แน่นอนและส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย (ท้ังที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน) หรือกอใหเกิดความ
ลมเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุวัตถุประสงคและเป้าหมายตามภารกิจหลักขององคกร และเป้าหมายตาม
ยทุ ธศาสตร์ท่ไี ดก้ ำหนดไว

1.2 ปัจจัยความเส่ียง (Risk Factor) หมายถึง ตนเหตุหรือสาเหตุที่มาของความเสี่ยง ที่จะทำใหไม่
บรรลุวตั ถปุ ระสงคท่ีกำหนดไวโดยตองระบุได้ดว้ ยวาเหตุการณนน้ั จะเกิดท่ีไหน เม่ือใด และจะเกิดข้ึนได้อย่างไร
และทำไม ท้ังน้ี สาเหตุของความเสี่ยงที่ระบุควรเป็นสาเหตุท่ีแท้จริง เพื่อจะได้วิเคราะห์และกำหนดมาตรการ
ความเสยี่ งในภายหลงั ได้อยา่ งถกู ตอง โดยปัจจัยเส่ียงพิจารณาไดจ้ าก

1) ปจจัยเส่ียงภายนอก คือ ความเสี่ยงท่ีไม่สามารถควบคุมการเกิดได้โดยองคกร เชน
เศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง กฎหมาย เทคโนโลยี ภยั ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม เปน็ ตน้

2) ปจจัยเส่ียงภายใน คือ ความเสี่ยงท่ีสามารถควบคุมได้โดยองคกร เชน กฎระเบียบขอบังคับ
ภายในองคกร วัฒนธรรมองคกร นโยบายการบริหารและการจัดการ ความรูประสบการณของเจาหนาท่ี
กระบวนการทำงาน ขอมลู ระบบสารสนเทศในองคกร เครื่องมือ อปุ กรณ์ เป็นตน

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบรุ ี

๓๑

1.3 ประเภทของความเสีย่ ง
ได้มีการนำแนวทางของ COSO มาประยุกต์ใช้ เพิ่มเติมเก่ียวกับวัตถุประสงค์ของการบริหาร

ความเสี่ยงอีกว่า องค์กรที่จัดทำระบบบริหารความเส่ียงได้อย่างมีประสิทธิผล จะช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ใน
4 ด้าน คือ

1. ด้านกลยุทธ์ (strategic risk: S) กล่าวคือ การบริหารความเสี่ยงจะช่วยให้องค์กรบรรลุ
เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ ซ่งึ สอดคล้องและสนบั สนุนพนั ธกิจหลักขององคก์ ร

2. ด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk: O) การบริหารความเสี่ยงจะช่วยให้องค์กร
พิจารณาความคุ้มคา่ ในการใชท้ รพั ยากรตา่ ง ๆ ในการปฏบิ ัตงิ าน รวมถึงพจิ ารณาประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล
ของการดำเนนิ งานดว้ ย

3. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Risk: T) การบริหารความเสี่ยงท่ี
มีประสิทธิผลจะช่วยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มมีความเชื่อม่ันข้อมูลในรายงานประเภทต่าง ๆ ขององค์กร
โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี

4. ด้านธรรมาภิบาล (Good Governance Risk: G) ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์เม่ือนำสู่การ
ปฏิบัติแล้วอาจมีเหตุปัจจัยท่ีไม่สอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาลอันจะส่งผลโดยตรงต่อความเช่ือถือ ศรัทธา ใน
การดำเนินการบริหารจัดการแผนงาน/โครงการ (Public Trust) ของหน่วยงาน/เจ้าหน้าท่ี แบ่งตามหลักธรร
มาภิบาลได้ 8 ประการ คือ

1) หลักภาระรับผิดชอบตอ่ สาธารณะ (Public Accountability) แผนงาน/โครงการ
ท่ีมีธรรมาภิบาลตามหลักภาระรับผิดชอบต่อสาธารณะ จะต้องมีการกำหนดผู้รับผิดชอบโครงการ ซึ่งอาจเป็น
บุคคลหรือหน่วยงาน โดยผู้รับผิดชอบจะต้องรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดจากแผนงาน/โครงการน้ัน ๆ หลัก
ความรับผิดชอบต่อสาธารณะเป็นหลักธรรมาภิบาลที่สำคัญท่ีสุด แผนงาน/โครงการย่อมไมอ่ าจบรรลเุ ป้าหมาย
การดำเนนิ งานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพหากขาดธรรมาภบิ าลข้อนี้

2) หลักการมีส่วนร่วมของสาธารณะ (Public Participation) แผนงาน/โครงการที่
ใชห้ ลักธรรมาภิบาลตามหลกั การมีส่วนร่วมของสาธารณะ ต้องเป็นแผนงาน/โครงการทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผ้มู ีส่วนได้
ส่วนเสีย (Stakeholders) ได้รับรู้และร่วมตัดสินใจ โดยการมีส่วนร่วม อาจอยู่ในรูปแบบของการเข้าร่วม
โดยตรง หรือมีส่วนรว่ มโดยผ่านหนว่ ยงาน สถาบนั หรือผู้แทนตามระบอบประชาธปิ ไตย

3) หลักการสนองตอบรับ (Responsiveness) แผนงาน/โครงการที่มีธรรมาภิบาล
ข้อนี้ ต้องสามารถสนองตอบรับปัญหาของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ภายใต้กรอบเวลาท่ี
สมเหตสุ มผล และเปน็ ไปตามแนวทางท่ีตกลงกัน

4) หลักนิติธรรม (Rule of Law) แผนงาน/โครงการที่มีธรรมาภิบาลตามหลัก
นิติธรรม ต้องเป็นแผนงาน/โครงการท่ีอยู่ภายใต้กฎระเบียบ และกฎหมายเดียวกัน ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ลำเอียง
ประชาชนได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน แผนงาน/โครงการน้ันต้องไม่ขัดต่อสิทธิมนุษยชน
ถึงแม้ว่าจะเป็นชนกลุ่มน้อย โดยทั่วไปการบังคับใช้กฎหมายจะสัมฤทธ์ิผลก็ต่อเมื่อระบบศาลมีความเป็นอิสระ
ไมถ่ ูกคกุ คามจากอทิ ธิพลใดใด และผู้รักษากฎหมายต้องไมม่ ีพฤตกิ รรมฉอ้ ราษฎร์บังหลวง

5) หลักคุณธรรม (Virtue)แผนงาน/โครงการที่มธี รรมาภิบาลตามหลักคุณธรรม ต้อง
เป็นแผนงาน/โครงการท่ีมีผู้รับบริการโครงการและทีมงานที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามท่ีได้รับมอบหมายอย่าง
สุจริตให้เกิดประโยชน์สูงสดุ แก่ประชาชน โดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ตนเอง หน่วยงาน และผู้ท่ีเก่ียวข้อง
อืน่

แผนบริหารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๓๒

6) หลักความโปร่งใส (Transparency)คู่มือการตรวจราชการแบบบูรณาการของ
ผู้ตรวจราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 สำนักตรวจราชการ (3) แผนงาน/โครงการที่มีธรรมาภิบาลตาม
หลักความโปร่งใส ต้องเป็นแผนงาน/โครงการท่ีมีการตรวจสอบความถูกต้อง มีการเปิดเผยข้อมูลอย่าง
ตรงไปตรงมา และผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากแผนงาน/โครงการสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ง่าย ข้อมูลท่ีได้รับ
ต้องพอเพยี ง และอยู่ในรปู แบบการนำเสนอทงี่ ่ายแกก่ ารเข้าใจ

7) หลักความเสมอภาค (Equity)แผนงาน/โครงการท่ีมีธรรมาภิบาลหลักความเสมอ
ภาค ต้องเป็นแผนงาน/โครงการท่ีสมาชิกของสังคมทุกคนที่เกี่ยวข้องมีโอกาสได้รับประโยชน์โดยเสมอภาค
ไม่มีกลุ่มใดที่ถูกกีดกันและกลุ่มท่ีอ่อนแอหรือด้อยโอกาสต้องได้โอกาสในการปรับปรุงหรือคงไว้ซึ่งการรับ
ประโยชนโ์ ดยเสมอภาคตามสถานภาพเดมิ

8) หลักความคุ้มค่า (Value for Money) แผนงาน/โครงการที่มีธรรมาภิบาลหลัก
ความคุ้มค่า ตอ้ งพิจารณาจากวิธีการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ การไดผ้ ลตอบแทนทคี่ ุ้มคา่ กับเงินท่ีลงทนุ หรอื การ
ใช้ทรพั ยากรให้ได้ประโยชน์สงู ที่สุดต่อส่วนรวม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อผทู้ ีไม่ได้เกี่ยวข้อง รวมถึงสิ่งแวดล้อม
และมกี ารพัฒนากระบวนการเพ่ิมผลผลิตอย่างตอ่ เนอ่ื งและยง่ั ยนื

2. แนวคดิ เรื่องการบริหารความเสี่ยง
ในการดำเนินชีวิตประจำวัน มนุษย์ทุกคนต้องเผชิญกับความเส่ียงหรือความไม่แน่นอนท่ีอาจจะ

กอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายหรือผลกระทบต่าง ๆ เชน่ การเดินทางมาทำงานย่อมต้องพบกบั ความไม่แนน่ อนท่จี ะทำ
ให้ มาท ำงาน ไม่ได้หรือไม่ทัน เวลา โดยอาจมีสาเห ตุจากการเกิดอุบั ติเห ตุบ น ท้องถน น ฝน ตก
น้ำท่วม การประท้วงปิดถนน ฯลฯ จึงต้องหาวิธีท่ีจะบริหารจัดการเพื่อมาทำงานให้ได้หรือให้ทันเวลา
โดยปรับเปล่ียนจากการใช้รถส่วนตัวหรือรถโดยสารประจำทาง ไปใช้บริการรถมอเตอร์ไซดร์ ับจ้าง หรือเปล่ียน
เสน้ ทางการเดินทาง ตัวอย่างดังกล่าวสะท้อนให้เห็นวา่ ทกุ คนได้นำการบริหารความเส่ียงไปใช้ในชวี ิตประจำวัน
แล้ว แต่อาจจะไม่ทราบวา่ วิธีการเหลา่ น้นั เปน็ การบรหิ ารความเสี่ยง

แนวคิดเร่ืองการบริหารความเสี่ยงได้นำมาใช้ในการบริหารงานขององค์กร เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือการ
บริหารงานท่ีจะช่วยให้ผู้บริหารเกิดความม่ันใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์และ
เป้าหมายตามท่ีกำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุ้มค่า โดยลดโอกาสที่จะเกิดความเส่ียงหรือ
ความไม่แน่นอนที่จะส่งผลกระทบหรือก่อให้ความเสียหายในด้านต่าง ๆ ต่อองค์กร เปรียบเสมือนการสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้กับองค์กร ซึ่งสอดคล้องกับแนวปรัชญ าเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy)
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ในสว่ นของการเตรียมตวั ให้พร้อมที่จะเผชิญผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
ด้านต่างๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตทั้งใกล้และไกล รวมท้ังสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิตท่ีว่า
“อปฺปมาโท อมตํปท”ํ ความไมป่ ระมาทเปน็ ทางไมต่ าย

ก ร อ บ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เสี่ ย ง ข อ ง อ ง ค์ ก ร ท่ี ได้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ ว่ า เป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ส่ ง เส ริ ม
การบริหารความเส่ียงและเป็นหลักปฏิบัติท่ีเป็นสากล คือกรอบการบริหารความเสี่ยงสำหรับองค์กรของ
คณะกรรมการ COSO (The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission)
ที่มอบหมายให้ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ เป็นผู้เขียน กรอบการบริหารความเสี่ยงสำหรับองค์กร (Enterprise
Risk Management Framework) ดงั กลา่ วมีองคป์ ระกอบดังนี้

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี

๓๓

องคป์ ระกอบของการบรหิ ารความเส่ียง

กรอบการบรหิ ารความเสย่ี งขององคก์ รของ
Committee of Sponsoring Organizations of The Treadway Commission

การบริหารความเส่ียงประกอบด้วยองคป์ ระกอบ 8 ประการ ดังนี้
1) สภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร (Internal Environment)
2) การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ (Objective Setting)
3) การบง่ ชีเ้ หตุการณ์ (Event Identification)
4) การประเมนิ ความเสยี่ ง (Risk Assessment)
5) การตอบสนองความเสยี่ ง (Risk Response)
6) กจิ กรรมการควบคมุ (Control Activities)
7) สารสนเทศและการส่อื สาร (Information & Communication)
8) การติดตามผล (Monitoring)

1. สภาพแวดลอ้ มภายในองค์กร (Internal Environment)
ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย ใน อ ง ค์ ก ร เป็ น พ้ื น ฐ า น ที่ ส ำ คั ญ ส ำ ห รั บ ก ร อ บ ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เส่ี ย ง

สภาพแวดล้อมนี้ มีอิทธิพลต่อการกำหนดกลยุทธ์และเป้าหมายขององค์กร การกำหนดกิจกรรม การบ่งช้ี
ประเมิน และจัดการความเส่ียง สภาพแวดล้อมภายในองค์กรประกอบด้วยหลายปัจจัย เช่น จริยธรรม วิธีการ
ทำงานของผบู้ ริหารและบุคลากร รวมถึงปรชั ญาและวัฒนธรรมในการบรหิ ารความเสีย่ ง

ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) เป็นส่วนที่สำคัญอย่างหน่ึงของสภาพแวดล้อมภายใน
องค์กรและมีผลต่อการกำหนดกลยุทธ์ เพ่ือนำไปดำเนินการให้องค์กรบรรลุเป้าหมายท้ังด้านผลตอบแทนและ
การเติบโต กลยุทธ์แต่ละแบบนั้นมีความเส่ียงที่เกี่ยวข้องแตกต่างกัน ดังน้ัน การบริหารความเสี่ยงจึงช่วย
ผบู้ ริหารในการกำหนดกลยุทธ์ทม่ี ีความเสีย่ งทีอ่ งค์กรสามารถยอมรบั ได้

2. การกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ (Objective Setting)
การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ทางธุรกิจท่ีชัดเจน คือ ขั้นตอนแรกสำหรับกระบวนการบริหารความเส่ียง

องค์กรควรมั่นใจว่าวัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นมีความสอดคล้องกับเป้าหมายเชิงกลยุทธ์และความเส่ียงท่ีองค์กร

แผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบรุ ี

๓๔

ยอมรบั ได้ โดยท่วั ไปวัตถปุ ระสงค์และกลยทุ ธค์ วรได้รบั การบันทกึ เปน็ ลายลักษณ์อักษรและสามารถพิจารณาได้
ในด้านตา่ ง ๆ ดังน้ี

- ดา้ นกลยทุ ธ์ เกยี่ วข้องกบั เปา้ หมายและพันธกิจในภาพรวมขององคก์ ร
- ด้านการปฏิบัติงาน เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพ ผลการปฏิบัติงาน และความสามารถในการ
ทำกำไร
- ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เก่ยี วขอ้ งกับการรายงานท้งั ภายในและภายนอกองค์กร
- ดา้ นธรรมาภบิ าล ระเบยี บเกี่ยวขอ้ งกบั การปฏิบตั ิตามกฎหมายและกฎระเบยี บตา่ ง ๆ
3. การบ่งชี้เหตุการณ์ (Event Identification)
การทำธุรกิจมักมีความไม่แน่นอนเกิดขึ้นมากมาย องค์กรไม่สามารถมั่นใจได้ว่าเหตุการณ์ใด
เหตกุ ารณห์ นึ่งจะเกิดข้ึนหรือไม่ หรอื ผลลพั ธ์ท่ีเกดิ ขึน้ จะเป็นอย่างไร ในกระบวนการบ่งช้เี หตุการณ์ผบู้ รหิ ารควร
ต้องพจิ ารณาส่งิ ต่อไปน้ี
- ปัจจัยความเสี่ยงทุกด้านที่อาจเกิดข้ึน เช่น ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ การเงิน บุคลากร การ
ปฏิบตั งิ าน กฎหมาย ภาษีอากร ระบบงาน ส่ิงแวดลอ้ ม
- แหลง่ ความเสี่ยงทงั้ จากภายในและภายนอกองค์กร
- ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเหตกุ ารณ์ทอี่ าจเกดิ ขึ้น
ใน บ าง ก ร ณี ค ว ร มี ก าร จั ด ก ลุ่ ม เห ตุ ก าร ณ์ ที่ อ า จ เกิ ด ขึ้ น โด ย แ บ่ งต า ม ป ร ะ เภ ท ข อ ง เห ตุ ก า ร ณ์
และรวบรวมเหตุการณ์ทั้งหมดในองค์กรท่ีเกิดขึ้นระหว่างหน่วยงานและภายในหน่วยงาน เพื่อช่วยให้ผู้บริหาร
สามารถเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ และมีขอ้ มูลที่เพียงพอเพ่ือเป็นพ้ืนฐานสำหรับการประเมินความ
เสี่ยง
4. การประเมินความเสย่ี ง (Risk Assessment)
ขนั้ ตอนนีเ้ น้นการประเมนิ โอกาสและผลกระทบของเหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ต่อวัตถุประสงค์ ขณะท่ี
การเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หน่ึงอาจส่งผลกระทบในระดับต่ำ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องอาจมี
ผลกระทบในระดับสงู ตอ่ วตั ถปุ ระสงค์ โดยทั่วไปการประเมินความเสี่ยงประกอบดว้ ย 2 มติ ิ ดงั นี้
- โอกาสทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ (Likelihood) เหตกุ ารณม์ โี อกาสเกิดขน้ึ มากนอ้ ยเพียงใด
- ผลกระทบ (Impact) หากมเี หตกุ ารณ์เกดิ ข้ึน องคก์ รจะได้รบั ผลกระทบมากน้อยเพยี งใด
การป ระเมิน ความเส่ี ยงสามารถท ำได้ท้ั งการป ระเมิ น เชิงคุณ ภ าพ และเชิงป ริม าณ
โดยพิจารณาท้ังเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากภายนอกและภายในองค์กร นอกจากนี้ การประเมินความเส่ียงควร
ดำเนินการทั้งก่อนการจัดการความเสี่ยง (Inherent Risk) และหลังจากที่มีการจัดการความเสี่ยงแล้ว
(Residual Risk)
5. การตอบสนองความเสย่ี ง (Risk Response)
เม่ือความเส่ียงได้รับการบ่งชี้และประเมินความสำคัญแล้ว ผู้บริหารต้องประเมินวิธีการจัดการ
ความเสี่ยง ท่ีสามารถนำไปปฏิบัติได้และผลของการจัดการเหล่านั้น การพิจารณาทางเลือกในการดำเนินการ
จะต้องคำนึงถึงความเสี่ยงท่ียอมรับได้ และต้นทุนที่เกิดข้ึนเปรียบเทียบกับผลประโยชน์ที่จะได้รับเพ่ือให้การ
บริหารความเสี่ยงมีประสิทธผิ ล ผบู้ ริหารอาจต้องเลือกวิธกี ารจัดการความเสย่ี งอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายวิธี
รวมกัน เพื่อลดระดับโอกาสที่อาจเกิดขึ้นและผลกระทบของเหตุการณ์น้ันให้อยู่ในชว่ งท่ีองค์กรสามารถยอมรับ
ได้ (Risk Tolerance)

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี

๓๕

หลกั การตอบสนองความเส่ียงมี 4 ประการ คือ
การหลีกเล่ยี ง (Avoid) การดำเนนิ การเพอื่ หลีกเล่ยี งเหตกุ ารณท์ กี่ ่อใหเ้ กดิ ความเสย่ี ง
การรว่ มจัดการ (Share) การรว่ มหรอื แบ่งความรบั ผิดชอบกบั ผ้อู ืน่ ในการจัดการความเส่ยี ง
การลด (Reduce) การดำเนินการเพิ่มเติมเพ่ือลดโอกาสท่ีอาจเกิดขึ้นหรือผลกระทบของ

ความเส่ียงใหอ้ ยใู่ นระดบั ทยี่ อมรบั ได้
การยอมรับ (Accept) ความเส่ียงท่ีเหลือในปัจจุบันอยู่ภายในระดับที่ตอ้ งการและยอมรับได้

แลว้ โดยไม่ต้องมีการดำเนินการเพมิ่ เตมิ เพื่อลดโอกาสหรือผลกระทบที่อาจเกดิ ขน้ึ อีก
ผู้บริหารควรพิจารณาการจัดการความเสี่ยงตามประเภทของการตอบสนองข้างต้น และควร

ดำเนินการประเมินความเส่ียงที่เหลืออยู่อีกคร้ังหนึ่ง หลังจากที่ได้มีการจัดการความเสี่ยงแล้วในช่วงเวลาที่
เหมาะสม

6. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)
กจิ กรรมการควบคุม คือ นโยบายและกระบวนการปฏิบัติงาน เพ่ือให้มั่นใจได้วา่ มีการจัดการความ

เส่ยี ง เนื่องจากแต่ละองค์กรมกี ารกำหนดวัตถุประสงค์และเทคนิคการนำไปปฏิบัติเป็นของเฉพาะองค์กร ดงั นั้น
กจิ กรรมการควบคมุ จึงมีความแตกตา่ งกนั การควบคมุ เป็นการสะทอ้ นถึงสภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร ลักษณะ
ธุรกจิ โครงสรา้ งและวฒั นธรรมขององค์กร

7. สารสนเทศและการสอ่ื สาร (Information & Communication)
สารสนเทศเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับองค์กรในการบ่งชี้ ประเมิน และจัดการความเส่ียง ข้อมูล

สารสนเทศที่เก่ียวข้องกับองค์กรทั้งจากแหล่งภายนอกและภายในควรต้องได้รับการบันทึกและสื่อสาร
อย่างเหมาะสมท้ังในด้านรูปแบบและเวลา เพ่ือช่วยให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้
อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การสอ่ื สารอย่างมีประสิทธิผลรวมถึงการแลกเปล่ียนข้อมลู กับบุคคลภายนอก
องคก์ ร เชน่ เจ้าหนา้ ท่ขี องหนว่ ยงานอน่ื ๆ ผจู้ ัดหาสินค้า ผ้ใู หบ้ ริการ ผู้กำกบั ดูแลและประชาชน

8. การติดตามผล (Monitoring)
ประเด็นสำคญั ของการติดตามผล ได้แก่
- การติดตามผลเพื่อให้มั่นใจได้ว่าการจัดการความเสี่ยงมีคุณภาพและมีความเหมาะสม และ

การบริหารความเสยี่ งไดน้ ำไปประยุกต์ใช้ในทกุ ระดับขององคก์ ร
- ความเสี่ยงทั้งหมดท่ีมีผลกระทบสำคัญต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรได้รับการ

รายงานตอ่ ผบู้ รหิ ารทีร่ ับผิดชอบ
การติดตามการบริหารความเสี่ยงสามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ การติดตามอย่างต่อเน่ืองและการ

ติดตามเป็นรายครั้ง การติดตามอย่างต่อเนื่องเป็นการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ เพ่ือให้สามารถตอบสนองต่อ
การเปล่ียนแปลงอย่างทันท่วงที และถือเป็นส่วนหน่ึงของการปฏิบัติงาน ส่วนการติดตามรายครั้งเป็นการ
ดำเนินการภายหลังจากเกิดเหตุการณ์ ดังน้ันปัญหาที่เกิดข้ึนจะได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว หากองค์กรมีการ
ติดตามอย่างต่อเนื่อง นอกจากน้ีองค์กรควรมีการจัดทำรายงานความเส่ียงเพื่อให้การติดตามการบริหารความ
เส่ยี งเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล

3. กระบวนการบรหิ ารความเสี่ยง
กระบวนการบริหารความเสี่ยงจะประกอบด้วยข้ันตอนใหญ่ 4 ข้ันตอนประกอบด้วยการค้นหาความ

เส่ยี ง การประเมินความเส่ียง การจัดการความเสยี่ ง และตดิ ตามประเมนิ ผล
1. การค้นหาความเส่ียง (Risk Identification) ถือเป็นข้ันตอนท่ีสำคัญมากในกระบวนการบริหารความ

เส่ียงเน่ืองจากเป็นขั้นตอนในการค้นหา ระบุ บ่งช้ีเหตุการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึนภายใต้สถานการณ์ท่ีไม่แน่นอนที่จะ

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบุรี

๓๖

ก่อให้เกิดความเส่ียงท่ีสร้างผลกระทบหรือความเสียหาย หรือก่อให้เกิดความล้มเหลวหรือลดโอกาสท่ีจะบรรลุ
วตั ถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร ท้ังในด้านกลยุทธ์ การดำเนินงาน การรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตาม
กฎหมาย และในด้านอนื่ ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกับธุรกิจและองค์กร

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) เป็นการใช้วิจารณญาณอย่างเป็นระบบภายใต้
ทรัพยากรอันจำกัดขององค์กร โดยการวิเคราะห์ระดับโอกาสท่ีจะเกิดความเส่ียง (Likelihood) ระดับความ
รุนแรงของผลกระทบ (Impact) และประเมินระดับของความเส่ียง (Degree of Risk) เพื่อประโยชน์ในการ
ตอบสนองความเสยี่ ง

3. การจัดการความเสี่ยง (Risk Response) เป็นการกำหนดวิธีการบริหารจัดการความเส่ียง
เพื่อจัดการความเสี่ยงขององค์กรให้อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ (Risk Tolerance หรือ Risk Appetite)
หรือระดบั ที่เหมาะสม (Optimal) ซึ่งเปน็ ระดับทีอ่ งค์กรสามารถจะดำเนินการต่อไปไดแ้ ละบรรลุวตั ถุประสงค์ที่
กำหนดไว้

4. การติดตามประเมินผล (Monitoring) เพื่อให้ม่ันใจอย่างสมเหตุสมผลว่าองค์กรมีการบริหารความ
เสี่ยงเปน็ ไปอย่างเป็นระบบ เหมาะสม เพยี งพอ และมีประสทิ ธิผล และมีการนำไปปฏิบตั ิจริง

แผนบริหารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี

1.1 การประเมินสภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร ภาพกระบวนการบร
1.2 การวเิ คราะห์งาน กระบวรการ กิจกรรม
1.3 การสอบทานหรอื กำหนดวัตถุประสงค์ของ 1. การคน้ หา
ความเส่ียง
องค์กรและงาน กระบวนการกิจกรรม

1.4 การค้นหาความเสย่ี งและระบุสาเหตุ

4. การตดิ ตาม
ประเมินผล

4.1 การติดตามประเมนิ ผลอยา่ งตอ่ เนื่อง
4.2 การติดตามประเมนิ ผลเป็นรายคร้งั

37แผ

รหิ ารความเสี่ยง ๓๗

2.1 การวิเคราะหโ์ อกาส
2.2 การวิเคราะหผ์ ลกระทบ
2.3 การประเมินระดบั ความเสยี่ ง

2. การประเมิน
ความเส่ยี ง

3. การจัดการ
ความเสย่ี ง

3.1 การหลักเลีย่ งความเสีย่ ง
3. 2 การร่วมจัดการความเสย่ี ง
3.3 การลดความเส่ยี ง
3.4 การยอมรับความเส่ียง

ผนบริหารจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี

๓๘

1. การคน้ หาความเส่ียง (Risk Identification)
การดำเนินธุรกิจขององค์กรในปัจจุบันภายใต้ความไม่แน่นอน การเปลี่ยนแปลงท้ังจากปัจจัย

ภายในและภายนอกที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นอัตราการเจริญเติบโตของประเทศ การแข่งขัน
ทางธุรกิจที่นับวันจะทวีความเข้มข้นและรุนแรงมากขึ้น สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และภัยต่างๆ
ท่ีกำลังเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็น ภัยจากการก่อการร้าย ภัยจากธรรมชาติท้ังจากแผ่นดินไหว น้ำท่วม คล่ืนยักษ์สึนามิ
และอ่ืนๆ อีกมากมายท่เี ป็นความเสย่ี งทอ่ี าจทำให้องค์กรต้องประสบกับปัญหาท่อี าจทำให้องค์กรไม่บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์
ที่ตงั้ ไว้ ไมว่ า่ จะเป็นการขาดทนุ ขาดสภาพคล้องทางการเงิน สญู เสยี สนิ ทรพั ย์ การดำเนินธรุ กิจล้มเหลว ไม่เจริญเตบิ โต
ขาดความน่าเช่ือถือ หรืออาจถึงขั้นล้มละลายต้องปิดกิจการส่งผลกระทบท้ังในระดับบุคคล องค์กร และประเทศชาติ
ดงั นัน้ การดำเนินธุรกิจภายใต้ความไมแ่ นน่ อนท่ีอาจจะเกิดความเสย่ี งดังกล่าวข้างตน้ องค์กรตอ้ งดำเนินธรุ กิจโดยใช้การ
บริหารความเส่ียงเป็นเคร่ืองมือหน่ึงในการป้องกันหรือลดความเส่ียงที่อาจจะเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อองค์กร ซ่ึง
การบริหารความเส่ียงจะทำให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยงต่างๆ ให้ลดลงอยู่ใน
ระดบั ท่ีองคก์ รยอมรับได้และสามารถดำเนนิ ธุรกิจต่อไปไดอ้ ยา่ งมนั่ คง ปลอดภยั และยง่ั ยืน

ในกระบวนการบริหารความเส่ียงจะประกอบด้วยข้ันตอนใหญ่ 4 ขั้นตอนประกอบด้วยการ
คน้ หาความเส่ียง การประเมินความเส่ียง การจดั การความเสยี่ ง และติดตามประเมินผล ซึ่งข้ันตอนแรกคือ การค้นหา
ความเสย่ี ง (Risk Identification) ถือเป็นขั้นตอนที่สำคญั มากในกระบวนการบริหารความเส่ยี งเนอ่ื งจากเปน็ ขั้นตอนใน
การค้นหา ระบุ บ่งช้ีเหตุการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึนภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนท่ีจะก่อให้เกิดความเสี่ยงท่ีสร้าง
ผลกระทบหรือความเสียหาย หรือก่อให้เกิดความล้มเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ
องค์กร ท้ังในด้านกลยุทธ์ การปฏิบัติงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านธรรมาภิบาล และในด้านอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ธุรกิจและองค์กร ถ้าองค์กรสามารถค้นหาความเส่ียงขององค์กรได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม จะทำให้องค์กรทราบ
ปัญหา และอุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นไดล้ ่วงหน้าอันจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนเพื่อจัดการไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
แต่หากองค์กรค้นหาความเสี่ยงขององค์กรได้อย่างไม่ถูกต้อง และไม่เหมาะสมโดยไม่ใช้ความเส่ียงท่ีแท้จริงขององค์กร
จะทำให้องค์กรสูญเสียทรพั ยากรโดยใช้เหตุในการวางแผนจัดการกับความเส่ียงที่ไม่ใช้ความเส่ียงที่แท้จริงขององค์กร
และอาจทำให้องค์กรประสบกับปัญหา และอุปสรรคหากเกิดความเสีย่ งข้ึนโดยไม่มีแผนในการจัดการกับความเส่ียงท่ี
แท้จรงิ เหลา่ นนั้

ข้ันตอนการคน้ หาความเสยี่ งประกอบด้วยข้นั ตอนย่อย 4 ขนั้ ตอน ดังนี้
1.1 การประเมินสภาพแวดล้อมภายในองค์กร เป็นขั้นตอนแรกของการคน้ หาความเส่ยี ง
ขององค์กร เพ่ือประเมินสภาพแวดล้อมภายในองค์กรที่เป็นอยู่จริงว่าเป็นอย่างไรท้ังทางด้านวัฒนธรรมของ
องค์กร จริยธรรมของบุคลากร สภาพแวดล้อมในการทำงาน มุมมองและทัศนะคติท่ีมีต่อความเสี่ยง ปรชั ญาใน
การบริหารความเสี่ยง ระดับความเส่ียงที่องค์กรสามารถยอมรับได้ (Risk Appetite)โดยประเมินว่า
สภาพแวดล้อมขององค์กรมีส่วนช่วยส่งเสริม สนับสนุน และกระตุ้นให้เกิดกระบวนการบริหารจดั การ และการ
ปฏิบัติงานท่ีดีหรือไม่ ถ้าไม่ต้องมีมาตรการในการแก้ไขปรับปรุง หรือปรับสภาพแวดล้อมภายในองค์กรให้มี
ความเหมาะสมยง่ิ ขึ้น
1.2 การวิเคราะห์งาน กระบวนการ และกิจกรรม ในการค้นหาความเส่ียง องค์กรต้อง
วิเคราะห์งาน กระบวนการ และกิจกรรมภายในองค์กรท่ีมีทั้งหมดเพ่ือให้ทราบ และเกิดความเข้าใจงาน
กระบวนการ และกิจกรรมต่างๆ ท่ีมีภายในองค์กรเพื่อประโยชน์ในการค้นหาความเสี่ยงให้สอดคล้องกับแต่ละ
ประเภทของงานภายในองค์กร และในกรณีทอี่ งคก์ รมีขอ้ จำกัดด้านทรพั ยากรก็อาจมุง่ ทำการบริหารความเส่ียง
ไปทง่ี านหลักขององค์กรทม่ี ีความสำคัญต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร และงานที่กำลังมีปญั หา อปุ สรรค
หรือคาดว่าจะมีโอกาสเกิดความเสียหายขึ้นภายในองค์กร โดยทำการคัดเลือกงาน กระบวนการ และกิจกรรม
ดงั กล่าวเพอื่ นำมาพจิ ารณาบริหารความเส่ยี งก่อนงานสนับสนนุ หรืองานท่ีมีความเสี่ยงนอ้ ยกว่า

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี

๓๙

1.3 การสอบทานหรือกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์กร งาน กระบวนการ และกิจกรรม
หลังจากคัดเลือกงาน กระบวนการ และกิจกรรมแล้ว จากนั้นก็จะทำการสอบทานวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้หรือ
กำหนดวัตถปุ ระสงค์ใหม่ในกรณที ่ีไม่ได้กำหนดวตั ถปุ ระสงไว้หรอื กำหนดไวไ้ มช่ ัดเจน

การค้นหาความเสี่ยงต้องมีการสอบทานหรือกำหนดวัตถุประสงค์ก่อนจึงจะสามารถ
ระบุเหตุการณ์ที่อาจทำให้ไม่บรรลุผลสำเร็จได้โดยวัตถุประสงค์ของงาน กระบวนการ และกิจกรรมต้อง
สนับสนุนและสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ขององคก์ ร

ความเส่ียงเป็นเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
ดังน้ันการสอบทานหรือกำหนดวัตถุประสงค์เพ่ือทำความเข้าใจในวัตถุประสงค์ขององค์กรจงึ เป็นขั้นตอนท่ีต้อง
กระทำเพื่อให้การค้นหาความเส่ียงได้อย่างครบถ้วน ถูกต้องและสอดคล้องสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ขององค์กร
ซึ่งการกำหนดวตั ถุประสงคค์ วรจะตอ้ งควรคำนงึ ถึงหลกั SMART ดงั นี้

1. Specific มีลักษณะที่เฉพาะเจาะจง สามารถทำให้บุคลากรทุกระดับในองค์กร
เข้าใจตรงกนั ได้

2. Measurable สามารถวัดผลได้ว่าวตั ถปุ ระสงค์น้ันบรรลุผลสำเรจ็ หรือไม่ ไม่ว่า
จะใน เชงิ ปริมาณหรอื เชิงคุณภาพ

3. Attainable สามารถทำให้บรรลุผลได้ภายใต้ศักยภาพ ทรัพยากร และ
สง่ิ แวดล้อม ทอ่ี งคก์ รมอี ยู่

4. Relevant มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ และเป็นไปในทิศทางเดียวกับวิสัยทัศน์
ขององค์กร

5. Timely มกี ำหนดระยะเวลาที่ชดั เจนในการดำเนินการใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

1.4 การค้นหาความเส่ยี งและระบสุ าเหตุ
การค้นหาความเส่ียงและระบุสาเหตุความเสี่ยงองค์กรต้องพยายามค้นหาให้ได้ครบ

คลุมความเส่ียงทุกประเภทภายในองค์กรและเป็นความเสี่ยงที่แท้จริงท่ีมีโอกาสเกิดขึ้นและหากเกิดข้ึนจะสร้าง
ผลกระทบอย่างรุนแรงต่อองค์กร ซ่ึงการคน้ หาความเสี่ยงและระบสุ าเหตุของความเส่ียงสามารถค้นหาได้ทง้ั เชิง
รับ และเชิงรุก โดยการค้นหาเชิงรับสามารถค้นหาได้จากการศกึ ษาหาขอ้ มูลเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนและสร้างความ
เสียหายให้กับองค์กรแล้วในอดีต และการสำรวจจากสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นจริงในปัจจุบันและอาจส่งผลกลาย
สภาพเป็นความเส่ียงขึ้นมาได้ ส่วนในการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกสามารถค้นหาได้จากการคาดการณ์เหตกุ ารณ์
ท่ีมีโอกาสเกิดข้ึนได้ในอนาคตและส่งผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร แต่ยังไม่เกิดข้ึนจริงจากการ
วางแผนเชิงกลยุทธ์ การดำเนินธุรกิจขององค์กร กระบวนการปฏิบัติงานต่าง ๆ ฯลฯ และนำความเสี่ยงท่ีค้นหา
ได้มาทำการวิเคราะห์เพ่ือค้นหาสาเหตุของความเสี่ยงหรือปัจจัยเส่ียงที่ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงเหล่าน้ัน ซ่ึง
เทคนิคหรือวิธีการในการค้นหาความเส่ียงและระบุสาเหตุมีอยู่ด้วยกันหลายหลายวิธีการด้วยกันแต่ในท่ีนี้จะ
กลา่ วถึงเทคนิค วิธีการที่นิยมใชโ้ ดยทัว่ ไป ดงั น้ี

1. การระดมสมอง (Brainstorming) ระดมความคิดเห็นของบุคลากรในองค์กรท่ี
รับผิดชอบงานหรอื เป็นเจ้าของงานซึง่ จะเป็นบุคลากรท่รี ู้ เขา้ ใจความเสีย่ งของงานท่ีตนรับผิดชอบมากท่ีสุดหรือ
เรยี กวา่ เป็นเจ้าของความเส่ยี ง(Risk Owner) จากผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายการระดมสมองเป็นเทคนิคท่ัวไปทีใ่ ช้
ในการแสวงหาความคิดต่อเรื่องใดเร่ืองหนึ่งให้ได้มากที่สุดภายในเวลาที่กำหนด ซึ่งในมุมมองของการบริหาร
ความเสี่ยงเทคนิคนี้สามารถนำมาใช้ในการค้นหาและระบุความเส่ียงได้ โดยการจัดการประชุมเพื่อระดม
แนวความคดิ ของผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งทุกฝ่าย

แผนบริหารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี

๔๐

2. การสัมภาษณ์ (Interviews) บุคลากรหรือผู้เชี่ยวชาญในสายงานการสัมภาษณ์
เป็นเทคนิคโดยใช้การถามจากผู้ท่ีเช่ียวชาญหรือผู้ที่เก่ียวข้องกับงานนั้น เพื่อให้ได้ข้อมูลใหม่ๆ นอกจากน้ียัง
สามารถใช้ในการยืนยนั ขอ้ มลู เดิมทม่ี ีอยูว่ า่ มกี ารเปลย่ี นแปลงไปหรือไม่

3. การใช้แบบสอบถามที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ทราบความเส่ียงท่ัวไปที่มีผลกระทบต่อ
การบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ขององค์กร และใช้ประเมินความเพียงพอของการควบคุมด้วย

4. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (Facilitated workshops) หรือการจัดทำ
Workshop ของบุคลากรในองค์กรเป็นวิธีที่ทำให้กลุ่มคนสามารถทำงานด้วยกันเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้
ผเู้ ข้ารว่ มประชมุ รว่ มคน้ หาและระบุความเส่ียงและตดั สินใจในที่ประชมุ ผู้จดั การประชุมจะต้องมีทกั ษะที่ดี การ
จัด workshop สามารถทำได้ทุกเวลา ขึ้นอยู่กันทีมงานจะตัดสินว่าเม่ือไรถึงจำเป็น การจัด workshop เป็น
เครือ่ งมอื ทมี่ ีประโยชนท์ ่ีสง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงวัฒนธรรมในองค์กร เพราะชว่ ยส่งเสริมใหผ้ ้เู ข้ารว่ มประชมุ ได้
เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการดำเนินการขององค์กรด้วย

5. การจัดทำ Benchmark หรือการเปรียบเทียบกับองค์กรภายนอกเป็นวิธีการใน
การวัดและเปรียบเทียบ ผลิตภัณฑ์ บริการและวิธีการปฏิบัติกับองค์กรที่สามารถทำได้ดีกว่า เพื่อนำผลของการ
เปรียบเทียบมาใชใ้ นการปรับปรงุ องคก์ รของตนเอง เพ่อื ม่งุ ส่คู วามเปน็ เลิศในธุรกิจ

Benchmarking มิใช่การไปลอกเลียนแบบจากผู้อ่ืน หรือเพียงแค่การทำ
Competitive analysis ท่ีเป็นการนำตัวเลขของเราไปเปรียบเทียบกับคู่แข่งเท่าน้ัน แต่ Benchmarking เป็น
วิธีการที่ทำให้เห็นถึงความแตกต่างในกระบวนการปฏิบัติงานและปัจจัยท่ีก่อให้เกิดความสำเร็จ ด้วยการ
วิเคราะห์ว่าผู้ท่ีเราต้องการเปรียบเทียบ เขาทำในสิ่งท่ีแตกต่างไปจากเราอย่างไรเป็นสำคัญ แล้วเราจะทำให้
องค์กรสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ความเป็นสุดยอดอย่างต่อเนื่องนั้นได้อย่างไร Benchmarking น้ันจะเป็นการ
เปรียบเทยี บกับผู้ทอ่ี ยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกันหรอื คล้ายคลงึ กนั แต่ไม่ใช่ผู้ท่ีเปน็ คู่แข่งกันโดยตรง

สำหรับในเรื่องการบริหารความเสี่ยงนั้น เราสามารถค้นหาความเส่ียงได้จาก
การใช้เทคนิค Benchmarking ได้เช่นกัน เนื่องจากบริษัทหรือองค์กรที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันหรือ
คล้ายคลึงกันน้ันมักจะมีลักษณะการดำเนินธุรกิจและกิจกรรมที่คล้ายๆ กัน ดังนั้น ความเสี่ยงท่ีต้องเผชิญน้ันก็
จะอาจจะไม่แตกต่างกันมากน้ัน โดยในการหาข้อมูลเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบน้ัน อาจจะต้องมีการจัดกลุ่ม
ความร่วมมือ เพือ่ แลกเปลย่ี นความรู้ ข้อมูลขา่ วสารซึ่งกนั และกนั

6. การตรวจสอบ (Auditing) การตรวจสอบภายในเป็นกิจกรรมที่จัดให้มีขึ้นเพ่ือ
เพ่ิมคุณค่า และปรับปรุงการปฏิบัติงานขององค์กรให้ดีขึ้น โดยอาศัยการตรวจสอบ วิเคราะห์ ประเมินผลการ
ปฏิบัติงานต่าง ๆ ขององค์กร ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะ และคำปรึกษา รวมทั้งให้ข้อมูลเก่ียวกับงานท่ีได้
ตรวจสอบซ่ึงถือเป็นงานบริการท่ีให้แก่องค์กร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือชว่ ยให้ผูป้ ฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติหน้าท่ี
ใหบ้ รรลุเปา้ หมายขององคก์ รได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ภายหลังการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายในจะจัดทำรายงานการตรวจสอบ
ภายใน โดยจะมีการระบุประเด็นข้อตรวจพบ ซึ่งสามารถนำมาใช้พ้ืนฐานในการค้นหาความเส่ียงของแต่ละ
หน่วยงานได้

7. การใช้ Check Lists เป็นวิธีการหน่ึงในการระบุความเสี่ยงท่ีค่อนข้างง่าย โดย
การตอบคำถามในใบรายการที่ได้จัดทำขึ้นไว้เป็นมาตรฐาน ในการจัดทำ Check Lists นั้น จะรวบรวมข้อมูล
จากประสบการณ์ของผู้ที่เก่ียวข้องหรือเหตุการณ์ที่เคยเกิดข้ึนอดีต และนำมาทำเป็นรายการคำถามท่ีเป็น
มาตรฐาน หรือวิธีปฏิบตั ิท่ีดี (Best Practice) เพ่ือเปรียบเทียบกบั สิง่ ทีอ่ งคก์ รหรือหน่วยงานมีอยู่

แผนบริหารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี


Click to View FlipBook Version